51 ตัวอยางท่ี 4 กาํ หนดให A และ B เปนสับเซตของ U โดยที่ U = ( 1 , 2 , 3 , . . . , 10 } ถา n (A/ ∪ B/) = 5 , n (A/ ) = 3 , n (B) = 6 แลว จงหา n ( A ∪ B) / วิธที ํา จาก n ( U ) = 10 , n (A/ ∪ B/) = 5 , n (A/ ) = 3 , n (B) = 6 n (A ∪ B′) = n (A ∪ B/) ∴ n ( A ∩ B) = 10 – 5 = 5 n (A) = 10 – 3 = 7 n ( A ∪ B ) = n ( A ) + n (B) - n ( A ∩ B) n(A ∪ B) = 7+6–5 = 8 ∴ n ( A ∪ B) / = 10 - 8 = 2 • ถา เซต A เซต B และเซต C มีสมาชิกบางตัวรวมกัน n (A ∪ B ∪ C ) = n (A) + n (B) + n (C) - n (A ∩ B) – n (B ∩ C) - n (A ∩ C) + n (A ∩ B ∩ C) ตัวอยา งท่ี 5 พิจารณาจากรูป ตัวเลขในภาพแสดงจํานวนสมาชิกของเซต จะได = 60 1) n (U) = 26 2) n (A) =7 3) n (B ∩ C) =8 4) n (A ∩ C) =3 5) n (A ∩ B ∩ C )
52 3.2 การนําเซตไปใชใ นการแกป ญ หา การแกป ญ หาโจทยโดยใชค วามรเู รอ่ื งเซต ส่งิ ท่นี ํามาใชป ระโยชนม ากกค็ อื การเขียนแผน ภาพเวนน - ออยเลอร และนาํ ความรูเร่ืองสมาชกิ ของเซตจํากดั ดงั ท่ีจะศกึ ษารายละเอียดตอไปนี้ ตัวอยางท่ี 1 บรษิ ัทแหง หนึ่งมพี นักงาน 80 คน พบวา พนกั งาน 18 คนมีรถยนต พนักงาน 23 คน มีบานเปนของตวั เอง และพนักงาน 9 คน มีบานของตัวเองและรถยนต จงหา 1) จาํ นวนพนกั งานทง้ั หมดทม่ี ีรถยนตห รือมบี า นเปนของตวั เอง 2) จํานวนพนักงานท่ีไมม ีรถยนตห รือบานของตัวเอง วิธีทํา ให A แทนเซตของพนักงานที่มีรถยนต B แทนเซตของพนักงานที่มีบานเปนของตัวเอง เขยี นจาํ นวนพนกั งานที่สอดคลองกบั ขอมูลลงในแผนภาพไดด งั น้ี 1) n (A) = 18 , n (B) = 23 , n (A ∩ B) = 9 พจิ ารณา n (A ∪ B) = n(A) + n(B) - n (A ∩ B) = 18 + 23 – 9 = 32 ดงั นัน้ จาํ วนพนักงานท่มี ีรถยนตห รือมบี า นของตัวเองเปน 32 คน 2) เน่ืองจากพนักงานทั้งหมด 80 คน นนั่ คอื พนักงานท่ไี มม ีรถยนตหรือบานของตัวเอง = 80 - 32 = 48 คน ดงั นั้น พนกั งานท่ไี มมีรถยนตหรือบา นของตวั เองเปน 48 คน
53 ตัวอยา งที่ 2 ในการสํารวจเกี่ยวกับความชอบของนักศึกษา 100 คน พบวา นักศึกษาท่ชี อบเรียน คณิตศาสตร 52 คน นักศกึ ษาทชี่ อบเรยี นภาษาไทย 60 คน นกั ศกึ ษาทไ่ี มชอบเรยี น คณิตศาสตรและไมชอบเรียนภาษาไทยมี 14 คน จงหานักศึกษาท่ชี อบเรียนคณติ ศาสตร และภาษาไทย วิธีทาํ แนวคิดที่ 1 ให A แทนเซตของนักศึกษาที่ชอบเรียนคณิตศาสตร B แทนเซตของนักศึกษาที่ชอบเรียนภาษาไทย จาก n (A) = 52 , n(B) = 60 n ( A/ ∩ B/ ) = 14 = n ( A ∪ B )/ [∴A/ ∩ B/ = ( A ∪ B ) / ] ∴ n ( A ∪ B ) = 100 n ( A ∪ B ) = n(A) + n(B) - n (A ∩ B) 100 – 14 = 52 + 60 - n (A ∩ B) 86 = 52 + 60 - n (A ∩ B) n (A ∩ B) = 112 - 86 = 26 ดังนนั้ จํานวนนกั ศกึ ษาที่ชอบเรียนคณติ ศาสตรแ ละภาษาไทย มี 26 คน แนวคดิ ท่ี 2 ให x แทนจํานวนนักศึกษาที่ชอบเรียนคณิตศาสตรและภาษาไทย จากแผนภาพเขยี นสมการไดดงั น้ี ( 52 - x ) + x + ( 60 - x ) = 100 - 14 112 - x = 86 x = 112 - 86 = 26 ดงั นน้ั จาํ นวนนักศกึ ษาท่ีชอบเรียนคณติ ศาสตรแ ละภาษาไทย มี 26 คน
54 ตวั อยางท่ี 3 นกั ศึกษาสาขาหนึ่งมี 1,000 คน มีนกั ศกึ ษาเรยี นภาษาอังกฤษ 800 คน เรยี น คอมพิวเตอร 400 คน และเลอื กเรยี นท้งั สองวิชา 280 คน อยากทราบวา 1) มีนักศกึ ษากี่คนท่เี รยี นภาษาอังกฤษเพียงวชิ าเดยี ว 2) มีนักศึกษาก่คี นทเี่ รียนคอมพิวเตอรเพียงวชิ าเดียว 3) มีนกั ศกึ ษากค่ี นทีไ่ มไดเ รยี นวิชาใดวชิ าหน่งึ เลย 4) มนี กั ศึกษากคี่ นท่ไี มไ ดเรยี นทัง้ สองวิชาพรอมกัน วธิ ีทาํ ให U แทนเซตของนักศึกษาทั้งหมด A แทน เซตของนักศึกษาทีเ่ รียนวชิ าภาษาองั กฤษ B แทน เซตของนักศกึ ษาทีเ่ รียนวชิ าคอมพิวเตอร A ∩ B แทน เซตของนักศกึ ษาท่เี รียนทั้งสองวิชา n ( U ) = 1,000 , n ( A ) = 800 , n ( B ) = 400 , n (A ∩ B) = 280 เขยี นแผนภาพไดด งั น้ี 1) นักศึกษาท่เี รียนภาษาองั กฤษเพียงวชิ าเดยี วมีจาํ นวน 800 - 280 = 520 คน 2) นกั ศึกษาท่เี รียนคอมพิวเตอรเพียงวชิ าเดยี วมจี าํ นวน 400 - 280 = 120 คน 3) นกั ศกึ ษาทไ่ี มไ ดเรียนวชิ าใดวชิ าหนง่ึ เลย คือสวนที่แรเงาในแผนภาพซงึ่ มีจาํ นวน เทากบั 1,000 - 520 - 280 - 120 = 80 คน
55 4) นกั ศึกษาทีไ่ มเรยี นทั้งสองวชิ าพรอ มกัน คือ นกั ศึกษาทเ่ี รยี นวิชาใดวิชาหน่งึ เพยี งวชิ า เดยี ว รวมกับนักศึกษาที่ไมเรยี นวชิ าใดเลย คอื สว นท่แี รเงาในแผนภาพ ซึ่งมจี าํ นวน เทา กับ 1,000 - 280 = 720 หรือ 520 + 120 + 80 = 720 คน ตัวอยางท่ี 4 ในการสํารวจผใู ชสบู 3 ชนิด คอื ก , ข , ค พบวา มีผใู ชช นดิ ก. 113 คน, ชนิด ข. 180 คน, ชนดิ ค. 190 คน, ใชชนดิ ก . และ ข. 45 คน, ชนดิ ก. และ ค. 25 คน, ชนดิ ข. และ ค. 20 คน, ท้ัง 3 ชนดิ 15 คน, ไมใ ชทั้ง 3 วิธีทาํ ชนดิ 72 คน จงหาจํานวนของผเู ขารับการสาํ รวจทงั้ หมด แนวคดิ ที่ 1 ให A แทนผใู ชสบชู นดิ ก. B แทนผใู ชส บชู นิด ข. C แทนผูใชสบูช นิด ค. จาก n (A ∪ B ∪ C) = n (A) + n (B) + n (C) - n (A ∩ B) – n (B ∩ C) - n ( A ∩ C ) + n (A ∩ B ∩ C) โดยที่ n (A) = 113 n (B) = 180 n (C) = 190 n (A ∩ B) = 45 n (A ∩ C) = 25 n (B ∩ C) = 20 n (A ∩ B ∩ C) = 15 n (A ∪ B ∪ C ) = n (A) + n (B) + n (C) - n (A ∩ B) – n (B ∩ C) - n (A ∩ C) + n (A ∩ B ∩ C) ∴ n (A ∪ B ∪ C) = 113 + 180 + 190 - 45 – 20 – 25 + 15 = 408
56 จาํ นวนผูท ี่ใชส บู ก. หรอื ข. หรือ ค. = 408 คน จาํ นวนผูท่ไี มใชทง้ั 3 ชนิด = 72 คน ดงั น้นั จํานวนของผูเขารบั การสํารวจทัง้ หมด 408 + 72 = 480 คน แนวคดิ ที่ 2 ให A แทนผใู ชสบชู นดิ ก. B แทนผูใ ชสบูชนิด ข. C แทนผูใ ชสบูชนิด ค. จาํ นวนผูท่ใี ชส บู ก. หรือ ข. หรือ ค. = 58 + 30 + 10 + 15 + 160 + 5 + 130 = 408 คน จาํ นวนผทู ีไ่ มใชทั้ง 3 ชนิด = 72 คน ดงั นั้น จาํ นวนของผูเขารบั การสาํ รวจทั้งหมด 408 + 72 = 480 คน
57 แบบฝกหดั ท่ี 3 1. จงแรเงาแผนภาพที่กาํ หนดใหเ พ่ือแสดงเซตตอไปน้ี 1) B′ 2) A ∩ B′ 3) A′ 4) A′ ∪ B 5) A′ ∪ B′ 2. จากแผนภาพท่ีกาํ หนดให จงหาคา 1) A′ 2) (A ∩ B)′ 3) A′U B 4) A′ ∩ B
58 3. จากแผนภาพ กาํ หนดให U , A, B และ A∩B เปนเซตที่มีจํานวนสมาชิก 100 ,40,25, และ 6 ตามลําดบั จง เติมจํานวนสมาชิกของเซตตาง ๆ ลงในตารางตอไปนี้ เซต A-B B-A A∩B A′ B′ ( A ∪ B จํานวนสมาชิก 4. จากการสอบถามผูเรียนชอบเลนกฬี า 75 คน พบวา ชอบเลนปงปอง 27 คน ชอบเลนแบตมนิ ตัน 34 คน ชอบเลนฟุตบอล 42 คน ชอบทั้งฟุตบอลและปงปอง 14 คน ชอบทัง้ ฟุตบอลและ แบตมินตัน 12 คน ชอบทั้งปงปองและแบดมินตัน 10 คน ชอบทั้งสามประเภท 7 คน จงหาวานักศึกษาที่ชอบเลนกีฬาประเภทเดียวมีกี่คน
59 บทที่ 4 การใหเ หตผุ ล สาระสําคัญ 1. การใหเหตุผลแบบอุปนัยเปนการสรุปผลภายหลังจากคนพบความจริงที่ไดจากการสังเกต หรือการทดลองหลาย ๆ ครั้งจากทกุ ๆ กรณยี อยแลวนําบทสรปุ มาเปนความรูแบบทั่วไปเรา เรยี กขอ สรุปแบบนว้ี า “ ขอความคาดการณ” 2. การใหเหตุผลแบบนิรนัยไมไดคํานึงถึงความจริงหรือความเท็จแตจะคํานึงเฉพาะขอสรุปที่ ตองสรุปออกมาไดเทานั้น ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวัง 1. อธบิ ายและใชก ารใหเ หตผุ ลแบบอปุ นยั และนริ นยั ได 2. บอกไดวาการอางเหตุผลสมเหตสุ มผลหรือไม โดยใชแผนภาพเวนน – ออยเลอรไ ด ขอบขา ยเน้ือหา เร่ืองที่ 1 การใหเ หตุผล เร่ืองที่ 2 การอา งเหตุผลโดยใชแผนภาพเวนน – ออยเลอร
60 เรือ่ งท่ี 1 การใหเ หตผุ ล การใหเหตุผลมคี วามสําคญั เพราะการดาํ เนนิ ชวี ิตของคนเราตองขึน้ อยกู ับเหตผุ ลไมว า จะเปน ความเชอ่ื การโตแยง และการตัดสนิ ใจ เราจําเปนตองใชเหตผุ ลประกอบทงั้ สิ้น อกี ท้ังยงั เปน พนื้ ฐานท่ี สาํ คัญในการหาความรขู องศาสตรตา ง ๆ อกี ดว ย การใหเ หตุผล แบง เปน 2 ประเภท ไดแก การให เหตผุ ลแบบอปุ นัย และการใหเ หตุผลแบบนริ นยั 1.1 การใหเ หตผุ ลแบบอุปนัย ( Inductive Reasoning ) การใหเหตุผลแบบอุปนัย หมายถึง การสรุปผลภายหลังจากการคนพบความจริงที่ไดจาก การใชสังเกต หรือการทดลองมาแลวหลายๆครั้ง จากทุกๆกรณียอยๆ แลวนําบทสรุปมาเปนความรู แบบทั่วไป หรืออกี นยั หนึ่ง การใหเ หตุผลแบบอุปนัย หมายถึง การใหเ หตผุ ลโดยยดึ ความจรงิ สว นยอ ยทีพ่ บเหน็ ไปสูความจริงสวนใหญ ตวั อยา งการใหเ หตุผลแบบอุปนัย 1. มนุษยส งั เกตพบวา : ทุก ๆวันดวงอาทิตยขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวนั ตก จงึ สรุปวา : ดวงอาทิตยขึ้นทางทิศตะวนั ออก และตกทางทิศตะวนั ตกเสมอ 2. สนุ ทรี พบวา ทกุ ครง้ั ที่คุณแมไ ปซอ้ื กวยเตีย๋ วผัดไทยจะมีตน กยุ ชา ยมาดว ยทกุ คร้ัง จงึ สรุปวา กว ยเต๋ียวผัดไทยตอ งมตี นกุยชาย 3. ชาวสวนมะมวงสังเกตมาหลายปพบวา ถาปใดมีหมอกมาก ปนั้นจะไดผลผลิตนอย เขาจึงสรุปวาหมอกเปนสาเหตุที่ทําใหผลผลิตนอย ตอมามีชาวสวนหลายคนทดลอง ฉีดน้าํ ลา งชอ มะมวง เม่ือมหี มอกมากๆ พบวาจะไดผลผลิตมากขึ้น จึงสรุปวา การลางชอมะมวงตอนมีหมอกมากๆ จะทําใหไดผลผลิตมากขึ้น
61 4. นายสมบัติ พบวา ทุกครั้งที่ทําความดีจะมีความสบายใจ จึงสรุปผลวา การทําความดีจะทําใหเกิดความสบายใจ ตัวอยา งการใหเหตผุ ลแบบอุปนัยทางคณติ ศาสตร 1. จงใชก ารใหเหตผุ ลแบบอปุ นัยสรปุ ผลเกย่ี วกบั ผลบวกของจํานวนคูส องจาํ นวน 0+2 = 2 (จาํ นวนค)ู 2+4 = 6 (จาํ นวนคู) 4+6 = 10 (จาํ นวนค)ู 6+8 = 14 (จาํ นวนคู) 8+10 = 18 (จาํ นวนค)ู สรุปผลวา ผลบวกของจํานวนคูสองจํานวนเปนจํานวนคู 2. 11×11 = 121 11×111 = 12321 1111×1111 = 1234321 11111×11111 = 123454321 3. (1 × 9) + 2 = 11 (12 × 9) + 3 = 111 (123 × 9) + 4 = 1111 (1234 × 9) + 5 = 11111 ขอ สงั เกต 1) ขอ สรปุ ของการใหเหตุผลแบบอุปนัยอาจจะไมจริงเสมอไป 2) การสรุปผลของการใหเ หตุผลแบบอุปนัยอาจข้ึนอยกู บั ประสบการณข องผสู รปุ 3) ขอ สรุปทไี่ ดจากการใหเ หตผุ ลแบบอปุ นยั ไมจําเปน ตอ งเหมอื นกัน ตวั อยาง 1. กาํ หนด จาํ นวน 2, 4, 6 , a จงหา จาํ นวน a จะได a = 8 2. กาํ หนด จาํ นวน 2, 4, 6 , a จงหา จาํ นวน a จะได a = 10 เพราะวา 4 + 6 = 10 3. กาํ หนด จาํ นวน 2, 4, 6 , a จงหา จาํ นวน a จะได a = 22 เพราะวา 6 = (2 × 4)-2 และ 22 = (4 × 6)-2
62 4) ขอสรุปของการใหเหตุผลแบบอุปนัยอาจ ผดิ พลาดได ตวั อยา ง ให F(n) = n2 - 79n + 1601 ทดลองแทนคา จาํ นวนนบั n ใน F(n) n = 1 ได F(1) = 1523 เปน จาํ นวนเฉพาะ n = 2 ได F(2) = 1447 เปน จาํ นวนเฉพาะ n = 3 ได F(3) = 1373 เปนจาํ นวนเฉพาะ ∴ F(n) = n2 - 79n + 1601 แทนคา n ไปเรอ่ื ยๆ จนกระทั่งแทน n = 79 ได F(79) เปนจํานวนเฉพาะ จากการทดลองดังกลาว อาจสรุปไดว า n2 - 79n + 1601 เปนจํานวนเฉพาะ สําหรับทุกจํานวนนับ แต F(n) = n2 - 79n + 1601 F(80) = 802 - (79)(80) + 1601 = 1681 = (41)(41) ∴ F(80) ไมเปนจํานวนเฉพาะ
63 แบบฝกหัดที่ 1 จงเติมคําตอบลงในชองวางตอไปนี้ 1) 1,4,9,16, , ,49, 64, , 2) 2,7,17, ,52 , , 3) 5,10,30,120, , 4) ถา 12345679 × 9 = 111111111 12345679 × 18 = 222222222 12345679 × 27 = 333333333 12345679 × = 12345679 × = 999999999 5) ถา 2=2 2+4 = 6 2+4+6 = 12 2+4+6+8 = 20 2+4+6+8+ = 30 2+4+ +8+ + 12 = 2+ + +8+ 12+14 = 2+ + +8+ +12+14+ =
64 1.2. การใหเ หตุผลแบบนริ นัย (Deductive reasoning) เปน การนําความรูพื้นฐานที่อาจเปนความเชื่อ ขอตกลง กฏ หรือบทนิยาม ซ่งึ เปน สิง่ ท่รี ู มากอ นและยอมรบั วาเปนจริง เพื่อหาเหตผุ ลนาํ ไปสขู อสรุป การใหเหตุผลแบบนิรนัย ไมไดคํานึงถึง ความจริงหรือความเท็จ แตจะคํานึงถึง เฉพาะ ขอสรุปที่ตองออกมาไดเ ทาน้ัน พจิ ารณากระบวนการการใหเ หตผุ ลแบบนิรนยั จากแผนภาพดงั น้ี ตวั อยางการใหเหตุผลแบบนิรนยั 1. เหตุ 1) จาํ นวนคหู มายถงึ จํานวนทห่ี ารดว ย 2 ลงตวั 2) 10 หารดว ย2 ลงตวั ผล 10 เปน จาํ นวนคู 2. เหตุ 1) คนท่ีไมมหี น้ีสนิ และมีเงินฝากในธนาคารมากกวา 10 ลานบาท เปนเศรษฐี 2) คุณมานะไมมีหนี้สินและมีเงินฝากในธนาคาร 11 ลานบาท ผล คุณมานะเปนเศรษฐี
65 3. เหตุ 1) นักกีฬาการแจงทุกคนจะตองมีสุขภาพดี 2) เกียรตศิ ักดิเ์ ปน นกั ฟุตบอลทมี ชาติไทย ผล เกยี รตศิ ักดม์ิ สี ขุ ภาพดี จากตัวอยางจะเห็นวาการยอมรับความรูพื้นฐานหรือความจริงบางอยางกอน แลวจึงหาขอสรุป จากส่งิ ทยี่ อมรับแลว น้นั ซง่ึ เรียกวา ผล การสรปุ ผลจะถูกตองกต็ อเมื่อเปน การสรุปผลไดอ ยา ง สมเหตุสมผล(valid) เชน เหตุ 1) เรือทุกลาํ ลอยนํา้ 2) ถังน้ําพลาสตกิ ลอยน้าํ ได ผล ถังนํา้ พลาสติกเปนเรือ การสรุปผลจากขางตนไมสมเหตุสมผล แมวาขออางหรือเหตุทั้งสองขอจะเปนจริง แตการที่เรา ทราบ วา เรือทกุ ลําลอยน้ําไดก็ไมไดห มายความวา สิง่ อน่ื ๆ ทล่ี อยนาํ้ ไดจ ะตองเปน เรือเสมอไป ขอ สรปุ ใน ตัวอยางขางตนจึงเปนการสรุปที่ไมสมเหตุสมผล ขอ สังเกต 1. เหตุเปน จรงิ และ ผลเปน จรงิ เหตุ แมงมุมทุกตัวมี 6 ขา และสัตวท ีม่ ี 6 ขา ทกุ ตัวมปี ก ผล ดังนั้นแมงมุมทุกตัวมีปก 2. เหตุเปน เท็จ และ ผลเปน เท็จ เหตุ ถานายดําถูกลอ ตเตอรี่รางวัลท่ีหนึง่ นายดําจะมีเงินมากมาย แตนายดาํ ไมถูกลอ ตเตอรี่รางวลั ท่ีหนึง่ ผล ดังนั้นนายดํามีเงินไมมาก 3. เหตุอาจเปน จรงิ และผลอาจเปน เท็จ 4. ผลสรปุ สมเหตสุ มผลไมไ ดประกนั วาขอ สรปุ จะตองเปนจรงิ เสมอไป
66 แบบฝก หัดที่ 2 จงตรวจสอบผลที่ไดว าสมเหตุสมผลหรือไม 1) เหตุ 1. คนทุกคนที่เปนไขหวัดตองไอ ผล 2. คนชอ่ื มนุ ีไอ 2) เหตุ มนุ เี ปน ไขห วัด 1. ชาวนาทุกคนเปนคนอดทน ผล 2. นายมีเปนชาวนา 3) เหตุ นายมีเปนคนอดทน 1. สัตวมปี ก จะบนิ ได ผล 2. นกกระจอกเทศเปน สัตวมีปก นกกระจอกเทศบินได 4) เหตุ 1. จาํ นวนเต็มทหี่ ารดวย 9 ลงตวั จะหารดวย 3 ลงตวั 2. 15 หารดว ย 3 ลงตัว ผล 15 หารดว ย 9 ลงตัว 5) เหตุ 1. สัตวเลยี้ งลูกดวยนมบางชนิดไมมีขา 2. งูไมมีขา ผล งูเปนสัตวเลย้ี งลูกดวยนม
67 เรื่องท่ี 2 การอา งเหตผุ ลโดยใชแ ผนภาพของเวนน- ออยเลอร ออยเลอร เปนนกั คณิตศาสตรช าวสวสิ เซอรแลนด มชี ีวิตอยูร ะหวาง ค.ศ. 1707 - 1783 เขาได คนพบวิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใชรูปปด เชน วงกลม ซง่ึ เปน วิธีการทีง่ าย และรวดเรว็ โดย มหี ลกั การดังนี้ 1. เขยี นวงกลมแตล ะวงแทนเซตแตล ะเซต 2. ถามี 2 เซตสัมพันธกนั กเ็ ขยี นวงกลมใหคาบเก่ียวกัน 3. ถา เซต 2 เซตไมส ัมพันธกันกเ็ ขยี นวงกลมใหแ ยกหางจากกนั แผนผงั แสดงการตรวจสอบความสมเหตสุ มผลโดยใชแ ผนภาพเวนน- ออยเลอร
68 ขอ ความ หรอื เหตแุ ละผล และแผนภาพเวนน – ออยเลอร ทใี่ ชใ นการใหเหตุผลมี 6 แบบ ดงั นี้
69 ตวั อยา ง การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการใหเหตุผลโดยใชแผนภาพ 1. เหตุ 1 : คนทุกคนเปนสิ่งที่มีสองขา 2 : ตํารวจทุกคนเปนคน ผลสรุป ตํารวจทุกคนเปนสิ่งท่ีมีสองขา จากเหตุ 1 จากเหตุ 2 แผนภาพรวม จากแผนภาพจะเหน็ วา วงของ \" ตาํ รวจ \" อยใู นวงของ \" สิ่งมี 2 ขา \" แสดงวา \" ตํารวจทุกคนเปน คนมีสองขา \" ซ่งึ สอดคลองกบั ผลสรุปทีก่ ําหนดให ดังนั้น การใหเ หตุผลนี้สมเหตสุ มผล 2. เหตุ 1 : สุนัขบางตัวมีขนยาว 2 : มอมเปนสุนัขของฉัน ผลสรุป มอมเปน สุนขั ทีม่ ีขนยาว ดงั น้นั ผลสรุปที่วา มอมเปนสุนขั ท่ีมขี นยาว ไมส มเหตุสมผล
70 แบบฝก หดั ที่ 3 จงตรวจสอบผลที่ไดวา สมเหตสุ มผลหรอื ไม โดยใชแผนภาพเวนน – ออยเลอร 1) เหตุ 1. ถาฝนตก แคทลยี ากไ็ มออกนอกบา น 2. ฝนตก ผล แคทลียาไมออกนอกบาน 2) เหตุ 1. ถาสมชายขยันเรียนแลวเขาสอบเขาเกษตรได 2. สมชายสอบเขาเกษตรไมได ผล สมชายไมขยันเรียน 3) เหตุ 1. ถา อากาศชืน้ แลว อณุ หภูมิจะลด ผล 2. ถาอุณหภมู ิลด แลวเกิดหมอก 4) เหตุ 3. อากาศชื้น จะเกดิ หมอก 1. a เปน จาํ นวนบวก หรอื เปนจาํ นวนลบ 2. a ไมเ ปน จาํ นวนบวก ผล a เปน จาํ นวนลบ 5) เหตุ 1. แมวบางตัวมีสองขา 2. นกยูงทุกตัวมีสองขา ผล นกบางตัวเปนแมว
71 บทท่ี 5 อตั ราสว นตรโี กณมิตแิ ละการนาํ ไปใช สาระสําคญั 1. ถารูปสามเหลี่ยมคูใดคลายกัน อัตราสวนของดานที่อยูตรงขามมุมที่เทากันจะเทากัน 2. ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากทุกรูป อัตราสวนความยาวดาน 2 ดา น จะถกู กําหนดคาตางๆไวดงั น้ี 2.1 คาไซนของมุมใด (sine) จะเทากับอัตราสวนระหวางความยาวของดานตรงขามมุม นั้น กับความยาวของดานตรงขามมุมฉาก 2.2 คาโคไซนของมุมใด (cosine) จะเทากับอัตราสวนระหวางความยาวดานประชิตมุม กับความยาวดานตรงขามมุมฉาก 2.3 คาแทนเจนตของมุมใด (tangent) จะเทากับ อัตราสวนระหวางความยาวของดานตรง ขามมุมกับความยาวของดานประชิตมุมนั้นๆ 3. นอกจากอัตราสว นตรีโกณมติ ิหลัก 3 คานี้แลว สวนกลับของ sine , cosine และ tangent เรียกวา cosecant , secant และ cotangent ตามลําดับ 4. อัตราสว นตรีโกณมิตขิ องมมุ 30,45 และ 60 องศา มีคาเฉพาะของแตละอัตราสวน สามารถ พสิ จู นได 5. การแกป ญหาโจทยท ่ีเกยี่ วของ จะทําโดยการเปล่ียนปญหาโจทยใหเปนประโยคสัญลักษณ และ ใชอัตราสวนตรีโกณมิติในการชวยหาคําตอบโดยเฉพาะการนําไปใชแกปญหาเกี่ยวกับการวัดระยะทาง และความสูง ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั 1. อธิบายการหาคาอัตราสวนตรีโกณมิติได 2. หาคาอัตราสวนตรีโกณมิติของมุม 300 , 450 และ 600 ได 3. นาํ อัตราสวนตรีโกณมิติไปใชแ กป ญหาเกี่ยวกับระยะทาง ความสูง และการวัดได ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองท่ี 1 อัตราสว นตรีโกณมติ ิ เรื่องท่ี 2 อัตราสวนตรีโกณมิติของมุม 30, 45 และ 60 องศา เร่ืองท่ี 3 การนาํ อัตราสว นตรีโกณมิติ ไปใชแกปญหาเกี่ยวกับระยะทาง ความสูง และการวัด
72 เรือ่ งที่ 1 อตั ราสว นตรโี กณมติ ิ เปนแขนงหนึ่งของคณิตศาสตร วาดวยการวัดรูปสามเหลี่ยมตาง ๆ โดยหาความสัมพันธ ระหวางดาน มมุ และพ้ืนทข่ี องรปู สามเหลี่ยม มีความสําคัญตอวิชาดาราศาสตร การเดินเรือ และงาน สํารวจใชในการคํานวณสงสูงของภูเขา และหาความกวางของแมน้ํา มีประโยชนมากสําหรับวิชา วิทยาศาสตร วิศวกรรมศาสตร และการศึกษาเก่ยี วกบั วัตถุ ซงึ่ มีสภาพเปนคลื่น เชน แสง เสยี ง แมเ หลก็ ไฟฟา และวิทยุ ความรเู ดิมที่ตองนาํ มาใชในบทเรียนนี้ 1. สมบัติสามเหลี่ยมคลาย พิจารณารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีขนาดของมุมเทากัน 3 คู ดงั น้ี ถา รูปสามเหลี่ยม 2 รูป มีมุมเทากันมุมตอมุมทั้ง 3 คู แลว สามเหลี่ยม 2 รปู นจี้ ะคลา ยกัน ดงั รปู B ca Y z x A bC Xy Z รปู ท่ี 1 รปู ที่ 2 จากรูป Aˆ = Xˆ , Bˆ = Yˆ , Cˆ = Zˆ ดงั นัน้ รปู สามเหลี่ยม ABC คลายกับรูปสามเหลี่ยม XYZ และจากสมบัติการคลายกันของ รูป สามเหลี่ยมจะไดผลตามมาคือ AB = BC = AC หรอื a = b = c XY YZ XZ xyz เมอ่ื a,b,c เปนความยาวของดาน AB, BC และ AC ตามลําดับในสามเหลี่ยม ABC x,y,z เปนความยาวของดาน XY,YZ และ XZ ตามลําดับในสามเหลย่ี ม XYZ
73 จาก a = b จะไดว า a=x จะไดวา by xy จะไดวา b= y b=c cz yz a=x a=c cz xz นน่ั คือ ถา มีรปู สามเหลย่ี มสองรูปคลายกนั อัตราสวนของความยาวของดานสองดานของรูป สามเหลี่ยมรูปหนึ่ง จะเทากับอัตราสวนของความยาวของดานสองดานของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง โดย ที่ดานของรูปสามเหลี่ยมที่หาความยาวนั้นจะตองเปนดานที่สมนัยกันอยูตรงขามกับมุมที่เทากัน ในทํานองเดียวกัน ถารูปสามเหลี่ยมทั้งสองเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีมุมที่ไมเปนมุมฉาก เทากันสมมติวาเปนมุม A เทากับมุม X ดังรูป B zY c ax A b CX yZ พบวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปนี้คลายกัน ( มีมุมเทากันมุมตอมุม ทั้ง 3 คู ) ดงั นน้ั จะไดว า ax ax cz =, =, = czbyby สรปุ ไมวารูปสามเหลี่ยมดังกลาวจะมีขนาดใหญหรือเล็กก็ตาม ถารูปสามเหลี่ยม ทั้งสองรูปคลายกันแลว อัตราสวนความยาวของดานสองดานของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง จะเทากับอัตราสวนของความยาวของดานสองดานของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่งทส่ี มนยั กนั เสมอ ( ดานที่กลาวถึงนี้ตองเปน ดา นทีอ่ ยูตรงขา มกับมุมท่ีเทา กนั )
74 2. สมบัติสามเหลี่ยมมุมฉาก ถา ให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ที่มีมุมฉากที่ C และมี a , b , c เปนความยาวของดานตรง ขามมุม A , B และ C ตามลําดับ c a b ดา น AB เปนดานที่อยูตรงขามมุมฉากยาว c หนว ย เรียกวา ดานตรงขามมุมฉาก ดา น BC เปนดานท่ีอยตู รงขา มมมุ A ยาว a หนว ย เรียกวา ดานตรงขามมุม A ดา น AC เปนดานที่อยูตรงขามมุม B ยาว b หนว ย เรียกวา ดานประชิดมุม A ถา ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีมุม เปนมุมฉาก c แทนความยาวดานตรงขามมุมฉาก a และ b แทนความยาวของดานประกอบมุมฉาก จะไดความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากดังตอไปนี้ c2 = a2 + b2 เมอ่ื a แทนความยาวของดานตรงขามมุม A b แทนความยาวของดานตรงขามมุม B c แทนความยาวของดานตรงขามมุม C
75 ขอควรรูเก่ยี วกบั ทฤษฎบี ทปทาโกรัส ปทาโกรัสไดศึกษาคนควาเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางดานตรงขามมุมฉากและดานประกอบมุม ฉากของสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งเปนทฤษฎีบททีเ่ กาแกและมชี อ่ื เสียงทีส่ ุดบทหน่งึ ไดแกทฤษฎบี ทปท า โกรสั ซึ่งมีใจความวา ในสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ พนื้ ที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานตรงขามมุมฉาก จะเทากับผลบวกของพนื้ ทีส่ ่เี หล่ียมจัตุรสั บนดา นประกอบมุมฉาก ตัวอยา ง จงเขียนความสัมพันธระหวางความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตอไปนี้ ตามทฤษฎีบท ของปทาโกรัส 1). a 3 5 2). a 12 13
76 วิธีทํา พิจารณาความสัมพันธระหวางความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตามทฤษฎีบทปทาโกรัส 52 = a2 + 32 a 2 + 92 = 25 a 2 = 16 ดงั น้นั a = 4 2). a2 +122 = 13 a2 +144 = 169 b2 = 25 ดังนน้ั b = 5 อตั ราสวนตรีโกณมิติ ถา ให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีมุมฉากที่ C และมี a , b , c เปนความยาวของดานตรง ขามมุม A , B และ C ตามลําดับ B ca A b C A อัตราสวนตรีโกณมิติ คือ อัตราสวนที่เกิดจากความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
77 a 1. อัตราสวนของความยาวของดานตรงขามมุม A ตอความยาวของดานตรงขามมุมฉาก หรือ c เรยี กวา ไซน (sine) ของมุม A b 2. อัตราสวนของความยาวของดานประชิด มุม A ตอความยาวของดานตรงขามมุมฉาก หรือ c เรียกวา โคไซน (cosine) ของมุม A a 3. อัตราสวนของความยาวของดานตรงขามมุม A ตอความยาวของดานประชิด มุม A หรอื b เรียกวา แทนเจนต (tangent) ของมุม A เรยี กอัตราสวนทั้งสามนี้วา อัตราสวนตรีโกณมติ ิของ A เมอ่ื A เปนมุมแหลมในรูปสามเหลี่ยม มุมฉากหรืออาจสรุปไดวา sin A = ความยาวของดานตรงขามมุม A ความยาวของดา นตรงขา มมุมฉาก cos A = ความยาวของดา นประชดิ มมุ A ความยาวของดา นตรงขามมุมฉาก tan A = ความยาวของดานตรงขามมุม A ความยาวของดา นประชิดมุมA ตัวอยาง กําหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีมุม C เปนมุมฉาก มีความยาวดานทั้งสาม ดังรูป จงหาคาตอไปนี้ 6 1. sin A, cos A และ tan A 8 2. sin B, cos B และ tan B วธิ ีทาํ กาํ หนด ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม C เปนมุมฉาก จากทฤษฎีบทปทาโกรัส จะได วา AB2 = AC 2 + BC 2 แทนคา AC = 8 , BC = 6 ดงั นั้น AB2 = 82 + 62 AB2 = 64 + 36 AB 2 = 100 AB2 = 10 ×10หรือ102 นนั่ คือ AB = 10
78 (1) หาคา sin A, cos A และ tan A โดยการพิจารณาที่มุม A sin A = ความยาวของดานตรงขามมมุ A = BC = 6 = 3 ความยาวของดา นตรงขามมมุ ฉาก AB 10 5 cos A = ความยาวของดา นประชดิ มมุ A = AC = 8 = 4 ความยาวของดานตรงขา มมมุ ฉาก AB 10 5 tan A = ความยาวของดานตรงขามมมุ A = BC = 6 = 3 ความยาวของดา นประชิตมุมA AC 8 4 (2) หาคา sin B, cos B และ tan B โดยการพิจารณาที่มุม B sin B = ความยาวของดานตรงขา มมมุ B = AC = 8 = 4 ความยาวของดา นตรงขา มมุมฉาก AB 10 5 cos B = ความยาวของดา นประชิดมุมB = BC = 6 = 3 ความยาวของดานตรงขามมมุ ฉาก AB 10 5 tan B = ความยาวของดา นตรงขามมุมB = AC = 8 = 4 ความยาวของดานประชติ มุมB BC 6 3 ขอ สังเกต ถา ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีมุม C เปน มมุ ฉากแลว จะไดว า 1. Aˆ + Bˆ = 1800 − Cˆ = 1800 − 900 = 900 2. sin A = cos B 3. cos A = sin B
79 แบบฝก หดั ที่ 1 1. จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่กําหนดใหตอไปนี้ จงเขียนความสัมพันธของความยาวของรูปสามเหลี่ยม มุมฉากโดยใชทฤษฎีบทปทาโกรัส และหาความยาวของดานที่เหลือ (1) (2) 2. กาํ หนด ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มี Cˆ = 900 และความยาวของดานทั้งสาม ดังรูป จงหา 1) sin A , cos A และ tan A 2) sin B , cos B และ tan B B
80 3. จงหาวาอัตราสวนตรีโกณมติ ิทก่ี ําหนดใหตอ ไปน้ี เปน คาไซน(sin) หรือโคไซน(cos) หรือแทนเจนต (tan) ของมุมที่กําหนดให 4. กาํ หนด ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยมีมุม C เปนมุมฉาก มีดาน AB = 10 และ AC = 8 จงหา 1 ) ความยาวดาน BC 2) sin A , cos A และ tan A 3) sin B , cos B และ tan B 5. กาํ หนดใหร ปู สามเหลย่ี ม ABC โดยมีมุม C เปนมุมฉาก และ a,b,c เปนความยาวดานตรงขามมุม A, มุม B และมุม C ตามลําดับ (1) ถา cot A = 3 , a = 5 จงหาคา b,c (2) ถา cos B = 3 และ a = 9 จงหาคา tan A 5
81 เรอื่ งที่ 2 การหาคา อตั ราสวนตรีโกณมติ ขิ องมุม 30 ,45 , 60 องศา การหาคาอัตราสวนตรีโกณมิตขิ องมมุ 60 องศา พิจารณารูปสามเหล่ียมดานเทา ABD มดี า นยาวดา นละ 2 หนว ย ดงั น้ี A 2 B 300 300 300 2 2 60° 60° 60° C B D A 1 C1 1 จากรูปสามเหลี่ยมดานเทา ABD ลาก AC แบง ครง่ึ มุม A เสนแบงครึ่งมุม A จะตั้งฉากกับ BD ที่ จดุ C โดยใชห ลกั ของสมบัติของสามเหลี่ยมคลาย ABC และ ADC จะได BC = CD = 1 หนว ย ดงั รปู และ จาก รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ใชคุณสมบตั ิของปทาโกรสั ไดดังน้ี B 300 AB 2 = AC 2 + BC 2 2 22 = 12 + BC 2 4 = 1 + BC 2 60° C BC 2 = 4 −1 A BC 2 = 3 BC = 3 1 จะไดว า ดา น BC = 3 ดงั นน้ั Sin 600 = 3 2 Cos 600 = 1 2
82 Tan 600 = 3 = 3 1 ในทาํ นองเดยี วกนั การหาคาอัตราสว นตรีโกณมิตขิ องมมุ 30 องศา ดังน้นั Sin 300 = 1 2 Cos 300 = 3 2 Tan 300 = 1 3
83 สรปุ อัตราสว นของตรีโกณมิติทสี่ าํ คญั ดงั นี้ นน่ั คือ sin 300 = 1 cos 300 = 3 tan 300 = 1 2 2 3 sin 45 0 = 1 cos 45 0 = 1 tan 450 = 1 = 1 2 2 1 sin 600 = 3 cos 600 = 1 tan 600 = 3 = 3 2 2 1
84 เกร็ดความรู การใชนิ้วมอื ชว ยในการจาํ คา ตรีโกณมิตขิ องมุมพื้นฐาน การจําคาตรีโกณมิติพน้ื ฐานโดยใชน้วิ มือ ตองใชมือซา ย มขี นั้ ตอนดงั ตอ ไปน้ี วิธีการนี้ใชจ าํ คา ตรโี กณมิติของมุมพื้นฐานกลาวคือ 1. แบมือซายออกมา มองเลขมุมจับคูกับนิ้วเรียงจากซายไปขวา เปนมุม องศา 2. เมื่อตองการหาคาตรโี กณมิติของมุมใดใหงอนิ้วนั้น สมมติวาหา cos กจ็ ะตรงกับน้ิวช้ี ก็งอนิ้วชี้ เกบ็ ไว 3. ถอื กฎวา \"sin-ซา ย(ออกเสียงคลายกัน) cos-ขวา(ออกเสยี ง /k/ เหมอื นกัน)\" เมื่อหาคาของฟงกชันใด ใหสนใจจาํ นวนน้วิ มือฝง ทีส่ อดคลองกบั ฟงกชนั นั้น o เพอ่ื จะหาคา นาํ จาํ นวนนว้ิ มือดา นทส่ี นใจติดรากทส่ี องแลวหารดวยสอง (หรอื อาจจําวา มี เลขสองตัวใหญๆ อยูบนฝา มือ เม่ืออานก็จะเปน รากท่ีสองของจํานวนน้ิวมือดานทสี่ นใจ หารฝามือ) สาํ หรับ cos 30 กจ็ ะไดว ามีนิว้ มือเหลอื อยูท างดานขวาอกี สามนว้ิ (กลาง นาง กอ ย) กจ็ ะได cos30= สาํ หรับฟงกช ันตรีโกณมิติอ่ืนก็ใชสมบัตขิ องฟงกช นั นั้นกับ sin และ cos เชน tan=sin/cos
85 คาโดยประมาณของไซน โคไซน และแทนเจนต (ถงึ ทศนิยมตําแหนง ที่ 3 ) หาไดจากตาราง ตอไปน้ี โดยทค่ี า ของไซน โคไซน และแทนเจนต ของมุมท่มี ีคา อยรู ะหวาง 00 และ900 จะมีคาอยู ระหวา ง 0 และ 1
86 ตัวอยา ง จงหาคาของ a, b จากรูปสามเหลย่ี มท่กี าํ หนดใหตอไปนี้ วิธีทํา sin 320 = BC AB แทนคา sin 320 = 0.530 และ BC = a , AB = 10 ดงั นั้น 0.530 = a นน่ั คอื 10 a = 10 × 0.530 a = 5.3 จงหาคาตอไปนี้ sin 450 − tan 450 1. cos 450 2.sin 300 sin 600 + cos 300 cos 600 ( ) ( )3. cos 300 2 + sin 300 2 4. tan 2 300 + 2 sin 600 + tan 450 − tan 600 + cos2 300 5.cos 600 − tan 2 450 + 4 tan 2 300 + cos2 300 − sin 300 3 วิธีทํา 1 sin 450 − tan 450 = 2 −1 = 1 × 2 =1-1 =0 1. −1 cos 450 1 21 2 2.sin 300 sin 600 + cos 300 cos 600 = 1 3 + 3 1 = 3 32 3= 3 2 2 2 2 + = 44 42 ( ) ( )3. cos 300 2 + sin 300 2 = 3 2 + 1 2 = 3 + 1 = 4 =1 2 2 44 4 = 2 2 3 + 2 4. tan 2 300 + 2 sin 600 + tan 450 − tan 600 + cos2 300 1 + 3 + 1 − 3 3 2 2 = 1 + 3 +1− 3 + 3 34 = 25 12 5.cos 600 − tan 2 450 + 4 tan 2 300 + cos2 300 − sin 300 = 1 − (1)2 + 4 1 2 + 3 2 − 1 3 2 3 3 2 2 = 1 −1+ 4 + 3 − 1 2 942 =7 36
87 อัตราสวนตรีโกณมิตอิ ่ืนๆ อัตราสวนของความยาวของดานของรปู สามเหลย่ี มมมุ ฉากท่เี รียกวา ไซน โคไซน และ แทนเจนต เรยี กวาอัตราสวนตรีโกณมติ ิ (Trigonometric ratio) ซ่ึงเปน หลักเบ้ืองตน ในคณิตศาสตรแขนง หนงึ่ ท่เี รยี กวา ตรีโกณมติ ิ (Trigonometry) หมายถึงการวดั เก่ยี วกบั รูปสามเหลย่ี ม มอี ตั ราสว นตรโี กณมิติอีก 3 อตั ราสว น ซง่ึ กําหนดดว ยบทนยิ าม ดงั น้ี 1. ซีแคนตของมุม A เขยี นแทนดว ย secant A หรือ sec A คือสวนกลับของ cos A เม่อื cos A ≠ 0 นัน่ คือ sec A = 1 เมอ่ื cos A ≠ 0 cos A 2. โคซีแคนตของมุม A เขยี นแทนดว ย cosecant A หรือ cosec A คือสวนกลับของ sin A เมือ่ sin A ≠ 0 นนั่ คือ cosec A = 1 เมอ่ื sin A ≠ 0 sin A 3. โคแทนเจนตของมุม A เขยี นแทนดว ย cotangent A หรือ cot A คอื สว นกลบั ของ tan A เมอ่ื tan A ≠ 0 นั่นคือ cotangent A = 1 เมอ่ื tan A ≠ 0 tan A
88
89 แบบฝก หัดที่ 2 1. จงหาคาตอไปนี้ 1) sin 300 sin 600 − cos 300 cos 600 ( ) ( )2) sin 600 2 + cos 600 2 3) 1 − tan 450 2. จงหาคา อัตราสว นตรโี กณมิตติ อไปนจ้ี ากตาราง 1) sin 200 2) sin 380 3) cos 500 4) cos 520 5) tan 770 6) tan 890 3. ให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม C เปนมุมฉาก ดังรูป จงหา cos B, sin B, tan B, sec B, cosec B, cot B 4. จงหาคา a, b หรอื c จากรูปสามเหลี่ยมตอไปนี้ (1)
90 (2) (3) 5. กาํ หนดใหร ปู สามเหลย่ี ม ABC โดยมีมุม C เปนมุมฉาก และ a,b,c เปนความยาวดานตรงขามมุม A, มุม B และมุม C ตามลําดับ (1) ถา cot A = 3 , a = 5 จงหาคา b,c (2) ถา cos B = 3 และ a = 9 จงหาคา tan A 5
91 เรอื่ งที่ 3 การนาํ อตั ราสวนตรีโกณมติ ไิ ปใชแ กป ญ หาเกี่ยวกบั หาระยะทางและความสูงและ การวัด อัตราสวนตรีโกณมิติมีประโยชนมากในการหาความยาว ระยะทางหรือสวนสูงโดยที่ทราบคามุมใด มุมหน่ึง และความยาวของดา นใดดา นหน่ึงของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แลว จะสามารถหาดา นทเ่ี หลือได เสนระดับสายตา คอื เสน ทีข่ นานกบั แนวพ้ืนราบ มุมกม คอื มมุ ทแ่ี ขนขา งหนง่ึ ของมมุ อยตู ํ่ากวา ระดบั สายตา มมุ เงย คือ มมุ ทแี่ ขนขา งหนง่ึ อยูสงู กวา เสนระดับสายตา
92 ตัวอยา งที่ 1 สมพรยนื อยูหางจากบานหลังหนึ่งเปนระยะทาง 100 เมตร เขาเห็นเครื่องบิน เครื่องหนึ่ง บนิ อยูเหนือหลงั คาบา นพอดี และแนวที่เขามองเปนมุมเงย 60 องศา จงหาวาเครื่องบิน อยูสูงจาก พื้นดนิ กเี่ มตร นั่นคือ ความยาวของดานตรงขามมุม 600 = 100 3 จะเหน็ ไดว า ความสงู ของเคร่อื งบินอยหู า งจากพนื้ ดิน 100 3 ตวั อยางที่ 2 บนั ไดยาว 50 ฟุต พาดอยูกับกําแพง ปลายบันไดถึงขอบกําแพงพอดี ถาบันไดทํามุม 600 กับกําแพง จงหาวาบันไดอยูหางจากกําแพงเทาไร
93 วิธที ํา cos 600 = ความยาวของดานประชิดมุม 60 0 ความยาวของดนตรงขา มมมุ ฉาก 1 = ความยาวของดา นประชิดมมุ 600 2 50 จะได ความยาวของดานประชิตมุม 600 = 50 2 ดังนั้น ระยะระหวา งบันไดกับกําแพงเทา กับ 25 ฟุต ตัวอยา งท่ี 3 สมพรยืนอยบู นหนาผาสงู ชนั แหง หนึง่ ซ่งึ สงู จากระดบั ผนา้ํ ทะเล 50 เมตร เมอ่ื เขาทอดสายตา ไปยังเรือลําหนึ่งกลางทะเล มุมที่แนวสายตาทํากับเสนระดับมีขนาด 30 องศา เรือลาํ น้อี ยูหา งจากฝง โดยประมาณกเี่ มตร วิธที าํ ให A เปนตาํ แหนงที่สมพรยืนอยู AC แทนระยะความสูงจากน้ําทะเลของหนาผา คือ 50 เมตร BC เปนระยะท่เี รอื อยูหา งจากฝง จาก AD // BC จะได CBˆA = DAˆB = 300 ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังน้นั tan 300 = AC BC 1 = 50 3 BC BC = 50 3 ≈ 50 ×1.732 BC ≈ 86.6
94 แบบฝกหัดท่ี 3 1. ตน ไมต นหน่งึ ทอดเงายาว 20 เมตร แนวของเสนตรงที่ลากผานปลายของเงาตนไม และยอดตนไม ทํา มุม 30 องศา กับเงาของตนไม จงหาความสูงของตนไม 2. วินัยตองการหาความสูงของเสาธงโรงเรียน จึงทํามุมขนาด 45 องศา เพื่อใชในการเล็งไปที่ยอดเสาธง ถาในขณะที่เล็งนั้นเขามองไปที่ยอดเสาธงไดพอดี เมอื่ กา วไปอยูท จ่ี ดุ ซึ่งอยูห างโคนเสาธง 16 เมตร วินยั มี ความสูง 160 เซนติเมตร จงหาวาเสาธงสูงประมาณกี่เมตร 3. จดุ พลขุ น้ึ ไปในแนวดิ่ง โดยกําหนดจดุ สังเกตการณบนพื้นดนิ หางจากตาํ แหนง ท่ีจดุ พลุ 1 กโิ ลเมตร ในขณะที่มองเห็นพลุทํามุม 60 องศา กับพืน้ ดนิ พลุขึ้นไปสงู เทาใด และอยูหา งจากจุดสังเกตการณเปน ระยะทางเทาใด
95 บทที่ 6 การใชเ ครื่องมอื และการออกแบบผลติ ภัณฑ สาระสําคัญ 1. การเลอื กใชเ คร่ืองมือตา ง ๆ ในการสรางรปู เรขาคณิต 2. ในชีวติ ประจาํ วนั การออกแบบวัสดุหรือครุภัณฑ อาคารที่พักอาศยั หรอื อาคารสาํ นักงานตา ง ๆ จะเก่ียวขอ งกบั รูปแบบ การเล่อื นขนาน การหมนุ และการสะทอ น 3. การมบี รรจภุ ณั ฑของสินคาที่ดี สวยงาม นา สนใจ จะมสี วนชวยในการการเพิ่มมลู คา ของสินคานน้ั ๆ ได ผลการเรียนรูท ี่คาดหวงั 1. สรางรูปเรขาคณิตโดยใชเครื่องมือได 2. วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธระหวางรปู ตน แบบ และรูปท่ีไดจากการเลื่อนขนาน การ สะทอ นและการหมนุ ได 3. นําสมบัติเกยี่ วกับการเลื่อนขนาน การหมุน และการสะทอ นจากการแปลงทางเรขาคณิตศาสตร และทางเรขาคณิต ไปใชในการออกแบบ งานศิลปะได ขอบขา ยเน้ือหา เร่ืองที่ 1 การสรางรูปทางเรขาคณิตโดยใชเครื่องมือ เร่ืองท่ี 2 การแปลงทางเรขาคณิต เร่ืองท่ี 3 การออกแบบเพื่อการสรางสรรคงานศิลปะโดยใชการแปลงทางคณิตศาสตร และ ทางเรขาคณิต
96 เรอ่ื งที่ 1 การสรางรูปเรขาคณิตโดยใชเ ครื่องมอื 1.1 รูปเรขาคณิตสองมิติ สามารถสรางไดโดยใชสนั ตรง เชน ไมบรรทดั ฟุตเหลก็ ไมฉาก ไม ที เพอ่ื วัดความยาว ใชไมโ ปรแทรกเตอร เพอ่ื วัดมมุ หรือขนาดของมุม ใชว งเวยี น เพอ่ื ประกอบการ สรางเสนโคงที่แทนความยาวรอบวงกลม หรือชวยในการสรางมุมที่มีขนาดที่ตองการ สมบัติตา ง ๆ ของรปู เรขาคณิตและความสัมพันธร ะหวางรูปเรขาคณิต เพอื่ ใหน ักศึกษามคี วามเขาใจในการสรา งรปู เรขาคณติ สองมติ ิ ผเู รียนควรทบทวนสมบัติตา ง ๆ ของรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติดังนี้ 1. รปู ส่เี หลยี่ มผืนผา 1. มีมุมทั้งสี่เปนมุมฉาก 2. ดานที่อยูตรงขามกันยาวเทากันสองคูและขนานกัน 3. เสนทแยงมุมแบงครึ่งกันและกัน 4. พืน้ ทข่ี องส่เี หล่ียมผนื ผา = ความยาวของดานกวา ง x ความยาวของดานยาว 5. ความยาวรอบรูปของสเ่ี หลีย่ มผนื ผา = ( 2 x ความยาวของดานกวา ง ) + ( 2 x ความยาวของดานยาว ) 2. รปู สเ่ี หล่ยี มจตั รุ สั 1. มมุ ทั้งสี่เปนมุมฉาก 2. ดานท้งั สยี่ าวเทากนั 3. เสน ทแยงมมุ แบงครึ่งซ่ึงกันและกัน และต้ังฉากกัน 4. พื้นท่ขี องรูปส่ีเหลย่ี มจตั ุรัส = ความยาวดา น x ความยาวดา น หรือ 1 × ผลคูณของ 2 ความยาวเสน ทแยงมุม
97 3. รูปสเี่ หล่ยี มดา นขนาน 1. มีดานตรงกันยาวเทากันและขนานกันสองคู 2. เสนทแยงมมุ แบงครึ่งกันและกัน แตย าวไมเทา กัน 3. พ้ืนที่ของรูปสี่เหลีย่ มดานขนาน = ความยาวฐาน X สว นสงู 4. รปู สเ่ี หล่ยี มขนมเปยกปูน 1. มีดานตรงขามกันขนานกันสองคู 2. ดานทั้งสยี่ าวเทากัน 3. เสนทแยงมมุ แบง ครึ่งซงึ่ กันและกนั และต้ังฉากกนั 4. พืน้ ท่รี ปู สามเหลย่ี มขนมเปย กปูน = ความยาวฐาน x สว นสงู หรือ 1 × ผลคูณของความยาว 2 ของเสนทแยงมุม
98 5. รปู ส่ีเหล่ียมรปู วา ว 1. มีดานประชิดกันยาวเทากัน 2 คู 2. เสนทแยงมุมสองเสน ต้ังฉากกนั 3. เสนทแยงมุมแบงครึ่งซง่ึ กันและกัน แตย าวไมเทากนั 4. พ้ืนทีข่ องรปู สี่เหลยี่ มรูปวาว = 1 × ผลคณู ของความยาวของเสนทแยงมมุ 2 6. รปู สีเ่ หลีย่ มคางหมู 1. มดี า นขนานกัน 1 คู 2. พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู = 1 × ผลบวกของความยาวของดานคูขนาน X สว นสูง 2 7. รปู วงกลม 1. ระยะทางจุดศูนยกลางไปยังเสนรอบวงเปนระยะที่เทากันเสมอ เรยี กวา รัศมีของวงกลม 2. เสน ผานศูนยกลางยาวเปน 2 เทาของรัศมี 3. พื้นทีว่ งกลม = πr 2 4. ความยาวเสนรอบของวงกลม 2πr
99 1.2 รูปเรขาคณิตสามมติ ิ รปู เรขาคณิต สามมิติสามารถแสดงรูปรางซึ่งมีทั้งความกวาง ความยาว ความสูง หรอื ความ หนา ตัวอยา งรูปทรงเรขาคณิตสามมติ ิ เชน ปริซึม เปน รปู สามมติ ิทีม่ หี นาตัดหัวทายเทากนั และขนานกนั และผิวดานขางเปนรปู สเี่ หลี่ยม เชน ปรซิ มึ สามเหล่ยี ม ปริซึมสเ่ี หล่ยี ม ปริซึมหาเหล่ยี ม พรี ะมดิ เปน รปู เรขาคณติ สามมติ ทิ ่ีมยี อดแหลม ผิวดานขางเปนรูปสามเหลยี่ ม สูงเอยี ง พรี ะมดิ ฐานสเ่ี หลย่ี ม พรี ะมดิ ฐานสามเหลี่ยม ตัวอยางรูปเรขาคณิตสามมติ ิทพ่ี บเห็นในชวี ิตประจําวนั เชน ตเู ย็น เปนรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก หรือปรซิ มึ สเ่ี หลี่ยม ปลากระปอง เปน รปู ทรงกระบอก ไอศกรมี เปนรปู กรวยกลม เปนตน รูปเรขาคณิตที่พบในชีวิตประจําวันโดยเฉพาะรูปเรขาคณิตสามมิติและสองมิติ มีความสัมพันธ กันอยา งมาก ซึ่งตองใชการสังเกตหาความสัมพันธ การจําแนก การเปรียบเทียบภาพที่มองเห็นจะ สามารถอธิบายขนาด ตําแหนง ระยะทาง และใชการคาดเดารูปรางของสิ่งที่กําหนดให เมื่อมีการเปลี่ยน ตําแหนงหรือมุมมองในดานตาง ๆ
100 1.3 การคลีร่ ูปเรขาคณิตสามมติ ิ ภาพที่ไดจ ะเปน ภาพของรูปเรขาคณติ สองมิติ เชน การคลรี่ ูปปริซึม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก การคลรี่ ปู พีระมดิ ฐานสีเ่ หล่ียม 1.4 การตดั ขวางรปู เรขาคณิตสามมิติ เม่ือนาํ รูปเรขาคณิตสองมิตมิ าตดั ขวางรูปเรขาคณิตสามมติ ิในแนวตาง ๆ กนั ภาพทเ่ี กิดขึน้ จะ มลี กั ษณะตาง ๆ กัน เชน กรวยกลม เมอ่ื ตัดดว ยระนาบในแนวขนานกบั ฐานกรวย จะไดภ าพสองมติ เิ ปนรปู วงกลม กรวยกลม เมอ่ื ตัดดว ยระนาบในแนวตง้ั ฉากกบั ฐานกรวย จะไดภาพเปนรูปพาลาโบลา กรวยกลม เมื่อตัดดวยระนาบที่ไมขนานกับฐานและไมตั้งฉากกับฐาน จะไดภาพเปนวงรี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252