จัดพิมพ์เผยแพร่โดย สำ� นักส่งเสรมิ และถา่ ยทอดเทคโนโลยี สำ� นักปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทปี่ รึกษา ปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รศ.นพ.สรนิต ศลิ ธรรม รองปลดั กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นพ.ปฐม สวรรค์ปัญญาเลศิ ผูอ้ �ำนวยการสำ� นักสง่ เสริมและถา่ ยทอดเทคโนโลยี นางวนดิ า บุญนาคค้า กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถนนพระรามที่ 6 แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 โทร. 0 2333 3700 โทรสาร. 0 2333 3833 Call Center 1313 2
คำ� น�ำ กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในฐานะเปน็ องค์กรหลักในการพัฒนาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสร้างปัญญาในสังคม สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่างย่ังยืน ได้ก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงาน เพื่อตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาลและยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยมุ่งเน้นให้เกิดการ พัฒนาและเสริมสร้างขีดความสามารถทางการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมการผลิต บริการ การค้าและการลงทุน ซ่ึงรวมไปถึงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เพ่ือขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ในภาพรวมของประเทศมาโดยตลอด อีกท้ังยังเป็นการเทิดพระเกียรติและเผยแพร่ พระอัจฉริยะภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีสร้างคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติของ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ในฐานะทรงเปน็ “พระบิดาแห่งเทคโนโลยี ของไทย” เนอ่ื งใน “วันเทคโนโลยีของไทย” โดยในปี 2561 กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กำ� หนดจดั งาน “Thai Tech EXPO 2018” ระหวา่ งวันท่ี 4-8 กรกฎาคม 2561 ณ Hall 101-102 ศูนยน์ ิทรรศการและการประชุม ไบเทคบางนา กทม. เพื่อน�ำเสนอผลงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ของ 15 หน่วยงานภายในสังกัดกระทรวง และหน่วยงานเครือข่าย ที่มีผลงานด้านวิทยาศาสตร์ รวมถึงบริการต่างๆ ท่ีโดดเด่น โดยเน้นกลุ่มเป้าหมายคือ ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ ภาคอุตสาหกรรม SMEs และผทู้ ีส่ นใจทั่วไป 3 THAI TECH EXPO 2018
2. แนวคิดหลกั ในการจัดงาน งาน “Thai Tech EXPO 2018” เปน็ งานทนี่ ำ� เสนอผลงานดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม รวมถึงบริการต่างๆ ที่มีความโดดเด่นและสอดรับกับการพัฒนา ประเทศเข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 สอดคล้องกับกรอบแนวคิดการจัดจัดงาน ที่เน้น เทคโนโลยีของไทยที่พร้อมใช้ เข้าถึงได้ และมีส่วนในการน�ำประเทศไทย สูอ่ นาคตโดยใหค้ รอบคลมุ การจดั แสดงทส่ี ่ือให้เหน็ ถงึ เทคโนโลยี อกี ท้ังยัง เป็นการเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ในฐานะทรงเป็น “พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย” เนื่องใน “วนั เทคโนโลยีของไทย” ภายใตแ้ นวคดิ “เทคโนโลยพี รอ้ มใช้ พฒั นาไทยย่งั ยืน” 3. วัตถปุ ระสงค์ 3.1 เทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร “พระบดิ าแหง่ เทคโนโลยีของไทย” 3.2 เปน็ เวทกี ารเผยแพรผ่ ลงานดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมของคนไทย ทพี่ รอ้ ม น�ำไปใชป้ ระโยชน์ 3.3 น�ำเสนอผลงานส�ำคัญของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหนว่ ยงานเครอื ขา่ ยสกู่ ลมุ่ เปา้ หมาย ภาคเอกชน ผปู้ ระกอบการภาคอตุ สาหกรรม SMEs และผู้ท่ีสนใจทวั่ ไป 3.4 กระตนุ้ และสง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรไทย เกดิ แรงบนั ดาลใจในการคดิ คน้ พฒั นา งานด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนาประเทศ ตลอดจนเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน น�ำพาประเทศสอู่ นาคต 6
7 THAI TECH EXPO 2018
พระบดิ า แหง่ เทคโนโลยีของไทย
เทคโนโลยนี น้ั โดยหลกั การ คอื การทำ� ใหส้ ง่ิ ทม่ี อี ยใู่ หเ้ กดิ เปน็ สงิ่ ทน่ี ำ� มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ดงั นน้ั เทคโนโลยที ด่ี สี มบรู ณแ์ บบจงึ ควร จะสรา้ งสง่ิ ทจ่ี ะใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ และมคี วามสญู เปลา่ หรือเสียหายเกิดข้ึนน้อยท่ีสุด แม้แต่ส่ิงท่ีเป็นของเสียเป็นของ ที่เหลือท้ิงแล้ว ก็ควรจะได้ใช้เทคโนโลยีแปรสภาพให้เป็นของใช้ได้ โดยทางตรงขา้ ม เทคโนโลยใี ดทใ่ี ชก้ ารไดไ้ มค่ มุ้ คา่ กอ่ ใหเ้ กดิ ความสญู เปลา่ และเสยี หายไดม้ าก จัดไดว้ ่าเป็นเทคโนโลยีทบ่ี กพร่องไมส่ มควรนำ� มาใชไ้ มว่ ่าในกรณีใด ท่านทัง้ หลายจะเป็นผ้ใู ช้ เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์ต่างๆ เพื่อพัฒนาสภาพบ้านเมืองและฐานะความเป็นอยู่ของ ประชาชนต่อไป ควรหัดเป็นคนช่างสังเกตในการปฏิบัติงานของตนเอง นอกจากเทคโนโลยี ทใ่ี หญใ่ นระดบั สงู สำ� หรบั ใชใ้ นงานใหญๆ่ ทต่ี อ้ งการผลมากๆ แลว้ แตล่ ะคนควรจะคำ� นงึ ถงึ และ ค้นคดิ เทคโนโลยีอยา่ งง่ายๆ ควบค่กู นั ไป เพอ่ื ชว่ ยให้กจิ การท่ใี ชท้ นุ รอนน้อย มโี อกาสน�ำมา ใชไ้ ด้โดยสะดวกและได้ผลด้วย...” ความตอนหนง่ึ ในพระบรมราโชวาท ในพิธพี ระราชทานปริญญาบตั รของสถาบนั เทคโนโลพี ระจอมเกลา้ วันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๒
เทคโนพโรละยบขี ิดอางแไทหย่ง จากปัญหาความทุกข์ร้อนของประชาชนชาวไทยที่ขาดแคลนน้ํา ในการอุปโภคบริโภคและการเกษตร จึงได้พระราชทานโครงการ พระราชด�ำริ“ฝนหลวง”ให้ม.ร.ว.เทพฤทธ์ิเทวกลุ ด�ำเนนิ การคน้ ควา้ ทดลองปฏิบัติการฝนเทียมหรอื ฝนหลวง และในวนั ที่ ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงอ�ำนวยการสาธิต ฝนเทียมสูตรใหม่คร้ังแรกของโลกด้วยพระองค์เอง ณ เขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และทรงพระปรีชาสามารถท�ำใหฝ้ นตกลงตามเปา้ หมายไดอ้ ยา่ งแมน่ ย�ำทา่ มกลางสายตาของ คณะผแู้ ทนของรัฐบาลต่างประเทศเปน็ คร้งั แรก ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทท่ี รงศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั และน�ำเทคโนโลยสี มยั ใหมม่ าประยกุ ตใ์ นการแกป้ ญั หา ความเดือดร้อนให้แก่ประชาชน ท�ำให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน สามารถพึ่งพาตนเองได้ คณะรัฐมนตรีจึงมมี ติ เม่อื วันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ เห็นชอบถวายการเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ในฐานะทที่ รงเป็น พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย และก�ำหนดให้วันท่ี ๑๙ ตุลาคมของทกุ ปีเปน็ “วนั เทคโนโลยีของไทย”
พรดะอ้านัจฉเทรคยิ โนภโาลพยี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้เปี่ยมไปด้วยพระอัจฉริยภาพ และพระปรีชาสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พระองค์ทรงเล็งเห็นว่าการพัฒนาประเทศและการช่วยเหลือราษฎรของพระองค์ ให้พอมีพอกินนั้น จะต้องอาศัยความรู้และวิทยาการสมัยใหม่เข้ามาช่วย พระองค์ทรงเน้นถึง การนำ� ประโยชนจ์ ากวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม มาใชใ้ นพระราชกรณยี กจิ เกย่ี วกบั การพฒั นาประเทศให้รอดพ้นจากภาวะวกิ ฤติ ประชาชนทุกหมู่เหลา่ สามารถด�ำรงชีวติ ได้อยา่ ง มนั่ คงภายใตก้ ระแสการเปลีย่ นแปลงของโลก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงไม่ปิดกั้นเทคโนโลยีใหม่จาก ประเทศต่างๆ ทัว่ โลกแตป่ ระการใด ตรงกันขา้ มทรงสนับสนุนใหม้ กี ารศึกษาและน�ำเทคโนโลยี ทันสมัยทุกสาขาจากท่ัวโลกมาใช้ประโยชน์ เพียงแต่พระองค์ทรงเน้นว่าจะต้องมีการเลือกใช้ เทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์มาปรับปรุงใช้ให้ดีพอ เหมาะสมกับสภาพและฐานะของประเทศ หมายความว่า เทคโนโลยบี างอย่างอาจจะดแี ตไ่ ม่พอดีหรือไม่เหมาะสมกบั สภาพหรอื ฐานะของ ประเทศ ดงั พระราชดำ� รสั ทท่ี รงแนะนำ� การเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๒๓ ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ณ อาคารใหม่ สวนอมั พร ทว่ี า่
“การใช้เทคโนโลยีอันทันสมัยในงานต่างๆ นั้น ว่าโดย “ หลักการควรจะได้ผลมากในเร่ืองประสิทธิภาพ การประหยัด และการท่นุ แรงงาน แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม ก็ยงั คงต้องค�ำนงึ ถึงสง่ิ อืน่ อันเป็นพื้นฐานและส่วนประกอบการงานทีท่ �ำด้วย อยา่ งในประเทศ ของเราประชาชนท�ำมาหาเล้ียงตัวด้วยการกสิกรรมและการลงแรง ท�ำงานเป็นพ้ืน การใช้เทคโนโลยีอย่างใหญ่โตเต็มรูปหรือเต็มขนาดใน งานอาชีพหลักของประเทศย่อมจะมีปัญหา เช่น อาจท�ำให้ต้องลงทุนมากมาย สิ้นเปลืองเกนิ กวา่ เหตุ หรอื อาจก่อให้เกิดการว่างงานอย่างรนุ แรงขนึ้ เป็นต้น ผลท่ีเกิด กจ็ ะพลาดเป้าหมายไปหา่ งไกล และกลับกลายเป็นผลเสีย ดงั น้นั จงึ ต้องมคี วามระมดั ระวงั มากในการใชเ้ ทคโนโลยปี ฏบิ ตั งิ าน คอื ควรจะพยายามใชพ้ อเหมาะพอดแี กส่ ภาวะบา้ นเมอื ง และการท�ำกนิ ของราษฎร เพื่อใหเ้ กิดประสทิ ธผิ ลด้วยความประหยดั อย่างแท้จริง
เทคโนโลยเี พ่อื เกษตรยคุ ใหม่ Technology for Smart Agriculture 14
เทคโนโลยีเพือ่ เกษตรยุคใหม่ เพ่ือเเทกคษโตนรโ ุยลคียใหม่ Technology for Smart Agriculture โรงเรอื นอัจฉริยะ รายละเอยี ดผลงาน ควบคุมสภาวะอากาศท่ีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชผักด้วยระบบเซนเซอร์ ผใู้ ชส้ ามารถก�ำหนดสภาวะทตี่ ้องการผ่านอินเตอร์เนต็ • ใชเทคโนโลยเี ซนเซอรดานเกษตรทีอ่ อกแบบส�ำหรับสภาพอากาศของประเทศไทย • เซนเซอรว ัดความชน้ื ในดิน อากาศ อุณหภูมิ และแสง • ลดความเส่ยี ง เพิ่มความแมน ยำ� ในการเพาะปลกู • ควบคุมการท�ำงานผา นอินเทอรเน็ตดวยสมารทโฟน แทบ็ เล็ต คอมพิวเตอร์ รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เต จิดา้ ตข่ออ งผลงาน :: 1แส1ลถ1ะานบอวันทุ ตั กยกาารรนรจวมัดิทเกยกาาษรศตเาทรสคต(โรสน์ปทโร.ล)ะยเีทศไทย ถนนพหลโยธนิ ต�ำบลคลองหน่ึง หนว่ ยงานสนับสนุน อ�ำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] ผูป้ ระสานงาน : คโทณุ รอ:ไุ 0รพ9ร6ร9ณ96ป4ร1า0ง0อุดมทรัพย์ 15 THAI TECH EXPO 2018
1โครงการ ตำ� บล นวัตกรรมเกษตร รายละเอียดผลงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย สถาบันวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ร่วมกับ สภาเกษตรกรแห่งชาติ เล็งเห็นความส�ำคัญของการพัฒนา เกษตรกร ให้มีทักษะและความสามารถในการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเพ่ือผนวกเข้ากับระบบการผลิตของตนเอง อันเป็น การสร้างเสริมความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับการ เปลย่ี นแปลงของเศรษฐกจิ และสงั คมปจั จบุ นั จงึ จดั ทำ� โครงการ “1 ตำ� บล 1 นวตั กรรมเกษตร” ขน้ึ เพอ่ื สรา้ งโอกาสใหเ้ กษตรกร สว่ นใหญเ่ ขา้ ถึงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมทางการเกษตร ผา่ นการถา่ ยทอดเทคโนโลยีท่ี เปน็ ผลงานจากการวจิ ยั และปรบั ใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของแตล่ ะตำ� บลอยา่ งเปน็ ระบบ หากองคค์ วามรู้ หรือเทคโนโลยีที่มอี ยไู่ มส่ อดคลอ้ งกับบริบทการผลติ หรอื ผลติ ภณั ฑข์ องต�ำบล จ�ำเป็นตอ้ งมีการพัฒนา นวัตกรรมทางการเกษตรขึ้นใหม่ เช่น ด้านผลิตภัณฑ์ เคร่ืองจักรกล และกระบวนการผลิต ก็จะมี การดำ� เนนิ การวจิ ยั แบบมสี ว่ นรว่ มระหวา่ งหนว่ ยงานวจิ ยั ภายใตก้ ระทรวงวทิ ยาศาสตรฯ์ รว่ มกบั เกษตรกร ในท้องที่ ผ่านระเบียบวิธีวิจัยที่จัดท�ำข้ึนร่วมกัน นอกจากน้ี ยังมีการจัดสร้างเครือข่ายการวิจัยแบบ มสี ว่ นรว่ มระดบั อำ� เภอ เพอ่ื เปน็ ศนู ยก์ ลางในการใหค้ ำ� ปรกึ ษาครบวงจร ทงั้ ดา้ นการวจิ ยั ทางการเกษตร เพอื่ สร้างนวัตกรรมใหม่ ด้านเทคโนโลยี และด้านการตลาด รายละเอียดเจา้ ของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย หนว่ ยงานสนบั สนนุ ตดิ ตอ่ : 35 หมู่ 3 ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9000 ผปู้ ระสานงาน : ดร.รจนา ตั้งกุลบรบิ รู ณ์ 16
เทคโนโลยเี พ่อื เกษตรยคุ ใหม่ เพ่ือเเทกคษโตนรโ ุยลคียใหม่ Technology for Smart Agriculture โครงการยกระดับ OTOP กล่มุ จงั หวดั ยากจนในประเทศไทย รายละเอียดผลงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดท�ำ โครงการแผนงานขบั เคลอื่ นวทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมฐานราก(ยกระดบั OTOP ในพน้ื ท่ี10 จงั หวดั ยากจน) เป็นการน�ำองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม (วทน.) ทผ่ี า่ นการวจิ ยั และ พฒั นาแลว้ ถา่ ยทอดไปยงั กลมุ่ OTOP ใน10 จงั หวดั พนื้ ที่ ยากจน ตามที่ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้จัดท�ำรายงานศึกษา ความยากจนและความเหลื่อมล�้ำในประเทศไทย ปี 2559 ไดแ้ ก่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน นราธิวาส ปัตตานี กาฬสนิ ธ์ุ นครพนม ชยั นาท ตาก บรุ ีรัมย์ อ�ำนาจเจริญ และจังหวัดน่าน ซ่ึงเป็นการกระจายโอกาส และความม่ังคั่งอย่างเท่าเทียม (InclusiveGrowthEngine) เพอื่ ใหห้ ลดุ พน้ จากความยากจน โดยการใชอ้ งคค์ วามรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพฒั นา ผา่ นกระบวนการความคดิ เชงิ สร้างสรรค์ (Creativity) มาใชใ้ น การดำ� เนนิ ธรุ กจิ พฒั นาใหผ้ ลติ ภณั ฑม์ มี ลู คา่ สงู ขนึ้ และมคี วามแตกตา่ ง รวมทงั้ เรง่ กระจายโอกาส การพัฒนาและสร้างความมั่นคงให้ท่ัวถึง ลดความเหลื่อมลำ�้ ของสังคม เพ่ือให้การขับเคล่ือน การพฒั นา OTOP สอดคลอ้ งกบั ทิศทางการพฒั นาประเทศเข้าสู่ Thailand 4.0 รายละเอียดเจา้ ของผลงาน เจ้าของผลงาน : สถาบนั วิจยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย หน่วยงานสนับสนนุ ติดต่อ : 35 หมู่ 3 ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9000 ผปู้ ระสานงาน : นายตรันต์ สริ ิกาญจน 17 THAI TECH EXPO 2018
โครงดกว้ารยพวัฒทิ นยาาแลศะยากสรตะดรับ์ผเทลิตคภโณันโฑล์ ยOีTOP และนวตั กรรม รายละเอียดผลงาน กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มอบหมายให้ สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) เป็นองคก์ รหลกั ร่วมกบั หนว่ ยงานในสงั กัด วท. บรู ณาการดำ� เนนิ งานยก ระดบั ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของผปู้ ระกอบการOTOP และSMEs เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ระกอบการ ตระหนักถึงความส�ำคัญในการพฒั นาผลิตภาพ (Productivity) โดยเป็นการเพ่มิ ขึน้ ของผลผลิต ทเ่ี กดิ จากปัจจยั อน่ื นอกเหนอื จากด้านแรงงานที่มาจากการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละ นวัตกรรม ซึง่ จะทำ� ให้ผปู้ ระกอบการสามารถพฒั นาธุรกจิ ของตนเองไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน อนั จะส่งผล ต่อการเติบโตของเศรษฐกจิ ประเทศในระยะยาวตอ่ ไป รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย หนว่ ยงานสนับสนนุ ติดตอ่ : 35 หมู่ 3 ต.คลองหา้ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9000 ผูป้ ระสานงาน : ดร.เศกศกั ด์ิ เชยชม 18
เทคโนโลยีเพือ่ เกษตรยคุ ใหม่ เพ่ือเเทกคษโตนรโ ุยลคียใหม่ Technology for Smart Agriculture การสร้างมลู ค่าเพิ่มให้ผา้ ทอมือ ย้อมธรรมชาติด้วยนวัตกรรม Color ID Labeling รายละเอียดผลงาน กรมวิทยาศาสตร์บริการ จัดท�ำโครงการการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้ผ้าทอมือย้อมสีธรรมชาติ ดว้ ยนวัตกรรม Color ID Labeling และการพฒั นาผ้าครามเป็นผ้ายนี ส์ เพ่ือน�ำเทคโนโลยเี ร่ือง Color ID Labeling และ ผ้ายีนส์ ช่วยสร้างมูลค่าเพ่ิมให้แก่สินค้าผ้าทอมือย้อมสีธรรมชาติ โดยการใหค้ า่ สที เี่ ปน็ รหสั สากล เพอ่ื ใหเ้ กดิ เรอื่ งราวของผนื ผา้ ทส่ี ามารถเพมิ่ มลู คา่ การสง่ ออกได้ การใช้เทคโนโลยีการทอและฟอกย้อมแบบผ้ายีนส์ในการผลิตผ้าฝ้ายทอมือย้อมคราม ของไทยท�ำให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่ได้ลักษณะร่วมสมัยและมีการออกแบบเพื่อให้เกิดการขยาย ฐานลูกค้าสู่กลุ่มรุ่นใหม่ ท�ำให้สามารถส่งเสริมอัตลักษณ์ของผ้าทอไทย น�ำไปสู่การสนับสนุน เรอื่ งทอ่ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรมของแต่ละจงั หวดั รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สำ� นักเทคโนโลยชี มุ ชน กรมวทิ ยาศาสตรบ์ ริการ หน่วยงานสนบั สนุน ตดิ ต่อ : 75/7 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุง่ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 โทร : 0 2201 7108 ผู้ประสานงาน : นางสาวสายจติ ดาวสโุ ข 19 THAI TECH EXPO 2018
ผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพร ปิดผมขาว รายละเอยี ดผลงาน เทยี นกง่ิ (Lawsoniainermis L.)หรอื เฮนนา (Henna)มสี ารสำ� คญั ทใี่ หส้ ชี อื่ วา่ ลอโซน (Lawsone) สามารถใช้เป็นสีย้อมผมชนิดก่ึงถาวร ให้สีน้�ำตาลแดง หรือแดงปนส้ม มีความปลอดภัย และไม่เป็นสารก่อมะเร็ง ส่วนท่ีน�ำมาใช้ ได้แก่ ใบ เฮนนาเป็นพืชสมุนไพรที่ชาวอินเดียและ ตะวันออกกลางใช้ส�ำหรับปิดผมขาว และท�ำเป็นสีส�ำหรับใช้เขียนลวดลายบนร่างกายให้ สวยงาม ที่เรยี กว่า การเขียนเมนดิ (Mehndi) มานานแลว้ การน�ำสมนุ ไพรเทียนก่ิงมาท�ำเป็น ผลติ ภณั ฑ์ย้อมผมจงึ ได้รบั ความสนใจ และมกี ารใช้มากขน้ึ เพราะผลติ ภัณฑ์ยอ้ มผมท่จี ำ� หนา่ ย ในทอ้ งตลาด อาจมสี ารเคมที ใี่ หส้ ี ไดแ้ ก่ สารกลมุ่ PhenylenediamineAminophenol และResorcinol ซง่ึ สารเคมเี หลา่ น้ี สามารถดดู ซมึ เขา้ สผู่ วิ หนงั ได้ อาจทำ� ใหเ้ กดิ การแพ้ มอี าการคนั ศรี ษะ คนั หนา้ ผาก ตาบวม มผี นื่ ขน้ึ ตามตวั ดงั นน้ั ผบู้ รโิ ภคจงึ หลกี เลยี่ งการใชผ้ ลติ ภณั ฑย์ อ้ มผมทมี่ สี ารเคมี โดยการใช้ สมนุ ไพรเทยี นกงิ่ ซงึ่ มคี วามปลอดภยั การสนบั สนนุ ใหม้ กี ารปลกู สมนุ ไพรเทยี นกง่ิ และนำ� มาแปรรปู เปน็ ผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพรปดิ ผมขาวทมี่ คี ณุ ภาพมาตรฐาน สามารถผลติ ในเชงิ พาณชิ ย์ เปน็ การสรา้ ง มลู ค่าเพิ่มและยกระดบั คณุ ภาพผลิตภัณฑ์สมนุ ไพรไทย รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจ้าของผลงาน : สำ� นกั เทคโนโลยีชุมชน กรมวิทยาศาสตรบ์ ริการ หน่วยงานสนับสนนุ ติดตอ่ : 75/7 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 E-mail : [email protected] โทร : 0 2201 7111 ผูป้ ระสานงาน : นางจติ ต์เรขา ทองมณี 20
เทคโนโลยีเพื่อเกษตรยคุ ใหม่ เพ่ือเเทกคษโตนรโ ุยลคียใหม่ Technology for Smart Agriculture เทคโนโลยแี ปรรปู อาหาร เพม่ิ มลู คา่ สนิ คา้ เกษตร รายละเอยี ดผลงาน ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีพ้ืนฐานเศรษฐกิจท่ีเช่ือมโยงกับผลผลิตทางการเกษตรและ การแปรรูปผลติ ภัณฑอ์ าหารจากสินค้าเกษตรได้แก่ ข้าว ธญั ชาติ ผกั ผลไม้ เนอ้ื สัตว์ และพืชผกั สมนุ ไพร เปน็ แนวทางหนงึ่ ทช่ี ว่ ยเพมิ่ มลู คา่ การสง่ ออก กรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร มผี ลงานวจิ ยั ดา้ น เทคโนโลยอี าหารเพอ่ื การพฒั นาอาหารแปรรปู ใหเ้ ปน็ ผลติ ภณั ฑท์ มี่ มี ลู คา่ เพม่ิ รวมทง้ั การพฒั นา ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมในกลุ่มประเภท ผลิตภัณฑ์ข้าวแปรรูป ผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้แปรรูป ผลติ ภัณฑ์เนือ้ สตั วแ์ ปรรปู และผลติ ภณั ฑพ์ ชื ผกั สมนุ ไพรแปรรปู กรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร มอี งคค์ วามรแู้ ละเทคโนโลยกี ระบวนการผลติ และตน้ แบบผลติ ภณั ฑ์ ท่ีได้จากผลงานวิจัยการแปรรูปอาหารเพ่ิมมูลค่าสินค้าเกษตร ซ่ึงพร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ ผู้ประกอบการ OTOP SMEs และอุตสาหกรรม เพื่อส่งเสริมตามแนวนโยบายให้ประเทศไทย เปน็ แหลง่ ผลติ อาหารสำ� คญั ของโลก หรอื “ครัวไทยสู่ครัวโลก” รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : นางวรรณดี มหรรณพกุล สำ� นกั เทคโนโลยชี มุ ชน กรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร หน่วยงานสนับสนนุ ติดต่อ : 75/7 ถนนพระรามท่ี 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 E-mail : [email protected] โทร : 0 2201 7420 ผ้ปู ระสานงาน : นางสาวเจนจิรา อย่พู ะเนยี ด 21 THAI TECH EXPO 2018
ผลิตภณั ฑ์เครอ่ื งสำ� อางสมนุ ไพร จากสารสกดั มะหาด รายละเอียดผลงาน มะหาด (Artocarpus lakoocha Roxb.) เป็นไม้ยืนตน้ ในวงศ์ Moraceae พบท่วั ไปในท่กี ึ่ง โล่งแจง้ ป่าเต็งรงั ปา่ ดบิ ป่าเบญจพรรณ ปา่ หนิ ปนู และปา่ คนื สภาพ แก่นมะหาดมสี ารส�ำคญั คือ ออกซเิ รสเวอราทรอล (Oxyresveratrol หรอื trans-2,3,4,5-tetrahydroxystilbene) ซึ่งมี ฤทธ์ิยับยงั้ การทำ� งานของเอนไซมไ์ ทโรซิเนส (tyrosinase) ทีม่ ีบทบาทส�ำคญั ในการสงั เคราะห์ เมด็ สีเมลานนิ อันเปน็ สาเหตหุ นึ่งท�ำให้ผิวคล�้ำ จากคุณสมบตั ิดงั กลา่ วมะหาดจึงถูกนำ� มาใช้ใน ผลิตภัณฑ์เคร่ืองสำ� อางเพ่ือบ�ำรงุ ผิวใหข้ าวกระจ่างใส ซงึ่ มจี �ำหน่ายในทอ้ งตลาดหลายชนิด เช่น โลชัน่ บ�ำรุงผวิ สบกู่ ้อนมะหาด เซรั่มมะหาด เป็นตน้ โดยความเขม้ ขน้ ของสาร Oxyresveratrol ในผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำอางควรมีปริมาณท่ีเหมาะสมเพ่ือประสิทธิภาพในการใช้งานจึงจ�ำเป็น ต้องควบคุมคุณภาพสารสกัดมะหาดที่เติมลงไป ผลิตภัณฑ์จากสารสกัดมะหาดนับว่าเป็นอีก ทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจส�ำหรับผลิตภัณฑ์เคร่ืองส�ำอางบ�ำรุงผิวขาว รวมทั้งยังเป็นการสร้าง มูลคา่ เพ่ิมและยกระดับของสมุนไพรไทย รายละเอียดเจา้ ของผลงาน เจ้าของผลงาน : ส�ำนักเทคโนโลยชี ุมชน กรมวิทยาศาสตร์บรกิ าร หน่วยงานสนับสนนุ ติดตอ่ : 75/7 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 E-mail : [email protected] โทร : 0 2201 7179 ผูป้ ระสานงาน : นางสบุ งกช ทรพั ย์แตง 22
เทคโนโลยีเพื่อเกษตรยุคใหม่ เพ่ือเเทกคษโตนรโ ุยลคียใหม่ Technology for Smart Agriculture ผลติ ภัณฑเ์ ครือ่ งสำ� อางสมนุ ไพร จากสารสกัดโปรตนี กาวไหม รายละเอยี ดผลงาน รงั ไหม ประกอบดว้ ยโปรตนี สองชนดิ คอื โปรตนี เสน้ ใย(Fibroin) และโปรตนี กาวไหม(Sericin) โปรตนี เสน้ ใยเปน็ สว่ นทน่ี ำ� มาทอเปน็ ผา้ ไหมมอี ยปู่ ระมาณรอ้ ยละ70-80 ในขณะทโี่ ปรตนี กาวไหม ซึ่งท�ำหน้าที่เชื่อมเส้นใยไหมท�ำให้รังไหมคงรูปร่างและยึดติดกันมีอยู่ประมาณร้อยละ 20-30 ของนำ�้ หนกั รงั ไหม โปรตีนกาวไหมมีสมบัติทดี่ ีต่อผิวพรรณและเสน้ ผม เนอ่ื งจากประกอบดว้ ย กรดอะมโิ นทม่ี ีความสามารถดดู ซบั นำ�้ ได้ดี สามารถจบั กับโปรตีนของผวิ หนงั และเส้นผม สร้าง เปน็ ฟิล์มปอ้ งกันและเก็บความช้ืนได้เป็นอยา่ งดี ท�ำให้ผวิ ชุม่ ช้นื และออ่ นนุม่ ชว่ ยให้ความช่มุ ชืน้ ตา้ นรว้ิ รอย ตา้ นอนมุ ลู อสิ ระ ปอ้ งกนั รงั สยี วู ี รงั ไหมทน่ี ำ� มาใชใ้ นการผลติ คอื รงั ไหมเสยี ทไ่ี มเ่ หมาะ จะน�ำไปสาวเป็นเส้นใยเพ่ือใช้ทอผ้า การสกัดโปรตีนจากรังไหมเสียเพื่อน�ำมาใช้ในการผลิต ผลติ ภณั ฑเ์ ครอื่ งสำ� อาง จงึ เปน็ การสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ยกระดบั คณุ ภาพผลติ ภณั ฑเ์ ครอ่ื งสำ� อางใหไ้ ด้ มาตรฐาน สามารถแขง่ ขันทางการคา้ ได้ รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เจ้าของผลงาน : ส�ำนกั เทคโนโลยีชมุ ชน กรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร หนว่ ยงานสนบั สนุน ติดตอ่ : 75/7 ถนนพระรามท่ี 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 E-mail : [email protected] โทร : 0 2201 7179 ผู้ประสานงาน : นางสวุ รรณี แทนธานี 23 THAI TECH EXPO 2018
โครงการคูปอง นวตั กรรมด้านรังสี (SMEs FREE 20,000) รายละเอยี ดผลงาน การสรา้ งสนิ คา้ นวตั กรรมใหมห่ รอื การสรา้ งจดุ เดน่ ใหก้ บั สนิ คา้ นนั้ เทคโนโลยหี นงึ่ ทไ่ี ดร้ บั การ ยอมรับจากท่วั โลก คอื เทคโนโลยีนิวเคลียร์ ทสี่ ามารถประยกุ ต์ใชก้ บั ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ สถาบนั เทคโนโลยนี วิ เคลยี รแ์ หง่ ชาติ(องคก์ ารมหาชน) กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ เชย่ี วชาญ เรอ่ื งการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยนี วิ เคลยี รใ์ นการวจิ ยั และพฒั นาตา่ งๆ จงึ ไดจ้ ดั ตงั้ โครงการคปู อง นวตั กรรมด้านรังสี สำ� หรบั ผูป้ ระกอบการท่ตี อ้ งการสรา้ งนวัตกรรมใหม่ หรอื ยกระดับสนิ คา้ ทีม่ ี อยู่ใหม้ จี ดุ เดน่ มากขึ้น ประโยชน์ของผู้เขา้ โครงการ 1. สามารถน�ำผลิตภัณฑ์มาเข้าโครงการเพ่ือทดลอง/วิจัย/ตรวจวิเคราะห์ได้ตามโจทย์ที่ ต้องการ 2. ทางสถาบนั เปน็ ผรู้ บั ภาระคา่ ทดลอง/วจิ ยั /ตรวจวเิ คราะหด์ งั กลา่ ว (ไมเ่ กนิ 20,000 บาท) 3. สามารถนำ� ผลการทดลอง/วิจัย/ตรวจวเิ คราะห์ดังกลา่ วไปตอ่ ยอดได้ รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สถาบนั เทคโนโลยีนิวเคลยี ร์แหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) หน่วยงานสนับสนุน ตดิ ต่อ : 9/9 หมู7่ ต.ทรายมลู อ.องครกั ษ์ นครนายก โทร : 09 4432 5232, 08 5487 4009 ผู้ประสานงาน : นางสาวสาลนิ ี ศริ มิ งคล, นายมงคล ดศี ิลปแ์ พทย์ 24
เทคโนโลยีเพือ่ เกษตรยุคใหม่ เพ่ือเเทกคษโตนรโ ุยลคียใหม่ Technology for Smart Agriculture ไคโตซานฉายรงั สี รายละเอียดผลงาน ไคโตซาน เป็นวสั ดุชวี ภาพเกิดในธรรมชาติ ได้มาจากไคตนิ ท่ีสกดั จากเปลอื กกุ้ง กระดองปู และแกนปลาหมึก นำ� มาย่อยโมเลกลุ ใหเ้ ลก็ ลง ดว้ ยการใช้รังสีแกมมา ผลทไ่ี ดม้ ีดงั นี้ 1. ชว่ ยตัดสายโมเลกลุ ไคโตซานให้สั้นลง ทำ� ใหพ้ ชื สามารถดดู ซมึ ได้ดีกว่า 2. รงั สแี กมมายงั จะชว่ ยฆา่ เชอ้ื โรคตา่ งๆ ทปี่ นเปอ้ื นมากบั ไคโตซาน ทำ� ใหโ้ รคไมแ่ พรไ่ ปสพู่ ชื 3. ไม่มสี ารเคมตี กค้างทเี่ ป็นอนั ตราย ท�ำให้ปลอดภยั ตอ่ ผูใ้ ชแ้ ละสิ่งแวดลอ้ ม 4. เป็นสารเพมิ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช รวมทง้ั สามารถเพ่ิมการดดู ซึมแร่ธาตขุ องพืช สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ซ่ึงมีความเชี่ยวชาญในการน�ำ เทคโนโลยนี วิ เคลยี รม์ าประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ประเทศชาตไิ ดท้ ำ� การคน้ ควา้ และทดลอง ในพชื ชนิดตา่ งๆ อาทิ เช่น ขา้ ว ในพ้นื ท่ีเพาะปลูกจรงิ ผลที่ไดร้ ับ คือ น�ำ้ หนกั เมล็ด เพิ่มขึ้น 32%ต่อตารางเมตร จำ� นวนรวงเพมิ่ ขนึ้ 23%ต่อตารางเมตร รายละเอียดเจา้ ของผลงาน เจ้าของผลงาน : สถาบนั เทคโนโลยีนิวเคลียรแ์ หง่ ชาติ (องค์การมหาชน) หนว่ ยงานสนบั สนุน ตดิ ต่อ : 9/9 หมู่ 7 ต.ทรายมลู อ.องครกั ษ์ นครนายก โทร : 08 9688 9974 ผ้ปู ระสานงาน : นายนคร สุวฒั นวชิ ญ,์ นางสาวสพุ ตั ราวดี สถานเดิม 25 THAI TECH EXPO 2018
...พอลิเมอร์ดูดซมึ น้�ำสูง ... รายละเอยี ดผลงาน ปัจจุบัน สภาวะอากาศได้แปรเปลี่ยนไปจากเดิมมาก เกิดปัญหาฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล เกดิ ปญั หาภยั แลง้ ในพน้ื ทต่ี า่ งๆทวั่ ประเทศ เกดิ ปญั หาขาดนำ�้ เพอ่ื อปุ โภคบรโิ ภค ผลผลติ เสยี หาย เนอ่ื งจากขาดน้�ำ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ซึ่งเช่ียวชาญเรื่องการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีนิวเคลียร์ในการวิจัยและพัฒนาต่างๆ จึงได้เร่ิมต้นศึกษาวิจัยเพื่อลดผลกระทบจาก ปัญหาภัยแลง้ ดังกลา่ ว จงึ ไดค้ ิดคน้ พอลเิ มอรด์ ูดซึมนำ้� สงู (Super Water Absorbent Polymer) ประโยชน์ 1. ใช้เปน็ แหล่งน�้ำสำ� รองในดินให้แก่พชื ได้ดูดไปใช้ในชว่ งฤดแู ล้ง ทำ� ให้พชื เติบโตตอ่ เนอ่ื ง 2. พอลเิ มอรด์ ดู ซมึ น�ำ้ สูง สามารถดดู ซับนำ้� ไว้ได้ 200-250 เทา่ ของน้�ำหนักแหง้ และเป็น สารจากธรรมชาติ (ผลิตจากแป้งมันสำ� ปะหลงั ในประเทศ) พรอ้ มทงั้ ย่อยสลายเองได้ จงึ ไมเ่ ป็น พษิ ต่อดินและสิ่งแวดลอ้ มเม่อื ใชไ้ ปนานๆ 3. ลดแรงงานและลดความถใี่ นการรดนำ้� เป็นการลดต้นทุนการใชป้ ลกู พืช รายละเอียดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแ์ หง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) หน่วยงานสนับสนนุ ตดิ ต่อ : 9/9 หมู่ 7 ต.ทรายมลู อ.องครกั ษ์ นครนายก โทร : 06 1412 2837 ผปู้ ระสานงาน : นายนคร สวุ ัฒนวชิ ญ์ 26
เทคโนโลยเี พอ่ื เกษตรยุคใหม่ เพ่ือเเทกคษโตนรโ ุยลคียใหม่ Technology for Smart Agriculture โครงการควบคมุ แมลงวันทอง ในพ้นื ทีก่ ว้างดว้ ยวิธีแมลงวนั หมัน รายละเอียดผลงาน สถาบนั เทคโนโลยนี วิ เคลยี รแ์ หง่ ชาติ(องคก์ ารมหาชน) ซงึ่ มคี วามชำ� นาญในการประยกุ ตใ์ ช้ เทคโนโลยีนิวเคลียร์เพื่อแก้ปัญหาของประเทศ จึงได้ท�ำการวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาแมลงวันทอง ระบาดในพ้ืนท่ีปลูกไม้ผล และประสบความส�ำเร็จในเวลาต่อมาด้วยโครงการควบคุมแมลงวัน ทองในพน้ื ทก่ี วา้ งดว้ ยวธิ แี มลงวนั หมนั โดยสามารถควบคมุ ประชากรแมลงวนั ทองดว้ ยการทำ� หมนั แมลงวนั ทองและปลอ่ ยในพน้ื ทซี่ ง่ึ มกี ารระบาด ซงึ่ ทำ� ใหแ้ มลงวนั ทองตวั เมยี มไี ขน่ อ้ ยลงและไขฝ่ อ่ ส่งผลใหแ้ มลงวันทองรุน่ ตอ่ มามจี �ำนวนลดลงไดม้ ากกว่ารอ้ ยละ 50-80 ปญั หาทพี่ บในสวนผลไม้ คอื ศตั รพู ชื ตามธรรมชาตติ า่ งๆ โดยเฉพาะแมลงวนั ทอง เกษตรกร จงึ นยิ มใชส้ ารเคมกี ำ� จดั แมลง สง่ ผลใหเ้ กดิ มลพษิ ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม และเกดิ สารพษิ ตกคา้ งในผลไม้ มผี ลไปถึงผูบ้ รโิ ภคและถกู กดี กันการน�ำเขา้ จากตา่ งประเทศ ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับ ลดการระบาดของแมลงวนั ผลไม้ ลดการใช้สารเคมี ส่งเสรมิ รายได้ให้กับเกษตรกรจากผลผลติ ท่เี พ่มิ ขนึ้ และ การเป็นทย่ี อมรบั ของผู้บรโิ ภค รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เจ้าของผลงาน : สถาบันเทคโนโลยนี วิ เคลยี ร์แหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) หน่วยงานสนับสนนุ ติดต่อ : 9/9 หมู่ 7 ต.ทรายมลู อ.องครกั ษ์ นครนายก โทร : 0 2401 9885, 08 5487 4009 ผูป้ ระสานงาน : นายมงคล ดีศิลปแ์ พทย์ 27 THAI TECH EXPO 2018
STI for OTOP UPGRADE 28
สะตออบแหง้ STIUPfoGrRAOTDEOP คืนรูปสด รายละเอยี ดผลิตภัณฑ์ พัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์ที่เพิ่มคุณภาพในการเก็บรักษาวัตถุดิบ รวมถึงการออกแบบ บรรจภุ ัณฑใ์ หม้ ีความทันสมยั รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หน่วยงานสนบั สนุน ผู้ประกอบการ : นางสาวชมนาด ศรีเปารยะ วิสาหกิจชุมชนแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร มสิ เตอรส์ ะตอ ติดต่อ : 194 ม.7 ต.เขาพระ อ.พิปนู จ.นครศรีธรรมราช E-mail : [email protected] โทร : 08 0142 8869 ผู้ประสานงาน : ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 29 THAI TECH EXPO 2018
ขนมขา้ วแตน๋ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ พัฒนาข้าวแต๋นให้กรอบนานข้ึน โดยใช้กลูโคสไซรับชนิดท่ีมีค่าน�้ำตาลมาก มาผสมกับ น�้ำตาลทรายซึ่งปริมาณน�้ำตาลทรายมีผลต่อท�ำให้ผลิตภัณฑ์มีความกรอบนานข้ึน ควบคุมเร่ือง ปจั จยั ตา่ งๆ ในการผลติ เชน่ อณุ หภมู ิ ระยะเวลา การอบ และการควบคมุ ความชนื้ กอ่ นและหลงั ทำ� รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หน่วยงานสนบั สนนุ ผปู้ ระกอบการ : ขา้ วแต๋นมูลคลุก Passion Rice โรงเรือนผลติ ข้าวแต๋นมนู คลุก PASSiOn rice ติดตอ่ : 45 ม.5 บา้ นบัวใหญ่ ต.บัวใหญ่ อ.น้�ำพอง จ.ขอนแก่น E-mail : [email protected] โทร : 08 7325 9994 ผู้ประสานงาน : สำ� นกั งานปลดั กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 30
ชาแทง่ มัลเบอรี่ก่งึ สำ� เรจ็ รูป STIUPfoGrRAOTDEOP (IINSTANT MULBERRY STICK TEA) รายละเอยี ดผลิตภณั ฑ์ พัฒนาผลติ ภณั ฑช์ าแท่งมัลเบอรีก่ ง่ึ ส�ำเรจ็ รปู และการพฒั นาออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ตน้ แบบ รายละเอียดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนบั สนนุ ผปู้ ระกอบการ : นายฐานทัพ โทนบุ ล F&K Mulberry ติดต่อ : 1/8 หม่6ู ต.ทุ่งยงั้ อ.ลบั แล จ.อตุ รดติ ถ์ 53210 E-mail : [email protected] โทร : 08 3951 0821 ผปู้ ระสานงาน : สำ� นักงานปลดั กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 31 THAI TECH EXPO 2018
จากสาหรสญกดั ้าเขหม้ วขน้าธนรรชมนชาิดติน้�ำ รายละเอยี ดผลติ ภัณฑ์ ได้รบั การพฒั นาด้านบรรจุภณั ฑ์ใหม่ใหม้ คี วามทนั สมัย และสะดวกในการใช้งานมากยงิ่ ขน้ึ รายละเอียดเจ้าของผลงาน หน่วยงานสนบั สนุน ผู้ประกอบการ : นายวีรวัต เจริญดี หจก. บา้ นหอมหวาน ติดต่อ : 147 หมู่ 9 ต.ปา่ สัก อ.เมอื ง จ.ล�ำพนู โทร : 08 1764 5256 ผ้ปู ระสานงาน : ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 32
ลบาปิ นาบนา่ าล์ม STIUPfoGrRAOTDEOP รายละเอยี ดผลติ ภณั ฑ์ การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ควบคู่ไปกับการเข้าพบท่ีปรึกษา เพอื่ รบั คำ� แนะนำ� เชงิ ลกึ เปน็ รายกจิ การ โดยเขา้ ปรกึ ษากบั ทางเภสชั กรดา้ นเครอ่ื งสำ� อางโดยตรง โดยใชห้ ลกั การเพม่ิ นำ้� มนั มนั มะพรา้ ว50 กรมั ลดwax50 กรมั ทำ� ใหเ้ นอ้ื ลปิ นมุ่ ขนึ้ ไมแ่ ขง็ จนเกนิ ไป และนอกจากนน้ั ทางโครงการ otop ignite ได้ชว่ ยสร้างแบบของบรรจุภัณฑก์ ล่องที่สวยงาม น่าใช้ สร้างการรบั รู้ วธิ ีการใช้ คณุ สมบัตติ ่างๆให้เกิดการรบั ร้มู ากขึ้น ขนสง่ ง่ายขึน้ รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน หน่วยงานสนบั สนนุ ผู้ประกอบการ : นาง ศรสิ า เขม็ วนั พญาไพร ติดตอ่ : 358 ถ.เทศา2 ต.ในเมอื ง อ.เมอื งก�ำแพงเพชร จ.ก�ำแพงเพชร E-mail : [email protected] โทร : 08 6781 5441 ผูป้ ระสานงาน : สำ� นกั งานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 33 THAI TECH EXPO 2018
เจลเเตม้ สิวขมิน้ ชัน Turmeric Gel Anti-Acne รายละเอยี ดผลติ ภณั ฑ์ ได้รับการพัฒนาการสกัดสาร Curcumin จากขม้ินชัน เพ่ือเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เจล แต้มสวิ ขมิน้ ชัน รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หน่วยงานสนับสนนุ ผู้ประกอบการ : นายโรฒวศนิ รัตนะเสาวคนธ์ เนเจอรไ์ ลฟ์เฮริ ์บ ตดิ ต่อ : 82/1 หมู่ 10 ต.ดงขีเ้ หล็ก อ.เมืองปราจีนบุรี จ.ปราจนี บุรี E-mail : [email protected] โทร : 09 4553 2489 ผู้ประสานงาน : ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 34
STIUPfoGrRAOTDEOP แชมพูสมนุ ไพรสกดั เปล้าตะวัน รายละเอยี ดผลิตภณั ฑ์ ได้รับค�ำแนะน�ำการสร้างอัตลักษณ์เฉพาะตัว ค�ำแนะน�ำการสกัดสมุนไพรเปล้าตะวัน เพื่อพัฒนาเปน็ แชมพสู มุนไพรเปล้าตะวัน และได้รับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ รายละเอียดเจ้าของผลงาน หน่วยงานสนับสนุน ผู้ประกอบการ : นางสาว เธียรรนิ รดี วสิ ทุ ธิแพทย์ เปลา้ แดงโอสถ ติดตอ่ : 241 ม.2 ถ.สุขมุ วทิ วงั กระแจะ เมืองตราด จ.ตราด E-mail : [email protected] โทร : 08 9200 6799 ผูป้ ระสานงาน : ส�ำนักงานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 35 THAI TECH EXPO 2018
ผา้ คลมุ ไหล่ไหมบาติก สีธรรมชาติ รายละเอียดผลติ ภณั ฑ์ พฒั นาผา้ พนั คอใหม้ กี ลน่ิ หอมอโรมา(สกดั จากนำ้� มนั กฤษณา) มคี วามเปน็ ธรรมชาติ รวมถงึ การพฒั นาการออกแบบลวดลายบนผา้ ไหม พร้อมบรรจุภณั ฑ์ รายละเอียดเจ้าของผลงาน หนว่ ยงานสนับสนนุ ผู้ประกอบการ : นางณัชรัตน์ ชมุ พานชิ วศุตม์ บริษัท จุลณัฐ จ�ำกดั ตดิ ต่อ : 238/30 หมบู่ ้านศริ วิ ัฒนานเิ วศน์ หมู่ท6ี่ ต�ำบลหนองหอย อำ� เภอเมอื ง จังหวัดเชียงใหม่ E-mail : [email protected] โทร : 09 2713 7772 ผปู้ ระสานงาน : สำ� นกั งานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 36
ผ้าคุลมไหล่ มัดหมี่ STIUPfoGrRAOTDEOP Cดว้ oยเoทคl นMิค ode รายละเอียดผลิตภัณฑ์ การฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ควบคไู่ ปกบั การเขา้ พบทปี่ รกึ ษาเพอ่ื รบั ค�ำแนะนำ� เชิงลึกในการพัฒนาและปรบั ปรุงผลติ ภณั ฑ์เพ่มิ เตมิ ดังนี้ • สรา้ งคูม่ อื แบรนด์ ออกแบบโลโก้ และส่ือต่างๆ ใหม้ ีเอกลกั ษณ์มากข้นึ • พัฒนาออกแบบลายให้มีเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตัวมากขน้ึ • รว่ มพฒั นาเทคนิคการทอผ้าแบบ Cool Mode รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน หนว่ ยงานสนบั สนนุ ผู้ประกอบการ : นายมธั ยม อ่อนจนั ทร ์ Mathtara ติดตอ่ : 124 ถนนกลางเมือง ซอยหลงั สตั วแ์ พทย์ ต.ในเมอื ง เมอื งขอนแกน่ จ.ขอนแก่น E-mail : [email protected] โทร : 08 4795 4295 ผ้ปู ระสานงาน : สำ� นกั งานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 37 THAI TECH EXPO 2018
ยทนี่ าองนพารา รายละเอียดผลติ ภัณฑ์ พัฒนาสูตรส�ำหรับการผลิตโฟมให้ได้สมบัติและกล่ินตามต้องการ และข้ึนรูปช้ินงานเป็น ทรงกลม ไดร้ บั คำ� แนะนำ� และพฒั นารปู แบบผลติ ภณั ฑค์ วบคกู่ บั การพฒั นาดา้ นอน่ื ๆ จนไดร้ ปู แบบ ทนี่ อน5 ชน้ิ ชนดิ พบั เกบ็ เพอ่ื สะดวกตอ่ การใชง้ าน เกบ็ และเคลอ่ื นทอี่ ยา่ งงา่ ยดาย และไดท้ ำ� การ ปรบั รปู แบบใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ านและเลอื กใชป้ ลอกทนี่ อนแบบผา้ สมั ผสั สบายสสี นั สวยงาม เพอ่ื ความรู้สกึ ท่ีดีของทั้งผ้ปู ่วยและผู้ดแู ล รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนบั สนุน ผปู้ ระกอบการ : นางสาวอารรี ัตน์ จดั เสอื กล่มุ เย็บผ้าเครอ่ื งนอนยางพารา ตดิ ต่อ : 9/2 ม.3 ต.เขาครี สิ อ.พรานกระตา่ ย จ.กำ� แพงเพชร E-mail : [email protected] โทร : 09 4485 6715 ผูป้ ระสานงาน : สำ� นักงานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 38
ใบไม้สีทอง STIUPfoGrRAOTDEOP รายละเอยี ดผลิตภณั ฑ์ พฒั นาวธิ กี ารเพม่ิ ความแหง้ และลดความชนื้ โดยนำ� ซลิ กิ า้ เจล(SilicaGel) มาทำ� หนา้ ทดี่ ดู ซบั ความชื้นในใบไมส้ ีทอง ช่วยยน่ ระยะเวลาในการรอใหใ้ บไม้แหง้ จาก 3 เดอื นเหลอื ใชเ้ วลาเพยี ง 15 วัน ช่วยประหยัดเวลา เพิ่มความคงทนให้กับใบไม้สที อง มีการออกแบบใหแ้ ตกตา่ งจากเดิม โดยเปลย่ี นรปู แบบจากเดมิ ทท่ี ำ� แคก่ รอบรปู ออกแบบเปน็ ตงั้ โชว์ สามารถเหน็ ใบไมไ้ ดท้ กุ มมุ มอง รายละเอียดเจา้ ของผลงาน หน่วยงานสนับสนนุ ผปู้ ระกอบการ : นาย มาฮาดี มามะ รา้ นนราของฝาก ตดิ ต่อ : 69/1ม.9 ต.มะรอื โบออก อ.เจาะไอรอ้ ง จ.นราธวิ าส 96130 E-mail : [email protected] โทร : 08 1608 4866 ผู้ประสานงาน : สำ� นกั งานปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 39 THAI TECH EXPO 2018
กระเปา๋ จากวัสดุจากเสน้ ใยธรรมชาติ (เคลอื บกันน้�ำ) รายละเอียดผลิตภณั ฑ์ พฒั นาผ้าเส้นใยธรรมชาตเิ คลอื บดว้ ยพอลเิ มอร์ ท่ีมคี ณุ สมบัตกิ ันนำ้� ได้ ลักษณะแข็ง ขึ้นรปู ผลิตภณั ฑ์ได้ง่าย สามารถตดั เยบ็ ได้สะดวก และคงความสวยงามของเน้อื ผ้า รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนับสนุน ผูป้ ระกอบการ : คุณสุชฎา คล่องนกั รบ MAKA ตดิ ต่อ : 97/93 ม.9 ถ.งามวงค์วาน ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบรุ ี 11000 โทร : 08 9776 1611 ผู้ประสานงาน : สำ� นกั งานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 40
STIUPfoGrRAOTDEOP ผ้าไหม มดั หมี่ รายละเอยี ดผลิตภัณฑ์ พฒั นานวตั กรรมผลติ ภณั ฑด์ ว้ ยการออกแบบลวดลายใหมโ่ ดยนำ� ผา้ มดั หมแี่ ละลายโบราณมา ประยุกต์ให้เข้ากับกลุ่มลักษณะเป็นลายเอกลักษณ์เฉพาะกลุ่มและออกแบบบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับ ใส่ผา้ ไหม รายละเอียดเจ้าของผลงาน หนว่ ยงานสนับสนุน ผ้ปู ระกอบการ : นางจิดาภา นาดา ตดิ ตอ่ : 8 ม.6 บา้ นหนองโก ต.ดอนกอก อ.นาโพธ์ิ จ.บรุ ีรัมย์ โทร : 08 7219 4395 ผปู้ ระสานงาน : ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 41 THAI TECH EXPO 2018
ผา้ คลมุ ไหล่ ผสมไหมอลี ่ี รายละเอยี ดผลิตภัณฑ์ พัฒนานวัตกรรมผ้าคลุมไหล่สีธรรมชาติ โดยใช้เทคนิคมัดหมี่และสอดเส้นพุ่งไหมอีลี่เพ่ือ สร้างพ้ืนผิวให้ผ้าดูมีมิติมากขึ้นซึ่งให้ความรู้สึกนุ่มนวลและส่ือถึงความเป็นพ้ืนบ้านและพัฒนา แนวทางย้อมสีธรรมชาติ (จากเดิมเป็นผ้าขาวม้าใช้สีเคมี) และพัฒนาออกแบบบรรจุภัณฑ์ ส�ำหรับใสผ่ ้า รายละเอียดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนบั สนนุ ผปู้ ระกอบการ : นางสุนันทา พุดสี กลมุ่ ทอผ้าไหม ติดต่อ : 79 ม.3 บา้ นโนนสวรรค์ ต.โคกสูง อ.หนองกี่ จ.บุรรี มั ย์ E-mail : - โทร : 08 0145 0605 ผู้ประสานงาน : สำ� นักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 42
STIUPfoGrRAOTDEOP ผา้ ไหมมัดหม่ี ยอ้ มสีธรรมชาติ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ พฒั นาผา้ ซน่ิ ไหมมดั หมตี่ นี แดงลวดลายใหม่ แตค่ งเอกลกั ษณข์ องสแี บบโบราณ โดยใชส้ ดี ำ� แดง เปน็ สีหลัก พฒั นาย้อมสธี รรมชาติ (จากเดิมใช้สเี คมี) และออกแบบตราสัญลกั ษณส์ �ำหรบั กลุ่ม รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน หนว่ ยงานสนับสนุน ผู้ประกอบการ : นางสาวราเชน กนึ ออย กลมุ่ แม่บ้านกิจสมบรู ณ์ ตดิ ตอ่ : 14 ม.6 บา้ นกิจสมบูรณ์ ต.สองหอ้ ง อ.เมือง จ.บุรรี ัมย์ โทร : 08 9947 9023 ผูป้ ระสานงาน : ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 43 THAI TECH EXPO 2018
เสือ้ ผ้า จากผา้ ดน้ มือ รายละเอียดผลติ ภณั ฑ์ พัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์โดยการออกแบบลวดลายผลิตภัณฑ์ให้ดูน�ำสมัยข้ึนแล้วน�ำไป แปรรปู ตัดเย็บเป็นเส้ือผา้ สำ� เรจ็ รูป เช่นเสอ้ื เชต้ิ และมกี ารพฒั นาตราสัญลักษณป์ ระจ�ำกลมุ่ รายละเอียดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนับสนนุ ผู้ประกอบการ : นางนงเยาว์ จนั ทมิ ี กลุ่มเสอ้ื ด้นมอื ตดิ ต่อ : 422 ม.1 ต.นาขา่ อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี ผูป้ ระสานงาน : ส�ำนักงานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 44
ผา้ พนั คอ STIUPfoGrRAOTDEOP ไหมมัดหม่ี รายละเอียดผลติ ภณั ฑ์ พฒั นานวตั กรรมการออกแบบผลติ ภณั ฑโ์ ดยใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารขดิ ของกลมุ่ เปน็ แนวทางในการ ออกแบบผา้ พนั คอรปู แบบไหม และพัฒนาตราสัญลกั ษณข์ องกลุ่มใหม้ ีลกั ษณะเฉพาะ รายละเอียดเจ้าของผลงาน หนว่ ยงานสนับสนนุ ผ้ปู ระกอบการ : นางนารี บญุ ทวี กลุ่มทอผา้ บ้านหนงิ บวั เงนิ บัวทอง ติดตอ่ : 35/1 ม.3 บ้านหนองบัวเงิน ต.หนองไผ่ อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี E-mail : [email protected] โทร : 08 3347 3053 ผปู้ ระสานงาน : สำ� นกั งานปลดั กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 45 THAI TECH EXPO 2018
ผยา้ ้อไหมมมคดั หรมา่ี ม รายละเอยี ดผลติ ภณั ฑ์ พฒั นานวตั กรรมผลติ ภณั ฑใ์ ชผ้ า้ ทอลายกหุ ลาบทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณข์ องชมุ ชนและใชเ้ สน้ ยนื 5 สี การใชฝ้ มี อื ของชา่ งตดั เย็บแปรรปู ผ้าทอเปน็ ผลติ ภัณฑช์ ุดสทู รว่ มสมยั และการตง้ั ชอื่ ยห่ี อ้ สนิ คา้ การออกแบบตราสินคา้ และบรรจภุ ัณฑ์ ออกแบบปา้ ยสินค้า รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนับสนุน ผปู้ ระกอบการ : นางบุญลอ้ ม มีชยั มาตย์ กลมุ่ ทอผา้ สมี ดั หมย่ี ้อมคราม ตดิ ต่อ : 220 ม.1 ต.บ้านแดง อ.พบิ ลู ยร์ กั ษ์ จ.อุดรธานี โทร : 08 7788 9535 ผปู้ ระสานงาน : ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 46
STIUPfoGrRAOTDEOP กระเปา๋ ผ้า “ดว้ ยมอื แม”่ รายละเอียดผลิตภณั ฑ์ พัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ ป้องกนั แบคทเี รยี ดว้ ยนาโนเทคโนโลยีเพิม่ คุณสมบัตสิ ะทอ้ นนำ้� และพฒั นาออกแบบบรรจุภณั ฑ์ รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน หน่วยงานสนับสนุน ผู้ประกอบการ : นางสาวนภิธ อินทววิ ัฒน์ ร้านกระเปา๋ “ดว้ ยมือแม่” ติดต่อ : หมทู่ ่ี 8 ต�ำบลสระนกแก้ว อ�ำเภอโพนทอง จังหวดั รอ้ ยเอ็ด โทร : 08 1374 8941 (เบอร์) ผปู้ ระสานงาน : สำ� นกั งานปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 47 THAI TECH EXPO 2018
ชุดชน้ั ใน “VIP” รายละเอยี ดผลติ ภณั ฑ์ พฒั นานวตั กรรมผลติ ภณั ฑช์ ดุ ชน้ั ในดว้ ยนาโนเทคโนโลยี ปอ้ งกนั แบคทเี รยี และเพมิ่ คณุ สมบตั ิ กลิ่นหอมให้กับผลิตภณั ฑ์ รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนบั สนุน ผปู้ ระกอบการ : นางวนั เพญ็ พรมมานอก รา้ นวนั เพ็ญยนู แิ วร์ ติดตอ่ : 116 หมูท่ ่ี 4 บา้ นหนองแก ตำ� บลหนองไผ่ อ�ำเภอแกง้ ค้อ จังหวัดชัยภูมิ 36150 โทร : 08 7255 2881 ผู้ประสานงาน : สำ� นกั งานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 48
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208