เศรษฐกิจ เศรษฐกจิ ไทยสมยั ต้นรัตนโกสินทร์ เปน็ เศรษฐกิจแบบพอยงั ชีพ ราษฎรสว่ นใหญท่ ำ�การเกษตรแบบพ่งึ พาธรรมชาติ ใช้เงิน พดด้วงและเบย้ี เป็นสือ่ กลางแลกเปลี่ยนเหมือนเช่นในสมัยอยุธยา โดยรฐั บาลเปน็ ผ้ผู กู ขาดการคา้ ขายกับตา่ งประเทศ ครัน้ ถึงรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไทยเปดิ ประเทศทำ�การคา้ กบั ชาตติ ะวนั ตกตามสนธสิ ญั ญาเบารงิ ประชาชนสามารถคา้ ขายได้ โดยเสรี ทำ�ให้กิจการค้าเฟื่องฟู เศรษฐกิจขยายตัว มีการเปล่ียนแปลงระบบเงินตรา และกำ�เนิดธนาคารขึ้นคร้ังแรกในรัชสมัย พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว อกี ทั้งการพัฒนาระบบคมนาคมทางบกด้วยการตดั ถนนหลายสาย เกิดชุมชน ย่านการคา้ และร้านตึกแถวริมถนน ซ่ึงพัฒนาเป็นห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้าแหล่งธุรกิจ และกลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สำ�คัญของ ภูมิภาคอาเซยี นในปจั จบุ ัน วังบางขนุ พรหมทีป่ ระทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟ้าบริพตั รสขุ ุมพันธ์ุ กรมพระนครสวรรค์วรพินติ พระราชโอรสในรชั กาลที่ ๕ ปจั จุบันคือท่ีทำ�การของธนาคารแห่งประเทศไทย 149
สะพานหนั ยา่ นสำ�เพ็ง แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ เดิมเป็นแผ่นไม้เลก็ ๆ หนั ให้เรือผ่านไปมาได้ ทอดขา้ มคลองรอบกรงุ (คลองโอ่งอ่าง) บนสะพานมรี ้านขายของเลก็ ๆ 150
เรอื ค้าขายบรเิ วณสแี่ ยกคลองมหานาค 151
พดด้วงสมัยสุโขทยั พดด้วงสมยั อยธุ ยา พดดว้ งสมัยรตั นโกสินทร์ หอยเบยี้ สมัยรตั นโกสินทร์ เหรยี ญกษาปณ์สมยั รชั กาลท่ี ๕ 152
หมายราคาต่ำ� หมายราคาสูง หมายราคาตำ�ลึง หมาย คือ เงนิ กระดาษทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัวโปรดเกลา้ ฯ ให้พมิ พข์ น้ึ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๖ 153
เซอรจ์ อหน์ เบารงิ (Sir John Bowring) ราชทตู จากราชส�ำนกั สมเดจ็ พระราชนิ วี กิ ตอเรยี แหง่ องั กฤษ เขา้ มาเจรญิ พระราชไมตรี และท�ำสนธิสญั ญากบั ราชสำ� นกั ไทยเม่ือ พ.ศ. ๒๓๙๗ ในรชั สมัย พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว สนธสิ ญั ญาเบารงิ ส่งผลใหไ้ ทยตอ้ งยกเลิกผกู ขาดของพระคลงั สินคา้ ทด่ี �ำเนนิ มาตง้ั แต่ต้นกรงุ ศรีอยธุ ยาและเปลี่ยนแปลง ระบบเศรษฐกจิ เปน็ การค้าเสรตี ามแบบตะวนั ตก 154
ภาพถ่ายสมัยรชั กาลที่ ๔ แสดงใหเ้ หน็ สภาพบา้ นเรอื นแพคา้ ขายบรเิ วณรมิ ฝง่ั แมน่ �้ำเจา้ พระยากบั เรือสนิ คา้ เปน็ เรือเดนิ ทะเลจากตะวนั ตก สะท้อนใหเ้ ห็นถึงการเปดิ เสรกี ารคา้ กบั ตา่ งประเทศ ภายหลังไทยทำ� สนธิสญั ญาทางไมตรีและการคา้ กับชาติต่างๆ 155
โรงกระสาปนส์ ิทธกิ าร เปน็ โรงกษาปณ์แหง่ แรกของไทยต้ังขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ อยู่ภายในพระบรมมหาราชวัง อาคารโรงกระสาปน์สทิ ธกิ ารแห่งที่ ๓ ของไทย ตงั้ อยู่ทีถ่ นนเจา้ ฟา้ ปจั จุบันคอื พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ หอศิลป 156
รา้ นสรรพสนิ ค้า หา้ งแบตแมนที่เชงิ สะพานผา่ นพิภพลลี า และมมุ กระทรวงมหาดไทย จ�ำหน่ายสนิ ค้านำ� เขา้ จากตา่ งประเทศ 157
ตึกห้างบี กรมิ แอนโก ต้ังอยมู่ มุ ถนนเจรญิ กรุง ถนนมหาไชย เชิงสะพานดำ� รงสถติ (สะพานเหล็กบน) หรอื สามยอด สร้างเมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๕ ชาวเยอรมันเปน็ เจ้าของ ขายยา และนำ� เข้าสินค้าต่างๆ จากต่างประเทศ ตกึ นเ้ี คยใช้เป็นท่ที ำ� การบรษิ ทั ไฟฟา้ สยาม คอร์เปอร์เรชั่น แล้วต่อมาได้เปล่ยี นเปน็ ทท่ี �ำการบรษิ ัทไทยนยิ มพานชิ การออกรา้ นของห้างบี กรมิ แอนโก ณ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 158
ร้านสนิ ค้ายโุ รป ยา่ นส่กี ๊กั พระยาศรี หา้ งแกรเลดิ แอนด์คอมปะนี จ�ำหน่ายเคร่ืองประดบั ในสมยั รชั กาลท่ี ๕ 159
ลกั ษณะสนิ ค้าภายในรา้ นค้าย่านสีก่ กั๊ พระยาศรี ลักษณะรา้ นจำ� หน่ายยาของชาวตา่ งประเทศ 160
ทา่ เรือคลงั สนิ คา้ บริษัทอสี ต์ เอเชียตกิ 161
แบงกส์ ยามกัมมาจล ธนาคารแห่งแรกของไทย ตอ่ มาเปลี่ยนชื่อเป็นธนาคารไทยพาณชิ ย์ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบญั ญัติคลงั ออมสินขึน้ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๖ เพือ่ ส่งเสริมนสิ ัยรักการออมของราษฎร คลังออมสนิ ไดด้ ำ� เนินงานก้าวหน้า และยกระดบั เป็นธนาคารออมสนิ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๐ 162
รา้ นรบั จำ� นองอสังหารมิ ทรัพย์ เกรดตี ์ฟองเชียร์ เดอ ลินโดจีน 163
ภาพถ่ายทางอากาศโดย Williams Hunt เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๙ บริเวณ ชุมชนวัดปทุมคงคาซึ่งเป็นย่านท่าเรือท่ีส�ำคัญและกลายเป็นย่านท่ีมีการ ซอ้ื ขายแลกเปลยี่ นสนิ คา้ กนั อยา่ งคกึ คกั จนพฒั นาขนึ้ เปน็ ชมุ ชนเมอื งทเี่ ตม็ ไปด้วยตกึ แถวค้าขายสินคา้ ตา่ งๆ และอุปกรณ์เกีย่ วกับการเดินเรอื ภาพถ่ายทางอากาศ ถนนและคลองสาทรจากถนนวิทยุ ธนาคารฮ่องกงเซ่ยี งไฮ้ ปากคลองผดุงกรงุ เกษม 164
ยา่ นธรุ กจิ สลี มปจั จุบัน 165
๓บทท่ี กรุงรตั นโกสนิ ทรเ์ รืองรอง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลท่ี ๑ ปฐมบรมกษัตรยิ ์แห่งพระบรมราชจกั รีวงศ์ ทรงสถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เม่อื พุทธศักราช ๒๓๒๕ มนี ามเตม็ ว่า “กรุงเทพมหานคร อมรรตั นโกสนิ ทร์ มหนิ ทรายธุ ยา มหาดลิ กภพ นพรตั นราช ธานีบูรรี มย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพมิ านอวตารสถิต สักกทตั ติยวิษณกุ รรมประสทิ ธ”์ิ แปลความไดว้ ่า “พระนครอันกว้างใหญด่ จุ เทพนคร เปน็ ท่สี ถติ ของพระแกว้ มรกต เป็นมหานคร ท่ไี มม่ ใี ครรบชนะได้ มคี วามงามอนั มัน่ คงและเจรญิ ย่งิ เปน็ เมืองหลวงท่บี ริบูรณ์ดว้ ยแก้วเกา้ ประการน่าร่ืนรมย์ย่ิง มีพระราชนิเวศน์ใหญ่โตมากมาย เป็นวิมานท่ีประทับของพระราชา ผ้อู วตารลงมา ซง่ึ ทา้ วสักกเทวราชพระราชทานให้พระวิษณกุ รรมลงมาเนรมิตไว้” ชว่ งตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทรต์ ง้ั แตร่ ชั กาลท่ี ๑ ถงึ รชั กาลที่ ๓ เปน็ ระยะสรา้ งกรงุ เมอื่ แรกสถาปนา ไดฟ้ น้ื ฟบู า้ นเมอื งใหเ้ หมอื น คร้ังกรงุ ศรีอยธุ ยาเจรญิ รงุ่ เรือง มกี ารขยายอาณาเขตเมอื ง ขดุ คลอง สร้างถนน สะพาน สรา้ งวัดวาอาราม เสรมิ สร้างขวญั ก�ำลงั ใจดา้ น พระศาสนา บา้ นเมอื งเปน็ ปกึ แผน่ มนั่ คง และสงา่ งาม นอกจากประชากรทเ่ี ปน็ ชาวเมอื งบางกอกแตเ่ ดมิ แลว้ ยงั ประกอบดว้ ยผคู้ นหลาก หลายชาติพันธ์ุ ทั้งทีอ่ พยพหลัง่ ไหลเขา้ มายังราชธานี และกลุ่มคนทเ่ี ขา้ มาพ่งึ พระบรมโพธสิ มภารดว้ ยเหตุผลตา่ งๆ กัน รวมกลุ่มและ แยกย้ายตัง้ บ้านเรอื นไปตามกลมุ่ ชาตพิ ันธขุ์ องตน วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม 167
168
169
สมยั รชั กาลที่ ๔ ถงึ รชั กาลที่ ๗ เปน็ ระยะทอี่ ทิ ธพิ ลของตะวนั ตกแผข่ ยายเขา้ มา และเปน็ ยคุ ล่าอาณานคิ ม ท�ำให้ตอ้ งเปลีย่ นแปลงปรับปรุงและพฒั นาบา้ นเมืองในทุกดา้ น เพอื่ ใหน้ านาชาตเิ หน็ วา่ ไทยเปน็ ชาตทิ นั สมยั และมอี ารยะ ทง้ั ดา้ นการศกึ ษา เศรษฐกจิ สงั คม และขนบธรรมเนยี มประเพณ ี การรบั อารยธรรมตะวนั ตกสง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทง้ั ทางกายภาพและวถิ ชี วี ติ อาทิวถิ ชี วี ติ รมิ นำ�้ ทใ่ี ชค้ ลองเปน็ เสน้ ทางคมนาคมเปลย่ี นเปน็ ทางบก มีการตัดถนนเพิ่มขึ้นอีกหลายสาย สร้างสะพานเชื่อมฝั่งพระนครและธนบุรีหลายแห่ง เกิดการก่อสร้างอาคารเพื่อเป็นย่านการค้า มีการสร้างบ้านเรือนตามแบบอย่างตะวันตก มรี ะบบสาธารณปู โภค การไฟฟา้ ประปา และการสอื่ สาร รวมทงั้ จา้ งชาวตะวนั ตกถา่ ยทอด ความรู้วิทยาการบางอย่าง ผลจากการพัฒนาบ้านเมืองท�ำให้เติบโตขยายพ้ืนท่ีออกไป อย่างกว้างขวาง รวมท้ังการบริหารราชการแผ่นดินท�ำให้มีการแบ่งพ้ืนที่การปกครองเป็น อำ� เภอช้นั ใน ช้นั นอก การขยายตัวของชุมชนมากขนึ้ สมัยรัชกาลท่ี ๘ ถึงรัชกาลปัจจุบัน ยุคแห่งเทคโนโลยีสมัยใหม่และยุคโลกา ภิวัตน์ ในช่วงเวลาดังกล่าวความเติบโตของเมืองควบคู่ไปกับความเติบโตของประชากร ที่ทวีจ�ำนวนมากข้ึน ท้ังการหลั่งไหลของประชากรจากชนบทเข้าสู่เมือง จากชาวต่างชาติ ท่ีเป็นประเทศเพ่ือนบ้าน เพื่อเป็นแรงงานและชาติอ่ืน ๆ เพื่อการด�ำเนินธุรกิจ การค้า และอุตสาหกรรม เกิดการสร้างถนนเพ่ือเช่ือมกรุงเทพมหานครกับเขตชานเมือง ท�ำให้ กรุงเทพฯ ต้องขยายตัวออกไปทุกทิศทาง ในยุคนี้ได้รวมฝั่งพระนครและธนบุรีเข้า ด้วยกนั เปน็ กรุงเทพมหานคร ได้พฒั นาและเปน็ แหล่งรวมความเจริญและสถาบนั ทัง้ ปวง ของชาติ เปน็ ศนู ยก์ ลางของประเทศ ทง้ั ดา้ นการบรหิ าร การปกครอง การศกึ ษา เศรษฐกจิ การพาณิชย์ การอตุ สาหกรรม การคมนาคม การทหาร การทอ่ งเท่ียว และเปน็ เมืองหลวง ของประเทศ เปน็ มหานครทีใ่ หญต่ ดิ อนั ดบั โลก ผลการส�ำรวจของมาสเตอรก์ ารด์ ฉบับท่ี ๗ ประจำ� ปี ๒๕๖๑ (Mastercard’s Global Destinations Cities Index, GDCI 2018) กรงุ เทพมหานครไดช้ ่อื ว่าเป็นสุดยอด จุดหมายปลายทางท่ีนักท่องเที่ยวต้องการมาเยือนและพักแรมมากท่ีสุดในโลก ถือเป็น การครองตำ� แหน่งอนั ดบั ๑ เปน็ ครัง้ ที่ ๕ ในรอบ ๖ ปี นบั จากปี ๒๕๕๕ และเปน็ การ ครองอนั ดบั ๑ ตอ่ เนื่องถึง ๓ ปี พระทีน่ ั่งจักรีมหาปราสาท ผสมผสานระหวา่ งสถาปัตยกรรมไทยกับยโุ รป พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สรา้ งข้นึ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๑๙ 170
171
พระพุทธไสยาส วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธิ์)
พระมหาเจดีย์ ๔ รัชกาล วดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม
บรรณานกุ รม กรมศิลปากร. ภูมิปญั ญาและเทคโนโลยที ้องถิ่น. กรงุ เทพฯ : สำ� นกั โบราณคดแี ละพพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาต,ิ ๒๕๔๒. _________ . พระมหากษัตรยิ ข์ องไทย. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทร์พรนิ้ ติง้ แอนด์พบั ลิชชิ่ง จำ� กัด (มหาชน), ๒๕๖๐. _________ . พระราชพธิ ีฉลองพระนครครบ ๑๕๐ ป.ี กรงุ เทพฯ : กองวรรณคดแี ละประวัตศิ าสตร์, ๒๕๒๔. _________ . ศลิ ปวฒั นธรรมไทย เล่มที่ ๗ นาฏดุริยางคศลิ ปไทย กรงุ รตั นโกสนิ ทร์. (จัดพิมพ์เน่ืองในการสมโภชกรุงรัตนโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ป)ี กรงุ เทพฯ : หจก. โรงพมิ พ์ยไู นเตด็ โปรดักชน่ั , ๒๕๒๕. กระทรวงวัฒนธรรม. พระอัฐมรามาธบิ ดนิ ทร. กรงุ เทพฯ : สำ� นักวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๕๘. คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำ� นวยการจดั งานเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เนอื่ งในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๔๒. การแต่งกายไทย : ววิ ฒั นาการ จากอดีตสู่ปจั จบุ นั เลม่ ๑ - เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : ส�ำนกั งานเสริมสร้างเอกลกั ษณข์ องชาต,ิ ๒๕๔๓. คณะกรรมการจดั งานสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ป.ี สมดุ ภาพสถาปตั ยกรรมกรงุ รตั นโกสนิ ทร.์ กรงุ เทพฯ : คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๒๕. _________ . สมดุ ภาพเหตกุ ารณส์ �ำคญั ของกรุงรตั นโกสนิ ทร์. กรุงเทพฯ : สำ� นกั ราชเลขาธกิ าร, ๒๕๒๕. นวรัตน์ เลขะกลุ . เบ้ีย บาท กษาปณ์ แบงก.์ กรงุ เทพฯ : ธนาคารแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๔๐. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในความทรงจ�ำแห่งโลก. กรุงเทพฯ : คณะอนุกรรมการจัดท�ำหนังสือเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาส ๑๐๐ ป ี แห่งการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว, ๒๕๕๔. พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช. รามเกยี รต์ิ เล่ม ๓. กรงุ เทพฯ : คลงั วิทยา, ๒๕๐๗. รางวิวัฒน์ พฒั นาเมือง การขนส่งระบบรางเพอ่ื คณุ ภาพชีวิตของชาวกรงุ เทพฯ. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทระบบขนสง่ มวลชนกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๕๑. วนิ ัย พงศศ์ รีเพยี ร. (บรรณาธิการ). ๒๓๐ ปี ศรรี ัตนโกสนิ ทร์ มรดกความทรงจ�ำกรงุ เทพมหานคร. กรงุ เทพฯ : โครงการวิจยั ๑๐๐ เอกสารสำ� คัญเก่ียวกับประวตั ิศาสตร์ไทย, ๒๕๕๖. ศักดา ศริ ิพนั ธุ์. กษัตรยิ ์ & กล้อง วิวัฒนาการการถา่ ยภาพในประเทศไทย พ.ศ. ๒๓๘๘ - ๒๕๓๕. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ด่านสทุ ธา การพิมพ,์ ๒๕๓๕. 178
สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์. นิทัศนการหน่ึงศตวรรษแห่งการผลัดแผ่นดิน จากรัชกาลที่ ๔ มาสู่รัชกาลที่ ๕. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๓, กรงุ เทพฯ : กรงุ สยามการพิมพ์, ๒๕๑๑. สำ� นกั การโยธา กรงุ เทพมหานคร. จดหมายเหตเุ ลา่ เรือ่ งถนนเมืองบางกอก เล่ม ๑ รัชกาลที่ ๔ - ๕. กรงุ เทพฯ : สำ� นกั การโยธา กรงุ เทพมหานคร, ๒๕๕๗. _________ . จดหมายเหตุเลา่ เรอื่ งถนนเมืองบางกอก เลม่ ๒ รชั กาลที่ ๖ – ๙. กรุงเทพฯ : ส�ำนักการโยธา กรงุ เทพมหานคร, ๒๕๕๗. _________ . จดหมายเหตุเล่าเรือ่ งอนสุ าวรีย์เมืองบางกอก. กรงุ เทพฯ : ส�ำนกั การโยธา กรงุ เทพมหานคร, ๒๕๕๙. _________ . ซุ้มเฉลมิ พระเกียรติ. กรุงเทพฯ : สำ� นักการโยธา กรงุ เทพมหานคร, ๒๕๖๐. ส�ำนักวัฒนธรรม กีฬา และการทอ่ งเทีย่ ว กรงุ เทพมหานคร. กรุงเทพฯ บนฝั่งธารแหง่ วัฒนธรรม. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒, กรุงเทพฯ : บรษิ ัท รำ� ไทยเพรส จำ� กัด, ๒๕๕๕. สำ� นกั หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ กรมศลิ ปากร. เฉลมิ ฟลิ ม์ กระจก ฉลองมรดกความทรงจำ� แหง่ โลก. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ไซเบอรพ์ รน้ิ ท์ กร๊ปุ จำ� กัด ส�ำนกั งานใหญ,่ ๒๕๖๑. _________ . ประมวลภาพประวตั ศิ าสตรไ์ ทย วถิ ชี วี ติ . กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตงิ้ แอนดพ์ บั ลชิ ชง่ิ จำ� กดั (มหาชน), ๒๕๖๐. _________ . ฟิล์มกระจกจดหมายเหตุ หนง่ึ พันภาพประวัตศิ าสตรร์ ัตนโกสินทร.์ พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๓, กรงุ เทพฯ : ห้างหนุ้ สว่ นจ�ำกัด เรอื นแกว้ การพิมพ,์ ๒๕๖๐. อรรถดา คอมันตร.์ ราชอาณาจักรสยาม ณ พระราชวังฟงแตนโบล คณะราชทตู สยาม ๒๗ มถิ ุนายน ค.ศ. ๑๘๖๑. กรงุ เทพฯ : สยาม เรเนซองส,์ ๒๕๕๖. อรวรรณ ศรอี ดุ ม. วนั วาน... กบั วนั นี้ของสลี ม SILOM ROAD. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท อมรนิ ทรพ์ ริ้นตง้ิ กร๊พุ จ�ำกัด, ๒๕๓๕. เอนก นาวกิ มูล. สมดุ ภาพเมอื งไทย เล่ม ๑ - ๒ - ๓. กรุงเทพฯ : ส�ำนกั พมิ พ์โนรา, ๒๕๔๓. Thailand : Brilliant Land of the Buddha. (Special Exhibition Celebrating 130 Years of Amity between Japan and Thailand). Tokyo : Nikkei Inc, 2017. 179
๒๓๒๕ - ๒๕๖๒ ใตรม พระบารมี ๒๓๗ ป กรงุ รัตนโกสินทร ๒๓๒๕ - ๒๕๖๒ ใต้รม่ พระบารมี ๒๓๗ปี กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ๒๓๒๕-๒๕๖๒ ๒๓๗ใตร มพระบารมี สำ� นักงานปลดั กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ปก รงุ รตั นโกสนิ ทร กองกลาง กลมุ่ ส่งเสริมเครอื ขา่ ยและประสานราชการภมู ภิ าค มิตร แขวงหว ยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐ จดั พิมพ์ เดือนมีนาคม พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม ISBN : 978-616-543-583-3 โทรศพั ท ๐ ๒๒๐๙ ๓๕๑๕-๑๙ www.m-culture.go.th ทป่ี รกึ ษา นายวรี ะ โรจนพ์ จนรัตน ์ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงวัฒนธรรม นายกฤษศญพงษ์ ศริ ิ ปลดั กระทรวงวัฒนธรรม นางยพุ า ทวีวฒั นะกิจบวร รองปลัดกระทรวงวัฒนธรรม บรรณาธกิ ารและคณะท�ำงาน นายสมชาย ณ นครพนม นางสาวพิมพพ์ รรณ ไพบูลย์หวังเจริญ นางจฑุ าทิพย์ โคตรประทมุ นางเบญจมาส แพทอง นางสาวอรสรา สายบัว นางคมสิริ โสภา นายพัฐศษิ ฏ์ ธนชวาลย ์ นางอลงกรณ์ จารธุ ีรนาท นางสาวอษุ า แย้มบุบผา บทอาศิรวาท นางดาวรตั น์ ชทู รพั ย์ ภาพประกอบ กรุงเทพมหานคร ส�ำนกั หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ กรมศิลปากร ออกแบบและจดั พิมพ์ บรษิ ทั ร่งุ ศลิ ปก์ ารพมิ พ์ (1977) จ�ำกัด โทรศัพท์ ๐ ๒๑๑๘ ๓๕๕๕
กระทรวงวัฒนธรรม ๑๐ ถนนเทยี มร่วมมิตร แขวงหว้ ยขวาง เขตหว้ ยขวาง กรงุ เทพฯ ๑๐๓๑๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๐๙ ๓๕๑๕-๑๙ สายด่วนวัฒนธรรม ๑๗๖๕ www.m-culture.go.th
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184