Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุขศึกษา ม.ต้นws21002

สุขศึกษา ม.ต้นws21002

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-06-07 03:00:11

Description: สุขศึกษา ม.ต้นws21002

Search

Read the Text Version

101 ถาปวยเปน โรคไขหวดั ใหญค วรไปรบั การตรวจรักษาจากแพทย เพราะจะไมห ายงา ย ๆ เหมือน โรคหวัดธรรมดา สําหรับการปฏิบัติตนหลังการตรวจรักษาก็ควรพักผอนมาก ๆ งดการทํางานหนัก หรือการออก กําลังกาย สวมเสื้อผาใหรางกายอบอุน อยาอาบน้ําเย็น ดื่มน้ําอุนมาก ๆ เพื่อชวยลดไข รับประทานอาหารออน ๆ ใชผ าชบุ นํา้ ธรรมดาเช็ดตวั เมื่อเวลามีไข และรับประทานยาตามแพทยส ่ัง ในการปองกันโรคนีก้ ็เหมือนกับการปองกันโรคหวัดธรรมดาและในปจจุบันนีก้ ็มีวัคซีน ปองกันโรคไขห วัดใหญ ซง่ึ ผทู ค่ี วรไดร ับวคั ซีนปอ งกันโรคไขหวัดใหญ ไดแก ผูสูงอายุ ผูปวยดวยโรคเร้ือรังตาง ๆ เชน โรคเบาหวาน โรคหอบหดื โรคไต โรคเลอื ด โรคหัวใจ โรคปอด เปนตน ผูป วยติดเชื้อเอชไอวี เด็กทีม่ ีโรค เรื้อรงั เกยี่ วกบั ระบบทางเดินหายใจ ผูทกี่ าํ ลงั จะเดนิ ทางไปตา งประเทศและผทู ท่ี ํางานบรกิ ารสาธารณชน โรคไขหวัดใหญ ติดตอเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจไดรวดเร็ว มักระบาดใน ฤดูฝน ไขห วดั ใหญม หี ลายชนิด บางชนิดรนุ แรงทําใหผูปว ยเสยี ชีวิตได สาเหตุ เกิดจากเชอ้ื ไวรัส มีอยู 3 ชนดิ คอื ชนดิ เอ ชนดิ บี และชนิดซี บางคร้ังใชช่ือตามเมืองท่ี ระบาด เชน ไขหวดั ฮอ งกง หรอื ไขห วดั ใหญ 2009 เปน ตน การติดตอ เหมือนกับไขหวัดธรรมดา ติดตอโดยการสัมผัสโดยตรง ดวยการไอหรือจามรด กนั หายใจเอาเชอ้ื โรคท่ีปะปนอยใู นอากาศและติดตอ ทางออ มโดยการใชส่ิงของ เส้อื ผา ปะปนกบั ผปู วย ระยะฟก ตวั ของโรค ประมาณ 1-3 วัน สําหรบั เด็กเลก็ อาจแพรเชื้อไดนานถึง 7 วนั อาการ มีอาการรุนแรงมากกวาไขหวัดธรรมดา มักเกิดขึน้ ทันทีทันใด ดวยการปวดศีรษะ หนาวสนั่ มีไข ปวดเมอื่ ยกลา มเนอ้ื ออ นเพลยี เบอ่ื อาหาร การรกั ษาพยาบาล ไขห วดั ใหญไมมียารกั ษา ตองรกั ษาตามอาการของโรคและปองกนั การเกิด โรคแทรกซอ น การปฏิบัติตน เมื่อมีอาการโรค ควรรักษาตามอาการของโรค โดยปรึกษาแพทยและ รบั ประทานยาตามแพทยส ง่ั พกั ผอ นใหม าก ๆ รบั ประทานอาหารใหค รบ 5 หมู ควรทําใหรางกายอบอุน เชน การ นอนหมผา เวลาไอหรือจามควรใชผาหรือกระดาษปดปากปดจมูก เพื่อปองกันเชื้อโรคไมใหแพรกระจายไปสู ผอู ่ืน การปองกนั และควบคุมโรค ควรปฏิบตั ิดังนี้ 1. ไมค วรคลุกคลกี ับผปู ว ย ควรแยกใหอยูต างหาก 2. ไมใ ชของใชรว มกบั ผูปวย 3. เวลาไอหรือจามควรปดปาก ปดจมกู 4. รักษารา งกายใหแ ขง็ แรงอยเู สมอ โรคไขห วดั ใหญสายพันธุใ หม 2009 ไขหวัดใหญสายพันธุใ หม 2009 หรือไขหวัดใหญสายพันธุใ หมชนิดเอ (H1N1) ที่แพรระบาด เปนปญหาสาธารณสขุ ของประเทศไทยอยูใ นขณะน้ี ทาํ ใหม ผี ูเ สียชีวิตแลว หลายสบิ รายและมี ผตู ดิ เชอ้ื กวา พนั ราย (ขอ มลู เดอื นสงิ หาคม 2552) ปจจบุ ันการแพรระบาดของโรคไขหวัดใหญสายพันธใุ หม ชนิดเอ (เอช1 เอ็น1) กําลังขยายตัว ไปทั่วโลก และขณะนี้ประเทศไทยพบการระบาดภายในประเทศแลว โดยเฉพาะอยางยิ่งสถานศึกษาและสถาน

102 ประกอบการ ซึ่งอาจแพรระบาดอยางรวดเร็ว ไขหวัดใหญสายพันธุใ หมนีม้ ีอาการคลายกับไขหวัดหรือไขหวัด ใหญธ รรมดา สวนใหญม ีอาการนอ ยและหายไดโ ดยไมตองรับการรกั ษาทีโ่ รงพยาบาล สําหรับผูป วยจํานวนไมมากในตางประเทศทีเ่ สียชีวิต มักเปนผูที่มีโรคประจําตัวเรือ้ รัง เชน โรคปอด หอบหืด โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด เบาหวาน เปน ตน ผมู ีภมู ติ า นทานตํ่า โรคอวน ผูสูงอายุมากกวา 65 ป เดก็ อายตุ าํ่ กวา 5 ป และหญงิ มคี รรภ สําหรับวิธีการติดตอและวิธีการปองกันโรค จะคลายกับไขหวัดใหญธรรมดา กระทรวง สาธารณสุขจงึ ขอใหค ําแนะนาํ ในการปองกนั และควบคุมโรคไขห วัดใหญสายพนั ธใุ หม ชนดิ เอ (เอช1 เอ็น 1) ดงั ตอไปนี้ คาํ แนะนาํ สาํ หรับประชาชนท่วั ไป 1. ลา งมอื บอ ย ๆ ดว ยนาํ้ และสบู หรอื ใชแ อลกอฮอลเ จลทาํ ความสะอาดมอื 2. ไมใ ชแกวนา้ํ หลอดดูดน้าํ ชอ นอาหาร ผาเชด็ มือ ผาเชด็ หนา ผา เช็ดตวั รว มกบั ผูอ่ืน 3. ไมค วรคลุกคลีใกลชิดกบั ผูปวยที่มีอาการไขห วัด 4. รักษาสุขภาพใหแข็งแรง ดวยการกินอาหารที่มีคุณคาทางโภชนาการ ดื่มน้ํามาก ๆ นอน หลบั พกั ผอ นใหเ พยี งพอ และออกกาํ ลงั กายอยา งสมาํ่ เสมอ 5. ควรหลีกเลย่ี งการอยูใ นสถานทท่ี ่ีมีผคู นแออดั และอากาศถา ยเทไมดีเปนเวลานาน โดยไม จาํ เปน 6. ติดตามคําแนะนาํ อื่น ๆ ของกระทรวงสาธารณสขุ อยา งใกลชิด คาํ แนะนาํ สําหรบั ผปู ว ยไขห วัดหรือไขห วัดใหญ 1. หากมอี าการปว ยไมร นุ แรง เชน ไขไมส ูง ไมซึม และรับประทานอาหารได สามารถรักษา ตามอาการดวยตนเองที่บานได ไมจําเปนตองไปโรงพยาบาล ควรใชพาราเซตามอล เพื่อลดไข (หามใชยา แอสไพรนิ ) นอนหลบั พกั ผอ นใหเ พยี งพอ และดม่ื นาํ้ มาก ๆ 2. ควรหยดุ เรยี น หยดุ งาน จนกวา จะหายเปน ปกติ และหลีกเล่ียงการคลุกคลีใกลชิด หรือใช สิ่งของรวมกบั ผอู ่ืน 3. สวมหนากากอนามัยเมื่อจําเปน ตอ งอยกู บั ผูอน่ื หรือใชกระดาษทิชชู ผาเช็ดหนา ปดปาก และจมกู ทุกคร้งั ท่ไี อ จาม 4. ลางมือบอย ๆ ดวยน้ําและสบู หรือใชแอลกอฮอลเจลทําความสะอาดมือ โดยเฉพาะหลัง การไอ จาม 5. หากมีอาการรุนแรง เชน หายใจลําบาก หอบเหนื่อย อาเจียนมาก ซึม ควรรีบไป พบ แพทย คาํ แนะนาํ สาํ หรับสถานศกึ ษา 1. แนะนําใหผูเรียนที่มีอาการปวยคลายไขหวัดใหญ พักรักษาตัวทีบ่ านหรือหอพัก หากมี อาการปวยรนุ แรง ควรรีบไปพบแพทย

103 2. ตรวจสอบจํานวนผูเ รียนทีข่ าดเรียนในแตละวัน หากพบขาดเรียนผิดปกติ หรือตัง้ แต 3 คนขึน้ ไปในหองเรียนเดียวกัน และสงสัยวาปวยเปนไขหวัดใหญใหแจงตอเจาหนาทีส่ าธารณสุขในพืน้ ที่ เพื่อ สอบสวนและควบคมุ โรค 3. แนะนําใหผูเ รียนที่เดินทางกลับจากตางประเทศ เฝาสังเกตอาการของตนเองเปนเวลา 7 วัน ถามีอาการปว ยใหห ยดุ พกั รักษาตัวที่บาน 4. หากสถานศึกษาสามารถใหผูเรียนที่มีอาการปวยคลายไขหวัดใหญทุกคน หยุด เรียนไดก็จะปองกนั การแพรกระจายเชือ้ ไดด ี และไมจําเปนตอ งปด สถานศกึ ษา แตห ากจะพจิ ารณาเปด สถานศกึ ษา ควรหารือรวมกนั ระหวา งสถานศึกษากับเจา หนา ทส่ี าธารณสขุ ในพืน้ ที่ 5. ควรทําความสะอาดอุปกรณ สิง่ ของ เครื่องใชที่มีผูส ัมผัสจํานวนมาก เชน โตะเรียน ลูกบิดประตู โทรศัพท ราวบนั ได คอมพิวเตอร ฯลฯ โดยการใชน้ําผงซักฟอกเช็ดทําความสะอาดอยางนอยวันละ 1-2 ครั้ง จัดใหมีอางลางมือ น้าํ และสบูอ ยางเพียงพอ ในบางวันควรเปดประตูหนาตางใหอากาศถายเทไดสะดวก และแสงแดดสอ งไดท ่ัวถงึ คําแนะนําสําหรบั สถานประกอบการและสถานท่ที าํ งาน 1. แนะนาํ ใหพนกั งานทม่ี อี าการปวยคลายไขหวัดใหญ พักรักษาตัวท่ีบาน หากมีอาการปวย รุนแรง ควรรีบไปพบแพทย 2. ตรวจสอบจํานวนพนักงานที่ขาดงานในแตละวัน หากพบขาดงานผิดปกติ หรือตั้งแต 3 คนขึ้นไปในแผนกเดียวกัน และสงสัยวาปวยเปนไขหวัดใหญ ใหแจงตอเจาหนาทีส่ าธารณสุข ในพื้นที่ เพื่อ สอบสวนและควบคมุ โรค 3. แนะนําใหพนักงานที่เดินทางกลับจากตางประเทศ เฝาสังเกตอาการของตนเอง เปน เวลา 7 วนั ถา มอี าการปว ยใหห ยดุ พักรักษาตวั ท่บี าน 4. ในสถานการณปจจุบัน ยังไมแนะนําใหปดสถานประกอบการหรือสถานที่ทํางาน เพื่อ การปอ งกนั การระบาดของโรคไขหวัดใหญ 5. ควรทําความสะอาดอุปกรณ สิ่งของ เครื่องใช ที่มีผูสัมผัสจํานวนมาก เชน โตะ ทํางาน ลูกบิดประตู โทรศัพท ราวบันได คอมพิวเตอร ฯลฯ โดยการใชน้ําผงซักฟอกทั่วไปเช็ดทําความสะอาด อยา งนอ ยวนั ละ 1-2 ครัง้ จัดใหมอี า งลา งมอื นํ้าและสบูอ ยางเพียงพอ ในบางวันควรเปดประตู หนาตาง ใหอากาศ ถา ยเทไดส ะดวก และแสดงแดดสอ งไดทัว่ ถึง 6. ควรจัดทําแผนการประคองกิจการในสถานประกอบการและสถานที่ทํางาน เพื่อให สามารถดาํ เนนิ กจิ การตอ ไปไดอ ยา งตอ เนอ่ื ง หากเกดิ การระบาดใหญ แหลง ขอ มลู การตดิ ตอเพ่อื ปรึกษากับเจา หนาท่สี าธารณสขุ ในพืน้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร ติดตอไดที่ กองควบคุมโรค สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร โทรศัพท 0-2245-8106, 0-2246-0358 และ 0-2354-1836 2. ตา งจังหวดั ติดตอ ไดท ่ี สํานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดทกุ แหง ติดตามขอ มลู และรายละเอียดเพิม่ เติมไดทเี่ ว็บไซตกระทรวงสาธารณสุข www.moph.go.th และหาก มีขอสงสัย สามารถติดตอไดที่ ศูนยปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค หมายเลขโทรศัพท 0-2590-3333 และศูนยบริการ ขอมลู ฮอดไลน กระทรวงสาธารณสุข หมายเลขโทรศัพท 0-2590-1994 ตลอด 24 ชั่วโมง

104 กิจกรรม ใหผเู รยี นศึกษาและรวบรวมขอมลู การเจบ็ ปวยดว ยโรคตดิ ตอทีร่ ะบาดอยูในชวงเวลา ปจ จุบนั พรอ มบอกวธิ กี ารปอ งกนั และแกปญหาในชมุ ชน ช่อื โรค.....................................................................................  อาการ.................................................................................................................................................. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………  เช้ือโรคและพาหะนําโรค.................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………  การปอ งกนั และการรกั ษา.................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………  การแกป ญ หาการแพรร ะบาดในชมุ ชน โดยวธิ ี.................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

105 บทที่ 6 ยาแผนโบราณและยาสมุนไพร สาระสาํ คญั ปจจุบันประชาชนหันมานิยมใชยาแผนโบราณและยาสมุนไพรกันมากขึน้ การศึกษา ถึง สรรพคุณและวิธีการใชยาแผนโบราณและยาสมุนไพรที่ถูกตอง จะชวยใหประชาชนรูจ ักการดูแลรักษาสุขภาพ ดว ยตนเองอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพและปลอดภยั ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั เพ่ือใหผูเรียนสามารถ 3. บอกสรรพคุณและวธิ ีการใชยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพรทีส่ าํ คัญได 4. อธบิ ายอันตรายท่ีอาจเกดิ ขน้ึ จากการใชย าแผนโบราณและยาสมนุ ไพรได ขอบขา ยเนื้อหา หลกั และวิธกี ารใชย าแผนโบราณและยาสมนุ ไพร อนั ตรายจากการใชย าแผนโบราณและยาสมนุ ไพร เรื่องท่ี 1 เรือ่ งท่ี 2 เร่ืองท่ี 1 หลกั และวิธีการใชยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร ปจจุบันมีการสนับสนุนใหใช “สมุนไพร” ในการรักษาโรคตาง ๆ และมีผลิตภัณฑสมุนไพร ออกมามากจนเกดิ การสบั สนระหวา ง “สมนุ ไพร” และ “ยาแผนโบราณ” ซง่ึ “ยาสมุนไพร” นั้น จะหมายถึง ยาที่ได จากพฤกษชาติ สัตว หรือแร ซึง่ มิไดผสมปรุงหรือแปรสภาพในขณะที่ “ยาแผนโบราณ” เปนการนําเอาสมุนไพร

106 มาแปรรูปแลวอาจจะอยูใ นรูปยาน้ํา ยาเม็ด หรือแคปซูล ซึ่งยาแผนโบราณนี้ การจะผลิตหรือนําสัง่ เขามาจะตอง ไดร บั อนญุ าตจาก อย. กอ น รวมทง้ั การขายยาแผนโบราณตอ งขายเฉพาะในรา นขายยาแผนโบราณหรือในรานขาย ยาแผนปจจุบนั เทานัน้ 1.1 หลักและวิธีการใชย าแผนโบราณ ความหมายของยาแผนโบราณ ตามพระราชบญั ญตั ิ พ.ศ. 2510 ไดแ บง ออกเปน 2 แบบ คือ ยาแผนปจจุบันและยาแผนโบราณ “ยาแผนโบราณ” คือ ยาทีม่ ุง หมายสําหรับใชในการประกอบโรคศิลปแผนโบราณ ซึง่ เปนยาทีอ่ าศัยความรูจ าก ตาํ ราหรอื เรียนสืบตอกนั มา อันมใิ ชการศึกษาตามหลักวิทยาศาสตร และยาแผนโบราณ ท่ียอมรับของกฎหมายยา จะตอ งปรากฏในตาํ รายาที่รฐั มนตรีประกาศหรอื เปน ยาท่ีรัฐมนตรีประกาศหรอื รบั ข้ึนทะเบียนเทานั้น การควบคมุ ยาแผนโบราณตามกฎหมายทค่ี วรรู 1. การผลิต นําเขา และการขายยาแผนโบราณ จะตองไดรับอนุญาตจากสํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา หรอื สํานกั งานสาธารณสขุ จังหวัด และตองจดั ใหผูประกอบโรคศลิ ปแผนโบราณเปน ผูมหี นา ทีป่ ฏิบตั ิการประจําอยูตลอดเวลาท่เี ปด ทาํ การ 2. หามมิใหผูร ับอนุญาตผลิตยา ขาย หรือนําเขายาแผนโบราณนอกสถานที่ทีไ่ ดกําหนดไว ในใบอนญุ าต เวนแตเ ปน การขายสงตรงตอผรู บั อนุญาตขายยาแผนโบราณ 3. ตํารับยาแผนโบราณทีผ่ ลิตหรือนําเขาอยางถูกตองตามกฎหมาย จะตองขอขึ้นทะเบียน ตาํ รับยาและไดเลขทะเบียนจงึ จะผลติ หรอื นาํ เขา ได 4. ยาแผนโบราณที่รับขนึ้ ทะเบยี น ตองเปนยาที่มีสรรพคุณเปนท่ีเชื่อถือไดและปลอดภัยใน การใช 5. ผูผลิต ขาย หรือนําเขายาแผนโบราณ โดยไมไดรับอนุญาต จะมีความผิดตองระวางโทษ จาํ คุกไมเกนิ 3 ป และปรับไมเกนิ 5,000 บาท (หา พนั บาท) 6. ผูผลติ ขาย หรือนําเขายาท่ีไมไ ดขน้ึ ทะเบยี น จะมีความผดิ ตอ งระวางโทษจําคุก ไมเกิน 3 ป หรือปรบั ไมเ กิน 5,000 บาท (หา พนั บาท) หรอื ทงั้ จําทั้งปรับ 7. ผทู ี่ผลติ ยาปลอมจะมีความผดิ ตอ งระวางโทษจาํ คุกตั้งแต 3 ปถงึ ตลอดชีวติ และปรบั ตัง้ แต 10,000 บาท – 50,000 บาท (หนึ่งหมนื่ ถงึ หา หมื่นบาท) 8. ผูท ี่ขายยาปลอมจะมีความผิด ตองระวางโทษจําคุกตัง้ แต 1 ป – 20 ป และปรับ ตั้งแต 2,000 – 10,000 บาท (สองพันถึงหนง่ึ หมืน่ บาท) 9. ผูท ีโ่ ฆษณาขายยาโดยฝาฝนกฎหมาย ตองระวางโทษ ปรับไมเกิน 100,000 บาท (หน่ึง แสนบาท) รายละเอยี ดจะกลา วตอ ไป ปญ หายาแผนโบราณท่ีพบในปจ จบุ นั

107 แมวาจะมีกฎหมายและหนวยงานทีค่ อยควบคุมการผลิตและการขายยาแผนโบราณเพื่อคุมครองให ผูบริโภคปลอดภัยจากการใชยาแผนโบราณ แตก็ไมสามารถท่ีจะขจัดปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนได ไมวาจะเปนการ ลักลอบผลิตและขายยาแผนโบราณโดยไมไดขออนุญาตผลิตและขายจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรอื สาํ นกั งานสาธารณสุขจงั หวัด การขายยาแผนโบราณท่ีไมไดข ้นึ ทะเบียนหรอื ยาปลอม อันตรายจากการรบั ประทานยาแผนโบราณท่ีไมไดข ึ้นทะเบียนหรอื ยาปลอม ในปจจุบันพบวา มียาแผนโบราณทีไ่ มไดขึน้ ทะเบียนหรือยาปลอมกอใหเกิดอันตรายตอผูบ ริโภคได เชน มีการปนเปอ นของจุลินทรียทีก่ อใหเกิดโรค หรือการนําสารเคมีทีไ่ มปลอดภัยตอผูบ ริโภคมาใสในยาแผน โบราณ เชน เมธลิ แอลกอฮอล คลอโรฟอรม การใสย าแกป วด แผนปจจุบัน เชน อินโดเมทาซิน หรือแมแตการนํา ยาเฟนิลบิวตาโวนและสเตียรอยด ซึ่งเปนยาควบคุมพิเศษ ซึง่ มีผลขางเคียงสูงผสมลงในยาแผนโบราณ เพือ่ ให เกิดผลในการรักษาที่รวดเร็ว แตจะทําใหเกิดอันตรายตอผูบ ริโภค คือ ทําใหเกิดโรคกระดูกผุ โรคความดันโลหิต สูง โรคเบาหวาน และโรคกระเพาะได เปนตน การเลือกซื้อยาแผนโบราณ เพื่อความปลอดภัยในการใชยาแผนโบราณ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขอแนะนํา วธิ กี ารเลอื กซอ้ื ยาแผนโบราณ ดังน้ี 1. ควรซื้อยาแผนโบราณจากรา นขายยาทีม่ ีใบอนญุ าตและมีเลขทะเบียนตาํ รับยา 2. ไมควรซื้อยาแผนโบราณจากรถเรขาย เพราะอาจไดรับยาที่ผลิตขึ้นโดยผูผลิต ที่ ไมไดม าตรฐาน ซ่ึงอาจมีการปนเปอ นของจุลินทรียในระหวา งการผลิตอาจทําใหเกดิ อนั ตรายตอผบู ริโภคได 3. กอนซื้อยาแผนโบราณ ควรตรวจดฉู ลากยาทุกคร้ังวา มีขอความดังกลา วนห้ี รือไม  ชือ่ ยาเลขที่หรือรหัสใบสําคัญการขึ้นทะเบียนยา ปริมาณของยาที่บรรจุเลขที่ หรอื อักษรแสดงครง้ั ที่ผลติ  ชือ่ ผผู ลติ และจงั หวัดที่ตั้งสถานท่ีผลิตยาวัน เดือน ป ที่ผลิตยา คําวา “ยา แผนโบราณ” ใหเ ห็นไดชดั เจน  คําวา “ยาใชภายนอก” หรือ “ยาใชเฉพาะที่” แลวแตกรณี ดวยอักษรสีแดงเห็น ไดชัดเจน ในกรณีเปนยาใชภายนอกหรือยาใชเฉพาะที่ คําวา “ยาสามัญประจําบาน” ในกรณีเปนยาสามัญประจํา บา น คาํ วา “ยาสาํ หรับสตั ว” ในกรณเี ปนยาสาํ หรับสัตว วธิ สี งั เกตเลขทะเบยี นตาํ รบั ยาแผนโบราณ มดี ังนี้ 1. หากเปนยาแผนโบราณทีผ่ ลิตในประเทศ จะขึ้นตนดวยอักษร G ตามดวยเลขลําดับที่ อนญุ าต/ป พ.ศ. เชนเลขทะเบียน G20/42 2. หากเปน ยาแผนโบราณที่นาํ เขา จากตา งประเทศ จะขน้ึ ตนดว ยอักษร K ตามดวยเลขลําดับ ทีอ่ นุญาต/ป พ.ศ. เชนเลขทะเบียน D15/42 สําหรับการโฆษณายาทุกชนิดไมวาจะเปนยาแผนโบราณหรือแผน ปจจบุ ัน ตามพระราชบญั ญตั ยิ า พ.ศ. 2510 มาตรา 88 โดยสรุปคือ หามโฆษณาโออวดสรรพคุณวา สามารถบําบัด บรรเทา รักษาหรือปองกันไดอยางศักดิ์สิทธิห์ รือหาย นอกจากนี้ยังหามโฆษณาเปนเท็จหรือเกิดความจริง หาม โฆษณาสรรพคุณยาวาสามารถบําบัดบรรเทา รักษาหรือปองกันโรคหรืออาการของโรคทีร่ ัฐมนตรีประกาศตาม มาตรา 77 ไดแก โรคเบาหวาน มะเร็ง อัมพาต วัณโรค โรคเรื้อน โรคหรืออาการโรคของสมอง หัวใจ ปอด

108 ตับ มาม และไต (เวนแตจะเปนการโฆษณาโดยตรงตอผูป ระกอบโรคศิลป ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือ ผูป ระกอบการบําบัดโรคสัตว) ผูใดโฆษณา ขายยาโดยฝาฝนมาตรา 88 ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึง่ แสน บาท ดังนัน้ ถาผูบ ริโภคพบเห็นการโฆษณาโออวดดังกลาว สามารถแจงรองเรียนไดทีส่ ํานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา หรอื ทส่ี ํานักงานสาธารณสุขจงั หวัดทกุ แหง การซือ้ ยาแผนโบราณคร้ังใดควรเลอื กยาทีม่ เี ลขทะเบยี นตํารับยาและซอ้ื จากรานท่ีมใี บอนญุ าต เทานัน้ จงึ จะปลอดภัยในการใชยาแผนโบราณ 1.2 หลกั และวิธีการใชยาสมุนไพร ในปจ จบุ นั คาใชจ ายทางดา นสุขภาพของคนไทยเพมิ่ ขึ้นตามลําดับ ในแตล ะปป ระเทศชาติตอง เสยี งบประมาณในการสง่ั ซอ้ื ยา และเวชภณั ฑจ ากตา งประเทศเปน จาํ นวนมาก กระทรวงสาธารณสขุ ไดพยายามหา กลวธิ ใี นการใชทรัพยากรและภูมปิ ญญาทอ งถ่ิน เพ่ือการปองกัน สงเสริมสุขภาพและรกั ษาโรค สมุนไพรไทยและ การแพทยแผนไทยนับเปนทางเลือกหนึ่งของประชาชนซง่ึ กาํ ลังไดรบั ความนิยมอยา งแพรหลาย เพราะเปนการใช ทรพั ยากรและภมู ิปญ ญาไทยทีน่ อกจากมคี วามปลอดภยั แลวยงั เปน การประหยดั เงินตราของประเทศอกี ดวย สมุนไพรตามพระราชบัญญัติยา หมายถึง ยาที่ไดจากพืช สัตว หรือแรธาตุ ซึง่ ยังไมไดผสม ปรุง หรือแปรสภาพ แตในทางการคาสมุนไพรมักจะถูกดัดแปลงสภาพไป เชน หัน่ เปนชิน้ ใหเล็กลง บดเปนผงให ละเอยี ด นาํ ผงทบี่ ดมาอัดเปน เมด็ หรือนํามาใสแ คปซูล ในปจจุบันไดมีการนําสมุนไพรมาใชอยางกวางขวาง เชน ใชเปนอาหาร อาหารเสริม เครื่องดมื่ ยารกั ษาโรค เครื่องสาํ อาง สวนประกอบในเคร่ืองสําอาง ใชแตงกลิ่นและสีอาหาร ตลอดจน ใชเปน ยาฆา แมลง สว นของพชื ท่ีนํามาใชเ ปนสมนุ ไพร สวนของพืชที่เรานํามาใชเปนยานั้นมีหลายสวนขึ้นอยูกับตัวยาวาใชสวนใดของพืช ซึ่ง สวนของพืชทีน่ ํามาใชเปน สมุนไพร มีดังน้ี 1. ราก (Root) รากของพชื จะมี 2 แบบ คือ แบบทีม่ ีรากแกวและรากฝอย ซึ่งสามารถนํามาใช ทําเปน ยาไดท้งั 2 แบบ 2. ลาํ ตน (Stem) สามารถแบงไดเปน 2 ชนดิ คอื ลาํ ตนเหนอื ดนิ (Aerial Stem) ไดแก พชื ทม่ี ีลาํ ตนอยเู หนือดินท้งั หลาย มีทง้ั ตน ใหญแ ละตน เลก็ อาจนําเปลอื กหรือเน้ือไมมาทําเปนยาได

109 ลําตนใตดิน (Underground Stem) จะมีลักษณะคลายราก แตจะมีขนาดใหญ มีรูปรางตาง ๆ ซงึ่ เราเรียกสวนทอ่ี ยูใตดนิ วา “หวั ” หรอื “เหงา” 3. ใบ (Leaf) ใบของพืชจะมีรูปรางแตกตางกันไป เชน รูปเรียวยาว รูปรี รูปไข รูปใบหอก รูปหัวใจ รปู ไต รปู โล เปน ตน 4. ดอก (Flower) ดอกไมจ ะประกอบดว ย กลบี เล้ยี ง กลีบดอก เกสรตัวผู และเกสรตัวเมีย ซ่ึง จะตดิ อยบู นฐานรองดอก 5. ผล (Fruit) อาจเรยี กเปนผลหรือเปนฝกกไ็ ด สมุนไพรไทยทค่ี วรรจู ัก สมุนไพรไทยทจ่ี ะกลา วในท่นี จี้ ะกลา วเฉพาะช่ือของพืชที่สามารถนํามาใชเปนยาในการรักษา ปองกัน และเสริมสรางสุขภาพได ซึ่งสมุนไพรไทยนั้นมีจํานวนมากมายมหาศาล ตอไปนี้ จะกลาว เฉพาะที่เราไดพ บเหน็ กันอยูบอย ๆ บางครง้ั อาจคิดไมถ ึงวา เปนสมุนไพร พอจะยกตวั อยางไดดังนี้ กระเทียม หอม กระชาย กะเพรา กระวานไทย กานพลู ขา ขิง ขมิ้นชัน ดีปลี ตะไคร พริกไทย มะละกอ สับปะรด กลวยน้ําวา ขี้เหล็ก ฝกคูน ชุมเห็ดเทศ ชุมเห็ดไทย มะขาม มะขามเทศ มะขามปอม หญาคา หญาหนวดแมว หญาปกกิ่ง วานหางจระเข ใบบัวบก ใบพลับพลึง ใบแมงลัก เพชรสังฆาต ฝรั่ง ทับทิม มังคุด ฟาทะลายโจร ยอ ผักคราดหัวแหวน บอระเพ็ด ชิชาลาลี ยานาง กระเจี๊ยบ แดง ขลู ออยแดง มะกรูด มะนาว แวงเครือ เพกา มะแวง ตนไพล พลู ชองระอา หญาปลองทอง วาน มหากาฬ ผักบุงทะเล สาบเสือ กะเม็ง วานหางชาง เหงือกปลาหมอ ทองพันชั่ง ประคําดีควาย พญาไรใบ นอ ยหนา สมปอ ย เอน็ ออ น วา นชกั มดลกู หนมุ านประสานกาย วา นนาํ้ แกน ขนนุ ชะลดู เปราะหอม วา นนาง คาํ วิธีใชสมนุ ไพร สมนุ ไพรที่มีการนํามาใชใ นปจ จบุ นั น้มี กั นาํ มาปรงุ เปน ยาเพ่ือใชร กั ษา ปองกัน และสรางเสริม สุขภาพ แตส วนมากจะเปนการรักษาโรค ทพี่ บมากมดี งั นี้ 1. ยาตม อาจเปนสมนุ ไพรชนดิ เดยี วหรือหลาย ๆ ชนดิ กไ็ ดท ี่นํามาตม เพื่อใหสาระสําคัญที่ มีในสมุนไพรละลายออกมาในน้าํ วิธีเตรียมทําโดยนําสมุนไพรมาใสลงในหมอ ซึ่งอาจเปนหมอดินหรือหมอที่ เปน อะลมู เิ นียม สเตนเลสกไ็ ด แลวใสน้ําลงไปใหท ว มสมนุ ไพร แลวจงึ นําไปต้ังบนเตาไฟ ตมใหเดือดแลว เค่ียวตอ

110 อีกเล็กนอย วิธีรับประทานใหรินน้าํ สมุนไพรใสถวยหรือแกว หรือจะใชถวยหรือแกวตักเฉพาะน้ําขึน้ มาใน ปริมาณพอสมควร หรือศึกษาจากผูขายยาบอก ยาตมบางชนิดสามารถใชไดเกินกวา 1 ครั้ง ดวยการเติมน้ําลงไป แลวนํามาตมแลวเคี่ยวอีกจนกวารสยาจะจืดจึงเลิกใช เรามักเรียกยานีว้ า “ยาหมอ” จะมีรสชาติและกลิน่ ทีไ่ มนา รับประทาน น้าํ หนกั ของสมนุ ไพรทีน่ าํ มาตมนัน้ แตล ะชนิดมกั จะชัง่ ซง่ึ มีหนวยนาํ้ หนกั เปนบาท ตามรานที่ ขายจะมเี ครอ่ื งชง่ั ชนดิ น้ี แตถ า หมอทจ่ี า ยยา ไมช ง่ั กจ็ ะใชวิธีกะปริมาณเอง ในการตมยานี้ถาเปนสมุนไพรสด จะออกฤทธ์ดิ กี วา สมุนไพรแหง แตต ามรา นขายยาสมุนไพรมกั เปนสมุนไพรแหง เพราะจะเกบ็ ไวไ ดน านกวา 2. ยาผง เปนสมุนไพรที่นํามาบดใหเปนผง ซึ่งตามรานขายขาสมุนไพรจะมีเครื่องบด โดย คิดคาบดเพิ่มอีกเล็กนอย อาจเปนสมุนไพรชนิดเดียวหรือหลายชนิดก็ไดที่นํามาบดใหเปนผง แลวนํามาใสกลอง ขวด หรือถุง วิธีรับประทานจะละลายในน้าํ แลวใชดื่มก็ได หรือจะตักใสปากแลวดืม่ น้าํ ตามใหละลายในปากได ปจ จบุ นั มกี ารนาํ มาใสแ คปซลู เพอ่ื สะดวกในการรบั ประทาน พกพา และจาํ หนา ย 3. ยาชง วิธีเตรียมจะงายและสะดวกกวายาตม มักมีกลิน่ หอม เตรียมโดยหัน่ เปนชิ้นเล็ก ๆ ตากหรอื อบใหแหง แลว นาํ มาชงนา้ํ ดม่ื เหมอื นกับการชงน้ําชา ปจจุบันมีสมุนไพรหลายอยางที่นํามาชงด่ืม มักเปน สมุนไพรชนิดเดียว เชน ตะไคร หญาหนวดแมว ชาเขียวใบหมอน หญาปกกิ่ง เปนตน ในปจจุบันมีการนํา สมนุ ไพรมาบดเปน ผงแลว ใสซ องมีเชือกผูกติดซอง ใชชงในน้าํ รอนบางชนิดมีการผสมน้าํ ตาลทรายแดงเพือ่ ใหมี รสชาตดิ ขี นึ้ แลว นํามาชงกบั นา้ํ รอ นดืม่ ซึง่ ทง้ั สองรปู แบบน้มี ีขายอยูทั่วไป 4. ยาลูกกลอน เปนการนํายาผงมาผสมกับน้ําหรือน้ําผึ้งแลวปนเปนลูกกลม ๆ เล็ก ๆ วิธี รบั ประทานโดยการนาํ ยาลกู กลอนใสป าก ด่มื น้าํ ตาม 5. ยาเมด็ ปจ จุบันมกี ารนาํ ยาผงมาผสมนา้ํ หรอื นํา้ ผง้ึ แลว มาใสเ ครื่องอดั เปนเม็ด เครื่องมือนี้ หาซื้อไดงาย มีราคาไมแพง ใชมือกดได ไมตองใชเครื่องจักร ตามสถานที่ปรุงยาสมุนไพรหรือวัดที่มีการปรุงยา สมุนไพรมักจะซ้ือเคร่อื งมือชนดิ นีม้ าใช 6. ยาดองเหลา ไดจากการนําสมุนไพรมาใสโหลแลวใสเหลาขาวลงไปใหทวมสมุนไพร ปด ฝาทง้ิ ไวประมาณ 1-6 สัปดาห แลวรินเอาน้าํ มาดืม่ เปนยา ปจจุบันมีการจําหนายเปน “ซุมยาดอง” ซึง่ มีให พบเห็นอยบู าง 7. นาํ มาใชส ด ๆ อาจนาํ มาใชท าบาดแผล หรือใชทาแกพิษ เชน วานหางจระเข ผักบุง ทะเล เปนตน นํามาตําใหแหลกแลวพอติดไวที่แผล เชน หญาคา ใบชุมเห็ด เปนตน นํามายางไฟแลวประคบ เชน ใบ พลบั พลงึ เปน ตน หรอื นาํ มาใชเ ปน อาหาร เชน หอม กระเทยี ม กลว ยนาํ้ วา ขา ขงิ ใบบวั บก เปน ตน

111 เร่อื งที่ 2 อนั ตรายจากการใชย าแผนโบราณและยาสมุนไพร อนั ตรายจากยาแผนโบราณ จากปญหาของยาแผนโบราณในสังคมไทย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) รวมกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ไดมีการติดตามตรวจสอบและเฝาระวังการแพรระบาดของยา สมุนไพรท่ไี มไดข ้นึ ทะเบยี นตํารบั ยาแผนโบราณ ซงึ่ เปนยาปลอมอยา งสมาํ่ เสมอ และจากผลการตรวจวเิ คราะหยา ปลอมเหลานัน้ พบวา มีการปนเปอ นของจุลินทรียทีก่ อใหเกิดโรคหรือการลักลอบนําสารเคมีทีไ่ มปลอดภัยตอ ผูบริโภคมาใสในยาแผนโบราณ เชน เมธทิลแอลกอฮอล คลอโรฟอรม การใสยาแกปวดแผนปจจุบัน เชน อินโด เมทาซิน หรือแมแตการลักลอบนํายาเฟนิลบิวตาโซน และสเตียรอยด ซึง่ เปนยาควบคุมพิเศษทีม่ ีผลขางเคียงตอ รางกายสูง ผสมลงในยาแผนโบราณ เพือ่ ใหเกิดผลในการรักษาที่รวดเร็ว ซึง่ ลวนแตเปนอันตรายตอผูบ ริโภคได โดยเฉพาะสารสเตียรอยด มกั จะพบเพรดนโิ ซโลนและเดกซามีธาโซน (Prednisolone) และ (Dexamethasone) ผสมอยู ในสมนุ ไพรแผนโบราณทไ่ี มไ ดข ึน้ ทะเบียน สารสเตียรอยดทผี่ สมอยใู นยาแผนโบราณกอใหเ กดิ อนั ตรายตอ รางกายไดม ากมาย เชน - ทําใหเกิดแผลในกระเพาะอาหาร อาจถึงขัน้ ทําใหกระเพาะทะลุ ซึ่งพบในผูท ี่รับประทาน ยากลุม นีห้ ลายรายทกี่ ระเพาะอาหารทะลุ ทาํ ใหหนามืด หมดสติ และอาจอันตรายถึงชวี ิตได โดยเฉพาะในผูสูงอายุ หรอื ผูท ีม่ โี รคประจาํ ตัวอยแู ลว - ทาํ ใหเ กดิ การบวม (ตงึ ) ท่ไี มใชอว น - ทาํ ใหก ระดกู ผกุ รอ น และเปราะงา ย นาํ ไปสคู วามทพุ พลภาพได - ทําใหความดันโลหิตสูง และระดับน้ําตาลในเลือดสูงพบในบางรายที่สูงจนถึงขัน้ เปน อันตรายมาก - ทําใหภูมิคุมกันรางกายต่ํา มีโอกาสติดเชื้อไดงาย นําไปสูความเสีย่ งที่จะติดเชื้อและอาจ รุนแรงถึงขัน้ เสียชีวิตได บทกาํ หนดโทษตามกฎหมาย

112 บทกําหนดโทษตามกฎหมายสําหรับผูกระทําความผิดฝาฝนกฎหมายในเรื่องของยาแผน โบราณ มดี ังนี้ ฝา ฝน กฎหมายบทกาํ หนดโทษ 1. ผูผลิต ขาย หรือนําเขายาแผนโบราณ โดยไมไดรับอนุญาตผูฝาฝนตองระวางโทษจําคุก ไมเ กนิ 3 ป และปรบั ไมเกิน 5,000 บาท (หา พนั บาท) 2. ผผู ลิต ขาย หรอื นาํ เขายาทไ่ี มไ ดข น้ึ ทะเบียนตาํ รบั ยาจะมคี วามผิดตอ งระวางโทษจําคุกไม เกนิ 3 ป หรือปรบั ไมเ กนิ 5,000 บาท (หา พนั บาท) หรือทัง้ จาํ ทั้งปรบั 3. ผูท่ผี ลิตยาปลอมจะมคี วามผดิ ตอ งระวางโทษจําคกุ ตงั้ แต 3 ปถงึ ตลอดชวี ิต และปรบั ต้งั แต 10,000 – 50,000 บาท (หน่ึงหมน่ื ถงึ หา หม่นื บาท) 4. ผูท่ีขายยาปลอมจะมคี วามผิดตองระวางโทษจําคุกต้ังแต 1 ป – 20 ป และปรบั ตั้งแต 2,000 – 10,000 บาท (สองพันถงึ หนง่ึ หมืน่ บาท) 5. ผทู ีโ่ ฆษณาขายยาโดยฝา ฝนกฎหมายตองระวางโทษปรบั ไมเกิน 100,000 บาท (หนงึ่ แสน บาท) หลีกเลีย่ งการซือ้ ยาแผนโบราณทีอ่ าจนํามาซึ่งอันตรายเพื่อความปลอดภัยในการใชยาแผน โบราณ มีคาถาทเ่ี ปนขอ หามซ่ึงทา นควรทองจาํ ไวใ หขน้ึ ใจ 1. หา มซอ้ื ยาแผนโบราณจากรถเรข ายตามวัดหรือตามตลาดนดั โดยเดด็ ขาด เพราะอาจไดรับ ยาท่ีผลิตขึ้นโดยผูผ ลิตที่ไมไ ดม าตรฐาน ไมไดร ับอนุญาตใหผลติ ยา ไมไดข อขึ้นทะเบียนตามตํารบั ยา เพราะยาอาจ มีการปนเปอนของจุลินทรียในระหวางการผลิต หรือมีการลักลอบผสมยาแผนปจจุบัน อาทิ สารสเตียรอยด ฯลฯ เพือ่ เรงผลการรักษาใหเร็วขนึ้ นาํ มาซ่ึงอนั ตรายตอผบู รโิ ภคได 2. หามซอื้ ยาแผนโบราณตามคําโฆษณาชวนเชอื่ วา ยาแผนโบราณนนั้ สามารถรักษาโรคตาง ๆ ไดครอบจักรวาล เชน แกปวดเมื่อย เบื่ออาหาร นอนไมหลับ โรคตับ โรคไต โรคหัวใจ หรือโฆษณาวารักษา โรคมะเรง็ โรคเอดสไ ด เพราะลว นเปนการโฆษณาทโ่ี ออ วดเกนิ จริง ไมไ ดร ับอนุญาตใหท ําการโฆษณา 3. หามใชยาที่มีผูอื่นมาเชิญชวนใหลองใชโดยอางวาเขาเคยใชมาแลวไดผล อาการเจ็บปวย หายทันที หรืออาการเจ็บปวยหายขาด เลอื กซอื้ ยาแผนโบราณอยา งไรจึงปลอดภัย ที่ หากทา นมอี าการเจบ็ ปว ย และมคี วามจําเปน ทจ่ี ะตอ งซื้อยาแผนโบราณมาใชโปรด 1. ซอ้ื ยาจากรา นขายยาท่มี ใี บอนุญาตขายยาเทานั้น 2. สังเกตฉลากยาแผนโบราณทีต่ องการซือ้ (จากรานขายยาที่มีใบอนุญาตขายยา) ฉลากตอ งมีขอความสาํ คัญตาง ๆ ดังน้ี - ชอ่ื ยา - เลขที่หรอื รหัสใบสาํ คัญการข้นึ ทะเบียนยา ซ่งึ ก็คือเลขทะเบียนตาํ รบั ยานั่นเอง - ปริมาณของยาท่ีบรรจุ - เลขทหี่ รอื อกั ษรแสดงครัง้ ท่ีผลติ - ชื่อผผู ลิตและจงั หวัดท่ีตงั้ สถานท่ีผลติ ยา - วัน เดือน ป ทีผ่ ลติ ยา

113 - คาํ วา “ยาแผนโบราณ” ใหเห็นชัดเจน - คําวา “ยาใชภายนอก” หรือ “ยาใชเฉพาะที่” แลวแตกรณีดวยอักษรสีแดง เห็นได ชดั เจน ในกรณที เ่ี ปน ยาใชภ ายนอก หรอื ยาใชเ ฉพาะท่ี - คาํ วา “ยาสามญั ประจาํ บา น” ในกรณเี ปนยาสามัญประจาํ บาน - คาํ วา “ยาสาํ หรับสตั ว” ในกรณีเปน ยาสําหรับสตั ว อยางไรก็ตามในกรณีที่ฉลากบนภาชนะบรรจุยาแผนโบราณมีขนาดเล็กตั้งแต 3 ตารางนิว้ ลงมาผูผ ลิตจะไดรับการยกเวนใหไมตองแสดงบางขอความทีก่ ลาวขางตน อยางไรก็ตาม ฉลากยาแผน โบราณอยา งนอ ยจะตองแสดงขอความ ช่อื ยา เลขทะเบยี นตํารบั ยา วันเดอื นปทผ่ี ลติ ใหผ บู รโิ ภครบั ทราบ วธิ สี งั เกตเลขทะเบยี นตาํ รบั ยาแผนโบราณ มดี ังน้ี 1. หากเปนยาแผนโบราณทีผ่ ลิตในประเทศ จะขึน้ ตนดวยอักษร G ตามดวยเลขลําดับที่ อนญุ าต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบียน G20/42 2. หากเปนยาแผนโบราณที่นําเขาจากตางประเทศ จะขึน้ ตนดวยตัวอักษร K ตามดัวยเลข ลําดับทีอ่ นุญาต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบียน K15/42 3. หากเปนยาแผนโบราณที่แบงบรรจุ จะขึ้นตนดวยตัวอักษร H ตามดวยเลขลําดับ ที่ อนญุ าต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบียน H999/45 พบปญหาหรือมีขอ สงสัยเกีย่ วกับยาแผนโบราณตดิ ตอ ท่ีใด 1. พบยาแผนโบราณทไ่ี มม เี ลขทะเบียนตํารบั 2. พบการขายยาจากรถเรขาย การขายยาตามวัด แผงลอยและตลาดนัด และสงสัยวาเปนยา ปลอม 3. พบการโฆษณายาแผนโบราณที่โออวดสรรพคุณวาสามารถบําบัด บรรเทา รักษาหรือ ปองกันโรคไดอ ยางศักด์ิสทิ ธิ์หรือหายขาด 4. สงสัยเกี่ยวกับยาแผนโบราณทานสามารถติดตอไปไดที่สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดทุก แหง หรอื สํานกั งานคณะกรรมการอาหารและโปรดอยา ลมื ....... ซ้ือยาแผนโบราณครงั้ ใดตองซ้ือจากรานขายยาที่มี ใบอนุญาตเทานน้ั และตรวจสอบฉลากใหรอบคอบกอ นซอื้ วายานั้นมเี ลขทะเบยี นตํารบั ยาทถ่ี กู ตอง 2.2 อันตรายจากการใชยาสมุนไพร การใชสมุนไพรเพื่อการบํารุงสุขภาพและรักษาโรคไดสืบทอดมาชานาน ปจจุบันไดรับความ นิยมมากขึ้น และไดรับการสนับสนุนจากกระทรวงสาธารณสุข โดยมีการศึกษาคนควาอยางจริงจัง เชน การ สง เสริมใหใ ชยาสมุนไพรและการบริการทางการแพทยแผนไทยในโรงพยาบาลท่ัวไป ผลิตภัณฑสมุนไพรทัว่ ไปจัดอยูใ นจําพวกอาหารหรือสวนประกอบอาหารที่ฉลาก ไม ตองระบุสรรพคุณทางการแพทยหรอื ขนาดรับประทาน ดังนั้น ผูใชผลิตภัณฑสมุนไพรสวนมากจึงตองศึกษาจาก หนงั สือหรอื ขอคําปรกึ ษาจากผูรหู รือแพทยทางเลือก เชน แพทยแ ผนไทย แพทยแ ผนจีน เปน ตน สําหรบั สมุนไพรทใี่ ชเปน ยาสวนมากจะทําในรูปชา สําหรับใชชงด่ืม ซึง่ มักมีรสขม หรือมีรส เฝอน ทัง้ นีไ้ มควรหลงเชือ่ ชาสมุนไพรรสดีทีม่ ีขายทั่วไป เพราะมักมียาสมุนไพรผสมอยูน อยมาก นอกจากนีย้ า

114 สมุนไพรที่อยูในรูปของยาชงดื่มแลว ยังมียาตม ยาดอง ยาผง ยาลูกกลอน และยาใชภายนอกดวย เปนยากพอก หรือยาประคบ ขอ ควรระวงั ในการใชย าสมนุ ไพร 1. พืชสมุนไพรหลายชนิดมีพิษโดยเฉพาะถาใชไมถูกสวน เชน ฟาทะลายโจร ควรใชสวน ใบออน แตไมควรใชกานหรือลําตน เพราะมีสารไซยาไนตประกอบอยู ดังนัน้ กอนใชยาสมุนไพรตองแนใจวามี อะไรเปน สวนประกอบบาง 2. กอนใชยาสมุนไพรกบั เด็กและสตรีมคี รรภ ตองปรึกษาแพทยกอ นทกุ ครง้ั 3. การรับประทานยาสมุนไพรควรรับประทานตามปริมาณและระยะเวลาทีแ่ พทยแนะนํา หากใชในปริมาณทเ่ี กินขนาดอาจเกิดผลขา งเคียงท่ีเปนอันตรายมาก 4. ตองสังเกตเสมอวา เมื่อใชแลวมีผลขางเคียงอะไรหรือไม หากมีอาการผิดปกติ เชน ผื่น คนั เวยี นศรี ษะ หายใจไมส ะดวก หรอื มอี าการถายรุนแรง ควรรีบปรกึ ษาแพทยโดยเร็ว สรุป ยาทุกประเภทมีท้งั คณุ และโทษ การใชย าโดยขาดความรูความเขาใจหรือใช ไมถูก กับโรค ไมถูกวิธี นอกจากไมเกิดประโยชนในการรักษาแลว ยังอาจกอใหเกิดอันตรายได โดยเฉพาะยาแผน โบราณและยาสมุนไพรที่มีขายอยูทั่วไป มีจํานวนไมมากนักที่ผานกระบวนการผลิตที่ไดมาตรฐาน ดังนั้น การ เลือกใชยาดังกลาวจงตองคัดเลือกยาทีไ่ ดรับมาตรฐานอาหารและยา (อย.) ตลอดจนตองทราบสรรพคุณและ วธิ กี ารใชท ีถ่ กู กบั สภาพและอาการเจ็บปว ยของแตละบุคคล จึงจะเกดิ ประโยชนตอสุขภาพอยางแทจริง ทั้งนี้ กอน ใชยาทกุ ประเภทควรคาํ นงึ ถึงหลักการใชยาท่ัวไป โดยอานฉลากยาใหล ะเอียดและใชอยางระมัดระวงั ดงั นี้ ถกู ขนาด หมายถงึ ใชย าในปรมิ าณท่ไี ดผ ลในการรักษา ไมใ ชในปรมิ าณทีม่ าก หรอื นอ ยเกินไป ถกู เวลา หมายถงึ ใชยาใหถ กู ตองตามวธิ กี ารใชท ี่ระบุในฉลากยา ถกู เวลา หมายถงึ ใชย าใหถ กู ตอ งตามเวลาทร่ี ะบใุ นฉลาก เชน - ยากอ นอาหาร ควรรับประทานกอนมือ้ อาหารอยา งนอ ย ครง่ึ ชั่วโมง - ยาหลงั อาหาร ควรรบั ประทานหลงั อาหารไปแลว อยา งนอ ย 15 นาที - ยากอ นอาหาร ควรปรับประทานหลงั อาหารมื้อเยน็ ประมาณ 3-4 ช่ัวโมง ถูกโรค หมายถงึ ใชย าใหถูกกับอาการเจ็บปว ยหรือโรคทีเ่ ปน ซ่งึ จะตองไดร ับ การวินิจฉัยจากแพทยหรือผรู ูเฉพาะดา นอยางถกู ตอ งเสียกอ น

115 กจิ กรรม ใหผ เู รยี นรวบรวมขอมูลตาํ รบั ยาแผนโบราณและยาสมุนไพรท่มี ีในทองถน่ิ อยา งนอย 2 ชนิด พรอ มบอกสรรพคณุ วธิ ีการใช สว นประกอบสําคัญ และผลขางเคยี งหรอื ขอ ควรระวังในการใช ดงั น้ี ยาแผนโบราณ • ชอ่ื ยา • สรรพคุณ • สว นประกอบสาํ คญั • วธิ กี ารใช • ขอควรระวงั ยาสมนุ ไพร • ชอ่ื ยา • สรรพคณุ • สวนประกอบสําคัญ • วธิ กี ารใช • ขอ ควรระวงั

116 บทที่ 7 การปอ งกนั สารเสพตดิ สาระสําคญั ความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับปญหา สาเหตุ ประเภท และอันตรายของสารเสพติด ตลอดจน ลักษณะอาการของผตู ิดสารเสพติด และสามารถรวู ิธีการปอ งกนั และหลกี เลีย่ งพฤตกิ รรมเส่ียงตอสารเสพตดิ ได ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง เพื่อใหผูเรียนสามารถ 5. อธบิ ายและบอกประเภทและอนั ตรายของสารเสพตดิ ได 6. อธิบายและบอกลักษณะอาหารของผูต ิดสารเสพตดิ ได 7. อธิบายถงึ วธิ ีการปองกนั และหลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมเส่ยี งตอ สารเสพตดิ ได ขอบขา ยเนอ้ื หา ปญ หา สาเหตุ ประเภท และอนั ตรายของสารเสพตดิ ลกั ษณะอาการของผตู ดิ ยาเสพตดิ เร่อื งที่ 1 การปอ งกันและหลีกเลีย่ งการตดิ สารเสพตดิ เรอื่ งท่ี 2 เร่อื งที่ 3 เรือ่ งที่ 1ปญหา สาเหตุ ประเภท และอันตรายของสารเสพติด สถานการณปจ จบุ ันพบวา ภาวการณแ พรระบาดของการใชส ารเสพติดไดแพรระบาดเขาไปถึง ทุกเพศทุกวัย ทุกกลุมอายุ สงผลกระทบตอสุขภาพพลานามัยของบุคคลกลุมนัน้ ๆ โดยเฉพาะการใชยาเสพติด ในทางที่ผิดของกลุมเยาวชนที่กําลังศึกษาเลาเรียนในสถานศึกษา หรือนอกสถานศึกษา หรือกลุมเยาวชนนอก ระบบการศกึ ษา สารเสพตดิ หมายถงึ ยาเสพตดิ วตั ถอุ อกฤทธ์ิ และสารระเหย ยาเสพติด ทีจ่ ะกลาวในทีน่ ี้คือ ยาเสพติดใหโทษ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2528 และฉบับที่ 3 พ.ศ. 2530) ซ่งึ หมายถึงสารเคมวี ตั ถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเขาสูรางกายไม วาจะรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือดวยประการใด ๆ แลวทําใหเกิดผลตอรางกายและจิตใจในลักษณะสําคัญ เชน ตองเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเปนลําดับ มีการถอนยาเมื่อขาดยา มีความตองการเสพทั้งทางรางกายและจิตใจอยาง รุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยทัว่ ไปจะทรุดโทรมลงกับใหรวมตลอดถึงพืชหรือสวนของพืชที่เปนหรือให ผลผลิตเปนยาเสพติดใหโทษ หรืออาจใชผลิตเปนยาเสพติด ใหโทษ และสารเคมีท่ีใชในการผลิตยาเสพติดใหโทษ

117 ดวย ทั้งน้ีตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา แตไมหมายความถึงยาสามัญประจําบานบางตําราตาม กฎหมายวา ดว ยยาทม่ี ยี าเสพตดิ ใหโ ทษผสมอยู 1.3 ประเภทของสารเสพติด ยาเสพติดใหโทษแบงได 5 ประเภท [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 135 (พ.ศ. 2539) เรอื่ งระบชุ ่อื และประเภทยาเสพตดิ ใหโทษตามพระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโทษ พ.ศ. 2522] ดงั นี้ 1. ยาเสพติดใหโทษประเภท 1 เชน เฮโรอีน เมทแอมเฟตามีน เอ็มดีเอ็มเอ (ยาอี) ยาเสพติด ใหโทษประเภทนี้ไมใชป ระโยชนท างการแพทย 2. ยาเสพติดใหโทษประเภท 2 เชน มอรฟน โคเคอีน เพทิดีน เมทาโดน และฝน ยาเสพติด ใหโทษประเภทนี้มีประโยชนทางการแพทย แตก็มีโทษมาก ดังนั้นจึงตองใชภายใตความควบคุมของแพทย และ ใชเฉพาะในกรณที จ่ี ําเปนเทา นน้ั 3. ยาเสพติดใหโทษประเภท 3 เปนยาสาํ เรจ็ รูปทผ่ี ลติ ข้ึนตามทะเบียนตํารับ ท่ีไดรับอนุญาต จากกระทรวงสาธารณสขุ แลว มจี าํ หนา ยตามรา นขายยา ไดแ ก ยาแกไ อ ทีม่ ตี ัวยาโคเคอีน หรอื ยาแกทองเสียที่มีตัว ยาไดเฟนอกซนิ เปน ตน ยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 3 มีประโยชนทางการแพทย และ มีโทษนอยกวายาเสพ ติดใหโทษอืน่ ๆ 4. ยาเสพติดใหโทษประเภท 4 เปน นํา้ ยาเคมที ่ีนาํ มาใชใ นการผลิตยาเสพติดใหโ ทษประเภท 1 ไดแ ก นาํ้ ยาเคมี อาซิติกแอนไฮไดรด อาซิติลคลอไรด เอทิลิดีน ไดอาเซเตท สารเออรโกเมทรีน และคลอซูโดอีเฟด รนี ยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภทนสี้ ว นใหญไมมกี ารนํามาใชป ระโยชนใ นการบําบัดรักษาอาการของโรคแตอยางใด 5. ยาเสพติดใหโทษประเภท 5 ไดแก พืชกัญชา พืชกระทอม พืชฝน และพืชเห็ดขีค้ วาย ยา เสพตดิ ใหโ ทษประเภทนไ้ี มม ปี ระโยชนทางการแพทย พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ กําหนดบทลงโทษสําหรับผูท ําการผลิต นําเขา สงออก จําหนา ย มไี วครอบครอง และการเสพยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 1, 2, 3 และ 5 นอกจากนีย้ ังมีบทลงโทษสําหรับผู ยุยง หรือสงเสริม หรือกระทําการใด ๆ อันเปนการชวยเหลือ หรือใหความสะดวกในการที่ผูอื่นเสพยาเสพติดให โทษ การเสพ หมายถึง การรบั ยาเสพติดใหโ ทษเขา สูรางกายไมว า ดวยวิธีการใด ๆ เชน รับประทาน สดู ดม ฉดี ผูติดยาเสพติดใหโทษ ถาสมัครเขารับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลทีก่ ระทรวง สาธารณสขุ กาํ หนดเปน สถานพยาบาลสําหรบั บําบดั รกั ษาผตู ดิ ยา กอนทคี่ วามผิดจะปรากฏและไดปฏิบตั ิครบถวน ตามระเบยี บของสถานพยาบาลแลว กฎหมายจะเวน โทษสาํ หรบั การเสพยา วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท หรือวัตถุออกฤทธิ์ ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิต์ อจิต และประสาท พ.ศ. 2518 ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2528) ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2535) หมายถึง “วัตถุทีอ่ อกฤทธิ์ ตอจิตและ ประสาทที่เปนสิง่ ธรรมชาติหรือไดจากสิ่งธรรมชาติ หรือวัตถุทีอ่ อกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ที่เปนวัตถุ สงเคราะห ท้ังน้ตี ามทีร่ ฐั มนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา” วตั ถุออกฤทธ์แิ บงได 4 ประเภท [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 97 (พ.ศ. 2539) เร่ือง ระบุชือ่ และจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิต์ ามความในพระราชบัญญัติวัตถุทีอ่ อกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ. 2518] ดงั นี้

118 1. วตั ถุออกฤทธ์ิประเภท 1 มีความรุนแรงในการออกฤทธิ์มาก ทําใหเกิดอาการ ประสาทหลอน ไมม ีประโยชนใ นการบาํ บัดรกั ษาอาการของโรค ไดแก ไซโลไซบัน และเมสคาลีน 2. วตั ถอุ อกฤทธป์ิ ระเภท 2 เชน ยากระตนุ ระบบประสาท เชน อีเฟดรีน เฟเนทิลลีน เพ โมลีน และยาสงบประสาท เชน ฟลูไนตราซีแพม มิดาโซแลม ไนตราซีแพม วัตถุประเภทนี้มีการนําไปใชในทาง ท่ผี ดิ เชน ใชเปน ยาแกง ว ง ยาขยัน หรอื เพ่ือใชมอมเมาผอู ่นื 3. วตั ถอุ อกฤทธป์ิ ระเภท 3 ใชในรูปยารักษาอาการของโรค สวนใหญเปนยากด ระบบประสาทสวนกลาง เชน เมโพรบาเมต อะโมบารบิตาล และยาแกปวด เพตาโซซีน การใชยาจําพวกนี้ จาํ เปน ตอ งอยใู นความควบคมุ ดแู ลของแพทย 4. วัตถอุ อกฤทธปิ์ ระเภท 4 ไดแก ยาสงบประสาท/ยานอนหลับ ในกลุมของ บารบ ติ เู รต เชน ฟโ นบารบ ติ าล และเบน็ โซไดอาซปี น ส เชน อลั ปราโซแลม ไดอาซแี พม สว นใหญ มีการ นํามาใชอยางกวางขวาง ทั้งนี้เพื่อบําบัดรักษาอาการของโรค และการนํามาใชในทางที่ผิด การใชยาวัตถุออกฤทธิ์ ประเภทนีต้ อ งอยูภายใตก ารควบคุมของแพทยเชนเดยี วกบั การใชวัตถุออกฤทธป์ิ ระเภท 3 สารระเหย ตามพระราชกําหนดปองกันการใชสารระเหย พ.ศ. 2533 หมายถึง “สารเคมี หรือ ผลิตภณั ฑท ี่รฐั มนตรีประกาศวา เปน สารระเหย” สารระเหย เปนสารเคมี 14 ชนิด และผลิตภัณฑ 5 ชนิด [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอตุ สาหกรรม ฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2538) เรือ่ งกําหนดชือ่ ประเภท ชนิด หรือขนาดบรรจุของสารเคมี หรือ ผลติ ภัณฑเปนสารระเหย] สารเคมี 14 ชนิด ไดแก อาซโี ทน เอทลิ อาซีเตท โทลูอนี เซลโลโซลฟ ฯลฯ ผลิตภัณฑ 5 ชนิด ไดแก ทินเนอร แลคเกอร กาวอินทรียสังเคราะห กาวอินทรียธรรมชาติ ลูกโปง วทิ ยาศาสตร การติดยากับการเสพยา องคก ารอนามยั โลกไดใ หก ารนิยามของภาวะที่เกี่ยวของกับยาเสพติดไว ดงั นี้ 1. การใชย าในทางทผ่ี ดิ (Harmful use, abuse) หมายถงึ การใชย าเสพตดิ ในลักษณะอันตรายตอ สขุ ภาพ ทง้ั ทางดา นรา งกายและดา นจติ ใจ เชน ภาวะซึมเศราจากการดืม่ สรุ าอยางหนกั 2. การตดิ สารเสพตดิ (Depenedence syndrome) หมายถงึ ภาวะผดิ ปกตทิ างดา นปญ ญา ความคิด อาน และระบบสรีระรา งกายซงึ่ เกดิ ภายหลงั จากการใชสารเสพตดิ ซํา้ ๆ และมีอาการตา ง ๆ ดงั ตอไปน้ีรวมดว ย 1) มีความตอ งการอยางรนุ แรงท่ีจะใชส ารตัวนัน้ ๆ 2) มคี วามยากลาํ บากในการควบคมุ การใชท ง้ั ปรมิ าณและความถ่ี 3) ยังคงใชส ารน้นั ตอ ไปท้งั ๆ ทร่ี วู าจะเปนอันตรายตอ รางกาย 4) หมกมุนอยกู บั การใชสารเสพตดิ มากกวา การทาํ กจิ กรรมอื่นทส่ี ําคญั กวา 5) มีอาการด้ือยา คอื ตอ งเพิม่ ปรมิ าณการใช เพอื่ ใหไดผลเทาเดมิ 6) เม่อื หยดุ การใชยาจะเกดิ อาการขาดยาหรอื อยากยาทางรา งกาย (Physical with)

119 1.4 สาเหตุของการติดสารเสพติด 1. สาเหตุที่เกิดจากความรเู ทา ไมถึงการณ 1) อยากทดลอง เกดิ จากความอยากรอู ยากเหน็ ซึง่ เปน นิสัยของคนโดยท่ัวไป และ โดยทีไ่ มคิดวาตนจะติดสิ่งเสพติดนีไ้ ด จึงทําการทดลองใชสิ่งเสพติดนั้น ในการทดลองใชครั้งแรก ๆ อาจมี ความรสู กึ ดหี รือไมด ีก็ตาม ถายงั ไมติดสิ่งเสพตดิ นน้ั ก็อาจประมาท ไปทดลองใชใ นสิ่งเสพติดน้ันอีก จนในทุกสุด ก็ติดสิ่งเสพตดิ น้นั หรอื ถาไปทดลองใชสิ่งเสพตดิ บางชนดิ เชน เฮโรอนี แมจ ะเสพเพียงครงั้ เดยี วกอ็ าจทาํ ใหติดได 2) ความคึกคะนอง คนบางคนมีความคึกคะนอง ชอบพูดอวดเกงเปนนิสัย โดยเฉพาะวยั รุนมกั จะมนี สิ ัยดงั กลา ว คนพวกนี้อาจแสดงความเกงกลาของตน ในกลุมเพ่ือนโดยการแสดงการใช สิง่ เสพติดใหเพือ่ นฝูงยอมรับวาตนเกง โดยมิไดคํานึงถึงผลเสียหายหรืออันตรายทีจ่ ะเกิดขึน้ ภายหลังแตอยางไร ในท่ีสุดตนเองก็กลายเปน คนตดิ สงิ่ เสพติดนน้ั 3) การชักชวนของคนอืน่ อาจเกิดจากการเชื่อตามคําชักชวนโฆษณาของผูขาย สินคาทีเ่ ปนสิ่งเสพติดบางชนิด เชน ยากระตุน ประสาทตาง ๆ ยาขยัน ยามา ยาบา เปนตน โดยผูขายโฆษณา สรรพคณุ ของสง่ิ เสพติดนัน้ วา มคี ุณภาพดสี ารพดั อยา งเชน ทําใหมีกําลังวังชา ทําใหมีจิตใจแจมใส ทําใหมีสุขภาพ ดี ทําใหมีสติปญญาดี สามารถรักษาโรคไดบางชนิด เปนตน ผูท ีเ่ ชื่อคําชักชวนโฆษณาดังกลาวจึงไปซื้อตามคํา ชักชวนของเพ่ือนฝูง ซึ่งโดยมากเปนพวกที่ติดสิ่งเสพติดน้ันอยูแลว ดวยความเกรงใจเพื่อน หรือเช่ือเพ่ือน หรือ ตอ งการแสดงวาตัวเปน พวกเดยี วกบั เพือ่ น จงึ ใชส ิง่ เสพติดนน้ั 2. สาเหตุที่เกิดจากการถูกหลอกลวง ปจจุบันนี้มีผูข ายสินคาประเภทอาหาร ขนม หรือเครือ่ งดืม่ บางรายใชสิง่ เสพติดผสมลง ในสนิ คาท่ีขาย เพอื่ ใหผซู ้ือสนิ คา นนั้ ไปรบั ประทานเกิดการติด อยากมาซอื้ ไปรับประทานอีก ซึ่งในกรณีนี้ ผู ซือ้ อาหารนัน้ มารบั ประทาน จะไมรูสกึ วาตนเองเกดิ การตดิ ส่งิ เสพตดิ ขึน้ แลว รแู ตเ พยี งวาอยากรับประทานอาหาร ขนม หรือเครือ่ งดื่มทีซ่ ือ้ จากรานนัน้ ๆ กวาจะทราบก็ตอเมือ่ ตนเองรูส ึกผิดสังเกตตอความตองการ จะซือ้ อาหาร จากรา นนั้นมารับประทาน หรือตอ เมื่อมีอาการเสพตดิ รนุ แรง และมีสุขภาพเสื่อมลง 3. สาเหตุท่เี กิดจากความเจ็บปวย 1) คนที่มีอาการเจ็บปวยทางกายเกิดขึ้นเพราะสาเหตุตาง ๆ เชน ไดรับบาดเจ็บ รุนแรง เปนแผลเรื้อรัง มีความเจ็บปวดอยูเปน ประจํา เปน โรคประจําตัวบางอยา ง เปน ตน ทาํ ใหไ ดร บั ทุกขท รมาน น้ัน ซ่ึงวธิ หี นึ่งทีท่ าํ ไดงายคือ การรับประทานยาที่มีฤทธ์ิระงับอาการเจ็บปวดน้ันได ซ่ึงไมใชเปนการรักษาท่ีเปน ตน เหตุของความเจ็บปว ย เพียงแตระงับอาการเจ็บปวดใหหมดไปหรือลดนอยลงไดช่ัวขณะ เม่ือฤทธ์ิยาหมดไปก็ จะกลบั เจบ็ ปวดใหม ผปู วยกจ็ ะใชยานั้นอกี เมือ่ ทําเชน น้ไี ปนาน ๆ เกิดอาการตดิ ยาน้ันข้ึน

120 2) ผูท ีม่ ีจิตใจไมเปนปกติ เชน มีความวิตก กังวล เครียด มีความผิดหวังในชีวิต มี ความเศราสลด เสียใจ เปนตน ทําใหสภาวะจิตไมเปนปกติจนเกิดการปวยทางจิตขึน้ จึงพยายามหายาหรือสิง่ เสพ ติดที่มีฤทธิส์ ามารถคลายความเครียดจากทางจิตไดชว่ั ขณะหนึง่ มารบั ประทาน แตไ มไดร กั ษาท่ีตนเหตุเม่ือยาหมด ฤทธิ์ จิตใจก็จะกลับมาเครียดอีก และผูป วยก็จะเสพสิง่ เสพติด ถาทําเชนนีไ้ ปเรื่อย ๆ ก็จะทําใหผูน ั้นติดยาเสพติด ในท่สี ดุ 3) การไปซือ้ ยามารับประทานเองโดยไมทราบสรรพคุณยาที่แทจริง ขนาดยาที่ ควรรับประทาน การรับประทานยาเกินจํานวนกวาที่แพทยไดสั่งไว การรับประทานยาบางชนิดมากเกินขนาด หรอื รบั ประทานติดตอ กันนาน ๆ บางครัง้ อาจมีอาการถึงตายได หรือบางครั้งทาํ ใหเ กิดการเสพตดิ ยานนั้ ได 4. สาเหตุอ่นื ๆ การอยูใ กลแหลงขายหรือใกลแหลงผลิต หรือเปนผูข ายหรือผูผ ลิตเอง จึงทําใหมีโอกาส ตดิ ส่ิงเสพติดใหโ ทษนน้ั มากกวาคนทว่ั ไป เมื่อมีเพือ่ นสนิทหรือพีน่ องทีต่ ิดสิง่ เสพติดอยู ผูนั้นยอมไดเห็นวิธีการเสพของผูที่อยู ใกลชิด รวมทัง้ ใจเห็นพฤติกรรมตาง ๆ ของเขาดวย และยังอาจไดรับคําแนะนําหรือชักชวนจากผูเสพดวย จึงมี โอกาสติดได 1) คนบางคนอยใู นสภาพท่มี ีปญหา เชน วา งงาน ยากจน คา ใชจ า ยเพิ่มโดยมรี ายได ลดลง หรือคงที่ มหี นี้สินมาก ฯลฯ เมื่อแกป ญหาตาง ๆ เหลา นไ้ี มไ ดก็หนั ไปใชส ่งิ เสพติดชวยผอนคลายความรูสึก ในความทุกขยากตา ง ๆ เหลา น้ี แมจะรวู า เปน ชว่ั ครชู วั่ ยามก็ตาม เชน กลมุ ใจท่เี ปนหนีค้ นอ่นื ก็ไปกินเหลา หรือสูบ กัญชาใหเ มาเพือ่ ทจี่ ะไดลมื เร่ืองหนีส้ นิ บางคนตองการรายไดเพม่ิ ขึน้ โดยพยายามทํางานใหหนักและมากขึ้นทัง้ ๆ ทีร่ างกายออนเพลียมากจึงรับประทานยากระตุนประสาทเพื่อใหสามารถทํางานตอไปได เปนตน ถาทําอยูเปน ประจําทําใหต ิดส่ิงเสพตดิ นั้นได 2) การเลียนแบบ การทไี่ ปเห็นผทู ีต่ นสนิทสนมรักใครหรือเพื่อน จึงเห็นวาเปนส่ิง นาลอง เปน สงิ่ โกเ ก เปนสิง่ แสดงความเปนพวกเดยี วกนั จงึ ไปทดลองใชส ิง่ เสพตดิ นนั้ จนติด 3) คนบางคนมีความผิดหวังในชีวิตตนเอง ผิดหวังในชีวิตครอบครัว หรือผิดหวัง ในชีวติ สังคม เพื่อเปนการประชดตนเองหรอื คนอืน่ จงึ ไปใชส่งิ เสพตดิ จนติดทง้ั ๆ ที่ทราบวาเปนสิ่งไมดีกต็ าม 1.5 อันตรายและโทษของสารเสพติด สารเสพติดใหโทษมีหลายชนิดไดแพรระบาดเขามาในประเทศไทย จะพบในหมูเ ด็กและ เยาวชนเปนสวนมาก นับวาเปนเรื่องรายแรงเปนอันตรายตอผูเ สพและประเทศชาติเปนอยางยิง่ ผูเ รียนควรทราบ อนั ตรายจากสารเสพติดในแตล ะชนิด ดังนี้ 1. ฝน (Opium) ฝน จะมฤี ทธิก์ ดประสาท ทาํ ใหนอนหลับเคลิบเคล้ิม ผูที่ติดฝนจะมีความคิด อานชาลง การทํางานของสมอง หัวใจ และการหายใจชาลง นอกจากนี้ ยังพบวาฝนทําให ตับเสือ่ ม สมรรถภาพปลายประสาทและกลา มเนอ้ื หวั ใจอกั เสบ ระบบยอ ยอาหารเสอ่ื มสมรรถภาพ เบอ่ื อาหาร ทองผูก ระบบโอรโมนเปลี่ยนแปลง ผูหญิงอาจเกิดการขาดประจําเดือน ผูชายอาจหมดสมรรถภาพทางเพศ และรางกาย ทรุดโทรม อาการขาดยา จะเร่มิ หลังจากไดรับยาครั้งสุดทาย 4-10 ชั่วโมง แลวไมสามารถหายาเสพ ไดอีก จะมีอาการกระวนกระวาย หงุดหงิด โกรธงาย ตื่นเตนตกใจงาย หาวนอนบอย ๆ น้ํามูก น้ําตา น้ําลาย และ

121 เหงื่อออกมาก ขนลุก กลามเนื้อกระตุก ตัวสั่น มานตาขยาย ปวดหลังและขามาก ปวดทอง อาเจียน ทองเดิน บางรายมอี าการรนุ แรงถึงขนาดถายเปนเลือด ที่ภาษาชาวบานเรียกวา “ลงแดง” ผูติดยาจะมีความตองการยา อยางรนุ แรงจนขาดเหตผุ ลท่ถี กู ตอง อาการขาดยาน้ีจะเพ่ิมขึ้นในระยะ 24 ชัว่ โมงแรก และจะเกิดมากทีส่ ุดภายใน 48-72 ชว่ั โมง หลงั จากนน้ั อาการจะคอ ย ๆ ลดลง 2. มอรฟน (Morphine) เปนแอลคาลอยดจากฝน ดบิ มีฤทธท์ิ ้งั กดและกระตุนระบบประสาท สวนกลาง ทําใหศ ูนยป ระสาทรับความรูสึกชา อาการเจบ็ ปวดตาง ๆ หมดไป กลา มเน้ือคลายตัว มีความรูสึกสบาย หายกังวล นอกจากนีย้ ังมีฤทธกิ์ ดศูนยการไอทาํ ใหร ะงบั อาการไอ กดศูนยควบคุมการหายใจ ทําใหรางกายหายใจ ชาลง เกิดอันตรายถึงแกชีวิตได สวนฤทธิ์กระตุนระบบประสาทสวนกลางจะทําใหคลื่นไส อาเจียน มานตาหรี่ บางรายมอี าการตน่ื เตน ดว ย กระเพาะอาหารและลาํ ไสท าํ งานนอ ยลง หรู ดู ตา ง ๆ หดตวั เลก็ ลง จงึ ทาํ ใหม อี าการ ทอ งผกู และปส สาวะลาํ บาก 3. เฮโรอีน (Heroin) สกดั ไดจ ากมอรฟ นโดยกรรมวธิ ที างเคมี ซงึ่ เกดิ ปฏกิ ิรยิ าระหวางอมรฟน และน้ํายาอะซิติค แอนไฮไดรด เปนยาเสพติดที่ติดไดงายมาก เลิกไดยาก มีความแรงสูงกวามอรฟนประมาณ 5-8 เทา แรงกวาฝน 80 เทา และถาทําใหบริสุทธิ์จะมีฤทธิแ์ รงกวาฝนถึง 100 เทาตัว เฮโรอีนเปนยาเสพติดใหโทษท่ี รายแรงที่สุด ใชไดทัง้ วิธีสูบฉีดเขากลามเนื้อหรือเสนเลือดดํา ละลายไดดีในน้าํ เฮโรอีน มีฤทธิท์ ําใหงวงนอน งุนงง คลื่นไส อาเจียน เบื่ออาหาร รางกายผอมลงอยางรวดเร็ว ออนเพลีย ไมกระตือรือรน ไมอยากทํางาน หงดุ หงดิ โกรธงา ย มกั กอ อาชญากรรมไดเ สมอ มกั ตายดว ยมโี รคแทรกซอน หรอื ใชย าเกินขนาด 4. บารบ ิทเู รต (Barbiturates) ยาท่ีจดั อยใู นพวกสงบประสาทใชเ ปนยานอนหลับ ระงับความ วิตกกงั วล ระงบั อาการชักหรือปองกนั การชกั ที่ใชก นั แพรหลายไดแก เซดคบารบิตาล ออกฤทธิ์กดสมอง ทํา ใหส มองทาํ งานนอ ยลง ใชย าเกนิ ขนาดทาํ ใหมีฤทธิ์กดสมองอยางรุนแรง ถึงขนาดหมดความรูส ึกและเสียชีวิต จะ มีอาการมึนงงในคอหงุดหงิด เลื่อนลอย ขาดความรับผิดชอบ มีความกลาอยางบาบิ่น ชอบทะเลาะวิวาท กาวราว ทํารายตนเอง คลุมคลัง พูดไมชัด เดินโซเซคลายกับคนเมาสุรา ขาดความอาย อาทิ สามารถเปลื้องเสื้อผาเพือ่ เตน โชวได 5. ยากลอมประสาท (Tranquilizers) เปนยาที่มีฤทธิ์กดสมอง ทําใหจิตใจสงบหายกังวล แต ฤทธิ์ไมรุนแรงถึงขั้นทําใหหมดสติหรือกดการหายใจ การใชยาเปนเวลานาน จะทําใหรางกายเกิดความตานทาน ตอ ยาและเกิดการเสพตดิ ไดแ ละมแี นวโนม จะปวยดว ยโรคความดนั โลหิตต่ํา โรคกระเพาะลางเดนิ อาหาร ฯลฯ 6. แอมเฟตามีน (Amphetamine) มชี อื่ ท่ีบคุ คลทัว่ ไปรูจกั คอื ยาบา หรอื ยาขยันเปนยาท่ีมีฤทธ์ิ กระตนุ ประสาทสว นกลาง และระบบประสาทสว นปลาย ทาํ ใหม อี าการต่ืนตัว หายงวง พูดมาก ทําใหหลอดเลือด ตีบเล็กลง หัวใจเตนเร็วขึ้น ความดันเลือดสูง มือสั่นใจสั่น หลอดลมขยาย มานตาขยาย เหงื่อออกมาก ปากแหง เบือ่ อาหาร ถาใชเกินขนาดจะทําใหเวียนศีรษะนอนไมหลับ ตัวสัน่ ตกใจงาย ประสาทตึงเครียด โกรธงาย จิตใจ สับสน คลื่นไส อาเจียน ทองเดินและปวดทองอยางรุนแรง มีอาการชักหมดสติ และตายเนือ่ งจากหลอดเลือดใน สมองแตกหรือหวั ใจวาย 7. กัญชา (Cannabis) เปน พืชลมลกุ ชนิดหนง่ึ ขน้ึ ไดง ายในเขตรอ น อาทิ ไทย อนิ เดยี เมก็ ซโิ ก ผลทีเ่ กิดขึ้นตอรางกายจะปรากฏหลังจากสูบ 2-3 นาที หรือหลังจากรับประทานครึ่งถึง 1 ชั่วโมง ทําใหมีอาการ ตนื่ เตน ชางพูด หัวเราะสงเสียงดงั กลา มเนอ้ื แขนขาออ นเปลี้ยคลายคนเมาสุรา ถาไดรับในขนาดสูง ความรูสึกนึก

122 คิดและการตดั สนิ ใจเสียไป ความจําเส่ือม ประสาทหลอน หวาดระแวง ความคิดสับสน ไมสนใจสิ่งแวดลอม การ สูบกัญชา ยังทาํ ใหเกิดหลอดลมอักเสบเรอ้ื รัง โรคหดื หลอดลม มะเร็ง ท่ีปอด บางรายมีอาการทองเดิน อาเจียน มอื ส่นั เปนตะคริว หลอดเลือดอุดตัน หัวใจเตนเร็ว ความรูส ึกทางเพศลดลงหรือหมดไป และเปนหนทางนําไปสู การเสพตดิ ยาชนดิ อน่ื ๆ ไดง า ย 8. ยาหลอนประสาท (Hallucinogen) เปนยาที่ทําใหประสาทการเรียนรูผิดไปจากธรรมดา ยา ทแ่ี พรห ลายในปจ จบุ นั ไดแ ก แอลเอสดี ดีเอ็มที เอสทีพี เมสคาลีน เห็ดขี้ความ ตนลําโพง หัวใจเตนเร็วขึ้น ความ ดันเลือดสูง มานตาขยาย มือเทาสั่น เหงื่อออกมากที่ฝามือ บางรายคลื่นไส อาเจียน สงผลตอจิตใจ คือ มีอารมณ ออนไหวงา ย ประสาทรบั ความรูสกึ แปรรวน ไมสามารถควบคมุ สติได ทายสุดผเู สพมักปวยเปน โรคจิต 9. สารระเหย สารระเหยจะถูกดูดซึมผานปอด เขาสูกระแสโลหิต แลวเขาสูเ นื้อเยื่อตาง ๆ ของรางกาย เกิดพิษซ่งึ แบงไดเ ปน 2 ระยะ คือ พษิ ระยะเฉยี บพลัน ตอนแรกจะรูส ึกเปนสุข ราเริง ควบคุมตัวเองไมได คลายกับคนเมา สรุ า ระคายเคอื งเยอ่ื บภุ ายในปากและจมกู นาํ้ ลายไหลมาก ตอ มามีฤทธ์ิกดทาํ ใหง ว งซึม หมดสติ ถาเสพในปริมาณ มากจะไปกดศนู ยห ายใจทาํ ใหต ายได พิษระยะเรือ้ รัง หากสูดดมสารระเหยเปนระยะเวลานานติดตอกัน จะเกิดอาการทาง ระบบประสาท วิเวียนศีรษะ เดินโซเซ ความคิดสับสน หัวใจเตนผิดปกติ เกิดการอักเสบของหลอดลม ถายทอด ทางพันธุกรรม เปนเหตุใหเด็กทีเ่ กิดมามีความพิการได เซลลสมองจะถูกทําลายจนสมองฝอ จะเปนโรคสมอง เสอ่ื มไปตลอดชีวติ 10. ยามา เปน ชื่อทใี่ ชเรียกยาเสพตดิ ท่มี สี ว นของสารเคมปี ระเภทแอมเฟตามีน (Amphetamine) สารประเภทน้แี พรร ะบาดอยู 3 รูปแบบดว ยกนั คือ 1) แอมเฟตามนี ซลั เฟต (Amphetamine Sulfate) 2) เมทแอมเฟตามนี (Methamphetamine) 3) เมทแอมเฟตามนี ไฮโดรคลอไรด (Methamphetamine Hydrochloride) ซง่ึ จากผลการตรวจพสิ จู นย าบาปจจุบันท่ีพบอยูในประเทศไทยมักพบวา เกือบท้ังหมดมีเมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอ ไรดผ สมอยู ยาบา จัดอยูใ นกลุม ยาเสพติดทีอ่ อกฤทธิ์กระตุนประสาท มีลักษณะเปนยาเม็ดกลมแบน ขนาดเลก็ เสน ผา นศนู ยก ลางประมาณ 6-8 มลิ ลิเมตร ความหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร น้ําหนักเม็ดยาประมาณ 80- 100 มิลลิกรัม มีสีตางๆ กัน เชน สีสม สีน้าํ ตาลสีมวง สีเทา สีเหลือง และสีเขียว มีสัญลักษณที่ปรากฏบนเม็ดยา เชน ฬ, M, PG, WY สัญลักษณรูปดาว, รูปพระจันทรเสี้ยว, 99 หรือ อาจเปนลักษณะของเสนแบงครึง่ เม็ด ซึง่ ลักษณะเหลา นีอ้ าจปรากฏบนเมด็ ยาดา นหน่ึงหรอื ท้งั สองดา นหรือ อาจเปนเม็ดเรียบท้งั สองดานกไ็ ด อาการผเู สพ เมือ่ เสพเขา สรู างกาย ในระยะแรกจะออกฤทธิท์ าํ ใหรา งกายตื่นตัว หัวใจเตนเร็ว ความดัน โลหิตสูงบ ใจสัน่ ประสาทตึงเครียด แตเมือ่ หมดฤทธิย์ า จะรูสึกออนเพลียมากกวาปกติ ประสาทลาทําใหการ ตัดสินใจชา และผิดพลาด เปนเหตุใหเกิดอุบัติเหตุรายแรงได ถาใชติดตอกันเปนเวลานาน จะทําใหสมองเสื่อม เกดิ อาการประสาทหลอน เหน็ ภาพลวงตา หวาดระแวงคลุมคลั่ง เสียสติ เปน บาอาจทาํ รา ยตนเองและผูอ่ืนได หรือ ในกรณที ่ไี ดร บั ยาในปรมิ าณมาก (Overdose) จะไปกดประสาทและระบบการหายใจทําใหหมดสติ และถึงแกความ ตายได

123 อันตรายทไ่ี ดรับ การเสพยาบา กอ ใหเ กดิ ผลรา ยหลายประการ ดงั น้ี 1. ผลตอจติ ใจ เม่อื เสพยาบาเปนระยะเวลานานหรือใชเปนจํานวนมาก จะทําใหผูเสพมี ความผิดปกติทางดานจิตใจกลายเปนโรคจิตชนิดหวาดระแวง สงผลใหมีพฤติกรรมเปลีย่ นแปลงไป เชน เกิด อาการหวาดหวั่น หวาดกลัว ประสาทหลอน ซึ่งโรคนี้หากเกิดขึ้นแลว อาการจะคงอยูตลอดไป แมในชวงเวลาที่ ไมไ ดเ สพยากต็ าม 2. ผลตอระบบประสาท ในระยะแรกจะออกฤทธิก์ ระตุน ประสาท ทําใหประสาทตึง เครียด แตเมื่อหมดฤทธิ์ยาจะมีอาการประสาทลา ทําใหการตัดสินใจในเรื่องตางๆ ชา และผิดพลาด และหากใช ติดตอกันเปนเวลานานจะทําใหสมองเสื่อม หรือกรณีที่ใชยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดประสาทและ ระบบการหายใจ ทาํ ใหห มดสตแิ ละถงึ แกค วามตายได 3. ผลตอ พฤตกิ รรม ฤทธ์ิของยาจะกระตนุ สมองสวนท่ีควบคุมความกาวราว และความ กระวนกระวานใจ ดังนั้นเมื่อเสพยาบาไปนานๆ จะกอใหเกิดพฤติกรรมทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป คือ ผูเสพจะมีความ กาวราวเพิม่ ขึน้ และหากยังใชตอไปจะมีโอกาสเปนโรคจิตชนิดหวาดระแวง เกรงวาจะมีคนมาทํารายตนเอง จึง ตองทํารานผอู ่ืนกอน 11. ยาอี, ยาเลฟิ ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซตาซี (Ecstasy) เปนยาเสพติดกลุมเดียวกัน จะแตกตางกันบางในดาน โครงสรา งทางเคมี ลักษณะของยาอี มีทัง้ ที่เปนแคปซูลและเปนเม็ดยาสีตางๆ แตทีพ่ บในประเทศไทย สวน ใหญมีลักษณะเปนเม็ดกลมแบน เสนผาศูนยกลาง 0.8-1.2 ซม. หนา 0.3-0.4 ซม. ผิวเรียบ และปรากฏสัญลักษณ บนเมด็ ยา เปน รปู ตา งๆ เชน กระตา ย, คา วคาว, นก, ดวงอาทติ ย, PT ฯลฯ เสพโดยการรับประทานเปนเม็ด จะออกฤทธิ์ภายในเวลา 45 นาที และฤทธิ์ยาจะอยูใน รา งกายไดน านประมาณ 6-8 ซม. ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซตาซี เปนยาที่แพรระบาดในกลุมวัยรุนที่ชอบเที่ยวกลางคืน ออก ฤทธ์ิใน 2 ลักษณะ คือ ออกฤทธิก์ ระตุน ระบบประสาท ในระยะสัน้ ๆ หลักจากนั้น จะออกฤทธิ์หลอกประสาท อยางรุนแรง ฤทธิ์ของยาจะทําใหผูเสพรูสึกรอน เหงือ่ ออกมาก หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง การไดยินเสียง และการมองเห็นแสงสีตาง ๆ ผิดไป จากความเปนจริง เคลิบเคลิ้ม ไมสามารถควบคุมอารมณของตนเองได อัน เปนสาเหตุที่จะนําไปสูพฤติกรรมเสื่อมเสียตาง ๆ และจากการคนควาวิจัยของแพทย และนักวิทยาศาสตรหลาย ทาน พบวา ยาชนิดนี้มีอันตรายรายแรง แมจะเสพเพียง 1-2 ครัง้ ก็สามารถทําลายระบบภูมิคุมกันของรางกาย สงผลใหผูเ สพมีโอกาสติดเชื้อโรคตาง ๆ ไดงาย และยังทําลายเซลลสมองสวนที่ทําหนาทีส่ งสารซีโรโทนิน (Serotonin) ซ่ึงเปนสาระสําคัญในการควบคุมอารมณใหมีความสุข ซึ่งผลจากการทําลายดังกลาว จะทําใหผูเสพเขา สสู ภาวะของอารมณท เ่ี ศรา หมองหดหอู ยา งมาก และมแี นวโนมการฆาตัวตายสงู กวา ปกติ อาการผเู สพ

124 เหงือ่ ออกมาก หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง ระบบประสาทการรับรูเกิดการ เปลี่ยนแปลงทั้งหมด (Psychedelic) ทําใหการไดยินเสียงและการมองเห็นแสงสีตางๆ ผิดไปจากความเปนจริง เคลิบเคลม้ิ ควบคุมอารมณไ มไ ด อนั ตรายที่ไดรบั การเสพยาอี กอ ใหเ กดิ ผลรา ยหลายประการดงั น้ี 1. ผลตออารมณ เมือ่ เริม่ เสพในระยะแรกยาอีจะออกฤทธิ์กระตุนประสาท ใหผู เสพรูสึกตื่นตัวตลอดเวลา ไมสามารถควบคุมอารมณของตนเองได เปนสาเหตุใหเกิดพฤติกรรม สําสอนทาง เพศ 2. ผลตอ การรูสึก การรับรูจะเปลยี่ นแปลงไปจากความเปน จริง 3. ผลตอระบบประสาท ยาอีจะทําลายระบบประสาท ทําใหเซลลสมองสวนที่ทําหนาที่ หล่งั สารซีโรโทนิน (Serotonin) ซึ่งเปนสาระสําคัญในการควบคุมอารมณนั้น ทํางานผิดปกติกลาวคือ เมื่อยาอีเขาสู สมองแลว จะทําใหเกิดการหลั่งสาร “ซีโรโทนิน” ออกมามากเกินกวาปกติ สงผลใหจิตใจสดชื่นเบิกบาน แตเมื่อ ระยะเวลาผานไปสารดงั กลาวจะลดนอ ยลง ทําใหเกิดอาการซึมเศราหดหูอยางมาก อาจกลายเปนโรคจิต ประเภท ซึมเศรา (Depression) และอาจเกิดสภาวะอยากฆาตัวตาย นอกจากนี้การที่สารซีโรโทนินลดลง ยังทําใหธรรมชาติ ของการหลับนอนผดิ ปกติ จาํ นวนเวลาของการหลับลดลง นอนหลบั ไมสนทิ จงึ เกิดอาการออนเพลียขาดสมาธิใน การเรยี น และการทาํ งานออ นเพลยี ขาดสมาธใิ นการเรยี น และการทาํ งาน 4. ผลตอสภาวะการตายขณะเสพ มักเกิดเมื่อผูเสพสูญเสียเหงื่อมาก ทําใหเกิดสภาวะ ขาดน้ําอยางฉับพลัน หรือกรณีที่เสพยาอีพรอมกับดืม่ แอลกอฮอลเขาไปมาก หรือผูท ี่ปวยเปนโรคหัวใจ จะทําให เกดิ อาการชอ็ กและเสยี ชวี ติ ได สรปุ สารเสพตดิ มหี ลายชนิด มีฤทธิ์รายแรงทําลายสุขภาพ มีผลตอระบบประสาทเปน อยางมาก ผเู สพจะมอี าการในลักษณะทีค่ วบคมุ ตนเองไมค อ ยได เปนไปตามฤทธิ์ของยาเสพติดแตละชนิดเม่ือเสพติดตอกัน ไประยะหนึ่ง จะทําใหมีความตองการโดยขาดไมได และจะมีความตองการเพิ่มขึ้นเร่ือย ๆ ในท่ีสุดรางกายจะทรุด โทรมลงและเสยี ชวี ติ ในที่สดุ ยาเสพติดเหลา น้ีไดแ ก ฝน มอรฟน เฮโรอีน ยากลอ มประสาท กญั ชา ยาอี ฯลฯ ผูเ รียนไมควรริลอง เพราะจะทําใหเกิดการเสพติดโดยงาย ทําใหเสียการเรียน เสียอนาคตใน ที่สดุ เรอ่ื งท่ี 2ลกั ษณะอาการของผตู ิดสารเสพตดิ ลักษณะการตดิ ยาเสพติด ยาเสพติดบางชนิดกอใหเกิดการติดไดทั้งทางรางกายและจิตใจ แตยาเสพติดบางชนิดก็ กอใหเ กิดการติดทางดา นจิตใจเพียงอยางเดียว ลักษณะท่วั ไป 1. ตาโรยขาดความกระปรีก้ ระเปรา นํ้ามกู ไหล นาํ้ ตาไหล ริมฝปากเขียวคล้ําแหง แตก (เสพ โดยการสบู )

125 2. เหง่ือออกมาก กลิ่นตัวแรง พดู จาไมสัมพันธกับความจรงิ 3. บรเิ วณแขนตามแนวเสนโลหิต มีรอ งรอยการเสพยาโดยการฉีดใหเ ห็น 4. ทท่ี อ งแขนมรี อยแผลเปน โดยกรดี ดว ยของมคี มตามขวาง (ตดิ เหลา แหง ยากลอมประสาท ยาระงับประสาท) 5. ใสแวน ตากรอบแสงเขม เปนประจํา เพราะมา นตาขยายและเพ่ือปด นยั นต าสแี ดงกา่ํ 6. มักสวมเสื้อแขนยาวปกปดรอยฉีดยา โปรดหลีกใหพนจากบุคคลทีม่ ีลักษณะดังกลาว ชวี ติ จะสุขสนั ตตลอดกาล 7. มีความตองการอยางแรงกลา ท่จี ะเสพยานน้ั ตอไปอีกเรอ่ื ย ๆ 8. มคี วามโนม เอยี งท่ีจะเพ่ิมปรมิ าณของส่งิ เสพตดิ ใหมากขึน้ ทุกขณะ 9. ถาถึงเวลาที่เกิดความตองการแลวไมไดเสพจะเกิดอาการขาดยาหรืออยากยาโดยแสดง ออกมาในลักษณะอาการตาง ๆ เชน หาว อาเจียน น้ํามูกน้ําตาไหล ทุรนทุราย คลุมคลั่ง ขาดสติ โมโห ฉุนเฉียว ฯลฯ 10. สิ่งเสพติดนั้นหากเสพอยูเสมอ ๆ และเปนเวลานานจะทําลายสุขภาพของผูเสพทั้งทาง รา งกายและจติ ใจ 11. ทําใหรางกายซูบผอมมีโรคแทรกซอน และทําใหเกิดอาการทางโรคประสาทและจิตไม ปกติ การตดิ ยาทางกาย เปนการติดยาเสพติดที่ผูเสพมีความตองการเสพอยางรุนแรง ทั้งทางรางกายและจิตใจ เมื่อถึง เวลาอยากเสพแลวไมไดเสพ จะเกิดอาการผิดปกติอยางมาก ทั้งทางรางกายและจิตใจ ซึ่งเรียกวา “อาการขาดยา” เชน การติดฝน มอรฟน เฮโรอีน เมื่อขาดยาจะมีการคลื่นไส อาเจียน หาว น้าํ มูก น้ําตาไหล นอนไมหลับ เจบ็ ปวดทวั่ รา งกาย เปน ตน การตดิ ยาทางใจ เปนการติดยาเสพติดเพราะจิตใจเกิดความตองการหรือเกิดการติดเปนนิสัย หากไมไดเสพ รา งกายกจ็ ะไมเ กดิ อาการผดิ ปกติ หรือทรุ นทรุ ายแตอยา งใด จะมีบา งก็เพยี งเกิดอาการหงดุ หงิดหรอื กระวนกระวาย วิธสี ังเกตอาการผตู ดิ ยาเสพตดิ จะสังเกตวาผูใ ดใชหรือเสพยาเสพตดิ ใหส ังเกตจากอาการและการเปลีย่ นแปลงทั้งทางรางกาย และจิตใจตอ ไปน้ี 1. การเปลย่ี นแปลงทางรา งกาย จะสังเกตไดจาก - สขุ ภาพรา งกายทรดุ โทรม ซบู ผอม ไมม แี รง ออ นเพลยี - รมิ ฝป ากเขียวคลํา้ แหง และตก - รา งกายสกปรก เหงอ่ื ออกมาก กลน่ิ ตวั แรงเพราะไมช อบอาบนาํ้ - ผิวหนังหยาบกราน เปนแผลพพุ อง อาจมีหนองหรือนํ้าเหลอื ง คลา ยโรคผิวหนัง - มรี อยกรีดดว ยของมีคม เปน รอยแผลเปน ปรากฏทบ่ี ริเวณแขน และ/หรอื ทองแขน - ชอบใสเ สอ้ื แขนยาว กางเกงขายาว และสวมแวน ตาดาํ เพอ่ื ปด บงั มา นตาทข่ี ยาย 2. การเปลย่ี นแปลงทางจิต ความประพฤตแิ ละบคุ ลกิ ภาพ สงั เกตไดจ าก

126 - เปนคนเจา อารมณ หงดุ หงดิ งา ย เอาแตใ จตนเอง ขาดเหตผุ ล - ขาดความรับผดิ ชอบตอ หนา ท่ี - ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง - พดู จากา วรา ว แมแ ตบ ดิ ามารดา ครู อาจารย ของตนเอง - ชอบแยกตัวอยูคนเดียว ไมเ ขาหนา ผอู ืน่ ทําตวั ลกึ ลับ - ชอบเขา หอ งนาํ้ นาน ๆ - ใชเ งนิ เปลืองผิดปกติ ทรัพยสนิ ในบานสญู หายบอย - พบอปุ กรณเ กย่ี วกบั ยาเสพตดิ เชน หลอดฉดี ยา เขม็ ฉดี ยา กระดาษตะกว่ั - มวั่ สุมกับคนทมี่ พี ฤตกิ รรมเกี่ยวกับยาเสพตดิ - ไมส นใจความเปน อยขู องตนเอง แตง กายสกปรก ไมเ รยี บรอ ย ไมค อ ยอาบนาํ้ - ชอบออกนอกบา นเสมอ ๆ และกลบั บา นผดิ เวลา - ไมช อบทาํ งาน เกยี จครา น ชอบนอนตน่ื สาย - อาการวติ กกังวล เศรา ซึม สีหนาหมองคลํ้า 3. การสงั เกตอาการขาดยา ดงั ตอ ไปนี้ - นาํ้ มกู นาํ้ ตาไหล หาวบอ ย - กระสับกระสาย กระวนกระวาย หายใจถี่ ปวดทอง คลื่นไส อาเจียน เบื่ออาหาร นํ้าหนกั ลด อาจมอี จุ าระเปน เลือด - ขนลกุ เหงอ่ื ออกมากผดิ ปกติ - ปวดเมื่อยตามรา งกาย ปวดเสียวในกระดูก - มานตาขยายโตขนึ้ ตาพราไมส แู ดด - มกี ารสั่น ชัก เกรง็ ไขข ้นึ สงู ความดันโลหติ สูง - เปน ตะครวิ - นอนไมห ลบั - เพอ คลมุ คลั่ง อาละวาด ควบคุมตนเองไมได เร่ืองที่ 3 การปอ งกนั และหลีกเลย่ี งการติดสารเสพตดิ การดําเนินงานปองกันสารเสพติด จําเปนตองสรางใหกลุม เปาหมายมี “ภูมิคุมกัน” เกิด ขึน้ กับตัวเอง มีทักษะชีวิต (Life Skill) เพียงพอทีจ่ ะไมใหตนเองตองติดยาเสพติดและสามารถ เฝาระวัง พฤตกิ รรมเสยี่ ง ปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรมเส่ียง เพ่ือปองกันมิใหบุคคลท่ีตนรัก เพ่ือนสนิท ฯลฯ ติดยาเสพติดได โดยสามารถดาํ เนินการไดด ังน้ี 1. ปองกันตนเอง ไมใชยาโดยมิไดรบั คาํ แนะนาํ จากแพทย และจงอยาทดลองเสพยาเสพติด ทุกชนดิ โดยเฉพาะขาด เพราะตดิ งา ยหายยาก

127 2. ปอ งกันครอบครวั ควรสอดสอ งดแู ลเดก็ และบุคคลในครอบครัวหรือที่อยูรวมกันอยาให เกย่ี วขอ งกบั ยาเสพตดิ ตอ งคอยอบรมสง่ั สอนใหร สู กึ โทษและภยั ของยาเสพตดิ หากมี ผเู สพยาเสพติด ในครอบครัว จงจัดการใหเขารักษาตัวทีโ่ รงพยาบาล ใหหายเด็ดขาด การรักษาแตแรกเริม่ ติดยาเสพติดมีโอกาส หายไดเ ร็วกวาทีป่ ลอยไวน าน ๆ 3. ปองกันเพื่อนบาน โดยชวยชีแ้ จงใหเพือ่ นบานเขาใจถึงโทษและภัยของยาเสพติด โดยมิ ใหเ พ่อื นบานรเู ทา ไมถ ึงการณ ตอ งถกู หลอกลวง และหากพบวา เพอื่ นบา นตดิ ยาเสพติด จงชวยแนะนําใหไปรักษา ตัวท่โี รงพยาบาล 4. ปองกันโดยใหความรวมมือกับทางราชการ เม่ือทราบวาบานใด ตําบลใด มียาเสพติดแพร ระบาดขอใหแจงเจาหนาทีต่ ํารวจทุกแหงทุกทองที่ทราบ หรือที่ศูนยปราบปรามยาเสพติดใหโทษ กรมตํารวจ (ศปส.ตร.) โทร. 0-2252-7962, 0-2252-5932 และที่สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (สาํ นกั งาน ป.ป.ส.) สํานกั นายกรัฐมนตรี โทร. 0-2245-9350-9 การปอ งกนั และหลีกเลยี่ งสารเสพตดิ ในชมุ ชน มีแนวทางดังนี้ 1. ปองกันตนเอง ทาํ ไดโดย  ศึกษาหาความรูเพือ่ ใหรเู ทาทันโทษพิษภัยของยาเสพตดิ  ไมทดลองใชยาเสพติดทกุ ชนิดและปฏิเสธเม่อื ถูกชักชวน  ระมัดระวงั เร่อื งการใชย า เพราะยาบางชนิดอาจทําใหเสพติดได  ใชเวลาวา งใหเ ปน ประโยชน  เลือกคบเพื่อนดี ทช่ี กั ชวนกนั ไปในทางสรา งสรรค  เมื่อมีปญหาชีวิต ควรหาหนทางแกไขที่ไมของเกีย่ กับยาเสพติดหากแกไขไมไดควร ปรึกษาผูใ หญ 2. ปองกันครอบครัว ทาํ ไดโ ดย  สรา งความรกั ความอบอนุ และความสัมพนั ธอันดีระหวา งสมาชิกในครอบครัว  รูและปฏิบตั ิตามบทบาทหนา ท่ขี องตนเอง  ดแู ลสมาชิกในครอบครวั ไมใหของเก่ียวกับยาเสพตดิ  ใหกาํ ลังใจและหาทางแกไ ข หากพบวา สมาชกิ ในครอบครวั ตดิ ยาเสพตดิ 3. ปองกันชุมชน ทําไดโ ดย  ชว ยชมุ ชนในการตอ ตา นยาเสพตดิ  เมื่อทราบแหลงเสพ แหลง คา หรอื ผลติ ยาเสพติด ควรแจง ใหเจาหนาทีท่ ราบ ทันทีที่ - สาํ นกั งาน ป.ป.ส. โทร. 0-2245-9414 หรือ 0-2247-0901-19 ตอ 258 โทรสาร 0-2246-8526 - ศนู ยรบั แจงขา วยาเสพตดิ สํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติ โทร. 1688 สรปุ สารเสพติดไดแพรร ะบาดเขาไปถึงกลมุ คนทุกกลมุ สงผลกระทบตอ สขุ ภาพของกลุมคน เหลา น้ัน และมผี ลตอประเทศชาตใิ นท่สี ุด การดาํ เนนิ งานปองกนั สารเสพติด จึงควรใหภูมิคุมกันแกกลุมเปาหมาย โดยมีหลกั การ รปู แบบกจิ กรรมเพือ่ ปองกนั สารเสพติดใหโทษทชี่ ดั เจน

128 กิจกรรมท่ี 1 ใหผ ูเ รียนอธบิ ายตามประเด็นดังตอไปนี้ 1. ถา ผเู รียนทราบแหลง ซ้อื ขายยาอี ยาบา ผเู รียนจะดาํ เนนิ การอยางไร ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... 2. ถามเี พอื่ นชักชวนไปเสพสารเสพตดิ ผูเรียนจะปฏบิ ัติอยางไร ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... 3. ผูเรียนมีวิธชี วยเหลืออยางไร เมื่อมเี พ่อื นสนิทตดิ สารเสพติด ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... กิจกรรมท่ี 2 ใหผูเ รียนเลาประสบการณการมีสวนรวมในการปองกันและแกปญหาสารเสพติดทัง้ ใน สถานศกึ ษา สถานทท่ี าํ งาน และในชมุ ชน ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................

129 บทที่ 8 อนั ตรายจากการประกอบอาชพี สาระสาํ คญั ความรู ความเขาใจ เกีย่ วกับอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในการประกอบอาชีพตลอดจนวิธีการ ปองกันแกไ ขและวธิ ีปฐมพยาบาลเมอ่ื เกดิ อนั ตรายจากการประกอบอาชพี ได ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั 1. สามารถอธิบายถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในการประกอบอาชีพตลอดจนแนวทางการ ปองกันแกไ ขได 2. สามารถอธบิ ายถงึ วธิ กี ารปฐมพยาบาลเมอ่ื เกดิ อนั ตรายจากการประกอบอาชพี ได ขอบขายเนอื้ หา เรื่องท่ี 1 การปอ งกนั อนั ตรายจากการประกอบอาชพี เร่ืองที่ 2 การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน เรอื่ งท่ี 1 การปองกันอนั ตรายจากการประกอบอาชพี สขุ ภาพกบั การประกอบอาชพี มคี วามสมั พนั ธก นั อยา งมาก คอื 1. การประกอบอาชีพทําใหเรามีความเปนอยูทีด่ ีและในขณะเดียวกันการที่เราจะสามารถ ประกอบอาชีพไดจ ําเปน ตอ งมสี ขุ ภาพทดี่ ีทั้งรา งกายและจิตใจ ทั้งสองสง่ิ นีต้ อ งควบคูกันไปจึงจะทํางานไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพ

130 2. ความสัมพันธในทางลบ คือ การประกอบอาชีพสงผลเสียตอสุขภาพ ทําใหเกิดโรคและ อนั ตรายได ดงั น้ันจึงจําเปนทตี่ อ งควบคมุ และปอ งกันโรค รวมท้ังอันตรายจากการประกอบอาชีพ นอกจากนี้ควร ใหก ารศกึ ษาแกป ระชาชนใหป ระกอบอาชพี ไดอ ยา งปลอดภยั ปจ จยั ที่เปนสาเหตุของการเกิดโรคและอันตรายจากการประกอบอาชีพ ปจจยั ทส่ี าํ คญั ไดแก 1. บคุ คลผูปฏบิ ตั งิ านและควบคุมการทาํ งาน เปนผคู วบคุม กําหนด และปฏิบัตกิ ารทําสงิ่ ตา ง ๆ องคป ระกอบตา ง ๆ ของบคุ คลทส่ี ง ผลใหเกิดโรคหรอื อันตรายจากการทํางาน ไดแก 1.1 สภาวะทางรางกายและจติ ใจ รา งกายและจิตใจออนแอทําใหเกดิ โรคหรอื อนั ตรายได 1.2 ลักษณะนิสัยการทํางาน ตองรักการทํางาน ละเอียด รอบคอบ จึงจะไมเกิดโรคหรือ อันตราย 1.3 การขาดความรคู วามสามารถในการทํางานและประสบการณก ็เปนอีกปจจัยหนึ่งทที่ ํา ใหเ กดิ โรค 2. สภาพแวดลอ มทางกายภาพ ไดแ ก สถานทท่ี าํ งาน แสง เสยี ง ฯลฯ 3. สารเคมี เปน สิง่ ทีม่ ีประโยชนแ ละโทษในการประกอบอาชพี 4. เชอ้ื โรคและพิษของเชื้อโรค เม่ือเขาสรู า งกายอาจเกิดอันตรายได 5. เครอ่ื งจักร เครือ่ งมอื และในการทํางาน หากใชอ ยา งไมถ กู ตอง อาจเกิดอันตรายได สภาพการณท่ีไมปลอดภยั (Unsafe Conditions) เคร่ืองจักร : ไมม อี ุปกรณป องกนั สว นท่ีเคลื่อนไหว หรือมไี มเพยี งพอ เครอื่ งมือ : อปุ กรณช าํ รดุ เปน อันตราย ส่งิ ของ : วสั ดุ วางไมเปน ระเบยี บ อาคาร : สิ่งปลกู สรางไมม ่นั คง สารเคมี : วตั ถุมีพิษไมมีทเี่ กบ็ โดยเฉพาะ สภาพ ความรอ น ความเยน็ แสงสวา ง เสยี งดงั ฝนุ ละออง ไอระเหย ฯลฯ การกระทาํ ทไ่ี มปลอดภยั (Unsafe Acts) • เดินเครื่องจกั รหรอื ทาํ งานที่ไมใชหนา ทีข่ องตน หรือไมรูง าน • เดนิ เคร่ืองเรว็ เกินควร • ถอดอปุ กรณป อ งกนั อนั ตรายออก • ใชเ ครือ่ งมือไมถ กู วธิ ี ไมเ หมาะสม หรือไมปลอดภัย

131 • ทาปฏบิ ัติงานไมเ หมาะสม • ไมใ ชอ ุปกรณปอ งกันสวนบคุ คล • ประมาท มกั งา ย หรอื หยอกลอ กนั ในขณะทาํ งาน • จงใจฝาฝนกฎระเบียบ • อน่ื ๆ 1.1 ความปลอดภัยท่วั ไปในบรเิ วณโรงงาน ขอ พึงปฏบิ ตั ิเพ่ือความปลอดภัยในโรงงาน 1. หา มสบู บหุ ร่ีในบรเิ วณโรงงาน ยกเวนบริเวณทอ่ี นญุ าตใหส ูบได 2. หา มท้งิ กน บุหร่ีลงบนพื้น ตองทง้ิ ลงในภาชนะทจี่ ดั ไวใหเทาน้นั 3. หามนําไมขีดไฟ หรือไฟแชก็ ชนิดจงั หวะเดียวเขา ไปในบริเวณท่หี ามสบู บุหรี่ 4. หา มหุงตม อาหารในบรเิ วณทห่ี ามสูบบุหร่ี 5. หามนาํ อาหารหรือเครอ่ื งดื่มเขา ไปในบริเวณท่ีผลิตสารเคมอี นั ตรายและคลังพสั ดุ 6. หามเก็บเสื้อผา รองเทา หมวก ถุงมือ และของใชสวนตัวอื่น ๆ ไวในที่ตามใจชอบ ให จดั เกบ็ ไวใ นตูท จ่ี ัดไวใ หเ ทา นัน้ 7. หามบว นน้ําลายลงบนพน้ื โรงงาน หรือในบรเิ วณทท่ี าํ งาน 8. ใหท ิ้งขยะมูลฝอยในถังทจ่ี ัดไวไ หเทานั้น 9. ควรรกั ษาความสะอาดของเคร่ืองใชประจําตัวอยางสม่าํ เสมอ 10. ตองสวมเส้ือผา รองเทา ใหเรยี บรอยตลอดเวลาท่ีทํางานในโรงงาน และสวมหมวกพรอม ทัง้ อุปกรณปองกนั อนั ตรายอนื่ ๆ ที่จําเปน เมื่อทํางานในโรงงาน 11. หากมีอุบตั ิเหตเุ กดิ ขนึ้ ใหรายงานตอผูบังคับบัญชาทนั ที 12. หากรูสึกเจ็บปวยในเวลาทํางานใหรีบรายงานตอผูบังคับบัญชาเพื่อจะไดทําการ รกั ษาพยาบาลทนั ที 13. ใหเ ดนิ ตามทางทีจ่ ดั ไวใ นโรงงาน อยา วง่ิ เมอื่ ไมมเี หตจุ ําเปน 14. จัดเก็บและเรียงสิง่ ของใหเปนระเบียบ เพื่อใหมีทางเดินหรือทํางานไดสะดวกและ ปลอดภยั 15. หามเลน เยา แหย หรือหยอกลอกันในบรเิ วณทท่ี ํางาน 16. หามฝกขบั ขย่ี านพาหนะในบริเวณโรงงาน 17. ตอ งเรียนรถู ึงวธิ กี ารดับเพลิงและการใชอปุ กรณดับเพลงิ ประเภทตา ง ๆ การใชแ ละเก็บรักษาเคร่ืองมอื อปุ กรณการทาํ งาน 1. ใหเกบ็ เคร่อื งมอื และอุปกรณตา ง ๆ ใหเปนระเบียบเรยี บรอยเปนที่เปนทางไมเกะกะ และ เก็บรกั ษาใหอยใู นสภาพที่ดี เม่อื จะใชห รอื เตรยี มจะใช ตอ งวางไวใ นที่ที่ไมเ ปน อันตรายแกบคุ คลอื่น 2. ในขณะปฏิบัติงานบนทีส่ ูงหามวางเครื่องมือหรืออุปกรณอื่นใดบนนั่งราน แทน บันได หรือทีส่ งู เวน แตจะไดมที ีเ่ กบ็ ไวไ มใหตก

132 3. เครือ่ งมือไฟฟาชนิดมือถือหรือชนิดเคลื่อนยายได และไมมีฉนวนหุมสองชั้น จะตอง ประกอบดว ยสายไฟฟาชนิดสามสายและปลกั๊ ทต่ี อ ไปยงั สายดนิ 4. ผูปฏิบัติงานทุกคนเมื่อพบเห็นเครือ่ งมือเครื่องใช หรืออุปกรณซึง่ ถาปลอยทิง้ ไวอาจ กอใหเกิดอันตราย หรือพบเห็นเครือ่ งมืออุปกรณทีใ่ ชปองกันอันตรายนั้นไมไดมาตรฐาน ใหแจงผูบ ังคับบัญชา ทราบโดยทันที 5. ในการปฏบิ ัตงิ านแตล ะคร้งั หา มผูปฏิบตั งิ านใชเครื่องมอื ที่ชาํ รดุ บกพรอ ง การใชอ ปุ กรณย กยา ยสิง่ ของ 1. อปุ กรณย กของจะตองไมบ รรทุกน้าํ หนักเกินกวา มาตรฐานการใชง านที่กาํ หนดไว 2. ผูปฏิบัติงานที่ทํางานเกี่ยวกับอุปกรณยกของจะตองสวมเครื่องปองกันอันตรายที่ เหมาะสมกบั งาน เชน หมวกนิรภยั รองเทานิรภัยและถุงมอื นริ ภยั ฯลฯ 3. การทํางานเกย่ี วกบั อุปกรณยกของจําเปน ท่จี ะตองมกี ารประสานงานกับเจาหนา ทีค่ นอน่ื ที่ ทํางานอยูในบรเิ วณเดยี วกนั 4. ผูใ ชปน จัน่ กวาน และเครน จะตองเปนผูทีม่ ีหนาทีแ่ ละไดรับอนุญาตจากผูบังคับบัญชา แลวเทา นนั้ 5. กอนทําการใชปนจั่น กวาน และเครนในแตละวัน ผูใชจะตองตรวจสอบใหแนใจวา ปน จัน่ กวาน และเครนอยูใ นสภาพทีเ่ หมาะสมกับการใชงานและสามารถใชงานไดอยางปลอดภัย เชน ตรวจหา รอยราย รอยแตก การหลุดหลวมของนอตระบบไฮดรอลิกส ระบบควบคุมการทํางาน สมอเก่ียว โซ และเชือก เปน ตน 6. ผูใชปนจ่ันจะตองไมยกของหนักขามศีรษะบุคคลอื่น นอกจากหัวหนางานจะสั่ง และ ผูป ฏิบตั ิงานท่ีทาํ งานอยูใกล ๆ หรืออยูใตอ ุปกรณยกของนั้น จะตอ งระมดั ระวงั ส่งิ ของตกลงมาตลอดเวลา 7. ในขณะที่ปนจั่นหรือเครื่องยกอื่น ๆ กําลังยกของคางอยู ผูใชจะตองเอาใจใส ไม ปลอยปละละเลยปน จ่ันหรือเครอ่ื งยกเหลา นั้น 8. ในการปฏิบัติงาน ผูใชปนจัน่ หรือเครื่องยกอืน่ ๆ ตองดูสัญญาณจากพนักงานผูมีความรู ความชํานาญ และมีหนาทใ่ี นเร่อื งนีแ้ ตเ พยี งผูเดียวเทาน้ัน 9. เมือ่ ใชปนจัน่ กวาน และเครนในบริเวณทีม่ ีสายไฟหรืออุปกรณไฟฟาทีม่ ีกระแสไฟฟา ไหลผานอยู ผูใชจะตองไมนําสวนหนึ่งสวนใดของปนจั่น กวาน และเครนซึง่ ไมมีเครือ่ งปองกันเขาใกลสายไฟ หรอื อุปกรณไฟฟานอยกวา ระยะท่กี ฎหมายกาํ หนดไว 10. สลงิ ท่ใี ชกับเครอื่ งยกตา ง ๆ จะตอ งเปน ชนิดท่ีทําดว ยลวด โซเหล็ก หรือเชอื กมะนลิ า 11. สลงิ ทุกเสน จะตอ งมีความแขง็ แรงพอท่ีจะรับนํา้ หนักไดไมนอ ยกวา 8 เทาของสง่ิ ของท่จี ะ ยก 12. กอนที่จะใชสลิง จะตองตรวจดูใหละเอียดถีถ่ วนวาจะใชไดอยางปลอดภัยหรือไม หาม ใชส ลิงทห่ี งกิ งอหรือมเี สน เกลียวขาดจนทําใหความแขง็ แรงนอยกวาท่ีกําหนดไวใ นขอ 11 13. เมื่อจะใชสลิงยกของทม่ี ขี อบแข็งคม จะตองใชไ มห รือส่ิงรองรบั อ่นื ๆ ที่เหมาะสมรองกนั ไวไมใหส ลิงชาํ รุดเสียหาย

133 การใชเ ครอ่ื งกลงึ 1. หามวางเครือ่ งมือหรือวัตถุตาง ๆ ไวบนแทนเลือ่ นของเครือ่ งกลึง เวนแตเครือ่ งมือ ที่ จําเปนตองใชในงานท่กี าํ ลงั ทาํ อยเู ทา น้ัน 2. จะตองจัดหาลัง ถังหรือภาชนะอ่นื ๆ ที่เหมาะสมไวสําหรบั ใสเศษวตั ถุ 3. ผูป ฏิบัติงานทุกคนที่ปฏิบัติงานกับเครื่องจักรกลจะตองสวมแวนตานิรภัย เพื่อ ปอ งกันอันตรายซึงอาจเกิดขึ้นกับดวงตา และตอ งใชแผน ปด หนาอกทีท่ ําดว ยผาทมี่ สี ว นประกอบของใยสังเคราะห นอยทส่ี ดุ เพือ่ ปอ งกันเศษโลหะทรี่ อ น ซง่ึ อาจจะกระเด็นถกู ผวิ หนงั หรือเสอื้ ผา ที่สวมใส 4. หา มวัดขนาดชน้ิ งานขณะทเ่ี คร่ืองกลงึ กําลังหมนุ 5. หามใชม ือไปจับเพ่ือดึงเศษโลหะออกจากชิ้นงาน โดยเฉพาะขณะที่กําลงั กลึงอยู การใชเครอ่ื งขัดหรือหินเจียร 1. จะตองติดตง้ั เครื่องขดั หรอื หินเจียรใหยึดแนน กับพ้ืนโตะ หรือฐานอื่น ๆ ที่มั่นคงแขง็ แรง 2. จะตองมีฝาครอบเครื่องขัดเพือ่ ปองกันไมใหผูป ฏิบัติงานไดรับอันตรายจากเศษโลหะที่ กระเดน็ ออกมา 3. จะตองไมตั้งอตั รารอบหมุนของจานขัดเกินอตั รารอบหมนุ เร็วท่ีบรษิ ทั ผผู ลติ กาํ หนดไว 4. จะตอ งปรบั แผนรองขัด (Work Rest) ใหพ อเหมาะโดยใหห า งจากจานขดั ไมเ กนิ 1/8 นิ้ว 5. จานขัดที่สึกมากจนใชการไดไมดี จะตอ งเปล่ยี นใหมทันที 6. จานขดั ท่ชี ํารดุ จะตอ งทง้ิ ไป อยานํากลับมาใชอกี 7. ผูป ฏิบัติงานที่ปฏิบัติงานกับเครือ่ งขัดจะตองสวมแวนนิรภัยเพือ่ ปองกันอันตราย อัน อาจจะเกิดขึ้นกับดวงตา และสวมเครือ่ งกรองอากาศหายใจปองกันอันตรายจากฝุน ทีอ่ าจจะเกิดกับระบบหายใจ และสวมถงุ มอื ปอ งกนั เศษโลหะ การใชเ ครอื่ งตดั 1. ในการทํางานกับเครือ่ งตัด ผปู ฏบิ ตั งิ านจะตองสวมเคร่อื งปองกันอันตรายสว นบคุ คล เชน เครอื่ งปอ งกันดวงตา ถุงมือ รองเทา ผาหรอื หนงั กันเศษโลหะ 2. เครื่องตัดจะตองมีเครือ่ งปองกันอันตรายประจําเครือ่ ง เชน แผนใสนิรภัยปองกันเศษ ช้ินงานกระเด็นเขา ตา หรอื มฝี าครอบวงลอ 3. ในหองปฏิบัติงานจะตองมีระบบระบายอากาศที่เพียงพอ เพือ่ กําจัดฝุน โลหะ ที่ เกิดขึ้น ถาไมมีระบบระบายอากาศ จะตองใหผูปฏิบัติงานสวมอุปกรณปองกันฝุนตลอดระยะเวลา ที่ ปฏิบตั งิ านกับเครื่องตดั ดังกลา ว การใชเ ครอ่ื งปม โลหะ 1. ควรใชเครื่องปม ทีอ่ ยูใ นสภาพทีปลอดภัยตอการใชงาน หรือมีการติดตัง้ อุปกรณปองกัน อันตรายแลว เทา น้ัน 2. ถา ตองปมงานชิ้นเลก็ หรืองานที่คอ นขางยุงยาก ควรใชเครื่องมอื ชวยจบั ช้ินงาน 3. เม่ือตองการติดต้ัง เคลอ่ื นยาย และปรบั แตง แมพ มิ พ ควรใชบ ล็อกนริ ภัยทกุ คร้ัง

134 แลว เทานน้ั 4. การติดตั้ง เคลื่อนยาย หรือปรับแตงแมพิมพ ตองกระทําโดยบุคคลที่ไดรับการฝกอบรม การใชเครือ่ งจักรทั่วไป 1. ขจดั สว นท่เี ปน อันตรายทกุ สว นของเครอ่ื งจักรใหหมดไป (อาจใชหุน ยนตชวยทํางานใน จุดทีม่ ีอันตราย เปนตน) หรือทําการปองกันสวนที่มีอันตรายนั้น เชน ติดตัง้ ที่ปองกัน หรือ ฝาครอบ หรือใช เครื่องจักรอัตโนมัติ 2. ทํางานตามระเบียบวิธปี ฏิบัติงานอยางเครงครัด 3. สวมใสเสอ้ื ผา ทร่ี ดั กุม อยาสวมเสอื้ ปลอยชายหรอื แขนหลุดลุย 4. สวมใสเครื่องปองกันและใชเครือ่ งมือทีถ่ ูกตองและเหมาะสมกับงานทีท่ ํา และตองระวัง ในการใชถ งุ มอื เพราะถงุ มอื บางอยา งอาจจะไมเ หมาะกบั งานบางอยา ง 5. ในการตรวจสอบ ซอมแซม และทําความสะอาดเครื่องจักรน้ัน จะตองหยุดเคร่ืองจักรให เรียบรอยและมีเครื่องหมายชีบ้ อกหรือตดิ ปา ยแขวนวา “หา มเดินเครื่อง” 6. ใหต รวจตราเครือ่ งจกั รกอนเดนิ เครอื่ งและตรวจสอบเปน ระยะ ๆ และระวังอันตรายขณะ ตรวจตราเคร่อื งจกั รและกอ นเรม่ิ เดนิ เครอ่ื ง 7. เมือ่ จะตองทํางานรวมกัน จะตองแนใจวาทุกคนเขาใจในสัญญาณเพือ่ การสือ่ สารตาง ๆ อยา งชดั เจนและถกู ตอ งตรงกนั 8. อยา เขา ไปในสว นท่เี ปน อนั ตรายของเคร่ืองจกั ร หรือสวนที่ทํางานเคล่ือนไหวตลอดเวลา ถาจาํ เปน ตอ งเขาไปในบรเิ วณนั้น ตองแนใ จวาเครื่องจกั รไดห ยุดเดินเคร่ืองแลว การใชเ ครอ่ื งมือ 1. เลอื กใชเ คร่ืองมือท่ีเหมาะสมกบั งานที่ทํา 2. รักษาเครอื่ งมอื ใหอ ยูในสภาพทีด่ ีอยูเ สมอ โดยตรวจสอบสภาพกอ นการใชง านทกุ คร้ัง 3. ซอมแซมหรือหาเคร่ืองมอื ใหมทดแทนเครอ่ื งมือท่ชี าํ รดุ หรือแตกหักโดยทันที 4. ลางนํา้ มันจากเครอ่ื งมอื หรอื ช้ินงาน เพื่อปอ งกนั อบุ ตั ิเหตุจาการลน่ื ไถล 5. ตรวจสอบและปฏบิ ตั ติ ามขอแนะนําการใชเ คร่อื งมอื 6. จับหรือถือเคร่ืองมอื ใหก ระชบั การจับแบบหลวม ๆ อาจกอ ใหเกดิ อุบัตเิ หตุได 7. อยา เร่มิ งานโดยไมตรวจสอบสภาพตา ง ๆ โดยรอบหรือบรเิ วณพ้ืนทท่ี ี่ทํางานกอน การใชสายพานลําเลียง 1. สายพานลําเลยี งตอ งมีสวติ ซห ยุดฉุกเฉนิ และตองตรวจสอบใหรูจุดที่ติดต้ังสวิตซฉุกเฉิน กอนท่จี ะเรม่ิ ใชส ายพานลาํ เลยี ง 2. มอี ปุ กรณค รอบหรอื บงั สวนทห่ี มุนไดข องสายพาน เชน ลูกกลงิ้ มูเ ล ฯลฯ 3. ถาของทล่ี าํ เลยี งมีโอกาสตกลงมาได ตองมสี วนปด หรือครอบปอ งกัน 4. อยา กา วหรอื กระโดดขา มสายพานลาํ เลยี งขณะทาํ งาน

135 5. เม่อื จําเปน ตอ งซอมหรอื ตรวจตราสายพานลาํ เลียงเพราะมกี ารทํางานผิดพลาด ตอง ปด สวิตซทํางานกอ นทจี่ ะซอ มหรือตรวจตราสายพานลําเลียงน้นั การเชือ่ มโลหะ 1. ขณะทําการเชื่อมดวยไฟฟาภายในอาคาร จะตองใชฉากกัน้ กําบังเพือ่ เปนเครื่องปองกัน อนั ตรายแกผ ปู ฏบิ ตั ิงานคนอื่น หรอื ผทู อ่ี ยใู กลเ คียง 2. ขณะทําการเชื่อมหรือการตัดดวยกาซหรือไฟฟา ผูเ ชือ่ มหรือตัดจะตองใชเครื่องกําลัง หนาที่เหมาะสม มเี ลนสปอ งกันนัยนตาตามประเภทของการเชอ่ื มหรอื การตัดนนั้ และตองสวม ถุงมือหนังดวย 3. จะตองมีเคร่อื งดบั เพลิงประจําพนื้ ที่ และพรอมทีจ่ ะใชไ ดเสมอในกรณีเกิด เพลงิ ไหม 4. เมื่อจะใชเ ครอื่ งเชื่อมไฟฟา ผทู าํ การเชอ่ื มจะตองมัน่ ใจวาตนไมไดส มั ผสั กบั พ้ืนที่เปยกชื้น 5. หา มสวมถุงมอื ทีเ่ ปยกน้ํามันหรือจาระบีหยบิ จับเครื่องเชอ่ื ม 6. ถงั ออกซเิ จนและอะเซทิลีนจะตองมกี ารยดึ ใหแนน เพอ่ื ปองกันการลม และจะตองไมวาง ทออะเซทิลีนนอนราบกบั พ้นื เปนอนั ขาด 7. ใหใชไกบังคับแรงเคลือ่ น (Pressure Regulator) บังคับใหออกซิเจนและอะเซทิลีนไหลไป ยงั ไฟเชอ่ื มอยา งสมาํ่ เสมอ 8. ในขณะทําการเปดลิน้ ถงั ออกซิเจน หามผปู ฏิบัติงานคนหนง่ึ คนใดยืนอยูห นาเครือ่ งบงั คับ ออกซเิ จน 9. หา มทําการเชอ่ื ม ตดั หรือบดั กรีใกลต วั ถงั หรือที่ตัวถัง หรือภาชนะอื่น ท่ีเคยใสวัตถุติดไฟ หรอื วตั ถทุ เ่ี กิดระเบดิ ได จนกวาจะไดทาํ การระบายอากาศ หรอื ลางถังหรอื ภาชนะเหลา นั้นใหส ะอาดแลว 10. เมื่อทําการเชื่อมหรือเผาหรือใหความรอนกับตะกัว่ แคดเมียม วัตถุอาบสังกะสี หรือวัตถุ อื่นใด รวมทัง้ สารท่ใี ชช วยในการเช่อื ม จนทําใหเ กิดควนั ข้นึ จะตองจดั ใหมรี ะบบระบายอากาศ ทีด่ ีพอ เพือ่ ปองกันมิใหผูปฏิบัติงานสูดควันพิษที่เปนอันตรายเขาไป ถาหากไมสามารถทําการระบายอากาศได จะตอ งสวมหนา กากหรือเครื่องชว ยหายใจทไี่ ดร ับการรบั รองแลว ตลอดเวลาทป่ี ฏบิ ัตงิ าน 11. เม่อื ทําการเชือ่ มในสถานทอ่ี บั อากาศจะตองมกี ารระบายอากาศออกอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 12. การเก็บรักษาถังออกซิเจนและถังอะเซทิลีนเปนจํานวนมาก จะตองแยกเก็บไว คนละ แหง 13. การเชื่อมดวยไฟฟาหรือกาซใกลกับแบตเตอรี่ ตองยกแบตเตอรี่ใหพนจากบริเวณการ เชื่อม การพนสี 1. ดวงโคม พัดลมดูดอากาศและสายไฟในหองพนสี จะตองใชชนิดทีม่ ีความทนทานตอไอ ระเหยของสไี ดดี 2. สวิตซดวงโคม เตาเสียบ หรืออุปกรณอืน่ ๆ ที่อาจกอใหเกิดประกายไฟ จะตอง ไม ตดิ ตัง้ ไวภายในหองพน สี 3. หา มสบู บุหรี่ จุดไฟหรอื ทาํ ใหเ กิดประกายไฟภายในหอ งพน สี

136 4. ในขณะทาํ การพน สใี นหอ งพน สี ผปู ฏิบัติงานทกุ คนจะตองสวมหนากาก หมวก เสื้อแขน ยาวไมพ บั แขน ถงุ มอื กางเกงขายาว และรองเทา หมุ สน 5. ขณะท่กี ําลังทําการพนสี ทกุ คนท่ีอยใู นหองพนสีจะตองสวมหนากากแบบทมี่ ีเคร่อื งกรอง หรือใชผ า ปด ปากและจมูก การทํางานเกีย่ วกบั แบตเตอรี่ 1. หามสูบบุหรี่ จุดไฟ หรือทําใหเกิดประกายไฟภายในหองอัดแบตเตอรี่ หรือในหองเก็บ แบตเตอร่ี เพือ่ ปอ งกนั การระเบดิ ของกา ซไฮโดรเจน 2. เมือ่ จะปฏิบัติการใด ๆ เกี่ยวกับน้าํ กรด ผูป ฏิบัติงานจะตองสวมถุงมือยาง แวนตานิรภัย และผากนั เปอ นทําดวยยาง 3. ในกรณที ีน่ าํ้ กรดหกหรือกระเดน็ ถกู สวนหน่ึงสวนใดของรางกายใหใ ชนํ้าสะอาดลา งออก ทันที แลวรบี ไปพบแพทย 4. กอ นทาํ การตอหรอื ปลดสายข้วั แบตเตอรี่ ตองแนใ จวา ไดต ัดวงจรไฟฟา แลว 5. ในการยกหรือเคลื่อนยายแบตเตอรี่หรือกลองบรรจุแบตเตอรี่หามเอียงหรือตะแคง แบตเตอร่ี เพอ่ื ปอ งกนั การหกหรือกระเดน็ ของน้ํากรด 6. ข้วั ของแบตเตอรี่ขนาดใหญควรปดกนั้ ดว ยฉนวน เพ่อื ปอ งกนั การลดั วงจร 7. ในการเคลื่อนยายแบตเตอรีต่ องระมัดระวังไมใหแบตเตอรีก่ ระทบซึ่งกันและกัน หรือ กระแทกกบั สงิ่ อื่นที่อาจจะทาํ ใหแ ตกหรอื ราวได และหามวางแบตเตอร่ีซอนกันโดยเด็ดขาด การใชเ ครอื่ งปอ งกนั นยั นต าและหู 1. เม่อื ปฏบิ ัติงานในสถานทท่ี ีอ่ าจเกิดอนั ตรายกับนัยนตา จะตองสวมเครือ่ งปองกันนัยนตา ชนดิ ท่ีไดมาตรฐาน 2. ผูป ฏิบัติงานทีท่ ํางานเกี่ยวกับการติดตั้งหรือซอมบํารุง และลักษณะงานเปนงานที่ กอ ใหเกดิ ประกายไฟฟา เศษวตั ถุกระจาย จะตอ งสวมแวนนริ ภยั ปองกันนยั นตา 3. การปฏบิ ตั งิ านในท่ที ่ีมเี สียงดงั มาก ๆ จนเปน อนั ตรายตอระบบการไดยนิ ของผูป ฏิบัติงาน จะตอ งกาํ หนดใหผูป ฏิบัติงานทุกคนใชเ ครอ่ื งปอ งกันอนั ตรายตอ หูชนดิ เสยี บหรือชนิดครอบดวย 1.2 ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับไฟฟา กฎขอ บงั คบั ทั่วไป 1. พนักงานทีท่ ํางานเกี่ยวกับการซอม ตอเติม ติดตั้งอุปกรณไฟฟาตองสวมเสื้อผา ที่ แหง และสวมรองเทา พน้ื ยาง พรอมท้งั ตดั กระแสไฟฟาที่มายงั จดุ ทท่ี ํางานตลอดระยะเวลาทีท่ ํางานเกย่ี วกบั ไฟฟา 2. เคร่ืองมอื ท่ใี ชกบั งานไฟฟา ชนดิ ใชมือจบั ตอ งมีฉนวนซ่งึ อยใู นสภาพดีหุมท่ีดา มจับ

137 3. ในกรณีท่ีมีการปฏิบัติงาน ตรวจสอบ ซอมแซม หรือติดต้ังไฟฟาท่ีเก่ียวกับการผลิต ตอง ตดั สวติ ซตัวทเ่ี ก่ยี วของ พรอ มลอ็ กกญุ แจปอ งกนั การสบั สวิตซ อุปกรณแ ละเครอื่ งจกั รไฟฟา 1. มอเตอรท ี่ใชในบริเวณทม่ี วี ัตถไุ วไฟตองเปน ชนิดกนั ระเบดิ 2. หลอดไฟฟาหรอื โคมไฟ ซ่ึงใชใ นบริเวณท่ีมีวัตถุไวไฟ ตองเปนชนิดทีม่ ีฝาครอบมิดชิด และมตี ะแกรงโลหะหมุ รอบนอกอีกชน้ั หน่ึง 3. สวติ ซไ ฟฟาในบริเวณท่มี ีวัตถุไวไฟตองเปน ชนิดท่ีมีกลองโลหะหุมมิดชิด และเตาเสียบ ทใี่ ชตองเปนชนดิ ทีม่ ฝี าปด 4. การตดิ ตัง้ สวติ ซท กุ ตัวตองเลอื กชนิดทมี่ อี ตั ราทนกระแสสูงพอท่ีจะใชกบั กระแสสงู สดุ ใน วงจรท่ีใชนนั้ ได 5. การติดตั้งแผงสวิตซตองมีตูป ดมิดชิด และตองตัง้ หางจากเครื่องจักรพอสมควร สวนที่ เปนโลหะของแผงสวิตซตองตอลงดิน 6. เมื่อใชอุปกรณไฟฟาทั้งหมดพรอมกันในวงจรแตละวงจร จะตองมีกระแสไฟฟาไมเกิน ขนาดของกระแสไฟฟา สงู สดุ ท่ียอมใหใ ชกับไฟฟา ของวงจรนนั้ 7. การติดตั้งซอมแซม หรือแกไขดัดแปลงหมอแปลงไฟฟา ซึ่งแปลงไฟจากไฟฟาแรงสูง ตง้ั แต 12,000 โวลตขึ้นไป ตองติดตอขอความชวยเหลือหรือขอคาํ แนะนาํ จากเจา หนา ทีข่ องการไฟฟา เสียกอน 8. ตองมีการตรวจสอบ และทดสอบเครอ่ื งกําเนิดไฟฟาฉุกเฉิน ใหอ ยใู นสภาพท่พี รอมจะใช งานไดอ ยา งปลอดภยั อยเู สมอ 9. หามพนักงานทํางานเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟาทีม่ ีความดันตั้งแต 380 โวลตขึน้ ไปกอน ไดรับอนญุ าตจากหวั หนาฝายซอมบํารุง 10. การซอ มแซม ดดั แปลง หรอื แกไ ขอุปกรณและเครื่องจักรไฟฟาเปนหนาที่ของพนักงาน หนว ยซอมบาํ รงุ เทา น้นั วิธีปองกันอันตรายจากไฟฟาช็อต 1. ผปู ฏิบัตงิ านท่ีเกี่ยวของกับไฟฟา ตอ งมีความรเู กย่ี วกบั ไฟฟา 2. เมอ่ื พบส่ิงผิดปกตติ า ง ๆ เกิดข้นึ กบั สายไฟ ตอ งแจง ใหผูบงั คบั บญั ชาทราบทันที 3. ในการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ก่ยี วขอ งกบั ไฟฟา ตอ งใชผ ูช ํานาญงานเทา น้ัน 4. ตอ งปด ตูสวิตซไฟฟาเสมอ และจะตอ งไมม ีส่งิ กดี ขวางวางอยบู รเิ วณรูไฟฟา 5. ตองติดต้ังสายดินเสมอ 6. ตรวจสอบอปุ กรณป อ งกนั ไฟฟา ดดู ไฟฟา รว่ั กอ นใชอ ปุ กรณไ ฟฟา นน้ั ๆ เสมอ 7. การเปดหรือปดระบบไฟฟา ตองแนใ จกอ นวา ปลอดภยั แลว 8. เมือ่ เลิกใชอ ปุ กรณไ ฟฟาแลวใหเกบ็ เขาท่เี สมอ 9. ถา ตอ งทาํ งานอยใู กลร ะบบไฟฟา เชน มีสายไฟฟาอยูเหนือศีรษะตองระมัดระวังอยาไป สมั ผสั ถกู สายไฟฟา ดงั กลา ว 10. หา มทาํ งานโดยไมสวมชุดปอ งกันไฟฟาดูดโดยเดด็ ขาด

138 1.3 ความปลอดภัยในการทํางานกับวัตถุอันตราย วัตถุอนั ตราย วัตถุอันตราย หมายถึง วัตถุที่สามารถลุกไหมได ติดไฟได และระเบิดได วัตถุอันตรายตาง ๆ เหลา นี้ มกั จะมกี ฎหมายควบคมุ เปน พิเศษ และมขี อ บังคบั เพือ่ ใหท ํางานไดโ ดยปราศจากอุบตั เิ หตุ วัตถุอันตราย แบง ออกไดเ ปน 1. สารระเบดิ ได สารเหลานี้จะลุกติดไฟไดงายและระเบิดขึน้ เมือ่ มีความรอน มีการกระแทกหรือมีการ เสยี ดสี สารระเบดิ ไดม ีชอ่ื เรยี กแตกตา งกันไป ผูทท่ี าํ งานกับสารเหลา น้ีควรจะจดจําช่อื สารเหลาน้ีใหไดและมีการ ติดปา ยวา เปน สารอันตราย หรือวตั ถุอันตราย นอกจากน้ยี งั ควรรถู ึงวิธกี ารใชสารเหลานีอ้ ยางถูกตอ งดว ย 2. สารลุกไหมได สารลุกไหมได เชน สารฟอสฟอรัสแดงและสารฟอสฟอรัสเหลืองสามารถลุกติดไฟได เองเมื่อสัมผัสกับอากาศ ตัวอยางสารลุกไหมได เชน พวกคารไบด และสารประกอบโลหะของโซเดียม ซึ่งจะ ลกุ ติดไฟไดเม่อื สัมผสั กบั น้ํา 3. สารไวไฟ กา ซไวไฟ เชน กา ซถา นหนิ กา ซอะเซทลิ ีน กาซโพรเพน ฯลฯ กาซเหลาน้ีมีคุณสมบัติ ไวไฟและยังสามารถระเบิดไดอีกดวยหากกาซเหลานี้ผสมอยูใ นอากาศในสัดสวนทีพ่ อเหมาะ นอกจากนี้ สารละลายไวไฟตา ง ๆ เชน นาํ้ มนั ทนิ เนอร กย็ งั มคี ณุ สมบตั ไิ วไฟและยงั สามารถระเบิดอยางรนุ แรงไดอีกดวย สารเหลา นจี้ ะกอใหเกิดอุบตั ิเหตไุ ดงายคามีการเคลื่อนยายผิดวิธี ดังนั้นผูท่ีทําการขนยาย จะตองรวู ิธขี นยายที่ถกู ตองดว ย อันตรายของวัตถุอันตราย 1. กาซคารบอนมอนอกไซด (Carbon Monoxide) กา ซคารบอนมอนอกไซดเกดิ จาการเผาไหมทไ่ี มส มบรู ณ เกดิ ขนึ้ ไดทงั้ ในโรงงานและใน สถานที่ทํางาน กาซคารบอนมอนอกไซดเปนกาซทีเ่ บากวากาซออกซิเจนเล็กนอย เปนกาซที่ไมมีสี ไมมีกลิ่น และไมมีการกระตุนเตือนใด ๆ จึงเปนกาซที่อันตรายตอรางกาย เพราะกาซนี้จะทําใหเม็ดเลือดขนถายออกซิเจน นอ ยลง เปน เหตใุ หเ กดิ อาการขาดออกซเิ จน (Suffocation) ได เมอ่ื ตองทํางานในสถานท่ีท่มี กี าซคารบอนมอนนอกไซด ควรปฏบิ ัตดิ งั นี้ 1. กอนเริ่มงาน ตองตรวจดูความหนาแนนของกาซคารบอนไดออกไซดดวยเครื่อง ตรวจวัดกา ซกอ น

139 2. ใหระบายอากาศออกจนกวาความหนาแนนของกาซคารบอนไดออกไซดจะ ต่ํา กวา 50 ppm (0.005%) 3. ตอ งสวมใสห นา กากกรองทเ่ี หมาะสม 4. ถา ความหนาแนน ของกา ซคารบ อนมอนอกไซดส งู หรอื ความเขมขนของออกซิเจน ตาํ่ ใหใ ชเ คร่อื งชว ยหายใจ หรอื หนา กากแบบมอี ากาศเสรมิ 2. สารละลายอินทรยี  (Organic Solvents) มีสารละลายอินทรียเปนจํานวนมากที่ใชในสถานที่ทํางานและบานพักอาศัย สารละลาย อินทรยี เหลา นสี้ ามารถแทรกซึมเขา สูรา งการไดห ลายทางท้งั ทางระบบหายใจในรูปของ ไอระเหย เพราะเปน สารท่ีสามารถระเหยไดในอณุ หภูมิปกติ และแพรผ านผวิ หนงั ไดเพราะเปน ตวั ทําละลายไขมันนอกจากน้ยี ังอาจทํา ใหห มอสตไิ ด เพราะจะไปรบกวนการทาํ งานของระบบประสาทสว นกลาง ดังน้ันจงึ จําเปนอยา งยิ่งที่จะตองรูคุณสมบัติของสารละลายอินทรียท่ีจะใชเหลานั้น และ จะตองใชอยางถูกตอ งเพอื่ ใหเ กิดอนั ตรายนอ ยท่ีสดุ วธิ ปี ฏบิ ตั ิงานกับสารละลายอินทรยี อ ยา งปลอดภยั 1. ระวงั อยา ใหสารละลายอินทรยี หก 2. ปด ฝาภาชนะบรรจุสารละลายอนิ ทรยี เสมอ 3. ไมลางมอื ดวยสารละลายอินทรีย 4. ตรวจตราระบบระบายอากาศอยเู สมอ อยา ใหม สี ง่ิ ใดไปขดั ขางทางระบายอากาศ 5. หามใชสารละลายอินทรียใกลบรเิ วณที่มีไฟหรอื บรเิ วณที่อาจเกดิ ประกายไฟ 6. สวมใสอุปกรณปองกันทเ่ี หมาะสมเสมอขณะใชส ารละลายอินทรยี  7. ตองใชระบบระบายอากาศเสมอในขณะใชสารละลายอินทรีย 8. หลกี เลย่ี งการสัมผสั ไอระเหยของสารละลายใหม ากทสี่ ดุ เทาทจ่ี ะทาํ ได 3. ฝนุ ปกติโรคปอดท่ีเกดิ จากฝนุ ทห่ี ายใจเขา ไปจะมีชื่อเรียกวา โรคปอดฝุนหรือนิวโมโคนิซิส (Pneumoconiosis) ฝนุ ทส่ี ดู ดมเขามาจะฝงตวั อยใู นปอดและปอดไมส ามารถขจดั สิง่ แปลกปลอมเหลานไี้ ด เม่ือมีการ สะสมมากขึน้ ปอดจะรูส ึกแนนอึดอัด ทําใหหายใจไมออก วิธีแกไขทีด่ ีที่สุด คือ การปองกันโรคนีไ้ วกอน โดยปรับปรุงสภาพแวดลอมในบริเวณที่ทํางานและปรับเปลี่ยนวิธีการทํางาน เชน การขจัดฝุนในสถานที่ทํางาน หรือการสวมใสห นา กากปองกนั ฝุน วิธใี ชหนากากปองกนั ฝุนอยา งถกู วิธี 1. หนากากควรกระชับกับใบหนา ซึง่ ฝุน จะไมสามารถแทรกเขาไประหวางรองของ หนา กากกบั ใบหนา ได

140 2. แมส ภาพของสถานทท่ี าํ งานโดยทั่วไปจะสะอาด แตอาจจะมีฝุนขนาดเล็กอยูได จึง ควรสวมหนากากปองกันฝุน ไว ถา บริเวณนน้ั มีฝุนขนาดเล็กอยูได จึงควรสวมหนากากปองกันฝุนไว ถาบริเวณ น้ันมฝี ุน อยู 3. หามสวมหนา กากกรองฝนุ ในบริเวณทีอ่ ับอากาศ หรือบรเิ วณท่ีมีกา ซพษิ 4. ควรเก็บรกั ษาหนากากไวใ นทที่ อ่ี ากาศถายเทดี และเกบ็ อยางถกู หลกั วิธี รวมทง้ั ควร เปล่ียนไสก รองเมอ่ื จําเปน 5. หนา กากกนั ฝุนโดยทั่วไปจะใชสําหรบั งานชว่ั คราวเทา นน้ั 4. สารเคมจี าํ เพาะ สารเคมีจําเพาะจะถูกจัดเปนสารเคมีอันตราย เพราะจะกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพ รา งกาย เชน กอ ใหเ กดิ โรคมะเรง็ จากการทาํ งาน โรงผวิ หนงั ระบบประสาทเสอ่ื ม ฯลฯ ปจ จบุ นั มกี ารใชสารเคมี อยอู ยา งกวา งขวางในงานอุตสาหกรรมจึงตองระมัดระวังเปน อยา งยิง่ การปองกันอันตรายจากการใชสารเคมีจําเพาะ 1. อยาทําหกหรอื กระเด็นลงบนพ้ืน 2. กอนเร่ิมทาํ งานตอ งสวมอุปกรณป องกันอันตรายสวนบุคคลหรือติดตั้งระบบระบาย อากาศทัว่ ไปในทที่ ํางานแลว 3. จดั การปฏบิ ตั ิงานใหเ ปนไปตามระเบียบขอบังคับของกฎหมาย 4. เม่ือตองการขนยายหรือเก็บสารเคมีเหลาน้ัน จะตองบรรจุลงภาชนะท่ีเหมาะสม ให เรียบรอย 5. หา มสูบบุหร่ี รับประทานอาหาร หรอื ดมื่ นา้ํ ในขณะท่ีกําลงั ทาํ งานกับสารเคมี 6. หา มสัมผสั เส้ือผา ที่เปอ นสารเคมี 7. จัดใหมีการสวมชดุ ปอ งกนั หรืออปุ กรณปองกนั อนั ตรายจากสารเคมี 8. หา มนาํ สารเคมนี อี้ อกไปหรอื เขา ไปยงั หนวยงานอ่นื โดยไมไ ดรับอนญุ าต 9. เสือ้ ผาที่สวมใสขณะทํางานยอมมีสารเคมีปนเปอน จึงควรที่จะชําระลางรางกาย เปลี่ยนเสือ้ ผาใหม กอนที่จะรับประทานอาหารหรือกอนกลับบาน และนําเสือ้ ผาทีใ่ สทํางานนั้นไปซักหรือทํา ความสะอาดทนั ที 5. สภาพไรอากาศหรืออับอากาศ อุบัติเหตุจากการขาดอากาศหายใจมักเกิดขึ้นไดในบริเวณที่เปนใตถุนอาคาร ถัง หรือ บรเิ วณอุโมงคข ุดเจาะ ฯลฯ อาการขาดอากาศมีผลโดยตรงตอการทํางานของสมอง และบอยอคร้ังที่นําไปสูความ สูญเสยี อยางใหญห ลวง ทั้งนี้เพราะการอยใู นที่แคบหรอื อบั อากาศซ่ึงมักไมค อ ยมีคนไดเขาไปบอยนัก ก็ยากที่จะพบ หรอื ชวยชวี ิตไดทนั หากมีอบุ ตั เิ หตุเกิดขนึ้ วธิ ปี อ งกันการขาดอากาศหายใจมีดังน้ี

141 1. ตรวจสอบความหนาแนน ของออกซเิ จนกอ นลงมอื ปฏิบัตงิ าน 2. จัดระบบระบายอากาศที่เหมาะสม 3. มกี ารปฐมพยาบาลอยา งถกู ตอ งและเหมาะสม ขอพึงปฏิบตั ิเม่อื ตองทํางานในบริเวณท่ีมสี ภาพไรอ ากาศหรืออับอากาศ 1. กอนเขาบริเวณอันตรายทีม่ ีออกซิเจนนอยหรือออกซิเจนใกลหมด เชน ในบอหรือ ถัง จําเปนตองจัดใหมีระบบระบายอากาศที่ดี (อยางไรก็ตามก็เปนอันตรายมากเชนกัน ถาใชออกซิเจนบริสุทธิ์ อยา งเดยี ว) ความหนาแนน ของออกซเิ จนทเ่ี หมาะสมคอื ไมน อ ยกวา 18% 2. หามเขา ไปในบรเิ วณทมี่ ีสภาพขาดออกซิเจน ยกเวน ผมู หี นา ทเี่ กี่ยวของเทานนั้ 3. ผูจ ะเขาไปในบริเวณอับอากาศ ตองมีการเฝาดูและติดตามโดยหัวหนางาน หรือ เพอ่ื นรว มงาน และระบบระบายอากาศจะตอ งจดั ใหม อี อกซเิ จนอยา งนอ ย 18% ดว ย 4. ถาลักษณะงานไมสามารถจัดระบบระบายอากาศได ใหใชอุปกรณชวยหายใจที่ เหมาะสม เชน เครอ่ื งกรองอากาศ หรอื ระบบสายลม 5. ถา สภาพทท่ี าํ งานนน้ั ขาดอากาศมาก ๆ ใหส วมใสอ ปุ กรณน ริ ภยั เชน หนากาก เข็ม ขัดนริ ภยั หรือสายสง อากาศในขณะที่ปฏิบัตงิ านอยใู นบริเวณนน้ั 6. ตรวจสอบอปุ กรณปอ งกันทุกคร้ังกอนเรม่ิ ทํางาน 7. ถาไดรบั อุบตั ิเหตจุ ะขาดอากาศหายใจ ผทู ําการชวยเหลอื จะตองสวมใสอุปกรณชวย หายใจท่มี ีระบบระบายอากาศทีด่ ี ดงั อธบิ ายไวในขอ 4. ขางตน (หนากากปอ งกนั กาซไมไ ดจ ดั ไวสําหรับกรณีขาด อากาศ ควรขนยายผูป ว ยออกไปสทู ่โี ลง โดยเรว็ ทีส่ ดุ และชว ยหายใจดว ยการ เปา ปาก ฯลฯ ) การจัดใหม ีระบบระบายอากาศ เพอ่ื สขุ ภาพที่ดีควรจัดใหมีระบบระบายอากาศที่เหมาะสมในสถานประกอบการ จําเปน อยางยิ่งที่จะตองจัดระบบระบายอากาศในสถานประกอบการที่มีอุณหภูมิและความรอนสูง หรือมีกาซหรือไอที่ เกดิ ขึ้นจากตัวทาํ ละลายอนิ ทรียหรอื สารอืน่ ๆ การปลอยปละละเลยที่จะจัดทําระบบระบายอากาศจะเปนสาเหตุที่ กอใหเกิดอาการปวดศีรษะและวิงเวียนศีรษะได และปญหาที่จะตามมาก็คือความเจ็บปวยตาง ๆ ที่มีสาเหตุจาก สารเคมอี ันตราย การเปดหนาตางหรือประตูนัน้ เปนการถายเทอากาศทัว่ ไปตามปกติ การติดตัง้ ระบบ ระบายอากาศเฉพาะที่หรือในตําแหนงที่จําเปนนั้น ควรติดตั้งใหเหมาะสมกับลักษณะของสารเคมีอันตรายที่ จะตอ งใช แตค วรตระหนกั ไววา ในบางครั้งการเปด หนาตา งอาจใหผ ลทีต่ รงขามกนั กไ็ ด 1.4 ความปลอดภยั ในการทาํ งานกับผลติ ภัณฑเ คมี ขอ พงึ ปฏิบัติทว่ั ไปในการทาํ งานกับผลติ ภณั ฑเคมี 1. กอนปฏิบัติงานตองทราบถึงชนิดของผลิตภัณฑและอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ถาสงสัยให ปรกึ ษาผูบังคับบัญชาทีเ่ กีย่ วของ 2. กอนขนยายผลิตภัณฑตองสังเกตวาหีบหอไมแตกหรือบุบสลายซึง่ อาจจะทําให หก หลนสภู ายนอกได

142 3. หลกี เล่ยี งการสัมผัสกับผลิตภณั ฑโดยตรง ใหส วมเครื่องปอ งกัน เชน ถงุ มอื เส้อื คลมุ เครอ่ื งกรองอากาศ หมวก แวน ตา ฯลฯ 4. หามรับประทานอาหาร เครอื่ งดื่ม หรอื สูบบุหร่ใี นขณะปฏิบัติงาน 5. ขณะปฏิบัติงานหามใชมือขยี้ตา หรือใชมือสัมผัสกับปากจนกวาจะลางมือใหสะอาด เสยี กอ น 6. กอนรบั ประทานอาหาร สบู บุหรี่ หรอื เขา หองสขุ า ตองถอดอุปกรณปองกันอันตรายและ ลา งมอื ใหส ะอาดเสยี กอ น 7. หามผูท ไ่ี มมีหนา ท่ีเกย่ี วของปฏิบัติงานเกย่ี วกับผลติ ภณั ฑเคมี 8. หากเกิดอุบัติเหตุ ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑแตกเสียหาย ตองรีบรายงานผูบังคับบัญชาที่ รบั ผดิ ชอบทนั ที หรอื จดั การเก็บกวาด เช็ดถบู ริเวณใหสะอาดตามวธิ ที ่ีกาํ หนด ไมค วรปลอยท้ิงไว 9. ในขณะปฏิบัติงานหากพบวา มีการเจ็บปวย หรือวิงเวียนศีรษะใหหยุดปฏิบัติงานทันที พรอ มทัง้ รายงานใหผบู งั คับบญั ชาผูร บั ผิดชอบทราบ หรือทาํ การปฐมพยาบาลอยางถูกตอ งแลวรีบนําไปพบแพทย พรอมนําฉลากหรือผลติ ภัณฑไปดวย 10. อุปกรณปองกันอันตรายทีใ่ ชแลวตองทําความสะอาดหรือทําลายทิ้งตามคําแนะนําทีไ่ ด กาํ หนดไว 11. เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานแตละครัง้ ตองลางมือ อาบน้ํา และผลัดเปลีย่ นเสื้อผา ที่ สะอาด ความปลอดภัยในการใชผ ลิตภณั ฑเคมีในการผลติ 1. พนักงานตองอานคําแนะนําขางกลองบรรจุผลิตภัณฑเคมีทุกชนิดใหละเอียดกอน ทีจ่ ะ นาํ เขา โรงงานผลิต 2. กลอ งผลิตภัณฑเคมีทกุ กลองทน่ี าํ เขาโรงงานผลิตตอ งอยูในสภาพดไี มแ ตกร่ัว 3. พนักงานตองสวมถุงมือ เสื้อคลุมแขนยาว หนากาก รองเทาหุมสน กอนเปดกลอง สารเคมที จี่ ะนํามาใชในการผลิต 4. ตองระมัดระวังเปนพิเศษในการบรรจุผลิตภัณฑเคมี พยายามใหฝุนหรือละอองของ สารเคมีปลิวกระจายนอ ยที่สดุ 5. กลองเปลาของผลิตภัณฑเคมี หลังจากใชแลวตองนําไปเก็บรวมกันในทีม่ ิดชิด (หาก จําเปนตอ งมกี ญุ แจปด ) กอ นนําไปทาํ ลาย เผาทง้ิ หรือฝง ดิน 6. หลังจากที่พนักงานทํางานเรียบรอยแลว ใหลางมือ ลางหนาหรืออาบน้ํา และเปลี่ยน เส้ือผา ใหมกอนรบั ประทานอาหารหรือสบู บุหร่ี 7. หา มสูบบหุ ร่ีขณะปฏบิ ตั ิงาน 8. หามรบั ประทานอาหารหรอื เครื่องดื่มในบรเิ วณโรงงานผลิตหรอื โรงงานบรรจุ ความปลอดภัยในการเกบ็ ผลติ ภณั ฑเคมใี นคลังพสั ดุ 1. พนักงานตองอานฉลากผลติ ภณั ฑเคมที ุกครงั้ กอ นทาํ การเกบ็ เขาคลงั พัสดุ

143 2. ผลติ ภณั ฑเ คมีบางอยา งตองเกบ็ ในที่แหง สะอาด มอี ากาศถา ยเทดี และมอี ณุ หภูมิไมเ กิน 46 C 3. ผลิตภณั ฑเคมีตอ งเกบ็ ใหห า งจากอาหารและภาชนะบรรจุอาหาร 4. ไมควรเกบ็ ผลิตภัณฑเคมวี างซอนกันสงู เกนิ กวา 5 เมตร 5. หา มสบู บหุ รใ่ี นคลังพสั ดุ ยกเวนบริเวณที่กาํ หนดให 6. พนักงานตองสวมถุงมือ หนากาก รองเทาและเสือ้ แขนยาวขณะปฏิบัติงานซึง่ สัมผัสกับ สารเคมีโดยตรง 7. ผลิตภัณฑเคมีทีต่ กหลนตามพืน้ ใหกวาดเก็บใสถังอยางระมัดระวังเพื่อนําไปทําลายหรือ ฝง ดินในบรเิ วณท่ีกาํ หนด ถาเปนผลติ ภัณฑชนดิ เหลวใหใ ชท รายแหงกลบแลว กวาดเก็บไปฝง ดนิ หา มลา งดว ยนาํ้ 8. ผลิตภัณฑเ คมที ุกชนิดตอ งปดฉลากทกุ กลองกอ นนาํ เขาเกบ็ ในคลงั พสั ดุ 9. คลังเก็บผลติ ภณั ฑเ คมี ตอ งปดกุญแจหลังจากเลกิ งาน การเกิดไอเคมไี วไฟ การเกดิ ไอเคมไี วไฟในโรงงาน หมายถงึ การปลอ ยไอเคมไี วไฟจํานวนมาก ซ่ึงอาจลุกติดไฟ หรือระเบิดเมือ่ มีแหลงที่กอใหเกิดประกายไฟ หรืออาจเกิดจากการลุกไหมของสารเคมีหรือกาซทีม่ ีจุดวาบไฟ (Flash Point) ตาํ่ และมชี ว งไวไฟกวา ง จุดวาบไฟ (Flash Point) ของสารเคมีเหลว คือ อุณหภูมิต่ําสุดที่สารเคมีนั้นจะให ไอเคมีที่ สามารถผสมกบั อากาศเปน สว นผสมทพี่ รอ มจะลกุ ไหมเม่อื มแี หลง เกดิ ประกายไฟ ชวงไวไฟ (Flammability Limit) คือ ชวงระหวางความเขมขนต่าํ สุด และสูงสุดของไอเคมีใน อากาศซงึ่ จะเกดิ การลกุ ไหมไดเมื่อมีแหลงเกิดประกายไฟ สวนผสมของไอเคมีและอากาศที่ต่ํากวาชวงไวไฟนี้จะ เจือจางเกินไปทีจ่ ะลกุ ไหมได และในทาํ นองเดยี วกันสวนผสมทสี่ งู กวาชว งไวไฟน้จี ะเขม ขน เกินไปท่ีจะติดไฟ เมื่อเกิดกลุมไอเคมีจํานวนมาก หามพนักงานเขาไปในบริเวณที่เกิดไอเคมีนั้น ควรรับแจง หนว ยดบั เพลิงประจาํ โรงงานเตรยี มพรอ มเพือ่ ทาํ การชว ยเหลอื ทนั ที วิธีปฏิบัติเมือ่ เกดิ กลมุ ไอเคมี 1. ปลอดภัยไวกอน เมื่อพบไอเคมีจํานวนมากไมวาจะเกิดจากการหกราดบนพื้น หรือเกิด จากการรั่วจากทอสงเคมีหรือจากถังเคมีตาง ๆ หากมีขอสงสัยใหสมมุติไวกอนวากําลังเกิดกลุมไอเคมีไวไฟ อยา เสียเวลาไปหาเครื่องวัดประมาณไอเคมี เพราะกวาจะรู ประมาณไอและอากาศก็มีมากเพียงพอที่จะลุกไหมหรือ ระเบดิ ได และก็เปน เวลาทท่ี านไดเ ขาไปอยูใ นกลมุ ไอเคมไี วไฟเสียแลว 2. ออกไปใหพนจากบริเวณทีเ่ กิดกลุม ไอเคมีไวไฟทันที และรับแจงใหหัวหนางานหรือ ผูจดั การทราบ 3. ใหใชน้าํ ฉีดเปนฝอยเพื่อไลไอเคมี โดยใชหัวฉีดน้ําจากตูด ับเพลิงในกรณีทีเ่ กิดกลุมไอ เคมไี วไฟบริเวณรีแอกเตอร ใหเปด วาลวนาํ้ ปลอยนา้ํ จากหวั ฝก บวั ซ่ึงตดิ ตั้งอยเู หนือรแี อกเตอรเพ่ือ ไลไอเคมี

144 4. หากกลุมไอเคมีไวไฟกําลังลุกติดไฟใหฉีดน้าํ หลอเครือ่ งมือเครือ่ งใชหรือถังตาง ๆ ทีอ่ ยู รอบ ๆ บริเวณนั้น เพื่อปองกันการลุกลามขยายตัวของไฟและการระเบิด อยาพยายามเขาไปดับไฟที่จุดลุกไหม แตใหหาแหลงทีม่ าของไอเคมีและจัดการกําจัดตนตอของการเกิดไอเสียกอนโดยไมตอง เขาไปในกลุมไอเคมี แลว จงึ เขาทาํ การดบั ไฟ 1.4 ความปลอดภยั เกี่ยวกับอัคคีภยั การปองกันอัคคภี ยั ในบริเวณโรงงาน พนกั งานทกุ คนจะตองปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. รูจ ักคุณสมบัติเครื่องดับเพลิงทุกชนิดทีใ่ ชอยูในโรงงาน และสามารถนํามาใชงานได ทนั ที และเหมาะสมกบั ลกั ษณะของไฟเมอ่ื ตอ งการ 2. หามนําเครือ่ งดบั เพลิงมาฉดี เลน หรือหยอกลอกัน 3. ใหความสนใจกับเครือ่ งมือดับเพลิงในแผนก และจะตองมีการตรวจสอบสภาพของ เครื่องดับเพลิงอยูเ สมอ เมือ่ พบหรือสงสัยวาเครือ่ งดับเพลิงเครือ่ งใดอยูใ นสภาพชํารุดหรือน้าํ หนักพรองไป ให รายงานผบู ังคับบัญชาตามลําดบั ชนั้ ทันที 4. จะตอ งไมติดต้งั หรือวางเครื่องจกั รหรือสง่ิ ของใด ๆ เอาไวในตาํ แหนง ซึ่งจะเปนอุปสรรค หรอื กีดขวางการนําเคร่ืองดบั เพลงิ มาใชโดยสะดวก 5. วัตถซุ ง่ึ ไวไฟหรือนํ้ามันเชอ้ื เพลงิ ชนิดบรรจถุ งั เมื่อนาํ มาใชแลว จะตองปด ฝาใหสนิทและ ทภ่ี าชนะบรรจุควรจะมเี ครื่องหมายแสดงวาเปน สารไวไฟ 6. หา มนํานํ้ามนั เชอื้ เพลิง หรอื เคมภี ณั ฑไวไฟใด ๆ ไปใชในการซกั ลางเสื้อผา 7. พนักงานทุกคนจะตองทําความเขาใจกับวิธีปฏิบัติเมือ่ เกิดเพลิงไหม พนักงานทุกคนจะตอง ใหความรว มมือในการซอมภาคปฏิบตั โิ ดยพรอ มเพรยี งกนั 8. ไมวาเพลิงจะเกิดจากอะไรก็ตาม หากเกิดขึ้นใกลกับสายไฟฟา เครื่องมือเครื่องใชหรือ แผงสวติ ซไ ฟฟา ใหป ลดสะพานไฟตดั วงจรไฟฟา ทนั ที เมอ่ื เกิดเพลิงไหม 1. เมื่อเกิดเพลิงไหมขึ้นในบริเวณที่ทํางาน จงอยาตื่นตระหนกจนเสียขวัญ พยายามรักษา ขวญั และกาํ ลงั ใจไวใหมนั่ การต่นื ตระหนกจนเสยี ขวัญอาจทําใหเหตกุ ารณเลวรายลงอีก 2. รีบแจงใหเพื่อนรวมงานทุกคนในบริเวณเพลิงไหมและหนวยดับเพลิงทราบ เพื่อ ดาํ เนินการดับเพลิงและแจง เหตุเพลงิ ไหมไปยังหนว ยดบั เพลิงของราชการ 3. พนกั งานผูไ มม หี นาที่เกย่ี วของกับการดบั เพลิงตองรีบออกจากตัวอาคารโดยเร็วตามแผน อพยพหนีไฟ และไปรวมกันทบี่ รเิ วณหนา ประตทู างเขา โรงงาน เพอ่ื รอคาํ สัง่ จากผูป ระสานงานดับเพลิงตอไป 4. พนักงานที่ไดรับมอบหมายใหเปนหนวยดับเพลิงโรงงาน จะตองเตรียมหัวฉีดสาย ดับเพลิง เพือ่ ตอเขากับขอตอทอน้าํ ดับเพลิงและอยูใ นสภาพเตรียมพรอมโดยเร็วท่ีสุด ในกรณีที่เพลิงอยูใน

145 ตําแหนงทีห่ ัวฉีดใหญจะฉีดมาถึง อาจไมจําเปนตองใชทอดับเพลิงและหัวเล็กฉีดตอ ทัง้ นีใ้ หขึน้ อยูก ับดุลยพินิจ ของหนวยดบั เพลิงโรงงาน การปอ งกนั อัคคภี ยั ในสํานักงาน 1. พนักงานทกุ คนจะตอ งทราบขอ บังคบั เกยี่ วกบั ความปลอดภยั ในสาํ นกั งานเปน อยา งดี 2. พนักงานทุกคนควรฝกใชเครอ่ื งดบั เพลิงใหเ ปน 3. พนักงานทุกคนตองปฏิบัติตามกฎขอบังคับความปลอดภัยในสํานักงานโดยเครงครัด เชน หามสบู บุหรี่ในบรเิ วณหามสบู 4. บริษัทอาจจัดใหมีการซอมดับเพลิงเมื่อเกิดเพลิงไหมหรือกรณีฉุกเฉิน ณ สํานักงาน รวมกับเจา หนาทข่ี องทางราชการ พนักงานทกุ คนจะตอ งใหค วามรว มมือในการซอ มโดยพรอมเพรยี งกัน 5. หา มวางสง่ิ ของกดี ขวางทางออกฉกุ เฉนิ เมอื่ เกดิ เพลิงไหม 1. ใหพนักงานที่พบเพลิงไหมรีบดับเพลิงตามความสามารถทันทีหากเห็นวาไมสามารถ ดับเพลงิ ดวยตนเองได ใหรีบแจง ผูประสานงานดบั เพลงิ ทราบทนั ที 2. ผปู ระสานงานจะแจง ใหเจาหนาที่บรหิ ารของบรษิ ัททราบ และเปดสญั ญาณเพลิงไหม 3. เมื่อมีสัญญาณเพลิงไหมใหพนักงานทุกคนหยุดปฏิบัติงานทันทีและจัดเก็บเอกสารที่ สําคัญพรอมทัง้ ของมีคาไวในที่ปลอดภัย แลวรับออกจากบริเวณทีท่ ํางานในทิศทางตรงขามกับบริเวณเกิดเพลิง ไหม 4. การออกจากอาคาร หา มวง่ิ และหา มใชล ฟิ ตโ ดยเดด็ ขาด 5. ใหพนักงานที่ออกจากอาคารแลวทุกคนไปรวมกันในบริเวณที่จอดรถอาคารเพื่อ ตรวจสอบจาํ นวนและรอรบั คาํ ส่งั จากผปู ระสานงานตอไป 1.5 ความปลอดภยั ในสํานักงาน พื้นสํานักงาน - ทางเดนิ - ประตู 1. ควรใหพ น้ื สํานกั งานมีความสะอาดอยูเ สมอ 2. พืน้ สํานักงานควรอยูในแนวระดับราบไมลาดเอียงหรืออยูตางระดับกัน หากไมสามารถ หลกี เล่ียงได ใหใ ชสีสันแสดงใหเ หน็ ชัดเจน 3. ใหใชว สั ดกุ ันลืน่ ปูทับบนกระเบ้อื งหรือพน้ื ขดั มนั ท่ลี นื่ 4. ในขณะปฏบิ ัตงิ าน หา มวง่ิ หรือทําการลื่นไถลแทนการเดนิ 5. ในขณะที่มีการขัดหรือทําความสะอาดพืน้ ผูป ฏิบัติงานควรสังเกตปายคําเตือนและเดิน หรอื ปฏิบัตงิ านดวยความระมัดระวงั มากยิง่ ข้ึน 6. ในกรณีทีม่ ีน้ํา น้าํ มัน หรือสิง่ ที่ทําใหเกิดการลื่นบนพืน้ สํานักงานใหแจงเจาหนาที่ที่ รับผิดชอบโดยทันที โดยกอนแจงใหแสดงเคร่ืองหมายเตือนไวดว ย 7. ในกรณีทีพ่ บเห็นวัสดุหรือเครื่องใชสํานักงาน เชน ดินสอ ที่หนีบกระดาษ ยางลบ หรือส่ิงอนื่ ใดตกหลน อยบู นพน้ื ใหเก็บโดยทันทเี พราะอาจเปน สาเหตใุ หล่นื หกลม ได

146 8. ในขณะเดินถึงมุมตึกใหเดินทางดานขวาของทางเดิน และเดินอยางชา ๆ ดวยความ ระมดั ระวัง เพ่อื หลีกเล่ยี งการชนกบั ผูอ่นื ซ่งึ กาํ ลงั เดินมาจากอีกมุมหน่ึง 9. ควรตดิ ตั้งกระจกเงาทาํ มมุ ในบริเวณมมุ อบั ที่อาจเกิดอุบตั เิ หตุไดง า ย 10. สายโทรศัพท สายเครื่องคิดเลข หรือสายไฟฟา ควรติดตัง้ ใหเรียบรอย เพือ่ ไมใหกีด ขวางทางเดนิ 11. อยายนื หรอื เดินใกลบรเิ วณประตทู ีป่ ด อยู เพราะบุคคลอ่ืนอาจจะเปดประตมู ากระแทกได 12. เมื่อจะผานเขาออกบังตา หรือเปดปดประตูบานกระจก ควรเขาออกหรือเปดปดดวย ความระมัดระวังอยางชา ๆ และในการใชบังตาหรือประตูที่เปดปดสองบาน ใหใชบังตาหรือบานประตูทาง ดานขวา 13. บังตาหรือประตูบานกระจกทีเ่ ปดปดสองทาง ใหติดเครือ่ งหมาย “ดึง” หรือ “ผลัก” ให ชดั เจน 14. ไมควรจัดเก็บวัสดุอุปกรณสิง่ ของตาง ๆ หรือปลอยใหมีสิง่ กีดขวางบริเวณทางเดินหรือ ชองประตู การใชบนั ได การใชบันไดอยางปลอดภยั 1. กอ นขึ้นหรือลงบันได ควรสงั เกตสิ่งทีอ่ าจกอใหเกดิ อนั ตรายขึน้ ได 2. ถาบริเวณบันไดมีแสงสวางไมเพียงพอ หรือราวบันไดหรือขั้นบันไดชํารุด ใหแจง เจา หนาทเ่ี พ่อื ทาํ การแกไ ขใหเรยี บรอ ย 3. อยาปลอ ยใหมเี ศษวัสดชุ นิ้ เล็กชิ้นนอ ยตกอยตู ามข้ันบันได เชน เศษกรวด เศษแกว ฯลฯ 4. ไมควรติดตั้งสิ่งที่ดึงดูดความสนใจ เชน กระจกเงา ภาพโปสเตอร เครื่องประดับ ตกแตงตาง ๆ ไวบ ริเวณบันได 5. ควรจดั ใหมพี รมหรอื ทีเ่ ชด็ เทา บรเิ วณเชิงบันได เพื่อความปลอดภยั 6. อยาวงิ่ ขน้ึ หรือลงบนั ได ควรขึ้นลงดว ยความระมัดระวัง 7. หามเลน หรอื หยอกลอ กนั ในขณะข้นึ หรอื ลงบนั ได 8. การขนึ้ ลงบันได ใหขน้ึ ลงทางดา นขวาและจบั ราวบันไดทกุ คร้ัง 9. อยาปลอยราวบันไดจนกวา จะมีการขึ้นหรือลงบนั ไดเปน ท่ีเรียบรอ ยแลว 10. ในขณะขึน้ หรอื ลงบนั ได ใหใ ชสายตามองขน้ั บันไดทจี่ ะกาวตอไปและหามกระทําสิ่งใด ๆ ในลักษณะที่จะกอใหเกิดอนั ตราย เชน การอา นหนังสือ หรือคนสงิ่ ของในกระเปา ถอื เปนตน 11. อยา ขึน้ หรอื ลงบนั ไดเปน กลุมใหญใ นเวลาเดยี วกนั การใชบนั ไดพาดและบันไดยนื อยา งปลอดภัย 1. กอนใชบันไดพาดหรือบันไดยนื ตอ งตรวจสอบความแข็งแรงโดยท่ัวไป ตองแนใจวาไม มีรอยหัก รอยราว และมียางกันล่นื 2. เม่ือใชบนั ไดพาดกับผนัง ตองพาดใหไ ดป ระมาณ 70 องศาและควรสงู กวาจุดที่จะทํางาน อยา งนอ ย 60 เซนติเมตร

147 3. ถาเปน ไปได ควรยดึ หัวและทา ยของบันไดดว ยเชือก แตถา ทําไมไดควรใหค นอื่นชวยใช มอื จบั ยดึ ให 4. พืน้ วางบนั ไดตอ งเรยี บ และปราศจากหลมุ บอ หรือโหนกนูน 5. ขณะปนบันไดขึน้ หรือลงใหมองไปขางหนาและไมทํางานบนบันไดดวยทาทางทีไ่ ม เหมาะสม 6. กรณมี แี ผนรองยืนบนบนั ไดยืน ขาของบันไดตองหางกันไมเกิน 1.8 เมตร และแผนรอง ยืนตองสูงไมเ กนิ 2 เมตร 7. บันไดยนื ตอ งมีตวั ล็อกขาท่กี างไวด ว ย 8. ถา ใชบันไดยืนในจุดทไ่ี มแนใ จวา จะมีความปลอดภัยเพยี งพอตอ งมีผชู ว ยคอยยดึ จบั บนั ได น้ันไว 9. อยายืนบนแผน รองยนื เม่ือตองอยูส งู เกนิ 1.2 เมตร โตะ ทาํ งาน - เกาอี้ - ตู 1. ตลอดเวลาการทาํ งานไมค วรปดลนิ้ ชักโตะ ลิน้ ชกั ตูเอกสาร หรือตูอ่ืนใดคางไว ใหปดทุก ครงั้ ทไี่ มใ ชงาน 2. หามวางพัสดุ สง่ิ ของ หรอื กลอ งใตโ ตะทาํ งาน 3. หามเอนหรือพงิ พนักเกา อ้ี โดยใหร บั นํา้ หนักเพยี งขา งใดขา งหน่ึง 4. ใหมพี ื้นทเี่ คลอ่ื นยายเกาอี้ สําหรับการเขา ออกทสี่ ะดวก 5. หามวางพัสดุ ส่ิงของตา ง ๆ บนหลังตูเพราะอาจตกหลนลงมาเปน อนั ตราย 6. อยา เปด ลิ้นชกั ตเู อกสารในเวลาเดยี วกันเกนิ กวาหน่งึ ลน้ิ ชกั 7. การจัดเอกสารใสในลิน้ ชักตู ควรจัดใสเอกสารจากชัน้ ลางสุดขึน้ ไป เพือ่ เปนการถวงดุล นาํ้ หนกั และใหห ลกี เล่ียงการใสเอกสารในลน้ิ ชกั มากเกนิ ไป 8. ใหใ ชหูจบั ลิ้นชักทุกคร้ังเมือ่ จะเปด ปดล้ินชกั เพอ่ื ปองกนั น้ิวถูกหนบี 9. การจดั วางตูล้นิ ชกั ตูตองไมเ กะกะชองทางเดินในขณะทปี่ ดใชงาน สายไฟฟาและเตา เสียบ 1. สายไฟฟา ที่มีรอยฉกี ขาด หรือปลั๊กไฟฟาท่ีแตกราว ตองทําการเปลีย่ นทันที หามพันดวย เทปพนั สายไฟหรอื ดดั แปลงซอ มแซมอยา งใดอยา งหนง่ึ 2. เตาเสียบทีช่ ํารุดจะตองทําการซอมแซมโดยทันที ในระหวางรอการซอมแซมจะตองปด หรอื ครอบ เพือ่ ปองกันไมใ หผูอ ่ืนมาใชงาน 3. เครื่องมือหรืออุปกรณไฟฟาตาง ๆ ทีใ่ ชภายในสํานักงาน ใหวางในตําแหนงที่ใกล เตาเสยี บมากทีส่ ดุ เพอ่ื หลีกเลีย่ งสายไฟฟา ท่ที อดยาวไปตามพ้ืน หรือหลีกเล่ียงการใชสายตอ ในกรณีท่ีไมอาจวาง ในตาํ แหนงใกลเ ตาเสียบได ใหแ สดงเครือ่ งหมายใหชดั เจนเพือ่ ปอ งกันการเดินสะดุดสายไฟฟา 4. ในการใชอ ปุ กรณไ ฟฟา ใหแ นใ จวา แรงดนั ไฟฟา เหมาะสมกับความตองการแรงดันไฟฟา ของอุปกรณนน้ั ๆ

148 ถกู สายไฟฟา 5. การวางหรือเคลือ่ นยายเครือ่ งใชสํานักงาน ตองระวังอยาใหมีการวางหรือเคลือ่ นยายไปทับ การใชเครือ่ งใชส ํานักงาน 1. ในขณะขนยายกระดาษควรระมดั ระวงั กระดาษบาดมอื 2. ใหเ กบ็ ปากกาหรอื ดนิ สอ โดยการเอาปลายชล้ี ง หรอื วางราบในชิน้ ชกั 3. ใหทําการหุบขากรรไกรที่เปดซองจดหมาย ใบมีดคัดเตอร หรือของมีคมอืน่ ๆ ใหเขาที่ กอ นทาํ การเกบ็ 4. การใชเครือ่ งตัดกระดาษ ตองระวังนิว้ มือใหอยูหางจากใบมีด ขณะทีก่ ําลังทําการตัด กระดาษ และหลีกเลีย่ งการตัดกระดาษจํานวนมากเกินไปพรอมกันทีเดียว ถาไมไดใชงานใหลดใบมีดลงใหต่ํา ที่สุด อยายกใบมดี คางเอาไว 5. การแกะลวดเย็บกระดาษไมควรใชม อื หรือเลบ็ ใหใ ชท่ีดึงลวดเยบ็ กระดาษทุกครัง้ 6. เฟอรน เิ จอรทเ่ี ปน โลหะใหท าํ การลบมุมทกุ แหง เพือ่ ความปลอดภยั 7. ควรใชบันไดหรือชั้นเหยยี บ เมื่อตองการหยิบของในท่ีสูง ไมควรยืนบนกลอง โตะ หรือ เกาอตี้ ดิ ลอ 8. หลังเลิกงานทุกวัน ใหปดไฟฟาทุกดวงและตัดวงจรอุปกรณไฟฟาภายในหองทํางาน ทั้งหมด 9. เครอ่ื งใชส าํ นกั งานทอ่ี าจกอ ใหเ กดิ อนั ตราย เชน สายพาน ลูกกล้ิง เกียร เฟอง ลอ ฯลฯ ถา ไมม ีการติดตั้งอปุ กรณปอ งกนั อนั ตรายเอาไว ใหตดิ ตงั้ อุปกรณปอ งกนั อนั ตรายน้ันใหเรียบรอยกอนทจี่ ะใชงาน 10. หามทําความสะอาด ปรับ แตง หรือเปลี่ยนแปลงสวนประกอบใด ๆ ของเครื่องใช สาํ นกั งานท่อี าจกอ ใหเกดิ อนั ตรายในขณะท่เี ครือ่ งกาํ ลังทาํ งาน 11. ตองทําการศึกษาวิธีใชและขอควรระวังของเครือ่ งใชสํานักงานทีม่ ีอันตรายใหดีกอน ปรบั แตง 12. ถามีผูปฏิบัติงานสองคน หรือมากกวาสองคนขึน้ ไปทํางานกับเครือ่ งใชสํานักงานทีม่ ี อนั ตรายเครอ่ื งเดยี วกัน ผูป ฏิบัตงิ านแตล ะคนจะตองระมดั ระวงั ซึ่งกนั และกัน 13. อยาถอดอปุ กรณปอ งกนั อันตรายหรอื เปด แผงเครอื่ งใชสํานกั งานทม่ี ีอันตรายโดยเด็ดขาด กรณีเครอื่ งขัดของใหต ิดตอชา งเพือ่ มาทาํ การซอ มแซม 14. เคร่อื งใชส าํ นกั งานท่ใี ชกําลังไฟฟา และมไิ ดเปน ชนิดทีม่ ีฉนวนหุม สองชัน้ จะตองมรี ะบบ สายดินตดิ อยทู ่คี รอบโลหะผา นปลัก๊ และหามมีการดดั แปลงปล๊ักเพ่ือตดั วงจรสายดนิ ออก 15. ใหต ดั กระแสไฟฟา ของเครื่องใชสํานกั งานที่ใชไฟฟาทุกคร้ังที่ไมใชหรือเมื่อจะปรับแตง เครือ่ ง ลิฟต 1. ในขณะเกิดเพลงิ ไหม หามทกุ คนใชล ฟิ ตใหใ ชบ นั ไดหนีไฟเทาน้ัน

149 2. กอ นใชล ฟิ ตท ุกครงั้ ใหส ังเกตวา ตวั ลิฟตเ ล่อื นมาอยูในระดับเดยี วกับพ้ืนแลว หรอื ไม ถา ตัว ลิฟตอ ยูตา งระดับกบั พน้ื ใหระมัดระวังการสะดดุ ขณะเดินเขา ลิฟต สําหรบั สภุ าพสตรที ่ีสวมรองเทาสนสูงหรือสน เล็กตองกา วขา ม เพ่อื ปอ งกนั การล่นื และหกลม 3. ในการใชลิฟต ใหเขา ลิฟตอ ยา งรวดเร็วและระมดั ระวงั อยาลังเลใจ 4. หา มสบู บหุ รใ่ี นลิฟต 5. เมือ่ ลิฟตเลื่อนถึงชั้นทีต่ องการ ใหรอประตูลิฟตเปดเต็มทีแ่ ลวกาวออกจากลิฟตอยาง รวดเรว็ 6. หามใชมือจับหรือดันประตูลิฟตเพือ่ ใหลิฟตรอบุคคลอืน่ ใหใชปุม ควบคุมประตูลิฟตที่ ตดิ ตงั้ อยูภายในลิฟต 7. ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินขณะอยูใ นลิฟต ใหปฏิบัติตามขอแนะนํา ซึ่งติดอยูภายในลิฟต พยายามควบคมุ สตใิ หไ ด อยา ตกใจเปน อนั ขาด กิจกรรม 5 ส สคู วามปลอดภยั สถานท่ที ํางานจะปลอดภยั ดว ยการปฏิบตั ิ 5 ส สถานทด่ี าํ เนินกิจกรรม 5 ส จะปลอดภัยกวา ถูกสุขอนามัยกวา และมีการผลิตดีกวา ในการทํา ใหสถานทท่ี าํ งานนาอยู นาดู สะดวกสบายและปลอดภัยนั้น จะตองกําจัดสิ่งท่ีไมตองใชแลวออกไปใหหมด และ จัดส่งิ ทจ่ี ะเก็บใหเ ปน หมวดหมู เพือ่ ความสะดวก สะอาด และสวยงาม กิจกรรม 5 ส สะสาง : แยกรายการสิง่ ของที่จําเปนและไมจําเปน ทิ้งสิง่ ของทีไ่ มจาํ เปน ออกไปใหมากท่สี ุดเทา ที่จะทําได สะดวก : เก็บเครอื่ งมอื อุปกรณไวใ นทที่ ่ใี ชไดสะดวกและเก็บในสภาพทป่ี ลอดภัย สะอาด : จดั ระเบยี บการดูแลความสะอาดของสถานทท่ี าํ งาน เชน การกาํ จดั ฝนุ ละออง สขุ ลกั ษณะ : ดูแลเส้อื ผาและรกั ษาสภาพสถานท่ีทาํ งานใหสะอาดเรยี บรอย อยา ปลอ ย ใหสกปรกรกรุงรังเปน เด็ดขาด สรา งนิสัย : ปฏบิ ตั ิ 4 ส ขา งตนจนเปนนสิ ยั 1.6 ความปลอดภัยในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปจ จบุ นั การประกอบอาชพี เกษตรกรรม มกี ารนาํ เคร่ืองจักรกล เชน รถแทรกเตอร

150 รถไถนา เครื่องเก็บเกี่ยว เครื่องผอนแรง เปนตน และสารเคมี เชน ปุยเคมี สารกําจัดศัตรูพืช สารฆาแมลง เขา มาใชอยางมากมาย เพือ่ ชวยเพิม่ ผลผลิต ซึง่ สิ่งเหลานีห้ ากนําไปใชอยางไมถูกตองจะมีผลเสียตอสุขภาพและชีวิต อนั ตรายจากการประกอบอาชพี เกษตรกรรม มี 5 ประการ ดงั น้ี ประการที่ 1 สารเคมี เชน ปุย สารกําจัดศัตรูพืช สารฆาแมลง สารพิษปราบวัชพืช สาร กาํ จดั เชอ้ื รา สารกาํ จดั สตั ว สารพษิ กาํ จดั สาหรา ย ไสเ ดอื นฝอย หอยทาก สารเคมเี หลา นห้ี ากใชถูกวิธีก็มีประโยชน หากใชผ ดิ วธิ เี ปนโทษอยา งมากเชน กนั เกษตรกรจําเปนตอ งทราบส่ิงเหลาน้ี • วธิ เี กบ็ การใช โดยอา นจากฉลากขา งภาชนะบรรจุ • เมอื่ ใชหมดแลว ตอ งทาํ ลายภาชนะบรรจุโดยการเผาหรือฝง • ไมค วรสบู บหุ รขี่ ณะทําการฉีดพน • ระวงั การสมั ผสั สารเคมที ผี่ ิวหนงั เนอ่ื งจากสามารถดดู ซมึ ทางผวิ หนังได • ระวังการสูดดมหายใจเขา สูทางเดินหายใจ • ไมย นื ใตล มขณะฉีดพนสารเคมี • เครอื่ งใชต าง ๆ สาํ หรับการฉดี พนตองดูแลไมใ หเสือ่ มสภาพ รัว่ ซึม • เวลาผสมยาหา มใชม อื กวน ประการท่ี 2 อนั ตรายจากฝนุ ทเ่ี กดิ จากเกษตรกรรม ฝนุ เกิดขนึ้ จํานวนมากในกิจกรรมนวด ขาว และกิจกรรมอื่น ๆ ในนา ปญหาทีเ่ กิดขึ้นคือ ฝุน จะเปนสวนทีร่ ับเอาเชื้อรา ละอองเกสรดอกไม และ พวกสเปอรปะปนอยู และจะนําโรคสูค นได ทําใหผูสัมผัสเกิดเชือ้ รา โรคปอดฝุนฝาย โรคปอดชานออย โรคปอด ชาวนา วธิ ปี อ งกนั คอื • เกษตรควรสวมหนากากปองกนั ฝุน • รกั ษาความสะอาดของผิวหนงั หลังเสรจ็ งานแลว • ใชว ธิ ีพนน้าํ เพอ่ื ลดการฟงุ กระจายของฝุน • หาความรูเพื่อปองกันตัวเอง รวมทัง้ เพื่อใหทราบถึงภัยตาง ๆ ทีอ่ าจเกิดขึ้น เชน อาการเกดิ โรค จะไดสามารถปอ งกนั ตัวเองไมใ หเ กดิ โรคลกุ ลามตอไป ประการที่ 3 อันตรายจากการเปนโรคติดเชื้อจากสัตว ทีส่ ําคัญคือ มา วัว ควาย แกะ แพะ สุกร สุนัข สัตวปาที่กินเนือ้ นก เปด ไก เปนตน โรคติดเชือ้ ที่สําคัญ ไดแก โรคแอนแทรกซ โรคกลัวน้ํา บาดทะยกั เลพโตสไปโรซสี กลากเกล้อื นของเชอ้ื รา วิธปี องกันคอื • เกษตรกรควรทราบแหลงโรค วธิ ีการแพรโ รค • เมื่อสัตวป ว ยตอ งเผาหรือฝง ทําลายเช้อื ฉดี วคั ซนี ปอ งกันโรคแกส ัตว • รักษาความสะอาดของผิวหนัง ระวังมิใหสมั ผัสกบั ผวิ หนังของสัตวท ี่เปน โรค • ทาํ ความสะอาดแผลทันทีเม่ือมีบาดแผลเกิดข้ึน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook