Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore IndiaTrade and Investment Handbook

IndiaTrade and Investment Handbook

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-03-19 02:36:26

Description: IndiaTrade and Investment Handbook

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั อินเดยี จดั ทำโดย กรมส่งเสรมิ การสง่ ออก กระทรวงพาณชิ ย์

หนงั สอื ชื่อ : คู่มือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดีย ชื่อผแู้ ต่ง : กรมสง่ เสริมการสง่ ออก กระทรวงพาณชิ ย์ ปที ี่แต่ง : ตลุ าคม 2554 จำนวนทพี่ มิ พ ์ : 2,000 เลม่ จำนวนหนา้ : 136 หน้า ISBN : 978-974-9915-86-8 พมิ พ์ที ่ : สำนักข่าวพาณิชย์ กรมสง่ เสรมิ การส่งออก 22/77 ถนนรัชดาภเิ ษก แขวงจนั ทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. (662) 511 5066 - 77 ตอ่ 382, 384 โทรสาร (662) 513 6413 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดยี กรมสง่ เสริมการส่งออก กระทรวงพาณชิ ย์ 44/100 ถนนนนทบรุ ี 1 ตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จงั หวัดนนทบรุ ี 11000 โทร. (662) 507 7999 โทรสาร (662) 507 7722, (662) 547 5657 - 8 เวบ็ ไซต์ : http://www.depthai.go.th

คำนำ ข้อมูลที่ถูกต้องทันสมัยเป็นหน่ึงในปัจจัยสำคัญของการดำเนินธุรกิจ กรมสง่ เสรมิ การสง่ ออกจงึ ไดม้ อบหมายใหส้ ำนกั พฒั นาการตลาดระหวา่ งประเทศ จดั ทำหนงั สอื คมู่ อื การคา้ และการลงทนุ รายประเทศขน้ึ เพอ่ื ใหน้ กั ธรุ กจิ ผสู้ ง่ ออก และนักลงทุนไทยรวมถึงผู้สนใจท่ัวไปได้มีโอกาสใช้ประโยชน์จากหนังสือเล่มน้ี อย่างเต็มท่ี “คู่มือ การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐอินเดีย” ประกอบด้วย สาระน่ารู้เกี่ยวกับทิศทางการค้าและการลงทุนในประเทศสาธารณรัฐอินเดีย ตลอดจนเกร็ดน่ารู้เก่ียวกับธรรมเนียมปฏิบัติในการติดต่อธุรกิจซ่ึงรวบรวมจาก สำนกั สง่ เสรมิ การคา้ ในตา่ งประเทศ เพม่ิ เตมิ ดว้ ยขอ้ มลู จากแหลง่ อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยตรงเพือ่ ใหไ้ ดเ้ นอ้ื หาทคี่ รบถ้วนสมบรู ณ์ นำไปใชป้ ระกอบการตัดสินใจใน การดำเนินธุรกจิ ในต่างประเทศ และกำหนดกลยทุ ธใ์ นการดำเนินธรุ กิจไดอ้ ย่าง รู้เท่าทัน ส่งเสริมให้นักธุรกิจไทยสามารถใช้ประโยชน์จากกฎระเบียบและข้อ ตกลงทางการค้าต่างๆ ได้อย่างคุ้มค่า ทั้งยังเป็นการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับ กระแสการเปลย่ี นแปลงของเศรษฐกจิ โลกโดยเฉพาะการกา้ วสกู่ ารเปน็ ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) ในปี 2558 ทา้ ยท่สี ุด ขอขอบคุณทุกฝ่ายทีม่ ีสว่ นเกีย่ วขอ้ งและสนับสนนุ ใหก้ าร จดั ทำหนงั สอื “คมู่ อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดยี ” สำเร็จลุลว่ งดว้ ยดี สำนักพฒั นาการตลาดระหวา่ งประเทศ กรมส่งเสริมการสง่ ออก



สารบัญ หน้า เรือ่ ง 1 1. ขอ้ มลู พ้ืนฐาน 1 1 1.1 สภาพภูมิประเทศ 2 1.2 สภาพภูมิอากาศ 3 1.3 เมืองสำคญั 4 1.4 การแบง่ เขตการปกครอง 1.5 ระบบการปกครอง 10 1.5.1 การบริหารรัฐบาลกลาง 11 1.5.2 คณะผ้บู ริหารประเทศในปัจจุบัน 11 1.5.3 การบริหารระดับรัฐ 12 1.5.4 การเมอื ง 12 1.6 ประชากร/สงั คม/วฒั นธรรม 12 1.7 ภาษาราชการ 1.8 สกุลเงนิ 15 1.9 เวลา 16 1.10 วนั หยดุ นักขตั ฤกษ์ 22 1.11 เสน้ ทางคมนาคม 28 1.11.1 ถนน 1.11.2 ทางรถไฟ 30 1.11.3 การขนสง่ ทางน้ำ 1.11.4 การขนส่งทางอากาศ 30 1.12 ระบบการเงินการธนาคาร 32 1.13 เมอื งเศรษฐกจิ รอ้ นแรงของอนิ เดีย 10 เมอื ง 34 1.14 ขอ้ มลู ทางเศรษฐกจิ ท่สี ำคัญในเขตพน้ื ที่ทางตะวันตก 34 ของสาธารณรฐั อนิ เดีย 1.15 ขอ้ มลู ทางเศรษฐกจิ ในภมู ิภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ของอินเดีย 2. เศรษฐกิจการค้า 2.1 ภาวะเศรษฐกจิ 2.2 เศรษฐกจิ อินเดียในปี 2010 2.3 เครอ่ื งช้วี ัดเศรษฐกิจสำคัญ 2.4 อตั ราดอกเบ้ียและอัตราเงนิ เฟอ้ ของอินเดีย

2.5 นโยบายด้านเศรษฐกิจการคา้ 35 2.6 การคา้ ระหวา่ งประเทศของอินเดียกบั ทั่วโลก 36 2.7 การคา้ กบั ประเทศไทย 37 2.7.1 การส่งออก 2.7.2 การนำเขา้ 42 2.7.3 ความรว่ มมือการคา้ ระหวา่ งประเทศไทย-อนิ เดีย 2.8 กฎระเบยี บการนำเขา้ สินคา้ 46 2.8.1 มาตรการดา้ นภาษี 2.8.2 มาตรการทีม่ ิใช่ภาษี 50 2.9 โอกาสทางการค้าและปัญหาอปุ สรรค 50 3. รายงานสนิ ค้าและตลาดทีน่ ่าสนใจ 52 53 3.1 อาหารฮาลาล 58 3.2 นำ้ ผลไม้ 59 3.3 ผักผลไมข้ องอนิ เดีย 60 3.4 ยางพารา 63 3.5 รถจกั รยานยนต์และรถสามล้อในอนิ เดีย 63 3.6 เทศกาลดวิ าลี ปีใหมอ่ ินเดีย- 71 เทศกาลแห่งการเจาะตลาดอินเดยี 75 3.7 อุตสาหกรรมภาพยนตร์ของอนิ เดีย 3.8 พฤติกรรมการบรโิ ภคของวัยรุ่นอินเดยี 77 3.9 อตุ สาหกรรมกอ่ สร้างของไทย 3.10 ธุรกจิ สปาในอนิ เดยี 77 78 4. การลงทุน 78 80 4.1 การลงทุนจากตา่ งประเทศ 80 4.2 สง่ิ อำนวยความสะดวกพืน้ ฐาน 82 4.3 กฎระเบยี บการลงทนุ (FDI Policy) 86 4.4 ข้อกำหนดในการลงทนุ ตา่ งชาต ิ 86 4.5 นโยบายส่งเสรมิ การลงทุน 87 4.6 ภาษ ี 87 4.7 แรงงานและภาคธรุ กจิ /อตุ สาหกรรมท่ีนา่ ลงทุน 88 4.8 อตั ราคา่ แรงขั้นต่ำตามกฎหมายแรงงานอินเดยี 4.9 หลักเกณฑก์ ารเอาเงนิ กลบั ประเทศ 4.10 โอกาสความร่วมมอื ทางดา้ นการลงทนุ ราย สาขาอุตสาหกรรมไทย-อินเดีย 4.11 ลทู่ างการลงทนุ ในภาคอีสานของอินเดีย

5. ขอ้ มูลที่นา่ สนใจในการดำเนนิ ธุรกิจในอนิ เดยี 91 5.1 การจัดตั้งสำนักงานตัวแทน 91 5.2 การจดสทิ ธิบัตร 91 5.3 แนวทางการจัดต้ังร้านอาหารและภตั ตาคารไทยในอินเดยี 91 5.4 ข้อมูลและภาพตลาดการค้า 99 (ตลาด ห้างสรรพสินค้า แหลง่ ค้าขายท้งั สง่ และปลกี สภาพความเปน็ อยขู่ องคน เมอื ง / ชนบท) 101 5.5 เทย่ี วบินระหว่างไทย – อนิ เดยี 101 5.6 เวบ็ ไซตส์ ำคัญ 102 6. คำถามที่พบบอ่ ยๆ 102 6.1 อัตราภาษ ี 104 6.2 รูปแบบการชำระเงินในอนิ เดยี 105 6.3 เสน้ ทางขนส่งสินคา้ ไทย เขา้ ไปเมืองสำคญั ตา่ งๆ 106 6.4 หนว่ ยการนบั เงนิ ของอนิ เดยี 106 6.5 เกรด็ อืน่ ๆ ที่ผู้สง่ ออกควรทราบ 110 6.6 เทศกาลหรือประเพณีทสี่ ำคัญของอนิ เดยี 112 7. หน่วยงานติดตอ่ สำคัญ / รายช่อื ห้างสรรพสินคา้ / ไฮเปอรม์ ารเ์ กต็ 112 113 7.1 สถานเอกอัครราชทูตไทย / สถานกงสลุ ไทย 114 7.2 สำนักงานส่งเสรมิ การคา้ ระหว่างประเทศ 115 7.3 บริษัทการบินไทย 115 7.4 ธนาคารกรุงไทย 117 7.5 รายชอื่ ห้างสรรพสินค้า / ไฮเปอรม์ ารเ์ ก็ต 7.6 รายช่ือร้านอาหารไทย Delhi, Kolkata, 121 Gurgaon & Mombai 8. ขอ้ มลู อา้ งอิง



สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India) 1. ข้อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภมู ิประเทศ • ต้ังอย่ใู นเอเชียใต้ มีพรมแดนตดิ กับ 6 ประเทศ คือ จนี เนปาล ภูฏานในตอนเหนือทิศตะวันตกเฉียงเหนือจรดปากีสถานทิศตะวันออกจรด บังกลาเทศ และทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือจรดพม่า • มดี ินแดนในอาณัติ คือ หมู่เกาะนโิ คบาและอนั ดามนั ซึ่งอยูห่ ่าง จากชายฝงั่ ดา้ นตะวนั ตกของประเทศไทยเพยี ง 300 กโิ ลเมตร ท้ังนี้ เมอื งหลกั ของหมเู่ กาะคอื พอร์ตแบร์ ซง่ึ มคี วามตกลง Sister City กับเกาะภเู ก็ตของไทย • พนื้ ที่ 3,287,590 ตารางกโิ ลเมตร ใหญ่เปน็ อนั ดับ 7 ของโลก จงึ เรยี กวา่ เปน็ “อนทุ วปี ” มขี นาดใหญก่ วา่ ประเทศไทย 6 เทา่ มพี น้ื ทเ่ี หมาะ แก่การเพาะปลูกกว่าร้อยละ 54 ของพื้นที่ทั้งหมด มีพื้นที่ชลประทานมาก เป็นอันดับ 1 ของโลก และมีอาณาเขตทางทะเลยาว 7,516.6 กิโลเมตร ติดอ่าวเบงกอล (ทิศตะวนั ออก) ทะเลอาหรับ (ทศิ ตะวนั ตก) และมหาสมุทร อนิ เดีย (ทศิ ใต)้ 1.2 สภาพภูมิอากาศ มีความแตกต่างกันอย่างมากในแต่ละ ภมู ภิ าค เนอ่ื งจากไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ ฤดรู อ้ นและฤดหู นาว และมพี น้ื ท่ี กว้างใหญ่มักประสบภัยธรรมชาติ ไดแ้ ก่ น้ำท่วมฉบั พลนั แผ่นดินไหว ภัยแล้ง คูม่ อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐอนิ เดยี 1

และแผน่ ดินถลม่ ตอนเหนืออยใู่ นเขตหนาว ขณะท่ีตอนใต้อย่ใู นเขตรอ้ น • ภาคเหนอื มี 4 ฤดู คอื ฤดูหนาว (ธันวาคม - กมุ ภาพันธ)์ ฤดรู อ้ น (มีนาคม - มิถนุ ายน) ฤดูลมมรสุม (มิถุนายน - กันยายน) และฤดหู ลังมรสมุ (ตลุ าคม - พฤศจกิ ายน) อุณหภูมเิ ฉลย่ี ในที่ราบช่วงฤดูร้อน ประมาณ 35° C และฤดูหนาว ประมาณ 10° C • ภาคใต้ ภมู อิ ากาศคลา้ ยประเทศไทย โดยมี 3 ฤดู คือ ฤดูหนาว (ธนั วาคม - กุมภาพันธ์) ฤดรู อ้ น (มนี าคม - กนั ยายน) ฤดฝู น (ตุลาคม - พฤศจกิ ายน) 1.3 เมอื งสำคญั • กรุงนิวเดลี เป็นเมืองหลวงของประเทศอินเดีย เป็นศูนย์กลาง ในการตดิ ตอ่ ประสานงานทง้ั ภาครัฐ และเอกชนในระดับประเทศ • เมอื งมมุ ไบซึ่งเป็นเมอื งหลวงของรฐั มหาราษฏระ มคี วามสำคญั ทางเศรษฐกิจ เปน็ ศูนยก์ ลางการคา้ และการเงินของอนิ เดีย โดยเปน็ ทต่ี งั้ ของ สำนักงานใหญข่ องสถาบนั ทางการเงนิ เกือบทกุ แห่ง รวมทงั้ ตลาดหลักทรัพย์ ที่ใหญ่ที่สุดของอินเดียและเก่าแก่ที่สุดของเอเชียอย่าง Bombay Stock Exchange • เมอื งบังกาลอร์ เป็นเมอื งหลวงของรัฐคารน์ าทากะ ซง่ึ เปน็ พ้นื ที่ สำคญั ในภาคการผลติ ของอินเดีย ทง้ั ภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรม มีโครงสร้างพื้นฐานอยู่ในระดับดีมาก เมื่อเทียบกับเมืองอื่นเป็นศูนย์กลาง ดา้ นการผลติ สนิ คา้ เทคโนโลยีสูง และ IT • เมอื งเจนไน เป็นเมืองหลวงของรัฐทมิฬนาฑู มปี ระชากร 7.5 ลา้ นคน อตุ สาหกรรมสำคญั คอื รถยนต์ IT (Software & Hardware และ การบริการดา้ นสุขภาพ เป็นผสู้ ง่ ออกสนิ ค้า IT โดยเฉพาะสินค้า Software มากเปน็ อนั ดับสองรองจากบังกะลอร์ • เมืองไฮเดอราบดั เป็นเมืองหลวงของรฐั อันตประเทศ มปี ระชากร 7 ลา้ นคน เปน็ เมอื งที่มคี วามหลากหลายด้านภาษาวฒั นธรรม และความรู้ แขนงต่างๆ ในด้านเศรษฐกิจไฮเดอราบัดมีชื่อเสียงด้านไข่มุกและการเป็น ศูนย์กลางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ • เมืองกัลกัตตา เปน็ เมืองหลวงของรัฐเบงกอลตะวันตก และ เคยเปน็ เมอื งหลวงของประเทศอินเดยี ในปัจจุบันเปน็ เมอื งสำคัญทางดา้ นการคา้ และอุตสาหกรรมของอินเดียโดยเฉพาะอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและการผลิต รถยนต์ • เมอื งสำคัญอื่นๆ ได้แก่ อาหเ์ มดาบัด ปูเน่ สุรัติ และกานปรู ์ • เมืองท่า ได้แก่ เจนไน, Jawaharal Nehru (JNPT), กัลกัตตา, มุมไบ, Haldia, วิสาขาปตั นมั , Mormugao, Kochi, Ennore, Kandla และ Sikka 2 ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอนิ เดยี

1.4 การแบง่ เขตการปกครอง อนิ เดยี แบง่ เขตการปกครองออก เปน็ 29 รฐั (States) (ซ่งึ แบ่งยอ่ ยลงเป็นเขต) และ 6 ดนิ แดนสหภาพ (Union Territories) ได้แก่ สหพันธรฐั (Federal System) แบง่ ออกเปน็ 29 รัฐ สหภาพอาณาเขตของรฐั บาลกลาง 1. อานธรประเทศ 15. มหาราษฏระ A. หมเู่ กาะอนั ดามันและนโิ คบาร์ 2. อรุณาจัลประเทศ 16. มณีปรุ ะ B. จณั ฑีครห์ 3. อัสสัม 17. เมฆาลัย C. ดาดราและนครหเวลี 4. พิหาร 18. มิโซรัม D. ดามนั และดอี 5. ฉัตตสิ ครห์ 19. นาคาแลนด ์ E. ลกั ษทวีป 6. กวั 20. โอรสิ สา G. พอนดีเชอรี 7. คุชราต 21. ปัญจาบ 8. หรยาณา 22. ราชสถาน 9. หิมาจลั ประเทศ 23. สกิ ขิม 10. จมั มแู ละแคสเมยี ร์ 24. ทมิฬนาฑ 11. ฌารข์ ณั ฑ์ 25. ตรปิ ุระ 12. กรณาฏกะ 26. อุตตรประเทศ 13. เกรละ 27. อุตตราขัณฑ์ 14. มธั ยประเทศ 28. เบงกอลตะวันตก 29. นิวเดลี ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐอนิ เดยี 3

1.5 ระบบการปกครอง อินเดียเป็นประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ และกระจายอำนาจการปกครองใน ลักษณะสหพนั ธรฐั (Federal System) แบง่ ออกเปน็ 29 รฐั และ 6 สหภาพ อาณาเขตของรฐั บาลกลาง (Union Territories) รฐั ธรรมนญู อนิ เดยี แบง่ แยก อำนาจระหว่างรัฐบาลกลางและรัฐบาลมลรัฐ (State Government) อยา่ งชดั เจน โดยรฐั บาลกลางดำเนนิ การเรอ่ื งการปอ้ งกนั ประเทศ ดา้ นนโยบาย ตา่ งประเทศ การทหาร การรถไฟ การบินและการคมนาคมอนื่ ๆ ด้านการเงิน ดา้ นกฎหมายอาญา ฯลฯ ส่วนรัฐบาลมลรฐั มีอำนาจในการรักษาความสงบ เรียบร้อยและรักษากฎหมายการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรมของ แต่ละมลรัฐ 1.5.1 การบริหารรฐั บาลกลาง แยกอำนาจระหว่างฝา่ ยตุลาการ ฝ่ายนิติบญั ญตั ิ และฝา่ ยบริหาร โดยฝ่ายนติ ิบัญญัติประกอบด้วย 2 สภา คือ • ราชยสภา (Rajya Sabha) หรอื วฒุ สิ ภา ตามรฐั ธรรมนญู บญั ญตั ิ ให้ราชยสภามีสมาชิก 250 คน ปัจจุบันมีสมาชิก 245 คน โดย 12 คน จะเป็นผทู้ รงคณุ วุฒใิ นสาขาต่างๆ ท่ไี ด้รับการแต่งตัง้ จากประธานาธิบดีทุก 2 ปี และอกี 233 คน มาจากการเลือกตั้งทางออ้ ม เป็นผู้แทนของรฐั และ Union Territories • โลกสภา (Lok Sabha) หรอื สภาผแู้ ทนราษฎร มสี มาชกิ 545 คน โดยสมาชิก 543 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรง (530 คน มาจาก แต่ละรัฐ ส่วนอกี 13 คน มาจาก Union Territories) และอีก 2 คน มาจาก การคัดเลือกของประธานาธิบดี จากกลุ่มอินโด-อารยันในประเทศ ทั้งนี้มีวาระ คราวละ 5 ปี เวน้ เสยี แต่จะมีการยุบสภาฝา่ ยบริหาร 1.5.2 คณะผบู้ ริหารประเทศในปจั จุบนั • ประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐและเป็นหัวหน้าคณะผู้บริหาร (Head of Executive of the Union) ประกอบดว้ ยรองประธานาธบิ ดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐบาล ประธานาธิบดีได้รับการเลือกตั้งทางอ้อมจาก ผู้แทนของทั้ง 2 สภา รวมทั้งสภานิติบัญญัติของแต่ละรัฐ ดำรงตำแหน่ง ประธานาธิบดีคนปจั จุบัน คือ H.E. Mrs.Pratibha Devisingh patil 4 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดยี

คราวละ 5 ปี สามารถลงสมคั รรบั เลือกตง้ั เป็นวาระท่ี 2 ได้ ประธานาธิบดคี นปจั จุบนั คอื นางประติพาปาทิล(H.E.Mrs.Pratibha Devisingh Patil) เปน็ ประธานาธบิ ดคี นท ่ี 13 และเปน็ ประธานาธบิ ดหี ญิงคนแรก ของอนิ เดยี เข้ารบั ตำแหนง่ เมื่อวนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2007 • รองประธานาธิบดี ไดร้ ับการเลือกต้ังทางอ้อมจากผูแ้ ทนของทัง้ 2 สภา ดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี และเป็นประธานราชยสภาโดยตำแหน่ง รองประธานาธบิ ดีอนิ เดยี คนปจั จบุ ัน คอื H.E. Mr. Shri M. Hamid • นายกรฐั มนตรี เปน็ ผทู้ ม่ี อี ำนาจในการบรหิ ารอยา่ งแทจ้ รงิ ดำรง ตำแหนง่ คราวละ 5 ปี ได้รบั การแตง่ ตั้งโดยตรงจากประธานาธบิ ดี เป็นหวั หน้า คณะรฐั มนตรี (Council of Ministers) ซึ่งประกอบด้วย รฐั มนตรี (Ministers) รัฐมนตรที ข่ี ึน้ ตรงต่อนายกรฐั มนตรี (Ministers of State - Independent Charge) และรัฐมนตรีชว่ ยว่าการ (Ministers of State) รับผดิ ชอบโดยตรง ต่อโลกสภาฝ่ายตุลาการอำนาจตุลาการเป็นอำนาจอิสระไม่ข้ึนกับฝ่ายบริหาร มหี นา้ ทป่ี กปอ้ งและตคี วามรฐั ธรรมนญู ศาลฎกี า (Supreme Court) เปน็ ศาล สูงสุดของประเทศ ผู้พิพากษาประจำศาลฎีกา มีจำนวนไม่เกิน 25 คน แต่งตั้งโดยประธานาธิบดี ระดับรัฐ มีศาลสงู (High Court) เป็นศาลสูงสดุ ของแต่ละรฐั รองลงมาเปน็ Subordinate Courts ซงึ่ แตกตา่ งกันไปในแต่ละรฐั นายกรัฐมนตรคี นปจั จบุ นั คอื H.E. Dr. Manmohan Singh คมู่ อื การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดยี 5

นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบนั คอื นายมานโมฮาน ซิงห์ (H.E. Dr. Manmohan Singh) ดำรงตำแหนง่ นายกรัฐมนตรคี นที่ 14 เขา้ รับตำแหน่ง สมยั แรก เมื่อวนั ที่ 22 พฤษภาคม 2004 และเขา้ รับตำแหนง่ สมัยทสี่ อง เมอื่ ปี 2009 เกดิ เมอ่ื วนั ท่ี 26 กนั ยายน ค.ศ. 1932 (79 ป)ี สมรสแลว้ กบั Mrs. Gursharan Kaur และมีลูกสาวสามคน จบการศึกษาปริญญาเอก ด้านเศรษฐศาสตร์ จาก University of Oxford ปริญญาโท และตรี ด้านเศรษฐศาสตร์ จาก Panjab University สำหรับรัฐมนตรพี าณชิ ยแ์ ละอตุ สาหกรรมคนปัจจบุ ันคอื นายอนนั ต์ ชาร์มา H.E. Mr. Anand Sharma เกดิ เมอื่ วันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1953 (58 ปี) สมรสแล้วกับ ดร. Zenobia Sharma มีลูกชายสองคน จบการศึกษานิตศิ าสตร์ จาก Himachal Pradesh University, India ดำรง ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรม ตั้งแต่ปี 2009 จนถึงปัจจุบนั และเคยดำรงตำแหน่ง The Union Minister of State for Information & Broadcasting และ The Union Council of Ministers with responsibility for Foreign Affairs 1.5.3 การบรหิ ารระดับรัฐ โครงสร้างของฝ่ายบริหารในแต่ละรัฐ ประกอบด้วย ผู้ว่าการรัฐ (Governor) เป็นประมุข ได้รับการแตง่ ต้งั โดยตรงจากประธานาธิบดี รฐั บาล มลรัฐ (State Government) ประกอบด้วยมุขมนตรี (Chief Minister) เปน็ หวั หนา้ และคณะรฐั มนตรปี ระจำรฐั (State Ministers) ทง้ั น้ี รฐั บาล แห่งรัฐจะมาจากพรรคการเมือง หรือได้รับแต่งตั้งจากสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ (Legislative Assembly) 1.5.4 การเมอื ง อินเดียมีพรรคการเมืองมากมายทั้งในระดับชาติมลรัฐ และระดับ ท้องถิ่น โดยมีพรรคระดับชาติที่สำคัญ ได้แก่ พรรคคองเกรส (Congress) พรรคภารติยะ ชนตะ (Bhartiya Janata Party: BJP) พรรคคอมมวิ นสิ ต์ อินเดีย (Communist Party of India) พรรคคอมมิวนิสต์อินเดียมาร์คซิส 6 ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอนิ เดีย

(Communist Party of India-Marxist) และพรรคชนตะดาล (Janata Dal) ในการเลือกต้งั ทว่ั ไปคร้ังที่ 14 เมือ่ เดอื นพฤษภาคม 2004 พรรคคองเกรส มีจำนวนผู้แทนที่ได้รับเลือกเข้าสู่โลกสภามากที่สุดเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล ผสมภายใต้ชื่อพันธมิตรแห่งความก้าวหน้าหนึ่งเดียว (United Progressive Alliance: UPA) ชนะกลุ่มพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติ (National Democratic Alliance: NDA) ซึ่งเคยรวมตัวกันเปน็ รฐั บาลชุดก่อนของ อินเดียนำโดยพรรค BJP โดยรัฐบาลชุดปัจจุบันมีนายมานโมฮานซิงห์ เป็นนายกรฐั มนตรคี นที่ 14 ของอนิ เดีย และเปน็ ผนู้ ำเชอ้ื สายซกิ ขค์ นแรก ของประเทศ รวมทง้ั ไดร้ บั การขนานนามวา่ เปน็ สถาปนกิ แหง่ การปฏริ ปู เศรษฐกจิ ของอินเดีย รฐั บาลผสมได้รว่ มกันจัดทำแผนพฒั นาชาติ (National Common Minimum Programme) เพอ่ื แกป้ ญั หาความมน่ั คงภายในประเทศ ลดปัญหา ความรุนแรงในสังคมและความขัดแย้งระหว่างชนชั้นวรรณะ (ศาสนาซิกข์ ไม่เชื่อในเรื่องวรรณะ และไม่เชื่อในเรื่องความแตกต่างทางศาสนา นายซิงห์ จึงสามารถทำหน้าที่ประสานความคิดกับพรรคร่วมรัฐบาลได้เป็นอย่างดี) พัฒนาและส่งเสริมบทบาทของประชาชนส่งเสริมการตรวจสอบความโปร่งใส ของรฐั บาล เพือ่ สรา้ งธรรมาภบิ าล ใหโ้ อกาสทางการศึกษาแก่ประชาชน ทด่ี อ้ ยโอกาสรวมทง้ั ปรบั ปรงุ ความสมั พนั ธก์ บั ปากสี ถานประเทศมหาอำนาจ และ ประเทศอน่ื ๆ ทเ่ี ปน็ หนุ้ สว่ นทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ในชว่ งรัฐบาลซงิ ห์ 1 คู่มอื การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดยี 7

กลับพบกับแรงกดดันของพรรคการเมืองฝ่ายซ้ายและพรรคร่วมรัฐบาลท่ีเฝ้า ตรวจสอบและโจมตีนโยบายเศรษฐกิจและการต่างประเทศตลอดเวลา ทำให้ บางโครงการตอ้ งสะดดุ ลง แมว้ า่ พรรค BJP เปน็ แกนนำฝา่ ยคา้ นกลบั ไมม่ ี บทบาทในการกดดันรัฐบาลมากนัก ส่วนพรรคการเมืองฝ่ายซ้ายทมี่ ฐี านเสยี ง ในรฐั เบงกอลตะวันตก และรฐั เกรละ ไดโ้ จมตนี โยบายส่งเสริมการลงทุนจาก ตา่ งประเทศในกจิ การคา้ ปลกี กจิ การประกนั ภยั กจิ การธนาคาร และการปรบั ปรงุ ท่าอากาศยาน นอกจากน้ี พรรคการเมืองฝ่ายซา้ ยโจมตีและคดั ค้านการดำเนิน นโยบายต่างประเทศท่ีเอนเอียงเข้ากับสหรัฐอเมริกาอันเกินควรรวมทั้งการทำ ขอ้ ตกลงโครงการนิวเคลยี ร์กับสหรฐั ฯ เนอ่ื งจากเห็นว่าลอ่ แหลมต่อความมน่ั คง ของประเทศ และขอ้ ตกลงนี้ทำให้อินเดียเสยี เปรยี บ รวมทั้งขาดเสรีภาพใน การสั่งซื้อน้ำมันและก๊าซจากอิหร่าน โดยบรรดาพรรคการเมืองฝ่ายซ้าย ไดถ้ อนตวั จากการเปน็ พรรครว่ มรฐั บาลเมอ่ื เดอื นมถิ นุ ายน 2008 และยน่ื อภปิ ราย ไมไ่ วว้ างใจรัฐบาลเมื่อเดอื นกรกฎาคม 2008 ซึ่งฝา่ ยรฐั บาลชนะการลงคะแนน เสยี งไมไ่ ว้วางใจอย่างหวดุ หวิด โดยไดร้ บั เสยี งสนับสนุนจากหลายพรรคเล็ก และสมาชิกผแู้ ทนราษฎรอสิ ระให้อยูบ่ ริหารประเทศจนครบวาระ ผลการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎร (โลกสภา) ครั้งที่ 15 เมื่อ 16 พฤษภาคม 2009 ปรากฏว่า พนั ธมิตรแนวร่วมก้าวหน้า (UPA) นำโดยพรรค อินเดยี นเนช่ันแนลคองเกรส (INC) หรอื พรรคคองเกรสของ นายมันโมฮาน ซิงห์ กลับเข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีอีก ครั้งหนึ่งและจัดตั้งรฐั บาลซงิ ห์ 2 มคี ะแนนนำเหนอื พนั ธมติ รประชาธปิ ไตยแห่งชาติ (NDA) ภายใต้การนำของ พรรคภารติยะ ชนะตะ (BJP) แกนนำฝ่ายค้านอย่าง ขาดลอย โดยพรรคคองเกรส และพนั ธมติ รซง่ึ มคี ะแนนเสยี ง รวมกนั 260 คะแนน ตอ้ งอาศยั เสียงสนบั สนนุ จากกลุ่ม แนวรว่ มอื่นอีกเพียงเล็กนอ้ ย (เชน่ พรรค DMK, Dravida Munnettra Kazhagam) เพอื่ ใหม้ คี ะแนนเกิน 272 จากทงั้ หมด 543 ท่ีนง่ั ในสภาในการจดั ต้ังรฐั บาลชดุ ใหม่ ทง้ั นก้ี ารเลอื กตง้ั โลกสภาทม่ี ขี น้ึ ทา่ มกลางวกิ ฤตเศรษฐกจิ โลก และส่งผลให้เศรษฐกิจอินเดียประสบกับภาวะการชะลอตัว ทางเศรษฐกิจครั้งร้ายแรงที่สุดในรอบหลายปีท่ีผ่านมา นับเป็นประเด็นท้าทายสำคัญท่ีอาจจะส่งผลต่อเสถียรภาพ ของรัฐบาลชุดใหม่โดยเฉพาะการออกมาตรการกระตุ้น เศรษฐกจิ ทจ่ี ะนำพาเศรษฐกิจอนิ เดยี มูลค่า 1.2 ล้านล้าน เหรยี ญสหรัฐฯ ซง่ึ มขี นาดใหญ่เปน็ อันดบั 3 ของเอเชีย รองจากจีน และญี่ปุ่น ให้มีอัตราการขยายตัวสูงกว่า รอ้ ยละ 8 ตอ่ ปี เพ่อื ทีจ่ ะลดปัญหาความยากจนในประเทศ 8 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดยี

อย่างไรกต็ าม ทนี่ ่ังในรฐั สภาของพรรคคองเกรสที่เพมิ่ ขน้ึ ถงึ 60 ท่ีน่ัง สวนทาง กบั พรรคคอมมิวนิสตห์ น่ึงในพรรครว่ มรฐั บาล ซึ่งมแี นวทางตอ่ ต้านการลงทนุ ของต่างชาติที่มคี ะแนนเสียงลดลงจาก 43 เหลือ 16 ทน่ี ง่ั ส่งผลใหน้ กั ลงทุน ต่างชาติ มีความเช่อื มัน่ ต่อเสถียรภาพทางการเมืองของรฐั บาลชดุ ใหม่มากข้ึน รวมถึงแนวโน้มการผ่านกฎหมายถือครองทรัพย์สินของต่างชาติและการแปรรูป รฐั วสิ าหกจิ ซง่ึ เปน็ หนง่ึ ในอปุ สรรคการลงทนุ ของตา่ งชาตใิ นอนิ เดยี มาโดยตลอด ชัยชนะอย่างถล่มทลายของพรรคคองเกรสในการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎร สง่ ผลใหร้ ฐั บาลชงิ ห์ 2 มคี วามเขม้ แขง็ ทางการเมอื งมากขน้ึ สง่ิ สำคญั ประการแรก ที่รัฐบาลอินเดียได้เร่งดำเนินการผลักดันให้เศรษฐกิจมีอัตราการขยายตัวสูง กวา่ รอ้ ยละ 8 ตอ่ ปี เพอ่ื ขจดั ปญั หาความยากจนในประเทศโดยรฐั บาลอนิ เดยี กลายเป็นผ้มู ีบทบาทสำคัญในการขับเคล่อื นเศรษฐกิจหลังจากตลาดในประเทศ ชะลอตัวอย่างมาก การกลับมาจัดตั้งรัฐบาลอีกครั้งของพรรคคองเกรสด้วยคะแนน เสียงที่เพิ่มขึ้นจากการเลือกตั้งครั้งก่อนจะช่วยเปิดโอกาสการลงทุนให้กับ ผปู้ ระกอบการไทยท่ีตอ้ งการเขา้ ไปลงทนุ ในอนิ เดีย โดยเฉพาะในแง่ของการ เปิดเสรีสาขาการลงทุนและการผ่อนคลายข้อจำกัดการถือครองทรัพย์สินของ นักลงทุนต่างชาติ นอกจากนี้ ความต่อเนือ่ ของการดำเนินมาตรการกระต้นุ เศรษฐกิจและแนวโน้มท่ีรัฐบาลอินเดียจะกู้เงินเพ่ือนำมากระตุ้นเศรษฐกิจได้ งา่ ยขน้ึ โดยเฉพาะการกอ่ สร้างโครงสรา้ งพื้นฐานท่วั ประเทศและการสร้างการ จ้างงานใหก้ ับประชาชน โดยเฉพาะในชนบท ซึ่งจะชว่ ยเพมิ่ โอกาสให้กบั การ ลงทุนในภาคกอ่ สร้างและการสง่ ออกสนิ ค้าของไทย ค่มู อื การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดีย 9

, อินเดียมีภาษาราชการกว่า 1.6 ประชากร/สงั คม/วฒั นธรรม 22 ภาษา ซึ่งฮินดีเป็นภาษา ประจำชาติท่ีใช้กันมากที่สุดและ อินเดยี มปี ระชากร 1,210 ล้านคน (ณ วันที่ 1 มีนาคม 2011) ใช้ภาษาองั กฤษในวงราชการและ แมว้ ่าอนิ เดียจะมีพนื้ ทีเ่ พยี งร้อยละ 2.4 ของโลก แต่เป็นแหล่งอาศยั ของคน ธุรกจิ แม้ว่าประชากรกวา่ ร้อยละ มากกวา่ รอ้ ยละ 15 ของประชากรโลกรองจากจนี และเปน็ ออู่ ารยธรรมของโลก 82 นับถือศาสนาฮินดู แต่มี คนอินเดียส่วนทม่ี อี ยูม่ ากกวา่ 550,000 แห่ง และส่วนทเี่ หลือกก็ ระจุกตวั อยู่ ตามเมืองใหญ่ของประเทศ เชน่ มมุ ไบ นวิ เดลี กัลกตั ตา บังกะลอร์ เจนไน ,ประชากรที่นับถือศาสนามุสลิม ไฮเดอราบัด อาหเ์ มดาบดั ปูเน่ สรุ ัติ และกานปรู ์ อินเดียเปน็ สงั คมทม่ี ีความ หลากหลายด้านเช้ือชาติ ภาษา ศาสนา และวฒั นธรรม โดยมศี าสนาวรรณะ (ร้อยละ 13.4 ทม่ี ขี นาดใหญเ่ ปน็ และภาษา เป็นปัจจัยหลักกำหนดรูปแบบสังคมและการเมืองในทุกวันนี้ อนั ดบั 3 ของโลก อนิ เดยี มภี าษาราชการกวา่ 22 ภาษา ซง่ึ ฮนิ ดเี ปน็ ภาษาประจำชาตทิ ใ่ี ชก้ นั มากทส่ี ดุ และใชภ้ าษาองั กฤษในวงราชการและธรุ กิจ แม้ว่าประชากรกว่าร้อยละ 82 นับถือศาสนาฮินดู แต่มีประชากรที่นับถือศาสนามุสลิม (ร้อยละ13.4) ทม่ี ขี นาดใหญเ่ ปน็ อนั ดบั 3 ของโลก รองจากอนิ โดนเี ซยี และปากสี ถาน อกี ทง้ั ยงั มผี ู้นบั ถือศาสนาอนื่ เชน่ คริสเตยี น ซกิ ข์ พทุ ธ และเจน การจดั ลำดบั ช้ันทางสังคมและอาชีพในอินเดียเป็นการสะท้อนอิทธิพลของระบบวรรณะ ซ่งึ เปน็ ปจั จยั สำคญั ในการจัดวาง ควบคมุ และบรหิ ารโครงสร้างสังคมอนิ เดีย และควบคมุ ระบบความสมั พนั ธข์ องทกุ ๆ สว่ น ไมว่ า่ จะเปน็ ดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ อาชีพหรือแม้แต่การเมืองของอินเดียต้ังแต่สมัยโบราณวรรณะท่ีสำคัญ 10 คมู่ ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐอนิ เดยี

มี 4 วรรณะ คอื (1) วรรณะพราหม์ ไดแ้ ก่ นกั บวช ปจั จบุ นั อาจตคี วามไปถงึ นกั วชิ าการ นกั วทิ ยาศาสตรแ์ ละนกั การเมอื ง (2) วรรณะกษตั รยิ ์ ไดแ้ ก่ นกั รบ ซง่ึ อาจรวมไปถึงขา้ ราชการ (3) วรรณะแพศย์ ได้แก่ พ่อคา้ นกั ธรุ กจิ (4) วรรณะศูทร ไดแ้ ก่ ผู้ใชแ้ รงงาน ชาวนา กรรมกร และคนยากจน ซึ่งสามวรรณะแรกเปน็ ชนชน้ั ผู้ปกครอง วรรณะสุดทา้ ยเป็นผถู้ กู ปกครองแม้วา่ วรรณะเหลา่ น้ีเปน็ ที่เขา้ ใจทัว่ ไปในอนิ เดีย แตย่ ังมกี ารแบ่งวรรณะตำ่ สุดในสังคม ฮนิ ดูเรยี กกันว่าเปน็ กลมุ่ คนอันมพิ งึ แตะตอ้ ง คอื จณั ฑาล หรอื เรยี กชอ่ื ใหมว่ า่ ดาลติ มคี วามหมายวา่ อนั เปน็ ทร่ี กั ของพระเจา้ ซง่ึ เปน็ ชนชั้นท่ีถกู เลอื กปฏบิ ตั ิ ได้รับโอกาสทางสังคมและอาชีพน้อยที่สุดในสังคม การปฏิรูปเศรษฐกิจและ กฎหมายของอินเดียในปัจจุบันได้พยายามลดช่องว่างของสังคมและการกีดกัน ทางวรรณะเพ่ือเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาและอาชีพให้เท่าเทียมกันในสังคม เช่น มีโควตาพิเศษสำหรับนกั ศกึ ษาดาลติ ในการเขา้ มหาวทิ ยาลยั โดยไมต่ อ้ งสอบ แขง่ ขนั เปน็ ตน้ อยา่ งไรกต็ าม ความรสู้ กึ ดา้ นวรรณะยงั คงฝงั รากลกึ อยใู่ นจติ ใจ ซง่ึ สะทอ้ นออกมาในดา้ นความคดิ วฒั นธรรมและการบรหิ าร ดงั นน้ั ผทู้ ำธรุ กจิ กบั อินเดียต้องตระหนกั ถึงความแตกต่างด้านวัฒนธรรมในประเดน็ นี้ไว้เสมอ 1.7 ภาษาราชการ ฮินดีเป็นภาษาประจำชาติ และภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้ใน วงราชการและธรุ กจิ นอกจากน้ี ยงั มภี าษาทบ่ี ญั ญตั ไิ วต้ ามรฐั ธรรมนญู 22 ภาษา เช่น บงั กลา คชุ ราต ปญั จาบี ฑมฬิ สนั กฤต และเตลกู ู เปน็ ต้น 1.8 สกุลเงิน รปู ี (อนิ เดียประกาศใชส้ ัญลักษณ์เงนิ รปู ีเป็น โดยมผี ลบงั คบั ใช้ตงั้ แต่ 15 กรกฎาคม 2010) อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันท่ี 1 มีนาคม 2011 อยทู่ ่ี 1 บาท เท่ากบั 0.71 รปู ี คู่มือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดยี 11

1.9 เวลา อนิ เดียชา้ กว่าประเทศไทย 1 ชวั่ โมง 30 นาที 1.10 วนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ /วนั ชาติ วันที่ 15 สงิ หาคม 1947 เป็นวนั ประกาศเอกราชจากองั กฤษ และวนั ท่ี26มกราคม1950เปน็ วันทร่ี ัฐธรรมนูญมีผลบงั คบั ใช้จึงกำหนดให้วันท่ี 26 มกราคมของทกุ ปเี ป็นวนั ชาติ (Republic Day) 1.11 เส้นทางคมนาคม 1.11.1 ถนน อินเดียมีเครือข่ายถนนรวมกันยาวที่สุดในโลก ดว้ ยระยะกวา่ 3,314 ลา้ นกโิ ลเมตร ปจั จบุ นั อนิ เดยี กำลงั เรง่ รดั พฒั นาทางหลวง เชอ่ื มหวั เมอื งสำคญั ทว่ั ประเทศเพอ่ื ผลกั ดนั ใหอ้ นิ เดยี เปน็ ยกั ษใ์ หญท่ างเศรษฐกิจ ในอนาคตอนั ใกล้ในถนนกวา่ 3 ลา้ นกโิ ลเมตร ของอนิ เดยี เปน็ ทางหลวงแผน่ ดิน (National Highways) ระยะทาง 66,754 กโิ ลเมตร เดมิ เปน็ ถนนสองชอ่ งทาง และส่วนใหญ่จะชำรุด แต่นับจากปี 2005 เป็นต้นมา รัฐบาลอินเดียได้ทุ่ม งบประมาณกวา่ 4.9 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ปรับปรุงทางหลวงแผ่นดินที่ เชื่อมหัวเมืองเศรษฐกจิ สำคญั ของอนิ เดีย ได้แก่ เจนไน บังกาลอร์ ปูเน่ มมุ ไบ สรุ ตั ิ เวโดดารา อาห์เมดาบัด นวิ เดลี อคั รา อลาฮาบัด กานปูร์ พารานาสี อะรังกาบัด กลั กตั ตา วสิ าขาปตั นมั และกนุ ตรู ์ (ระยะทาง 5,840 กโิ ลเมตร) ใหเ้ ปน็ ถนน 4 ชอ่ งทาง ทันสมัยได้มาตรฐานสากลภายใต้โครงการที่ชื่อว่า “โครงการสุวรรณจตุรพักตร์” หรือ “Swarna Chathuspatha” (Golden Quadrilateral) คาดว่าจะแลว้ เสรจ็ ทั้งโครงการภายในปี 2050 ท้งั นี้ ในชว่ ง ถนนที่ใกล้หัวเมืองใหญ่จะขยายเป็น 8 ช่องทางเพื่อลดความแออัด อนึ่ง บนรายทางจะมโี ครงการกอ่ สรา้ งเมกะโปรเจคควบคไู่ ปดว้ ย เชน่ นคิ มอตุ สาหกรรม 12 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อินเดีย

โครงสรา้ งพน้ื ฐาน สถาบนั การศกึ ษา โรงพยาบาล และเขตเมอื งใหม่ เป็นตน้ สำหรับทางหลวงสุวรรณจตรุ พักตร์ดา้ นใตค้ ือ ทางหลวง หมายเลข 4 เป็นส่วนที่มีความสำคัญและมีการจราจรหนาแน่น มากท่ีสุดเนื่องจากเป็นเส้นทางท่ีเชื่อมเมืองเศรษฐกิจชั้นนำของ อนิ เดยี ถึง 4 เมืองเขา้ ดว้ ยกนั คอื มมุ ไบ ปเู น่ บงั กาลอร์ และเจนไน ด้วยระยะทาง 1,235 กโิ ลเมตร อกี ทง้ั ยังเป็นเสน้ ทางเช่ือมท่าเรือ ที่มีการขนถ่ายสินคา้ หนาแนน่ มากที่สุดของอนิ เดยี 2 เมือง คือ มมุ ไบและเจนไนเขา้ ด้วยกนั ถนนช่วงมุมไบ-ปเู น่ เป็นทางด่วนพเิ ศษ ขนาด 8 ช่องทาง (Mumbai Pune Expressway) ที่ทันสมัย ท่ีสดุ ของอนิ เดยี สว่ นโครงการสวุ รรณจตุรพักตร์ตอนเหนือ ช่วงนิวเดลี - อัครา เป็นโครงการเมกะโปรเจคชอ่ื The Yamuna Expressway Project ซง่ึ คู่ขนานไปตามลำน้ำยมุนา เปน็ ถนน 6 เลน เชือ่ มตอ่ ระหวา่ งเมืองเกรตเตอร์นอยดา (ชานกรุงนิวเดล)ี และนครอัครา ระยะทางกวา่ 165 กโิ ลเมตร ทงั้ นี้ ไดม้ ีโครงการพัฒนาเมืองรายทาง 5 เมืองควบคูไ่ ปดว้ ย ได้แก่ เมอื ง Greater Noida, Jaganpor, Mairzapur, Tappal และ Agra โดยแตล่ ะเมืองจะมีโครงการเก่ียวข้องกบั การพัฒนาเมืองใหม่ เชน่ บา้ นจดั สรร สโมสร สนามกอลฟ์ สปอรต์ คอมเพลก็ Entertainment Complex คอนโด สวนสาธารณะ โรงพยาบาล โรงเรยี นนานาชาติ โรงไฟฟา้ และ อาคารสำนกั งาน ฯลฯ ผลกระทบที่เห็นได้ชัดจากโครงการสวุ รรณจตรุ พักตร์ คอื บรษิ ัทรถหรทู กุ ค่ายไมว่ ่าจะเปน็ จากัวร์ แลมโบกินี BMW และ เมอร์ซิเดสเบนซ์ ซงึ่ เตรียมวางตลาดรถระดบั Premium เพือ่ รองรบั ความตอ้ งการรถหรทู จ่ี ะ เพิม่ มากข้ึนอย่างแนน่ อน คมู่ อื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดยี 13

โครงการดังกล่าวนอกจากจะช่วยให้เกิดการกระจายความเจริญไปสู่ สว่ นตา่ งๆ ของอนิ เดียอยา่ งทัว่ ถึงแลว้ ยงั เปน็ การสร้างโอกาสใหม่ๆ ใหก้ บั สินคา้ ไทยและเป็นโอกาสสำหรับธุรกิจก่อสร้างไทยไม่เฉพาะการรับงานก่อสร้างถนน เท่านัน้ ยงั หมายรวมถงึ การกอ่ สรา้ งโครงสร้างพนื้ ฐาน อาคารทพี่ ักอาศัย สำนกั งาน โรงเรยี น โรงพยาบาล หา้ งสรรพสินค้า และแหลง่ บนั เทิงใหมๆ่ ที่จะเกิดขนึ้ ตลอดเสน้ ทางของโครงการสวุ รรณจตุรพกั ตร์น้ี จุดสำคัญท่ไี ทยไม่ควรมองข้ามคือ การเชอื่ มถนนผ่านพมา่ ไปยังถนน โครงการสวุ รรณจตุรพกั ตร์ เนอ่ื งจากจะช่วยสรา้ งความได้เปรยี บในการเขา้ สู่ ตลาดอนิ เดยี ภายใตค้ วามตกลง FTA อาเซียน-อินเดีย ไดด้ ยี ง่ิ ขึน้ นอกจากน้ัน ยงั มีทางหลวงของมลรัฐ (State highways) ระยะทาง 128,000 กิโลเมตร ถนนท้องถนิ่ 470,000 กโิ ลเมตร และถนนในหมู่บา้ นอกี 2,650,000 กิโลเมตร 1.11.2 ทางรถไฟ อินเดยี มเี สน้ ทางรถไฟยาว 64,215 กิโลเมตร และมีสถานรี ถไฟ 7,083 แหง่ จัดเปน็ เครือขา่ ยเสน้ ทางรถไฟใหญ่เป็นอนั ดับ 4 ของโลกรองจาก สหรัฐฯ รสั เซยี และประเทศจีน ในแตล่ ะวันมีการขนสง่ ผู้โดยสาร 11 ลา้ นคน และสินคา้ 1.1 แสนตนั 1.11.3 การขนส่งทางน้ำ อนิ เดียมีเส้นทางขนส่งทางแม่น้ำ-ลำคลองรวม 14,500 กิโลเมตร และมีการเดินเรือชายฝั่งทะเลอีก 7,517 กิโลเมตร สำหรบั การขนส่งทางแม่น้ำ- ลำคลองทสี่ ำคญั มี 5 เสน้ ทาง คือ 1. เสน้ ทางNW1(National Waterway - 1) เชอ่ื มแมน่ ำ้ 3 สาย คือ Ganga-BhagirathiHooghly จาก เมือง Allahabad ถึงเมือง Haldia ระยะทาง 1,620 กิโลเมตร 2.เสน้ ทาง NW2 (National Waterway-2)ตามลำนำ้ B rahmaputra River จากเมือง Sadiya ไปยังเมือง Dhubri ระยะทาง 891 กิโลเมตร 3. เสน้ ทางNW3(National Waterway - 3) เป็นคลองขนานชายฝง่ั ตะวันตก (The West Coast Canal) ระยะทาง 205 กิโลเมตร แบ่งเปน็ 3 ตอน คอื 1) ช่วงเมอื ง Kollam ถงึ เมอื ง Kottapuram ระยะทาง 168 กโิ ลเมตร 2) ชว่ งคลอง Champakara Canal ระยะทาง 14 กิโลเมตร และ 3) ช่วงคลอง Udyogmandal Canal ระยะทาง 23 กโิ ลเมตร 14 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดยี

4. เสน้ ทาง NW4 (National Waterway - 4) เปน็ การเช่ือมโยง คลอง Kakinada - Puducherry Canal เขา้ กบั แมน่ ้ำ Godavari และแม่นำ้ Krishna เข้าด้วยกัน ระยะทาง 1,095 กิโลเมตร ซง่ึ เป็นการเชอ่ื มโยง 3 รัฐ เขา้ ด้วยกัน คอื อานธรประเทศ ทมฬิ นาฑู และพอนดเิ ชอรี 5. เส้นทาง NW5 (National Waterway - 5) หรอื East Coast Canal เปน็ การผนวก 3 เหล่ยี มปากแม่น้ำ Brahmani และ Mahanadi เขา้ ดว้ ยกนั มรี ะยะทางทง้ั สน้ิ 623 กโิ ลเมตร เปน็ เสน้ ทางสำคญั เชอ่ื มโยงระหวา่ ง รัฐเบงกอลตะวันตกและโอริสสา ในดา้ นการขนสง่ สนิ ค้าชายฝง่ั ส่วนใหญร่ อ้ ยละ 90 ใชบ้ รกิ ารของ ท่าเรือ Chennai, Kandla, Mumbai, Nhava Sheva, Marmagao, Cochin, Tuticorin, Vishakapatnam, Paradwip, Haldia, Goaand และ Kolkata 1.11.4 การขนสง่ ทางอากาศ อนิ เดยี มีสนามบนิ 126 แหง่ โดยเปน็ สนามบนิ นานาชาติ 11 แหง่ สนามบนิ ในประเทศ 89 แห่ง และสนามบินเอกชน 26 แห่ง เพ่ือรองรับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่รวดเร็วสายการบินแห่งชาติ คือ AirIndia สำหรับสายการบินในประเทศมี 3 สายการบินที่เป็นที่นิยมสูง ได้แก่ Kingfisher Airlines, Air India และ Jet Airways สนามบินนานาชาติ ท่สี ำคญั คอื สนามบนิ มมุ ไบ เจนไน โกลกตั ตา บังกาลอร์ ไฮเดอราบดั และกรุงนิวเดลี 1.12 ระบบการเงนิ การธนาคาร 1.12.1 ธนาคารกลาง (Reserve Bank of India-RBI) เปน็ หนว่ ย งานรับผิดชอบหลักดา้ นการเงนิ ของประเทศ 1.12.2 การควบคมุ เงนิ ตราตา่ งประเทศ พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการ จัดการเงนิ ตราตา่ งประเทศ หรอื FEMA (Foreign Exchange Management Act, 1999) ของอินเดยี มขี อ้ อนญุ าต ดังน้ี • สำหรบั ธรุ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั การคา้ สนิ คา้ และบรกิ ารระหวา่ งประเทศ โดยทั่วไปสามารถ โอนเงนิ เข้าออกประเทศไดโ้ ดยเสรี (Fully Convertibility on Current Account) • สำหรับการลงทนุ จากต่างประเทศ นกั ลงทนุ ตา่ งชาตสิ ามารถโอน เงนิ ลงทนุ (Investment Capital) และผลกำไรจากเงนิ ลงทนุ ออกนอกประเทศ ได้โดยเสรี แต่ต้องสอดคล้องกบั นโยบายทร่ี ัฐบาลอินเดยี กำหนดไวส้ ำหรบั แตล่ ะ อตุ สาหกรรมดว้ ย นอกจากน้ี ยงั สามารถโอนเงนิ ปนั ผลออกนอกประเทศได้ โดยผา่ น Authorized Dealer • การนำเงินตราตา่ งประเทศออกนอกประเทศในบางกรณี จะต้อง ไดร้ บั การอนมุ ตั จิ ากธนาคารกลางอนิ เดยี กอ่ น อาทิ การถอื เงนิ ตราตา่ งประเทศ เกินกว่า 25,000 เหรยี ญสหรฐั ฯ/คน คู่มอื การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดยี 15

, 1.12.3 ธนาคารต่างชาติ เขา้ ไปประกอบธรุ กจิ ในอินเดียเป็นจำนวนมาก เชน่ ABN Amro, Bank of Nava Scotia, Citibank, DBS Bank, HSBC, Standard Chartered Bank รวมถงึ ธนาคารกรุงไทย ซงึ่ มีสำนกั งานท่เี มอื งมมุ ไบด้วย 1.12.4 ธนาคารอินเดยี ธนาคารพาณิชยห์ ลายรายท้ังของรฐั เช่น State Bank of India และของเอกชน เช่น ICICI Bank อินเดียเป็นตลาดที่มีความ หลากหลายของพน้ื ทท่ี รพั ยากร เศรษฐกจิ รายได้ และวฒั นธรรม ซ่ึงแตกต่างกันไปในแต่ละรัฐ/ ,แต่ละเมือง นอกจากนั้น ระบบ วรรณะยังแข็งแกร่งในสังคม อินเดยี 1.13 เมอื งเศรษฐกจิ รอ้ นแรงของอนิ เดีย 10 เมอื ง ผปู้ ระกอบการไทยควรศกึ ษาตลาดผูบ้ รโิ ภคในอนิ เดียอย่างรอบคอบ เนื่องจากอนิ เดยี เปน็ ตลาดทมี่ คี วามหลากหลายของพนื้ ท่ี ทรพั ยากร เศรษฐกจิ รายได้ และวัฒนธรรม ซงึ่ แตกตา่ งกันไปในแตล่ ะรฐั /แตล่ ะเมือง นอกจากนั้น ระบบวรรณะยังแขง็ แกร่งในสังคมอินเดยี แมจ้ ะปรบั ตวั ใหด้ ขี ึ้นในปัจจบุ ันก็ตาม การจะเข้าไปทำการค้าหรือลงทุนควรพิจารณาเลือกพ้ืนท่ีลงทุนท่ีเอ้ือต่อธุรกิจ ทง้ั ด้านการผลิตและการตลาด ทงั้ น้ี พื้นท่ีท่ีมีศักยภาพในการส่งออกและการ ลงทนุ ทสี่ ำคญั ได้แก่ หัวเมืองเศรษฐกิจหลกั 10 เมือง ได้แก่ มมุ ไบ นิวเดลี กลั กตั ตา บงั กาลอร์ เจนไน ไฮเดอราบดั อาหเ์ มดาบดั ปเู น่ สรุ ตั ิ และกานปรู ์ ที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง มีประชากรมาก และมีกำลังซื้อสูง อีกทั้ง มีปัจจัยเอื้อต่อการลงทุนในหลายดา้ น ทั้งดา้ นอตุ สาหกรรมและบรกิ าร บรษิ ทั McKinsey Global ประกาศผลการวจิ ยั พบวา่ ในปี 2030 อนิ เดียจะมเี มืองท่ีมปี ระชากรเกิน 1 ลา้ นคน ถึง 68 เมอื ง ในจำนวนน้ีมี 13 เมืองทีม่ ีประชากรเกิน 4 ลา้ นคน และ 6 มหานครทม่ี ปี ระชากรเกิน 10 ล้านคน คาดว่า ในปี 2030 จะมปี ระชากรอยูก่ นั ในเมอื งใหญ่ๆ เหล่านม้ี ากกวา่ 590 ลา้ นคน และมมุ ไบกบั นวิ เดลจี ะเปน็ เมอื งทม่ี ปี ระชาการมากเปน็ อนั ดบั ตน้ ๆ ของโลก 16 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐอนิ เดีย

โดยเมืองเหล่าน้ีจะมีขนาดประชากรและขนาดเศรษฐกิจใหญ่กว่าประเทศ , มุมไบเป็นเมืองเศรษฐกิจที่ สำคญั ๆ บางประเทศเสยี อกี อกี ท้งั ยังเปน็ แหล่งจ้างงานรอ้ ยละ 70 ของอนิ เดยี สำคัญที่สุดของอินเดียมีขนาด มขี นาดเศรษฐกจิ รอ้ ยละ 70 ของ GDP อนิ เดยี เปน็ แหลง่ รายไดด้ า้ นภาษเี งนิ ได้ GDP ใหญท่ ส่ี ดุ ของประเทศ ขณะ รอ้ ยละ 85 ของรัฐบาล ปัจจุบันอนิ เดยี มีเมอื งเศรษฐกิจสำคญั 10 เมอื ง ประกอบด้วย ,เดยี วกนั กเ็ปน็ เมอื งทต่ี ดิ อนั ดบั 10 มมุ ไบ นิวเดลี โกลกตั ตา บังกาลอร์ เจนไน ไฮเดอราบดั อาหเ์ มดาบดั ปูเน่ สุรตั ิ และกานปรู ์ ตามลำดับ เมืองธุรกิจท่ีใหญ่ท่ีสุดของโลก ด้วย อันดบั 1 มหานครมมุ ไบ (Mumbai) มุมไบเป็นเมืองเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของอินเดียมีขนาด GDP ใหญท่ ส่ี ดุ ของประเทศขณะเดยี วกนั กเ็ ปน็ เมอื งทต่ี ดิ อนั ดบั 10เมอื งธรุ กจิ GDP = 73,000 ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ ท่ีใหญ่ท่ีสุดของโลกด้วยมุมไบมี GDP Growth 8.2% (2010) การผลติ ภาคอุตสาหกรรมคิดเป็น GDP/capita 2,723 เหรยี ญสหรฐั ฯ​ (2010) ร้อยละ 25 ของอนิ เดียปจั จบุ ัน ประชากร 20 ลา้ นคน มีการพัฒนาเมืองคู่แฝดอย่าง Mumbai Navi Mumbai และ Thane ใหเ้ จริญทัดเทียมกับมุมไบ มีโครงการก่อสร้างเกิดขึ้นมากมายในเมืองทั้ง 3 นี้ บริษัทข้ามชาตินิยมตั้งสำนักงานที่มุมไบ มุมไบยงั เป็นเมืองทม่ี คี ่าเช่าสำนกั งาน แพงเปน็ อนั ดบั 4 ของโลก มตี กึ ระฟา้ ตดิ อนั ดบั โลกอยมู่ ากมาย มผี คู้ นจาก ทว่ั อนิ เดยี มาทำงานอยทู่ เ่ี มอื งมมุ ไบ มมุ ไบเปน็ เมือง Bollywood แม้ว่ารัฐบาล จะเรง่ รัดพัฒนาทางด่วน รถไฟฟา้ รถเมล์ และรถไฟใตด้ ิน อยา่ งเต็มท่กี ต็ าม แต่มุมไบก็ยังเป็นเมอื งท่ีรถตดิ หนกั ที่สุดของอินเดีย อนั ดบั 2 กรงุ นิวเดลี (New Delhi) เมอื งหลวงแหง่ สาธารณรฐั อนิ เดีย มี GDP เป็นสดั ส่วนร้อยละ 4.94 ของ GDP ทั้งประเทศ ในภาค บริการมีการเติบโตเป็นอย่างดี GDP = 58,000 ล้านเหรยี ญสหรัฐฯ เนื่องจากได้รับการสนับสนุนจาก GDP Growth 8.2% (2010) รัฐบาลอย่างดีเยี่ยมอุตสาหกรรม GDP/capita 1,671 เหรียญสหรัฐฯ​ (2010) สำคญั ไดแ้ ก่ IT โทรคมนาคม ประชากร 15.3 ลา้ นคน (2010) โรงแรม ธนาคาร สื่อสาร New Delhi สนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภค การกอ่ สรา้ ง ยานยนต์ เครื่องหนัง ไฟฟ้า โทรคมนาคม บริการด้านสุขภาพ อสังหารมิ ทรัพย์ และการทอ่ งเทีย่ วธุรกิจกอ่ สร้างไทยมีโอกาสท่ีดใี นการเขา้ สู่ ตลาดนิวเดลี เนื่องจากมีโครงการกอ่ สรา้ งมากมาย อาทิเช่น โครงการยกั ษ์ คูม่ อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อินเดีย 17

The Yamuna Expressway Project พรอ้ มทง้ั มโี ครงการพฒั นาเมอื งรายทาง 5 เมือง ควบคู่ไปด้วย ได้แก่ เมอื ง Greater Noida, Jaganpor, Mairzapur, Tappal และ Agra อันดับ 3 กลั กัตตา (Kolkata) กลั กตั ตาเปน็ เมอื ง หลวงของรฐั เบงกอลตะวนั ตก ธุรกิจด้าน IT ของกลั กตั ตา GDP = 52,000 ล้านเหรียญสหรฐั ฯ ขยายตัวอย่างรวดเรว็ ในเขต GDP Growth 6.1% (2010) Raja Hat, Greater Kolkata GDP/capita 2,271 เหรียญสหรฐั ฯ​ (2010) กัลกัตตาเป็นเมือง IT เพียง ประชากร 13.8 ล้านคน (2010) เมืองเดียวในฝั่งตะวันออก Kolkata ของอนิ เดยี มกี ารเตบิ โตถงึ ปลี ะ ประมาณรอ้ ยละ 70 โดยมีนคิ มอุตสาหกรรม IT ชอื่ Saltlake Sector 5 กัลกัตตายังเป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจของภูมิภาคตะวันออกและอีสานของ , บงั กาลอรม์ จี ำนวนครวั เรอื น อินเดีย ตลาดหุ้นกัลกัตตาใหญ่เป็นอันดับสองรองจากมหานครมุมไบปัจจุบันมี โครงการก่อสรา้ งใหญๆ่ โดยเฉพาะบ้านพักอาศัยและสำนกั งานใหม่ๆ มากมาย ,ทม่ี รี ายไดเ้ กนิ 1 ลา้ นรปู ี มากทส่ี ดุ โอกาสทางธรุ กิจในกลั กัตตามีมาก เน่ืองจากการเปน็ ศูนย์กลางกระจายสินค้าไป ยงั เวสตเ์ บงกอลอีสานของอินเดีย พหิ ารและทเิ บตของจนี (ผา่ นด่าน Nathula) ในอินเดียจึงเป็นเศรษฐีตัวจริง ของอนิ เดยี นอกจากนน้ั ธุรกจิ บริการด้าน การก่อสร้าง การทอ่ งเทีย่ ว โรงแรม และสปา กเ็ ปน็ ธรุ กจิ ท่มี ีศกั ยภาพ กลั กัตตายังมี China Town หนงึ่ เดยี วของอินเดีย ซึ่งชาวจีนส่วนใหญท่ ำธุรกจิ โรงฟอกหนงั และร้านอาหารจนี อนั ดบั 4 บังกาลอร์ (Bangalore) บงั กาลอรเ์ ปน็ เมอื งหลวงของรฐั กรณาฏกะ เป็นเมือง IT อันดบั 1 ของอินเดีย (Silicon Valley of India) และเป็นที่นิยม ของบริษัทต่างชาติเข้าไปตั้ง GDP = 28,900 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ อยใู่ นเมอื งนก้ี วา่ 2,000 บรษิ ทั GDP Growth 10.1% (2010) เป็นเมืองที่มีความหนาแน่น GDP/capita 2,585 เหรยี ญสหรัฐฯ​ (2010) ของประชากรมากท่ีสุดแห่ง ประชากร 6.6 ล้านคน หน่ึงของอินเดยี บังกาลอร์ Bangalore มีจำนวนครัวเรือนท่ีมีรายได้ เกนิ 1 ล้านรปู ี มากท่ีสดุ ในอินเดีย จึงเปน็ เศรษฐีตัวจรงิ ของอินเดียอุตสาหกรรม หลกั ของบังกาลอร์คือ IT และธุรกิจที่เกี่ยวข้อง เช่น ธุรกิจรับจ้างบริการ ระบบธุรกิจ (Business Process Outsourcing : BPO) การจ้างงานสว่ นใหญ่ 18 คมู่ อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดยี

ในบังกาลอร์จึงเป็นบริษัทซอฟแวร์ปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมขยายตัวสู่ธุรกิจ , อน่ื ๆ มากข้นึ เช่น การก่อสรา้ ง โรงแรมห้างสรรพสนิ คา้ และการทอ่ งเทยี่ ว บงั กาลอรม์ ีนิคมธรุ กจิ ซอฟแวรอ์ ยู่ 3 แห่ง คือ Software Technology Parks of India (STPI), International Tech Park, Bangalore (ITPB) และ Electronics City รฐั กรณาฏกะ (Karnataka) เป็นรัฐที่มีการลงทุนจากต่างประเทศ สูงมากที่สุดแห่งหนึ่งของอินเดียในปัจจุบันรัฐบาลกรณาฏกะได้ลงทุนพัฒนา โครงสรา้ งพื้นฐานกวา่ 1.1 แสนล้านรูปตี อ่ ปี (ประมาณรอ้ ยละ 4.5 ของ GDP ของรัฐ) และมแี ผนจะลงทุนอีกราว 2.1 แสนลา้ นรปู ีตอ่ ปี (ประมาณร้อยละ 9 ของ GDP) ในช่วง 10 ปีข้างหนา้ ผู้สนใจสอบถามรายละเอยี ดการประมูล งานได้ท่ี Email : [email protected], www.idd.kar.nic.in อนั ดบั 5 เจนไน (Chennai) เจนไนมีความหลากหลาย เจนไนเป็นเมืองอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมสำคัญ ได้แก่ การผลติ ทางเศรษฐกิจ มีการลงทุนโดย รถยนต์ (ร้อยละ 30 ของการ ตรงจากตา่ งประเทศ (Foreign ผลิตรถยนต์ในอินเดีย ซึ่ง GDP = 23,000 ล้านเหรียญสหรฐั ฯ Direct Investment : FDI เปน็ Hyundai มฐี านการผลติ ใหญ่ GDP Growth 6.6% (2010) อันดับต้นๆ ของอินเดีย และมี อยู่ท่เี มืองเจนไน) IT (Soft- GDP/capita 1,945 เหรียญสหรัฐฯ​ (2010) ท่าเรือที่ทันสมัยและดีเยี่ยม ส่ง ware & Hardware), BPO ประชากร 7.5 ล้านคน และบรกิ ารทเ่ี กย่ี วเนอ่ื งกบั IT Chennai ,ผลให้เจนไนมีศักยภาพรองรับ (เจนไนมีการส่งออก soft- สินค้าไทยป้อนสายการผลิตและ ผบู้ รโิ ภคหลายชนดิ ware และ Information Technology Enabled Service (ITES) มากเปน็ อนั ดบั สองรองจากบงั กะลอร)์ Medical Hub เครือ่ งหนัง รองเทา้ อัญมณี เครือ่ งใช้ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ ภาพยนตร์ (Koliwood) การผลติ กระดาษ จากชานอ้อย การท่าเรอื ปจั จุบนั มีบรษิ ทั ไทยเข้าไปลงทนุ ในสาขาตา่ งๆ เชน่ โรงงานอาหารสตั ว์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และบ้านจดั สรร เปน็ ต้น ผลจากการที่เจนไนมีความหลากหลายทางเศรษฐกิจ มีการลงทุน โดยตรงจากตา่ งประเทศ (Foreign Direct Investment : FDI เป็นอนั ดับ ต้นๆ ของอินเดีย และมีท่าเรือที่ทันสมัยและดีเยี่ยม ส่งผลให้เจนไนมีศักยภาพ รองรบั สนิ คา้ ไทยปอ้ นสายการผลติ และผบู้ รโิ ภคหลายชนดิ เชน่ ชน้ิ สว่ นยานยนต์ พลาสติกและผลิตภัณฑ์ วัสดุก่อสร้าง สินค้าอาหาร ทองรูปพรรณ ผลไม้แปรรูป น้ำผลไม้ โทรทัศน์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ และเครื่องสำรองไฟฟ้า อนึ่ง บนทางหลวงสุวรรณจตรุ พกั ตร์ชว่ งเจนไน-Red Hill มนี ิคมอุตสาหกรรมชัน้ นำ Sri City เจนไนยงั เปน็ ประตสู ูอ่ นิ เดียสำหรับประเทศไทย เนอ่ื งจากอยใู่ กล้ ประเทศไทยและมีทางหลวงสุวรรณจตุรพักตร์เช่ือมโยงกับเมืองเศรษฐกิจอื่นๆ คู่มือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดยี 19

เช่น บังกาลอร์ ปเู น่ มมุ ไบ สุรัติ เวโดดารา อาห์เมดาบดั นวิ เดลี อคั รา อลาฮาบัด กานปูร์ พารานาสี อะรองกาบัด โกลกัตตา วิสาขาปตั นมั และกนุ ตูร์ อันดับ 6 ไฮเดอราบัด (Hyderabad) ไฮเดอราบัดเป็นศูนย์กลางทางการเงินและเศรษฐกิจของรัฐอานธร ประเทศ มี IT เปน็ อุตสาหกรรมหลัก อุตสาหกรรม IT ใช้แรงงานคดิ เปน็ สัดส่วน ร้อยละ 90 ของแรงงาน ท้ังหมด เศรษฐกจิ ของเมอื งนี้ GDP = 21,000 ล้านเหรียญสหรฐั ฯ ได้ขยายตัวจากสาขาบริการ GDP Growth 7.8% (2010) ไปสสู่ าขาอืน่ ๆ นอกสาขา IT GDP/capita 2,253 เหรยี ญสหรัฐฯ​ (2010) มากขน้ึ อนั ไดแ้ ก่ การคา้ ประชากร 7 ล้านคน การขนสง่ การสง่ ออก Hyderabad คลงั สนิ คา้ การสือ่ สาร และ หา้ งสรรพสนิ คา้ (มี Hypermart ใหญท่ ส่ี ดุ ของอนิ เดยี ) เปน็ ตน้ รายไดห้ ลกั สว่ นหนง่ึ ของไฮเดอราบดั มาจากแรงงานอนิ เดยี ทไ่ี ปทำงานในดไู บ (ปจั จบุ นั มบี รษิ ทั เฟอรน์ เิ จอรไ์ ทยเข้าไปตั้งโรงงานที่นิคมอุตสาหกรรมSriCityและบรษิ ทั ไทยเข้าไปตง้ั โรงงานอาหารสัตวท์ ่ีเขตท่าเรอื วิสาขาปตั นัม) อนั ดบั 7 อาหเ์ มดาบัด (Ahmedabad) อาห์เมดาบัด (Ahmedabad) เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและ อตุ สาหกรรมสำคญั ทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ ของรัฐคุชราตปัจจัยสำคัญ GDP = 20,000 ล้านเหรยี ญสหรฐั ฯ ป ร ะ ก า ร ห นึ่ ง ท่ี ช่ ว ย ใ ห้ GDP Growth 11% (2010) อาห์เมดาบัดเติบโตอย่าง GDP/capita 2,248 เหรียญสหรฐั ฯ​ (2010) รวดเร็ว เน่อื งจากทท่ี ำเลต้งั ประชากร 4.8 ลา้ นคน ทอ่ี ย่ไู มห่ ่างจากเมืองสรุ ตั แิ ละ Hyderabad เปน็ ศนู ยก์ ระจายสนิ คา้ สนิ ค้า ใหก้ บั เมอื งอน่ื ๆ ทอ่ี ยหู่ า่ งไกล จากทะเลในฝงั่ ตะวันตก อุตสาหกรรมสำคญั ได้แก่ IT ยานยนต์ Software, BPO (ทาทา) ก่อสรา้ ง ส่งิ ทอฝา้ ย รถยนต์ (ทาทา นาโน) เสอ้ื ผ้าสำเรจ็ รูป อญั มณแี ละเครอ่ื งประดบั ยา เคมภี ณั ฑ์ การคา้ การขนสง่ คลงั สนิ คา้ และ การสอ่ื สาร เคร่อื งใช้ไฟฟา้ มอเตอร์ เครือ่ งขัดสขี า้ ว และทองรปู พรรณ (อนิ เดียบรโิ ภคทองคำมากทีส่ ดุ ในโลก) อนั ดบั 8 ปูเน่ (Pune) ปูเน่เป็นเมืองบริวารของมุมไบที่ห่างไปทางทิศตะวันออกราว 20 ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดยี

150 กโิ ลเมตร มกี ารเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ทร่ี วดเรว็ อยา่ งนา่ ทง่ึ ปเู นเ่ ปน็ เมอื ง อตุ สาหกรรมยานยนต์ทุกประเภท เปน็ เมอื งแหง่ เครอ่ื งจักรกล เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า IT, Software, BPO มนี คิ ม อตุ สาหกรรม IT ชั้นนำ เชน่ Rajiv Gandhi IT Park at GDP = 10,000 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ Hinjewadi, Magarpatta GDP Growth 7.4% (2010) Cybercity, MIDC Software GDP/capita 2,331 เหรียญสหรัฐฯ​ (2010) Technology Park ที่เขต ประชากร 5 ลา้ นคน Talawade, Marisoft IT Pune Park ที่เขต Kalyani Nagar อนั ดับ 9 สรุ ตั ิ (Surat) สุรตั ิเป็นเมอื งทีใ่ หญ่เปน็ อนั ดับ 2 ของรัฐคชุ ราตเป็นเมืองที่มีความ หนาแน่นของประชากรมาก ที่สุดเมืองหนึ่งของโลก ใน GDP = 7,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ช่วง 7 ปีที่ผ่านมา สุรัติมี GDP Growth 10.2% (2010) การเติบโตทางเศรษฐกิจอยู่ GDP/capita 2,571 เหรยี ญสหรฐั ฯ​ (2010) ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง ประชากร 4 ลา้ นคน โดยเฉล่ยี 11.5% ตอ่ ปี มกี าร Surat วา่ งงานตำ่ การจ้างงานสูงและ มีการปล่อยสินเชื่อรายยอ่ ยตอ่ หัวสงู ทสี่ ุดในอินเดีย นับแตอ่ ดีตมาสรุ ัติเป็นเมอื ง ทมี่ ชี ื่อเสยี งด้านสิ่งทอและอุตสาหกรรมเพชร (Diamond Capital of the World) ท้งั น้ี กว่าร้อยละ 90 ของเพชรในตลาดโลกผ่านการตดั และเจียระไน ท่ีเมอื งสรุ ตั แิ ห่งน้ี อันดับ 10 กานปรู ์ (Kanpur) กานปรู ต์ ง้ั อยใู่ นรฐั อตุ รประเทศ เปน็ เมอื งอตุ สาหกรรมเกา่ แกท่ ส่ี ดุ แหง่ หน่ึงในภาคเหนือของอินเดีย เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม GDP = 6,000 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ สง่ ออกเคร่อื งหนงั (สง่ ออก GDP Growth 5% (2010) รองเท้ามากที่สุดของอินเดีย) GDP/capita 1,874 เหรยี ญสหรัฐฯ​ (2010) แ ล ะ ส่ิ ง ท อ ข อ ง อิ น เ ดี ย ประชากร 4.9 ลา้ นคน นอกจากนั้น ยังเป็นแหล่ง Kanpur ผลิตอุตสาหกรรมหนักท่กี ำลัง เตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ เชน่ เหลก็ เคมีภัณฑ์ จักรยานยนต์ เคร่ืองยนต์ และปุ๋ย ซ่ึงเป็นปัจจัยการผลิตด้านอุตสาหกรรมและเกษตรของประเทศทุกประเภท คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอนิ เดยี 21

กานปูร์ยงั เป็นเมืองทม่ี ี SMEs มากท่สี ดุ แห่งหน่งึ ของอนิ เดยี กานปรู ม์ กี าร พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในเกณฑ์ที่ดีมามีทางหลวงเชื่อมเมืองสำคัญๆ เช่น นิวเดลี หลายสาย ดงั น้ัน ผสู้ ง่ ออกไทยทสี่ นใจส่งออกสินค้าปัจจยั การผลิต สินค้าไมค่ วรมองข้ามตลาดกานปรู ์ เชน่ ช้ินส่วนรองเท้าและเครื่องหนัง หนังฟอก และช้นิ ส่วนจกั รยานยนต์ เปน็ ต้น 1.14 ข้อมูลทางเศรษฐกิจที่สำคัญในเขตพ้ืนที่ทางตะวันตกของ สาธารณรัฐอินเดยี 1.รัฐคชุ ราต (Gujarat) ตงั้ อยู่ทางฝง่ั ตะวันตกที่สดุ ของอินเดยี เมอื งหลวงชื่อ กนั ตินากา (Gandhinagar) มีพืน้ ที่ 196,024 ตารางกโิ ลเมตร และมปี ระชากรมากกวา่ 50 ลา้ นคน เปน็ รฐั ทอ่ี ดุ มไปดว้ ยแรธ่ าตตุ า่ งๆ ถา่ นหนิ รวมทง้ั นำ้ มนั และกา๊ ซธรรมชาติ สว่ นดา้ นการเกษตรทำการเพาะปลกู ยาสบู และ ฝา้ ย เปน็ หลกั นอกจากการทำเหมอื งแรแ่ ลว้ รฐั คุชราตถือเป็นแหลง่ ผลติ สินคา้ อตุ สาหกรรมทส่ี ำคญั หลายอยา่ ง อาทิ สิ่งทอ เคมภี ณั ฑ์และปโิ ตรเคมี ผลิตภณั ฑ์ยา ซีเมนต์และเซรามิก และอญั มณี เป็นทตี่ งั้ ของโรงงานอุตสาหกรรม ทงั้ ขนาดใหญ่และขนาดย่อยมากกว่า 300,000 แหง่ ทำใหร้ ฐั นมี้ อี ัตราการ เจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ สูงถึงรอ้ ยละ 14 ในแตล่ ะปี โอกาสทางธุรกจิ ในรฐั นี้อยทู่ ีการเข้าไปลงทุน ในภาคการผลติ สินค้า อุตสาหกรรมต่างๆ เน่อื งจากเปน็ รฐั ทม่ี ีทรพั ยากรธรรมชาตทิ เี่ ป็นวตั ถุดิบใน การผลิตอดุ มสมบูรณ์ และนโยบายของรฐั ทเ่ี ปิดกวา้ งสำหรบั การลงทนุ ด้าน อุตสาหกรรมโดยมีนิคมอุตสาหกรรมมากกวา่ 250 แหง่ รองรับ นอกจากน้ี รฐั คชุ ราตยงั เปน็ พน้ื ทท่ี ม่ี กี ารคมนาคมขนสง่ ครบวงจรทง้ั ถนน ทางรถไฟ ทา่ เรอื 40 แห่ง และทา่ อากาศยานนานาชาติทเี่ มอื งอาห์เมดาบัด (Ahmedabad) 22 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดยี

2. รฐั มธั ยประเทศ (Madhya Pradesh) เปน็ รฐั ทม่ี ขี นาดใหญ่ เป็นอันดับที่สองของอินเดียต้ังอยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดินกลางประเทศอินเดีย พ้ืนท่ี 308,000 ตารางกิโลเมตร มปี ระชากรประมาณ 60 ลา้ นคน เมอื งหลวง ชื่อ โบปลั (Bhopal) เชน่ เดยี วกับพ้ืนทส่ี ่วนใหญข่ องอินเดียรฐั มธั ยประเทศ มีพื้นฐานทางเศรษฐกจิ จากภาคการเกษตรเป็นหลัก ประชากรร้อยละ 75 ประกอบอาชีพเกษตรกร และพนื้ ทปี่ ระมาณรอ้ ยละ 50 ใช้ทำการเกษตร ในขณะเดียวกันรัฐมัธยประเทศก็มีความ เจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมมาเป็น เวลานานแล้ว จนในปจั จุบนั เปน็ แหลง่ ผลิตสินค้าอุตสาหกรรมหนักท่ีต้องใช้ เทคโนโลยีสูง อาทิ รถยนต์ ซีเมนต์ เคร่ืองใช้ไฟฟา้ และเคร่ืองอิเลก็ ทรอนิกส์ และกำลังมุ่งไปสูก่ ารเป็นแหล่งผลิตสินค้า IT แต่ปัญหาประการหนึ่งที่สำคัญคือ โครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ ค่อนขา้ งเก่า และทรุดโทรมเมื่อเทียบกับรัฐอื่นที่เน้น ภาคอตุ สาหกรรม อาทิ รัฐคารน์ าทากะ ซ่ึงมีเมืองบังกาลอร์เป็นศูนย์กลางหรือรัฐ เคราละ ซึง่ เน้นรปู แบบอตุ สาหกรรมการผลติ ที่ทันสมัย อยา่ งไรกต็ าม ในชว่ งระยะเวลา 10 ปที ผ่ี า่ นมา ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ โครงสรา้ งพ้ืนฐานหลายอยา่ งใหท้ ันสมยั มากขนึ้ และด้วยที่ตั้งท่ีอยู่ใจกลางของ อนิ เดยี ทำใหร้ ัฐมธั ยประเทศนา่ จะเปน็ ฐานการผลติ ทใ่ี ชใ้ นการขยายตลาดภายใน ประเทศไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 3. รัฐมหาราษฏระ (Maharashtra) เป็นทต่ี ัง้ ของเมอื งมมุ ไบ (Mumbai) ซึ่งเปน็ เมอื งหลวงของรฐั กล่าวได้วา่ เป็นรัฐทสี่ ำคัญทีส่ ดุ ในบรรดา รัฐในฝั่งตะวนั ตกของอนิ เดยี มีพื้นที่ 307,713 ตารางกิโลเมตร ใหญ่เป็น อนั ดบั 3 ของอินเดยี และมีประชากรมากกว่า 96 ลา้ นคน เปน็ รัฐท่ีรำ่ รวย ที่สดุ ของอนิ เดียมรี ายไดค้ ิดเปน็ ร้อยละ 15 ของ GDP รวมทั้งประเทศ และมีผลผลิตทางอตุ สาหกรรมคดิ เป็นมูลค่าร้อยละ 15 ของภาคการผลติ รวมทั้งประเทศเมอื งมมุ ไบ ซึง่ เป็นเมืองหลวงของรัฐ ถือเป็นเมืองหลวงทาง การค้าและการเงนิ ของอนิ เดยี ด้วย โดยเป็นทีต่ ัง้ ของสำนกั งานใหญข่ องสถาบนั ทางการเงินเกอื บทุกแหง่ ทง้ั ของอินเดยี เอง และของต่างชาติ รวมทั้งตลาด หลกั ทรพั ยท์ ่ใี หญ่ที่สุดของอินเดยี และเก่าแกท่ ส่ี ุดของเอเชยี อย่าง Bombay Stock Exchange ความรำ่ รวยทางเศรษฐกิจของรฐั มหาราษฏระ มาจากความ แข็งแกรง่ ในโครงสรา้ งพืน้ ฐานในการผลติ ทงั้ ถนน ทางรถไฟ ทา่ อากาศยาน ท่าเรอื เทคโนโลยี รวมไปถงึ โครงสร้างพื้นฐานทางสังคมอาทิ การศึกษา คูม่ อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดีย 23

,, รัฐมหาราษฏระเป็นรัฐที่มี การฝกึ อบรม และความเปน็ สากล ทำใหส้ ามารถดงึ ดดู เงนิ ลงทนุ จากตา่ งประเทศ ไดม้ ากกว่ารอ้ ยละ 17 ของเงนิ ทุนตา่ งประเทศทั้งหมดทเ่ี ขา้ มาในอนิ เดยี โอกาสทางการค้าและการลงทุน อุตสาหกรรมท่สี ำคญั ท่สี ุดของรฐั มหาราษฏระ คือ ส่ิงทอ และ มากทสี่ ุดในอนิ เดยี น้ำตาล นอกจากนีย้ ังเป็นฐานการผลติ ของสินค้าอตุ สาหกรรมตา่ งๆ แทบทุก ประเภท อาทิ อาหารแปรรูปผลิตภณั ฑย์ า อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ปโิ ตรเคมี รถยนต์ อัญมณี ผลติ ภณั ฑ์เหล็ก เครอ่ื งใชพ้ ลาสติก และอน่ื ๆ นอกจากเมืองมมุ ไบ ซง่ึ เปน็ เสมอื นศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกจิ ของรฐั และของอนิ เดยี แลว้ รฐั มหาราษฏระ ยงั มีเมอื งสำคญั อ่นื ๆ ท่นี า่ สนใจ อาทิ เมอื งปเู น่ (Pune) ซึง่ ตั้งอยู่ห่างจาก เมืองมมุ ไบ 170 กโิ ลเมตร ทางรถยนต์ หรอื 192 กโิ ลเมตร ทางรถไฟเปน็ ทต่ี ั้งของธุรกิจอตุ สาหกรรมทเ่ี ติบโต อย่างรวดเร็วเป็นเมืองที่มีความสำคัญทาง ประวัติศาสตร์ของอินเดีย จึงได้รับสมญานามต่างๆ ได้แก่ “เมอื งหลวงแห่ง วฒั นธรรมของรฐั มหาราษฏระ” “ราชนิ ีแห่งที่ราบเดคคาน” และ “อ็อกซฟอรด์ แห่งตะวันออก” เนือ่ งจากเป็นศนู ย์รวมการศกึ ษาทม่ี ชี ่ือเสยี ง ประกอบดว้ ย มหาวิทยาลัย วทิ ยาลยั และสถาบนั การศกึ ษามากมาย นอกจากน้ี ยงั เปน็ ทต่ี ง้ั ของแหลง่ โบราณคดแี ละศาสนสถานทส่ี ำคญั ของศตวรรษท่ี 17-18 รวมถงึ เปน็ แหล่งกำเนดิ ของบคุ คลสำคัญในสาขาอาชีพต่างๆ ถงึ แม้วา่ ปูเนใ่ นปัจจบุ นั เปน็ เมืองทที่ นั สมัยมสี งิ่ อำนวยความสะดวก สถานบนั เทงิ หา้ งสรรพสนิ คา้ โรงแรม รา้ นอาหาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศชน้ั นำ และบรษิ ทั ตา่ งชาติ ทเ่ี ขา้ ไปประกอบกจิ การจำนวนมาก แตป่ เู นย่ งั คงรกั ษาเอกลกั ษณเ์ กา่ แกท่ ท่ี รง คณุ คา่ และยังรักษาวฒั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณดี ัง้ เดมิ ไว้เปน็ อยา่ งดี เมอื งสำคญั อกี เมอื งหนง่ึ ของรฐั มหาราษฏระ ไดแ้ ก่ เมอื งนาสกิ (Nasik) ซ่งึ เป็นเมอื งที่นา่ ลงทุนและมีชอ่ื เสยี งว่า เปน็ เมืองขององ่นุ (Grape City) และ “The Wine Capital of India” สภาพภูมิประเทศและภมู ิอากาศเหมาะ กบั การทำเกษตรกรรม เมืองนาสิกจึงสามารถผลติ สินคา้ สง่ ออกทีส่ ำคัญๆ เช่น การปลกู อง่นุ สดส่งออกไปยังประเทศแถบตะวันออกกลาง เอเชีย และยุโรป มโี รงงานทำน้ำองุน่ ไวน์ และลูกเกด นอกจากน้ียงั มีชอื่ เสียงในการปลูกและ ส่งออกหอมขาว (White onions) ดอกกหุ ลาบ และลกู ทับทิม ผลิตผล ทางการเกษตรเหล่านี้ซง่ึ เปน็ รายได้สำคญั แล้ว เมอื งนาสิกยงั เป็นศูนย์รวมของ อุตสาหกรรมเปน็ อันดบั ทสี่ ามรองจากมมุ ไบและปเู น่ ในตัวเมืองนาสิกและ ชานเมอื งเป็นทตี่ ั้งของนิคมอตุ สาหกรรม 5 แหง่ มีบรษิ ัทยักษ์ใหญท่ ง้ั ของ อนิ เดยี และตา่ งชาตติ ัง้ ฐานการผลติ ในนาสิก อาทิ L&T, Mahindra and Mahindra, Robert Bosch Group, Samsonite, CEAT, Siemens, Smithkline, Kirloskar Oil Engines, Hindustan Aeronautics Limited, ABB Ltd., VIP Ltd., Glaxo Pharma, Coca-Cola และอ่ืนๆ นอกจากนี้ ยงั เปน็ ทีต่ ัง้ ของ IT Parks อีกด้วย รัฐมหาราษฏระเป็นรัฐท่ีมีโอกาสทางการค้าและการลงทุนมากท่ีสุด 24 คมู่ ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอนิ เดยี

ในอนิ เดยี จากความหลากหลายของทรพั ยากร วตั ถดุ บิ และคณุ ภาพของแรงงาน ท่สี งู กวา่ พื้นทีอ่ น่ื ๆ ของอนิ เดียโดยรวม ประกอบกบั ความเปน็ ศูนย์กลางทาง การค้าและการเงนิ ในระดบั นานาชาติ ทำให้รัฐน้เี ปน็ พื้นท่ที ี่เป็นทางเลือกของ นักลงทนุ ในอันดับแรกเสมอ 4. รฐั กวั (Goa) เป็นรฐั ท่ีเล็กท่ีสุดของอินเดยี มีพืน้ ท่ี 3,702 ตาราง กโิ ลเมตร และมีประชากรประมาณ 1,500,000 คน เมืองหลวงชื่อ ปานาจี (Panaji) แตเ่ มืองที่สำคัญและมีขนาดใหญท่ ่สี ดุ ช่ือ วาสโก ดากามา (Vasco De Gama) เมอื งในแถบนต้ี กอยภู่ ายใต้อทิ ธิพลของโปรตุเกสเปน็ เวลานาน จึงมีบ้านเรือนและส่ิงปลูกสร้างท่ีมีรูปแบบเป็นโปรตุเกสอยู่เป็นจำนวนมาก และไดร้ บั การรักษาไวค้ อ่ นขา้ งดี พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของรัฐกัวมาจากการทำการเกษตรเช่นเดียว กบั ในพื้นที่ส่วนใหญ่ของอินเดีย โดยมีพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวและ พืชประเภทถว่ั สำหรับไม้ผลก็จะเปน็ มะพร้าว กลว้ ย สบั ปะรด มะม่วง และ กล้วย นอกจากนี้ ด้วยความสวยงามทางธรรมชาตแิ ละสถาปตั ยกรรม ทำให้ รัฐกัวเป็นสถานท่ที ่มี ีนักท่องเท่ยี วต่างชาติมาเยือนเยอะท่สี ุดแห่งหน่งึ ของอินเดีย ปีละไม่น้อยกว่า 500,000 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 15 ของนักท่องเที่ยว ต่างชาตทิ ้ังหมดที่เดินทางเขา้ มาในอินเดีย จากการเปน็ รฐั ที่สำคญั ด้านการทอ่ งเท่ียวดงั กลา่ ว และการบริหาร จดั การโครงสรา้ งพน้ื ฐานทค่ี อ่ นขา้ งดี ทำใหร้ ฐั กวั เปน็ พน้ื ทห่ี นง่ึ ทน่ี า่ สนใจสำหรบั นกั ลงทนุ ตา่ งชาตโิ ดยเฉพาะในสาขาธุรกิจบริการ ท่เี ก่ยี วเน่อื งกับการทอ่ งเทย่ี ว สำหรบั ในดา้ นอตุ สาหกรรมการผลติ สนิ คา้ ในปจั จบุ นั มโี รงงานขนาดเลก็ ประมาณ 7,000 แห่งอยู่ในรฐั นี้ และมีการทำเหมอื งแร่เหลก็ และมังกานสี ภาคการผลติ ทม่ี แี นวโนม้ ทจ่ี ะขยายตวั เพม่ิ ขน้ึ ในอนาคตคอื สนิ คา้ ในกลมุ่ เครอ่ื งใชอ้ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และ IT 5. รฐั คารน์ าทากะ (Karnataka) เป็นรัฐใหญ่ทีม่ คี วามสำคญั ของอินเดียอีกรัฐหนึ่ง เป็นที่ตั้งของเมืองสำคัญทางเศรฐกิจอย่างบังกาลอร์ (Bangalore) ซึง่ เปน็ เมืองหลวงของรฐั นด้ี ้วย รัฐคาร์นาทากะมพี ืน้ ที่ 191,791 ตารางกิโลเมตร และมปี ระชากรมากกวา่ 52 ล้านคน โครงสร้างพืน้ ฐานอยูใ่ น ระดับดมี ากเม่ือเทียบรัฐอนื่ มที ่าเรอื 10 แหง่ และทา่ อากาศยานนานาชาตทิ ี่ บังกาลอรท์ น่ี ับไดว้ ่าทนั สมยั ทส่ี ุดแห่งหน่งึ ของอนิ เดยี รัฐน้ีเป็นพ้ืนที่สำคัญในภาคการผลิตของอินเดียท้ังภาคอุตสาหกรรม และภาคเกษตรกรรม ซึง่ มมี ลู ค่ารวมคิดเปน็ ครึ่งหนึง่ ของตัวเลข GDP ของรัฐ นอกจากนี้ยังเป็นพื้นที่ท่ีมีสัดส่วนการผลิตภาคอุตสาหกรรมเมื่อเทียบกับภาค การเกษตรมากกว่าพื้นที่อื่นส่วนใหญ่ของอินเดีย โดยมีโรงงานอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ตงั้ อยูเ่ ปน็ จำนวนมาก อาทิ โรงงานผลิตนำ้ ตาล กระดาษ และซเี มนต์ เป็นตน้ ส่วนภาคการเกษตรทส่ี ำคญั เปน็ การเพาะปลกู ข้าวและธญั พืชตา่ งๆ คู่มือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐอนิ เดยี 25

โดยมีปรมิ าณการผลติ รวมสูงมากกวา่ 11 ล้านตันในแตล่ ะปี สง่ิ ที่ทำให้รัฐน้ี เป็นที่รจู้ กั และเปน็ ท่ีสนใจคือความก้าวหนา้ ด้าน IT โดยเฉพาะเมอื งบงั กาลอร์ ซึง่ ได้ชอ่ื ว่าเป็น Silicon Valley อีกแหง่ หนึ่งนอกจากแคลฟิ อรเ์ นยี และเป็นสง่ิ ที่ดึงดูดให้มีการลงทุนจากต่างชาติในกลุ่มสินค้าที่ต้องใช้เทคโนโลยีในการผลิต ระดบั สงู เปน็ จำนวนมาก ท้ังจาก เยอรมนี ญ่ีปนุ่ สหรฐั อเมริกา องั กฤษ สวติ เซอร์แลนด์ และสวเี ดน เป็นต้น 6. รฐั เคราละ (Kerala) ตง้ั อยรู่ มิ ชายฝ่ังตะวันตกทางตอนใต้สุด ของอินเดยี มเี มอื งหลวงชอ่ื ตริ ุวนั นนั ทะปรู มั (Thiruvananthapuram) เป็น รัฐขนาดกลาง มพี ื้นท่ี 38,863 ตารางกโิ ลเมตร และมีประชากรประมาณ 31 ล้านคน ประมาณครึ่งหนึ่งทำการผลติ ในภาคเกษตรกรรม โดยทำการ เพาะปลกู ขา้ วและธญั พชื ชนิดต่างๆ มากกวา่ 600 ชนดิ มะพรา้ ว ชา กาแฟ ยางพารา และพืชตระกูลถั่ว ด้วยเป็นรัฐท่ีมีชายฝ่ังเป็นระยะทางยาวถึง 590 กโิ ลเมตร รัฐนจี้ งึ มชี ื่อเสยี งดา้ นการทำประมง นอกจากนี้ พนื้ ทปี่ า่ ไม้และ ชายฝั่งที่อุดมสมบูรณ์ เป็นพื้นฐานสำคัญทำให้รัฐเคราละมีโอกาสด้านการ ท่องเที่ยวอีกมาก โดยเห็นได้จากจำนวนนกั ทอ่ งเที่ยวท่ีสูงข้นึ ทุกปี จากการสำรวจของทางการอนิ เดยี ประชากรของรฐั เคราละมพี น้ื ฐาน ทางการศกึ ษาโดยเฉลีย่ สงู กว่ารฐั อน่ื ๆ ส่วนใหญ่ มกี ารจา้ งงานในประเภททตี่ อ้ ง ใช้ฝีมอื และความรใู้ นอัตราทสี่ งู กวา่ พืน้ ท่อี ืน่ ๆ โดยเฉลี่ย และมีกำลังซ้อื เฉลี่ยสงู กวา่ พ้นื ทอี่ ื่น แนวนโยบายของรฐั มุ่งเนน้ ภาคการผลิตท่ตี อ้ งใช้เทคโนโลยสี ูงและ เปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม รัฐเคราละจึงเป็นอีกพ้นื ที่หนึง่ ของอนิ เดยี ทนี่ ่าจะมกี าร พัฒนาในรปู แบบท่ีเปน็ สากลและทนั สมัย เมอื งหน่งึ ในรัฐน้ีทีน่ า่ สนใจสำหรบั นกั ลงทนุ คือเมอื งโคชนิ หรือโกชิ (Kochi) อยหู่ ่างจากเมืองตริ วุ นั นันทะปูรมั ขึ้นไปทางตอนเหนือรัฐประมาณ 220 กโิ ลเมตร เปน็ เมอื งใหญ่อนั ดับ 2 รองจากเมืองหลวงของรฐั มปี ระชากร ประมาณ 2.1 ลา้ นคน และเปน็ เมืองดาวรงุ่ ทม่ี ชี ือ่ เสยี งของอนิ เดียอกี เมอื งหน่ึง ท่นี ่าจะจบั ตามองตอ่ ไป เพราะต้ังแต่ ค.ศ. 2000 เปน็ ตน้ มา เมอื งน้มี กี ารเจริญ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ สงู ขน้ึ มากทางดา้ นธรุ กจิ ขนสง่ ทางเรอื การคา้ ระหวา่ งประเทศ การต่อเรือ การประมง การทอ่ งเที่ยว บริการดา้ นสขุ ภาพ การธนาคาร และ IT และเปน็ ศนู ยก์ ลางทางการค้าของรัฐเคราละอีกดว้ ย นอกจากเป็นแหล่ง การค้าเคร่อื งเทศทางฝง่ั ทะเลอาราเบียนตั้งแต่ศตวรรษท่ี 14 แล้ว ปัจจุบนั เป็น แหลง่ คา้ ปลกี และคา้ สง่ สนิ คา้ สขุ ภาพความงามทองคำอญั มณแี ละเครอื่ งประดบั ผ้าผนื เฟอรน์ ิเจอร์ เคร่ืองจกั ร อาหารทะเล และผลิตภณั ฑ์ทางการเกษตร เป็นต้น มกี ารจดั งานแสดงสนิ ค้าประจำปี รวมถึงมโี รงกล่นั น้ำมัน ฐานทพั เรือ และท่าเรอื ขนสง่ สนิ คา้ สมาคมผ้ปู ระกอบการด้าน IT ของอินเดยี ได้จัดอนั ดับให้เมืองโคชนิ เป็นเมืองที่น่าสนใจอันดับสองของอินเดียในการต้ังฐานการให้บริการด้านไอที 26 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อินเดีย

เพราะมีความไดเ้ ปรียบดา้ นต้นทนุ ทตี่ ่ำกว่าเมอื งอ่นื มีท่าอากาศยานนานาชาติ และมีโครงการสนับสนนุ จากทางรัฐให้ชานเมอื งโคชนิ เป็นทีต่ ้งั ของ Infopark, Special Economic Zone, Export Promotion Industrial Park เปน็ ตน้ 7. เขตดามันและดอี ู (Daman and Diu) ตงั้ อยูร่ มิ ชายฝั่ง ทางตะวันตกของอินเดยี ถัดลงมาทางใต้จากรฐั คุชราต มพี นื้ ท่ี 130 ตาราง กโิ ลเมตร และมีประชากรประมาณ 160,000 คน รายได้ส่วนใหญม่ าจากการ เกษตรกรรม การประมง และอตุ สาหกรรมท้องถน่ิ ในระยะหลงั การท่องเทยี่ ว เป็นอกี ภาคหนึ่งที่สร้างรายไดใ้ ห้กับเขตนี้เป็นอย่างมาก และด้วยการท่เี ปน็ เขต ปกครองของรัฐบาลกลาง ทำใหไ้ ดร้ ับงบประมาณจากรัฐบาลกลางในการพฒั นา เทคโนโลยีทางการเกษตรและการประมง รวมทง้ั มนี โยบายท่จี ะดึงดดู การลงทนุ เขา้ มาในเขตน้ีดว้ ย 8. เขตดาดราและนครฮาเวลี (Dadra and Nagar Haveli) เป็น เขตปกครองของรัฐบาลกลาง (UT) ตั้งอยูบ่ นชายฝงั่ ด้านตะวันตกของอินเดยี มีพื้นที่เพียง 491 ตรรางกิโลเมตร เมืองหลวงชื่อ ซิลวาซา (Silvassa) มีประชากรประมาณ 200,000 คน ส่วนใหญเ่ ป็นชนกลุ่มน้อยหลากหลายกล่มุ เศรษฐกิจในเขตนพี้ ึง่ พาภาคการเกษตรเป็นหลกั ในช่วงเวลาท่ีผา่ นมารฐั บาล อนิ เดยี ไดพ้ ยายามพฒั นาระบบชลประทานในพน้ื ทเ่ี พอ่ื เพม่ิ ผลติ ผลทางการเกษตร ที่เป็นอาชีพหลักของชนกลุ่มน้อยควบคู่ไปกับการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมการ ผลติ สนิ คา้ ต่างๆ อาทิ ส่งิ ทอ พลาสตกิ และเคมีภัณฑ์ จากการกำหนดนโยบาย ด้านภาษีที่เอื้อประโยชน์ให้กับนักลงทุน ทำให้ในปัจจุบันมีจำนวนโรงงาน มากกวา่ 2,000 แหง่ ตง้ั อยใู่ นเขตน้ี กอ่ ใหเ้ กดิ ผลผลติ คดิ เปน็ มลู คา่ ไมน่ อ้ ยกวา่ 100,000 ลา้ นรูปี หรอื 2,200 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ ตอ่ ปี คูม่ อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดยี 27

จากการกำหนดนโยบายทางดา้ นภาษีดังกลา่ ว ประกอบกบั ที่ตงั้ ซ่ึงอยู่ ตรงรอยต่อระหวา่ งสองรฐั ใหญ่ คือ รัฐคชุ ราต (Gujarat) และรฐั มหาราษฏร์ (Maharashtra) และไม่ห่างจากเมืองเศรษฐกจิ อยา่ งเมอื งมมุ ไบมากนกั ทำให้ เขตนี้เป็นที่น่าสนใจสำหรับนักลงทุนโดยเฉพาะนักลงทุนต่างชาติที่ต้องการ ขยายฐานการผลิตในอินเดยี 9. เขตลกั ชาทวีป (Lakshadweep) เปน็ หมู่เกาะต้งั อยู่ทาง ตอนใต้ของอนิ เดีย มพี นื้ ทีร่ วม 32 ตารางกโิ ลเมตร และประชากรประมาณ 60,000 คน สนิ คา้ เกษตรทเ่ี ปน็ หลกั ในเขตน้ี คอื มะพรา้ ว และผลติ ภณั ฑป์ ระมง มีการผลติ ภาคอุตสาหกรรมอยู่บา้ ง คอื การผลติ เส้นใยมะพรา้ ว ซึง่ ลงทุนโดย รัฐทัง้ หมด และโรงงานผลติ อาหารทะเลกระป๋องขนาดเล็ก ในปัจจุบนั กำลงั ได้ รับการพฒั นาด้านการทอ่ งเที่ยว โดยมีเป้าหมายจะใหเ้ ป็นการสรา้ งรายได้หลัก ในอนาคต 1.15 ขอ้ มลู ภูมภิ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนือของอินเดยี 1. ขอ้ มลู พืน้ ฐาน อินเดยี ประกอบด้วยรฐั 29 รัฐ (State) เขตปกครอง 6 เขต (Union Territory) โดยภมู ิภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของอนิ เดยี (North Eastern Region: NER) มพี นื้ ทเี่ ชอ่ื มต่อกับส่วนทเ่ี ป็นผนื ดินใหญข่ องประเทศ มลี กั ษณะ เหมือนคอไก่ (Chicken’ neck) ผา่ นทางตอนเหนอื ของรฐั เบงกอล พน้ื ท่ี รวมกนั 262,185 ตารางกิโลเมตร โดยเขตตดิ ต่อกนั ด้านทศิ ตะวันออกมี ความกว้าง 33 กโิ ลเมตร และด้านทิศตะวันตกมีความกวา้ ง 21 กโิ ลเมตร ประชากรส่วนใหญ่นับถอื ศาสนา ฮินดู อสิ ลาม คริสต์ พุทธ ภาษาทางการ ฮนิ ดี/องั กฤษ โดยรฐั ท่ใี หญ่ท่ีสุดในภูมิภาค คือ อรณุ าจัลประเทศ และรฐั ท่ีเล็ก ทสี่ ุดในภูมิภาค คือ สิกขมิ NER ประกอบดว้ ยรฐั 8 รัฐคอื อรุณาจัลประเทศ อสั สัม มณปี รุ ะ เมฆาลายา มโิ ซรมั นาคาแลนด์ สิกขิม และตริปุระ มปี ระชากรรวม 38.98 ลา้ นคน เปน็ ภมู ภิ าคท่มี ที รัพยากรทางธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ แตย่ งั มไิ ด้นำมา ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์อย่างแท้จรงิ มอี ุตสาหกรรมผลิตใบชาที่มผี ลผลติ มากที่สุด ในโลก มงี านหตั ถกรรมและการทอผา้ ทด่ี เี ยย่ี ม มแี มน่ ำ้ พรหมบตุ ร (Brahmputra) ซึ่งป็นแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ซึ่งเป็นแหล่งที่มีศักยภาพในการผลิต พลังไฟฟ้าจากน้ำไดอ้ ยา่ งดี อยา่ งไรกต็ าม NER ยงั มรี ะดบั การพฒั นาตำ่ กวา่ ภมู ภิ าคอน่ื โดยเฉพาะ ดา้ นเศรษฐกจิ รายไดข้ องประชากรอยใู่ นอตั ราทค่ี อ่ นขา้ งตำ่ ระบบสาธารณปู โภค ขั้นพื้นฐานไม่เพียงพอและค่อนข้างตัดขาดจากแผ่นดินใหญ่ แต่รัฐบาลกลาง ได้ประกาศใช้งบประมาณกว่า 15 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในการพัฒนา สาธารณูปโภคข้ันพืน้ ฐานของภูมิภาค ทงั้ ถนน พลงั งาน การขนส่งทางเรือและ 28 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดยี

อากาศ เป็นต้น โดยพยายามพัฒนาให้เปน็ ประตกู ารค้าการลงทนุ ของอินเดีย ส่ตู ลาดเอเชยี ตะวนั ออกคือจีน ผ่านพม่าส่ตู ลาดอาเซียน และตลาดเอเชยี ใต้ สูบ่ ังคลาเทศและภูฏาน ความสำคัญของ NER รัฐบาลกลางให้การส่งเสริมการพัฒนา ของภมู ภิ าคเป็นพเิ ศษ เพื่อยกระดบั เศรษฐกิจท้องถิน่ ใหท้ ัดเทียมภมู ภิ าคอื่นๆ ของอนิ เดยี โดยพยายามพฒั นาใหเ้ ปน็ ประตกู ารคา้ การลงทนุ ของอนิ เดยี สตู่ ลาด เอเชยี ตะวนั ออกคอื จนี ผา่ นพมา่ สตู่ ลาดอาเซยี น และตลาดเอเชยี ใตส้ บู่ งั คลาเทศ และภูฏาน จุดเดน่ จดุ ดอ้ ย • เป็นแหลง่ พลงั งานธรรมชาติ เชน่ นำ้ มนั ดิบ ก๊าซธรรมชาติ • ปัญหาความไม่สงบในพ้ืนที่ (อรณาจัลประเทศ ไฟฟ้าพลงั น้ำ นากาแลนด์ สิกขมิ มโิ ซรมั และมานิปูร์) • เปน็ แหล่งวัตถุดิบท่หี ลากหลาย เชน่ เหล็ก ไม้ ผกั • ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกจิ ต่ำ โดยมรี ายได้ ผลไม้ เครื่องเทศ ใบชา (ผลิตมากที่สดุ ในโลก) ยางพารา ตอ่ หัว 12,470 รปู ี (2001-2002) (ผลติ มากท่ีตรีปรุ ะ) • ขาดการนำทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชป้ ระโยชน์ • เป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทห่ี ลากหลายท้ังความงามของธรรมชาต ิ ทางเศรษฐกจิ และมรดกทางวัฒนธรรม มีวัฒนธรรมคล้ายคลึงกบั ไทย • ขาดแคลนสาธารณูปโภคขน้ั พืน้ ฐานทมี่ คี ุณภาพ • ต้นทนุ แรงงานตำ่ • เทคโนโลยีการเกษตรลา้ สมยั มีการทำไรเ่ ลอื่ นลอย • พื้นทีใ่ กล้ไทย ซึ่งสามารถเช่อื มตอ่ เส้นทางอาเซยี นไฮเวย์ บริเวณพ้นื ที่เนินเขา และโครงการถนนสามฝ่ายไดใ้ นอนาคต • ขาดแคลนแรงงานฝีมอื โอกาสการลงทนุ รัฐบาลอัดฉดี งบประมาณในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของภูมภิ าคกว่า 5 แสนลา้ นรูปภี ายใน 10 ปขี ้างหนา้ โดยเน้นโครงการ ก่อสรา้ งสาธารณปู โภคตา่ งๆ เชน่ ถนน สะพาน สว่ นต่อขยายของสนามบนิ และอาคารสถานทตี่ ่างๆ สิทธิประโยชน์ Tax Free Zone 10 ปี ใหเ้ งินสนบั สนนุ ในการ ตง้ั ศนู ย์พัฒนาความเจริญดา้ นอตุ สาหกรรม (Growth Centre) นโยบาย การอุดหนนุ ดา้ นการขนสง่ เป็นต้น ยกเว้นภาษีสรรพสามิตสำหรับสินค้าท่ผี ลิต ขน้ึ ในภูมภิ าค ให้สทิ ธปิ ระโยชน์กบั การคา้ บริการ (services) Bio-Technology และอุตสาหกรรมพลังงาน สาขาการลงทนุ ทนี่ า่ สนใจสำหรับไทย 1. การกอ่ สรา้ ง ถนน เข่อื น และโรงผลติ กระแสไฟฟา้ พลังน้ำ 2. การทอ่ งเท่ยี ว โรงแรม การจัดการทอ่ งเที่ยว สายการบิน 3. พลังงาน ไฟฟ้าพลังนำ้ ก๊าซธรรมชาติ การกลั่นนำ้ มนั และ อุตสาหกรรมตอ่ เน่ือง 4. อาหารแปรรปู ผัก ผลไม้ สมุนไพร เครือ่ งเทศ คู่มือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อินเดยี 29

2. เศรษฐกิจการค้า 2.1 ภาวะเศรษฐกจิ ในอดีตอินเดียใช้ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมท่ีเน้นการพ่ึงพา ตนเอง โดยรัฐเปน็ ผ้ลู งทุนในกิจการหลกั ๆ ของประเทศท้งั หมด ไดแ้ ก่ กจิ การ สาธารณูปโภคและสวสั ดิการของประชาชน กจิ การท่เี ป็นยทุ ธศาสตรแ์ ละความ ม่นั คงของประเทศ และอตุ สาหกรรมหนกั แต่กใ็ ห้ความสำคัญในการสนับสนนุ กจิ การขนาดเล็กของเอกชนในดา้ นการคา้ อินเดยี จำกดั และหา้ มนำเข้าสินค้า ด้วยมาตรการกฎหมายและกำแพงภาษี นอกจากน้ี ยังควบคุมการลงทุนอยา่ ง เข้มงวด ต่อมาอินเดียเร่ิมผ่อนคลายมาตรการข้อจำกดั ลง เน่อื งจากผลกระทบ จากวกิ ฤตกิ ารณน์ า้ํ มนั และสงครามอา่ วเปอรเ์ ซยี ซง่ึ ทำใหป้ ระสบภาวะเศรษฐกจิ ตกต่ำอย่างต่อเน่อื งในชว่ งปี 1991 ทำใหอ้ ินเดยี ต้องขอความชว่ ยเหลอื ทาง การเงินจากกองทนุ การเงินระหวา่ งประเทศ (IMF) และจำเปน็ ต้องแก้ไขปัญหา เศรษฐกจิ ตามเงอื่ นไขการกู้เงนิ ของ IMF โดยประกาศนโยบายเปดิ เสรที าง เศรษฐกิจอย่างคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป และกำหนดมาตรการที่สำคัญ เช่น ลดการ ขาดดุลงบประมาณของภาครฐั การปฏริ ปู อัตราแลกเปล่ียน เพม่ิ สัดสว่ นถอื หุน้ ของต่างชาติ ลดการอุดหนุนการส่งออกและข้อจำกัดการนำเข้า และตั้ง เขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ รวมทั้งพัฒนาระบบ สาธารณปู โภคพน้ื ฐานและระบบขนสง่ ใหท้ นั สมยั เพอ่ื รองรบั การลงทนุ จากตา่ งชาติ ได้มากข้นึ อนิ เดียเปน็ ประเทศที่มคี วามหลากหลายทางเศรษฐกจิ นบั ตั้งแต่ การทำเกษตรแบบโบราณ การเกษตรสมยั ใหม่ การหตั ถกรรม อตุ สาหกรรม ยุคใหม่ ไปจนถงึ ธรุ กิจบรกิ าร (ซอฟต์แวรแ์ ละการธนาคาร เปน็ ตน้ ) ธุรกจิ บรกิ ารเป็นแหล่งสรา้ งรายได้หลกั ให้กับประเทศอินเดีย โดยมสี ัดสว่ นกว่าคร่ึง หน่งึ ของผลผลติ ของประเทศ สำหรบั ในดา้ นแรงงาน พบว่าประมาณ 1 ใน 3 อยู่ในภาคบริการ ในขณะที่กว่าครึ่งหนง่ึ ในของแรงงานของประเทศอยู่ในภาคการเกษตร เปน็ ผล ให้พรรครว่ มรฐั บาล UPA เนน้ นโยบายสง่ เสรมิ พัฒนาชนบทในด้านต่างๆ อาทิ เชน่ โครงสร้างพ้ืนฐาน เพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวติ ชาวชนบททยี่ ากจนและกระตนุ้ เศรษฐกจิ ในพ้ืนท่หี า่ งไกล ปัจจบุ ันรัฐบาลไดผ้ อ่ นคลายกฎระเบยี บดา้ นการค้า การลงทนุ ลงของตา่ งชาตลิ ง พรอ้ มทงั้ เพมิ่ สัดส่วนการเข้าไปลงทุนโดยตรงของ ตา่ งชาติในสาขาตา่ งๆ เชน่ ในสาขาโทรคมนาคม เปน็ ตน้ เพือ่ เปน็ เครอื่ งมอื กระต้นุ เศรษฐกิจอย่างหนงึ่ อยา่ งไรกต็ าม การปกปอ้ งในสาขาเกษตรยงั คงมี อยู่สูง กอ่ ให้เกดิ อุปสรรคในการเขา้ สูต่ ลาดของสนิ คา้ จากตา่ งประเทศ แมว้ ่าเศรษฐกจิ โลกชะลอตัวลง แตเ่ ศรษฐกจิ อนิ เดียในปี 2008 ก็ยัง มกี ารขยายตวั กว่ารอ้ ยละ 7 เหตผุ ลสำคัญเบอ้ื งหลังคือ อนิ เดียมีตลาดภายใน ขนาดใหญ่ท่ชี ว่ ยพยงุ ใหเ้ ศรษฐกิจยงั คงเดินหนา้ ตอ่ ไปได้ นอกจากนั้น จุดแขง็ 30 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อินเดีย

,ประการสำคัญของอินเดียคือ การมีประชาชนที่มีการศึกษาดีและพูดภาษา องั กฤษไดเ้ ปน็ จำนวนมาก เปน็ ปจั จยั สำคญั ทส่ี ง่ ผลใหอ้ นิ เดยี เปน็ ประเทศผสู้ ง่ ออก ซอฟตแ์ วรช์ นั้ นำ รวมถึงแรงงานดา้ นซอฟตแ์ วร์ด้วย อินเดียมีความเจริญก้าวหน้าในด้านอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสาร สนเทศเป็นอย่างยิ่ง โดยเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา สร้างรายได้จากการสง่ ออกซอฟตแ์ วร์และบรกิ ารจาก 150 ล้านเหรียญสหรัฐฯ รฐั กรณาฏกะ (Karnataka) ในปี 1991 เป็น 5 หม่นื ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ ในปี 2010 และคาดว่าในปี 2011 เปน็ รฐั ทม่ี ศี กั ยภาพดา้ นเทคโนโลยี จะมีการส่งออก 5.7 หมนื่ ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ โดยมบี ริษัทผู้ส่งออกซอฟตแ์ วร์ สารสนเทศสูงที่สุดของประเทศ ทีส่ ำคญั ไดแ้ ก่ Infosys Technologies (INFY.BO), Tata Consultancy โดยเฉพาะทเี่ มอื งบงั กาลอร์ ซึ่ง Services (TCS.BO) และ Wipro (WIPR.BO), ท้งั นี้ เพราะอินเดียมีประชากร เป็นเมืองหลวง ได้ชื่อว่าเป็น รอ้ ยละ 6 ทีม่ ีความเปน็ อยูแ่ ละการศึกษาดีในระดับนานาชาติ และมีสถาบนั Silicon Valley ของอินเดีย การศึกษาคุณภาพสูงที่เน้นการผลิตบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงเป็นศูนย์รวมอุตสาหกรรม นอกจากน้ี อินเดียยังเห็นวา่ อุตสาหกรรมซอฟตแ์ วร์เป็นอุตสาหกรรมสะอาด ซอฟต์แวร์ที่ใหญ่เป็นอันดับ ปราศจากมลพิษ เป็นการสร้างทรัพยส์ นิ ทางปัญญา ซงึ่ มีการลงทุนต่ำและมี 4 ของโลก โดยมีบริษัทชั้นนำ มลู คา่ เพม่ิ ในการสง่ ออกสงู มาก ประกอบกบั การสนบั สนนุ อยา่ งจรงิ จงั ของภาครฐั กว่า 30 บริษัท และเป็นเมือง ทั้งในระดับรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น มีการจัดตั้งองค์กรเฉพาะของ ท่ีดีที่สุดสำหรับการเป็นศูนย์ ภาครฐั ทท่ี ำหน้าทีส่ นับสนุนการพฒั นาการสง่ ออกซอฟตแ์ วร์ คอื Software บริการตอบรับทางโทรศัพท์ ,Technology Parks of India (STPI) รฐั กรณาฏกะ (Karnataka) เปน็ รัฐที่มี (Call Centers) ศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสูงท่ีสุดของประเทศโดยเฉพาะที่เมือง บังกาลอร์ ซึ่งเป็นเมอื งหลวง ไดช้ ่อื ว่าเปน็ Silicon Valley ของอินเดยี ซง่ึ เปน็ ศนู ยร์ วมอตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วรท์ ใ่ี หญเ่ ปน็ อนั ดบั 4 ของโลก โดยมบี รษิ ทั ชั้นนำกว่า 30 บริษัท และเปน็ เมืองที่ดที ่ีสดุ สำหรบั การเปน็ ศนู ย์บริการตอบรับ ทางโทรศัพท์ (Call Centers) เปน็ ศูนยร์ วมสำนกั งานสาขานอกประเทศ (Offshore Offices) และศูนยว์ ิจยั และพฒั นาของบรษิ ทั ใหญ่ๆ หลายบริษัท อาทิ General Electric Intel และ General Motors ในขณะเดียวกนั การเติบโตดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ไดข้ ยายตวั อยา่ งรวดเร็วไปยังเมอื ง อืน่ ๆ ดว้ ย เช่น เจนไน ในรฐั ทมิฬนาฑู และกัลกัตตาในรฐั เบงกอลตะวันตก รวมทง้ั ไฮเดอราบดั และปูเน่ เป็นต้น โดยรฐั เหล่านมี้ กี ำลงั คนทีม่ คี วามสามารถ ในด้านเทคโนโลยีสูง และรัฐบาล ของรฐั ตา่ งๆ ไดท้ ่มุ เทในการพฒั นาโครงสร้าง พน้ื ฐานรองรบั การเตบิ โตดา้ นนอ้ี ยา่ งเอาจรงิ เอาจงั ดว้ ย นอกจากนน้ั ความเจรญิ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและธุรกิจเกี่ยวเนื่องที่เรียกว่า (Information Technology Enabled Services : Ites) ยังเปน็ ปจั จยั สำคญั ให้เกดิ การ ขยายตวั ในธุรกจิ อสังหารมิ ทรัพย์ของอนิ เดยี (เนือ่ งจากบุคลากรในสาขา IT มกี ำลังซ้ือสงู ) ที่กำลงั เติบโตในเมืองใหญต่ า่ งๆ ทกี่ ลา่ วมาแล้วอยา่ งมีนยั สำคญั โดยในช่วง 6-8 ปที ่ผี ่านมา ในตลาดอสงั หาริมทรัพยท์ ี่โตเฉลีย่ รอ้ ยละ 35 ต่อปี พบว่าร้อยละ 70 ของการขยายตวั ของอาคารสำนกั งานเปน็ การเช่า/ซ้อื ของ คู่มอื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั อินเดยี 31

บริษัท IT และ ITES ทงั้ ของอินเดียและตา่ งชาติ นับต้ังแต่วิกฤตการเงินในสหรัฐอเมริกาได้ลุกลามเข้าสู่เอเชียรวม ท้ังอนิ เดยี รฐั บาลอินเดยี กลายเป็นผูม้ บี ทบาทสำคญั ในการขับเคลือ่ นเศรษฐกจิ อนิ เดียในตลาดท่มี ปี ระชากรกวา่ 1.2 พนั ล้านคน เศรษฐกจิ อนิ เดยี ชะลอตัวลง อยา่ งหนักโดยเฉพาะการลงทุนในประเทศ ท้งั ภาคบรกิ ารและภาคอตุ สาหกรรม ท่ีได้รับผลกระทบจากภาวะสินเช่ือตึงตัวจากแหล่งเงินกู้ในต่างประเทศและ ตลาดหลักทรัพยข์ องอินเดียเอง ทั้งนี้ ในปี 2007 ตลาดหลักทรพั ยอ์ ินเดีย เปน็ แหลง่ ระดมทุนของผู้ประกอบการในภาคอตุ สาหกรรมของอินเดยี ถงึ รอ้ ยละ 40 ของเงินทุนทัง้ หมด ประกอบกบั ประชาชนอินเดยี ท่ีมรี ายไดจ้ ากการขาย ผลผลิตทางการเกษตรเป็นหลักได้รับผลกระทบจากภาวะสินค้าโภคภัณฑ์ ในตลาดโลกร่วงลงอย่างต่อเนื่อง สง่ ผลให้กำลังซ้อื ของคนชนบทในอนิ เดยี ลดลง ซึ่งมีสัดส่วนถึงร้อยละ 60 ของประชากรทง้ั ประเทศ รฐั บาลอินเดียจึงออก มาตรการกระตุ้นเศรษฐกจิ มูลค่า 85 พนั ลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ ท้ังการสรา้ งและ การจา้ งงาน เพอ่ื เพม่ิ รายไดใ้ หก้ บั ประชาชนในชนบท การกอ่ สรา้ งสาธารณปู โภค พนื้ ฐานท่ยี ังขาดแคลนอยมู่ ากในอินเดีย รวมถึงการลดภาษใี นรูปแบบต่างๆ แมว้ า่ เศรษฐกจิ อนิ เดยี จะเรม่ิ มสี ญั ญาณการฟน้ื ตวั อยา่ งชา้ ๆ ซง่ึ สว่ นหนง่ึ เปน็ ผล จากการใชม้ าตรการกระต้นุ เศรษฐกิของรัฐบาลทท่ี ำให้ความเช่อื มน่ั ของผบู้ รโิ ภค ในประเทศอินเดยี ปรบั ตัวสูงข้นึ แม้ว่าอินเดยี จะพึง่ พาการสง่ ออกไปยังตลาด ตา่ งประเทศไมม่ ากนกั เมอ่ื เทยี บกบั ประเทศอน่ื ๆ ในเอเชยี แตแ่ นวโนม้ การพง่ึ พา ตลาดตา่ งประเทศท่เี พิ่มข้ึนอย่างตอ่ เนอื่ ง โดยสดั สว่ นการคา้ ระหวา่ งประเทศ ตอ่ GDP เพ่ิมขึ้นจากรอ้ ยละ 24.2 ในปี 2002 เป็นร้อยละ 48 ในปี 2010 2.2 เศรษฐกจิ อินเดียในปี 2010 เศรษฐกจิ อนิ เดยี ในปี 2010 GDP ขยายตวั ถงึ รอ้ ยละ 8.8 ปจั จยั สำคัญที่เป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจอินเดีย ได้แก่ อุปสงค์ภายในประเทศที่ 32 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดยี

แข็งแกร่งเน่ืองจากการขยายตัวของการลงทุนและการผลิตภาคอุตสาหกรรม การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ, รวมทง้ั มกี ารขยายตวั ของภาคการสง่ ออก อนั เนอ่ื งจากการฟน้ื ตวั ของเศรษฐกจิ โลก ของอินเดียยงั มขี อ้ จำกัด เนอ่ื ง อยา่ งไรกต็ าม อนิ เดยี กำลงั เผชญิ กบั ปจั จยั เสย่ี งจากแรงกดดนั ดา้ นเงนิ เฟอ้ ทอ่ี ยใู่ น จากขาดแคลนสาธารณูปโภค ระดบั สูง โดยอยทู่ ี่รอ้ ยละ 8.4 ในเดอื นธันวาคม 2010 พื้นฐานที่เพียงพอ โดยเฉพาะ ในปี 2010 การบรโิ ภคของภาคเอกชนมกี ารขยายตวั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง การขนส่งทางบก ท่าเรือ และ โดยมีดชั นีการใชจ้ ่ายเพือ่ การบริโภคภาคเอกชนอย่ทู ี่ระดับร้อยละ 57.6 อีกทง้ั พลงั งานไฟฟา้ กฎหมายแรงงาน ดชั นคี วามเชอ่ื มัน่ ผู้บริโภคในช่วง 6 เดอื นหลังของปี 2010 ปรบั ตัวดีข้ึนจาก ท่ี เ ข้ ม ง ว ด ใ น ก า ร ก ำ ห น ด ใ ห้ ชว่ งเดยี วกนั ของปที ่ผี ่านมา จากระดบั 68.8 ในช่วง 6 เดอื นหลงั ของปี 2009 องคก์ รทมี่ ีลูกจ้างเกินกว่า 100 มาอยทู่ ีร่ ะดับ 75 ในช่วงเดยี วกนั ของปี 2010 นอกจากนั้น ผลจากการดำเนินนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของ ,คน ไมส่ ามารถปลดลกู จา้ งออก รฐั บาลอนิ เดยี ตง้ั แตป่ ี 2008 เปน็ ตน้ มา ทำใหก้ ารลงทนุ ของภาคเอกชนปรบั ตวั ดขี น้ึ ตามลำดับ สอดคล้องกับดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจในเดือนตุลาคม 2010 จากงานได้เว้นแต่ได้รับอนุญาต ซ่ึงสงู เป็นประวตั ิการณอ์ ยทู่ ่รี ะดับ 162.1 ทัง้ นี้ ในปี 2010 รัฐบาลอินเดียได้ จากรัฐบาล ทยอยปรบั ลดมาตรการทางการเงนิ และการคลังเพ่ือกระตุน้ เศรษฐกจิ ซ่ึงรวมถงึ การชะลอการใช้จา่ ยภาครฐั เพ่ือควบคมุ อัตราเงนิ เฟ้อ ในสว่ นของภาคการผลติ ผลผลติ ภาคอตุ สาหกรรมในปี 2010 ยงั คง ขยายตวั ตอ่ เนอ่ื งจากชว่ งปลายปที ผ่ี า่ นมา อยา่ งไรกด็ ี การผลติ ภาคอตุ สาหกรรม ในไตรมาสทสี่ ข่ี องปี 2010 มีความผันผวนค่อนขา้ งสงู โดยดัชนีผลผลติ ภาค อตุ สาหกรรมขยายตวั ในอตั ราทีช่ ะลอตวั ลง จากรอ้ ยละ 11.3 ในเดือนตลุ าคม 2010 เป็น 2.7 ในเดอื นพฤศจิกายน และ 1.6 ในเดือนธันวาคม 2010 ทงั้ น้ี เนื่องจากความต้องการสินค้าอินเดียในตลาดโลกปรับตัวลดลง ประกอบกับ ชาวอินเดยี ชะลอการใชจ้ า่ ย การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของอนิ เดยี ยงั มขี อ้ จำกดั เนอ่ื งจาก ขาดแคลนสาธารณูปโภคพน้ื ฐานทีเ่ พยี งพอ โดยเฉพาะการขนส่งทางบก ท่าเรอื และพลงั งานไฟฟา้ กฎหมายแรงงานทเ่ี ขม้ งวดในการกำหนดใหอ้ งคก์ รทม่ี ลี กู จา้ ง เกนิ กว่า 100 คน ไม่สามารถปลดลูกจ้างออกจากงานได้เว้นแต่ได้รับอนุญาต จากรัฐบาล ซง่ึ เปน็ อุปสรรคตอ่ การขยายกจิ การ รวมท้งั ระบบราชการท่ซี ้ำซอ้ น การทุจรติ การควบคมุ การลงทนุ ของต่างชาติ และการปกป้องอตุ สาหกรรม ขนาดยอ่ มในประเทศ ซง่ึ รฐั บาลอนิ เดยี ไดเ้ รง่ ปรบั ปรงุ จดุ ออ่ นเหลา่ นโ้ี ดยสง่ เสรมิ การสรา้ งธรรมาธบิ าล และเพิม่ เงนิ ลงทุนก่อสร้างถนน และบริการสาธารณะ ต่างๆ เพื่อรกั ษาระดบั การขยายตัวของเศรษฐกจิ ให้คงทีใ่ นระดบั ร้อยละ 9 ต่อปใี นช่วงปี 2007-2012 ตามเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้ในแผนพัฒนาแห่งชาติ ฉบบั ที่ 11 รัฐบาลอนิ เดยี คาดการณว์ ่า ในปีงบประมาณ 2011 ซึง่ เริ่มในวนั ท่ี 1 เมษายน (ปีงบประมาณประจำปขี องอนิ เดีย) เศรษฐกิจของประเทศจะ ขยายตวั ไมต่ ่ำกว่ารอ้ ยละ 9 ซึ่งเปน็ ระดบั ทเี่ ศรษฐกจิ อนิ เดียเคยขยายตวั กอ่ น ทีเ่ กดิ ปญั หาวกิ ฤติการเงินโลก ปจั จุบันอนิ เดียมีการเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งทาง คู่มอื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดีย 33

เศรษฐกิจหลายประการ เช่น ชนชั้นกลาง มจี ำนวนประมาณ 300 ลา้ นคน ซึง่ เปน็ ผลโดยตรงจากการเปิดรบั FDI มากขนึ้ ทำให้ปัญหาระบบวรรณะ ท่ีเป็นปัญหาใหญ่ของสังคมอินเดยี บรรเทาลงไปมาก ปจั จบุ ันอนิ เดียมขี นาด เศรษฐกิจใหญเ่ ป็นอนั ดบั 12 ของโลกและอันดบั 4 ของเอเชยี รองจากจีน ญปี่ นุ่ และเกาหลีใต ้ 2.3 เครอ่ื งช้วี ัดเศรษฐกิจสำคญั Economic indicators 2006 2007 2008 2009 2010 2011* 1,102.4 1,209.7 1,185.7 1,430.0 1,598.4 GDP (US$bn) (current prices) 874.8 GDP per capita (US$) 757 940 1,016 982 1,176 1,297 Real GDP growth (% change yoy) 9.8 9.4 7.3 5.4 8.8 8.4 Current account balance (US$m) -9,299 -11,285 -33,330 -29,125 -44,093 -49,859 Current account balance (% GDP) -1.1 -1.0 -2.8 -2.5 -3.1 -3.1 Goods & services exports (% GDP) 22.7 21.2 24.7 23.9 21.2 21.7 Inflation (% change yoy) 6.2 6.4 8.3 6.3 13.2 6.7 Indian Rupee Rate (INR) (INR/USD) 45.17 41.20 43.41 48.32 45.65 44.81 ท่มี า: www.dfat.gov.au/ * ตัวเลขประมาณการ 2.4 อตั ราดอกเบย้ี และอตั ราเงินเฟ้อของอินเดยี ปัจจุบันอินเดียประสบกับปัญหาอัตราเงินเฟ้อเพ่มิ สูงข้นึ อย่างมาก คอื จากรอ้ ยละ 3.7 ในปี 2005 เป็นรอ้ ยละ 8.7 ในเดอื นพฤษภาคมปี 2011 จึงทำให้ธนาคารกลางอินเดียขึ้นอัตราดอกเบี้ยอย่างต่อเนื่อง เพื่อแก้ปัญหา อัตราเงินเฟ้อภายในประเทศทีเ่ พ่มิ สงู ขน้ึ ท่ีเกือบถงึ ร้อยละ 10 ซ่งึ ถือวา่ สงู ท่ีสดุ ในเอเชีย เมอื่ วันที่ 26 กรกฎาคม 2554 ธนาคารกลางอนิ เดยี ขน้ึ อัตรา ดอกเบี้ยซ้ือคืนพันธบัตรซ่ึงเป็นดอกเบี้ยสำหรับการปล่อยกู้แก่ธนาคารพาณิชย์ เปน็ รอ้ ยละ 8.0 ใกลส้ งู ทส่ี ดุ ในรอบ 3 ปี และขน้ึ อตั ราดอกเบย้ี ขายคนื พนั ธบตั ร ซง่ึ เป็นอตั ราดอกเบย้ี สำหรบั เงนิ ฝากของธนาคารพาณชิ ยเ์ ปน็ ร้อยละ7.0สงู ทส่ี ดุ ในรอบกวา่ ทศวรรษ ชว่ งเวลา อัตราดอกเบ้ีย เงินกู้ (%) เงินฝาก (%) 26 July 2011 8.00 7.00 16 June 2011 7.50 6.50 03 May 2011 7.25 6.25 17 March 2011 6.75 5.75 25 January 2011 6.50 5.50 34 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดยี

ชว่ งเวลา อตั ราดอกเบี้ย เงินกู้ (%) เงนิ ฝาก (%) 02 November 2010 6.25 5.25 16 September 2010 6.00 5.00 27 July 2010 5.75 4.50 02 July 2010 5.50 4.00 20 April 2010 5.25 3.75 19 March 2010 5.00 3.50 21 April 2009 4.75 3.25 5 March 2009 5.00 3.50 5 January 2009 5.50 4.00 2.5 นโยบายด้านเศรษฐกจิ การค้า นโยบายทเ่ี ก่ยี วข้องตอ่ การคา้ ระหวา่ งประเทศของอินเดีย เช่น นโยบายงบประมาณประจำปี (Budget Policy) และนโยบายการคา้ แหง่ ชาติ (National Foreign Trade Policy) ได้ถกู กำหนดข้นึ อย่างสอดคลอ้ งกัน ที่จะปฏริ ูปเศรษฐกจิ ท่ีเขา้ ถึงประชาชน อาทิ การปล่อยสนิ เชอ่ื ให้เกษตรกร เพม่ิ ขน้ึ ผ่อนปรนการชำระหน้ีแกเ่ กษตรกรพฒั นาระบบสาธารณูปโภคและ การชลประทานในชนบท สง่ เสริมการส่งออกสนิ ค้าเกษตรและสินค้าสง่ ออก ดั้งเดิม (ผ้าทอมือ หัตถกรรม อัญมณี และเครื่องหนัง) และจัดตั้งเขต การสง่ ออกสนิ คา้ เกษตร (Agri-Export Zones) เปน็ ต้น อนิ เดียสามารถบรรลเุ ปา้ หมายหลกั ของการค้าระหวา่ งประเทศ คือ เพิ่มสว่ นแบ่งตลาดสง่ ออกของอินเดียในตลาดโลกให้ไดร้ ้อยละ 1.6 ของการคา้ โลกภายในปี 2009 ได้สำเร็จ โดยสามารถเพิ่มยอดการส่งออกได้ถึง 165 คมู่ ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดยี 35

, ไทยเป็นแหล่งนำเข้าอันดับ พันล้านเหรียญสหรัฐฯ และยังมีการใช้นโยบายการค้าช่วยเพิ่มการจ้างงาน ท่ี 26 ของอนิ เดยี (1.16%) โดย โดยมีกลยุทธ์ที่สำคญั ไดแ้ ก่ ในปี 2553 อนิ เดยี มกี ารสง่ ออก - ลดการควบคมุ และสรา้ งบรรยากาศของความไวว้ างใจและความ 216,174 ล้านเหรียญสหรฐั ฯ โปร่งใสใหแ้ ก่ผู้ประกอบการ ขยายตัวร้อยละ 31 เมื่อเทียบ - ลดข้ันตอนของกระบวนการทำงาน และต้นทนุ ดำเนนิ งาน กับปที ี่ผา่ นมา สว่ นการนำเขา้ มี - ต้ังอยู่บนหลักการที่สินค้าส่งออกจะต้องไม่มีต้นทุนแฝงด้วย มูลค่า 322,680 ลา้ นเหรยี ญ ภาษตี า่ งๆ - สนบั สนนุ การพฒั นาใหอ้ นิ เดยี เปน็ ศนู ยก์ ลางของการผลติ การคา้ ,สหรฐั ฯ ขยายตวั รอ้ ยละ 25 โดย และการบริการ - ปรับปรุงเครือข่ายโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเกี่ยวข้องกับการค้า อินเดยี ขาดดลุ การค้า 106,506 ระหว่างประเทศใหไ้ ด้มาตรฐานสากล ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ - ปรบั โครงสรา้ งภาษสี นิ คา้ ใหส้ อดคลอ้ งกนั เพอ่ื ไมใ่ หผ้ ปู้ ระกอบการ เสียเปรียบจากข้อตกลงการคา้ เสรี 2.6 การค้าระหวา่ งประเทศของอนิ เดียกับทั่วโลก การฟน้ื ตวั ของเศรษฐกจิ โลกสง่ ผลใหอ้ ปุ สงคจ์ ากตา่ งประเทศเพม่ิ ขน้ึ ทำให้อินเดียสง่ ออกไดม้ ากข้ึน โดยในปี 2010 (มกราคม - ธนั วาคม) การคา้ ระหวา่ งประเทศของอนิ เดยี กบั ทว่ั โลกมมี ลู คา่ รวม 5.51 แสนลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ เปน็ การสง่ ออก มลู คา่ 2.23 แสนลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ (35.09%) และเปน็ การนำเขา้ มลู คา่ 3.28 แสนลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ (27.58%) อนิ เดยี ขาดดุลการคา้ 1.05 แสนลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ ตลาดส่งออกสำคัญ 5 อนั ดบั แรกของอนิ เดีย (สัดส่วน) คอื สหรฐั อาหรับเอมิเรตส์ (13.2%) สหรฐั ฯ (10.59%) จีน (7.8%) ฮ่องกง (4.28%) สงิ คโปร์ (4.08%) ไทยเป็นตลาดส่งออกอนั ดับที่ 29 ของอินเดีย (0.97%) สนิ คา้ สง่ ออกสำคญั ของอนิ เดยี ไดแ้ ก่ ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเลยี ม อญั มณี และเครือ่ งประดบั เคร่อื งจกั ร รถยนต์ เปน็ ต้น สนิ ค้านำเขา้ สำคัญของ อินเดยี ไดแ้ ก่ น้ำมันดบิ เครื่องจักร อัญมณ ี เคมภี ณั ฑ์ เปน็ ตน้ แหล่งนำเข้าสำคัญ 5 อันดบั แรก (สัดสว่ น) คือ จนี (11.61%) สหรฐั อาหรับเอมิเรตส์ (7.89%) ซาอดุ ิอาระเบยี (6.1%) สวติ เซอร์แลนด์ (5.78%) สหรัฐฯ (5.1%) สนิ คา้ นำเขา้ สำคัญได้แก่ นำมันดบิ อัญมณี เครอ่ื งจักร เคมีภณั ฑ์ เหลก็ /เหลก็ กล้า พลาสติก และปุ๋ย เป็นตน้ สว่ นไทยเปน็ แหลง่ นำเขา้ อนั ดบั ท่ี 26 ของอนิ เดยี (1.16%) โดยในปี 2553 อนิ เดยี มกี ารส่งออก 216,174 ล้านเหรยี ญสหรัฐฯ ขยายตวั ร้อยละ 31 เมือ่ เทียบกับปีทผี่ า่ นมา ส่วนการนำเขา้ มมี ลู คา่ 322,680 ลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 25 โดยอินเดียขาดดลุ การค้า 106,506 ล้านเหรยี ญสหรัฐฯ 36 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อินเดีย

การค้าอนิ เดีย - โลก มูลค่า : ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ อัตราขยายตัว (%) รายการ 2008 2009 2010 2010 (ท้งั ป)ี (ท้งั ป)ี (ทงั้ ปี) (ทงั้ ป)ี มลู คา่ การค้า 516,480 412,859 551,906 33.67 การสง่ ออก 195,069 165,201 223,175 35.09 การนำเข้า 321,410 257,658 328,731 27.58 ดุลการคา้ 126,340 92,457 105,555 - ท่มี า : World Trade Atlas อินเดียเป็นตลาดส่งออก, 2.7 การคา้ กับประเทศไทย อนั ดับ 11 ของไทย โดยส่งออก ในระยะ 5 ปีทผ่ี ่านมา (2006-2010) มลู คา่ การค้าไทยกับ สินค้ามลู คา่ 4,393 ล้านเหรยี ญ อนิ เดยี ขยายตวั เพม่ิ ขน้ึ ทกุ ปี โดยมมี ลู คา่ เฉลย่ี ปลี ะ 5,145.92 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ สหรัฐฯ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ หรือร้อยละ 1.76 ของมูลค่าการค้าระหว่างประเทศของไทย ปี 2010 อินเดียเป็นคู่คา้ อนั ดบั ที่ 17 ของไทย โดยไทยเปน็ ฝ่ายได้ดลุ การค้าเฉลย่ี ปีละ ,2.25 ของมลู ค่าการส่งออก 1,028 ล้านเหรยี ญสหรฐั ฯ ทั้งนี้ ภายหลงั การเร่มิ ตน้ ลดภาษีสนิ ค้าบางสว่ น จำนวน 82 รายการ (Early Harvest Scheme) ภายใตค้ วามตกลงการค้าเสรี ทงั้ หมด เพ่ิมขึน้ จากปกี อ่ นหน้า ไทย-อินเดียเมื่อปี 2004 ส่งผลให้ไทยเป็นฝ่ายได้เปรียบดุลการค้าอินเดีย ร้อยละ 36.29 เปน็ คร้งั แรกตั้งแต่ปี 2005 เป็นตน้ มา 2.7.1 การส่งออก ปี 2010 อินเดียเปน็ ตลาดส่งออกอนั ดับ 11 ของไทย โดยส่งออกสินคา้ มลู คา่ 4,393 ล้านเหรยี ญสหรฐั ฯ คดิ เปน็ สัดสว่ น รอ้ ยละ 2.25 ของมลู ค่าการสง่ ออกทัง้ หมด เพม่ิ ขน้ึ จากปีกอ่ นหนา้ ร้อยละ 36.29 กว่าร้อยละ 84 ของการส่งออกของไทยไปยังอนิ เดยี เป็นการส่งออก สินค้าอุตสาหกรรม สนิ ค้าส่งออกที่สำคญั คือ เคมีภัณฑ์ เมด็ พลาสติก เครือ่ งจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดยี 37

เคร่อื งยนตส์ ันดาปภายในแบบลูกสบู อญั มณีและเครอื่ งประดบั ยางพารา เครื่องคอมพิวเตอร์ อปุ กรณแ์ ละส่วนประกอบ เหล็ก และเหลก็ กลา้ 2.7.2 การนำเขา้ ปี 2010 อินเดียเป็นแหล่งนำเขา้ อนั ดับ 19 ของไทย โดยนำเขา้ สินค้ามูลคา่ 2,252 ลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ คดิ เปน็ สดั สว่ น รอ้ ยละ 1.24 ของมูลคา่ การนำเขา้ ทง้ั หมด เพิ่มขึน้ จากปีก่อนหน้าร้อยละ 30.39 ส่วนใหญ่เปน็ การนำเข้าสนิ ค้าวัตถุดิบและกงึ่ สำเร็จรูป สินค้าเชื้อเพลงิ และสินค้าทนุ โดยสินคา้ นำเข้าทสี่ ำคญั คอื เครอ่ื งเพชรพลอย อญั มณี เงนิ แทง่ และทองคำ สินแรโ่ ลหะอื่นๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ เคมภี ณั ฑ์ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช ส่วนประกอบและ อุปกรณย์ านยนต์ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าในบา้ น ผลติ ภณั ฑเ์ วชกรรมและเภสชั กรรม สตั วน์ ้ำสด แช่เยน็ แชแ่ ขง็ แปรรูปและก่งึ สำเรจ็ รปู ด้ายและเสน้ ใย เปน็ ต้น การค้าไทย-อนิ เดีย รวม สง่ ออก นำเขา้ ดลุ การคา้ มลู ค่า % 192.19 มูลคา่ % มลู คา่ % 1,617.90 26.77 596.80 2,066.11 27.70 715.36 2006 3,427.99 22.17 1,810.09 18.33 2,629.74 27.28 1,496.17 2007 4,729.02 37.95 2,662.91 47.11 1,727.63 -34.30 2,140.84 2008 5,974.84 26.34 3,345.10 25.62 2,252.74 30.39 1,035.22 2009 4,951.44 -17.13 3,223.80 -3.63 1,094.52 53.03 1,081.60 2010 6,646.31 34.23 4,393.58 36.29 1,540.04 40.70 (ม.ค.-ม.ิ ย.) 2010 3,224.25 53.89 2,129.74 54.34 (ม.ค.-มิ.ย.) 2011 4,161.67 29.07 2,621.64 23.10 ทมี่ า : ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สำนักงานปลดั กระทรวงพาณิชย์ โดยความรว่ มมอื จากกรมศลุ กากร 38 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อินเดยี

การส่งออกของไทยไปอนิ เดีย ม ูลคา่ : ล้า นเหรียญส หรฐั ฯ อตั รา อันดับท่ ี ส นิ คา้ 2008 ขยายตวั % 2009 2010 2010 2011 2011 (ม.ค.-ม.ิ ย.) (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.) 1 เคมภี ณั ฑ์ 134.2 288.8 476.5 216.8 387.4 78.73 2 เมด็ พลาสตกิ 327.9 315.1 446.5 212.5 253.5 19.29 3 เครือ่ งประดับอญั มณี 155.4 139.1 236.4 69.3 198.7 186.57 4 เครื่องยนตส์ นั ดาปภายใน 142.1 148.4 236.4 105.0 140.1 33.38 แบบลูกสูบ 5 รถยนต์ อุปกรณแ์ ละสว่ นประกอบ 186.2 160.3 262.2 123.0 132.4 7.62 6 เครอ่ื งจกั รกลและ 131.6 142.5 333.7 196.4 122.7 -37.55 สว่ นประกอบของเคร่อื ง 7 เครื่องคอมพวิ เตอร ์ 71.3 72.5 158.9 97.0 115.9 19.50 อปุ กรณแ์ ละส่วนประกอบ 8 เครอ่ื งปรับอากาศและส่วนประกอบ 180.5 157.9 195.7 65.3 109.7 67.94 9 เหล็ก เหล็กกลา้ และผลิตภณั ฑ ์ 125.6 110.0 196.2 87.1 96.3 10.49 10 ยางพารา 316.9 99.0 180.0 61.5 94.4 53.43 1,694.4 1,577.8 1,615.2 1,234.1 1,651.1 33.79 รวม 10 รายการ 1,650.7 1,646.0 1,778.4 895.7 970.5 8.36 อน่ื ๆ 3,345.1 3,223.8 4,393.6 2,129.7 2,621.6 23.10 รวมทง้ั ส้นิ ค่มู อื การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐอนิ เดยี 39

การนำเข้าของไทยจากอินเดยี ม ูลคา่ : ล้า นเหรยี ญส หรัฐฯ อัตรา อันดบั ท ี่ ส นิ คา้ 2008 ขยายตัว% 2009 2010 2010 2011 2011 (ม.ค.-ม.ิ ย.) (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.) 1 เครือ่ งเพชรพลอย อัญมณี 414.6 279.4 314.5 154.4 325.2 110.64 เงนิ แท่งและทองคำ 2 เคมีภัณฑ ์ 261.5 204.6 236.1 122.5 165.7 35.28 3 เครอ่ื งจักรกลและสว่ นประกอบ 117.5 127.2 226.0 104.4 134.2 28.51 4 สนิ แร่โลหะอนื่ ๆ เศษโลหะ 367.2 132.3 249.7 105.2 131.9 25.36 และผลติ ภัณฑ์ 5 พืชและผลติ ภัณฑจ์ ากพืช 326.6 189.8 177.3 86.3 109.6 27.03 6 น้ำมนั สำเร็จรูป 98.9 4.7 54.1 29.8 71.7 140.81 7 ผลติ ภณั ฑเ์ วชกรรมและเภสัชกรรม 90.1 96.6 108.3 49.8 69.3 39.36 8 สว่ นประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ 47.6 79.0 123.0 60.1 67.3 11.99 9 ด้ายและเสน้ ใย 90.4 49.6 76.1 47.8 59.4 24.21 10 สัตวน์ ำ้ สด แชเ่ ยน็ แชแ่ ข็ง แปรรปู 48.8 57.6 93.2 29.9 39.6 32.62 รวม 10 รายการ 1,863.2 1,220.8 1,658.3 790.1 1,173.9 48.58 อนื่ ๆ 766.5 506.9 594.5 304.4 366.1 20.27 รวมทง้ั สิน้ 2,629.7 1,727.6 2,252.7 1,094.5 1,540.0 40.70 2.7.3 ความร่วมมือการคา้ ระหว่างประเทศไทย-อนิ เดยี ประเทศไทยและอินเดียได้มีการเจรจาเขตการค้าเสรีระหว่าง ประเทศไทยและอินเดยี ใน 3 กรอบ ได้แก่ เขตการคา้ เสรีไทย-อนิ เดีย หรือ FTA ไทย - อนิ เดีย อาเซยี น-อนิ เดีย และ BIMSTEC มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี 1. FTA ไทย-อินเดีย ต้ังแต่ 1 กันยายน 2004 ประเทศไทยและ อินเดียเร่ิมต้นลดภาษีนำเข้าสินค้าระหว่างกันหลังจากท่ีมีการลงนามทำข้อ ตกลง FTA แลว้ โดยกำหนดประเภทสนิ ค้าทท่ี ยอยลดภาษีทงั้ ส้นิ 82 รายการ เปน็ รอ้ ยละ 0 ภายในเดือนกันยายน 2006 เรียกวา่ เปน็ สนิ ค้าเร่งลดภาษี (Early Harvest Scheme: EHS) ประเภทสินค้าเร่งลดภาษี จำนวน 82 รายการ แยกเป็น 1) กลุม่ สินคา้ เกษตร 7 รายการ 2) กลมุ่ สินค้าอาหารทะเลแปรรูป 4 รายการ 3) สินคา้ เกลือ 1 รายการ 4) กลุ่มสินแร่และเคมีภณั ฑ์ 5 รายการ 40 คมู่ อื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั อินเดยี

5) กลุ่มสนิ ค้าเม็ดพลาสติกและผลิตภัณฑ์ 10 รายการ 6) สนิ ค้าไม้อัดไมบ้ าง 1 รายการ 7) กลุ่มสินคา้ อญั มณแี ละเคร่อื งประดับ 4 รายการ 8) กลุ่มสินคา้ เหล็กและของทำดว้ ยโลหะ 5 รายการ 9) กลุ่มสินค้าชิ้นสว่ นยานยนต์ 9 รายการ 10) กลุ่มสินคา้ อลูมเิ นยี ม 2 รายการ 11) กลุ่มสินค้าเครื่องจักร เครื่องจักรกล เครื่องสูบของเหลว เคร่ืองระบายอากาศ เคร่อื งปรับอากาศ เคร่ืองจักรกลการเกษตร 24 รายการ 12) กลมุ่ สนิ คา้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และอปุ กรณเ์ ครอ่ื งไฟฟา้ 8 รายการ 13) สนิ คา้ นาฬิกาชนดิ Clock และชนดิ Watch 1 รายการ 14) สินค้าเฟอร์นิเจอร์ 1 รายการ รายละเอียดเพ่มิ เตมิ www.thaifta.com 2. ความตกลงการคา้ เสรอี าเซยี น-อนิ เดีย (ASEAN - INDIA สนิ คา้ ทไ่ี ทยจะไดร้ บั ประโยชน์, Free Trade Agreement: AIFTA) เร่ิมลดภาษี 1 มกราคม 2010 ระหว่าง จากการลดภาษขี องอนิ เดยี เชน่ อินเดยี มาเลเซยี สิงคโปร์ และไทย สว่ นประเทศที่เหลอื มผี ลบงั คับใช้ในวนั ท่ี เคมภี ัณฑ์ ผลติ ภณั ฑ์พลาสติก 1 มถิ ุนายน 2010 ภายใตค้ วามตกลงวา่ ด้วยการคา้ สินค้า ประเทศสมาชิก อญั มณแี ละเครอ่ื งประดบั ชน้ิ สว่ น อาเซยี น 5 ประเทศ (บรูไน มาเลเซีย อินโดนเี ซยี สิงคโปร์ ไทย) และอนิ เดยี ยานยนต์ ผลิตภัณฑอ์ ลมู ิเนียม จะยกเลิกภาษีศลุ กากรของสินคา้ โดยรวมประมาณรอ้ ยละ 80 ของรายการ เฟอร์นิเจอร์และส่วนประกอบ สนิ ค้าภายในปี 2016 ประเทศสมาชกิ ใหม่อาเซียน (กัมพชู า ลาว พมา่ ,เครอ่ื งสำอาง ผกั และพชื ประเภท เวยี ดนาม) จะยกเลิกภาษีภายในปี 2021 ส่วนฟิลิปปนิ ส์ และอินเดีย จะยกเลิก ภาษีภายในปี 2019 ถั่วอาหารปรุงแตง่ ปลาซารด์ นี ตัวอย่างสินค้าท่ไี ทยจะได้รับประโยชน์จากการลดภาษีของอินเดีย กระปอ๋ ง และนำ้ ผลไม้ เชน่ เคมีภณั ฑ์ ผลติ ภณั ฑ์พลาสตกิ อญั มณีและเครื่องประดับ ชิน้ สว่ นยานยนต์ ผลติ ภัณฑอ์ ลูมิเนียม เฟอรน์ ิเจอร์และส่วนประกอบ เคร่อื งสำอาง ผักและ พชื ประเภทถ่ัว อาหารปรงุ แตง่ ปลาซาร์ดีนกระป๋อง และนำ้ ผลไม้ เป็นตน้ นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ประโยชน์จากกฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้าที่จะเอื้อ ประโยชน์ต่อผ้ปู ระกอบการมากขน้ึ เน่อื งจากสามารถใช้วัตถดุ ิบทงั้ จากภายใน อาเซียนและอนิ เดยี และยังสามารถรับใบส่งั ซอ้ื จากประเทศนอกกลุม่ เพื่อทำ การผลิตและสง่ ขายภายในภมู ิภาคอาเซยี น-อนิ เดยี โดยได้รบั การลดหยอ่ นภาษี นำเข้าเชน่ กัน การลด/ ยกเลิกภาษศี ุลกากรแบง่ กลุม่ สนิ คา้ เป็น 4 กลุม่ ใหญ่ คอื 1. สินคา้ ปกติ (Normal Track: NT) แยกย่อยเป็นสินคา้ ปกติ 1 (NT 1) และสนิ คา้ ปกติ 2 (NT 2) 2. สินคา้ ออ่ นไหว (Sensitive Track) 3. สินคา้ ออ่ นไหวสูง (Highly Sensitive Track) และ 4. สินค้าไม่ลดภาษี (Exclusion List) ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดีย 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook