Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุขศึกษา ม.ต้นws21002

สุขศึกษา ม.ต้นws21002

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-06-07 03:00:11

Description: สุขศึกษา ม.ต้นws21002

Search

Read the Text Version

151 ประการที่ 4 อันตรายจากความรอน แสง เสียง ความสั่นสะเทือน เกษตรกรอาจเปน ตะคริว ออนเพลีย หรือเปนลม อันเนื่องมาจากการไดรับความรอนที่มาจากแสงอาทิตย หรือไดรับเสียงดังจาก เครื่องจักรกล ซึ่งมีผลตอสุขภาพจิตดวย รวมทั้งเกิดอาการหูตึง หรือหูหนวกได อันตรายจาก แสงจา ซึ่งพบ มากทําใหเกิดตอ สูญเสียการมองเห็น และในการใชเครื่องจักรก็มีปญหา การสัน่ สะเทือนจากเครื่องจักร เชน รถ แทรกเตอร เครอ่ื งเกีย่ วขาว เคร่อื งไถ เครื่องเจาะ เลื่อยไฟฟา ความส่ันสะเทือนมอี นั ตรายตอมือและแขน ทําใหเกิด อาการปวดขอ ตอ เมอ่ื ยลา ระบบยอ ยอาหารผดิ ปกติ กระดกู อกั เสบ วธิ ปี อ งกนั อนั ตรายเหลา นไ้ี ดแ ก • การสวมใสอ ปุ กรณป อ งกนั อันตรายสวนบุคคล เชน ถุงมือ อุดหู • การปองกันเกี่ยวกับความรอน ทําไดโดยใหสวมเสื้อผาหนา แขนยาว แตเปนผาที่ ระบายอากาศไดด ี • ด่ืมน้ําผสมเกลือใหเ ขม ขน ประมาณ 0.1% • หยดุ พกั ระหวา งงานบอ ยขน้ึ หากอากาศรอ นจดั มาก ประการที่ 5 อบุ ัติเหตใุ นงานเกษตรกรรม เชน การถกู ของมีคมบาด ไดแก มีด ขวาน เคียว เม่อื เกดิ บาดแผลเกษตรกรไมมีเวลาทจ่ี ะทาํ ความสะอาดแผลหรือปฐมพยาบาลโดยทันที โอกาสที่จะไดรับเชื้อโรค เชน โรคบาดทะยกั จงึ พบบอ ย และเปน สาเหตกุ ารตายท่ีสาํ คญั หรือการใชเ คร่อื งยนตท่ีใชไฟฟาก็อาจเกิดไฟฟาดูด หรือเกิดการไหมตามผิวหนงั ขึ้นได ซึ่งควรตองเรียนรเู รอื่ งการใชไ ฟฟาใหถกู ตองดวย นอกจากนี้ยังมีอันตรายจาก การใชเคร่อื งยนต เชน เชอื ก โซ สายพาน หนีบหรอื บีบอัด ทาํ ใหม ีอุบตั เิ หตเุ กดิ ขน้ึ ที่น้วิ มือเปนสว นใหญ โรคจากการทํางานที่สําคัญและพบบอยที่สุดในเกษตรกรคือ การปวดหลังจากการทํางานอัน เนอ่ื งมาจากทา ทางการทาํ งานทฝ่ี น ธรรมชาติ ทาํ ใหเ กดิ อาการปวดเม่ือยกลามเน้ือ การปวดเมือ่ ยกลามเนือ้ ที่เกิดขึ้น ซาํ้ ๆ ทกุ วนั เรยี กวา โรคบาดเจบ็ ซาํ้ ซาก หรอื โรคบาดเจบ็ ซาํ้ บอ ย สามารถแกไ ขได ควรจะไดเรียนรูวิธีการหาเครื่องทุน แรงหรือประยุกตวิธีการทํางานเพื่อบรรเทาอาการเหลานั้นใหลดนอยลง ตวั อยางเชน การใชเคร่ืองหวา นเมล็ดพชื แทนการกมเงยในการหวา นโดยคนกจ็ ะทําใหการทํางานเปนสุขขึน้ ได เรื่องท่ี 2 การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน การปฐมพยาบาล คือ การใหก ารชวยเหลือเบอื้ งตน ตอผปู ระสบอนั ตราย หรอื เจ็บปว ย ณ สถานท่เี กิดเหตุกอ นท่ีจะถึงมอื แพทย หรือโรงพยาบาล เพือ่ ปอ งกนั มใิ หเ กดิ อนั ตรายแกช ีวิต หรอื เกดิ ความพกิ าร โดยไมส มควร วตั ถุประสงคของการปฐมพยาบาล 1. เพื่อใหมชี วี ิตอยู 2. เพ่ือไมใ หไดรบั อันตรายเพม่ิ ขึน้ 3. เพือ่ ใหก ลับคืนสูสภาพเดมิ ไดโ ดยเร็ว หลักทั่วไปในการปฐมพยาบาล 1. อยาต่ืนเตน ตกใจ และอยา ใหค นมงุ เพราะจะแยง ผบู าดเจบ็ หายใจ 2. ตรวจดูวา ผบู าดเจบ็ ยงั รสู ึกตัว หรอื หมดสติ 3. อยา กรอกยา หรือนาํ้ ใหแกผ บู าดเจบ็ ในขณะท่ีไมรูส ึกตวั

152 4. รบี ใหการปฐมพยาบาลตอการบาดเจบ็ ทีอ่ าจทําใหเ กิดอนั ตรายถงึ แกชีวิต โดยเร็วกอ น สว นการบาดเจบ็ อน่ื ๆ ท่ไี มร นุ แรงมากนกั ใหด าํ เนนิ การปฐมพยาบาลในลาํ ดบั ถดั มา การบาดเจ็บทีต่ อ งไดร บั การชว ยเหลือโดยเร็ว คอื 1. การขาดอากาศหายใจ 2. การตกเลอื ด และมอี าการชอ็ ก 3. การสมั ผสั หรอื ไดร ับสิ่งมีพิษที่รนุ แรง การปฐมพยาบาลเม่อื เกดิ อาการบาดเจบ็ ขอ เคลด็ สาเหตุ เกดิ จากการฉกี ขาด หรอื การยดึ ตวั ของเนือ้ เยอ่ื กลา มเนื้อ หรือเสน เอ็นรอบขอ ตอ อาการ - เวลาเคล่อื นไหวจะรสู กึ ปวดบรเิ วณขอ ตอ ทีไ่ ดรบั อันตราย - บวมแดงบรเิ วณรอบ ๆ ขอ ตอ การปฐมพยาบาล - อยา ใหข อ ตอ บรเิ วณทเี่ จบ็ เคล่อื นไหว - อยา ใหข องหนกั กดทับบริเวณขอ ทเี่ จ็บ - ควรประคบดว ยความเยน็ ไวก อ น - ถามอี าการปวดรนุ แรง ใหร บี นาํ ไปพบแพทย ขดั ยอก สาเหตุ เกดิ จากการทก่ี ลา มเนอ้ื ยดึ ตัวมากเกนิ ไป ซง่ึ เกดิ ขนึ้ เพราะการเคลื่อนไหวอยา งรุนแรง และ รวดเร็วมากเกนิ ไป อาการ เจ็บปวดบริเวณที่ไดรบั บาดเจบ็ ตอ มามีอาการบวม การปฐมพยาบาล - ใหผบู าดเจ็บนง่ั หรือนอนในทา ทีส่ บาย และปลอดภยั

153 - ถา ปวดมากอาจบรรเทาอาการโดยการประคบความเยน็ กอ น แลว ตอ ดว ยประคบ ความรอ น ตาบาดเจบ็ การปฐมพยาบาลเกย่ี วกบั ตานน้ั ควรใหก ารปฐมพยาบาลเฉพาะตาทบ่ี าดเจบ็ เลก็ นอ ยเทา นน้ั ถา บาดเจ็บรนุ แรงใหห าผาปด แผลสะอาดปด ตาหลวม ๆ แลวนําผบู าดเจ็บสงโรงพยาบาลโดยเร็ว สาเหตุ ผงเขา ตา - - มสี ง่ิ แปลกปลอมเขา ตา การปฐมพยาบาล ระคายเคอื งตา คัน หรือปวดตา - ใชน ํา้ สะอาดลา งตาใหทัว่ - ถา ผงไมอ อกใหห าผา สะอาดปด ตาหลวม ๆ แลว นาํ ผบู าดเจบ็ ไปพบแพทย สารเคมเี ขา ตา สาเหตุ กรด หรือดา งเขา ตา อาการ - ระคายเคืองตา - เจบ็ ปวด และแสบตามาก การปฐมพยาบาล - ใหล างตาดวยน้ําทส่ี ะอาดโดยวธิ กี ารใหน ํ้าไหลผานลกู ตา จนกวาสารเคมี จะออกมา - ใชผ า ปด แผลทส่ี ะอาดปด ตาหลวม ๆ แลว นาํ ผบู าดเจบ็ ไปพบแพทย โดยเรว็ ทส่ี ุด ไฟไหม หรอื นา้ํ รอ นลวก สาเหตุ บาดแผลอาจจะเกดิ จากถกู ไฟโดยตรง ประกายไฟ ไฟฟา วตั ถทุ ร่ี อ นจดั นาํ้ เดอื ด สารเคมี เชน กรด หรือดางทมี่ คี วามเขม ขน อาการ แบงเปน 3 ลกั ษณะ

154 - ลกั ษณะที่ 1 ผิวหนังแดง - ลกั ษณะท่ี 2 เกดิ แผลพอง - ลักษณะที่ 3 ทาํ ลายช้ันผวิ หนงั เขา ไปเปนอนั ตรายถึงเนื้อเยอื่ ทอ่ี ยูใ ตผ ิวหนงั บางคร้ัง ผูบาดเจบ็ จะมีอาการชอ็ ก การปฐมพยาบาล บาดแผลในลักษณะที่ 1 และ 2 ซงึ่ ไมส าหัส ใหป ฐมพยาบาลดงั นี้ - ประคบดวยความเยน็ ทันที - ใชน้าํ มันทาแผลได และปดแผลดว ยผาทส่ี ะอาด ใชผ าพนั แผลพนั แตอ ยา ใหแนน มาก บาดแผลในลักษณะที่ 3 ใหป ฐมพยาบาลดงั น้ี - ถา ผบู าดเจบ็ มอี าการชอ็ ก รบี ใหก ารปฐมพยาบาลอาการชอ็ กกอ น - หามดงึ เศษผาท่ีถกู ไฟไหมซึง่ ตดิ อยกู บั รา งกายออก - นาํ ผูบ าดเจบ็ สง โรงพยาบาลโดยเร็วที่สดุ เทาท่จี ะทําได กระดกู เคลอ่ื น สาเหตุ กระดูกเคลอื่ นเกิดขน้ึ เพราะปลายกระดูกขา งหนึ่งซึ่งประกอบกันเขา เปน ขอ ตอ เคล่อื นทหี่ ลดุ ออกจากเสนเอ็นท่ีหุม หอบรเิ วณขอ ตอ ไว อาการ - ตึงและปวดมากบรเิ วณขอตอ ทหี่ ลุด - ขอ ตอ จะมรี ูปราง และตําแหนงผิดไปจากเดิม การปฐมพยาบาล - จัดใหผบู าดเจ็บอยใู นทา ทส่ี บายท่ีสุด - หา มกด หรือทาํ ใหข อตอ น้นั เคล่ือนไหวเปน อนั ขาด - นาํ ผบู าดเจบ็ สงแพทยใ หเ ร็วทีส่ ดุ - การเคลอ่ื นยา ยผูบ าดเจบ็ ควรใชเปลหาม กระดกู หกั กระดกู หกั มอี ยู 2 แบบ คอื 1. กระดูกหกั ชนดิ ธรรมดา หรือชนิดปด ไดแก การมีกระดกู หกั เพยี งอยา งเดยี ว ไมแ ทงทะลผุ วิ หนงั ออกมา 2. กระดูกหกั ชนิดมีบาดแผล หรอื ชนิดเปด ไดแ ก การมกี ระดูกหกั แลว แทงทะลุ ผวิ หนงั ออกมา หรอื วตั ถจุ ากภายนอกแทงทะลผุ วิ หนงั เขา ไปกระทบกบั กระดกู ทาํ ใหก ระดกู หกั

155 อาการ - บวม - เวลาเคล่ือนไหวจะเจ็บบริเวณทไี่ ดร บั อันตราย - ถา จับบรเิ วณทไ่ี ดรับอนั ตรายจะรูสกึ นมุ นม่ิ และอาจมีเสยี งปลายกระดกู ทห่ี ักเสียดสีกนั - อวยั วะเบ้ียวบิดผดิ รูป การปฐมพยาบาล - อยาเคล่ือนยายผปู ระสบอันตราย นอกจากจะจาํ เปน จรงิ ๆ การเคลอ่ื นยาย อาจทาํ ใหบ าดเจบ็ มากขน้ึ ไปอกี - คอยระวงั ใหป ลายกระดูกที่แตกอยนู งิ่ ๆ - ปอ งกนั อยาใหเ กดิ อาการชอ็ ก - ถา กระดกู ทห่ี ักแทงทะลุผิวหนังออกมาขางนอก ใหห ามเลอื ดโดยใชนวิ้ กด หรือใชสายสาํ หรบั รัดหา มเลอื ด - ใชผา ปด แผลทสี่ ะอาด ปดปากแผล หรือกระดูกทโี่ ผลอ อกมา - ถามีความจําเปน ที่จะตองเคลอื่ นยา ยผูบาดเจบ็ ควรใชเ ฝอ กช่ัวคราว สายคลอ งแขน หมอน และเปล เฝอกช่ัวคราวอาจทาํ ดว ยวัตถใุ ด ๆ กไ็ ดท ีอ่ ยใู กลมอื เชน กระดาน มวนหนังสือพิมพ มวนฟาง หรือรม ใหผ ูกเฝอกกบั แขน หรือขาตรงที่หักท้ังขางลาง และขางบน และถาสามารถทําไดใหผูกมัดดจากท่ี ๆแตก ไปทั้งสองขาง จะทาํ ใหเ ฝอ กชั่วคราวแข็งแรงข้ึน ใชก ระดาษ ผา สาํ ลี หรือวัตถุอ่ืน ๆ ท่ีคลายกันรองเฝอก เพ่ือให บรเิ วณท่ีไดร บั อันตรายอยใู นระดบั เดียวกนั ซึง่ การทําวิธีนี้เฝอ กจะพอดี ไมกดกระดูกบางแหงมากเกินไป สําหรับ การใสเฝอกที่แขนหรือขานัน้ ควรใสใหรอบทุกดานดีกวาใสเฉพาะดานใดดานหนึง่ และใหใชผาเปนชิ้น ๆ หรือ เชอื กท่ีเหนียว ๆ ผูกเฝอ ก แตผาสาํ หรับผกู ในยามฉุกเฉนิ ที่ดีทีส่ ุดก็คือ ผา พันแถบยาว ๆ - บางครัง้ กอ นจะเขา เฝอกจําเปน ตองเคลื่อนยายผูบาดเจ็บบางเล็กนอย ควรจะใหใครคนหน่ึง จับแขน หรือขาสวนทีอ่ ยูเ หนือ และสวนทีอ่ ยูต ่าํ กวาบริเวณทีก่ ระดูกนั้นหักใหอยูนิง่ ๆ สวนคนอืน่ ๆ ใหชวยกัน รับน้าํ หนักของรา งกายไว วิธีทด่ี ีทสี่ ุดกค็ อื ใชเปลหาม - กระดูกสันหลัง หรือคอหัก หรือสงสัยวาจะหัก จะตองใชความระมัดระวังเปนพิเศษ ถาคน เจบ็ หมดสตอิ าจจะไมร ูวา กระดูกคอ หรือกระดกู สนั หลังหกั นอกจากผูทาํ การ ปฐมพยาบาลนั้นจะมีความรูในเรื่องนี้เปนพิเศษ กระดูกหักธรรมดาอาจจะกลายเปนกระดูกหักชนิดมีบาดแผลได ถา หากไมระมดั ระวงั ในการเคล่ือนยา ยผบู าดเจบ็ ดงั นัน้ หากสามารถทําไดควรงดเวนการเคลื่อนยายใด ๆ จนกวา แพทยจ ะมาทาํ การชว ยเหลอื การเคลอื่ นยายผูทกี่ ระดกู คอหัก - เมื่อจะทําการเคลื่อนยายผูบาดเจ็บที่กระดูกคอหัก ใหเอาบานประตู หรือแผนกระดานกวาง ๆ มาวางลงขางคนเจ็บ ใหปลายกระดานเลยศีรษะคนเจ็บไปประมาณ 4 นว้ิ เปน อยา งนอ ย - ถาผบู าดเจ็บนอนหงาย ใหใ ครคนหนงึ่ คุกเขาลงเหนือศีรษะ ใชมือทั้งสองจับศีรษะไวใหน่ิง ๆ เพอื่ ใหศ ีรษะ และหัวไหลเ คลอื่ นไหวเปนจังหวะเดียวกนั กับรา งกาย สว นคนอ่นื ๆ จะเปนคนเดียว หรอื หลายคน

156 ก็ไดชวยกันจับเสื้อผาของผูบาดเจ็บตรงหัวไหล และตะโพก แลว คอย ๆ เลื่อนผูบาดเจ็ดนั้นวางลงบนแผน กระดาน หรือบานประตู ใหผ ูบาดเจ็บนอนหงายอยายกศีรษะขน้ึ และอยา ใหค อบดิ ไปมา - ถาผูบาดเจ็บนอนคว่ําหนา ควรจะวางบานประตู หรือกระดานลงขาง ๆ ตัวผูบาดเจ็บ นั้น เอาแขนเหยียดไปทางศีรษะ คุกเขาลงเอามือจับขางศีรษะของผูบาดเจ็บ โดยใหมือปดหู และมุมขากรรไกร แลวคอยพลิกคนเจ็บใหนอนหงายบนกระดาน เวลาพลิกใหนอนหงายจะตองใหศีรษะอยูนิง่ ๆ และใหอยูระดับ เดยี วกบั ลาํ ตวั ทง้ั ศรี ษะ และลาํ ตวั จะตอ งพลกิ ให พรอ ม ๆ กนั - ระหวางทีท่ ําการเคลือ่ นยาย ควรจะใชหนังรัด หรือผาพันแผลก็ไดหลาย ๆ อัน รัดรอบตัว ของผูบาดเจบ็ ใหต ิดแนน กบั แผน กระดาษ หรอื ถามีเปลก็ใหใชเปลหาม การเคลื่อนยายผูท่กี ระดกู สันหลังหัก - อยารีบยกผูบาดเจ็บที่สงสัยวากระดูกสันหลังจะหัก ตองถามกอนวาสามารถเคลื่อนไหว ได หรือไม ถาผบู าดเจบ็ ไมไ ดส ติ และสงสัยวาจะไดรบั อันตรายท่ีกระดูกสันหลัง ใหปฏิบัติเชนเดียวกับผูท่ีกระดูกคอ หัก - ถา พบคนทีส่ งสัยวา กระดกู สนั หลังหักนอนควํา่ หนาอยู คอ ย ๆ พลกิ ใหน อนหงายลงบนแผน กระดาน หรอื เปล แลวหาอะไรมารองสนั หลังตอนลาง - ถาผูบาดเจ็บนอนหงาย คอย ๆ เลื่อนใหนอนบนกระดาน โดยปฏิบัติเชนเดียวกับผูท ี่กระดูก คอหกั - ผูบาดเจ็บที่สงสยั วา กระดูกสนั หลังหกั หามยกในทาน่ังโดยเดด็ ขาด กะโหลกศรี ษะแตก สมองไดร บั ความกระทบกระเทือน ผูที่ประสบอันตรายจนกะโหลกศีรษะแตก หรือสะเทือน จะมีอาการเลือดออกทางหู ตา และ จมกู อาจมขี องเหลวสขี าวไหลออกมาจากหู ตาดาํ อาจจะมขี นาดไมเ ทา กนั หนา แดง หรอื ซดี กไ็ ด การปฐมพยาบาล - ถาหนา มสี ีปกติ หรอื สแี ดง ควรวางผูบ าดเจ็บนอนลง แลวหนุนศีรษะใหสูงเล็กนอย ถาหนา ซดี ควรวางศรี ษะในแนวราบ - พลกิ ศีรษะใหอ ยใู นลกั ษณะทีไ่ มถ ูกทับบริเวณที่สงสยั วากระดูกจะแตก - ถามีบาดแผลปรากฏใหหามเลือด และปดบาดแผลดวยผาปดแผลที่สะอาด ผูกผาพันแผล ดา นตรงขา มกบั บาดแผล - ใหความอบอนุ แกผบู าดเจ็บอยูเสมอ และอยาใหส ารกระตนุ ใด ๆ แกผ บู าดเจบ็ การหา มเลือดเมอ่ื เกดิ อนั ตรายจากของมคี ม วธิ ีหา มเลอื ดมหี ลายวิธี ไดแก 1. การกดดว ยนว้ิ มอื มวี ธิ ีปฏิบตั ิดังนี้ - ในกรณีที่บาดแผลเลือดออกไมมาก จะหามเลือดโดยใชผาสะอาดปดทีบ่ าดแผลแลวพันให แนน ถายังมเี ลอื ดไหลซึม ใหใชน ้วิ มือกดตรงบาดแผลดวยก็ได

157 - ในกรณีทีเ่ สนโลหติ แดงใหญขาด หรอื ไดรับอันตรายอยางรุนแรงเปนบาดแผลใหญ ควรใช นิว้ มือกดเพอื่ หามเลอื ดไมใหไ หลออกมา และใหกดลงบรเิ วณระหวางบาดแผลกบั หัวใจ เชน - เลือดไหลออกจากหนังศรี ษะ และสวนบนของศีรษะ ใหกดที่เสน เลือดบริเวณขมับ ดา นท่มี บี าดแผล - เลือดไหลออกจากใบหนา ใหกดที่เสนเลือดใตขากรรไกรลางดานที่มีบาดแผล หา งจากมมุ ขากรรไกรไปขา งหนา ประมาณ 1 นวิ้ - เลือดไหลออกมาจากคอ ใหกดลงไปบริเวณตนคอขาง ๆ หลอดลมดานที่มี บาดแผล แตการกดตําแหนงนีน้ านๆ อาจจะทําใหผูถ ูกกดหมดสติได ฉะนั้นควรใชวิธีนี้ตอเมื่อใชวิธีอื่น ๆ ไม ไดผลแลวเทา น้นั - เลือดไหลออกมาจากแขนทอนบน ใหกดลงไปทีไ่ หปลาราตอนบนสุดใกล หวั ไหลของแขนดานท่ีมบี าดแผล - เลอื ดไหลออกมาจากแขนทอนลาง ใหกดทีเ่ สนเลือดบริเวณแขนทอนบนดานใน กง่ึ กลางระหวา งหวั ไหลกับขอ ศอก - เลือดออกที่ขา ใหก ดเสน เลอื ดบรเิ วณขาหนีบดา นทม่ี ีบาดแผล 2. การใชสายรดั หามเลอื ด ในกรณีที่เลือดไหลออกจากเสน โลหิตแดงที่แขน หรอื ขา ใชน้ิวมือกดแลวเลอื ด ไมห ยุด ควรใชสายสาํ หรับหามเลอื ดโดยเฉพาะ - สายรัดสําหรับแขน ใหใชรัดเสนโลหิตทีต่ นแขน สายรัดสําหรับขาใหใชรัดเสนโลหิตที่ โคนขา - อยาใชสายรัดผูกรัดใหแนนเกินไป และควรจะคลายออกเปนเวลา 3 วินาที ทุก ๆ 10 นาที จนกวา เลือดจะหยดุ - ถาไมมีสายรัดแบบมาตรฐาน อาจใชวัตถุที่แบน ๆ เชน เข็มขัด หนังรัด ผาเช็ดตัว เนคไท หรือเศษผา ทําเปนสายรัดได แตอยาใชเชือกเสนลวด หรือดายทําเปนสายรัด เพราะอาจจะบาด หรือเปนอันตราย แกผ ิวหนังบริเวณที่ผูกได 3. การยกบรเิ วณท่ีมบี าดแผลใหสูงกวา หวั ใจ ในกรณีทม่ี ีบาดแผลเลอื ดออกท่เี ทา จัดใหผบู าดเจบ็ นอนลงแลวยกเทา ขึน้ กิจกรรม ใหผ เู รียนรวบรวมขอมลู การไดรับอนั ตรายจากการทํางานของตนเอง สมาชิกใน

158 ครอบครวั และเพื่อนรวมงาน ดังน้ี 1. ขา พเจา เคยไดร บั อนั ตรายจากการทาํ งาน ดงั น้ี • งาน / หนาที่ทป่ี ฏิบัติ หรือเคยปฏบิ ัต.ิ ..................................................................................... ........................................................................................................................................... • อันตรายที่เคยไดรบั 1. ..................................................................................................................................... 2. ..................................................................................................................................... 3. ..................................................................................................................................... • การปอ งกนั และแกไ ข 1. ..................................................................................................................................... 2. ..................................................................................................................................... 3. ..................................................................................................................................... 2. สมาชิกในครอบครัวเคยไดรบั อนั ตรายจาการทาํ งาน คอื ......................................................... • งาน / หนาท่ที ปี่ ฏบิ ตั ิ หรอื เคยปฏบิ ตั ิ.................................................................................. ........................................................................................................................................... • อนั ตรายท่เี คยไดรบั 1. ..................................................................................................................................... 2. ..................................................................................................................................... 3. ..................................................................................................................................... • การปอ งกนั และแกไ ข 1. ..................................................................................................................................... 2. ..................................................................................................................................... 3. ..................................................................................................................................... 3. เพื่อนรว มงานท่ีเคยไดร บั อันตรายจากการทาํ งาน ดังนี้ • งาน / หนาทีท่ ปี่ ฏิบตั ิ หรอื เคยปฏบิ ตั .ิ ................................................................................. ........................................................................................................................................... • อันตรายท่เี คยไดรบั 1. ..................................................................................................................................... 2. .....................................................................................................................................

159 3. ..................................................................................................................................... • การปอ งกนั และแกไ ข 4. ..................................................................................................................................... 5. ..................................................................................................................................... 6. .....................................................................................................................................

160 บทที่ 9 ทกั ษะชีวิตเพ่อื การสื่อสาร สาระสําคัญ การมีความรูความเขาใจเกีย่ วกับทักษะที่จําเปนสําหรับชีวิตมนุษย โดยเฉพาะ ทักษะการสื่อสาร ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล ทักษะการเขาใจผูอื่น จะชวยใหบุคคล ดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน และสังคมอยางมีความสุข ผลการเรียนรูท ่ีคาดหวงั เพอื่ ใหผ เู รียน 1. มีความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับทักษะชีวิตทีจ่ ําเปน 3 ประการ ไดแก ทักษะการ ส่อื สาร ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวา งบุคคล และทกั ษะการเขาใจผูอ่ืน 2. ประยุกตใชทักษะชีวิตในการดําเนินชีวิต และในการทํางานอยางมี ประสิทธภิ าพ ขอบขายเน้อื หา ความหมายของทักษะชีวิต เรื่องที่ 1 ทกั ษะชีวิตท่จี ําเปน 3 ประการ เรอื่ งท่ี 2

161 เรือ่ งที่ 1 ความหมายของทกั ษะชวี ติ คําวา ทักษะ (Skill) หมายถึง ความชัดเจน และความชํานิชํานาญในเรือ่ งใดเรือ่ ง หนึง่ ซึง่ บุคคลสามารถสรางขึน้ ไดจากการเรียนรู ไดแก ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทํางาน รว มกบั ผูอนื่ การอา น การสอน การจัดการ ทักษะทางคณิตศาสตร ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใช เทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเปนทักษะภายนอกทีส่ ามารถมองเห็นไดชัดเจนจากการกระทํา หรือจากการ ปฏิบัติ ซึ่งทักษะดังกลาวนั้นเปนทักษะทีจ่ ําเปนตอการดํารงชีวิต ที่จะทําใหผูม ีทักษะเหลานัน้ มีชีวิต ที่ดี สามารถดํารงชีพอยูในสังคมได โดยมีโอกาสทีด่ ีกวาผูไมมีทักษะดังกลาว ซึง่ ทักษะประเภทนี้ เรียกวา Livelihood skill หรือ Sikll for living ซึง่ เปนคนละอยางกับทักษะชีวิต ทีเ่ รียกวา Life skill (ประเสริฐ ตันสกุล) ดังนัน้ ทักษะชีวิต หรือ Life skill จึงหมายถึง คุณลักษณะ หรือความสามารถ เชิงสังคม จิตวิทยา (Phychosoclal competence) ท่ีเปน ทกั ษะภายในทีจ่ ะชว ยใหบ คุ คลสามารถเผชิญ สถานการณตาง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และเตรียมพรอมสําหรับการ ปรับตัวในอนาคต ไมวาจะเปนเรือ่ งการดูแลสุขภาพ เอดส ยาเสพติด ความปลอดภัย สิ่งแวดลอม คุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ เพื่อใหสามารถมีชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข หรือจะกลาวงาย ๆ ทักษะชีวิต ก็คือ ความสามารถในการแกปญหาทีต่ องเผชิญในชีวิตประจําวัน เพือ่ ใหอยูรอด ปลอดภัย และสามารถอยูรวมกับผอู น่ื ไดอ ยา งมีความสขุ 1.1 องคประกอบของทักษะชีวิต องคประกอบของทักษะชีวิต จะมีความแตกตางกันตามวัฒนธรรม และสถานที่ แต ทกั ษะชวี ิตท่ีจําเปนที่สดุ ทที่ ุกคนควรมี ซ่ึงองคการอนามัยโลกไดสรุปไว และถือเปนหัวใจสําคัญใน การดํารงชีวติ คือ 1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision making) เปนความสามารถในการตัดสินใจ เกี่ยวกับเรื่องราวตาง ๆ ในชีวิตไดอยางมีระบบ เชน ถาบุคคลสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการกระทํา ของตนเองที่เกี่ยวกับพฤติกรรมดานสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมินทางเลือก และ ผลทีไ่ ดจากการตัดสินใจเลือกทางที่ถูกตองเหมาะสม ก็จะมีผลตอการมีสุขภาพที่ดีทัง้ รางกาย และ จติ ใจ 2. ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการกับ ปญหาทีเ่ กิดขึน้ ในชีวิตไดอยางมีระบบ ไมเกิดความเครียดทางกาย และจิตใจ จนอาจลุกลามเปน ปญ หาใหญโ ตเกนิ แกไ ข 3. ทักษะการคิดสรางสรรค (Creative thinking) เปน ความสามารถในการคิดทีจ่ ะ เปนสวนชวยในการตัดสินใจ และแกไขปญหาโดยการคิดสรางสรรค เพือ่ คนหาทางเลือกตาง ๆ

162 รวมทั้งผลทีจ่ ะเกิดขึ้นในแตละทางเลือก และสามารถนําประสบการณมาปรับใชในชีวิตประจําวัน ไดอยางเหมาะสม 4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical thinking) เปนความสามารถใน การคิดวิเคราะหขอมูลตาง ๆ และประเมินปญหา หรือสถานการณทีอ่ ยูร อบตัวเรา ทีม่ ีผลตอการ ดาํ เนนิ ชวี ติ 5. ทักษะการสือ่ สารอยางมีประสิทธิภาพ (Effective communication) เปน ความสามารถในการใชคําพูด และทาทาง เพือ่ แสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองไดอยาง เหมาะสมกับวัฒนธรรม และสถานการณตาง ๆ ไมวาจะเปนการแสดงความคิดเห็น การแสดง ความตองการ การแสดงความช่ืนชม การขอรอง การเจรจาตอรอง การตักเตือน การชวยเหลือ การปฏิเสธ ฯลฯ 6. ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล (Interpersonal relationship) เปน ความสามารถในการสรางความสัมพันธที่ดีระหวางกันและกัน และสามารถรักษาสัมพันธภาพไวได ยืนยาว 7. ทักษะการตระหนักรูใ นตน (Self awareness) เปนความสามารถในการคนหา รูจัก และเขาใจตนเอง เชน รูข อดี ขอเสียของตนเอง รูค วามตองการ และสิง่ ทีไ่ มตองการของตนเอง ซึ่งจะชวยใหเรารูตัวเองเวลาเผชิญกับความเครียด หรือสถานการณตาง ๆ และทักษะนี้ยังเปน พืน้ ฐานของการพัฒนาทักษะอืน่ ๆ เชน การสือ่ สาร การสรางสัมพันธภาพ การตัดสินใจ ความเห็น ใจผูอ่นื 8. ทักษะการเขาใจผูอ ืน่ (Empathy) เปนความสามารถในการเขาใจความเหมือน หรือความแตกตางระหวางบุคคล ในดานความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ ชวยใหสามารถยอมรับบุคคลอื่นที่ตางจากเรา เกิดการชวยเหลือบุคคลอื่นทีด่ อย กวา หรอื ไดรับความเดอื ดรอน เชน ผตู ิดยาเสพตดิ ผตู ิดเชอ้ื เอดส 9. ทักษะการจัดการกับอารมณ (Coping with emotion) เปนความสามารถในการ รับรอู ารมณของตนเอง และผูอืน่ รวู า อารมณมีผลตอ การแสดงพฤติกรรมอยางไร รูวิธีการจัดการกับ อารมณโกรธ และความเศราโศก ที่สงผลทางลบตอรางกาย และจิตใจไดอยางเหมาะสม 10. ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with stress) เปนความสามารถใน การรับรูถ ึงสาเหตุของความเครียด รูวิธีผอนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับ ความเครียด เพื่อใหเกิดการเบี่ยงเบนพฤติกรรมไปในทางทีถ่ ูกตอง เหมาะสม และไมเกิดปญหาดาน สุขภาพ

163 1.2 กลวธิ ใี นการสรา งทักษะชีวิต จากองคประกอบของทักษะชีวิต 10 ประการ เมอ่ื จะนําไปใชพฒั นาทกั ษะชวี ติ สามารถแบงไดเปน 2 สว น ดงั น้ี 1. ทักษะชีวิตทั่วไป คือ ความสามารถพื้นฐานที่ใชเผชิญปญหาปกติใน ชีวิตประจําวัน เชน ความเครียด สุขภาพ การคบเพื่อน การปรับตัว ครอบครัวแตกแยก การบริโภค อาหาร ฯลฯ 2. ทักษะชีวิตเฉพาะ คือ ความสามารถทีจ่ ําเปนในการเผชิญปญหาเฉพาะ เชน ยา เสพติด โรคเอดส ไฟไหม นํ้าทว ม การถกู ลว งละเมดิ ทางเพศ ฯลฯ

164 เร่อื งที่ 2 ทกั ษะชวี ติ ท่จี ําเปน 3 ประการ • ทักษะการสื่อสารอยา งมีประสิทธิภาพ (Effective communication) • ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล (Interpersonal relationship) • ทกั ษะการเขาใจผูอ ืน่ (Empathy) 2.1 ทักษะการส่อื สารอยางมีประสิทธิภาพ การสือ่ สาร เปนกระบวนการสรางความเขาใจกันระหวางบุคคล โดยอาจเปนการ สื่อสารทางเดียว (one-way communication) คือ การสื่อขาวสารจากผูส งสาร ไปยังผูร ับสาร โดยไม มกี ารส่อื สารกลบั หรอื สะทอ นความรูสกึ กลบั ไปยงั ผสู งสารอีกคร้ัง สวนการสื่อสารสองทาง (Two- way Communication) เปนการสือ่ ขาวสารจากผูส งสารไปยังผูร ับสาร และมีการสือ่ สารกลับ หรือ สะทอ นความรสู ึกกลบั จากผรู บั สาร ไปยงั ผูส งสารอีกคร้งั จงึ เรียกวา เปนการส่ือสารสองทาง การสื่อสารระหวางบุคคล นับวาเปนความจําเปนอยางยิง่ เพราะในการดําเนินชีวิต ปกติในปจจุบัน การสือ่ สารเขามามีบทบาทอยางยิ่งในทุกกิจกรรม ไมวาจะเปนการส่ือสารดวย การพูด การเขียน การแสดงกิริยาทาทาง หรือการใชเครื่องมือสือ่ สารที่เปนเทคโนโลยีสมัยใหม ตาง ๆ เชน โทรศัพท Internet e-mail ฯลฯ ทั้งนี้ การสือ่ สารดวยวิธีใด ๆ ก็ตาม ควรทําใหผูส งสาร และผูรับสารเกิดความเขาใจอันดีตอกัน และเกิดสัมพันธภาพที่ดีตามมา ซึง่ ทักษะทีจ่ ําเปนในการ สือ่ สาร ไดแก การรูจ ักแสดงความคิดเห็น หรือความตองการใหถูกกาลเทศะ และการรูจ ักแสดง ความชื่นชมผูอืน่ การรูจ ักขอรอง การเจรจาตอรองในสถานการณคับขันจําเปน การตักเตือนดวย ความจริงใจ และใชวาจาสุภาพ การรูจ ักปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนใหปฏิบัติในสิง่ ที่ผิดขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือผดิ กฎหมาย เปนตน การสื่อสารดว ยการปฏิเสธ หลาย ๆ คนไมกลา ปฏิเสธคาํ ชักชวนของเพื่อน หรอื คนรัก เมอ่ื ไปทาํ ในสิ่งที่ตนเอง ไมเ หน็ ดวย เชน การมีเพศสมั พันธท่ีไมป ลอดภัย การเที่ยวซองโสเภณี การเสพยาเสพติด ฯลฯ อันที่ จริงการปฏิเสธเปนสิทธิของทุกคน การปฏิเสธคําชักชวนของเพื่อน หรือคนรักเมื่อทําในสิ่งที่ตนเอง ไมเห็นดวยอยางเหมาะสม และไดผลจะชวยปองกันการมีพฤติกรรมเสีย่ งได คนสวนใหญไมกลา ปฏิเสธคําชักชวนของเพือ่ น หรือคนรัก เพราะกลัววาเพื่อน หรือคนรักจะโกรธ แตถาสามารถ ปฏเิ สธไดถ ูกตองตามข้ันตอนจะไมทําใหเ สยี เพื่อน การปฏิเสธที่ดี

165 จะตอ งปฏิเสธอยางจรงิ จงั ทง้ั ทา ทาง คําพดู และนํา้ เสยี ง เพื่อแสดงความต้ังใจอยาง ชัดเจนที่จะขอปฏเิ สธ การปฏเิ สธมี 3 ขั้นตอน คอื 1. บอกความรูส ึกเปนขออางประกอบเหตุผล เพราะการบอกความรูส ึกจะโตแยง ยากกวาการบอกเหตุผลอยางเดียว 2. การขอปฏิเสธ เปนการบอกปฏิเสธชัดเจนดวยคําพูด 3. การถามความเห็นชอบเพือ่ รักษาน้าํ ใจของผูช วน และความขอบคุณเมือ่ ผูช วน ยอมรับการปฏิเสธ ตวั อยา งการปฏิเสธเมอื่ ถกู ชวนไปเสพยาเสพตดิ แดงเปน ผชู วน และแอม เปนผปู ฏิเสธ แดง : คืนน้มี ีปารตท้ี ่ีหอ ง แอม ไปใหไดน ะ มขี องดีอยา งวาใหม ๆ มาใหลอง แอม : ของอยางวานั้นไมดีตอสุขภาพ ขอไมลอง แดงคงไมวานะ ขอบคุณมากที่ชวน แดง : .................................... การหาทางออกเมื่อถูกเซาซี้ หรือสบประมาท บางครัง้ ผูช วนพูดเซาซีเ้ พือ่ ชวนให สําเร็จ ผูถูกชวนไมควรหวั่นไหวกับคําพูด เพราะจะทําใหขาดสมาธิในการหาทางออก ควรยืนยัน การปฏิเสธดวยทาทีมั่นคง และหาทางออกโดยวิธีตอไปนี้ ปฏิเสธซํ้า โดยไมต องใชข ออาง พรอมทง้ั บอกลา แลว เดนิ จากไปทนั ที การตอรอง โดยการชวนไปทํากจิ กรรมอนื่ ท่ดี ีกวา การผัดผอ น โดยการยืดระยะเวลาออกไปเพื่อใหผชู วนเปลี่ยนความตัง้ ใจ เชน ขนั้ ตอน ตัวอยางคําพดู “ฉนั ไมช อบ มันไมดตี อ สขุ ภาพ” 1. อางความรูสึกประกอบเหตุผล “ขอไมไ ปนะเพอ่ื น” 2. ขอปฏเิ สธ “เธอคงเขาใจนะ” 3. การขอความเห็นชอบ 4. ถกู เซาซ้ี หรือถูกสบประมาท “ไมลองดกี วา เราขอกลับกอ นนะ” “ฉนั คิดวา เรากลบั บานกันเลยดกี วา” 4.1 การปฏิเสธซ้ํา “แดงคดิ วา เราควรรอไปอีกสกั ระยะหน่ึง เม่ือเราทัง้ สอง 4.2 การตอ รอง พรอมที่จะรับผิดชอบครอบครัว คอยคดิ เรอ่ื งน”้ี 4.3 การผัดผอน

166 สถานการณท ีช่ วนไปเทย่ี วซอ ง ชยั เปน ผชู วน ยทุ ธเปนผปู ฏเิ สธ ชัย : วนั นก้ี นิ ขา วเยน็ แลว ไปเที่ยวอยา งวา กันนะ ยทุ ธ : เราไมชอบสถานที่อยางน้นั กลวั ตดิ โรคดวย ขอไมไปนะเพ่อื น ชัย : เราไปหลายหนไมเ หน็ เปน อะไรเลย ชกั สงสยั แลว วานายเปน ผูชาย เตม็ รอ ยหรือเปลา ชวนทไ่ี รไมไปสักที ยุทธ : ไมล ะ เอาไวคราวหลัง พวกนายไปเทย่ี วท่ีอน่ื เราจะไปดว ย ครัง้ นีข้ อตวั กอ นนะ ขอบใจมากที่ชวน ในเรอื่ งความรกั ผูหญงิ เมื่อมีความรัก จะมคี วามรสู กึ ชอบ หรือรัก ตองการความรัก ความอบอุน ความใกลชิดผูกพันทางใจ ไมคาดคิดวาฝายชายตองการอะไรจากความใกลชิด จึงขาด ความระมัดระวัง อาจเผลอตัวเผลอใจไปตามที่ฝายชายตองการ เปนคานิยมของชาย โดยถือเปนเรื่อง ปกตทิ ีจ่ ะมเี พศสมั พันธก ับหญงิ บริการ หรอื คนรักเพ่ือปลดเปล้ืองความใคร เพราะเมือ่ ผูช ายรัก หรือ ชอบผูห ญิงมักจะตองการผูกพันทางกาย คือ ความรัก ความใคร เมื่อผูช ายตองการผูกพันทางกายก็ จะคิดหาวิธีการตาง ๆ เพือ่ ทําใหเกิดพฤติกรรมทีจ่ ะนําไปสูส ิง่ ที่ตนตองการ โดยคิดวาฝายหญิงก็ ตอ งการเชนกนั การมีเพศสัมพันธครัง้ แรก ฝายหญิงไมไดมีความสุขทางเพศอยางที่ฝายชายเขาใจ ตรงกนั ขา มจะมคี วามวิตกกงั วล กลัวตง้ั ครรภ กลัวแฟนจะทอดท้ิง หรือดูถูก กลัวเพื่อนรู กลัวพอแม เสียใจ แตฝายชายจะมีความสุขทางเพศ และภูมิใจที่ไดเปนเจาของ การมีเพศสัมพันธในครั้งตอ ๆ มา ฝายหญิงมักจะยินยอมเพราะความรัก ความผูกพัน ความกังวล กลัวถูกทอดทิง้ หากไมยอม แตฝาย ชายถือเปนเรือ่ งปกติ เปนการหาความสุขรวมกัน ปญหาทีต่ ามมาคือ การตัง้ ครรภ หรือโรคตาง ๆ ฉะน้นั การคบเพอ่ื นตา งเพศ ผูห ญิงควรปฏิบตั ติ นอยางไรบา ง เชน - ไมควรอยูดวยกันตามลําพังสองตอสองในที่ลับตา เพราะความใกลชิดสามารถ ไปสกู ารมเี พศสัมพันธไ ด - ผหู ญิงควรแตงกายมิดชิด ไมแ ตง กายลอ แหลม - ผูห ญิงควรระมัดระวังตัวขณะอยูใ กลชิดกับเพื่อนตางเพศ ควรรักนวลสงวนตัว ระวังการสัมผัส หรอื ถกู เน้ือตองตวั

167 สําหรับผูช าย เมือ่ มีโอกาสอยูกันตามลําพังสองตอสองควรยับยั้งชั่งใจ และไมคิด หาวิธีตาง ๆ ที่จะทําใหเกิดพฤติกรรมทีจ่ ะนําไปสูส ิ่งที่ตนตองการ โดยคาดคิดเอาเองวาฝายหญิงก็ ตอ งการเชน เดียวกับตน ตัวอยางการส่อื สารดว ยการปฏิเสธ ปจจุบันปญหาการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร ลุกลาม รุนแรงถึงขั้นเปนปญหา การต้ังครรภทีไ่ มพึงประสงคเพิม่ สูงขึ้นในกลุม วัยรุน วัยเรียน ทําใหตองออกกลางคัน หรือแอบไป ทําแทงจนทําใหเกิดอันตรายถึงแกชีวิตเปนจํานวนมาก ดังนั้นเรือ่ งทีพ่ อแมไมอยากใหเกิดเรือ่ งหนึง่ คือ ไมอยากใหลูกมี “เซ็กซ” กอนวัย อนั ควร อยากใหเรยี นหนังสือจบ ใหเ ปน ผูใหญท่รี บั ผิดชอบตัวเองไดมากกวาน้ี แตขาวเด็กวัยรุน ตอนนี้ก็ออกมามากเหลือเกิน วาเห็นเรือ่ ง “เซ็กซ” เปนเรื่อง ธรรมดา ไมเห็นจะเสียหายตรงไหน บางคนเปลีย่ นคูเ ปนวาเลน บางคูก็เชาหอพักอยูด วยกัน เชาไป เรยี นดว ยกนั เยน็ กลบั มานอนดวยกนั พอแมอ ยูตางจังหวัดไมรูเ รื่อง คิดวาลูกคงตัง้ ใจเรียนอยางเดียว ทไ่ี หนได เรื่องนี้พอแมจะทําเฉยไมไดแมลูกเราจะเปนเด็กเรียบรอย ยังไมมีทีทาวาจะสนใจ เพศตรงขามก็ตาม พอแมก็ตองชวนคุยเมือ่ มีโอกาส หากพอแมลูกดูโทรทัศนดวยกัน จะมีฉากอยาง วาในละครไทยอยูห ลายเรื่อง เชน พระเอกเสียทีนางราย หรือนางเอกใจออนยอมพระเอกกอน แต สุดทายไมไดแตงงานกัน พอแมก็ถือโอกาสนี้ชวนลูกคุยเสียเลย ไมวาจะเปนลูกชาย หรือลูกสาวก็ ตอ งระวงั เรือ่ งนีด้ วยกนั ทัง้ นนั้ ซึ่งอาจแนะนําลกู ดังน้ี อยาอยูก ันตามลําพังสองตอสองในทีล่ ับตาคน แมอีกฝายจะชวนก็ไมตองตามใจ ใหร ูจกั ปฏเิ สธ • ถา ดูแลวอีกฝา ยจะผกู มดั โดยอา งวา “รกั จริงหวังแตง ” หรอื อะไรกแ็ ลว แต ทีจ่ ะสรรหามาพร่าํ พรรณนา ตองใหลูกเราพูดกับอีกฝายแบบเปดใจ เปดเผย ดวยทาทีทีม่ ัน่ ใจวา “ไมตองการใหมีอะไรกันเกินเลยกวานี้ เพราะเรายังเด็กยังไมสมควร” หรือ “ยังไมพรอม” แมวาเรา จะรกั เขามากกค็ วรคบกันแคเปนแฟนกอน เวลายังมีอีกยาวนาน ใครจะรูวาคนนใี้ ชค แู ทห รอื ไม • ตอ งรจู ักหลกี เลย่ี ง หรือกลา ปฏิเสธทีจ่ ะมีเพศสมั พันธ ถาอีกฝายยังตอื้ ตอ งใหร จู กั เอาตัวรอดใหได • ใหเบี่ยงเบนความสนใจของอีกฝา ยไปยงั เร่ืองอน่ื เชน อาจชวนไปเลนกีฬา หรอื ชวนคยุ ในเร่ืองที่คดิ วา อกี ฝา ยจะหยดุ ฟง • ถาอกี ฝายยังไมยอมฟง เหตผุ ล โดยอาจจะมขี อ อางวา “ถาไมย อม แสดงวา

168 ไมร กั จริง” หากถึงขั้นนี้ละกอ ตองใหลูกคิดใหมแลววา ควรจะคบกันเปนแฟนตอไปอีกไหม เพราะ อกี ฝายคงตองพยายามหาโอกาสอีกเร่ือย ๆ แลว แนใ จไหมวา ลูกจะไมใจออ นเขา สักวัน • ท่ีสาํ คญั พอแมตอ งชวนลูกคยุ ถึงผลสยี ของการมเี พศสัมพันธกอนวยั อนั ควรดว ย 2.2 ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล คงไดย ินคําพูดนีบ้ อย ๆ วา “คนเราอยคู นเดยี วในโลกไมไ ด” เราตองพึง่ พาอาศัยกัน ซึ่งจะตองมีสัมพันธภาพทีด่ ตี อกนั การทจ่ี ะสรา งสัมพนั ธภาพใหเกิดขน้ึ ระหวางกนั นั้น เปนเรอื่ งไมย าก แรกเรม่ิ คอื 1. มกี ารตดิ ตอ พบปะกนั เราจะตองมีการติดตอพบปะพูดคุยกับคนที่ตองการมีสัมพันธภาพกับเขา ใหเวลา กับเขา ทํางานรวมกัน ทํากิจกรรมรวมกัน เลนกีฬาดวยกัน และในที่สุดเราก็มีโอกาสสรางมิตรภาพ ท่ีดีตอกนั 2. มีความสนใจและประสบการณรวมกัน ประสบการณเปนสิ่งที่นําคนสองคนใหมารวมมือกัน การชวยเหลือกันในระหวาง การเลาเรียน หรือการทํางานดวยกัน มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน การรวมประสบการณ และ แลกเปลย่ี นประสบการณร ะหวางกัน เปนการสรางมติ รภาพทดี่ ใี หเ กิดข้ึนได 3. มีทศั นคตแิ ละความเชื่อท่คี ลา ยคลงึ กัน ชวงวัยรุน เปนชวงทีค่ วามคิด ทัศนคติ และความรูส ึกอาจมีการเปลีย่ นแปลงอยาง รวดเร็ว ถาคนไหนมีความคิดเห็นคลายคลึงกับเรา เราจะรูสึกพอใจ แตถาคนไหนมีความคิดแตกตาง กับเรา เราจะรูสึกไมพอใจ แตในความเปนจริงตองเขาใจวา คนสวนใหญไมไดมีความเห็น เหมอื นกนั ทุกเรอื่ ง แมใ นคนทเ่ี ปนมิตรตอ กนั เพียงใดก็ตาม จะสรา งสมั พนั ธภาพท่ดี ไี ดอ ยางไร การเรียนรูวิธีการสรางสัมพันธภาพทีด่ ีเปนสําคัญ และทุกคนควรจะคนหาเพื่อให เกดิ มติ รภาพ ดังนี้ 1. ความใสใจ เอาใจใสซึง่ กนั และกนั ดูแลกันทั้งยามสุข ยามทกุ ข 2. ความไวเน้ือเชอ่ื ใจ การอยกู ับผูอน่ื อยางมีความสขุ เราตอ งไววางใจในตัวเขา และตอ งใหเ ขาไวว างใจในตวั เราดว ย 3. การยอมรบั เราจะตอ งรจู กั ใหการยอมรับ และนับถอื คนอ่นื รจู ักแสดงความ

169 ชน่ื ชม และยนิ ดีกับความสําเร็จของผูอน่ื 4. การมีสวนรวม และการแบงปน สัมพันธภาพที่ดีคือ การไดมีสวนรวมแบงปน ในประสบการณ รูจักรับฟงความคิด และยอมรับความจริงจากคนสวนมาก 5. การมีความยืดหยุน คนทีม่ ีความยืดหยุน จะเปนคนที่สามารถมีความสุข แมจะ อยกู ับคนที่มคี วามเห็นตา งกนั 6. ความเห็นอกเห็นใจผูอ ืน่ การแสดงความเห็นอกเห็นใจ จะทําไดงายถามี สมั พันธภาพที่ดตี อ กัน เพราะจะไมเกดิ ความเขา ใจผิดตอ กนั จากการทีค่ นเราตองมีสัมพันธภาพที่ดีกับผูอืน่ นั้น ก็เพื่อทีจ่ ะสามารถอยูรวมกับ ผูอ ืน่ ได โดยทีไ่ ดรับการชวยเหลือจากผูอ ืน่ ตามสมควร ไมวาจะเปนเพื่อน พอแม พีน่ อง หรือคน อืน่ ๆ โดยเฉพาะการมีสัมพันธภาพทีด่ ีระหวางพอแมกับลูกวัยรุน เปนสิง่ ที่สําคัญมาก เพือ่ ลูกจะได เติบโตเปน ผูใหญทดี่ ี และประสบความสําเรจ็ ในชวี ติ ตอไป การสรางสมั พันธภาพดว ยการให • การฝก ใหเ ปนผเู สียสละ หรือเปนผูใหน น้ั พอแมจ ะตองสอนลกู หรอื เปน ตวั อยางในการเปนผใู หเ สมอ • การใหโดยทวั่ ไปน้นั เรามักจะนกึ ถึงแตการใหสง่ิ ของ หรือเงนิ ทอง แตความ จริงยังมีสิง่ สําคัญทีท่ ุกคนควรใหแกกัน ไดแก การใหรอยยิม้ ใหความจริงใจ ใหการชวยเหลือ ใหคําชมเชย ใหความเมตตา ใหอภัย ฯลฯ ซึง่ การใหสิง่ เหลานีไ้ มตองเสียเงินทองซือ้ หา แตตองเปน การใหท ี่ออกมาจากใจจริง จะเปน การสรา งมิตรภาพทด่ี ีตอกัน • ใหนึกเสมอวา จงเปนผูใหเถิด ใหผ อู ืน่ ใหมากข้นึ รับใหน อยลง จึงจะเปนการ ทําใหครอบครัวเรามีความสุข และสังคมจะอบอุน เพื่อลูกไดซึมซับ และนําไปใชในการเปนผูใ ห เสมอกับเพ่ือน ๆ พี่ นอง และคนอ่นื ๆ ท่อี ยูร ว มกัน การฝก ใหเปน คนนารกั นาคบหา เคยไดยินอาจารยทานหนึง่ พูดในรายการโทรทัศนนานมาแลววา “ลูกเราไมวาจะ เปนอยางไร มันก็ดูนารักไปหมดในสายตาพอแม แตเราจะตองสอนลูกเราใหเปนคนนารัก เพือ่ ทีค่ น อน่ื เขาจะไดร กั ลูกเราดว ย” • พวกเราท่ีเปน ผูใ หญค งเคยเห็นเดก็ ประเภทน้ีบาง เชน - เห็นผูใหญแ ลวไมไ หว ทาํ เปน มองไมเ ห็น - พดู จาไมเพราะ หนาบึง้ ตงึ - ไมร จู กั กาลเทศะ

170 - เอาแตใ จตวั เอง - ทาทาอวดี เด็กท่ีเปนอยางน้ี ผูใหญก ็จะมองวา ไมนา รักเลย บางทีทาํ ใหอ ดคดิ ไมไ ดว า พอแมคงไมมีเวลาสั่งสอน • สว นในกลุม ของเด็กวัยรุนดวยกนั ไดล องถามวาเพอ่ื นแบบไหนทีไ่ มอยาก คบดวย กไ็ ดค ําตอบวา - ประเภทท่ชี อบดูถกู เพ่อื น - เอาเปรียบไมชวยงานกลุม - ข้ีอิจฉาเพอื่ น เหน็ เพ่ือนมดี ไี มได - ชอบพดู ใหคนอน่ื หนา แตก หมอไมร บั เย็บ - คยุ โมโออ วดตนเอง และวาคนอนื่ - ชอบแกลง เพอ่ื น ถาเปนอยางนี้เพื่อนก็ไมอยากคบหาสมาคม และไมอยากใหเขารวมกลุม เพราะเขา ทไี่ หนก็วงแตกกระเจงิ ทุกที จนเพอื่ น ๆ เออื มระอา • คนเปน พอ แมคงเศราใจมาก ถาลูกเรากลายเปนคนนารังเกียจที่ไมมีใคร อยากคบ ดังนัน้ พอแมตองพยายามพูดคุยยกตัวอยางคนทีท่ ําตัวนารัก และคนทีท่ ําตัวไมนารักให ลูกเห็น เพือ่ เปรียบเทียบ และเอาเปนตัวอยาง ซึ่งลักษณะของคนนารักนั้น พระเทพวิสุทธิกวี แหง วดั โสมนสั วหิ าร กรุงเทพมหานคร ไดกลา ววา คนท่ีนา รกั ยอมมคี ณุ สมบัติ 9 ประการ คือ 1. ไมเ ปน คนอวดดี 2. ไมพูดมากจนเขาเบื่อ 3. เปน คนออ นนอ มถอ มตน 4. รูจกั ผอนส้นั ผอ นยาว 5. พดู จาออ นหวาน 6. เปน คนเสยี สละ ไมเ อาเปรียบผอู นื่ 7. เปนคนกตัญูกตเวที 8. เปน คนไมม ีนสิ ยั ริษยา เสียดสผี ูอ ืน่ 9. เปน คนมนี ิสัยสุขุมรอบคอบ ไมยกตนขมทาน “พอแมท หี่ วงั ใหล ูกเปนท่รี ักของผใู หญ และเพื่อนฝงู ตองพยายามเพาะนิสยั ดังกลาวใหก บั ลกู กจ็ ะทาํ ใหการอยรู วมกับผูอ น่ื ในสังคมเกิดเปนสมั พันธภาพที่ดีระหวางกันและกัน ทุกคนก็จะมีแตความสุข”

171 2.3 ทกั ษะการเขาใจผูอ่นื การที่บุคคลจะอยูใ นครอบครัว อยูใ นสังคมอยางมีความสุข จําเปนตองรูจ ักตนเอง และรูจักผูท่ตี นเกีย่ วของสัมพนั ธดวย ดังภาษติ จนี ที่วา “รเู ขา รูเรา รบรอ ยครงั้ ชนะรอยคร้งั ” ดังนัน้ การทีเ่ ราจะทําความรูจ ักผูอ ืน่ ซึง่ เราจะตองเกีย่ วของสัมพันธดวย ไมวาจะ เปนภายในครอบครัวของเราเอง หรือในสถานศึกษา ในสถานทีท่ ํางาน เพราะเราไมสามารถอยูค น เดยี วไดใ นทกุ ที ทุกสถานการณ หลักในการเขา ใจผอู นื่ มีดงั น้ี 1. ตองคํานึงวาคนทุกคนมีศักดิ์ศรีความเปนมนุษยเชนเดียวกับเรา จึงควรปฏิบัติ กับเพื่อนมนุษยทุกคนดวยความเคารพในศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยเทาเทียมกัน ไมวาจะเปน คนจน คนรวย คนแก เดก็ คนพิการ ฯลฯ 2. บุคคลทุกคนมีความแตกตางกัน ทัง้ พืน้ ฐานความรู ฐานะทางเศรษฐกิจ สภาพ ความเปนอยู ระดับการศึกษา การปลูกฝงคุณธรรม คานิยม ระเบียบ วินัย ความรับผิดชอบ ฯลฯ ดังนัน้ หากเรายอมรับความแตกตางระหวางบุคคลดังกลาว จะทําใหเราพยายามทําความเขาใจเขา และสื่อสารกับเขาดวยกิริยาวาจาสุภาพ ซึ่งหากยังไมเขาใจเราก็จําเปนตองอดทน และอธิบายดวย ภาษาที่เขาใจงาย ไมแสดงอาการดูถูกดูแคลน หรือแสดงอาการหงุดหงิด รําคาญ เปนตน 3. การเอาใจเขามาใสใจเรา บุคคลทัว่ ไปมักชอบใหคนอืน่ เขาใจตนเอง ยอมรับ ในความตองการ ควรเปนตัวตนของตนเอง ดังนัน้ จึงมักมีคําพูดติดปากเสมอ เชน ฉันอยางนัน้ ฉันอยางนี้ ทําไมเธอไมทําอยางนัน้ ทําไมเธอไมทําอยางนี้ ทําไมเธอถึงไมเขาใจฉัน ฯลฯ ซึ่งเปน การเอาใจเราไปยดั เยยี ดใสใ จเขา และมกั ไมพึงพอใจในทกุ เร่อื ง ทุกฝาย ทงั้ นใ้ี นดานกลับกัน หากเรา คิดใหม ปฏิบัติใหม โดยพยายามทําความเขาใจผูอ ื่นไมวาจะเปน พอแมเขาใจลูก หรือลูกเขาใจ พอแม เพือ่ นเขาใจเพือ่ น โดยการทําความเขาใจวาเขาหรือเธอมีเหตุผลอะไร ทําไมจึงแสดง พฤติกรรมเชนนั้น เขามีความตองการอะไร เขาชอบอะไร ฯลฯ เมื่อเราพยายามเขาใจเขา และปฏิบัติ ใหสอดคลองกับความชอบ ความตองการของเขาแลว ก็จะทําใหการอยูร วมกัน หรือการทํางาน รวมกันเปนไปดวยความราบรื่น และแสดงความสงบสันติสุขในครอบครัว ชุมชน และสังคม 4. การรับฟงผูอ ืน่ การที่เราจะเขาใจผูอ ืน่ ไดดีหรือไม ขึน้ อยูก ับวาเรารับฟงความ คิดเห็น ความตองการของเขามากนอยเพียงใด บุคคลทัว่ ไปในปจจุบันไมชอบฟงคนอืน่ พูด แตชอบ ทีจ่ ะพูดใหคนอืน่ ฟง และปฏิบัติตาม ดังนัน้ สิง่ สําคัญทีเ่ ปนพืน้ ฐานทีจ่ ะทําใหเราเขาใจผูอ ื่นก็คือ ทักษะการฟง ซึ่งจะตองเปนการฟงอยางตัง้ ใจ ไมขัดจังหวะ หรือแสดงอาการเบือ่ หนาย และควร

172 แสดงกิริยาตอบรับ เชน สบตา ผงกศีรษะ ทั้งนี้ การฟงอยางตัง้ ใจ จะทําใหเรารับทราบความคิด ความตองการ หรือปญหาของผูท ี่เราเกี่ยวของดวย ไมวาจะเปนในฐานะลูกกับพอแม พอแมกับลูก นายจางกับลูกจาง หัวหนากับลูกนอง ฯลฯ ซึง่ จะทําใหเราเกิดอาการเขาใจ และสามารถแกปญหา ไดอ ยา งถูกตอ งในที่สดุ กจิ กรรม 1 ใหผเู รยี นยกตัวอยาง วิธีการส่อื สารกับพอแม และหัวหนางาน หรอื ลกู นอง ดงั นี้ 1. การส่ือสารกับพอ แม กรณขี อไปเที่ยวคา งคนื ตางจังหวัด ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. การสอื่ สารกับหัวหนา งาน หรอื ลกู นอง กรณขี อขน้ึ เงนิ เดือน หรือลดโบนัส ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... กิจกรรม 2 ถาทานมีลูกวัยรุน ที่กําลังมีปญหาอกหัก ถูกแฟนบอกเลิก ทานจะมีแนวทาง ชว ยเหลอื ลูกอยา งไร โดยใชทักษะการส่ือสาร การสรางสมั พนั ธภาพ และทกั ษะการเขาใจผอู ืน่ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

173 บทท่ี 10 อาชีพแปรรูปสมุนไพร สมุนไพรกับบทบาททางเศรษฐกิจ สมุนไพร หมายถึง พืชที่มีสรรพคุณในการรักษาโรค หรืออาการเจ็บปวยตาง ๆ การใช สมุนไพรสาํ หรบั รักษาโรค หรืออาการเจ็บปว ยตา งๆ น้ี จะตองนําเอาสมุนไพรตั้งแตสองชนิดข้ึนไป มาผสมรวมกันซึง่ จะเรียกวา ยา ในตํารับยา นอกจากพืชสมุนไพรแลวยังอาจประกอบดวยสัตวและ แรธาตุอีกดวย เราเรียกพืช สัตว หรือแรธาตุที่เปนสวนประกอบของยานี้วา เภสัชวัตถุ สมุนไพร เปน สว นหนง่ึ ในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กระทรวงสาธารณสุขไดดําเนิน โครงการ สมุนไพรกับสาธารณสุขมูลฐาน โดยเนนการนําสมุนไพรมาใชบําบัดรักษาโรคใน สถานบริการ สาธารณสุขของรัฐมากขึ้น และ สงเสริมใหปลูกสมุนไพรเพือ่ ใชภายในหมูบ านเปนการสนับสนุน ใหม กี ารใชสมนุ ไพรมากยงิ่ ขนึ้ อันเปนวิธหี น่ึงที่จะชว ยประเทศชาติประหยัดเงินตราในการสั่งซื้อยา สําเร็จรูปจากตางประเทศไดปละเปนจํานวนมาก การผลิตสมุนไพรในรูปแบบการประกอบอาชีพ ปจจุบันมีผูพ ยายามศึกษาคนควาเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพรใหสามารถนํามาใชใน รูปแบบทีส่ ะดวกยิง่ ขึ้น เชน นํามาบดเปนผงบรรจุแคปซูล ตอกเปนยาเม็ด เตรียมเปนครีมหรือยา ขีผ้ ึง้ เพื่อใชทาภายนอก เปนตน ในการศึกษาวิจัยเพือ่ นําสมุนไพรมาใชเปนยาแผนปจจุบันนั้น ไดมี การวิจัยอยางกวางขวาง โดยพยายามสกัดสารสําคัญจากสมุนไพรเพื่อใหไดสารที่บริสุทธิ์ ศึกษา คุณสมบัติทางดานเคมี ฟสิกสของสารเพือ่ ใหทราบวาเปนสารชนิดใด ตรวจสอบฤทธิด์ านเภสัช วิทยาในสัตวทดลองเพื่อดูใหไดผลดีในการรักษาโรคหรือไมเพียงใด ศึกษาความเปนพิษและ ผลขางเคียง เมื่อพบวาสารชนิดใดใหผลในการรักษาทีด่ ี โดยไมมีพิษหรือมีพิษขางเคียงนอยจึงนํา สารนั้นมาเตรียมเปนยารูปแบบที่เหมาะสมเพื่อทดลองใชตอไป การแปรรูปสมนุ ไพรเพื่อการจําหนาย สมุนไพรถูกนํามาใชสารพัดประโยชน และถูกแปรรูปออกมาในแบบตางๆเพื่อการจํานาย ซึง่ สามารถนํามาใชประกอบอาชีพ ทัง่ อาชีพหลัก ละอาชีพเสริมได สิง่ สําคัญทีส่ ุดของการแปรรูป สมนุ ไพร คอื การปรุงสมุนไพร การปรุงสมุนไพรหมายถึง การสกัดเอาตัวยาออกมาจากเนื้อไมยา สารทีใ่ ชสกัดเอาตัวยา ออกมาที่นยิ มใชก ัน ไดแ ก นาํ้ และเหลา สมุนไพรที่นํามาปรุงตามภูมิปญญาดั้งเดิมมี 7 รูปแบบ คือ

174 1.การตม เปนการสกัดตวั ยาออกมาจากไมย าดว ยนา้ํ รอ น เปน วิธที นี่ ิยมใชมากท่ีสุด ใชกับ สวนของเนือ้ ไมทีแ่ นนและแข็ง เชน ลําตนและราก ซึง่ จะตองใชการตมจึงจะไดตัวยาที่เปน สารสําคัญออกมา ขอดีของการตม คือ สะอาด ปลอดจากเชื้อโรค มี 3ลักษณะ การตมกินตางน้าํ คือการตมใหเดือดกอนแลวตมดวยไฟออนๆอีก 10 นาที หลังจากนั้น นาํ มากนิ แทนนาํ้ การตม เคยี่ วคอื การตม ใหเดือดออนๆ ใชเ วลาตม 20-30 นาที การตม 3 เอา1 คอื การตมจากน้าํ 3 สวน ใหเหลอื เพยี ง 1 สว น ใชเวลาตม 30-45นาที 2.การชง เปนการสกัดตัวยาสมุนไพรดวยน้าํ รอน ใชกับสวนทีบ่ อบบาง เชน ใบ ดอก ท่ี ไมตองการโดนน้าํ เดือดนานๆตัวยาก็ออกมาได วิธีการชง คือ ใหนํายาใสแกวเติมน้ํารอนจัดลงไป ปด ฝาแกวท้งิ ไวจนเยน็ ลกั ษณะน้ีเปน การปลอ ยตวั ยาออกมาเตม็ ท่ี 3. การใชนา้ํ มัน ตัวยาบางชนิดไมยอยละลายน้ํา แมวาจะตมเคีย่ วแลวก็ตาม สวนใหญยาที่ ละลายน้ําจะไมละลายในน้ํามันเชนกัน จึงใชน้ํามันสกัดยาแทน แตเนือ่ งจากยาน้าํ มันทาแลวเหนียว เหนอะหนะ เปอ นเสอ้ื ผา จึงไมนิยมปรุงใชก นั 4.การดองเหลา เปนการใชกับตัวยาของสมุนไพรทีไ่ มละลายน้าํ แตละลายไดดีในเหลา หรือแอลกอฮอล การดองเหลามักมีกลิน่ แรงกวายาตม เนือ่ งจากเหลามีกลิน่ ฉุน และหากกินบอยๆ อาจทาํ ใหต ิดได จึงไมนิยมกินกัน จะใชตอเมอื่ กนิ ยาเม็ดหรอื ยาตม แลวไมไ ดผล 5.การตมคัน้ เอาน้าํ เปนการนําเอาสวนของตนไมทีม่ ีน้าํ มากๆออนนุม ตําแหลกงาย เชน ใบ หัว หรือเหงา นํามาตําใหละเอียด และคัน้ เอาแตน้าํ ออกมา สมุนไพรทีใ่ ชวิธีการนีก้ ินมากไมได เชนกัน เพราะน้าํ ยาทีไ่ ดจะมีกลิน่ และรสชาติทีร่ ุนแรง ตัวยาเขมขนมาก ยากทีจ่ ะกลืนเขาไปทีเ่ ดียว ฉะนน้ั กนิ คร้ังละหน่งึ ถวยชากพ็ อแลว 6.การบดเปนผง เปนการนําสมุนไพรไปอบหรือตากแหงแลวบดใหเปนผง สมุนไพรที่ เปนผงละเอียดมากยิง่ มีสรรพคุณดี เพราะจะถูกดูดซึมสูล ําไสงาย จึงเขาสูรางกายได รวดเร็ว สมุนไพรผงชนิดใดทีก่ ินยากก็จะใชปน เปนเม็ดที่เรียกวา \"ยาลูกกลอน\" โดยใชน้าํ เชือ่ ม, น้ําขาวหรือน้าํ ผึง้ เพือ่ ใหติดกันเปนเม็ด สวนใหญนิยมใชน้าํ ผึง้ เพราะสามารถเก็บไวไดนานโดยไม ขึ้นรา 7.การฝน เปนวิธีการทีห่ มอพืน้ บานนิยมกันมาก วิธีการฝน คือ หาภาชนะใสน้าํ สะอาด ประมาณครึ่งหนง่ึ แลว นาํ หนิ ลบั มดี เลก็ ๆจมุ ลงไปในหินโผลเหนือนํ้าเล็กนอย นําสมุนไพรมาฝนจน ไดนํา้ สขี ุนเลก็ นอยกนิ ครง้ั ละ 1 แกว อยา งไรก็ตามการแปรรปู ผลิตภณั ฑสมุนไพร ควรแปรรูปในลักษณะอาหารหรือเคร่ืองใชท่ี ไมจัดอยูในประเภทยารักษา คือไมมีสรรพคุณในการรักษาหรือปองกัน บรรเทา บําบัดโรค เนื่องจาก

175 ผลิตภัณฑประเภทยาจะตองผานการตรวจสอบที่มีมาตรฐานสูงและถูกตอง มีผูชํานาญการที่มีคุณวุฒิ ในการดาํ เนนิ การดว ย ลักษณะของผูทีจ่ ะประกอบอาชีพผลิตภัณฑสมุนไพรในการปรุงผลิตภัณฑจาก สมุนไพร ผูปรุงจําเปน ตอ งรหู ลักการปรงุ ผลิตภณั ฑจากสมุนไพร 4 ประการคือ 1. เภสัชวัตถุ ผูป รุงตองรูจ ักชื่อ และลักษณะของเภสัชวัตถุทั้ง ๓ จําพวก คือ พืชวัตถุ สัตววตั ถุ และธาตวุ ตั ถุ รวมทง้ั รปู สี กลิ่นและรสของเภสัชวตั ถนุ นั้ ๆ ตัวอยางเชน กะเพราเปนไมพุม ขนาดเล็ก มี ๒ ชนิด คือ กะเพราแดงและกะเพราขาว ใบมีกลิน่ หอม รสเผ็ดรอน หลักของการปรุง ยาขอ น้จี ําเปนตองเรยี นรูจากของจรงิ 2. สรรพคณุ เภสัช ผูป รุงตองรูจ ักสรรพคุณของยา ซึง่ สัมพันธกับรสของสมุนไพรเรียกวา รสประธาน แบง ออกเปน 2.1 สมุนไพรรสเย็น ไดแก ยาทีป่ ระกอบดวยใบไมที่รสไมเผ็ดรอนเชน เกสร ดอกไม สตั ตเขา (เขาสตั ว ๗ ชนดิ ) เนาวเขย้ี ว (เขย้ี วสตั ว ๙ ชนดิ )และของทีเ่ ผาเปนถา น ตัวอยางเชน ยามหานิลยามหากาฬ เปนตน ยากลุม นีใ้ ชสําหรับรักษาโรคหรืออาการผิดปรกติทางเตโชธาตุ (ธาตุ ไฟ) 2.2 สมุนไพรรสรอน ไดแก ยาที่นําเอาเบญจกูล ตรีกฎก หัสคุณ ขิง และขามาปรุง ตัวอยางเชน ยาแผนโบราณทีเ่ รียกวายาเหลืองทัง้ หลาย ยากลุม นีใ้ ชสําหรับรักษาโรคและอาการ ผิดปรกติทางวาโยธาตุ (ธาตุลม) 2 . 3 ส มุ น ไ พ ร ร ส สุ ขุ ม ไ ด แ ก ย า ที ่ผ ส ม ด ว ย โ ก ฐ เ ที ย น ก ฤ ษ ณ า กระลําพัก ชะลูด อบเชย ขอนดอก และแกนจันทนเทศ เปนตน ตัวอยางเชน ยาหอมทัง้ หลายยาก ลุมนใี้ ชรกั ษาความผดิ ปรกตทิ างโลหิต นอกจากรสประธานของสมุนไพรดังทีก่ ลาวนี้เภสัชวัตถุยังมีรสตางๆ อีก 9 รสคือ รสฝาด รสหวาน รสเบือ่ เมา รสขม รสมัน รสหอมเย็นรสเค็ม รสเปรีย้ ว และรสเผ็ดรอน ในตําราสมุนไพร แผนโบราณบางตําราไดเพมิ่ รสจดื อีกรสหนงึ่ ดว ย 3. คณาเภสัช ผปู รงุ สมุนไพรตอ งรูจักเคร่ืองสมุนไพรทีป่ ระกอบดวยเภสัชวัตถุมากกวา 1 ชนดิ ทน่ี าํ มารวมกันแลวเรยี กเปนช่อื เดยี ว ตัวอยา งเชน ทเวคันธา หมายถึงเครือ่ งสมุนไพรทีป่ ระกอบดวยเภสัชวัตถุ 2 ชนิด คือ รากบุนนาค และ รากมะทราง ตรีสุคนธ หมายถึงเครื่องสมุนไพรที่ประกอบดวยเภสัชวัตถุ 3 ชนิด คือ รากอบเชย เทศ รากอบเชยไทย และรากพมิ เสนตน

176 4. เภสชั กรรม ผูป รงุ สมุนไพรตอ งรจู กั การปรุงยาซึ่งมสี ่งิ ทีค่ วรปฏิบตั ิคือ 4.1 พิจารณาตัวสมุนไพรวาใชสวนไหนของเภสัชวัตถุ เชน ถาเปนพืชวัตถุ จะใชสวน เปลอื กรากหรอื ดอก ใชส ดหรอื แหง ตอ งแปรสภาพกอนหรือไม ตัวอยางสมุนไพรที่ตองแปรสภาพ กอ นไดแ ก เมล็ดสลอด เพราะสมุนไพรนมี้ ีฤทธแ์ิ รงจึงตอ งแปรสภาพเพอ่ื ลดฤทธิ์เสียกอ น 4.2 ดูขนาดของตัวสมุนไพรยา วาใชอยางละเทาไร และผูปรุงสมุนไพรควรมีความรูใ น มาตราโบราณ ซึ่งใชสวนตางๆ ของรางกาย หรือเมล็ดพืชทีเ่ ปนทีร่ ูจักคุนเคยมาเปนตัวเทียบ ขนาด เชน คําวาองคุลี หมายถึงขนาดเทา 1 ขอของนิว้ กลาง กลอมหมายถึงขนาดเทากับเมล็ด มะกล่ําตาหนู และกล่ําหมายถึงขนาดเทากับเมล็ดมะกล่ําตาชาง เปนตน การขออนุญาตผลติ ภัณฑอาหารและยา (ขอเคร่อื งหมาย อย.) “อาหาร” ในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 หมายถึง “วัตถุทุกชนิดทีค่ นกิน ดืม่ หรือ นําเขาสูรางกาย แตไมรวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาท หรือยาเสพติดใหโทษ นอกจากนี้ อาหารยังรวมถึงวัตถุทีใ่ ชเปนสวนผสมในการผลิตอาหาร วัตถุเจือปนอาหาร สี เครื่องปรุงแตง กลน่ิ รสดว ย” ผลติ ภัณฑท ผ่ี ลิตเพื่อจําหนายมีจํานวนหนึง่ ท่เี ปนผลติ ภณั ฑท ีค่ าบเกยี่ วหรอื ก้ําก่ึงวาจะเปน ยาหรืออาหาร เพือ่ ปองกนั ความสับสนในเร่ืองน้ี สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยาจงึ กาํ หนด แนวทางในการพิจารณาวา ผลติ ภัณฑใดท่ีจดั เปนอาหาร ตองมลี ักษณะดังน้ี 1. มีสวนประกอบเปนวัตถุทีม่ ีในตําราทีร่ ัฐมนตรีประกาศตามพระราชบัญญัติยาและโดย สภาพของวตั ถนุ นั้ เปน ไดท ง้ั ยาและอาหาร 2. มีขอบงใชเปนอาหาร 3. ปริมาณการใชไมถึงขนาดที่ใชในการปองกันหรือบําบัดรักษาโรค 4. การแสดงขอความในฉลากและการโฆษณาอาหารทีผ่ สมสมุนไพรซึ่งไมจัดเปนยานั้น ตองไมมีการแสดงสรรพคุณเปนยากลาวคือปองกัน บรรเทา บาํ บดั หรอื รักษาโรคตา ง ๆ การแบงกลุมผลิตภณั ฑอ าหาร อาหารแบงตามลักษณะการขออนุญาตผลิต ออกเปน 2 กลุมคอื 1. กลุมอาหารที่ไมตองมีเครื่องหมาย อย. อาหารกลุม นี้ สวนใหญเปนอาหารทีไ่ มแปรรูปหรือถาแปรรูปก็จะใชกระบวนการผลิต งา ย ๆ ในชมุ ชน ผูบริโภคจะตองนํามาปรุงหรือผานความรอนกอนบริโภค อาหารกลุมนีผ้ ูผ ลิตทีม่ ี สถานทีผ่ ลิตไมเขาขายโรงงาน (ใชอุปกรณหรือเครื่องจักรต่าํ กวา 5 แรงมา หรือคนงานนอยกวา 7 คน) สามารถผลิตจําหนายไดโดยไมตองมาขออนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือสํานักงานสาธารณสุขจังหวดั แตตอ งแสดงฉลากอาหารท่ถี ูกตองไวด วย

177 2. กลุมอาหารที่ตองมีเครื่องหมาย อย. อาหารกลุม นีเ้ ปนอาหารทีม่ ีการแปรรูปเปนอาหารกึง่ สําเร็จรูปหรืออาหารสําเร็จรูปแลว ซึ่งอาจกอใหเกิดความเสี่ยงตอผูบ ริโภคในระดับต่าํ ปานกลางหรือสูง แลวแตกรณี ไดแก อาหารที่ ตองมีฉลาก อาหารกําหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน หรืออาหารควบคุมเฉพาะ ดังนัน้ จึงจําเปนตอง ขออนุญาตสถานทีผ่ ลิตอาหารและขอขึน้ ทะเบียนตํารับอาหาร หรือจดทะเบียนอาหาร หรือแจง รายละเอียดของอาหารแตละชนิดแลวแตกรณี ไดทีส่ ํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาหรือ สํานักงานสาธารณสุขจังหวดั ตัวอยางผลิตภัณฑจากสมุนไพรที่ไมเขาขายการเปนยาไดแก สบูสมุนไพร แชมพูสระผม สมุนไพร ผงขัดผิวสมุนไพร เกลือผสมสมุนไพรสําหรับขัดผิว เทียนหอม เครือ่ งดื่มจากสมุนไพร น้าํ หอมปรับอากาศจากสมุนไพร น้าํ จิม้ น้าํ ซอสปรุงรสผสมสมุนไพร ผลิตภัณฑสมุนไพรอบแหง พรอ มรับประทาน ลูกอมสมุนไพร ชาสมุนไพรสําเร็จรูปพรอมชง เปนตน สวนตัวอยางผลิตภัณฑจากสมุนไพรที่เขาขายเปนยาไดแก สมุนไพรลดน้าํ หนัก เครื่องสําอางบํารุงผิว แกอาการทางผิวหนังหรือทําใหขาว เครือ่ งดืม่ สมุนไพรทีม่ ีสรรพคุณรักษา บําบัดหรือบรรเทาอาการจากโรคตางๆ เปนตน กิจกรรม 1. ใหผูเรียนสืบคนหาสมุนไพรทีใ่ นทองถิน่ และจดไววามีกี่ชนิด แตละชนิดมีสรรพคุณ อะไร จากนัน้ นาํ มาแลกเปล่ยี นความรูในกลุม 2. ใหผูเรียนรวมกันอภิปรายเรื่องการแปรรูป สมุนไพรทีส่ ืบคนจากขอ 1 วาจะสามารถ แปรรปู ทาํ ผลิตภณั ฑอะไรไดบ าง 3. ใหผูเ รียนเขียนสรุปจากการอภิปรายในขอ 2 วานผลิตภัณฑสมุนไพรของผูเ รียนอยูใ น กลุม และชนิดอาหารอะไร และจะตองขออนุญาตการผลิตตากคณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) หรือไมใชเอกสารในการขออนุญาตอะไรบาง

178 บรรณานกุ รม นพ.กติ ติ ปรมตั ถผล, นายปรีชา ไวยโภคา : รวมชดุ สาระการเรยี นรูพื้นฐาน “สุขศึกษา 2” ชวงชั้นท่ี 3 ม.2, 2550. บรษิ ัท สาํ นักพิมพเ อมพันธ จาํ กดั พญ.กสุ มุ าวดี ดาํ เกลย้ี ง, ปรีชา ไวยโภคา และคณะ : รวมชุดสาระการเรยี นรพู น้ื ฐาน “สุขศกึ ษา 6” ชว งชน้ั ท่ี 4 ม.6, 2550. บรษิ ัท สาํ นักพมิ พเ อมพนั ธ จํากัด นพ.กิตติ ปรมตั ถผล, นายปรีชา ไวยโภคา : รวมชุดสาระการเรยี นรพู น้ื ฐาน “สุขศกึ ษา 3” ชว งชน้ั ที่ 3 ม.3, 2550. บริษทั สาํ นักพิมพเอมพันธ จํากดั วฑิ รู ย สมิ าโชคด,ี คมู ือความปลอดภัยสาํ หรับพนักงานใหม. 2540. บรษิ ัท ส.เอเชยี เพรส จาํ กดั . กรุงเทพมหานคร. ความรเู รื่องโชค : ทางแก ดูแล ปองกัน, 2543 : บรษิ ัท รดี เดอรส ไดเจสท (ประเทศไทย) จํากัด. กรุงเทพมหานคร

179 ท่ีปรึกษา คณะผจู ัดทาํ 1. นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชัยยศ อ่มิ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รนิ ทร จําป รองเลขาธิการ กศน. 4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ท่ปี รึกษาดานการพัฒนาหลกั สตู ร กศน. 5. นางรักขณา ตณั ฑวุฑโฒ ผูอาํ นวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น ผูเ ขียนและเรียบเรียง 1. นายววิ ฒั นไ ชย จนั ทนส คุ นธ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเวช หนว ยศกึ ษานเิ ทศก 4. นางสุปรารถนา ยกุ หะนนั ทน โรงเรยี นบดนิ ทรเ ดชา ( สงิ ห สงิ หเสนยี  ) 5. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทกั ษ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 6. นางสาวเยาวรัตน คําตรง กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ผูบ รรณาธกิ าร และพฒั นาปรับปรุง 1. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเวช หนว ยศกึ ษานเิ ทศก 2. นางสุปรารถนา ยกุ หะนนั ทน โรงเรยี นบดนิ ทรเ ดชา ( สิงห สงิ หเสนยี  ) 3. นางกนกพรรณ สวุ รรณพทิ ักษ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวเยาวรัตน คําตรง กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวสุรีพร เจริญนชิ ขาราชการบํานาญ 6. นางธญั ญวดี เหลาพาณิชย ขาราชการบํานาญ 7. นางเอ้ือจิตร สมจติ ตช อบ ขาราชการบํานาญ 8. นางสาวชนิตา จติ ตธ รรม ขาราชการบํานาญ 9. นางสาวอนงค เชอ้ื นนท สํานักงาน กศน เขตบางเชน คณะทํางาน 1. นายสุรพงษ มัน่ มะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวศริญญา กุลประดิษฐ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

180 ผพู มิ พต นฉบบั คะเนสม กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1.นางสาวปย วดี เหลอื งจิตวฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นางสาวเพชรินทร กวีวงษพ พิ ัฒน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธษิ า กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวชาลินี บานชี กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวอลิศรา ผอู อกแบบปก ศรีรัตนศลิ ป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นายศภุ โชค

181 คณะทป่ี รกึ ษา ผพู ัฒนาและปรบั ปรุงครัง้ ท่ี 2 นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน. นายชัยยศ อ่ิมสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. นายวชั รนิ ทร จําป รองเลขาธิการ กศน. นางวทั นี จนั ทรโอกลุ ผูเช่ยี วชาญเฉพาะดานพัฒนาส่อื การเรยี นการสอน นางชุลีพร ผาตินินนาท ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการเผยแพรทางการศึกษา นางอัญชลี ธรรมวธิ ีกลุ หวั หนา หนว ยศกึ ษานเิ ทศก นางศุทธนิ ี งามเขตต ผูอํานวยการศึกษานอกโรงเรียน ผพู ัฒนาและปรบั ปรุงคร้ังที่ 2 นายสุรพงษ มัน่ มะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นายกิตติพงศ จันทวงศ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นางสาวผณินทร แซอ ้งึ นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook