Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุขศึกษา ม.ต้นws21002

สุขศึกษา ม.ต้นws21002

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-06-07 03:00:11

Description: สุขศึกษา ม.ต้นws21002

Search

Read the Text Version

51 ตอมไรทอที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและพัมนาการของวัยรุนที่สําคัญ ไดแก ตอมใต สมองหรือตอมพิทูอิทารี (Pituitary gland) ตอมเพศ (Gonads) ตอมไทรอยด (thyroid gland) และตอมหมวกไต (adrenal or suprarenal glands) ซ่ึงตอมไรทอแตล ะตอมสงผลตอ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของวยั รนุ 1.4อารมณทางเพศ (sexuality) หรือความตองการทางเพศ (sexusl desire) ในท่ีนี้จะหมายถึง ความรูสึกของบุคคลที่มีผลมาจากส่ิงเราภายในหรือส่ิงเราภายนอกท่ีเปน ปจจัยทม่ี ากระตนุ ใหเกดิ ความรสู ึกทางเพศขึน้ โดยมีระดับความแตกตา งมากนอ ยตางกัน ขน้ึ อยูกับความสามารถ ในการควบคมุ อารมณแ ละพืน้ ฐานทางดานวฒุ ิภาวะของแตละบคุ คล จากความหมายดังกลา วจะเหน็ ไดวา สิ่งเราภายในและส่ิงเราภายนอกเปนปจจัยสําคัญ ทีจ่ ะสงผลใหอารมณและอารมณทางเพศเกิดขึ้น และเมือ่ วิเคราะหในประเด็นทีเ่ กี่ยวของกับความสําคัญของ อารมณทางเพศกบั วยั รุน แลว สรุปประเด็นท่ีสาํ คญั ได ดังน้ี 1) อารมณทางเพศถือวาเปนสัญชาตญาณในการดํารงเผาพันธุข องมนุษยทีเ่ กิดขึน้ ตาม ธรรมชาติ เปนตัวบงชีป้ ระการหนึ่งทีแ่ สดงใหเห็นถึงความสมบูรณของพัฒนาการทางดานรางกาย จิตใจ และ อารมณของวยั รนุ ที่กาวเขาสูชวงของวัยเจรญิ พันธุมากข้นึ 2) ปจจุบันสื่อหลายรูปแบบทีป่ รากฏอยูในสังคมมีสวนชวยกระตุน แรงขับทางเพศ (Sex drive) ของวยั รนุ ใหเ กดิ อารมณท างเพศไดงายข้ึน การนาํ เสนอภาพหรอื ขอความท่ีเกี่ยวขอ งกบั เร่ืองเพศผา นสือ่ ตาง ๆ เปนปจ จยั หน่ึงทยี่ ่วั ยใุ หว ยั รุนเกิดอารมณทางเพศทเี่ สี่ยงตอ การมีเพศสัมพันธไดงายและเร็วขึ้น โดยส่ือตาง ๆ เหลาน้ีอาจอยใู นรปู แบบของหนังสือหรอื ภาพยนตรบางประเภท รวมไปถงึ ขอ มูลที่ไดจ ากการสบื คน ดว ยระบบ อินเทอรเน็ต ซึ่งผลกระทบจากอารมณทางเพศในแงลบจะมีมากยิ่งขึ้น หากวัยรุนขาดความรูค วามเขาใจในแนว ทางการควบคุมอารมณทางเพศอยางถูกตอง จนในที่สุดอาจนําไปสูพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีพศสัมพันธโดยไม ต้งั ใจ และนํามาสูปญหาตา ง ๆ ในสงั คมทเี่ กีย่ วของกับพฤตกิ รรมทางเพศท่ีไมเ หมาะสมของวัยรุนได 3) อารมณทางเพศของวัยรุนหากขาดวิธีการควบคุมทีถ่ ูกตอง จะนําไปสูป ญหา พฤติกรรมทางเพศท่ีไมเหมาะสมของวัยรนุ มากขนึ้ วยั รุน แมจ ะเปน วยั ทีม่ แี รงขบั ทางเพศสูงกวา ทุกวยั และพรอม ทีจ่ ะมีเพศสัมพันธหรือมีบุตรไดก็ตาม แตสังคมและวัฒนธรรมของไทยก็ยังไมยอมรับทีจ่ ะใหวัยรุนชาย-หญิง แสดงพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมดังกลาว โดยเฉพาะการมีเพศสัมพันธจนกวาจะไดทําการสมรสหรือยู ในชวงวยั ทเี่ หมาะสม อารมณท างเพศทเี่ กดิ ขนึ้ ในชว งการเขาสวู ัยรุน เปน พฒั นาการอยา งหนง่ึ ที่แสดงใหเ หน็ ถึงความพรอมของรางกาย ทีจ่ ะสืบทอดและดาํ รงไวซ งึ่ เผาพันธุ โดยมีส่ิงเราสําคัญใน 2 ลักษณะ ประกอบดวย ลักษณะของปจจัยที่เปนสิง่ เรา ภายใน (intrinsic stimulus) และลกั ษณะของปจจยั ท่ีเปน สง่ิ เรา ภายนอก (extrinsic stimulus) 1) ลกั ษณะของปจ จัยทีเ่ ปน สิง่ เราภายใน ปจจัยทีเ่ ปนสิ่งเราภายใน ในทีน่ ี้หมายถึง สิ่งเราซึง่ เปนผลที่เกิดจากกระบวนการ เปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในรางกาย โดยไดรับอิทธิพลมาจากการทํางานของระบบตอมไรทอ ซึ่งผลิต ฮอรโมน ออกมาเพอ่ื กระตุนใหรางกายมีการพัฒนาอยา งเปนระบบตอ เน่อื ง ฮอรโ มนเพศเปน ปจจยั ภายใรทสี่ ําคัญ ที่เปนส่ิงเราใหวัยรนุ มพี ัมนาการของอารมณท างพศเกิดขึ้น และนําไปสูการเกิดความตองการทางเพศตามชวงวัย ในเพศชายฮอรโมนที่เปนปจจัยสําคัญในเรื่องดังกลาว คือ ฮอรโมนเทสโทสเตอโรน สวนในเพศหญิง คือ ฮอรโ มนเอสตราดโิ อล และ ฮอรโ มนฟอลลิควิ ลาร 2) ลกั ษณะของปจ จัยทีเ่ ปนสิง่ เราภายนอก

52 ปจจัยที่เปนสิ่งเราภายนอก ในท่ีน้ีหมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกตาง ๆ ที่สามารถ กระตนุ หรือยวั่ ยใุ หผ ทู ร่ี บั รู หรอื ไดร ับการถา ยทอดเกิดความรสู กึ ทเี่ กดิ เปน อารมณท างเพศขนึ้ ประกอบดว ย ส่ือรูปแบบตาง ๆ ท่ีกระตุน หรือย่วั ยใุ หวยั รุนเกดิ อารมณทางเพศ ปจจุบันมีส่ือหลากหลาย รปู แบบโดยเฉพาะ สอ่ื ทางเพศ ไดน าํ เสนอภาพและ/หรอื ขอ ความทีเ่ กย่ี วกบั เพศ ซงึ่ มกั จะนําไปสูการกระตุนหรือ ยัว่ ยุใหผูร ับสือ่ โดยเฉพาะในวัยรุน ความหลากหลายของสื่อในลักษณะดังกลาวทําใหมีผูเ ปรียบเปรยสือ่ ตาง ๆ เหลาน้เี ปน สินคา เพศพาณิชย ซ่งึ นบั วันจะมกี ารผลิตและนํามาเผยแพรใ หเหน็ เพิม่ มากขึ้น สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไป ปจจุบันเปนที่ยอมรับกันอยางหนึง่ วา สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมไทยไดเปลีย่ นไปจากเดมิ นับต้ังแตท่ีมีการรับวัฒนธรรมตะวันตกเขาสูสังคมไทย กอใหเกดิ การเปลี่ยนแปลงขนึ้ หลายลักษณะ โดยเฉพาะในประเทศไทยเกิดความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กีย่ วของกับเรือ่ ง การคบเพือ่ นตา งเพศของวัยรุนไทย พบวามีอิสระเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ปจจุบันสภาพของครอบครัวไทยมีการ เปลีย่ นแปลงไป ผูปกครองมีเวลาใกลชิดกับบุตรหลานนอยลง ซึง่ เปนผลมาจากสภาพของภาวะเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังพบวา ความมอี สิ ระของสื่อตอ การนําเสนอเรื่องราวทเี่ ก่ียวขอ งกับเพศ จัดไดวาเปนส่ิงเราภายนอกท่ี สําคัญ ที่สามารถที่จะเราและกระตุนใหวัยรุนเกิดความตองการทางเพศขึ้นได โดยเฉพาะหากขาดการดูแลและ การควบคมุ ท่ถี กู ตอ งเหมาะสม คานิยมและพฤตกิ รรมทไี่ มเ หมาะสมในบางลกั ษณะของวยั รนุ ผลจากสภาพทางสังคม และวฒั นธรรมที่เกีย่ วของกับเร่อื งเพศท่เี ปล่ียนไป สงผลใหวยั รนุ ไทยเกดิ คา นิยม และมพี ฤตกิ รรมท่ีไมเหมาะสม ในหลายลักษณะ เปนตนวา คานิยมในเรื่องการแตงกายตามสมัยนิยม (Fashion) ที่มากเกินควรของวัยรุน โดยไม คาํ นงึ ถึงผลกระทบท่อี าจเกิดขึ้น เชน ลักษณะการสวมเสื้อผาที่รัดรูป หรือเปดเผยสัดสวนรางกายของวัยรุนเพศ หญิง ซึ่งการแสดงออกดังกลาวจะกระตุนและยั่วยุใหวัยรุนชายเกิดอารมณทางเพศได นอกจากนี้ยังพบวาวัยรุน มกั จะมีคานิยมท่ีเกย่ี วกบั ความตอ งการในการแสดงออกโดยอิสระ เปนตนวา การเที่ยวเตรในเวลากลางคืน การ สัมผัสรางกายของเพศตรงขาม หรือการจับมือถือแขนอยางเปดเผยในที่สาธารณะ การอยูตามลําพังสองตอสอง หรือการไมใหความสําคัญในเรือ่ งการรักษาพรหมจารี ฯลฯ ซึ่งสิง่ ตาง ๆ เหลานี้ถือวาเปนปจจัยภายนอกทีส่ ามารถจะ กระตุน หรอื ย่ัวยใุ หว ยั รุนเกดิ อารมณทางเพศข้ึนได ความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ในขณะทีว่ ัยรุน เกิดการเปลีย่ นแปลง ทางเพศ อารมณเ พศหรอื ความตองการทางเพศท่ีเกิดขน้ึ กับวยั รุน ไมวาจะเกดิ จากสิง่ เรา ภายในหรอื ภายนอกก็ตาม มักจะทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลงใน 2 ลักษณะสําคัญ ประกอบดวย ลักษณะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสภาพ จิตใจ และลกั ษณะการเปลีย่ นแปลงทเี่ กดิ ข้นึ กบั สภาพรางกาย 1) ลกั ษณะการเปลยี่ นแปลงที่เกดิ ข้ึนกบั สภาพจิตใจ โดยปกติขณะที่คนเราเกิดอารมณทางเพศจะพบวา มีจิตนาการที่เกี่ยวของกับเร่ืองเพศ อยูใ นระดับหนงึ่ ซึ่งจะมากหรือนอยหรือมีความแตกตางกัน ยอมขึน้ อยูก ับพื้นฐานความสามารถในการควบคุม อารมณแ ละความรูส ึกของแตล ะคน และโดยท่ัวไปพบวา ความตื่นเตนทางเพศที่เปนพ้ืนฐานของการเกิดอารมณ ทางเพศในเพศหญิงจะเกิดไดชากวาเพศชาย อยางไรก็ตาม ทั้งเพศชายและเพศหญิงเมื่อเกิดอารมณทางเพศขึ้น หากความสามารถในการควบคุมอารณและการจัดการในเรื่องดังกลาวไมดีพอ ก็มักจะสงผลใหเกิดปญหา ทางดานสุขภาพจิตขึ้นได โดยเริ่มจากภาวะทางดานจิตใจที่เกิดความเครียดขึ้น แลวนํามาสูภาวะของความวิตก กงั วลที่เก่ยี วขอ งกบั เรอ่ื งเพศ จนอาจนําไปสูก ารขาดความเช่อื ม่ันในตนเองได 2) ลกั ษณะการเปลยี่ นแปลงท่ีเกดิ ข้นึ กบั สภาพรางกาย

53 ขณะทีส่ ภาพจิตใตมกี ารเปลี่ยนแปลงและแสดงออกถึงความตอ งการทางเพศ ปฏิกิริยา ของรางกายที่แสดงใหเห็นถึงภาวะความเปลีย่ นแปลงดังกลาวของรางกายจะเห็นไดชัดเจนมากขึน้ โดยเฉพาะ รา งกายทแ่ี สดงใหเ หน็ ถงึ ภาวะความเปลย่ี นแปลงดงั กลา วของรา งกาย จะเหน็ ไดช ดั เจนมากขน้ึ โดยเฉพาะบริเวณ อวัยวะเพศที่มีการไหลเวียนของเลือดท่ีสงมามากข้ึน สงผลใหอ วัยวะเพศเกิดการขยายตัว เพศชาย พบวาบรเิ วณองคชาตหรอื ลึงค (penis) จะมีขนาดเพื่มขึ้นและแข็งตัวข้ึน ผนัง ท่ีหุมอณั ฑะ (Scrotum) จะหนาขึน้ ลูกอณั ฑะจะเคล่อื นตวั สูงขึ้น เพศหญิง พบวา บรเิ วณอวยั วะเพศนอกจากจะขยายตวั แลว บรเิ วณชอ งคลอดอาจมีการ ขบั นํา้ หลอ ลนื่ ออกมา รวมทง้ั กลามเนื้อบริวเณดงั กลาวยังอาจเกิดการหดรดั ตัวขึน้ เปน ระยะ นอกจากการเปลี่ยนแปลงบริเวณอวัยวะเพศแลว ผลจากการเกิดอารมณทางเพศยัง สงผลใหการสูบฉีดเลือดของหัวใจเพิ่มขึ้น ทําใหเลือดไหลเวียนเพิม่ ขึน้ เปนผลใหผิวหนังบริเวณทีส่ ังเกตได มี การเปลย่ี นแปลงเปน สแี ดงเพม่ิ ขน้ึ เชน บรเิ วณใบหนา ลาํ คอ อก และหนาทอง นอกจากน้ี ในเพศหญิงหัวนม และเตานมอาจมกี ารขยายตวั ขน้ึ ผลกระทบดานลบที่เกิดข้นึ จากการเกิดอารมณทางเพศของวยั รุน จนนํามาสปู ญ หาทาง สังคมที่เห็นไดชัดอีกประการหนึ่งในปจจุบัน คือ การมีพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมของวัยรุน ซึ่งนํามาสู ปญหาตาง ๆ ตามมา เปนตนวา การเกิดปญหาการตั้งครรภทีไ่ มพึงประสงคในวัยรุน การเกิดปญหาการติดโรค ทางเพศสัมพันธและโรคเอดสในวัยรุน โดยปญหาเหลานี้ถือวาเปนผลกระทบทีส่ ืบเนื่องมาจากการเกิดอารมณ ทางเพศของวยั รุนทไ่ี มไ ดรบั การควบคุมและจดั การท่ีถกู ตองเหมาะสม ซึ่งผลกระทบดังกลาวถือไดวาเปนปญหา ทางสังคมท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งในปจ จบุ นั แนวทางในการจดั การกบั อารมณท างเพศของวัยรุน การจัดการกับอารมณทางเพศของ วัยรุน มแี นวทางการปฏบิ ตั ิทสี่ าํ คญั อยู 2 ลกั ษณะ ประกอบดว ย แนวทางการปฏบิ ัติเพื่อระงับอารมณท างเพศ และ แนวทางการปฏบิ ตั เิ พอ่ื ผอ นคลายความตอ งการทางเพศ 1) แนวทางการปฏิบตั เิ พ่อื ระงบั อารมณท างเพศ แนวทางการปฏิบัติเพื่อระงับอารมณทางเพศ หมายถึง ความพยายามในการที่จะ หลีกเล่ยี งตอ สง่ิ เราภายนอกท่ีมากระตุน ใหอารมณทางเพศมีเพม่ิ มากขนึ้ แนวทางในการปฏบิ ัติ มีดงั น้ี หลีกเลีย่ งการดูหรืออานขอความจากสื่อตาง ๆ ทีม่ ีภาพหรือขอความทีส่ ามารถยัง่ ยุให เกิดอารมณทางเพศ เชน การดูหนังสือ หรือภาพยนตร หรือสื่ออินเทอรเน็ตที่มีภาพหรือขอความทีแ่ สดงออก ทางเพศ ซ่ึงเปนการย่วั ยใุ หเ กดิ อารมณทางเพศ หลีกเลี่ยงการปฏิบัติหรือการทําตัวใหวางหรือปลอยตัวใหมีความสบายเกิดไป เชน การ นอนเลน ๆ โดยไมหลับ การนัง่ ฝนกลางวันหรือนัง่ จิตนาการที่เกีย่ วของกับเรื่องเพศ การอยูใ นสภาพของ บรรยากาศที่มีแสงสีเสียงทีก่ อหรอื ปลุกเราใหเ กดิ อารมณทางเพศ อยางไรก็ตาม แมในทางจิตวิทยาและในทางการแพทยจะมีความเห็นที่สอดคลองกัน วา การบําบัดความใครดวยตนเองโดยทัว่ ไปจะไมกอใหเกิดความผิดปกติทั้งทางรางกายและจิตใจ แตก็ไมควร ปฏิบัติบอยจนเกิดความหมกมุน ตอเรือ่ งดังกลาว ซึง่ จะกอใหเกิดเปนลักษณะนิสัยซึง่ อาจสงผลลบตอบุคลิกภาพ และความเขมแข็งทางดานการควบคุมอารมณที่ดีได ดังนั้น หากมีความจําเปนและไมสามารถที่จะหลีกเลี่ยงการ ปฏิบัติในเร่อื งดงั กลา วได ควรระลึกและคาํ นึงถึงหลกั การปฏิบตั ิท่เี กย่ี วของใน 3 ลักษณะทีส่ ําคัญ คือ ตองคํานึง

54 ในหลักของความสะอาดเปนพนื้ ฐาน ตอ งคาํ นงึ ถงึ สถานท่ใี นการปฏิบตั ิ คอื ตองมีความเปนสวนตัว ไมประเจิด ประเจอ และตองไมปฏบิ ตั ิดว ยวิธีการทร่ี นุ แรง ซง่ึ อาจกอใหเกดิ บาดแผล หรือมกี ารอกั เสบ หรือตดิ เชอื้ ได 1.5 การปรับตวั ทางเพศเมือ่ เขา สูวัยรุน เมือ่ เขาสูวัยรุน เพือ่ ชวยใหสามารถปรบตัวไดอยางถูกตองและเหมาะสมกับเพศของ ตนดีย่ิงขน้ึ วัยรนุ ควรมแี นวทางในการปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1) ศกึ ษาใหเขาใจถึงการเปลย่ี นแปลงทางเพศของรา งกายและจิตใจ เมื่อยางเขาสวู ยั รุน เราจะสังเกตเห็นวามกี ารเปล่ยี นแปลงเกดิ ข้นึ ในตัวเราหลายอยาง บางอยางก็อาจทําใหเราไมสบายใจ เชน วัยรุน ชายบางคนไมอ ยากพดู คยุ กบั เพอ่ื นเพราะอายทเ่ี สยี งแตกพรา สาํ หรบั วยั รนุ หญิงที่มปี ระจาํ เดือนเปน ครงั้ แรกอาจมี ความรูสึกกังวลและมีอาการตาง ๆ เกิดขึ้น แตถาหากไดศึกษาและทําความเขาใจเกี่ยวกับสภาพการเปลี่ยนแปลง ดังกลาว จะทําใหเขาใจและสามารถปฏบิ ตั ิตนไดอ ยางถูกตอ ง 2) ปรับตัวเขากบั เพ่ือนตางเพศใหเหมาะสม วยั รนุ เปนวัยทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงทางเพศ หลายอยา งทั้งชายและหญงิ เรมิ่ มคี วามสมั พนั ธก ันทางสังคมมากข้ึน ทําใหช ายและหญงิ ตางมีความสนใจในเพ่ือน ตางเพศมากขึ้น การคบเพือ่ นตางเพศไมใชสิง่ เสียหาย แตตองปฏิบัติตนอยูใ นขอบเขตทีเ่ หมาะสมและรูจัก มารยาทท่คี วรปฏบิ ัติตอ กนั ดงั นี้ ฝายชาย ควรใหเกียรติฝายหญิง ไมเกี้ยวพาราสีหรือฉวยโอกาส มีความบริสุทธิ์ใจ และควรใหค วามชว ยเหลอื ฝา ยหญงิ เชน ชว ยถอื ของ สละทน่ี ง่ั ให ไมแ สดงกริ ยิ าวาจาทไ่ี มเ หมาะสม เชน พูดจา หยาบโลน หรอื ใชกําลังรนุ แรง เปน ตน ฝายหญิง ควรวางตัวใหเหมาะสม สงวนตัว ไมอยูในทีร่ โหฐานกับเพศตรงขามตาม ลาํ พงั ไมไปในท่ีเปลี่ยว แตง ตวั สภุ าพ ไมแ สดงกิริยาวาจาที่ไมเหมาะสม เชน สง เสียงดัง หรือกลา วคาํ ผรุสวาท เปน ตน แสดงความมีนาํ้ ใจและใหเ กียรตฝิ ายชาย 3) ควรรบี ปรึกษาผูใหญเ มื่อมปี ญ หาหรือมีอปุ สรรคใด ๆ เกบ่ี วกบั เรอ่ื งเพศ วัยรนุ สวนมาก มักจะมคี วามวติ กกังวลในเรื่องตา ง ๆ เก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกายและจิตใจ เมื่อมีปญหาเกิดข้ึนควร จะปรึกษาพอแม ครู ญาติพี่นอง และผูใหญที่ไววางใจ เพราะทานมีประสบการณมากกวาเรา ยอมจะชวยแนะ แนวทางปฏิบัตทิ ถ่ี กู ตอ งใหแกเ ราได 4) ปฏิบัติตามขนมธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม โดยการเคารพเชือ่ ฟงผูใหญ หมั่น ศึกษาเลาเรียน ไมประพฤติไปในทางชูสาวกอนเวลาอันเหมาะสม การยึดมั่นใน ขนมธรรมเนียมประเพณีอันดี งามจะชวยเตอื นใจใหเ ราปฏบิ ัตใิ นทางท่ถี ูก 2. วัยรนุ กบั การคบเพื่อน วัยรุนเปนวัยที่ใหความสําคัญกับเพือ่ นและตองการใหตนเองเปนทีน่ ิยมชมชอบในกลุม เพือ่ น การมีเพอ่ื นทด่ี ีจะทาํ ใหวัยรุน มผี ทู ่ีคอยรว มทุกขรวมสุข ปรบั ทกุ ข ชแ้ี นะแนวทางในการแกไ ขปญหาอยางถูกตอง แตถ า วัยรนุ คบเพื่อนทไ่ี มดีก็จะชักนําไปสูทางที่ไมด ี วยั รุนจงึ ควรรูจกั เลอื กคบเพอื่ นที่ดแี ละสรางความสัมพันธที่ดี กบั เพอ่ื น ซง่ึ จะชว ยใหส ามารถปรบั ตวั ใหเขากบั สงั คมไดต อ ไป 2.1 หลักการคบเพื่อน

55 ควรมีหลักปฏิบัติในการคบเพือ่ น คือวัยรุน ควรพิจารณากลุมเพื่อนที่คบวามีความ ประพฤติเปนอยางไร ถาเพื่อนคนใดประพฤติตนในทางไมดี ก็ควรแนะนําและชักจูงใหเขาประพฤติในทางที่ดี รูจ ักปฏิเสธและไมหลงเชื่อคําชักชวนหรือปฏิบัติตามเพือ่ นที่มีความประพฤติไมดี เชน ชวนใหหนีเรียนเที่ยว กลางคืน เลนการพนัน เสพสารเสพติด เปนตน โดยในการพูดปฏิเสธนั้นใหปฏิบัติดังนี้ พูดดวยน้ําเสียงหนัก แนนมัน่ คง ควรบอกความรูส ึกดีกวาบอกเหตุผลหรือขออาง เพราะความรูสึกเปนเรื่องสวนตัวของแตละบุคคล ถา บอกเหตุผลหรือขออา ง เพื่อนอาจจะนาํ เหตผุ ลอนื่ มาลบลา งใหป ฏิเสธไมได และรูจักแนะนําและชักชวนเพ่ือน ปฏิบัตกิ ิจกรรมทีด่ แี ละมปี ระโยชน เชน เลน กฬี า เลน ดนตรี เรยี นภาษาตา งประเทศ เรียนคอมพิวเตอร เขารวม ในกิจกรรมพัฒนาตาง ๆ ในชุมชน เปนตน โดยเลือกตามความสนใจและความเหมาะสมของตนเอง จะไดเปน การใชเ วลาวา งใหเ กดิ ประโยชน 2.2 หลกั ทว่ั ไปในการผูกมิตร หลักทว่ั ไปในการผูกมิตร มแี นวทางในการปฏบิ ัติ ดังน้ี 1) รูจักยอมรับคําติชม เชน รับฟงความคิดเห็นหรือคําวิพากษวิจารณของผูอื่น เกยี่ วกบั ตวั เราเองดวยความเต็มใจ เปนธรรม ไมล าํ เอียงเขาขา งตนเอง และสามารถควบคุมอารมณไ ด 2) รูจ ักอารมณขัน มองโลกในแงดี และควรเปนคนยิม้ งาย เปนบุคลิกลักษณะที่ดี และเปน เสนหท ่ที ําใหผ ูพบเหน็ หรอื คบคาสมาคมดว ยรูสึกชมชอบ เกิดความสุขและความสบายใจ นับวาเปนส่ิง สาํ คญั ยิ่งอยางหนง่ึ ที่จะนําไปสูการตอ นรับและความรว มมอื ทดี่ ี 3) รจู ักออ นนอ มถอ มตน ไมค ยุ โออ วดความสามารถของตน ไมพดู จาดูถูกหรือยกตน ขม ผูอ่ืน และรจู ักยอมรับขอ บกพรอ งหรอื ความดอยของตนในดา นตาง ๆ 4) รูจ ักรับผิดชอบตอหนาที่ เชน หนาทีส่ ําคัญของนักเรียนคือเรียน ครูมีหนาทีใ่ ห การศกึ ษาอมรมแกน กั เรยี น นกั ศกึ ษา 5) รูจักประนีประนอม เมื่อเกิดปญหาหรืออุปสรรคขึน้ ควรจะมีการประนีประนอม หรือรอมชอมกนั ซ่ึงเปน วธิ ีการหนง่ึ ทีค่ นเราอาจตกลงกนั ไดอ ยา งยุตธิ รรมและมเี หตุผล 6) รูจกั เอาใจเขามาใสใ จเรา ใหคดิ เสมอวาอะไรก็ตามท่ีเราเองไมชอบ ไมตองการให ผูอ ืน่ กระทําตอเรา ก็จงอยา กระทาํ ส่งิ นนั้ ตอ บคุ คลอื่น และถาตองการใหบุคคลอ่ืนกระทําสิง่ ใดตอเราก็จงกระทํา สง่ิ นนั้ ตอเขา 7) รูจักใหกําลังใจคนอืน่ เชน ยกยองใหเกียรติ ใหกําลังใจผูอ ืน่ ดวยการชมเชย รูจ ัก แสดงความชน่ื ชมยนิ ดีตอความสาํ เร็จของเพอื่ นรว มหอง เพ่อื นรวมงาน เปน ตน 8) รูจักไววางใจคนอน่ื คือ รจู กั ไวเ น้อื เช่อื ใจคนอ่นื บางตามสมควร เพราะคนอื่นอาจ มคี วามดอยเกนิ ไปในดา นตาง ๆ ไดเ ชนเดียวกับเรา นอกจากนบ้ี างครัง้ การประเมินคาความสามารถของผูอ่ืนดอย เกินไป อาจนาํ มาซึง่ ความผดิ หวงั ไดดว ย 9) รูจักรวมมือกับคนอืน่ เชน การใหความรวมมือกับหมูคณะในการประกอบ กิจกรรมตา ง ๆ ของสวนรวมดวยความเตม็ ใจ เพราะผทู ี่เหน็ แกตวั หรอื เอาแตไ ดย อ มเปนท่ีรงั เกียจของสงั คม 10) รูจักเคารพสิทธิของผูอ ืน่ เชน ไมควรใชทรัพยสิง่ ของของผูอ ื่นโดยพลการ ไม กาวกา ย หรอื ละเมดิ สิทธซิ งึ่ เปน ผลประโยชนอ นั ชอบธรรมของผอู นื่ 2.3 หลักในการสรางเสริมความสมั พนั ธอนั ดกี บั กลมุ เพือ่ น หลักในการสรางเสรมิ ความสัมพันธอันดีกับกลมุ เพอ่ื น มแี นวทางปฏบิ ัติ ดงั นี้

56 1) รจู กั ตนเองและรูจักคนอืน่ วยั รุน ตอ งมคี วามเขาใจในความตอ งการของตนและของ เพอ่ื นยอมรบั สภาพความเปน จรงิ ของตน และยอมรบั ความแตกตา งในตวั เพอ่ื นกบั ตัวเอง ไมอิจฉาริษยาเพื่อนที่มี ฐานะดีกวา หรือมีความสามารถมากกวา และไมยกตนขมทานหรือดูถูกเหยียดหยามเพื่อนที่ดอยกวาตน แตให ยินดีกับความสาํ เรจ็ ของเพ่อื น และคอยชว ยเหลือสนับสนุนเพอื่ นหากมีโอกาส 2) มีมนุษยสัมพันธที่ดี รูจักพูด รูจ ักฟง เรียนรูทีจ่ ะพูดเรื่องตาง ๆ ในจังหวัดที่ เหมาะสม เปดโอกาสใหเพื่อนไดแสดงความคิดเห็น และรับฟงความคิดเห็นของเพื่อน เอาใจใสในตัวเพื่อน และใหความสาํ คัญกับเพื่อนดวยความบรสิ ทุ ธิใ์ จ ตลอดจนมคี วามซื่อสตั ยและจริงใจตอเพอ่ื น 3) การมองโลก ใหมองในแงทีเ่ ปนจริง ไมมองในแงดีจนเกินไป อันอาจถูก หลอกลวงและคดโกงได แตไมม องคนในแงรายจนเกนิ ไป อันจะทําใหเ ปนคนใจแคบ ไมร จู ักการใหอ ภยั 4) มีน้าํ ใจเปนนักกีฬา ยอมรับผิดเมือ่ รูว าตนผิด ปฏิเสธในสิ่งทีต่ นไมสามารถทําได เมื่อใหสัญญาอยางไรไวกับใครก็ตองพยายามทําตามสัญญานัน้ ใหดีทีส่ ุด นอกจากนีย้ ังตองรูจ ักเสียสละและให อภยั แกเ พื่อนเม่ือเกดิ ขอ ผดิ พลาด โดยทาํ ความเขา ใจถึงสาเหตทุ ่ที ําใหเ กดิ ขอผิดพลาดน้นั และรว มมอื กันปรับปรุง แกไ ขตามสาเหตุทเี่ กดิ ข้นึ ตอ ไป หรือสงผลมากระทบ และเมือ่ เกิดอารมณขึ้นก็มักจะพบวาพฤติกรรมการแสดงออก ดังกลาว มักมีการเปลีย่ นแปลงหรือแตกตางไปจากสภาพเดิม ซึ่งสังเกตเห็นไดชัดเจนหรืออาจไมชัดเจน ทั้งนี้ ข้ึนอยกู บั ความสามารถในการปรับสภาพอารมณของแตละบคุ คล เรื่องที่ 3 พฤตกิ รรมท่นี ําไปสกู ารมีเพศสมั พนั ธ ปจจุบันปญหาจากพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมของวัยรุนมีหลายลักษณะ เชน การมี เพศสมั พันธก อนวัยอันควร การติดเช้อื เอดสแ ละโรคติดตอ ทางเพศสมั พนั ธ รวมท้ังการต้ังครรภท่ีไมพึงประสงค ในวัยรุนทั้งที่มาจากพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมโดยตรง และมาจากอุบัติภัยทางเพศนับเปนปญหาทางเพศ ของวัยรนุ ทีอ่ ยใู นอนั ดบั ตน ๆ อยางไรกต็ าม มวี ัยรุน ทจ่ี ับคูกันบางคไู มม ีเพศสมั พันธกนั ซ่ึงมีสาเหตหุ ลายประการ เชน พอ แมดูแลเอาใจใสอ บรมส่งั สอนดี พอ แมตดิ ตามดแู ลอยา งใกลช ิด ไมเปดโอกาสใหทงั้ คูไดอ ยูในสถานการณทเ่ี ส่ียง ตอการมีเพศสัมพันธ วัยรุนคิดไปขางหนาเกิดความเกรงกลัววาจะมีปญหาตาง ๆ ตามมามากมาย มีความละอาย ใจและรูสกึ วา ผิด กลัวเสยี ชือ่ เสยี ง และกลัวคนอ่นื จะรู ไมม โี อกาสทจ่ี ะไดก ระทาํ มคี วามยบั ยั้งชั่งใจ เปน ตน การจับคูก ันนั้นสวนใหญจะทําใหการเรียนแยลง การมีคูรักไมใชสัญลักษณของการประสบ ความสําเร็จในชีวิต ไมใชแฟชัน่ หากวัยรุน คนใดยังไมมีคูรักก็ไมควรรูส ึกวาตัวเองดอยกวาเพือ่ นที่มีคนรัก ไม จําเปน ทีจ่ ะตอ งคบกบั ใครสักคนเปน คูรกั เพยี งเพราะตองการใหต นเองเหมือนเพ่อื นคนอืน่ ๆ เทานั้น ความคาดหวังในเรือ่ งความรกั ของผูหญิงและผชู ายทีแ่ ตกตา งกันนั้น เปนส่ิงท่ีวัยรุนท่ีจับคูกัน ไมควรมองขาม เพราะจะทําใหรูว าหญิงและชายจะปฏิบัติตอคนรักตางกัน ผูช ายจะคิดถึงเรื่องการไดสัมผัส ลวงเกินจนถึงขัน้ มีเพศสัมพันธ จึงเปนสาเหตุหนึ่งที่จะทําใหผูห ญิงตองเสียความบริสุทธิก์ อนวัยอันควร และมัก ไมค อยเต็มใจ ซ่งึ วัยรนุ หญงิ จะตองระวังใหด ใี นเรื่องน้ี 1. พฤติกรรมท่ีเส่ียงตอ การมเี พศสมั พนั ธ

57 วัยรุนเปนวัยทีเ่ กิดความเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการอยางรวดเร็วในเรือ่ งเพศ บางคนจึงเกิด ความสนใจในเพศตรงขาม สนใจในเรื่องเพศ การจับคูเปนคูรักกัน การเกิดอารมณทางเพศ การดูส่ือลามก การมี เพศสัมพันธกับคูรัก การมีสมั พนั ธกบั หญงิ ขายบริการทางเพศ หรอื การขายบรกิ ารทางเพศ เมือ่ เปนเชนนีผ้ ลเสียทีต่ ามมา ไดแก การมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร ทําใหเกิดความวิตกกังวล เสยี การเรยี นเพราะจะสนใจการเรียนนอยลง เกิดการต้ังครรภท่ีไมพึงประสงค การทําแทง ปญหาลูกไมมีพอ ทารก ถกู ทอดท้ิง โรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพนั ธ โรคเอดส เปน ตน เหตุและผลดังกลาวขางตนนี้ มักจะเริม่ จากตัวของวัยรุนเองทีม่ ีพฤติกรรมเสีย่ งตอการมี เพศสัมพันธ ซงึ่ มดี งั นี้ 1. สนใจเรื่องเพศมาก ปกตวิ ัยรนุ ก็จะสนใจเรือ่ งเพศอยูแลวเพราะเปน ธรรมชาติของวัย แตถา หมกมุน กับเรือ่ งนีม้ ากเกินไป และโอกาสหรือสถานการณเอือ้ อํานวยวัยรุน อาจมีเพศสัมพันธโดยไมคิดไมได ตัดสินใจหรือไมไดวางแผนลวงหนา คือปลอยใหเปนไปตามความตองการและอาจไมคิดถึงผลกระทบที่จะ เกดิ ขึ้นภายหลงั 2. มคี วามหมกมุน ในเรื่องเพศ มวี ยั รุน จาํ นวนหนง่ึ โดยเฉพาะวัยรุนชายท่ีหมกมุนในเรื่องเพศ มากเกนิ ไปอาจมีการสําเรจ็ ความใครด วยตนเองบอยครงั้ โดยไมพ ยายามหลกี เล่ยี ง หรอื พยายามจัดการกบั อารมณ ทางเพศ ในผหู ญงิ กอ็ าจมบี า งแตไ มมากเทา ผูชาย บคุ คลประเภทนี้มคี วามเส่ียงตอ อาการมเี พศสัมพันธ 3. ชอบถูกเนื้อตองตัวเพศตรงขาม ผชู ายมักจะยินดที ่ีไดถ กู เน้ือตอ งตวั ผูหญงิ หรือใหผ ูห ญงิ มา ถูกเนอื้ ตอ งตวั ตนเอง สว นผูหญิงที่คิดเชน เดียวกับผชู ายน้ีก็มีบาง การถูกเน้ือตองตัวกันทําใหเกิดอารมณทางเพศ ได ถา มโี อกาสหรอื สถานการณที่เอือ้ อํานวยกอ็ าจถงึ ขั้นการมเี พศสมั พันธก นั ได เรือ่ งนี้มักจะพบเห็นอยูบ อยครัง้ ในหมูวัยรุน ทีม่ ักถือโอกาสถูกเนือ้ ตองตัวกัน ถาถูกผูใ หญดุ หรือเตือนก็จะบอกวาเปนเพือ่ นกัน ไมคิดอะไร ถึงแมวาจะมีบางคนที่ไมไดคิดอะไรจริง ๆ แตก็ไมเหมาะสม เพราะจะถูกมองวาเปนหญิงสาวที่ไมรักนวลสงวนตัว ใหผูช ายถูกเนื้อตองตัวงาย ๆ ผูชายก็ไมเปนสุภาพบุรุษ เพราะชอบหาเศษหาเลยดวยการถูกเนื้อตองตัวผูห ญิง ดังนัน้ นักเรียนควรปองกันและหลีกเลีย่ งไมใหเกิด พฤติกรรมน้ี 4. คดิ วาการมีเพศสมั พันธไมใชเรอื่ งเสยี หาย ไมวา ชายหรอื หญิงที่คิดเชน นจี้ ะเปนผูที่เสี่ยงตอ การมีเพศสัมพันธมาก ผูช ายมักจะคิดเชนนี้ ซึง่ เปนนิสัยที่ติดตัวของผูช ายมาอยูแ ลว แตถาผูห ญิงคิดเชนนีด้ วยก็ นับวาเปนการสนับสนุนใหผูชายสมหวังขึ้น จนเปนเปนปญหาสําคัญปญหาหนึง่ ในครอบครัวและสังคมไทย เพราะเปน ความคดิ ทน่ี าํ ไปสูการมเี พศสัมพันธก อนวยั อนั ควร ซงึ่ จะกอใหเ กดิ ปญ หาตามมามากมาย 5. ดูสือ่ ลามก ปจ จุบนั นี้มสี อ่ื ลามกขายกันมากมายตามทองตลาด วยั รุนหลายคนรูวา แหลงซ้ือ ขายอยูที่ใด การดูสื่อลามกประเภทนีท้ ําใหผูด ูเกิดอารมณทางเพศ วัยรุนเปนวัยที่อยากรูอยากลอง เมื่อดูแลว บางครั้งอาจอยากทดลองทําตามคูพ ระนางในสือ่ ลามกนัน้ ดังวัยรุน ทีม่ ีขาวลงหนาหนังสือพิมพวาไปขมขืนหรือ ไปม่วั สมุ มเี พศสมั พันธกันแลวรบั สารภาพวา ทาํ ตามอยางในสอื่ ลามกทเี่ คยดู 6. เปนคนเจาชู คนเจา ชคู นทชี่ อบมีคูรักหรือสามีภรรยามากกวา 1 คน หรือมีไปเรื่อย ๆ ตาม ความพอใจ วยั รนุ ทีเ่ ปนคนเจา ชูจะมใี จกลาในเรอื่ งนี้ และขาดความรับผิดชอบในส่ิงท่ตี นเองกระทาํ ไมร ักใครจรงิ ถา เบือ่ ก็พรอ มทจี่ ะทอดทง้ิ บุคคลประเภทน้ีจะมีเพศสัมพนั ธงาย ๆ ไมค ดิ อะไรมาก ผหู ญงิ เปน ฝายท่ีตองรับภาระ ในสิ่งที่ทัง้ คูไ ดกระทําลงไป เชน เปนฝายตัง้ ครรภอาจตองไปทําแทง หรือตองคลอดลูกแลวเลีย้ งลูกตามลําพัง เปน ตน จึงตอ งระวังคนเจาชแู ละตองไมเ ปน คนเจา ชู

58 7. เคยมีประสบการณทางเพศมาแลว ไมวาจะเปนผูช ายหรือผูหญิงที่เคยมีประสบการณใน การมีเพศสัมพันธมาแลว ในครั้งตอ ๆ ไปมันจะไมคิดมาก ใจกลาขึ้น ไมกลัว หรือไมก็ติดใจในเพศรสจึงเปน มลู เหตทุ ี่ทาํ ใหเกิดความเส่ยี งตอการมเี พศสมั พันธซา้ํ ไดอกี 8. เสพสารเสพตดิ ผูท่เี สพสารเสพติดจะเกิดอาการมึนเมาเคลิบเคลิ้ม ขาดความรูสึกผิดชอบ ชั่วดี ครองสติไมได จึงมักทําอะไรลงไปแบบไมคิดอะไรมากหรืองง ๆ ไมคอยรูตัว ดังขาวที่พบเห็นบอย ๆ วา วัยรุนไปจัดปารตี้ยาอี ยาบา หรือไมก็ไปดื่มแอลกอฮอล พอมึนเมาเสพสารเสพติด หรือยอมมีเพศสัมพันธเพื่อ แลกกับสารเสพตดิ ในกรณีท่ีติดสารเสพติดแลว 9. ขาดความไตรตรอง บุคคลประเภทนีม้ ักไมคิดถึงผลทีจ่ ะตามมาหรือผลกระทบหลังการมี เพศสัมพันธวาจะเปนอยางไร เปนคนแกปญหาเฉพาะหนาไปวันหนึ่ง ไมคิดถึงอนาคตวาเปนอยางไร ตัดสินใจ โดยขาดสติ 10. อยากรูอ ยากลอง วัยรุนเปนวัยที่อยากรูอยากลองอยูแลว แตถาอยากรูอยากลองเรื่องเพศ น้นั นับวา เปนอนั ตราย ปจจยั ทก่ี ระตุนใหอยากรูอ ยากลองนอกจากจะมาจากตนเองแลว ยังอาจมาจากปจจัยอ่ืน ๆ เชน เพอ่ื นชกั ชวน อา นหนงั สอื ลามก 2. การหลีกเลี่ยงและปองกันตนเองจากสถานการณการเสยี่ งตอการตั้งครรภโดยไมตั้งใจ มีผูหญิงจํานวนไมนอยทีต่ ั้งครรภโดยไมตั้งใจ ทั้งนี้เพราะไมคาดคิดมากอนวาจะมี เพศสัมพนั ธกบั ผชู ายซ่ึงอาจเปน คูร ักของตนเอง เปน เพอ่ื น คนแปลกหนา พอเลี้ยง หรือแมแตญาติของตน และ ไมมีการปองกันการตั้งครรภแตอยางใด ดังนัน้ ผูหญิงควรเรียนรูถึงการหลีกเลี่ยงและปองกันตนเองจาก สถานการณเสีย่ งตอ การตง้ั ครรภโ ดยไมต ั้งใจ ซ่ึงมขี อแนะนําดังน้ี 1. ในกรณเี ม่ืออยูกับคูร ักของตนเอง ควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1.1 ไมยอมใหคูรักไดสัมผัส จับมือ โอบกอด ถาถูกกระทําเชนนีค้ วรแสดงทาทีไม พอใจและปฏิเสธการกระทําดังกลาวอยางจริงจัง มิฉะนั้นอาจนําไปสูการมีเพศสัมพันธเนื่องจากสภาพแวดลอม เหมาะสมและเปนใจ 1.2 ไมอยใู นทล่ี บั ตาคนสองตอ สอง เพราะคูรกั อาจจะลวงเกินเราได และยิ่งเรามีใจชอบ ฝายชายดวยกอ็ าจจะยนิ ยอมจนถึงขน้ั มีเพศสัมพันธได 1.3 ไมไปเที่ยวกันแบบคางคืน เพราะการคางคืนจะเปนการเปดโอกาสใหฝายชายลวง ละเมิดทางเพศได 1.4 ไมควรดูสื่อลามกโดยเฉพาะกับคูรัก เพราะจะทําใหทั้งสองฝายเกิดอารมณทางเพศ และนําไปสกู ารมีพฤตกิ รรมทางเพศท่ไี มเ หมาะสม 1.5 การไปเทย่ี วในงานวนั สาํ คญั ตา ง ๆ เชน วนั วาเลนไทน วันลอยกระทง วันข้นึ ปใหม ทีเ่ ปนการเทีย่ วในเวลากลางคืน แลวจะไปตอกันในสถานทีท่ ีอ่ าจจะมีเพศสัมพันธกันได ดังนั้นการไปเที่ยวกับ คูร ักในวันสําคัญดังกลาวควรระมัดระวังตัวใหดี ถาเราคิดวาไมนาไววางใจก็ไมควรไปโดยหาทางปฏิเสธอยาง นุมนวล 1.6 การไปเที่ยวงานสังสรรคหรือตามสถานบันเทิงกับคนรักควรระมัดระวังตัวดวย เพราะอาจดม่ื เครื่องดม่ื ทีม่ แี อลกอฮอลแ ลวทาํ ใหม นึ เมาไมร ูส กึ ตัว 1.7 อยาใจออนถาถูกขอที่จะมีเพศสัมพันธดวย อยาหลงคารมเขาเปนอันขาด และไม ตองเขาโกรธ รกั ษาความบริสุทธขิ์ องเราดีกวา หากพลาดพลงั้ ไปแลว กค็ วรระวงั อยา ใหเกิดข้ึนอีก

59 2. ในกรณีเม่ืออยูก บั เพือ่ นชาย ควรปฏิบตั ิดงั นี้ 2.1 อยาใหมาถูกเนือ้ ตองตัวโดยไมจําเปน เพราะถาวันใดทีเ่ พื่อนชายมีโอกาส ผูห ญิง อาจพลาดทา เสยี ทไี ด 2.2 อยางไวใ จใครมากนัก มีเพอ่ื นหลายคนที่หลอกพาเพื่อนไปขมขืน บางรายใหเพื่อน คนอ่ืน ๆ ขม ขนื ดวยตามทีม่ ีขา วใหพ บเหน็ อยูบ อย ๆ 2.3 ไมไปเท่ียวแบบคางคนื ถึงแมจะไปเปน หมูคณะกต็ องระมดั ระวงั 2.4 การไปเที่ยวตามสถานบันเทิงแลวกลับดึกอาจเปนอันตราย ถามีเพื่อนอาสาไปสง บา นกค็ วรระวงั เพราะอาจพาไปท่ีอ่ืนได 3. ในกรณีเมอ่ื อยกู บั คนแปลกหนา ควรปฏิบตั ดิ ังน้ี 3.1 อยาไวใจคนแปลกหนาเปนอันขาด เพราะยังไมรูจักนิสัยใจคอเขาดีพอ ถาหลงเชื่อ อาจถกู เขาหลอกได โดยเฉพาะถา พบกนั ในสถานบนั เทงิ เรงิ รมยเ ขาอาจจะมองเราวาเปนผูหญิงท่ีรักสนุก คงจะมี เพศสมั พนั ธด ว ยไมย าก 3.2 ไมควรเดินทางไปในที่เปลี่ยวยามค่ําคืน เพราะมีผูหญิงถูกคนรายลักพาตัวไปขมขืน มาหลายรายจนนับไมถวนแลวในสถานการณเชนนี้ 3.3 อยาเชื่อคนที่รูจักกันทางอินเทอรเน็ต ถึงแมจะคุยกันจนเหมือนรูจักกันดีแลวก็ตาม เพราะยงั ไมเ คยเหน็ หนากัน ก็ยังคงเปนคนแปลกหนาอยูดี หญิงสาวหลายรายท่ีถูกคนท่ีรูจ ักกันทางอินเทอรเน็ตหลอก ไปขมขืน บางรายมีการถายรปู ไวเพอ่ื ขมขูและตอรองเรือ่ งอ่นื ๆอกี ดว ย 4. ในกรณีเมือ่ อยูกับพอเลี้ยงหรือญาติ ผูห ญิงที่ถูกคนใกลชิดในครอบครัวขมขืนนั้นมีมาก และมักไมยอมบอกใคร บางรายถูกขมขืนมานานนับป บางครั้งเกิดการตั้งครรภ เพราะคนในครอบครัวนั้น ใกลช ดิ เหน็ กนั อยทู ุกวนั หรือพบกันบอ ย ไวใ จกนั มาก ในเรื่องนผี้ ูหญงิ ควรปฏบิ ัติตนดังน้ี 4.1 ใหสงั เกตการณสัมผสั ของบคุ คลเหลา น้นั วา สัมผัสดว ยความเอ็นดูแบบลูกหลานหรือ แบบชูส าว ถามีการสมั ผัสนาน ลบู คลาํ จบั ตองของสงวน ตองระมดั ระวงั อยาเขา ใกล 4.2 ควรนอนในหองท่มี ดิ ชิดใสก ลอนหรอื ลอ็ คกุญแจใหเรยี บรอ ย 4.3 ถา บคุ คลเหลาน้นั มนึ เมาอยาไวใ จ เพราะทําใหขาดสติ และกระทาํ ในสงิ่ ทไี่ มคาดคิด ได 4.4 การแตงตัวอยูบาน การอาบน้ําตองกระทําอยางมิดชิด อยาเปดเผยเรือนรางมากนัก เพราะอาจเปน การยวั่ ยุอารมณท างเพศแกบ ุคคลเหลา นน้ั ได 4.5 ถาถูกบุคคลเหลา นั้นลวนลามควรบอกใหคนในบานทราบ หรือรองตะโกนใหผูอ่ืน ชว ยเหลอื ไมต อ งอายเพราะเขาทาํ ไมถ กู ตอ ง ขอควรคิดเกี่ยวกบั การมเี พศสัมพันธ มีผูหญิงบางคนที่คิดวาการมีเพศสัมพันธเปนเรื่องปกติไมใชเรื่องผิด ไมรับรูถ ึง ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมไทย จึงควรตรวจสอบตนเองวามีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมเพียงใด โดยตอบคาํ ถามเหลา น้ีใหไ ดเสยี กอนทีจ่ ะคิดมเี พศสมั พนั ธ

60 1. ถา ยนิ ยอมมเี พศสมั พนั ธ เราจะยอมรบั กบั ผลทจ่ี ะตามมาไดเ พยี งใด เชน คําครหาของคน ในสังคม ความกลัวคนอน่ื จะลวงรู การตงั้ ครรภ การถกู ผชู ายทง้ิ หลังจากไดเ สยี กนั แลว การเสียความบริสุทธิ์ไป แลวผูชายคนน้ีคือคนทจี่ ะเปนคชู ีวิตของเราหรือไม เปนตน 2. เมอ่ื เรายังไมพ รอมทจี่ ะมีลูกจะปอ งกนั ตนเองอยางไร รวู ิธีปองกนั การต้ังครรภเพยี งใด เม่ือ ปอ งกนั แลว จะผดิ พลาดไดหรือไม ถาพลาดมลี ูกข้ึนมาจะทาํ อยา งไร ผูชายจะรับผดิ ชอบหรือไม ตนเองไมอ ับอาย คนอ่ืน ๆ หรอื ถา จะตอ งไปทําแทง การทําแทงมีอนั ตรายเพียงใด 3. การตั้งครรภท ี่ไมพึงประสงคในวยั รนุ การตัง้ ครรภทีไ่ มพึงประสงคในวัยรุน หมายถึง การตัง้ ครรภที่เกิดขึน้ ในวัยรุน เพศหญิงซึง่ เปนผลสืบเน่ืองมาจากการมีเพศสมั พันธท เี่ กิดข้ึนโดยไมไดตั้งใจ โดยอาจมีสาเหตุสําคัญมาจากพฤติกรรมทางเพศ ที่ไมเ หมาะสมของวยั รุน หรืออาจเกดิ จากการถกู ขม ขนื กระทาํ ชาํ เรา 3.1 ปญหาและผลกระทบของการต้ังครรภที่ไมพ งึ ประสงคในวัยรนุ ปญหาการต้ังครรภทไี่ มพ ึงประสงคผ ลกระทบที่สาํ คัญ ดงั นี้ 1) สงผลกระทบตอวัยรุนที่ตั้งครรภโดยไมพึงประสงคโดยตรง ซึ่งผลกระทบ ดงั กลาวสรา งปญ หาทีต่ ิดตามมา เปน ตน วา ปญหาทางดานจิตใจและอารมณ วัยรุน ทีม่ ีปญหาการตัง้ ครรภทีไ่ มพึงประสงคมักมี ความรูสึกวาตนเองทําผิด เกิดความละอายใจ และมีความคิดวาไมมีใครรักใครตองการอีก ซึ่งบางคนอาจแสดง พฤติกรรมทางเพศทีไ่ มเหมาะสมและรุนแรงขึน้ หรือบางคนอาจไมแสดงออกและมักเก็บกดอยากทําลายชีวิต ตนเอง ฯลฯ ซึ่งภาวะทางจิตใจและอารมณของวัยรุนทีต่ ัง้ ครรภโดยไมพึงประสงคนีจ้ ะมีมากหรือนอยขึ้นอยูก ับ การยอมรับและความเขาใจของคนในครอบครัว ถาครอบครัวยอมรับเขาใจ และใหอภัย ปญหาทางดานจิตใจ และอารมณก จ็ ะลดนอ ยลงได ปญหาทางดานสุขภาพ ปญหาที่มักพบ คือ ปญหาโรคเอดสและโรคติดตอทาง เพศสัมพันธ การมีเพศสัมพันธโดยไมไดมีการปองกันและคุมกําเนิดยอมมีโอกาสใหวัยรุน เพศหญิงไดรับเชือ้ เอดส หรือโรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธจากฝา ยชายในอัตราเส่ยี งที่สงู ปญหาทางทําแทง ซ่งึ มกั จะสงผลกระทบตอ ผูท ําแทงไดโดยเปนอันตรายตอชีวิต ซึง่ มักเกิดจากการตกเลือดหรือการติดเชือ้ อยางรุนแรง นอกจากนัน้ ยังเปน อุปสรรคตอการมีบุตรในอนาคต แมการทําแทงจะผานพนไป แตการทําแทงอาจทําใหเกิดการอักเสบเรื้อรังใน โพรงมดลูกและทอมดลูก เปนผลใหโพรงมดลูกและทอมดลูกตีบตัน มดลูกทะลุหรืออักเสบอยางรุนแรงเพราะ เคร่ืองมอื ทาํ แทง ทําใหบางคนตองตัดมดลกู ทง้ิ หรอื การขยายปากมดลกู ขณะทําแทง ทําให ปากมดลูกฉกี ขาด หู รูดของปากมดลูกหลวม เกิดภาวะการณแทงบุตรไดงาย และยังสงผลใหมีปญหาสุขภาพทีต่ อเนือ่ ง โดยเฉพาะ มกั จะพบวามกี ารอักเสบเร้ือรังในชอ งเชิงกราน 2) สง ผลกระทบตอครอบครัวของวัยรุนที่ต้ังครรภโดยไมพึงประสงค มักพบเสมอ วาเมื่อวัยรุนเพศหญิงตัง้ ครรภโดยไมพึงประสงคขึ้น วัยรุน ของเพศชายมักจะไมแสดงความรับผิดชอบตอสิ่งที่ เกดิ ขนึ้ ภาระความผิดชอบจงึ ตกเปนของฝา ยหญิงและครอบครัวเพยี งฝายเดียว ถา ครอบครวั ฝายหญงิ มคี วามเขาใจและ ใหอภัยตอความผิดพลาดที่เกิดขึ้น และครอบครัวยังพรอมทีจ่ ะรวมแกปญหาการเลีย้ งดูเด็กที่จะเกิดขึน้ ได ก็จะ ชวยลดปญหาทางดานอารมณและจิตใจของวยั รนุ เพศหญงิ ลงไดแตในทางตรงขาม หากครอบครัวของวัยรุนเพศ หญิงไมสามารถยอมรับปญ หาที่เกดิ ขึน้ ดังกลา วกอ็ าจสงผลใหเกดิ ปญหาตา ง ๆ ตามมาได

61 3) สง ผลกระทบตอ สงั คมและประเทศชาติ การต้ังครรภท่ีไมพึงประสงคของวัยรุนทํา ใหเกิดปญหาทางสังคมตาง ๆ ตามมาดังที่ไดกลาวมาแลว นอกจากนี้ ประเทศชาติตองสูญเสียงบประมาณ บางสวนทีต่ องนํามาใชเพือ่ การบําบัดรักษา ดูแลสุขภาพของวัยรุนเพศหญิงที่ตัง้ ครรภโดยไมพึงประสงค ตองจัด งบประมาณในการเล้ียงดูประชากรสว นหนึง่ ท่เี กิดจากพวงของปญหาดังกลาว 3.2 การปอ งกนั การตั้งครรภท ไี่ มพงึ ประสงคใ นวัยรุน การปอ งกนั มแี นวทางในการปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1) ตอ งรจู ักหลกี เล่ียงสถานการณท ่ีเอื้ออํานวยใหเ กดิ การมเี พศสมั พันธ มักพบวาการมี เพศสัมพันธทีไ่ มไดตัง้ ใจของวัยรุนมักจะเกิดจากสถานการณหรือบรรยากาศทีเ่ อือ้ ใหเกิดโอกาสตอการมี เพศสมั พนั ธ เชน การอยูตามลําพังสองตอสองในท่ีลับตาคน หรือการเขารวมในกิจกรรมพบปะสังสรรคทีม่ ีการดืม่ เครอ่ื งผสมแอลกอฮอล เปน ตน 2) ตองรูจ ักใชทักษะในการปฏิเสธเพือ่ แกไขสถานการณเสีย่ งตอการมีเพศสัมพันธ วิธีการหลีกเล่ียงและแกไขสถานการณดังกลาว ฝายหญิงตองนําทักษะการปฏิเสธไปใช ซึง่ การปฏิเสธของฝายหญิง จะเปนสัญญาณเตือนใหฝายชายหยุดแสดงพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมออกมา แนวทางในการใชคําพูดที่ เปน ทกั ษะของการปฏเิ สธ มหี ลายขอความ เชน “หยุดนะ อยาทําแบบนี้” ฉันไมชอบหยุดนะ” “อยานะ ฉันจะ ตะโกนใหลัน่ เลย” “คุณไมมีสิทธิท์ ีจ่ ะทําแบบนี”้ และอื่น ๆ ตามความเหมาะสมซึ่งคําพูดทีเ่ ปนทักษะในการ ปฏิเสธมกั จะมคี ําวา “ไม” “อยา ” หรือ “หยดุ ” 3) ตองรูจักใหเ กียรติซ่งึ กนั และกนั การทีฝ่ ายหญงิ และฝายชายนําหลักความเสมอภาค ทางเพศ และการวางตัวที่เหมาะสมตอเพศตรงขามมาใช ถือวาเปนการใหเกียรติซ่ึงกันและกัน ซ่ึงจะชวยปองกัน อารมณใ นขณะพบปะพูดคยุ กันไมใ หพฒั นาไปสูค วามตองการทางเพศได 4) ตองระมัดระวังในเรือ่ งการแตงกาย ปจจุบันรูปแบบการแตงกายของวัยรุน โดยเฉพาะวัยรุนเพศหญิงมักนิยมสวมเสือ้ ผาทีร่ ัดรูปหรือนอยชื้นเกินไป ซึง่ การแตงกายดังกลาวจะทําใหเห็น รูปรางสดั สว นชดั เจนขน้ึ การแตง กายในลกั ษณะดงั กลา วจะสงผลเราใหเพศตรงขามเกิดอารมณและขาดความย้ัง คดิ อาจนําไปสูก ารแสดงพฤติกรรมการลวงละเมดิ ทางเพศที่เปนอันตราย จนถึงการต้ังครรภท่ีไมพึงประสงคใน เพศหญิงได 5) ควรหลีกเลีย่ งการเดินทางตามลําพังในยามวิกาลหรือในเสนทางที่เปลี่ยว จาก สถิติของวัยรุน เพศหญิงพบวา อันตรายทีไ่ ดรับจากการถูกขมขืนมักเกิดขึน้ ในยามวิกาลหรือในเสนทางทีเ่ ปลีย่ ว ผคู นสัญจรนอ ย ดงั น้นั วิธีการปองกนั ท่ดี ีทสี่ ุดหากจําเปนจะตองเดินทางในสถานการณดังกลาว ควรจะมีเพ่ือน หรอื ญาตริ วมเดินทางไปดว ยเพ่อื ปองกันอันตรายที่อาจเกดิ ขน้ึ 4. ความรเู บ้อื งตอ งเกี่ยวกบั กฎหมายคมุ ครองสิทธิผถู กู ลวงละเมิดทางเพศ กฎหมายไดร ะบฐุ านความผดิ เกย่ี วกบั การถกู ลว งละเมดิ ทางเพศไว 2 ลกั ษณะ ดงั นี้ 4.1 ความผิดฐานขมขนื กระทาํ ชําเรา ผทู ข่ี มขนื กระทาํ ชําเราเดก็ หญิงอายไุ มเกนิ 15 ป ซ่ึงมิใชภ รรยาตน โดยเด็กหญิงน้ันจะ ยินยอมหรือไมก็ตาม ตองระวางโทษจําคุกตัง้ แต 4-20 ป และปรับตัง้ แต 8,000-40,000 บาท (ประมวลกฎหมาย อาญามาตรา 277 วรรคหนึ่ง)

62 ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรก เปนการกระทําแกเด็กหญิงอายุไมเกิน 13 ป ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต 7 ป ถึง 20 ป และปรับตัง้ แต 14,000-40,000 บาท หรือจําคุกตลอดชีวิต (ประมวล กฎหมายอาญามาตรา 277 วรรคสอง) ถาการกระทําผิดตามวรรคแรกหรือวรรคสอง ไดกระทําโดยรวมกระทําความผิด ดวยกนั อนั มีลักษณะเปน การโทรมเด็กหญงิ (คือรวมกันกระทําความผดิ ต้งั แต 2 คนขึ้นไป) โดยเดก็ หญงิ นน้ั ไมย นิ ยอม หรือไดกระทําโดยมีอาวุธ เชน อาวุธปน หรือวัตถุระเบิด หรือโดยการใชอาวุธอ่ืน ๆ ตองระวางโทษจําคุกตลอด ชีวิต (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 วรรคสาม) แตมีขอยกเวน คือ ถาการกระทําดังกลาวขางตนเปนการกระทําทีช่ ายกระทํากับ เด็กหญิงอายุมากกวา 13 ป แตไมเกิน 15 ป โดยเด็กหญิงนัน้ ยินยอม และภายหลังศาลอนุญาตใหสมรสกัน ผกู ระทาํ ผดิ ไมต องรบั โทษ และถาศาลอนุญาตใหสมรสกันในระหวางที่ผูกระทําผิดกําลังรับโทษในความผิดน้ัน อยู ศาลตอ งสัง่ ปลอ ยผกู ระทาํ ความผิดน้ันไป (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 วรรคส่ี) ถา เปน การกระทาํ ชาํ เราเดก็ หญิงอายุยังไมเกิน 15 ป ซึง่ มิใชภรรยาของตน โดยเด็กหญิง นั้นจะยินยอมหรือไมก็ตาม หรือเปนการกระทําแกเด็กอายุไมกิน 13 ป แลวเปนเหตุใหเด็กหญิงไดรับอันตราย สาหัส เชน ไดรับบาดเจ็บสาหัส ผูกระทําตองระวางโทษตั้งแต 15 ป ถึง 20 ป และปรับตัง้ แต 30,000-40,000 บาท หรอื จาํ คกุ ตลอดชวี ติ (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 ทวิ (1) ) และหากเดก็ นน้ั ถงึ แกค วามตาย ผกู ระทาํ ตองระวางโทษประหารชีวติ หรอื จําคกุ ตลอดชวี ติ (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 ทวิ (2) ) หากการกระทาํ ชาํ เราเดก็ หญงิ อายุยังไมเกิน 3 ป หรือการกระทําแกเด็กหญิงอายุยังไม เกนิ 15 ป ดังกลาวขา งตน ไดร วมกระทําความผิดดว ยกนั อันมีลักษณะเปนการโทรมหญิง หรือกระทาํ โดยมีอาวุธ ปน หรือวัตถุระเบิดหรือโดยการใชอาวุธ และเปนเหตุใหเด็กหญิงผูถ ูกระทําไดรับอันตรายสาหัส ผูก ระทําตอง ระวางโทษประหาชีวิต หรือจําคุกตลอดชีวิต และหากเด็กหญิงที่ถูกกระทําถึงแกความตาย ผูกระทําตองไดรับ โทษประหารชวี ติ และหากเด็กหญิงทีถ่ กู กระทําถงึ แกความตาย ผูกระทําตองไดรับโทษประหารชีวิต (ประมวล กฎหมายอาญามาตรา 277 ตร)ี 4.2 ความผดิ ฐานกระทาํ อนาจารตอ เดก็ ผูท่กี ระทาํ อนาจารแกบุคคลอายุตา่ํ กวา 15 ป โดยขูเข็ญดวยประการใด ๆ โดยใชกําลัง ประทุษราย โดยบุคคลนัน้ อยูในภาวะทีไ่ มสามารถขัดขืนได หรือโดยทําใหบุคคลนั้นเขาใจผิดวาตนเปนบุคคล อื่นตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 10 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทัง้ ปรับ (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 279 วรรคหนงึ่ ) ถา การกระทาํ อนาจารนน้ั กระทาํ ตอ เดก็ อายไุ มเ กนิ 15 ป และผูกระทําผิดไดกระทํา โดยการขูเ ข็ญดวยประการใด ๆ โดยใชกําลังประทุษราย โดยบุคคลนั้นอยูในภาวะทีไ่ มสามารถขัดขืนได หรือ โดยทาํ ใหบ คุ คลนัน้ เขาใจผดิ วา ตนเปน บคุ คลอื่น มโี ทษหนกั คอื ผกู ระทําตอ งระวางโทษจําคุกไมเกิน 15 ป หรือ ปรับไมเกิน 30,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 279 วรรคสอง) หากการกระทํา ดังกลาวขางตน เปนเหตุใหผูถูกกระทําไดรับอันตรายสาหัส ผูกระทําอนาจารตองระวางโทษจําคุกตั้งแต 5 ป ถึง 20 ป และปรบั ตง้ั แต 10,000-40,000 บาท และหากผูถูกกระทําถึงแกความตาย ผูกระทําตองระวางโทษประหาร ชวี ิต หรอื จําคุกตลอดชีวติ (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 280)

63 การขมขืนกระทําชําเราผูเยาว และการกระทําอนาจารแกเด็กอายุไมเกิน 15 ป โดยเด็ก นั้นจะยนิ ยอมหรอื ไมก ต็ าม เปน ความผดิ อาญาแผน ดนิ ไมส ามารถยอมความกนั ได แตถาเปน การขม ขนื กระทาํ ชําเราหญิงท่มี ิใชภรรยาตน โดยเด็กหญิงนั้นไมใชผูเยาว และการกระทาํ อนาจารแกบ คุ คลอายตุ าํ่ กวา 15 ป ท้ังสองกรณีนี้ ถา มิไดก ระทําตอ หนา ธารกํานัล คือในท่ีเปดเผย และไมเปนสาเหตุใหผูถ ูกกระทําไดรับอันตรายสาหัสหรือถึงแกความตาย หรือมิไดเปนการกระทําแก ผสู บื สนั ดาน คอื ลกู หลาน เหลนของตนเอง มใิ ชเ ปน การกระทาํ ตอ ศิษยซ่ึงอยูในความดูแล มิใชเปนการกระทํา ตอผูอยูในความควบคุมตามหนาที่ราชการ หรือมิใชเปนการกระทําตอผูอยูใ นความพิทักษหรือในความอนุบาล กรณีท้ังหมดท่กี ลาวมาเปนความผิดอันยอมความได คือเปน กรณีทผ่ี เู สยี หายหรอื ผูถกู กระทําและผกู ระทําความผิด ตกลงหรือสมคั รใจไมเ อาความตอ กัน กเ็ ปน อันเลิกแลวตอกัน (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 281) กจิ กรรม 1. สรีระรางกายที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุของเพศหญิงและเพศชาย มีอะไรบาง จงอธิบายพอสังเขป เพศหญิง________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ เพศชาย________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ 2. เขยี นสรปุ เกี่ยวกบั การเปลย่ี นแปลงเพอ่ื เขา สวู ัยหนุมสาว เพศหญงิ ________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ เพศชาย________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ 3. วิธกี ารหลีกเลยี่ งพฤติกรรมท่ีนําไปสกู ารมีเพศสมั พนั ธกอนวยั อันควรมีอะไรบา ง ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________

64 เรื่องที่ 4 สขุ ภาพทางเพศ “ความสขุ ”เปน ส่ิงทม่ี นุษยทกุ คนตอ งการไมเคยถูกจํากัดดวยเพศ วยั ชนชาติ “สขุ ภาวะทางเพศ”กเ็ ปนเรอื่ งทีท่ ุกคนลว นตองการเชนกนั แผนงานสรางเสริมภาวะทางเพศ โดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สส.)และ มูลนิธิสรางความเขาใจเรือ่ งสุขภาพผูหญิง (สคส.)ไดดําเนินงานผลักดันวาระการสรางสุขภาวะทางเพศขึ้นอยาง ตอ เน่อื ง เพราะสขุ ภาวะทางเพศไมไ ดม ีความหมายแคบๆแคเรอื่ งเพศสมั พนั ธแตมคี วามหมายลึกซึ้งและมิติท่ีกวาง กวา นัน้ เรื่องเพศจึงไมใชแคเรื่องของเนื้อตัวรางกายแตยังหมายถึงความรับผิดชอบการดูแลสุขภาพรางกายการ สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกันการเคารพสิทธิกันและกันและความเทาเทียม เพราะสังคมนั้นมีความ หลากหลายทางเพศมากวา แคห ญงิ หรอื ชาย ผทู ี่มีสุขภาวะทางเพศท่ดี กี จ็ ะปฏิบตั ิตอคนท่มี ีวถิ ที างเพศแตกตางจากตวั เองดวยความเคารพไมวาจะเปน สาวประเภทสองหรือหญิงรักหญิงชายรักชาย หรือผูที่รักสองเพศและยังปฏิบัติกับเพือ่ คูร ักหรือชายทีส่ ําคัญคือมี ความรับผดิ ชอบตอ สงั คมและตนเองในเร่ืองการมีเพศสัมพนั ธท ี่ปลอดภยั สังคมจําเปนตองลบความคดิ ทางลบวา เรอื่ งเพศเปน เรอ่ื งเพศเปนเรือ่ งสกปรก อนั ตรายทต่ี อ งหลกี ใหหา ง แตความจริงเราจําเปนตองศึกษาเรียนรูใ หเขาใจเพราะเรือ่ งเพศเปนสิง่ ทีส่ ามารถแสดงออกอยางอิสระมีความสุข บนพน้ื ฐานของความปลอดภยั เพอ่ื ดาํ เนินชวี ติ ไดอยา งเปนสขุ แผนงานสรา งเสริมสขุ ภาวะทางเพศไดจ ัดทาํ ความรูสุขภาวะทางเพศในแตละชวงวัยไวเพราะแตละชวง วยั กจ็ ะมคี วามสนใจและความตอ งการตา งกนั ในวัยเด็กเปนชวงเวลาแหงการสรางพื้นฐานสุขภาวะทางเพศที่ดีได เด็กเล็ก อายุ 5-8 ป เริ่มรับรูไ ดถึง บทบาททางเพศวา สงั คมสรา งใหห ญงิ ชายมคี วามแตกตา งกนั ดว ยกจิ กรรม ดว ยการกาํ หนดกรอบ กฎเกณฑต า งๆท่ี ชายทาํ ได หญงิ ทําไมได หญิงทําได ชายทําไมได ซึ่งขดั ขวางพัฒนาการและสรางความเขาใจผิดๆใหเดก็ วันแรกรุน อายุ 9-12 เปนชวงวัยที่ตองเตรียมความพรอมเพือ่ กาวเขาสูว ัยรุน ซึง่ ชวงนีเ้ ปนวัยแหงการ เปลี่ยนแปลงการไดรับขอมูลทีถ่ ูกตองและพรอมใช จึงเปนสิง่ ทีท่ ําใหเด็กมีภูมิคุมกันทีจ่ ะเขาสูว ัยรุน ไดอยาง สวยงามจาํ เปน ตองเขาใจและอธบิ ายถงึ การเปล่ยี นแปลงนน้ั และเปดโอกาสใหเด็กรับผิดชอบในครอบครัวใหเด็ก ไดต ัดสินใจดวยตวั เองและรับผิดชอบผลท่จี ะตามมาไมใชต ดั สินใจแทนทุกอยา ง เด็กวัยนเ่ี รมิ่ จะมกี ารเปลี่ยนแปลงทางอารมณ และความรูสึกทางเพศ ไมใชเร่ืองผิดแตการใหขอมูลและ ความรทู ีถ่ ูกตอ งเปน สิ่งจาํ เปนการตอบคําถามแบบตรงไปตรงมา เปดโอกาสใหเด็กไดเรียนรูในสิง่ ทีเ่ หมาะทีค่ วร เปนเรื่องท่ีควรสง เสรมิ เมอ่ื กาวเขาสูวัยรนุ ชวงอายุ 13-18 ป ชวงแหงการเปลี่ยนแปลงในทุกๆดาน จําเปนตองไดรับขอมูลเรื่อง เพศอยา งถกู ตองและรอบดา น เพ่ือใหเ ทา ทนั การเปล่ยี นแปลงของตัวเอง ทั้งดา นกายใจและอารมณ จาํ เปนตอ งสรา งทักษะของเพศสมั พนั ธที่ปลอดภยั รวมไปกบั ความรับผดิ ชอบเพอ่ื ใหสามารถแยกแยะได วา เซ็กซไ มใ ชแ คเร่อื งสนุกแตม ีผลทจ่ี ะตามมาอกี มากมาย การใหความรอู ยา งตรงไปตรงมาไมทําใหเรื่องเซ็กซเปน ความผดิ ละอาย ทําใหเ กดิ เพศสัมพนั ธทป่ี ลอดภัยและมคี วามรับผดิ ชอบขึ้นได

65 ผูใ หญจําเปนตองเขาใจกระบวนการเรียนรูของมนุษยวาตองใชเวลาในการสัง่ สมความรูประสบการณ ความภูมิใจในตัวเองจึงสามารถมีเพศสัมพันธที่มีความสัมพันธทีม่ ีความปลอดภัยและเปนสุขได “การใหขอมูล ไมไดเปนการชีโ้ พรงใหกระรอก แตเ ปน การสรางความเขา ใจและทกั ษะในชีวิตใหเ ด็กสามารถเติบโตเปนผูใหญท่ี เขา ใจและมีความรบั ผิดชอบได วิธีการปฏบิ ัตเิ พ่ือการมีสขุ ภาพทางเพศท่ีดี ควรคาํ นงึ ถึง การมีเพศสัมพันธที่ปลอดภัย โดยไมเปลีย่ นคูหรือมีเพศสัมพันธกับบุคคลทีไ่ มใชสามีภรรยาของตน ถา คิดจะมีเพศสัมพันธกบั บคุ คลทไ่ี มใ ชคขู องตนควรปองกันความไมป ลอดภยั ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ โดยใชถ งุ ยางอนามัย เนนการรักษาความสะอาดสวนบุคคล เมือ่ มีเพศสัมพันธแลวควรตองรีบทําความสะอาดสวนบุคคลไม หมกั หมม เพราะจะทาํ ใหเกดิ เชื้อโรคซ่งึ เปนตนเหตุของอาการคันจนลกุ ลามเปนโรคที่อวัยวะเพศได ควรมีเพศสัมพันธแบบธรรมชาติ ไมผิดธรรมชาติของคนปกติ เชนการใชวัตถุแปลกปลอมในการรวม เพศ การรว มเพศโดยใชว ัตถุเลยี นแบบธรรมชาตเิ ชน ตกุ ตายาง ใหคาํ นงึ ถึงความปลอดภัย การคมุ กาํ เนดิ เปนสวนหนึง่ ของการวางแผนครอบครัวในเรือ่ งระยะทีพ่ รอมจะมีบุตรเมือ่ ใดคํานวณบุตรที่จะมีกี่คน หรือระยะหางของการมีบุตรเวนนานเทาใด ทั้งนีเ้ พื่อใหเหมาะสมกับความพรอมและความตองการของคูสมรส การคุมกาํ เนดิ เปนวธิ ีการปฏบิ ตั ิเพื่อปองกันการตัง้ ครรภ การวางแผนครอบครัวและการคุมกําเนิด การวางแผนครอบครัวละการคุมกําเนิด (Family Planning and Birth Control) คือการที่ คูสมรสวางแผนใน เรือ่ งการมีบุตรวาจะมีบุตรเมื่อใด จะมีบุตรกีค่ น แตละคนจะเวนนานเทาใดทัง้ นี้เพื่อใหเหมาะสมกับความพรอม และความตอ งการของคสู มรส สว นการคมุ กําเนดิ นัน้ เปน วธิ กี ารเพ่ือมิใหเ กดิ การตั้งครรภซ ง่ึ มีอยูห ลายวิธี 1.การใชถุงยางอนามัย (Condom) ถุงยางอนามัยมีลักษณะเปนถุงทีท่ ําดวยยางบางๆยืดได ใชสวมอวัยวะ เพศชายขณะที่แข็งตัวพรอมทีจ่ ะรวมเพศ การใชถุงยางอนามัยเปนการปองกันไมใหตัวอสุจิเขาไปในโพรงมด ลูกผสมกับไขของผายหญิงได เพราะถูกถุงยางปองกันไว ตัวอสุจิและน้าํ อสุจิจะอยูใ นถุงยางอนามัย เมือ่ ใชเสร็จ แลวจะถอดออกใหใชกระดาษชําระจับขอบถุงยางใหกระชับอวัยวะเพศกอนแลวจึงถอดถุงยางออกแลวนําไปทิง้ ถงั ขยะ มีการผลิตถุงยางอนามัยสําหรับผูห ญิงใชเหมือนกันขนาดใหญกวาถุงยางอนามัยที่ผูช ายใชแตไมคอย ไดร ับความนยิ ม 2.การรับประทานยาเม็ดคุมกําเนิด(Contraceptive Pill) ยาเม็ดคุมกําเนิดจะประกอบดวยฮอรโมน สังเคราะห 2 ชนิด คือ เอสโตรเจน โพรเจสเทอโรน ซึง่ จะออกฤทธิ์คลายกับฮอรโมนที่มีอยูตามธรรมชาติใน รางกายของผูหญิง และสรางกลไกตางๆ ในรางกายเพื่อที่จะปองกันการตั้งครรภดวยการปองกันไมใหไขสุกและ ยับยั้งการตกไข ตลอดจนทําใหมูกบริเวณ ปากมดลูกเหนียวขนจนตัวอสุจิจะผานเขาสูโพรงมดลูกไดยาก แตถา กลไกทง้ั 2 ประการนี้ไมไดผล มันจะเปลีย่ นแปลงเยื่อบุโพรงมดลูกไมใหเหมาะสมสําหรับการฝงตัวของไขทีถ่ ูก ผสมแลว ยาเมด็ คมุ กาํ เนิดทใ่ี ชอ ยทู ั่วไปมี 3 แบบ คือ 2.1 แบบ 21 เม็ด ยาเม็ดในแผงจะประกอบดวยฮอรโมนทัง้ หมด การเริม่ รับประทานยาเม็ดแรกใหเริ่ม ตรงกับวันของสัปดาหทีร่ ะบุแผงยา เชน ประจําเดือนมาวันแรกคือวันศุกรก็เริ่มกินที่ “ศ” หรือวันศุกร โดย รับประทานวันละ 1 เม็ดเปนประจําทุกวันตามลูกศรชี้จนหมดแผง หลังจากนัน้ ใหหยุดใชยา 7 วัน เมื่อหยุดยาไป

66 ประมาณ 2-3 วนั ก็จะมเี ลือดประจําเดือนมาและเมอ่ื หยดุ จนครบ 7 วันแลวไมวาเลอื ดประจําเดือนจะหมดหรือไมก็ ตามใหเ ริม่ แผงใหมท ันที 2.2 แบบ 28 เมด็ ยาเม็ดในแผงหน่ึงจะประกอบดวยฮอรโ มน 21 เม็ด และสวนทีไ่ มใชฮอรโมนอีก 7 เม็ด ซึง่ มักจะมีขนาดเล็กหรือใหญกวา 21 เม็ดแรก การเร่ิมรับประทานยาแผงแรกใหเริ่มรับประทานยาในวันแรกท่ี ประจาํ เดอื นมา โดยรับประทานยาเม็ดแรกในสว นท่รี ะบวุ าเปน จดุ เรม่ิ ตน 1 แลวรับประทานทุกวันตามลูกศรชีจ้ น หมดแผง โดยเมื่อรับประทานหมดแผงแลวใหรับประทานยาแผงใหมตอไปเลยทันทีไมวาประจําเดือนจะหมด หรือยงั กต็ าม วธิ รี บั ประทานแบบ 28 เมด็ จะคอ นขา งสะดวกกวา แบบ 21 เมด็ ทไ่ี มตอ จดจาํ วนั ท่ีตองหยดุ ยา ถาลืมรับประทาน 1 เม็ด ใหรับประทานทันทีเมือ่ นึกได และรับประทานเม็ดตอไปเวลาเดิม ถาลืม รบั ประทาน 2 เม็ด ใหรบั ประทานยาวันละ 2 เม็ด ติดตอกันไปเปนเวลา 2 วันโดยแบงรับประทานตอนเชา 1 เม็ด ตอนเยน็ 1 เม็ด และใชวิธีการคุมกําเนิดแบบอื่นรวมดวย เชนใชถุงยางอนามัยเปนเวลา 7 วัน ถาลืมรับประทาน 3 เม็ดขึน้ ไป ควรหยุดยาและรอใหเลือดประจําเดือนมากอนแลวคอยเริม่ แผงใหมและใชวิธีการคุมกําเนิดแบบอืน่ รวมดว ย 2.3 แบบรับประทานหลังรวมเพศภายใน 24 ชัว่ โมง แตเดือนหนึ่งไมควรใชเกิน4 ครัง้ ยานีใ้ ชกินทันที หรอื ภายใน 24 ชั่วโมงหลังรว มเพศ และควรกินยาอีกหนึ่งเม็ดในเวลา 12 ชวงโมงตอมายาเม็ดนีม้ ักมีปริมาณของ ฮอรโมนเอสโตรเจน (Estrogen) สูง การใชยาชนิดนี้ใหผลเสียมากกวาผลดี พบวาเปนอาการขางเคียง คือ คลื่นไส อาเจยี น มเี ลือดออกมากกวาปกติ และทาํ ใหทอ นาํ ไขเ คลื่อนไหวชา อันเปน เหตุทาํ ใหเ กิดทอ งนอกมดลูกได 3.การฝงยาเม็ดคุมกําเนิดใตผิวหนัง ยาประเภทนีม้ ีสวนประกอบของเอสโตรเจนสูงมีฤทธิท์ ําใหไขที ผสมแลว ไมสามารถฝงตัวไดในผนังมดลูก เปนยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดฝงไวใตผิวหนังบริเวณดานใตทองแขนของ ฝายหญงิ มีลกั ษณะเปน แคปซูลเลก็ ๆ 6 อัน ยาจะซึมจากแคปซูลเขาสูรางกายอยางสม่ําเสมอ สามารถคุมกําเนิดได นานถึง 5 ป ตวั ยาท่ใี สใ นแคปซูลเปน ชนิดเดียวกบั ยาเม็ดคุมกาํ เนิดแบบ 21 เมด็ 4.การใสหวงอนามัย (Iucd :: Intra Uterine Contraceptive Device) ใชโดยการใสหวงอนามัยไวในโพรง มดลกู ซึ่งแพทยจะเปนผใู สห วงให สามารถคมุ กาํ เนิดได 3-5 ป แลวจึงมาเปลีย่ นใหมแตก็มีบางชนิดทีต่ องเปลี่ยน ทกุ ๆ 2 ป วิธนี ไี้ มเ หมาะสําหรับผหู ญงิ ท่ียังไมเ คยมบี ุตร 5.การฉีดยาคุมกําเนิด ใชกับผูหญิงฉีดครั้งหนึ่งปองกันไดนาน 3 เดือน อาจมีขอเสียอยูบ างคือเมื่อ ตองการมีบตุ รอาจตอ งใชเ วลานานกวา จะตง้ั ครรภ และไมเหมาะสําหรับผทู ่มี ีประจาํ เดือนมาไมสม่ําเสมอ 6.การนับระยะปลอดภัย (Count safe Period) คอื นับวนั กอ นประจําเดือนมา 7 วนั และหลงั ประจําเดือนมา 7 วนั เพราะไขย ังไมส ขุ และเยื่อบโุ พรงมดลกู กาํ ลงั เปลย่ี นแปลง แตถ าประจําเดือนมาไมแนนอน การคุมกําเนินวิธี นี้อาจผิดพลาดได 7.การหลัง่ อสจุ ภิ ายนอก คือการหลัง่ น้ําอสุจิออกมานอกชองคลอด แตก็อาจมีน้าํ อสุจิบางสวนเขาไปใน ชองคลอดได วธิ ีนี้จงึ มีโอกาสต้ังครรภไดสงู 8. การผาตัดทําหมัน เปนการคุมกําเนิดแบบถาวร ดังนั้นผูท ี่คิดจะทําหมันจะตองแนใจแลววาจะไมมี บุตรอกี ซง่ึ สามารถทาํ ไดทั้งผูหญงิ และผูชาย 8.1 การทาํ หมนั ชาย ทาํ โดยแพทยใ ชเ วลาประมาณ 10 นาที โดยการใหผ ทู ี่จะทาํ หมันนอนบนเตียงผาตัด มีมา นกน้ั มิใหเหน็ ขณะท่แี พทยก าํ ลงั ผาตัดเจาหนาท่ีจะโกนขนบริเวณอวัยวะเพศออกเล็กนอยแลวแพทยจะฉีดยา ชาเฉพาะท่ี แลว จงึ เจาะถงุ อัณฑะเพอ่ื ผกู ทอ อสุจิโดยไมตองเย็บ หามแผลถูกนํ้า 3 วัน หลังทําหมันชายแลวจะตอง คมุ กาํ เนิดแบบอ่นื ไปกอ นฝา ยชายจะหล่ังน้าํ อสุจปิ ระมาณ 15 ครัง้ แลวน้ําอสุจิครัง้ ที่ 15 หรือมากกวาไปใหแพทย

67 ตรวจวายังมีตัวอสุจิหรือไม ถาแพทยตรวจวาไมมีตัวอสุจิแลวก็สามารถมีเพศสัมพันธไดโดยไมตองใชการ คมุ กําเนดิ แบบอ่ืนอกี ตอ ไปเลย 8.2 การทาํ หมันหญิง แบง ออกเปน 2 แบบคือ 1.การทําหมันเปยก คือการทําหมันหลังคลอดบุตรใหมๆภายใน 24-48 ชั่วโมงเพราะจําทําได งา ยเนือ่ งจากมดลกู ยงั มีขนาดใหญแ ละลอดตวั สงู โดยขอบบนอยสู ูงเกือบถงึ สะดอื วธิ นี จ้ี ะผาตัดทางหนา ทอง 2.การทําหมันแหง คือการทําหมันในระยะปกติขณะที่ไมมีการตั้งครรภหรือหลังการคลอด บุตรมานานแลว มดลูกจะมีขนาดแกติและอยูลึกลงไปในอุงเชิงกราน การทําหมันแหงอาจทําไดหลายวิธี เชน ผาตัดทางดานหนาทอง ผาตัดทางชองคลอด โดยใชเครือ่ งมือตางๆทีท่ ันสมัยชวยการไปรับบริการทําหมันนี้ สามารถไปรับบริการไดในหลายหนวยงานที่ใหบริการทางดานสาธารณสุขทั้งของภาครัฐและเอกชน เชน โรงพยาบาลตา งๆ สมาคมพฒั นาประชากรและชมุ ชน สมาคมวางแผนครอบครวั แหง ประเทศไทย สมาคมทําหมัน แหงประเทศไทย เปนตน 9.การคุมกําเนินดวยยาเม็ดคุมกําเนิดฉุกเฉิน เปนการปองกันการตั้งครรภเฉพาะฉุกเฉินเชน การมี เพศสัมพนั ธโ ดยไมไดใชการปอ งกนั วธิ อี ่นื มากอ น ใชถ งุ ยางอนามยั เสรจ็ แลวไมแ นใ จวารวั่ หรอื แตก ลืมกนิ ยาแบบ ประจําวันติดตอกันสองวัน ใสหวงอนามัยแตหวงหลุด มีเพศสัมพันธในชวงที่ไมปลอดภัย กรณีถูกขมขืน ซึ่ง องคกรอนามัยโลกไดใหการรับรองวาการกินยาเม็ดคุมกําเนิดแบบฉุกเฉินเปนวิธีที่ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ในการปอ งกันการต้งั ครรภไดระดับหนึง่ ยาเมด็ คมุ กาํ เนิดฉุกเฉินจะมปี ระสิทธิภาพสูงกต็ อเมอ่ื มกี ารนาํ มาใชต ามขอบง ชที้ ีก่ ําหนดไว และใชเ ทาที่ จําเปนเทานัน้ สําหรับผลคางเคียงทีเ่ กิดขึน้ บอย คือ การมีรอระดูผิดปกติ คลืน่ ไสอาเจียน แตหากใชบอยละ ตอ เนือ่ งมีโอกาสตง้ั ครรภนอกมดลูกได การทาํ แทง การทําแทง หมายถึง การทาํ ใหก ารตง้ั ครรภส ิ้นสดุ กอ นอายคุ รรภ 28 สัปดาหสําหรับในประเทศไทยการ ทําแทง ยงั ไมเ ปนเรอื่ งท่ผี ดิ กฎหมายไมว า จะกระทําโดยแพทยปรญิ ญาหรือหมอเถ่ือนก็ตาม กฎหมายจะอนุญาตให ทําแทงได 2 กรณี คือ กรณีถูกขมขืนและกรณีตั้งครรภนัน้ เปนอัตราตอสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ เทานั้น เมื่อเกิดการตัง้ ครรภไมพึง่ ประสงคเด็กวัยรุนจะเกิดความกังวลจากความไมพรอมทีจ่ ะเปนผูร ับผิดชอบ กับการมีบตุ ร จึงคิดหาวิธีการทาํ ลายเดก็ ในครรภ โดยการทําแทง กับหมอเถื่อนทีผ่ ิดกฎหมาย ผิดศีลธรรม เพราะใน สังคมไทยไมเปดใหมีการทําแทงแบบเสรี นอกจากการตั้งครรภในครัง้ นัน้ แพทยพิจารณาใหทําแทงได ในกรณี อาจเกิดอันตรายถงึ ชวี ติ ผูเปนแม เชนการทอ งนอกมดลกู ครรภเปน พษิ ทองไขปลาดุก หรือในกรณีที่แมไดรับเช้ือ โรคหลังจากการตั้งครรภแลว เชน ไดรบั เชอื้ หดั เยอรมนั การทําแทงโดยทัว่ ไปของเด็กวัยรุนจะทําแทงกับผูท ีไ่ มมีความรูดานการแพทยที่แทจริง จึงทําใหเกิด อันตรายกับผูม าทําแทง เชน เกิดการตกเลือด หรือไดรับอันตรายอาจเกิดการติดเชือ้ โรค จากเครื่องมือ อุปกรณที่ นาํ มาใช เกดิ ความสกปรกจากการใชอ ปุ กรณ สถานทจ่ี นทําใหม ารดาเปนบาดทะยักไดดวย การแทง บตุ รทีท่ ําใหเกดิ อันตรายตอ สุขภาพของผูเปนแมเน่อื งจากมีบางสว นของทารกหรือรกหลงเหลือ อยจู ึงตอ งนาํ สวนที่เหลอื ออกจากมดลกู ใหห มดโดยแพทยตองใชเคร่ืองดูดหรือใชวิธีขูดจากโพรงมดลูก หรืออาจ ตองใชฮอรโมนทีใ่ หใหมดลูกเกิดการบีบตัวขับสวนที่คางออกและในบางกรณีแพทยตองใชยาปฏิชีวนะเพื่อการ รกั ษาหรอื ปอ งกนั การติดเชื้อ

68 ตดิ เช้ือ HIVS สวนใหญเ กิดจากการมีเพศสมั พันธก บั บคุ คลอืน่ ทไ่ี ดร ับเชื้อไวรัส HIV ในรางกายรองลงมาเกิดจาการใช สารเสพติดชนดิ ฉีดเขา เสนเลอื ดทําใหไดร ับเชื้อ HIV จากเลือดท่ีสัมผสั หรือเลือดท่ีไดร บั เขาสรู า งกาย บคุ คลท่มี ีโอกาสไดร บั เชื้อไวรัส HIV VS โดยไมไดเกิดจากการมีเพศสัมพันธและไมไดใชเข็มฉีดยาใดๆ สวนหนึ่งจะเกิดกับบุคคลสวนหนึง่ ทางการแพทย ที่มีโอกาสสัมพันธน้าํ เลือดน้าํ เหลือง ที่คัดหลั่งจากผูป วยโดย ไมไ ดป อ งกนั ตนเองโดยการใชถ ุงมอื กอนสมั ผัสกับผูปว ยจงึ มีโอกาสไดร ับหรือติดเชอื้ HIV VS ได การตงั้ ครรภเม่ือไมม ีความพรอม การมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร เปนปญหาของสังคมไทยมากขึ้น ทัง้ นีเ้ พราะคานิยมในเรือ่ ง การรัก นวลสงวนตัวของเพศหญิง หรือการเห็นคุณคาในการรักษาความบริสุทธิ์ของตนจนถึงวัยแตงงาน เด็กวัยรุน ปจจุบันไมไดคํานึงถึง ทั้งนี้อาจเปนเพราะการดูแลเอาใจใสใหการอบรมจากบิดามารดามีนอยลง เด็กยุคใหมรับ อารยะธรรมความกาวหนาหรืออิทธิพลตางประเทศมากขึน้ จึงไมคอยเชือ่ ฟงบิดามารดา จึงเปนสิ่งจําเปนที่ตอง ปลูกฝง ใหเกดิ จติ สํานกึ โดยครอบครวั ชมุ ชนโรงเรียนสถาบันท่มี ีสว นเก่ียวขอ งควรเขามามีบทบาทรณรงคปองกัน ปญหานี้รวมกัน การมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร เปนพฤติกรรมที่กอใหเกิดปญหาตางๆตามมาในชีวิตตลอดจนเปน ปญหาหรือภาระแกสังคม ชุมชนดวย เชนเกิดการติดโรคทางเพศสัมพันธและยังเปนบุคคลแพรเชื้อโรคทาง เพศสัมพันธแกคนอื่นดวยถาบุคคลนัน้ ใหบริการทางเพศการตัง้ ครรภเมือ่ ไมมีความพรอมหรือตัง้ ครรภโดยไม คาดคิดนอกจากจะสงผลกระทบตอชีวิตของตนเองแลว ยัง สงผลกระทบตอครอบครัว ทําใหบิดามารดา ญาติพี่ นอ งอบั อายเสยี ใจรวมสงผลกระทบตอ สังคม เชน ปญ หาเดก็ ถกู ทอดทงิ้ เพราะพอ แมไมตอ งการบุตร หรือไมพรอ ม จะรบั เลี้ยงดูบุตรเนอื่ งจากยงั ไมม อี าชพี เรียนไมจ บ ดังนัน้ จึงตองใหคําแนะนําอบรมสั่งสอนใหพฤติกรรมตนอยูในกรอบของสังคมที่ดีไมยุง เกี่ยวเรือ่ ง เพศสัมพันธปองกันตนเองไมปลอยตัวใหมีเพศสัมพันธในวัยทีย่ ังไมสมควรใหตัง้ ใจศึกษาเลาเรียน และสามารถ ประกอบอาชพี จนเล้ยี งตัวเองไดแลว จึงคดิ มีครอบครวั ภายหลัง 1.สอนความรูเ รือ่ งเพศ เพศสัมพันธและการคุมกําเนิดแกเด็กนักเรียนนักศึกษาที่กําลังกาวเขาสูว ัยรุน พรองทง้ั ชใ้ี หเห็นขอดีขอเสียขอกงการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร และการตั้งครรภเมื่อไมพรอม โดยเนนย้าํ ให เห็นผลเสีย ไดแก การสูญเสียโอกาสในการศึกษา และการประกอบอาชีพการงานที่ดี ตลอดจนโอกาสในการเจอ คคู รองท่ีดีในอนาคต 2.สอนวยั รุนชายใหม คี วามรบั ผิดชอบและใหเ กียรติผหู ญิง เนอ่ื งจากในสังคมไทยยัง ยกยองเพศชายวา เปนเพศที่แข็งแรงกวาจึงควรสอนใหผูชายมีความคิดที่จะปกปองชวยเหลือ เพศหญิงมากกวานอกจากนี้เพศชาย จะตองใหเกียรติผูหญิงและมีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองปญหาการทําแทงสวนใหญพบวาฝายชาย ไมย อมรบั การต้ังครรภ 3.ปลูกฝงคานิยมในการรักนวลสงวนตัวตัง้ แตวัยเด็ก และเนนย้าํ มากขึ้นในวัยรุน ไดแกการแตงกายให สุภาพ ไมแ ตง กายลอ แหลม ยั่วยอุ ารมณเพศตรงขามซ่งึ เปน เหตุใหเกิดการขมขนื กระทําชาํ เรา 4.สอนใหรูจ ักการปฏิเสธในสถานการณทีไ่ มเหมาะสมไดแกปฏิเสธทีจ่ ะไปเทีย่ วตอหลังเลิกเรียน ปฏิเสธทจี่ ะไปไหนๆกบั เพ่อื นชายตามลาํ พงั ไมเปดโอกาสใหเพศตรงขา มถกู เน้ือตองตัว เปนตน แนวทางการแกไขปญหาการตัง้ ครรภไมพึง่ ประสงคนีค้ งตองเริ่มจากการปลูกฝงนิสัยตัง้ แตวัยเด็กให สอดคลอ งกบั สภาพสังคมในยุคโลกาภวิ ฒั นน้ี เช่ือวา ปญหาการทาํ แทง ผดิ กฎหมายอาจเบาบางลงไป

69 บทที่ 4 สารอาหาร สาระสาํ คัญ ความตองการสารอาหาร ตาม เพศ วัยของรางกาย เปนความตองการสารอาหารในบุคคลแต ละชวง และแตล ะเพศ ยอ มมีความแตกตางกนั เปน ท่ยี อมรบั กันทั่วไปแลววา อาหารมีสวน สําคัญ อยางมากในวัยเด็กทั้งในดานการเจริญเติบโตของรางกายและการพัฒนาการในดานความสมพันธ ของระบบการเคลื่อนไหวของรางกาย ผลการเรียนรูท ค่ี าดหวงั 1. วิเคราะหปญหาสุขภาพที่เกิดจากการบริโภคอาหารไมถูกหลักโภชนาการ 2. บอกสารอาหารที่รางกายตองการตามเพศ 3. อธิบายวิธีการประกอบอาหารเพื่อรักษาคุณคาของอาหาร ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองที่ 1. สารอาหาร เรือ่ งที่ 2. วิธีการประกอบอาหารเพื่อคงคุณคาของสารอาหาร เร่ืองที่ 3. ความเชื่อและคานิยมเกี่ยวกับการบริโภค เรื่องที่ 4. ปญ หาสขุ ภาพทีเ่ กิดจากการบริโภคอาหารไมถูกหลัก โภชนาการ

70 เรอื่ งที่ 1 สารอาหาร ปริมาณความตองการสารอาหาร ตาม เพศ วัยและสภาพรางกาย ความสําคัญของอาหาร และความตองการสารอาหารในบุคคลแตละชวง และแตละเพศ มีความแตกตางกันตามธรรมชาติ ดังนั้น ปริมาณของสารอาหารที่ควรไดรับในแตละบุคคลจะแตกตางกัน 1. ความตองการสารอาหารในวยั เดก็ เปนทีย่ อมรับกันทัว่ ไปแลววา อาหารมีสวน สําคัญอยางมากในวัยเด็กทัง้ ในดานการ เจริญเติบโตของรางกายและการพัฒนาการในดานความสัมพันธของระบบการเคลือ่ นไหวของ รางกายตลอดจนในดานจิตใจ และพฤติกรรมในการแสดงออกและปจจัยทีม่ ีสวนสําคัญทีท่ ําใหเด็ก ไดร ับอาหารที่ถูกหลักทางโภชนาการ ไดแก 1.ครอบครวั ที่คอยดแู ลและเปนตัวอยางที่ดี 2.ตัวเด็กเอง ท่ีจะตอ งถูกฝกฝน 3.สิ่งแวดลอมทําใหเกิดการเอาอยางคนขางเคียง สําหรับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการในวัยเด็กนั้น เราทราบดีอยูแ ลววาเด็กตองการอาหาร ครบทัง้ 6 ประเภท เพื่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่มีสิง่ ทีต่ องคํานึงถึงคือ อาหารทีใ่ หเด็กควร คิดถงึ 3 ประเดน็ ดว ยกนั คอื 1.อาหารท่ีใหโ ปรตีน ไดแ ก นม ไข เนอื้ สตั ว ตลอดจนโปรตนี จากพืชพวกถ่ัวเขียวถ่ัวเหลือง ดวู า ไดร ับเพียงพอหรอื ยัง 2.อาหารทใี่ หพลังงาน ไดแ กข า ว แปง นา้ํ ตาล ไขมัน และน้าํ มัน ดวู า เพียงพอหรอื ไม อาหาร ในกลุม นี้ สวนน้าํ อัดลม หรือขนมหวาน ลูกกวาดตางๆควรจํากัดลง เพราะประโยชนนอยมากและ บางทีทําใหมีปญ หาเรื่องฟน ผดุ วย 3.อาหารที่ใหวิตามินและเกลือแรไดแก พวก ผัก ผลไม และอาหารทีม่ ีใยอาหารทีม่ ีสวนทํา ใหเกบ็ ไมท องผกู 2. ความตองการอาหารของเด็กวัยเรียน ในปจจุบันภาวะของความเรงรีบในสังคมอาจจะทําใหพอแมหรือผูป กครองละเลยเรือ่ ง อาหารเชาของเด็กวัยเรียน ซึง่ เด็กวัยเรียนเปนวัยทีร่ างกายเจริญเติบโตตองการอาหารเชาของเด็กวัย เรียนซึ่งมักจะเปนปญหาของบางครอบครัวทีต่ องเรงรีบในตอนเชาของแตละวัน โดยเฉพาะ ครอบครัวในเมืองใหญๆเชน กรุงเทพมหานคร และครอบครัวรุน ใหมที่พอแมทํางานทัง้ คู ไมมีแม ครัวหรือคนรับใชที่จะหุงหาอาหารในตอนเชา ดังนัน้ ในปจจุบันภาวะของความเรงรีบในสังคมอาจจะทําใหพอแมหรือผูป กครองละเลย เรือ่ งอาหารเชาของเด็กวัยเรียน ซึ่งเด็กวัยเรียนเปนวัยทีร่ างกายกําลังเจริญเติบโต ถาเด็กไมไดกิน อาหารเชา จะทําใหเด็กขาดสมาธิในการเรียน สมองมึน งวง ซึม และถาเด็กอดอาหารเปนเวลานานๆ

71 ติดตอกัน จะทําใหมีผลเสียตอระบบการยอยอาหาร และเปนโรคขาดสารอาหารไดดังนัน้ การเลือก อาหารเชาทีเ่ ด็กวัยเรียนควรไดกินและหาไดงายคือ นมสด 1 กลอง ขาวหรือขนมปง ไข อาจจะเปน ไขดาว ไขลวก หรือไขเจียว ผลไมทีห่ าไดงาย เชน กลวยน้าํ วา มะละกอ หรือสม เทานีเ้ ด็กก็จะ ไดรับสารอาหารที่เพียงพอแลวจึงอยากจะใหพอแมหรืผูป กครองไดตระหนักถึงเด็กๆในการที่จะ เตรียมอาหารเชาที่มีคุณคาทางโภชนาการ 3. ความตองการสารอาหารในวยั รุน วยั รนุ เปน วนั ท่ีมกี ารเจริญเติบโตในดานรางกายอยางมากและในวัยน้ีเองที่การเปลี่ยนแปลง ทางอารมณและจิตใจคอนขางสูงมีกิจกรรมตางๆคอนขางมากทั้งในดานสังคมกีฬาและบันเทิงความ ตองการสารอาหารยอมมีมากขึน้ เปนธรรมดาซึง่ จะตองคํานึงทัง้ ปริมาณและคุณภาพใหถูกหลัก โภชนาการ สาํ หรับปจ จัยท่ีสําคัญ มดี ังนี้ 1.ครอบครัว การปลูกฝงนิสัยการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ควรเริ่มตนมาจาก ที่บานสําหรับวัยรุนที่อาจชอบรักสวยรักงาม อาจพยายามจํากัดอาหารลง ซึ่งคนในครอบครัวจะตอง ใหคําแนะนําเพื่อไมไปจํากัดอาหารที่มีคุณคาและมีความจําเปนตอรางกาย 2.ตัววัยรุน เอง จะเริม่ มีพฤติกรรมเปลี่ยนไปโดยมีความคิดความเห็นเปนของตัวเองมากขึน้ การใหความรูเกี่ยวกับโภชนาการมีความจําเปนเพือ่ ชีใ้ หเห็นความสําคัญของการรับประทานอาหาร ทม่ี คี ุณคาทางโภชนาการอยางสมํ่าเสมอซง่ึ จะมีผลตอ ตวั วัยรุนเองโดยตรง 3.สงิ่ แวดลอมในโรงเรยี นหรอื สถานศึกษาอทิ ธพิ ลจากเพอื่ นฝูงมีสวนที่ทําใหวัยรุนเอาอยาง กันไมวาจะเปนเรื่องการรับประทานอาหารตลอดจนการบริโภคสารอันตราย เชน เหลา บุหรี่ และยา เสพตดิ การดูแลอยางใกลชิดตลอดจนการสนับสนุนใหวัยรุน เลนกีฬา หรือทํากิจกรรมทีม่ ีประโยชน จะมีผลทางออมทําใหนิสัยทีด่ ีในการบริโภคอาหารไมถูกเบีย่ งเบนไปความตองการอาหารทีใ่ ห โปรตีนพลังงาน และวิตามินตองเพียงพอสําหรับวัยรุน วิตามินตองเหมาะและโดยเฉพาะอยางยิ่ง อาหารที่มีเกลอื แรป ระเภทแคลเซียมและเหล็กตอ งเพยี งพอกับวัยรนุ ในวยั ตางๆ 4. ความตองการสารอาหารในวัยผใู หญ ผูใหญถึงแมจะหยุดเจริญเติบโตแลว รางกายก็ตองการสารอาหารอยางครบถวน เพือ่ นําไป ทํานุบํารุงอวัยวะ และเนือ้ เยือ่ ตางๆ ของรางกาย ใหคงสภาพการทํางานทีม่ ีสมรรถภาพตอไปและ ปจจัยสําคัญอยางหนึง่ ที่จะทําใหวัยผูใหญยังคงแข็งแรงไดแก การบริโภคอาหารที่ถูกตองตามหลัก โภชนาการซึ่งในวัยนีเ้ นือ่ งจากเปนวัยทํางานมีเงินทองทีจ่ ะจับจายไดมากขึน้ โดยมากจะทําใหเกิด ภาวะโภชนาการกินเปนสวนใหญ เพราะถือเปนความสุขอยางหนึง่ ของคนบางกลุมทีค่ ิดวาอุตสาห หาเงินทองแทบแยจึงตองรับประทานอาหารที่มีราคาแพงและสวนใหญจะเต็มไปดวยไขมันใน ปริมาณทีม่ ากเกินไปดังนั้นสิง่ ทีเ่ ปนหัวใจในการควบคุมเรื่องอาหารการกินในผูใหญก็คือการ

72 ควบคุมน้ําหนักตัวใหเหมาะสมและทานสามารถคํานวณไดจากสูตร ดัชนีความหนาของรางกายซึง่ มีรายละเอียดในหัวขอเรือ่ งการควบคุมน้ําหนักตัว สําหรับคําแนะนําการรับประทานอาหารที่ ถูกตองในผูใ หญขอแนะนาํ ดงั นี้ 1.ใหบริโภคอาหารหลายชนิด เนือ่ งจากไมมีอาหารชนิดใดชนิดหนึง่ ทีใ่ หคุณคาทาง โภชนาการไดครบถวน 2 .บรโิ ภคอาหารในปริมาณทพี่ อเหมาะเพื่อใหนา้ํ หนักอยใู นเกณฑท ่ตี อ งการ 3. หลีกเลี่ยงการรับประทานที่มีไขมันมากเกินไป 4. บริโภคอาหารที่มีปริมาณของแปงและกากใยใหเพียงพอ 5. หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารที่ปรุงดวยปริมาณน้ําตาลจํานวนมาก 6. หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารเค็มมากเกินไป 7. ถา ด่มื เคร่ืองดม่ื ที่มแี อลกอฮอลเปน ประจํา ขอใหด ม่ื แตพอประมาณ 8. ความตองการสารอาหารในวัยผูสูงอายุ ผูส ูงอายุในทีน่ ีห้ มายถึงผูท ี่อยูใ นวัย 60 ปขึ้นไป ซึ่งในปจจุบันเปนปที่จะเกษียณอายุของ ทางราชการ แตในอนาคตจะมีคนอายุ 60 ป แตยังแข็งแรงทัง้ สุขภาพกายสุขภาพจิตความคิดความ อานการตดั สนิ ใจยังดอี ยูม ีจาํ นวนมากข้นึ เรือ่ ยๆผสู ูงอายนุ า จะขยบั ไปอยทู ี่ 65 ปข น้ึ ไป สําหรับปญหาเรือ่ งอาหารการกินหรือโภชนาการในวัยนี้มีขอคิดอยูว าขอใหรับประทาน อาหารใหครบหมูแ ละควบคุมปริมาณโดยดูจากการควบคุมน้ําหนักตัวไมใหมากขึน้ และกรณี นาํ้ หนกั เกนิ อยแู ลว ควรจะลดน้ําหนักใหลงมาตามที่ควรเปนดวยเพราะโครงสรางของทานเสื่อมตาม วัยถายังตองแบกน้ําหนักมากๆจะเปนปญหาได ขอแนะนําในการดูแลเรือ่ งอาหารในผูส งู อายุมดี ังน้ี 1.โปรตีนคุณภาพควรใหรับประทานไขวันละ 1 ฟอง และดืม่ นมอยางนอยวันละ 1 แกว สาํ หรบั โปรตีนจากเนื้อสตั วค วรลดนอ ยลง เพราะสว นใหญจ ะตดิ มนั มากบั เนอ้ื สตั วด ว ย 2.ไขมันควรใชน้ํามันถัว่ เหลืองหรือน้าํ มันขาวโพดในการปรุงอาหารเพราะเปนน้าํ มันพืชที่ มกี รดไลโนเลอกิ 3.คารโบไฮเดรตคนสูงอายุควรรับประทานขาวใหลดลงและไมควรรับประทานน้าํ ตาลใน ปริมาณที่มาก 4.ใยอาหารคนสูงอายุควรรับประทานอาหารทีเ่ ปนพวกใยอาหารมากขึน้ เพือ่ ชวยปองกัน การทองผูกเชือ่ กันวาชวยลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดและลดอุบัติการของการเกิดมะเร็งของ ลําไสใ หญลงได 5.น้ําดื่มคนสูงอายุควรรับประทานน้ําปริมาณ 1 ลิตรตลอดทั้งวันแตทัง้ นี้จะปรับเองได ตามแตความตองการของรางกายโดยใหดูวาปสสาวะมีสีเหลืองออนๆเกือบขาวแสดงวาน้าํ ใน

73 รางกายเพียงพอแลวสวนเครื่องดื่มแอลกอฮอลรวมทั้งน้าํ ชากาแฟควรงดเวนเสียถาระบบยอยอาหาร ในคนสูงอายุไมดีทานควรแบงเปนมื้อยอยๆแลวรับประทานทีละนอยแตหลายมื้อจะดีกวาแตอาหาร หลกั ควรเปน ม้ือเดยี ว 6.ความตองการสารอาหารในสตรีตั้งครรภ สตรีตัง้ ครรภนอกจากตองมีสารอาหารทัง้ 6 ประเภทไดแกโปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร และน้าํ ในอาหารทีร่ ับประทานเปนประจําใหครบทุกประเภทแลว สตรีตัง้ ครรภ ตองทราบอีกวาควรทีจ่ ะเพิม่ สารอาหารประเภทใดจึงจะทําใหเด็กในครรภไดรับประโยชนสูงสุด ดงั น้ี 1.อาหารที่ใหโปรตีน ไดแกไข นม เนื้อสัตว เครือ่ งในสัตวและถั่วเมล็ดแหง สตรีตัง้ ครรภ จึงควรรับประทานไขวันละ 1-2 ฟอง นมสดวนั ละ 1-2 แกว เนือ้ สัตวบกและสัตวทะเล ซึ่งจะไดธาตุ ไอโอดีนดวยอาหารประเภทเตาหูและนมถั่วเหลือง ก็มีประโยชนในการใหโปรตีนไมแพเนื้อสัตว เชน กัน 2.อาหารทีใ่ หพลังงาน ไดแก ขาว แปง น้าํ ตาล ไขมันและน้าํ มัน สตรีตัง้ ครรภควร รับประทานขาวพอประมาณรวมกับอาหารทีใ่ หโปรตีนดังกลาวแลว ควรใชน้ํามันพืชซึง่ มีกรด ไขมันจําเปน ในการประกอบอาหาร เชนน้ํามันถั่วเหลือง น้ํามันขาวโพด สตรีตั้งครรภควรจะตอง รับอาหารที่จะใหพลังงานมากขึ้นวันละปริมาณ 300 แคลลอรี่ 3.อาหารทีใ่ หวิตามินและเกลือแร สตรีตั้งครรภตองการอาหารทีม่ ีวิตามินและเกลือแร เพิ่มขึ้นควรรับประทานอาหารประเภทผักและผลไมทุกๆวันเชนสม มะละกอ กลวย สลับกันไป จะ ไดใยอาหารเพื่อประโยชนในการขับถายอุจจาระดวย เหลือแรที่สําคัญควรรับประทานเพิ่มไดแก แคลเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม เหล็ก สังกะสี และไอโอดีน สวนวิตามินไดแกกลุมทีล่ ะลายใน ไขมนั เชน เอ ดี อี เค และท่ีละลายในนํา้ ไดแ กวติ ามินบีและวิตามินซี 4.โภชนาการบัญญตั ิ 9 ประการ ขอปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย รางกายเราตองการอาหารทีม่ ีอยูใ นอาหารตางๆ เพื่อใหมีสุขภาพทีด่ ีแตเราจะตองรูว าจะกิน อยางไร กินอาหารอะไรบางมากนอยเพียงใดจึงจะไดสารอาหารครบเพียงพอกับความตองการของ รางกายขอปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย 9 ขอหรือโภชนาการบัญญัติ 9 ประการนี้ จะชวยไดถ าทา นปฏิบตั ิตามหลกั ดังตอไปนี้ 1.กินอาหารครบ 5 หมแู ตล ะหมใู หห ลากหลายและหมน่ั ดแู ลนาํ้ หนกั ตวั 2.กินขาวเปนอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแปงเปนบางมื้อ 3.กินพชื ผกั ใหมากและกินผลไมเ ปน ประจาํ 4.กนิ ปลา เน้อื สตั วท ีไ่ มติดมัน ไข ถั่วเมล็ดแหง เปนประจํา 5.ดื่มนมใหเหมาะสมตามวัย

74 6.กินอาหารที่มีไขมันพอสมควร 7.หลกี เลย่ี งการกนิ อาหารรสหวานจดั และเคม็ จดั 8.กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปอน 9.งดหรอื ลดเคร่ืองดมื่ ทม่ี แี อลกอฮอร 5. สารตานอนุมลู อสิ ระ ในรางกายของคนเราเซลลจะผลิตสารชนิดหนึง่ เพื่อทําลายเนื้อเยื่อตนเองเพิม่ มากขึ้น สาร นั้นเรียกวาอนุมูลอิสระ อนุมูลอิสระนี้เปนตัวการสําคัญทีท่ ําใหเกิดปญหาทางสุขภาพหลายประการ ทั้งภาวะความจําเสื่อม โรคมะเร็งเปนตน ในขณะเดียวกันรางกายก็สามารถจัดการกับอนุมูลอิสระไดโดยสรางสารตานอนุมูลอิสระ ออกมาในกระแสเลือด เพือ่ จับกับอนุมูลอิสระไดถึง 99.9 % คงเหลือทําลายเซลลอยูเ พียง 0.1% แต กระนั้นกท็ าํ ใหเ ซลลเกิดการบาดเจบ็ และยิ่งนานวันรอยแผลก็สะสมมากข้ึน เมื่อคนเราแกลงรางกาย ก็จะสรางสารตานอนุมูลอิสระลดลงรางกายจะตองการสารตานอนุมูลอิสระมากขึน้ เพือ่ สงผลให อายุยืน สุขภาพแข็งแรงตอตานโรคชรา โรคมะเร็ง เปนตน สารตา นอนุมูลอสิ ระท่สี าํ คญั ทีเ่ ราพบในแหลงอาหาร มดี ังน้ี 1.เบตา-แคโรทีน มีมากในแครอท และผักสีเหลืองสมผักสีเขียวเขมตางๆเชนมะเขือเทศ ฟกทอง ตาํ ลึง ผักบุง ผกั กวางตงุ ผกั คะนา ยอดแค เปนตน 2.วิตามินซี มีมากในฝรัง่ สม มะขามปอม มะนาว มะเขือเทศ ผัก ผลไมสด ตางๆ ผักคะนา และกระหลา่ํ ดอกมวี ิตามินซีสูงมาก วติ ามนิ ซี ถูกทาํ ลายไดง า ย ดวยความรอนความขึ้นและแสง 3.วิตามินอี มีในรําละเอียด ในพวกธัญพืชทีไ่ มขัดขาว ขาวโพด ถั่วแดง ถัว่ เหลือง ผักกาดหอม เมล็ดทานตะวัน งา นา้ํ มนั รํา น้ํามนั ถ่ัวลิสง น้าํ มนั จากเมลด็ พืชตางๆ 4.ซีลิเนียม พบในอาหารทะเลเนื้อสัตวธัญพืชทีไ่ มขัดขาวนอกจากนีย้ ังมีสารที่พบในผัก ผลไมที่มีคุณสมบัติในการตานสารอนุมูลอิสระซึ่งสามารถจับกับอนุมูลอิสระลดอันตรายไมใหเกิด โรคมะเร็งได พบไดมากในตระกูลสม องุน และผลไมสดอื่นๆรวมทัง้ ผักผลไมตางๆ เชน กระเทียม ผักตระกลู ผกั กาด

75 ตวั อยา ง ประเภทและจํานวนของอาหารที่คนไทยควรกินใน 1 วนั สําหรับเด็กอายุ 6 ปข ึ้นไปถงึ วยั ผใู หญแ ละผสู ูงอายโุ ดยแบงตามการใหพ ลังงาน กลุมอาหาร หนว ยครวั เรอื น พลังงาน (กโิ ลแคลอรี) 1,600 2,000 2,400 ขาว – แปง 1 ทัพพี = 60 กรัม หรอื คร่งึ ถวยตวง 8 ทัพพี 10 ทัพพี 12 ทัพพี ผัก 1 ทพั พี = 40 กรมั หรอื ครงึ่ ถว ยตวง 4 (6) ทัพพี 5 ทัพพี 6 ทัพพี ผลไม 1 สว น = สม เขยี วหวาน 1 ผล หรอื 3 (4) สว น 4 สว น 5 สว น กลวยนํ้าวา 1 ผล หรอื เงาะ 4 ผล เนอ้ื สัตว 1 ชอ นกนิ ขา ว = ปลาทคู รง่ึ ตวั หรอื 6 ชอ น 9 ชอ น 12 ชอ น ไขครงึ่ ฟอง หรอื ไกค รึง่ นอง กินขาว กินขา ว กนิ ขา ว นม 1 แกว = 250 ซีซี 2 (1) แกว 1 แกว 1 แกว นํา้ มัน นาํ้ ตาล และ ชอนชา ใชแตน อ ยเทา ทจ่ี ําเปน เกลอื หมายเหตุ เลขใน ( ) คือปรมิ าณท่แี นะนาํ สาํ หรับผใู หญ 1,600 กโิ ลแคลอรี สาํ หรับ เดก็ อายุ 6-13 ป หญิงวัยทํางานอายุ 25-60 ป ผูสูงอายุ 60 ปข น้ึ ไป 2,000 กโิ ลแคลอรี สําหรบั วัยรุน หญิง-ชาย อายุ 14-25 ป วยั ทาํ งานอายุ 25-60 ป 2,400 กโิ ลแคลอรี สาํ หรับ หญงิ -ชาย ที่ใชพลังงานมากๆ เชน เกษตรกร ผูใชแรงงาน นักกฬี า สรปุ อาหารเปนปจจัยทีม่ ีผลตอการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย การรับประทาน อาหารควรยึดหลักโภชนาการ เพื่อใหไดพลังงานและสารอาหารทีพ่ อเพียง วัยรุน เปนวัยที่กําลัง เจริญเติบโตจึงควรบริโภคอาหารใหถูกตองตามหลักโภชนาการ

76 เรื่องท่ี 2 วิธีการประกอบอาหารเพ่อื คงคณุ คาของสารอาหาร 2.1 หลกั การปรุงอาหารท่ีถกู สขุ ลกั ษณะ เพือ่ ใหไดอาหารทีส่ ะอาด ปลอดภัย และมีคุณคาทางโภชนาการ มีหลักการปรุง อาหารทีถ่ กู สุขลักษณะ โดยคาํ นงึ ถงึ หลัก 3 ส คอื สงวนคุณคา สุกเสมอ สะอาดปลอดภยั สงวนคุณคา คือ การปรุงอาหารจะตองปรุงดวยวิธีการปรุง ประกอบเพือ่ สงวนคุณคาของ อาหารใหมปี ระโยชนเ ต็มท่ี เชน การลางใหสะอาดกอนห่ันผกั การเลอื กใชเ กลือเสรมิ ไอโอดนี สุกเสมอ คือ ตองใชความรอนในการปรุงอาหารใหสุกโดยเฉพาะอาหารประเภทเนือ้ สัตว ทั้งนี้เพื่อตองการจะทําลายเชื้อโรคที่อาจปนเปอนมากับอาหาร การใชความรอนจะตองใชความรอน ในระดับทีส่ ูง ในระยะเวลานานเพียงพอทีค่ วามรอนจะกระจายเขาถึงทุกสวนของอาหาร ทําให สามารถทําลายเชื้อโรคไดอยางมีประสิทธภิ าพ สะอาดปลอดภัย คือ จะตองมีการตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานของอาหารกอนการปรุง ประกอบวาอยูในสภาพทีส่ ะอาด ปลอดภัย ไดมาตรฐาน เชน เนื้อหมูสด ตองไมมีเม็ดสาคู (ตัวออน พยาธิตัวตืด) น้ําปลา จะตองมีเครื่องหมาย อย.รับรอง เปนตน และจะตองมีกรรมวีธีขัน้ ตอนการปรุง ประกอบอาหารทสี่ ะอาด ปลอดภัยและถกู สขุ ลักษณะ มีผปู รุง ผูเสิรฟอาหารที่มีสุขวิทยาสวนบุคคล ที่ดี รูจ ักวิธีการใชภาชนะอุปกรณและสารปรุงแตงรสอาหารที่ถูกตองเชน วีการสดปริมาณสารพิษ กําจัดศัตรูพืชที่ตกคางในผักสด การใชชอนชิมอาหารเฉพาะในการชิมอาหารระหวางการปรุงอาหาร 2.2 หลกั การทาํ อาหารใหส ะดวกและรวดเรว็ อาหารทีป่ รุงเองนอกจากจะประหยัดแลวยังไดอาหารทีส่ ะอาด สด ใหม มีรสถูกปากและ ลดความเสี่ยงจากการมีสารเคมีปนเปอ นแต เวลา มักจะเปนขอจํากัดในการลงมือทําอาหาร แมบาน อาจมีวิธีการเตรียมอาหารพรอมปรุงในวันหยุด เก็บไวในตูเ ย็นแลวนํามาปรุงใหมไดโดยใชเวลา นอยแตไดคุณคามากเริม่ จากอาหารประเภทเนือ้ สัตว เชน หมู ไก กุง ปลา เมือ่ ซื้อมาจัดเตรียมตาม ชนิดที่ตองการปรุงหรือหุงตมแลวทําใหสุก ดวยวิธีการตมหรือรวน แลวแบงออกเปนสวนๆตาม ปริมาณที่จะใชแตละครั้ง แลวเก็บไวในตูเย็น ถาจะใชในวันรุง ขึ้น หรือเก็บไวในชองแชแข็งถาจะ เก็บไวใชนาน เมื่อตองการใชก็นําออกมาประกอบอาหารไดทันที โดยไมตองเสียเวลา รอใหละลาย เหมือนการเก็บดบิ ๆ ทั้งชน้ิ ใหญโดยไมห นั่ การเตรียมลวงหนาวิธีน้ี นอกจากจะสะดวก รวดเร็วแลว ยังคงรสชาติและคุณคาของอาหารอีกดวย 2.3 หลักการเก็บอาหารใหสะอาดปลอดภัย การเก็บอาหารตามหลักการสุขาภิบาลอาหารมีวัตถุประสงคเพือ่ ยืดอายุของอาหารที่ใช บริโภค โดยจะตองอยูในสภาพที่สะอาดปลอดภัยในการบริโภค หลักการในการเก็บอาหารให คาํ นึงถึงหลกั 3 ส. คือสัดสว นเฉพาะ สิง่ แวดลอ มเหมาะสม สะอาดปลอดภัย

77 สัดสวนเฉพาะ คือ ตองเก็บอาหารใหเปนระเบียบ แยกเก็บตามประเภทอาหารโดยจัดให เปนสัดสวนเฉพาะไมปะปนกัน มีฉลากซื้อหรือเครื่องหมายอาหารแสดงกํากับไว สิง่ แวดลอมเหมาะสม คือ ตองเก็บอาหารโดยคํานึงถึงการจัดสภาพสิง่ แวดลอมให เหมาะสมกับอาหารแตละประเภทโดยคํานึงถึงอุณหภูมิความชื้นเพื่อชวยทําใหอาหารสดสะอาดเก็บ ไดนานไมเนาเสียงายสิง่ แวดลอมของอาหารจะจัดการใหอยูใ นสภาพทีจ่ ะปองกันการปนเปอ นได เชน การเกบ็ อาหารกระปอ งในบริเวณทม่ี ี อาหารหมุนเวียน สงู จากพ้นื อยา งนอย 30 ซม. การเก็บนม พาสเจอไรสไวในอุณหภมู ติ ํ่ากวา 7 องศาเซลเซยี ส เปน ตน สะอาดปลอดภัย คือ ตองเก็บอาหารในภาชนะบรรจุทีถ่ ูกสุขลักษณะ สะอาด ปลอดภัย มี การทําความสะอาดสถานที่เก็บอยางสม่ําเสมอไมเก็บสารเคมีที่เปนพิษอื่นๆเชน การใชถุงพลาสติก/ กลองพลาสติกสําหรับบรรจุอาหารในการบรรจุอาหารที่เก็บไวในตูเย็น/ตูแชแขง็ เปน ตน 2.4 อุณหภมู ิเทาไหรจ ึงจะทาํ ลายเชอ้ื โรคได เชื้อจุลินทรียมีอยูทั่วไปตามสิ่งแวดลอมมนุษย สัตว อาหาร ภาชนะอุปกรณและสามารถจะ ดํารงชีวิตอยูไ ดในชวงอุณหภูมิต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส จนถึง 75 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะ เชือ้ จุลินทรียท กี่ อใหเกิดโรคระบาดทางเดินอาหารมักจะเปนเชื้อจุลินทรียที่สามารถเจริญเติบโตไดดี ทอ่ี ณุ หภมู หิ อ งประมาณ 25 องศาเซลเซียส ถึง 40 องศาเซลเซยี ส ฉะนัน้ การทําลายเชือ้ จุลินทรียทีก่ อใหเกิดโรคระบบทางเดินอาหารจําเปนจะตองกําหนด ชวงอุณหภูมิที่เหมาะสมเพื่อจะไดแนใจวาเชือ้ จุลินทรียถูกทําลายจนหมดสิ้นในขบวนการผลิต อาหารทางอุตสาหกรรมการทําลายเชือ้ โรคจําเปนตองอาศัยอุณหภูมิทีเ่ หมาะสมควบคูไปกับ ระยะเวลาที่เหมาะสมจึงจะมีประสิทธิภาพในการทําลายทีด่ ี คืออุณหภูมิทีส่ ูงมากใชระยะเวลาสัน้ (121องศาเซลเซยี สเปน เวลา 1 นาที)และอุณหภูมิทีต่ ่าํ ใชระยะเวลานาน(63 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 นาที)ทัง้ ทีย่ ังมีปจจัยอืน่ ทีเ่ กีย่ วของในการควบคุมไดแกปริมาณเชื้อจุลินทรียประเภทของอาหาร คาความเปนกรด ดาง ความชื้น สําหรับในการปรุงประกอบอาหารในครัวเรือนอุณหภูมิที่สามารถทําลายเชือ้ จุลินทรีย คือ 80 องศาเซลเซียส-100 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิน้าํ เดือด)เปนเวลานาน 15 นาทีสําหรับอุณหภูมิใน ตูเ ย็น 5 องศาเซลเซียส-7องศาเซลเซียส เชื้อจุลินทรียสามารถดํารงชีวิตอยูไ ด และสามารถเพิ่ม จาํ นวนไดอ ยา งชาในขณะที่อณุ หภูมแิ ซแ ขง็ ต่ํากวา 0 องศาเซลเซยี ส เช้ือจลุ นิ ทรยี ส ามารถดํารงอยูได แตไ มเพิม่ จํานวนอุณหภูมิท่ีเช้ือจุลินทรียตายคือ-20องศาเซลเซียส และฉะนั้นเพือ่ ความปลอดภัยใน การบริโภคอาหารโดยเฉพาะอาหารเนื้อสัตวควรปรุงอาหารใหสุกเสมอโดยทั่วทุกสวนที่อุณหภูมิสูง กวา 80 องศาเซลเซียส ข้นึ ไปหรอื สกุ เสมอ สะอาด ปลอดภัย 2.5 อณุ หภมู ิทีเ่ หมาะสมในการเก็บอาหารสดประเภทเนื้อสัตว

78 อาหารเนื้อสัตวสด เปนอาหารที่มีความเสี่ยงสูง เพราะมีปจจัยเอื้อตอการเนาเสียไดงาย คือมี ปริมาณสารอินทรียสูง มีปริมาณน้าํ สูง ความเปนกรดดางเหมาะสมในการเจริญเติบโตของ เชื้อจุลนิ ทรยี  การเก็บเนื้อสัตวสดที่ถูกสุขลักษณะ คือตองลางทําความสะอาดแลวจึงหัน่ หรือแบง เนื้อสัตวเปนชิ้นๆขนาดพอดีที่จะใชในการปรุงประกอบอาหารแตละครัง้ แลวจึงเก็บในภาชนะที่ สะอาดแยกเปนสัดสวนเฉพาะสําหรับเนือ้ สัตวสดทีต่ องการใชใหหมด ภายใน 24 ชั่วโมงสามารถ เก็บไวในอุณหภูมิตูเ ย็นระหวาง 5 องศาเซลเซียส -7 องศาเซลเซียสในขณะที่เนือ้ สัตวสดที่ตองการ เก็บไวใชนาน (ไมเกิน7วัน)ตองเก็บไวในอุณหภูมิตูแ ชแข็ง อุณหภูมิต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส ทั้งนี้ เมือ่ จะนํามาใชจําเปนจะตองนํามาละลายในไมโครเวฟ แตถาละลายในน้าํ เย็นจะตองเปลีย่ นน้าํ ทุก 30 นาที เพือ่ ใหอาหารยังคงความเย็นอยูแ ละน้ําทีใ่ ชละลายไมเปนแหลงสะสมของเชื้อจุลินทรียที่ อาจจะปนเปอนมาทําใหมีโอกาสเพิ่มจํานวนไดมากขึ้นจนอาจจะเกิดเปนอันตรายได สรุปอุณหภูมิทีเ่ หมาะสมในการเก็บอาหารเนื้อสัตวสดคืออุณหภูมิตูเย็นต่ํากวา 7 องศา เซลเซยี สในกรณที จี่ ะใชภายใน 24 ช่วั โมง และต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิแชแข็ง) ในกรณีท่ี จะใชภายใน 7 วันซึ่งเปนอุณหภูมิทีเ่ ชื้อจุลินทรียยังคงดํารงชีวิตอยูไ ดแตมีอัตราการเจริญเติบโตต่ํา จนถึงไมม กี ารเจรญิ เตบิ โตทาํ ใหส ามารถเก็บรักษาเนื้อสตั วใ หสด ใหม สะอาด ปลอดภัย 2.6 ภาชนะบรรจุอาหารสําคัญอยางไร ภาชนะบรรจุอาหารเปนปจจัยสําคัญทีเ่ สีย่ งตอการปนเปอนเชือ้ โรค สารเคมีทีเ่ ปนพิษกับ อาหารที่พรอมจะบริโภค ทัง้ นี้ สามารถจะกอใหเกิดการปนเปอ นไดทุกขั้นตอน ตัง้ แตขัน้ ตอนการ เกบ็ อาหารดบิ ข้ันตอนการเสริ ฟใหกับผบู ริโภค ขั้นตอนการเก็บอาหารดิบถาภาชนะบรรจุทําดวยวัสดุทีเ่ ปนพิษหรือภาชนะทีป่ นเปอ นเชื้อ โรคก็จะทําใหอาหารที่บรรจุอยูป นเปอนไดโดยเฉพาะภาชนะบรรจุอาหารเนือ้ สัตวสด เมือ่ ใชแลว ตองลางทําความสะอาดใหถูกตองกอนจะนํามาบรรจุเนือ้ สัตวสดใหมเพราะอาจจะเปนแหลงสะสม ของเช้อื จุลนิ ทรียไดงายขน้ั ตอนการปรุงประกอบอาหารถาภาชนะอุปกรณที่ใชในการปรุง ประกอบ อาหาร ถาภาชนะอุปกรณทีใ่ ชในการปรุงประกอบมีการปนเปอ นดวยสารเคมีทีเ่ ปนพิษ ก็สามารถ ปนเปอ นอาหารที่ปรุงประกอบไดเชน ตะแกรงทาสีบรอนดเวลาปงปลา สีบรอนด และสารตะกัว่ ก็ อาจจะปนเปอนกับเนื้อปลาไดใชภาชนะพลาสติกออนใสน้ําสมสายชูทําใหมีการปนเปอนสาร พลาสติกออกมากับน้ําสมสายชูทําใหมีการปนเปอนสารพลาสติกออกมากับน้ําสมสายชูได ขัน้ ตอนการเสิรฟอาหารพรอมบริโภคอาหารปรุงสําเร็จถาภาชนะทีใ่ ชลางไมสะอาดมีการ ปนเปอ นเชื้อจุลินทรียสารเคมีทีเ่ ปนอันตรายก็จะปนเปอนอาหารจนอาจกอใหเกิดอันตรายกับ ผบู รโิ ภคได

79 ฉะนั้นเพอ่ื ใหไดภาชนะอุปกรณท ี่สะอาด ปลอดภัย สิ่งสําคญั ก็คอื จะตองรจู กั วิธีการเลือกใช ภาชนะอุปกรณทีถ่ ูกตองไมทําจากวัสดุที่เปนพิษและใชใหเหมาะสมกับประเภทของอาหารรวมทัง้ ตองรูจกั วิธีการลางและการเกบ็ ภาชนะอปุ กรณใ หถ กู ตอง เร่อื งท่ี 3 ความเชอื่ และคานยิ มเก่ียวกับการบรโิ ภค คานิยม (Value) หมายถึง ลักษณะดานสังคมซึง่ มีความเชือ่ ถือ (Beliefs) กันอยาง กวางขวาง ซึ่งเปนแนวทางในการพิจารณาพฤติกรรมทีเ่ หมาะสม โดยมีการยอมรับอยางแพรหลาย จากสมาชิกของสังคม หรือหมายถึง ความเชือ่ ถือของสวนรวมซึ่งมีมานาน โดยมีจุดมุง หมายเพื่อ การมีชีวิตอยูร วมกันเปนความรูสึกเกี่ยวกับกิจกรรม ความสัมพันธกัน หรือจุดมุง หมายซึ่งมี ความสําคัญตอลักษณะหรือความเปนอยูข องชุมชน สิ่งทีค่ นกลุม หนึง่ หนึง่ วาอะไรก็ตามทีค่ นใน สังคมสวนใหญชอบ ปรารถนาหรือตองการใหเปน ในปจจุบันเรามักจะใหยินวาคนไทยมีคานิยมชอบใชของตางประเทศ ชอบ เลียนแบบชาวตางประเทศโดยรับเอาวัฒนธรรมของตางประเทศเขามามาก โดยลืมคิดถึงความ เสียหายทีจ่ ะเกิดขึ้น ซึง่ คําวา “คานิยม” ถือวาเปนปจจัยภายนอกซึ่งเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอ ความรูสึกนึกคิดของบุคคลเปนสิ่งทีเ่ กิดขึ้นจากการเรียนรู หรือสิ่งอื่นใดก็ตามที่เปนตัวกํากับหรือ ควบคุมพฤติกรรมของบุคคลเปนสิ่งที่เกิดขึน้ จากการเรียนรู หรือสิ่งอื่นใดก็ตามทีเ่ ปนตัวกํากับหรือ ควบคุมพฤติกรรมของบุคคลทีอ่ ยูใ นสังคมนั้น ๆ ซึง่ ความสําเร็จหรือความลมเหลวของธุรกิจทาง การตลาดขึน้ อยูกับความสอดคลองกับคานิยมเปนสําคัญ ดังนั้น คานิยมจึงเกี่ยวของกับการ ตอบสนองตอสิง่ กระตุนดวยวิธีทีม่ ีมาตรฐาน ซึง่ บุคคลจะถูกกระตุน ใหมีสวนรวมในพฤติกรรม เพอ่ื ใหบรรลคุ า นยิ ม และความเก่ยี วขอ งกบั พฤตกิ รรมผูบ ริโภคและกลยุทธทางการตลาด ในขณะท่ี แตละชัน้ ของสังคมจะมีลักษณะของคานิยมและพฤติกรรมในการบริโภคจะแตกตางกันออกไป ตัวอยางคานิยมกับพฤติกรรมการบริโภคของคนไทย มีดังนี้ 1. กลุม คา นยิ มความรํ่ารวย และนยิ มใชของจากตา งประเทศ จดุ เดนทเ่ี ปน นิสยั ของคนไทย ชอบทําตัววาตัวเองเปนคนร่าํ รวยเนือ่ งมาจากการใชสินคา สินคาที่นิยมใชจะเปน สินคาที่นําเขามาจากตางประเทศเทานั้น

80 สวนที่เกยี่ วขอ งกับพฤติกรรมการบรโิ ภค เปนบุคคลทีช่ อบใชของแพง ๆ ทําใหคนอืน่ มองวาตัวเองเปนผูท ี่ร่าํ รวย ตองการ ใหคนยกยองนับถือ เปนคนที่ตองมีเกียรติ ตองการเปนผูน ําในการใชสินคา นิยมใชสินคาที่นําเขา มาเทา นนั้ มองวาสินคาในประเทศเปนสินคาที่ไมมีคุณภาพ ไมม ีมาตรฐาน เปนสินคาดอยคุณภาพ จะรูสึกภูมิใจทุกครั้งเมือ่ ไดใชสินคาทีเ่ ปนสินคาจากตางประเทศ ชอบไปเที่ยวตางประเทศเพ่ือไป ซือ้ สินคา บางครั้งซื้อมาแลวก็ไมไดใชประโยชนก็จะซือ้ หรือบางครั้งอาจจะไมมีเวลาไปเที่ยว ตางประเทศก็ชอบฝากใหคนอื่นซื้อ มีความเปนตางชาติสูงมาก จะเปนบุคคลที่เนนการแตงกายดี ตง้ั แตศ ีรษะจรดเทา เพ่ือเสริมสรา งบุคลกิ ภาพ สรางความนาเชือ่ ถือ นิยมใชบัตรเครดิตการด ชอบ ความสะดวกสบายไมชอบการรอคอยนาน ๆ ชอบสังคมกับเพื่อนที่มีฐานะร่าํ รวย เทาเทียมกัน ไม ชอบคบหาสมาคมกันคนที่ดอยกวาหรือจนกวา ทําอะไรคิดถึงตัวเองมากกวาคนอื่น บางครั้งอาจจะ ประสบกับปญหาทางดานการเงินแตกลัววาคนอื่นจะรูถึงฐานะของตนเองตองยอมกูเ งินเพื่อพยุง ฐานะของตนเองก็ยอมเพื่อรักษาภาพลักษณของตนเอง โดยไมตองการใหใครมามองวาตัวเองจน ลําบากหรอื ตา่ํ ตอ ยกวาคนอนื่ ผลกระทบกับคานยิ มแบบนี้ ลักษณะแบบนี้ ควรจะปรับปรุงแกไขเพื่อสังคมจะไดดีขึน้ โดยเฉพาะคนรุนใหม ไมควรใหฟุง เฟอซึ่งจะเปนการสรางคานิยมทีไ่ มดี และถือวาคานิยมแบบนีจ้ ะเปนอันตรายตอ ประเทศชาติอยางมาก ซึง่ อาจกอใหเกิดความเสียหาย เทากับวาประเทศของเราไดตกไปเปน เมืองขึ้นของตางชาติ ซึ่งเปนการยากทีเ่ ราจะกูประเทศชาติกลับคืนมาได ซึ่งควรจะไดมีการ ปรับปรุงแกไข 2. คานิยมสุขภาพดี จุดเดน ที่เปน นสิ ยั ของคนไทย เปน บุคคลท่รี กั ษาสขุ ภาพของตนเอง และครอบครวั เพอ่ื ทีจ่ ะไดมีชวี ิตยืนยาว สวนท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมการบรโิ ภค พฤติกรรมของบุคคลทมี่ ีคา นิยมสุขภาพดี มักจะเปนคนที่ดูแลตนเองเปนอยางดี มี การออกกําลังกายอยางสม่าํ เสมอ ชอบความสะอาด ไปพบแพทยเปนประจํา มีการพักผอนอยาง เพียงพอเลือกรับประทานอาหารทีม่ ีคุณคา มีประโยชนตอรางกาย เพือ่ ทําใหสุขภาพแข็งแรง รวมทั้งดูแลคนในครอบครัวดวยตองการใหคนในครอบครัวปราศจากโรคภัยไขเจ็บ ตองการมีชีวิต ทีย่ ืนยาว มีรางกายทีแ่ ข็งแรงและสมบูรณ ชอบพักผอนอยูก ับบาน และทานอาหารในบานเพราะ เนนความสะอาด ชอบดูหนังฟงเพลงอยูในบาน สินคาที่นิยมบรโิ ภค ไดแ ก

81 1. อาหารมังสวิรัติ 2. อาหารเสริม 3. นมท่มี แี คลเซียม เพื่อเสริมสรางกระดกู 4. นมพรอ งมนั เนย, โยเกริ ต 5. วติ ามนิ ตา งๆ เชน วิตามินซ,ี วิตามินบี ฯลฯ 6. ผกั ปลอดสารพิษ 7. ดมื่ น้าํ ผลไม 8. ดืม่ น้าํ แร 9. โสมเกาหลี, เหด็ หลนิ จอื 10. ไกตุน ยาจนี , ไกดํา 11. ยารกั ษาโรค (จากแพทยสั่ง) ผลกระทบกบั คานยิ มแบบนี้ เปนคานิยมทีด่ ีนาจะมีการสนับสนุนเพราะจะทําใหคนมีสุขภาพดีขึน้ เพื่อชีวิต ความ เปนอยูในครอบครัวดีขึ้น และทําใหครอบครัวมีความสุขมากขึ้น บคุ คลทมี่ ีคา นิยมแบบน้ี เปนบุคคลที่มีฐานะในระดับ B ขึ้นไป และเปน ผูดูแลเอาใจใสตอ สุขภาพ กลุมเปาหมาย เปนกลุมวัยกลางคนที่เนนดูแลสุขภาพใหแข็งแรงปลอดจาก โรคภยั ไขเจบ็ 3. คานยิ มรกั ความสนกุ จดุ เดนทเ่ี ปนนสิ ัยของคนไทย เปนบุคคลทีร่ ักความสนุก มีความรืน่ เริงอยูต ลอดเวลา ชอบ ENTERTAIN ชอบ สังสรรคไมวาจะเปนเทศกาลใดก็ตาม สวนที่เก่ียวขอ งกับพฤติกรรมการบริโภค ลักษณะของพฤติกรรมบุคคลจะเปนบุคคลทีร่ ักสนุก ชอบความรืน่ เริง มีความ สังสรรคในหมูญ าติพีน่ อง เพื่อนฝูงอยูต ลอดเวลา ไมวาจะเปนการจัดปารตี้ทุกสิน้ เดือน หรือเปน เทศกาลตา งๆ เชน วันขึน้ ปใหม, วนั ตรษุ จนี , วนั สงกรานต ฯลฯ ทุกเทศกาลก็จะมีความสนุกสนาน ตลอดเวลา

82 สินคาท่นี ิยมบรโิ ภค ไดแก 1. รับประทานอาหารทุกชนิด เชน อาหารกับแกลม อาจทําทานเอง หรือไป ทานนอกบาน 2. เคร่ืองดื่มทุกชนดิ เชน นํ้าอัดลม 3. ผลไมตาง ๆ (ผลไมไ ทยและผลไมนาํ เขา) 4. ขนมคบเคี้ยวตาง ๆ 5. ดื่มสุรา (ผลิตในประเทศไทยและนําเขาจากตางประเทศ) 6. ชอบรอ งเพลง KARAOKE (อาจจะรอ งเพลงอยใู นบา น หรือตาม สถานเรงิ รมยต าง ๆ) 7. ชอบดูภาพยนตร 8. ชอบไปรับประทานอาหาร และฟงเพลงตามโรงแรม, หองอาหารตาง ๆ และตามคาเฟ 9. ชอบไปเทย่ี วตามสถานที่ในตา งจังหวัด เชน ไปนํา้ ตก, ภูเขา และทะเล ผลกระทบกบั คา นยิ มแบบน้ี บุคคลทีม่ ีคานิยมแบบนีอ้ ยางนอยก็นาจะสนับสนุน เพราะทําใหเกิดสภาพคลอง ทาง การเงินทําใหเงินทองไมไหลออกนอกประเทศ มีการใชจายภายในประเทศ ซึง่ เปนการกระจาย รายไดไปยังสถานทองเที่ยวตางๆ ภายในประเทศไดเปนอยางดี ทําใหมีการจับจายใชสอยและเปน การสรางรายไดใหกับชุมชนตางๆ และแหลงทองเที่ยวตางๆ ทําใหคนมีอาชีพมากขึ้นซึง่ จะทําให เกิดการหมุนเวียนทางดานการเงินอาจสงผลใหภาวะทางเศรษฐกิจในประเทศดีขึ้น 4. คา นิยมบริโภคนิยม จดุ เดนท่ีเปน นิสัยของคนไทย เปน บุคคลท่มี ีนสิ ัยชอบบรโิ ภคเปนหลกั ซงึ่ ไมไ ดคาํ นงึ ถึงคณุ ภาพ สวนทเ่ี กีย่ วของกบั พฤตกิ รรมการบริโภค ลักษณะพฤติกรรมการบริโภคชอบรับประทานอาหารนอกบาน พยายามสรรหา รานอาหารทีอ่ รอยๆ ไมวาจะอยูใกลหรือไกล ถาขึ้นชือ่ ในระดับ เชลลชวนชิม, แมชอยนางรํา และไมลองไมรู ซึ่งมีใบรับประกัน ชอบทีจ่ ะไปทดลองชิมดูวาอรอยสมชือ่ หรือเปลา ชอบ รา นอาหารท่มี ลี ักษณะสะอาด มีความสะดวกสบาย มีทีจ่ อดรถสะดวก บางครัง้ บริโภคมากจนเกิน

83 ความจําเปนและมีผลตอสุขภาพ ทําใหเกิดโรคตางๆ ไดงาย เชน โรคไขมันอุดตัน โรคเบาหวาน ความดนั อาหารไมยอยอาหารเปนพิษ ฯลฯ สินคา ที่นยิ มบรโิ ภค ไดแ ก 1. อาหารทุกชนิด เชน รา นอาหารดงั ๆ 2. อาหาร fast food เชน KFC, McDonald 3. รานอาหารญป่ี ุน เชน Oishi, ฟจู ิ 4. รานไอศกรมี เชน Swensens 5. ขนมขบเคี้ยวตางๆ 6. เครื่องดืม่ ทกุ ชนิด 7. สุรายี่หอตา งๆ ผลกระทบกับคานิยมแบบนี้ บุคคลทีม่ ีคานิยมแบบนี้ อาจจะปน ทอนสุขภาพได เพราะไมไดระมัดระวังใน เรอ่ื ง ของการรับประทานอาหาร ควรจะมีการปรับปรุงแกไขเพื่อใหมีสุขภาพแข็งแรง และมีชีวิตทีย่ ืน ยาวได ผูท ีม่ ีคานิยมบริโภคแบบนี้ ถาเปนผูส ูงอายุจะทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพ เชน มักจะพบ กบั โรคภยั ไขเ จบ็ ตางๆ และมกั จะมีอายสุ ั้น เรื่องที่ 4 ปญหาสุขภาพท่ีเกดิ จากการบรโิ ภคอาหารไมถ กู หลัก โภชนาการ ปจจุบันการดําเนินชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะในเขตเมือง เปนไปอยางเรงรีบ ทําใหการ บริโภคอาหาร ก็เนนอาหารตามทีร่ ับประทานไดสะดวกรวดเร็ว เชน อาหารฟาสตฟูดส (Fast Food) ทําใหเกิดปญหาโรคอวน และโรคอืน่ ๆอีกมาก ดังนัน้ จึงควรทําความเขาใจถึงองคประกอบสําคัญ ดงั น้ี 1) อาหาร (Food) หมายถึงสิ่งที่เรากินไดและมีประโยชนตอรางกาย สิง่ ที่กินไดแตไมเปน ประโยชนห รือใหโ ทษแกร างกาย อาทิ สุรา เหด็ เมา เราก็ไมเรียกสิ่งน้นั วาเปนอาหาร 2) โภชนาการ (Nutrition) มีความหมายกวางมากกวาอาหาร โภชนาการ หมายถึง เรือ่ ง ตางๆที่วาดวยอาหาร อาทิ การจัดแบงประเภทสารอาหาร ประโยชนของอาหาร การยอยอาหาร โรค ขาดสารอาหาร เปนตน โภชนาการเปนวิชาสาขาหนึง่ ซึง่ มีลักษณะเปนวิทยาศาสตรประยุกต ที่ กลาวถึงการเปลีย่ นแปลงตางๆของอาหารทีเ่ รารับประทานเขาไปเพือ่ ใชประโยชนในดานการ เจริญเติบโตและซอมแซมสวนตางๆของรางกาย

84 3) สารอาหาร ( Nutrient) หมายถึง สารเคมีที่เปนสวนประกอบสําคัญในอาหาร สารเคมี เหลานี้มีความสําคัญและจําเปนตอรางกาย อาทิ เปนตัวทําใหเกิดพลังงานและความอบอุนตอรางกาย ชวยในการเจริญเติบโต ชวยซอมแซมสวนทีส่ ึกหรอทําใหรางกายทํางานไดตามปกติ เมือ่ นําอาหาร มาวิเคราะหจะพบวามีสารประกอบอยูม ากมายหลายชนิด ถาแยกโดยอาศัยหลักคุณคาทาง โภชนาการจะแบงออกเปน 6 ประเภท ไดแกโปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมนั วติ ามิน เกลอื แร และนํา้ 4) พลังงานและแคลอรี่ ไขมัน คารโบไฮเดรต และโปรตีน ใหประโยชนแกรางกายหลายอยางทีส่ ําคัญคือ การใช พลังงานแกรางกาย พลังงานในที่นี้หมายถึงพลังงานที่รางกายจําเปนตองมี ตองใชและสะสมไว เพื่อ ใชในการทํางานของอวัยวะทั้งภายในและภายนอกรางกาย นักวิทยาศาสตรวัดปริมาณของพลังงานหรือกําลังงานทีไ่ ดจากอาหารเปนหนวยความรอน เรยี กวา แคลอร่ี โดยกาํ หนดวา 1 แคลอรี่ เทากับปริมาณความรอนที่ทําใหน้ํา 1 กรัม มีอุณหภูมิสูงขึน้ 1 องศาเซลเซียส แตในทางโภชนาการพลังงานที่ไดรับจากการอาหารทีก่ ินเขาไป 1 แคลอรี่ (ใหญ) เทา กบั ปริมาณ ความรอ น ทีท่ าํ ใหนาํ้ 1 กโิ ลกรัม มอี ณุ หภมู ิสูงข้นึ 1 องศาเซลเซยี ส 5) อาหารหลัก 5 หมู อาหารเปนสิ่งจําเปนยิง่ สําหรับการเจริญเติบโต การบํารุงเลี้ยงสวน ตางๆของรางกาย มักพบวาบางคนเลือกที่จะกินและไมกินอาหารอยางหนึง่ อยางใด ซึง่ เปนการ กระทําที่ไมถูกตอง หากไมกินอาหารตามความตองการของรางกาย การกินอาหารตองคํานึงถึง คุณคาของสารอาหารมากกวา ความชอบหรือไมชอบ การเลือกกินหรือไมกินอาหารเกิดจากสาเหตุ หลายประการ ดังนี้ ความคุนเคย เราจะเลือกอาหารที่เราคุนเคยหรือกินอยูเปนประจํา และจะไมเลือกกินอะไรที่ ไมคุนเคยดังนั้นจึงมีอาหารอีกหลายอยางที่เรายังไมเคยกิน ซึง่ อาจจะอรอยถกู ปากกไ็ ด รสชาติ หรือความ “อรอย” เปนเหตุผลทีค่ นเราเลือกอาหาร ความอรอยของแตละคนจะไม เหมือนกัน อาหารอยางหนึ่งบางคนจะบอกวาอรอยแตบางคนจะเฉยๆ หรือไมอรอย ลักษณะเฉพาะของเนือ้ อาหาร อาทิ บางคนชอบอาหารกรอบ อาหารนุม บางคนชอบเคีย้ ว อาหารพวกเน้อื ที่เหนยี วๆ เปน ตน ทัศนะคติ ของคนไทยครอบครัวหรือเพื่อนจะมีอิทธิพลตอความชอบไมชอบอาหารของ ทาน อาทิในครอบครัวที่พอไมกินตนหอมหรือผักชีเลย ไปกินอาหารที่ไหนก็จะเขีย่ ตนหอมผักชี ออกจากจานทุกครั้ง ลูกๆก็จะเลียนแบบกลายเปนไมชอบไปดวย ดังนั้นเพือ่ สุขภาพเราจึงควรลองกินอาหารที่ไมเคยกินทีละอยางสองอยางโดยคํานึงถึง ประโยชนของมันมากกวา เมือ่ ไดลองกินแลวอาจะพบวาจริงๆ แลวมันก็อรอยไมแพอาหารจาน โปรด และไมเกิดปญหาสุขภาพที่เกิดจากการบริโภคอาหารไมถูกหลักโภชนาการดวย ปญหาจากการบริโภคอาหารไมถูกหลักโภชนาการไดแ ก

85 - ภาวะทุพโภชนาการ - ภาวะโภชนาการเกิน (โรคอว น) ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition) ภาวะทุพโภชนาการ หมายถึง ภาวะทีร่ างกายไดรับสารอาหารผิดเบีย่ งเบนไปจากปกติ อาจ เกิดจากไดรับสารอาหารนอยกวาปกติหรือเหตุ ทุติยภูมิ คือเหตุเนือ่ งจากความบกพรองตางจากการ กนิ การยอยการดูดซึมในระยะ 2-3 ปแรกของชีวิต จะมีผลกระทบตอระดับสติปญญา และการเรียน ภายหลัง เนื่องจากเปนระยะทีม่ ีการเจริญเติบโตของสมองสูงสุด ซึง่ ระยะเวลาทีว่ ิกฤติตอพัฒนาการ ทางรางกายของวัยเด็กมากที่สุดนั้นตรงกับชวง 3 เดือนหลังการตัง้ ครรภจนถึงอายุ 18-24 เดือนหลัง คลอด เปนระยะทีม่ ีการปลอกหุม เสนประสาทของระบบประสาท และมีการแบงตัวของเซลล ประสาทมากที่สุด เมื่ออายุ 3 ป มผี ลกระทบตอการเจรญิ เติบโต ถงึ รอยละ 80 สําหรับผลกระทบทาง รางกายภายนอกทีม่ องเห็นไดคือเด็กมีรูปรางเตีย้ เล็ก ซุบผอม ผิวหนังเหี่ยวยนเนื่องจากไขมันชั้น ผิวหนัง นอกจากนอี้ อวยั สะภายในตา งๆ ก็ไดรับผลกระทบเชน กัน 1. หวั ใจ จะพบวา กลา มเนอ้ื หวั ใจไมแ นน หนา และการบบี ตวั ไมด ี 2. ตับ จะพบไขมันแทรกอยูในตับ เซลลเนือ้ ตับมีลักษณะบางและบวมเปนน้าํ สาเหตุให ทํางานไดไมดี 3. ไต พบวา เซลลทัว่ ไปมลี ักษณะบวมนํ้าและตดิ สีจาง 4. กลามเนื้อ พบวาสวนประกอบในเซลลลดลง มีน้ําเขาแทนที่ นอกจากการขาดสารอาหารแลวการไดรับอาหารเกิน ในรายทีอ่ วนฉุก็ถือเปนภาวะทุพโภชนาการ เปนการไดรับอาหารมากเกินความตองการ พลังงานทีม่ ีมากนัน้ ไมไดใชไป พลังงานสวนเกิน เหลานั้นก็จะแปลงไปเปนคลอเรสเตอรรอลเกาะจับแนนอยูตามสวนตางๆของรางกาย และอาจ ลุกลามเขา สเู สนเลอื ด ผลทีต่ ามมากค็ ือ โรคอวน โรคเบาหวาน โรคหวั ใจ และโรคตางๆ การประเมินสภาวะโภชนาการ 1. ประวัติ ที่นําเด็กมาจากโรงพยาบาลเพื่อหาสาเหตุชักนําใหเกิดภาวะขาดสารอาหาร 2. การตรวจรางกาย เพือ่ หารองรอยการผิดปกติซึ่งเกิดจากการขาดสารอาหารและวิตตามิน การตรวจรางกาย เพือ่ ประเมินสภาวะโภชนาการของเด็กแบงไดเปน 2 ตอน คือ การตรวจรางกาย ทั่วไป กับการตรวจโดยการวัดความเจริญทางรางกาย การตรวจรางกายทั่วไปโดยแพทย จะเปนแนวทางชวยประเมินสภาวะของเด็ก และ เปนแนวทางวินิจฉัยการขาดสารอาหารและวิตามิน การตรวจโดยการวัดความเจริญทางรางกาย เปนการวัดขนาดทางรางกายคือ สวนสูง และนา้ํ หนกั เพ่อื บอกถงึ โภชนาการของเดก็ ภาวะโภชนาการเกิน

86 เมื่อคนเราบริโภคอาหารชนิดใด ชนิดหนึ่ง เกินความตองการของรางกาย จะทําใหเกิดภาวะ โภชนาการเกนิ จนเกดิ โรคได และโรคที่เกิดจากภาวะโภชนาการเกิน เปนสาเหตุของการสูญเสียชีวิต เปนจํานวนไมนอย และเปนตนเหตุของการเจ็บปวยที่ตองเสียคาใชจายในการรักษายาวนานเชน โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด ตลอดจนโรคอว น เปน ตน โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด (Cardiovascular Disease) โรคหัวใจและหลอดเลือด เปนสาเหตุการตายทีส่ ําคัญในลําดับตนๆ ของประชาชนไทยมา โดยตลอด โรคดังกลาวเปนการเปลีย่ นแปลงทางอายุรศาสตรทีเ่ กีย่ วของกับหัวใจและหลอดเลือด ซึง่ จะหมายรวมถึงโรคตางๆ และภาวะอาการของโรค เชน โรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronany heart disease) ภาวะหลอดเลือดหัวใจแข็ง (Arterioselerosis) และอาการความดันเลือดสูง (Hypertension) เปนตน โรคทีส่ ําคัญในกลุม นี้คือ โรคหลอดเลือดหัวใจหรือโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ซึ่งจัดวาเปน โรคที่เปนสาเหตุของการปวย และการตายที่สูงของประชาชนชาวไทยในปจจุบัน โรคเลอื ดหวั ใจ โรคหลอดเลือดหัวใจ เปนโรคชนิดหนึ่งที่เกิดจากหลอดเลือดแดงหัวใจแข็ง ตีบ ตัน ขาด ความ ยืดหยุน หลอดเลือดหัวใจตีบหรือตัน หรือเกิดจากลิม่ เลือดอุดตันหลอดเลือดหัวใจ จนทําให กลามเนื้อหัวใจขาดเลือด หรือทําใหกลามเนื้อหัวใจตาย โรคนี้เปนสาเหตุสําคัญของอัตราการปวย การตาย ของคนไทยในปจจุบัน และมีแนวโนมจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต สาเหตุ 1. กรรมพันธุ ผทู พี่ อแม ปยู า ตายาย ปวยเปนโรคหลอดเลือดหวั ใจจะมีความเส่ียงมากกวา ไขมนั ในหลอดเลือด ถา สงู กวา ปกติจะทาํ ใหหลอดเลือดแขง็ เสย่ี งตอการเปนโรคหลอดเลอื ดหัวใจ 2. ความดนั เลอื ดสงู 3. เบาหวาน ผูที่เปนเบาหวานมักจะเปนโรคหลอดเลอื ดหวั ใจดว ย 4. ความอวน ความอวนกับโรคหลอดเลือดหัวใจ มักจะเกิดขึ้นดวยกันเสมอ โดยเฉพาะ คนอว นทพ่ี งุ มกั จะมไี ขมนั ในเลอื ดสงู จนเปน โรคหลอดเลอื ดหวั ใจดว ย 5. ออกกําลังกายนอยหรือขาดการออกกําลังกาย การไหลเวียนเลือดไมคลองพอ การเผา ผลาญพลังงานนอย ทําใหสะสมไขมันจนกลายเปน โรค 6. ความเครียด และความกดดันในชีวิต อาจสงผลทําใหเปนโรคนี้ได 7. การสูบบหุ ร่ี สารนโิ คตนิ และทารจ ากควนั บุหรมี่ ผี ลตอการเกดิ โรคนี้ นอกจากสาเหตุที่สําคัญดังกลาว ซึง่ จัดวาเปนปจจัยทีส่ ามารถเปลีย่ นแปลงได อาจมีปจจัยเสีย่ งอืน่ ๆ ที่เปนสาเหตุของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ เชน เพศ อายุ เชื้อชาติ เปนตน จากการศึกษาพบวา เพศชายเสีย่ งตอการเกิดโรคนีม้ ากกวาเพศหญิง ยกเวนผูห ญิงในวัยหมดประจําเดือนเนือ่ งจากมี

87 ระดับฮอรโมนเอสโตรเจนลดลง มีไขมันในเลือดสูง สําหรับอายุพบวามีอัตราการเกิดโรคนีส้ ูงมาก ในผูส งู อายุ และเชื้อชาตพิ บวาในคนผิวดํามีอัตราการเกิดโรคนี้มากกวาคนผิวขาว อาการ 1. เจบ็ หนา อกเปน ๆ หายๆ หรือเจบ็ เมื่อเครียด หรือเหนื่อย ซึง่ เปนลกั ษณะอาการเรมิ่ แรก 2. เจ็บหนาอกเหมือนมีอะไรไปบีบรัด เจ็บลึกๆ ใตกระดูกดานซายราวไปถึงขากรรไกร และแขนซายถึงนิ้วมือซาย เจ็บนานประมาณ 15-20 นาที ผูป วยอาจมีเหงือ่ ออกมาก คลื่นไสหายใจ ลําบาก รูส ึกแนนๆ คลายมีเสมหะติดคอ บางครั้งมีอาการคัดจมูกคลายเปนหวัด เมื่อเปนมากจะมี อาการหนามืดคลายจะเปนลม และอาจถึงขัน้ เปนลมได บางครัง้ พอเหนื่อยก็จะรูส ึกงวงนอนและ เผลอหลบั ไดง า ย 3. ผปู ว ยมอี าการหัวใจส่ัน หวั ใจเตนไมสมํ่าเสมอ 4. ในกรณีที่รุนแรง อาการเจ็บหนาอกจะรุนแรงมาก มักจะเกิดจากการทีม่ ีลิม่ เลือดไปอุด ตันบริเวณหลอดเลือดที่ตีบ ทําใหเกิดกลามเนือ้ หัวใจตาย ผูป วยอาจมีอาการหัวใจวาย ช็อก หัวใจ หยดุ เตน ทําใหเ สยี ชีวติ อยางกะทนั หันได การปองกัน 1. หากพบวาบุคคลในครอบครัวมีประวัติเปนโรคนี้ ควรเพิม่ ความระมัดและหลีกเลีย่ ง จากปจจัยเสย่ี ง เพราะอาจกระตุน การเกดิ โรค 2. ลดอาหารท่ที าํ จากน้าํ มันสัตว กะทิจากมะพราว นํ้ามนั ปาลม และไขแดง 3. ไมควรรับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด 4. ลดอาหารจําพวกแปง คารโบไฮเดรต รับประทานอาหารพวกผัก ผลไมมากๆ 5. งดอาหารไขมนั จากสตั วแ ละอาหารหวานจดั 6. ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ 7. พักผอ นใหเพยี งพอวนั ละ 6-8 ชั่วโมง และหาวิธีผอนคลายความเครียด 8. หลีกเลีย่ งหรืองดการสบู บุหร่ี โรคอว น (Obesity) โรคอวนเปนสภาวะทีร่ างกายมีไขมันสะสมตามสวนตางๆ ของรางกายมากเกินกวาเกณฑ ปกติ ซึ่งตามหลักสากลกําหนดวาผูชายไมควรมีปริมาณของไขมันในตัวเกินกวา 12-15% ของ น้ําหนักตัว ผูห ญิงไมควรมีปริมาณของไขมันในตัวเกินกวา 18-20% ของน้ําหนักตัว ซึ่งการตรวจนี้ หากจะใหไดผลแนนอนควรไดรับการตรวจจากหองปฏิบัติการ แตนักเรียนอาจประเมินวาเปนโรค

88 อว นหรือไมด วยวธิ ีงายๆ ดวยวธิ ีตรวจสอบกบั ตารางนาํ้ หนกั และสวนสูงของกรมอนามัย ดังตารางที่ เรยี นมาแลว สําหรับในผูใ หญอาจประเมินไดจาก การหาคาดัชนีมวลกาย (Body Mass Index) ไดจาก สตู รดังนี้ _ นํา้ หนัก (กโิ ลกรัม) BMI สว นสงู 2 (เมตร) คา ทไี่ ดอยูระหวา ง 18.5-24.9 ถอื วาอยูใ นเกณฑป กติ ไมอ วนหรือผอมเกินไป สาเหตุ 1. กรรมพนั ธุ 2. การรับประทานอาหารเกินความตองการของรางกาย และมีพฤติกรรมการรับประทาน อาหารทไ่ี มด ี เชน กินจุบจบิ 3. ขาดการออกกําลังกาย 4. สภาวะทางจิตและอารมณ เชน บางคนเมือ่ เกิดความเครียดก็จะหันไปรับประทาน อาหารมากจนเกินไป 5. ผลขางเคียงจากการไดรับฮอรโมนและการรับประทานยาบางชนิด เชน ยาคุมกําเนิด ฮอรโ มนสเตียรอยด เปนตน อาการ มีไขมันสะสมอยูใ นรางกายจํานวนมาก ทําใหมีรูปรางเปลีย่ นแปลงโดยการขยายขนาดขึ้น และมนี าํ้ หนกั ตวั มากขึ้น การปองกัน 1. กรรมพันธุ หากพบวามีประวัติของบุคคลในครอบครัวเปนโรคอวน ควรตองเพิม่ ความ ระมัดระวัง โดยมีพฤติกรรมสขุ ภาพในเรอื่ งตางๆ ที่เก่ยี วของกบั โรคอว นอยา งเหมาะสม 2. รับประทานอาหารแตพอสมควรโดยเลือกรับประทานอาหารทีม่ ีประโยชน หลีกเลีย่ งอาหารรส หวานและอาหารที่มีไขมันสูง รับประทานผักและผลไมมากๆ และหลากหลาย 3. ออกกําลังกายสม่ําเสมออยางนอยสัปดาหละ 3 วนั วนั ละ 30 นาที 4. หาวิธีการควบคุมและจัดการความเครียดอยางเหมาะสม พักผอนใหเพียงพอ 5. การใชยาบางชนิดทีอ่ าจมีผลขางเคียง ควรปรึกษาแพทย และใชยาตามทีแ่ พทยแนะนําอยาง เครงครัด

89 การดูแลสขุ ภาพและมีพฤติกรรมบรโิ ภคที่ถูกตอง “ไมตามใจปากและไมตามใจอยาก” โรค อวนก็อาจไมมาเยือน การลดความอวนก็ไมจําเปน

90 บทที่ 5 โรคระบาด สาระสาํ คญั การมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปองกัน และการรักษาโรคติดตอที่แพร ระบาดและเปน ปญ หาตอ สขุ ภาพของประชาชนในชุมชน จะชว ยใหรวู ิธปี องกนั ตนเองและครอบครัว และรวมมือ ปอ งกันการแพรกระจายเชือ้ โรคไปสูบุคคลอนื่ อันจะเปน แนวทางสาธารณสุขของประเทศได ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง เพ่อื ใหผูเรียนสามารถ 1. บอกความหมาย ความสาํ คญั และการแพรก ระจายของเชอ้ื โรคได 2. อธิบายสาเหตุ อาการ การปองกัน และการรกั ษาโรคติดตอท่แี พรระบาดและเปน ปญหา สาธารณสขุ ได ขอบขายเนื้อหา ความหมาย ความสาํ คญั และการแพรก ระจายของเชอ้ื โรค โรคทเี่ ปนปญ หาสาธารณสุขของประเทศ เรอ่ื งท่ี 1 เรือ่ งที่ 2 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั และการแพรก ระจายของเชอ้ื โรค ความหมายและความสาํ คญั โรคติดตอจัดเปนปญหาสาธารณสุขทีส่ ําคัญของประเทศ เมือ่ เกิดการระบาดจะนํามาซึง่ ความสูญเสีย สุขภาพ ชีวิต และมีผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศอยางมาก เพราะขณะเจ็บปวยบุคคลนัน้ ไมสามารถเรียน

91 หรือทํางานไดตามปกติ ซึ่งจะทําใหเสียการเรียนและรายไดตามที่เคยไดรับ นอกจากนี้ ในขณะเจ็บปวยก็จะเปน ภาระของบุคคลใกลชิดหรือคนในครอบครัวในการดูแลผูป วย รวมทั้งเสียเงินในการรักษาพยาบาล ซึ่งใน ระดับชาติ ประเทศชาติตองเสียงบประมาณในการดูแลรักษาผูปวย คาเวชภัณฑ คาบุคลากร รวมถึงตองสราง อาคารสถานที่ในการดูแลผูป วย ซึ่งเปนการสูญเสียทรัพยากรที่จะสามารถนําไปใชพัฒนาประเทศดานอืน่ ๆ ได โรคติดตอสวนใหญสามารถปองกันได หากทุกคนเห็นความสําคัญ ตระหนักถึงอันตรายของโรคและมีสวนรวม ในการปองกนั แกไขปญ หาโรคตดิ ตอ ทเี่ กดิ ขน้ึ 1.1 ความหมายของโรคติดตอ โรคตดิ ตอ หมายถึง โรคทเ่ี กดิ จากเชอ้ื โรคแลวสามารถตดิ ตอ จากคนไปสบู ุคคลอืน่ ได หรอื อาจ ติดตอระหวางคนสูค น หรือสัตวสูค นได หรือติดตอระหวางสัตวดวยกันเองได โดยมีพาหะ เชน คน สัตว หรือมี ตวั กลางนําเชอ้ื โรค เปน ตน โรคระบาดเปนโรคติดตอที่แพรกระจายไปยังคนอื่น ๆ ไดรวดเร็ว บางโรคตองใชเวลาในการ รักษาเปนเวลายาวนานและใชวิธีรักษาทีซ่ ับซอน สิน้ เปลือ้ งคาใชจายในการรักษาเปนจํานวนมาก โดยโรคทีเ่ ปน สาเหตุของการเจ็บปวยและเสียชีวิตที่นับวาสําคัญ ไดแก ไขมาลาเรีย โรคไขหวัดนก โรคซารส โรค อหิวาตกโรค และโรคไขห วัดใหญสายพันธใุ หม 2009 ลักษณะของโรคตดิ ตอ 1. เชือ้ โรคสามารถแพรกระจายไปยังบุคคลอืน่ ไดอ ยา งรวดเร็ว 2. การแพรกระจายของโรคมักเกิดจากพฤติกรรมของบุคคลหรือปญหาสุขาภิบาล สงิ่ แวดลอม 3. มีอัตราการเจบ็ ปว ยคอนขางสงู และโอกาสท่จี ะเกิดโรคเปน ไดท ุกเพศทุกวยั โรคตดิ ตอ ที่ควรทราบและตองแจงความ โรคตดิ ตอ ที่ควรทราบมี 14 โรค ไดแ ก ไขท รพิษ กาฬโรค ไขเ หลือง โรคอหิวาตกโรค โรคบาด ทะยดั ในเดก็ เกดิ ใหม โรคคอตีบ โรคโปลิโอ โรคพิษสุนัขบา โรคไขสมองอักเสบ ไขรากสาดใหญ โรคแอนแทรกซ โรคทรคิ โิ นซสี โรคไขกาฬหลงั แอน โรคคุดทะราดระยะติดตอ 1.2 ชนดิ ของเชอ้ื โรค เชื้อโรคทต่ี ดิ ตอไดแ บงออกเปน 5 ชนิด คือ แบคทีเรีย ไวร สั ริกเกตเซยี รา ปรสิต แบคทีเรีย จัดอยูใ นจําพวกพืชเซลลเดียว มีขนาดเล็กมากตองใชกลองจุลทรรศนขยายจึงจะ มองเห็นได สามารถดํารงชวี ติ อยูไดใ นสภาวะแวดลอมแทบทุกอยาง ไวรัส ไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลา ตองดูดวยกลองจุลทรรศนชนิดพิเศษ เชือ้ ไวรัสจะมีอยู ทวั่ ไปในอากาศโรคทีเ่ กดิ จากเชอื้ ไวรสั มหี ลายโรค เชน ไขหวดั หดั ไขทรพษิ คางทูม ไขเลือดออก อีสกุ อใี ส เปนตน ริกเกตเซีย มีขนาดเล็กกวาแบคทีเรีย สามารถมองเห็นดวยกลองจุลทรรศนมักอาศัย อยู รวมกับส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ เชน เห็บ หมัด เหา พยาธิไสเดือน เปนตน โรคทีเกิดจากเช้ือโรคชนิดน้ีไดแก ไข รากสาดใหญ

92 รา เปน เชอ้ื โรคทจ่ี ดั อยใู นจาํ พวกพืช สามารถมองเห็นไดดวยกลองจุลทรรศน เชน ยีสต สามารถ นาํ มาใชใ นการทาํ ขนมปง แตสวนใหญทาํ ใหเ กิดโรคผวิ หนงั ตา ง ๆ เชน กลาก เกลือ้ น นํา้ กัดเทา ปรสติ จดั อยใู นจําพวกสัตว มีขนาดใหญกวาชนิดอ่ืน ๆ มีท้ังพวกเซลลเดียวและพวกหลายเซลล เชน เชอ้ื บดิ พยาธใิ บไม พยาธปิ ากขอ พยาธติ วั ตดื 1.3 การแพรกระจายของเชื้อโรค มี 2 ลักษณะคอื 1. การสัมผัสโดยตรง หมายถึง การแพรจากแหลงหนึง่ ไปยังแหลงหนึง่ โดยไมมีพาหะเปน ตวั นํา สมั ผสั โดยตรงจากผูปวย หรือนํ้าลาย นา้ํ เหลอื ง หนอง เลอื ด เชื้อโรคเขาสรู างกายแลวทําใหเ กิดโรคได 2. การสัมผัสทางออม หมายถึง การแพรโดยมีพาหะเปนตัวนํา เชน หากเชื้อโรคปะปนอยู ในนํ้า อาหาร เม่อื เรารบั ประทานอาหาร ด่ืมนา้ํ หรอื ยุงกัด เช้อื โรคกจ็ ะเขาสรู า งกายได การเขา สรู า งกายของเชื้อโรค การเขาสรู า งกายของเช้ือโรคสามารถเขา สูรา งกายได 6 ทางดว ยกนั คอื 1. ระบบทางเดนิ หายใจ เมื่อเราหายใจเอาเชื้อโรคที่ลอยอยูใ นอากาศเขาสูร างกายทําใหเกิด โรคได เชน ปอดบวม ไขหวัด ไขหวัดใหญ วัณโรค เปนตน เมื่อไอหรือจามควรปดปาก ปดจมูก นอกจากนี้การ บว นนาํ้ ลายหรือเสมหะสามารถทาํ ใหเชอ้ื โรคแพรกระจายเขา สรู า งกายได 2. ระบบทางเดินอาหาร เชื้อโรคบางชนิดอาศัยอยูในน้ําและอาหาร เมื่อเรารับประทานน้ํา หรืออาหารทีม่ ีเชือ้ โรคเขาไปเชือ้ โรคจะปนเปอ นเขาสูร างกายทําใหเกิดโรคติดตอได เชน อหิวาตกโรค บิด อจุ จาระรวง 3. ผิวหนัง เชือ้ โรคบางชนดิ สามารถเขา สรู างกายโดยผา นผิวหนังไดโดยวธิ ีการตาง ๆ เชน 1) จากการรับเลือดหรือฉีดยา เชน โรคเอดส โรคตับอกั เสบชนดิ บี 2) โดยการสัมผัส เชน โรคกลาก โรคเกลอื้ น 3) ถูกสตั วหรือแมลงกดั เชน ไขเ ลือดออก ไขม าลาเรีย 4) เขาทางรอยขีดขว นหรอื บาดแผล เชน บาดทะยัก 5) โดยการไชทะลผุ า นทางผวิ หนงั เชน พยาธปิ ากขอ 4. ทางเพศสัมพันธ ติดตอโดยการรวมประเวณีกับผูปวยทําใหติดโรคได เชน โรคเอดส กามโรค 5. ทางสายสะดือ โรคทีต่ ิดตอไดทางสายสะดือโดยติดตอจากมารดาสูล ูกที่อยูในครรภ คือ ซิฟล ิส หดั เยอรมนั 6. ทางเยอ่ื บตุ า ง ๆ เช้ือโรคบางชนิดสามารถเขาสูท างเย่ือบุตาง ๆ ได เชน เยื่อบุปาก เย่ือบุตา ทาํ ใหเกดิ โรคเชอ้ื ราในชอ งปาก โรคตาแดง

93 เร่ืองที่ 2 โรคท่เี ปน ปญหาสาธารณสขุ ของประเทศ ปจ จบุ ันมีโรคตดิ ตอท่แี พรร ะบาดจากคนสูคน และจากสัตวส ูคน ซ่ึงทาํ ใหเกิดการเจ็บปวยและ เสียชีวิตแกประชาชนจํานวนมาก โดยมีการแพรกระจายเชื้อโรคอยางรวดเร็ว จากชุมชนไปสูเมือง และจากเมือง แพรก ระจายไปยงั ประเทศตา ง ๆ เนอ่ื งจากการเดินทางติดตอระหวางกันสามารถทําไดงายและสะดวกรวดเร็ว ทํา ใหการแพรกระจายโรคเปนไปอยางรวดเร็วดวยเชนกัน โรคระบาดซึ่งเปนปญหาสาธารณสุขสําคัญของประเทศ ในปจจุบันไดแก โรคซารส โรคไขหวัดนก โรคมาลาเรีย โรคอหิวาตกโรค โรคชิคุนกุนยา โรคไขหวัด ใหญแ ละไขหวดั ใหญสายพนั ธุใหม 2009 เปนตน โรคซารส โรคซารส เกิดขน้ึ ครง้ั แรกในประเทศจีน เม่ือเดือนพฤศจิกายน ป พ.ศ. 2545 (ค.ศ.2002) และ เร่ิมแพรระบาดไปท่ัวโลกในตนป พ.ศ. 2546 (ค.ศ.2003) องคการอนามัยโลก (WHO) ไดรับรายงานเก่ียวกับผูที่ สงสัยวาจะปวยเปนโรคซารสมากกวา 2500 ราย จากเกือบ 20 ประเทศทัว่ โลก โดยผูป วย สวนใหญเปนผูท ีเ่ คย เดินทางไปยงั พน้ื ท่ที ่ีมีการระบาดของโรคในชวง 10 วัน กอนเริม่ แสดงอาการ และเปนผูท ี่อยูใ กลชิดกับผูทีส่ งสัย วา จะปวยเปนโรคซารส จาํ นวนผูเสียชวี ิตท้ังหมดทีร่ ายงานทว่ั โลกในเดอื นเมษายน ป 2546 มมี ากกวา 100 ราย เชือ้ ไวรัสซารส หองปฏิบัติการขององคการอนามัยโลก (WHO) ไดตรวจพบเชื้อไวรัสชนิด ใหมในผูป วยโรคซารส เรียกวา เชือ้ โคโรนาไวรัส เชือ้ ไวรัสซารสมีการกลายพันธุไดเร็ว ปจจุบันพบวา มีอยาง นอ ย 19 สายพันธุ เชื้อที่กลายพันธุอาจมีการกออันตรายรุนแรงขึ้นหรืออาจออนตัวลง แตสามารถอยูใ นคนเราได ยาวนาน ระยะฟกตัว องคการอนามัยโลกกําหนดระยะฟกตัวของเชื้อไวรัสซารสอยูในระยะ 2-7 วัน ไมเกนิ 10 วนั จึงมกี ารกักบรเิ วณผูต ดิ เชื้อเพอ่ื เฝาดูอาการเปนระยะเวลา 10-14 วนั อาการ อาการสําคญั ของผูปว ยโรคซารส ไดแก มไี ขต วั รอ น หนาวสั่น ปวดเม่ือยกลามเน้ือ ไอ ปวดศีรษะ และหายใจลาํ บาก สวนอาการอ่นื ทอี่ าจพบไดม ีทองเดิน ไอมีเสมหะ นาํ้ มูกไหล คล่ืนไสอ าเจียน ผูป วยที่สงสัยวาจะเปนโรคซารส ผูป วยมีอาการปวยเกีย่ วกับโรคทางเดินหายใจและสงสัยวา จะเปนโรคซารส ตอ งมีอาการตามเกณฑที่ WHO กาํ หนดไวคอื 1. มีไขสูงเกนิ 30 Cํ หรอื 100.4 Fํ และ 2. มอี าการไอ หายใจตดิ ขดั และ 3. ในชวง 10 วันกอนมีอาการ เคยไปหรืออาศัยอยูใ นพื้นทีท่ ี่มีการระบาดของโรค หรือ ใกลชิดกบั ผูท่มี อี าการปว ยเกีย่ วกบั โรคทางเดนิ หายใจซ่ึงเดินทางไปในพืน้ ทีท่ ี่มีการระบาดของโรค หรือผูท ี่สงสัย วา จะเปนโรคซารส แมวาผูปวยที่มีอาการขางตนและมีอาการคลายกับปอดบวมหรือปอดอักเสบปรากฏในฟลม เอ็กซเรย ก็ไมไดแสดงวาจะตองเปนโรคซารส นอกจากตรวจพบเชื้อไวรัสโคโรนาชนิดใหมเทานัน้ จึงจะสรุปได วาเปนโรคซารส การแพรกระจายของเชื้อโรค เช้ือโรคซารสติดตอ ไดทางระบบหายใจ และอาจตดิ ตอทางอาหารการกนิ ไดอกี ดว ย เนื่องจากมี การศกึ ษาพบวา เชอื้ นมี้ อี ยใู นนํ้าเหลอื ง อจุ จาระและปสสาวะของผปู วย เมื่ออาการปว ยยา งเขาสปั ดาหที่ 3

94 การปองกันและรักษา โรคนี้ติดตอไดโดยการสัมผัสละอองน้ําลาย เสมหะ เขาทางปากและจมูก แตเดิมเชื่อวา เชื้อ ไวรัสโคโรนาจะมชี วี ิตอยูนอกรางกายมนุษยไดไมเ กนิ 3 ชั่วโมง แตจากขอมูลการศึกษาใหม ๆ พบวา เชื้อนี้อยูได นานกวา 1 วัน โดยเฉพาะในอุจจาระและปสสาวะจะอยูไ ดนานหลายวัน การปองกัน ทีด่ ีทีส่ ุดไดแก การลาง มือ การปฏบิ ัตติ ามหลกั สขุ อนามยั อยา งเครงครดั และการใสห นา กากอนามัย ในการปอ งกันโรคซารส นัน้ มีขอแนะนําดังนี้ 1. รกั ษาสขุ ภาพใหแ ขง็ แรงอยเู สมอดว ยการรบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน ออกกําลัง กายสมาํ่ เสมอ พกั ผอ นใหเ พยี งพอ พยายามลดความเครยี ด และไมเ สพสารเสพตดิ 2. ใชผาปดปากปดจมูกทุกครัง้ เมือ่ ไอหรือจาม ขณะทีเ่ ปนหวัดควรใชหนากากอนามัยอยู เสมอ 3. รกั ษาความสะอาดของมอื อยเู สมอ ดว ยการลา งมอื บอ ย ๆ ดว ยนาํ้ สบู 4. ไมควรใชม อื ขย้ตี า แคะจมูก แคะฟน หากมีความจําเปน ตองลา งมอื ใหส ะอาดทงั้ กอนและ หลงั การกระทาํ ดงั กลา ว 5. อยาใชผาเช็ดตัวหรือผาเช็ดหนารวมกับผูอ ืน่ ถาใชกระดาษเช็ดน้าํ มูกควรทิง้ ในถังขยะมี ฝาปด 6. ใชชอนกลางเมื่อรับประทานอาหารรวมกบั ผูอน่ื 7. รักษาความสะอาดของบานเรือน ของใชในบาน เชน โทรศัพทควรเช็ดดวยผาชุบ น้ํา สะอาดบิดหมาดหรอื แอลกอฮอล 8. เปด ประตูหนาตางใหอากาศภายในบา นถายเทไดส ะดวก 9. หากมอี าการไข ไอ หรอื จาม ควรหลกี เลยี่ งสถานท่ที ี่มีคนหนาแนนหรือการระบายอากาศ ไมด ี และควรไปพบแพทยทันที 10. ในขณะเดนิ ทางอยบู นรถโดยสารไมค วรอยูใกลชดิ ผูที่เปนไข ไอ หรือจาม 11. หลีกเล่ยี งการคลุกคลใี กลชิดกบั ผูป ว ย และผูท่เี ดินทางมาจากประเทศท่ีมีการระบาด 12. งดหรือหลีกเลีย่ งการเดินทางไปตางประเทศ โดยเฉพาะประเทศทีม่ ีการแพรระบาดของ โรคนี้ การรักษา สวนใหญจะเปนการรักษาตามอาการและใชอุปกรณชวยการหายใจ (ในรายท่ีมี ภาวะหายใจลมเหลว) ไดมีการทดลองใชเซรุม จากผูป วยทีห่ ายจากโรค ซึ่งพบวาจะไดผลหากใหเซรุมในระยะ สัปดาหแรกของโรคในปจจุบันมีการทดลองผลิตยาตานไวรัสซารสโดยเฉพาะ ซึง่ อยูใ นระหวางการพัฒนาและ คาดวา จะสามารถนาํ มาใชไ ดใ นอนาคตอนั ใกล

95 โรคไขม าลาเรยี (Malaria) ไขมาลาเรียหรอื ไขจ บั สน่ั เปน โรคติดตอ ท่ีเกิดจากเชอ้ื ปรสติ จาํ พวกโปรโตซวั ชอ่ื พลาสโม เดียม (Plasmodium) ซึง่ เกิดจากยุงกนปลองเปนพาหะนําโรคมาสูค น และเปนโรคที่มีสถิติการระบาดสูงมาก โดยเฉพาะในภาคใตและในจงั หวดั ท่ีเปนปาเขาทีม่ ฝี นตกชุกอยบู อย ๆ สาเหตุ ยุงกนปลองเปนพาหะนําโรคเมือ่ ยุงกัดคนทีเ่ ปนไขมาลาเรียแลวไปกัดคนอืน่ ก็จะแพรเชื้อ ใหกับคนอน่ื ๆ ตอไป อาการ ผทู ี่ไดร บั เชื้อไขม าลาเรยี จะมีอาการวิงเวียนศีรษะ ออนเพลีย มีไขสูง หนาวส่ัน อาเจียน และมี เหง่ือมาก บางรายที่เปน ชนดิ รุนแรงมไี ขสูงขน้ึ สมอง อาจมีอาการเพอ ชัก หมดสตหิ รอื ตายในท่ีสุด บางรายไมตาย แตเพอคลัง่ เสียสติ และความจาํ เสื่อม การติดตอ ติดตอโดยยุงกนปลอ งตัวเมยี ไปกัดและกนิ เลอื ดคนท่เี ปนไขม าลาเรยี แลวไดรับเช้ือมาลาเรียมา จากคนทเ่ี ปนไข เช้อื นน้ั จะเจริญในตัวยงุ ประมาณ 10 วนั กจ็ ะมอี าการไขม าลาเรยี การปอ งกนั 1. นอนในมุงอยาใหยุงกัดได 2. ทาํ ลายแหลง เพาะพนั ธยุ ุง เชน ภาชนะทมี่ นี าํ้ ขงั ใหห มดไป 3. เมื่อเขาปา หรือแหลง ท่มี ไี ขม าลาเรียระบาด ระวังอยาใหยงุ กดั โดยใชยากนั ยุงทา 4. ผอู ยใู นพนื้ ทแี่ หลงไขมาลาเรียระบาดควรปลกู ตนตะไครหอมไวก นั ยงุ 5. ถาสงสัยวาเปนไขมาลาเรีย ควรไปรับการตรวจเลือด และรับการรักษาเพื่อปองกันการ แพรตอไปยงั ผอู ื่น การรกั ษามาลาเรยี เนอ่ื งจากในปจจุบันพบเช้อื มาลาเรียทดี่ ้อื ตอยา และอาจมีโรคแทรกซอ นรายแรง (เชน มาลาเรยี ขน้ึ สมอง) โดยเฉพาะอยา งยิง่ สาํ หรับผทู ่ีอยูในเมอื ง ซึ่งไมมภี ูมติ า นทานโรคน้ี ดงั นน้ั ถา หากมอี าการนา สงสยั เชน มีไขหลังกลับจากเขตปาเขาหรือเขตมาลาเรีย ก็ควรรีบไป หาหมอเพื่อตรวจหาเชอ้ื โรคไขหวดั นก (Avian Influenza หรอื Bird Flu) เม่ือ 20 ปที่ผานมา ไดเกิดโรคระบาดที่เกิดจากเชือ้ ไวรัสชนิด H5N1 ทีเ่ รียกวาไขหวัดนกและ ระบาดไปทัว่ โลก เดิมเชือ้ ไขหวัดนกเปนเชื้อไวรัสโดยธรรมชาติจะติดตอในนกเทานัน้ โดยเฉพาะนกปา นกเปดน้ํา จะเปนพาหะของโรค เชือ้ จะอยูใ นลําไสนก โดยที่ตัวนกไมมีอาการ แตเมือ่ นกเหลานีอ้ พยพไปตาม แหลง ตา ง ๆ ทัว่ โลก กจ็ ะนําเช้ือนน้ั ไปดวย เม่ือสัตวอ่นื เชน ไก เปด หมู หรือสัตวเลี้ยงอื่น ๆ ไดรับเช้ือไขหวัดนก กจ็ ะเกดิ อาการ 2 แบบ คือ 1. หากไดรบั เชื้อชนดิ ไมร นุ แรงสตั วเลี้ยงนั้นอาจจะมีอาการไมม ากและหายไดเอง

96 2. หากเช้ือทไ่ี ดร บั มีอาการรุนแรงมากก็จะทําใหสัตวเ ลี้ยงตายไดภายใน 2 วนั ปจจุบันมีการระบาดของไขหวัดมากกลับมาอีกครั้ง โดยเชื้อโรคไดแพรไปทั่วโลก เกิด การระบาดของเช้อื ไขหวดั นกชนดิ H5N1 ในไกและแพรก ระจายสูคนทาํ ใหมีผเู สียชีวิตจํานวนมากท่ัวไป จนมีการ เฝาระวังโดยหากทราบวามีไกต ายดว ยเช้อื ไขห วัดนก จะตองรบี แจง เจา หนาทีร่ ฐั และมกี ารควบคุมการแพรเ ชื้อโรค ดวยการทําลายไกในพื้นที่นั้น ๆ ทันที เชน การฝงกลบและฉีดพนสารฆาเชื้อเพือ่ ตัดวงจรการแพรระบาดสูค น ตอ ไป โรคไขหวดั นก เปน โรคติดตอ ของสตั วปก ตามปกติโรคน้ตี ิดตอ มายังคนไดไ มง ายนกั แตคนที่ สัมผัสใกลชิดกบั สัตวท ่ีเปน โรคอาจตดิ เชื้อได สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเอ็ชไฟวเอ็นวัน (H5N1) พบในนก ซึง่ เปนแหลงเชือ้ โรคในธรรมชาติ โรคอาจแพรมายังสตั วปก ตา ง ๆ ได เชน ไกท เี่ ลย้ี งอยใู นฟารม เลี้ยงตามบา นและไกช น รวมทั้งเปดไลท งุ ดวย ระยะฟกตวั ระยะฟกตวั ในคน 1 ถงึ 8 วนั อาการ ผูป วยมีอาการคลายไขหวัดใหญ ไขสูง หนาวสัน่ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกลามเนือ้ ออนเพลีย เจ็บคอ ไอ ผูป วยเด็กเล็ก ผูส ูงอายุ หรือผูท ี่มีโรคประจําตัว หากมีภูมิคุม กันไมดี อาจมีอาการรุนแรงได โดยจะมี อาการหอบ หายใจลาํ บาก เนอ่ื งจากปอดอกั เสบรนุ แรง การติดตอ โดยการสัมผัสซากสัตวปกที่ปวยหรือตาย เชื้อทีอ่ ยูใ นน้ํามูก น้าํ ลาย และมูลสัตวปวย อาจติด มากับมือ และเขา สรู างกายทางเยือ่ บุของจมูกและตา ผูที่เส่ียงตอโรคไขหวัดนก ไดแก ผูที่ทํางานในฟารมสัตวปก ผูท่ฆี าหรอื ชําแหละสตั วปก ผูเ ลี้ยงสตั วปก ในพืน้ ที่ทเี่ กดิ โรคไขหวดั นกระบาด การปอ งกนั 1. รบั ประทานอาหารประเภทไกและไขที่ปรุงสุกเทานั้น โดยเฉพาะชวงที่มีการระบาดของ โรค 2. ควรเลือกซ้ือไกสดทไ่ี มม ีลักษณะบง ชวี้ า อาจตายดวยโรคติดเชอ้ื เชน เน้ือมีสีคลํ้า มีจุด เลือดออก สําหรับไข ควรเลอื กฟองทไ่ี มม ีมูลไกต ดิ เปอ นท่เี ปลือกไข กอ นปรงุ ควรนาํ มาลา งใหสะอาด 3. ไมเ ลน คลุกคลหี รือสมั ผัสตวั สัตว นํ้ามูก น้าํ ลาย มูลของไกและสัตวปก โดยเฉพาะสัตวที่ ปวยหรือตาย รวมทง้ั บรเิ วณทเี่ ลี้ยงสัตวปก ดว ย

97 4. อาบน้ําใหสะอาดและเปลีย่ นเสื้อผาทุกครั้งหลังสัมผัสหรือคลุกคลีกับสัตวปก ทุก ชนดิ 5. หามนาํ สตั วป ก ท่ีปวยหรอื ตายมารบั ประทาน หรือปรุงเปนอาหารอยางเดด็ ขาด 6. รักษาความสะอาดในบาน ในสถานประกอบการ และบริเวณรอบ ๆ ใหสะอาด อยู เสมอ 7. กําจัดสัตวที่ปวยหรือตายผิดปกติ ดวยการเผาหรือฝงอยางถูกวิธีและราดดวยน้าํ ยาฆาเชือ้ โรคหรือโรยดวยปูนขาว 8. หากพบไก เปด หรือสตั วป ก ตายจาํ นวนมากผดิ ปกตใิ หรีบแจงเจา หนาที่ ผูนาํ ชมุ ชน ทันที ผลกระทบเมื่อมกี ารระบาดของไขห วดั นก 1. เมื่อเกิดการระบาดของไขหวัดนกจากคนสูคน เชื้อจะติดตอโดยการจามหรือไอ จากนั้น คนท่ไี ดรับเชือ้ อาจจะแพรเช้ือโดยที่ยังไมมีอาการ ทําใหเช้อื ระบาดไปท่วั โลกไดอ ยา งรวดเรว็ 2. ประมาณวาจะมปี ระชากรโลกตดิ เชอ้ื รอ ยละ 25-30 โดยคาดวา จะมีคนเสยี ชวี ิตจากการติด เชอื้ น้ีประมาณ 2 – 7.4 ลานคนท่ัวโลก ซึง่ หากเช้ือมีความรุนแรงก็อาจจะมคี นเสียชีวิตมากกวา นี้ 3. จํานวนเตียงของโรงพยาบาลจะไมเพียงพอ ทําใหขาดบุคลากรดานการรักษาพยาบาล รวมทง้ั การดูแลรักษาจะไมท ัว่ ถงึ 4. จะขาดแคลนเวชภณั ฑ ยาปฏชิ ีวนะหรือวคั ซนี ทใ่ี ชในการรักษา 5. เกิดปญ หาตอเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศนัน้ ๆ 6. การชวยเหลือจากนานาชาติอาจทําไดนอยลง เนือ่ งจากแตละประเทศก็ตองดูแลและ หวงใยประชาชนของตนเอง สรปุ คนตดิ เชื้อโรคไขหวดั นกไดอยา งไร เมือ่ นําปาหรือนกน้ําอพยพไปอาศัยที่ใดก็จะถายอุจจาระทีม่ ีเชือ้ โรค สัตวเลีย้ ง เชน ไก เมือ่ ไดรับเชือ้ โรคก็จะเกิดการติดเชือ้ ซึง่ สามารถแพรสูค นได เมือ่ ไกตายหรือปวย อาจมีการสัมผัสไกเหลานัน้ หรือ นําไปบริโภคโดยทีไ่ มไดทําใหสุกเสียกอน ก็จะทําใหคนติดเชื้อไขหวัดนกจากไก นอกจากนีก้ ารติดตออาจเกิด ขณะทาํ การเชอื ดไก ถอนขนไกห รอื ทําความสะอาดเครอื่ งในไกได อยา งไรกต็ าม โรคไขหวดั นกเปน โรคติดตอของสตั วป ต ามปกติ เช้ือโรคนจี้ ะติดตอมายงั คนได ไมงายนัก หากมีการระมัดระวังไมสัมผัสไกปวย ไกตายหรือไกที่มีเชื้อโรคโดยตรง หรือรับประทานไกทีป่ รุงสุก ในอุณหภูมิ 70 ํC ข้นึ ไปก็จะปลอดภยั จากโรคไขห วัดนกได

98 อหวิ าตกโรค อหิวาตกโรค (Cholera) คือ โรคระบาดชนิดหนึง่ มีอาการทองรวง อาเจียน รางกายจะขับน้ํา ออกมาเปน จาํ นวนมาก อหวิ าตกโรคเปน โรคในระบบทางเดินอาหารทเี่ กดิ ขึ้นเฉยี บพลัน เกิดจากเชื้อแบคทเี รยี ใน สาย พันธุเ ฉพาะชื่อ ไวบริโอ คอเลอรี (Vibrio cholerae) โดยทัว่ ไปมีอาการไมมาก แตประมาณ 1 ใน 10 ราย อาจเกิด อาการทอ งเสยี อยา งรนุ แรง อาเจียน และเปน ตะคริวที่ขาได เปนผลไมเกิดการสูญเสียนํ้าและเกลือแรอยางรวดเร็ว เกิดภาวะขาดนา้ํ และหมดสติ ถาไมไดรบั การรกั ษาอาจถึงแกช วี ติ การติดตอและแพรกระจายของเชอ้ื โรค อหิวาตกโรคติดตอไดจากการรับประทานอาหารหรือดืม่ น้าํ ที่ปนเปอ นอุจจาระหรืออาเจียน ของผตู ิดเชือ้ หรือโดยการรับประทานหอยดบิ ๆ จากแหลงนํ้าที่มีเช้ือนี้ แตไมติดตอโดยการ สัมผัสผิวเผินกับผูติด เชอื้ การระบาดมกั เกดิ ในบรเิ วณท่มี ีระบบทอ ระบายอุจจาระและแหลง นาํ้ สะอาดไมเ พยี งพอ ไมก่ีป มานี้โรคอหิวาตกโรคเกิดระบาดตอเนื่องกันหลายครั้งในพื้นที่บางแหงของทวีปแอฟริกา เอเชีย อเมริกาใต และ อเมรกิ ากลาง (แมตามปกติจะมีแหลงน้าํ สะอาดพอเพียง แตอหิวาตกโรคก็อาจเกิดขึ้นหลังจากมีภัยธรรมชาติ เชน แผนดินไหวหรือน้ําทวมได) อยางไรก็ดี ผูท ี่เขาไปในบริเวณแพรระบาด ของโรค แตระมัดระวังเรือ่ งการกิน อาหารก็มคี วามเสีย่ งทจ่ี ะตดิ เช้อื นอ ย ระยะเวลาฟกตวั ผูท ีไ่ ดรับเชื้อจะเกิดอาการไดตัง้ แต 24 ชัว่ โมง ถึง 5 วัน แตโดยเฉลี่ยแลวจะเกิดอาการภายใน 1-2 วนั อาการ 1. เปนอยางไมรุนแรง พวกนีม้ ักหายภายใน 1 วัน หรืออยางชา 5 วัน มีอาการถายอุจจาระ เหลวเปนน้ํา วันละหลายครั้ง แตจํานวนอุจจาระไมเกินวันละ 1 ลิตร ในผูใ หญอาจมีปวดทองหรือเคลื่อนไส อาเจยี นได 2. เปนอยางรุนแรง อาการระยะแรก มีทองเดิน มีเนือ้ อุจจาระมาก ตอมามีลักษณะเปนน้ํา ซาวขา ว เพราะวา มมี ูกมาก มีกล่นิ เหม็นคาว ถายอุจจาระไดโ ดยไมม อี าการปวดทอง บางครง้ั ไหลพุงออกมาโดยไม รูสึกตัว มีอาการอาเจียนโดยไมคลื่นไส อุจจาระออกมากถึง 1 ลิตรตอชัว่ โมง และจะหยุดเองใน 1-6 วัน ถาไดน้ํา และเกลือแรชดเชยอยางเพียงพอ แตถาไดน้ําและเกลือแรทดแทนไมทันกับที่เสียไป จะมีอาการขาดน้าํ อยางมาก ลุกนง่ั ไมไหว ปส สาวะนอย หรือไมมเี ลย อาจมอี าการเปน ลม หนา มดื จนถงึ ชอ็ ก ซ่ึงเปนอันตรายถึงชวี ิตได ขอ ควรปฏิบตั ิเม่ือเกิดอาการทองเสีย 1. งดอาหารท่ีมีรสจัดหรือเผด็ รอ น หรือของหมกั ดอง 2. ดม่ื นาํ้ ชาแกแ ทนนาํ้ บางรายตอ งงดอาหารชว่ั คราว เพอ่ื ลดการระคายเคอื งในลาํ ไส 3. ดม่ื น้ําเกลือผง สลับกับน้าํ ตมสุก ถา เปน เด็กเล็กควรปรึกษาแพทย

99 4. ถาทอ งเสยี อยางรุนแรง ตองรบี นาํ สงแพทยด ว น การปองกนั 1. รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม ๆ และดื่มน้ําสะอาด เชน น้ําตมสุก ภาชนะที่ใสอาหาร ควรลางสะอาดทุกครั้งกอนใช หลีกเลี่ยงอาหารหมักดอง สุก ๆ ดิบ ๆ อาหารที่ปรุงทิ้งไวนาน ๆ อาหารที่มี แมลงวนั ตอม 2. ลางมือฟอกสบูใหส ะอาดทุกครงั้ กอ นกินอาหารหรือกอนปรุงอาหารและหลงั เขาสวม 3. ไมเทอุจจาระ ปสสาวะและสิ่งปฏิกูลลงในแมน้าํ ลําคลอง หรือทิ้งเรีย่ ราด ตองถายลงใน สวมที่ถูกสขุ ลกั ษณะและกําจัดส่ิงปฏิกลู โดยการเผาหรอื ฝง ดิน เพอื่ ปองกันการแพรของเช้อื โรค 4. ระวังไมใหนา้ํ เขาปาก เมอ่ื ลงเลนหรืออาบนํ้าในลําคลอง 5. หลกี เล่ียงการสมั ผัสผปู ว ยทีเ่ ปนอหิวาตกโรค 6. สาํ หรบั ผทู ่สี มั ผสั โรคน้ี ควรรบั ประทานยาท่ีแพทยใ หจนครบ การรกั ษาทางการแพทย การรักษาฉุกเฉิน คือ การรักษาภาวะขาดน้ําโดยดวน ดวยการใหน้ําและเกลือแรทดแทนการ สูญเสียทางอจุ จาระ ถาผปู ว ยอยูใ นภาวะขาดน้ํารนุ แรง ตองใหน้าํ ทางเสน โลหิตอยา งเรงดว น จนกวาปริมาณนํ้าใน รา งกาย ความดนั โลหติ และชพี จรจะกลบั สภู าวะปกติ สาํ หรับผปู ว ยในระดับปานกลางทวั่ ไป การใหด ืม่ นาํ้ เกลือแรทดแทนจะใหผลดี สวนผสมของ นํ้าเกลือแรส ูตรมาตรฐานไดแก กลูโคส 20 ก. โซเดียมคลอไรด 3.5 ก. โปแตสเซยี ม 1.5 ก. และโตรโซเดยี มซิเทรต 2.9 ก. หรือโซเดียมไบคารบ อเนต 2.5 ก. ตอ นา้ํ สะอาด 1 ลติ ร โรคชคิ นุ กนุ ยา (Chikungunya) การติดเชื้อ Chikungunya virus เดิมมีรกรากอยูในทวีปอาฟริกา ในประเทศไทยมีการตรวจพบ ครั้งแรกพรอมกับที่มีไขเลือดออกระบาดและเปนครั้งแรกในทวีปเอเชีย เมื่อ พ.ศ. 2501 โดย Prof.W McD Hamnon แยกเชอ้ื ชคิ นุ กนุ ยา ไดจ ากผปู ว ยโรงพยาบาลเดก็ กรงุ เทพมหานคร ลักษณะโรค โรคชิคุนกุนยา เปนโรคติดเชือ้ ไวรัสชิคุนกุนยาทีม่ ียุงลายเปนพาหะนําโรค มีอาการคลายไข แดง แตตางกันที่ไมมีการรั่วของพลาสมาออกนอกเสนเลือด จึงไมพบผูปวยที่มีอาการรุนแรงมากจนถึงมีอาการ ชอ็ ก สาเหตุ เกิดจากเช้ือไวรัสชคิ นุ กนุ ยา (Chikungunya virus) โดยมยี งุ ลาย เปน พาหะนาํ โรค วธิ ีการติดตอ ติดตอกันไดโดยมียุงลาย Aedes aegypti เปนพาหะนําโรคทีส่ ําคัญ เมือ่ ยุงลายตัวเมียกัดและดูด เลือดผูป วยที่อยูใ นระยะไขสูง ซึง่ เปนระยะที่มีไวรัสอยูใ นกระแสเลือด เชือ้ ไวรัสจะเขาสูก ระเพาะยุง และเพิม่

100 จาํ นวนมากขน้ึ แลว เดนิ ทางเขา สูต อมน้าํ ลาย เมือ่ ยุงทีม่ ีเชือ้ ไวรัสชิคุนกุนยาไปกัดคนอืน่ ก็จะปลอยเชื้อไปยังคนที่ ถูกกดั ทําใหคนน้ันเกิดอาการของโรคได ระยะฟกตัว โดยทว่ั ไปประมาณ 1-12 วัน แตท ่ีพบบอ ยประมาณ 2-3 วนั ระยะตดิ ตอ ระยะไขส ูงประมาณวนั ที่ 2-4 เปนระยะท่ีมีไวรัสอยูในกระแสเลือดมาก อาการและอาการแสดง ผปู วยจะมอี าการไขสูงอยา งฉับพลัน มผี นื่ แดงข้ึนตามรางกายและอาจมีอาการคันรวมดวย พบ ตาแดง (conjunctiva injection) แตไ มค อ ยพบจดุ เลอื ดออกในตาขาว สวนใหญแลวในเด็กจะมีอาการไมรุนแรงเทาใน ผูใ หญ ในผใู หญอาการที่เดนชัดคืออาการปวดขอ ซึ่งอาจพบขออักเสบได สวนใหญจะเปนที่ขอเล็ก ๆ เชน ขอมือ ขอเทา อาการปวดขอจะพบไดหลาย ๆ ขอ เปลี่ยนตําแหนงไปเรื่อย ๆ อาการจะรุนแรงมากจนบางครั้งขยับขอ ไมไ ด อาการจะหายภายใน 1-12 สปั ดาห ผปู ว ยบางรายอาจมีอาการปวดขอเกิดขึ้นไดอีกภายใน 2-3 สัปดาหตอมา และบางรายอาการปวดขอ จะอยไู ดนานเปนเดอื นหรือเปน ป ไมพบผูปวยท่ีมีอาการรุนแรงถึงช็อก ซึ่งแตกตางจาก โรคไขเลอื ดออก โรคนจี้ ะพบมากในฤดฝู น เมอ่ื ประชากรยงุ เพิม่ ขนึ้ และมีการตดิ เช้อื ในยุงลายมากขึ้น พบโรคนี้ ไดใ นทุกกลุมอายุ ซ่ึงตางจากไขเ ลือดออกและหัดเยอรมนั ทส่ี วนมากพบในผอู ายนุ อยกวา 15 ป ในประเทศไทยพบ มีการระบาดของโรคชิคุนกุนยา 6 คร้ัง ในป พ.ศ. 2531 ที่จังหวัดสุรินทร พ.ศ. 2534 ทีจ่ ังหวัดขอนแกนและ ปราจนี บุรี ในป พ.ศ. 2536 มกี ารระบาด 3 ครั้ง ที่จังหวัดเลย นครศรีธรรมราช และหนองคาย และกลับมาระบาด อกี ในป พ.ศ. 2551 การรักษา ไมม กี ารรกั ษาทจ่ี าํ เพาะเจาะจง (specific treatment) การรักษาเปนการรักษาแบบประคับประคอง (supportive treatment) เชน ใหย าลดอาการไข ปวดขอ และการพกั ผอ น การปองกัน การปอ งกนั ท่ดี คี วรปฏบิ ัติเชน เดยี วกับการปอ งกันโรคไขเลือดออก คือ ทําลายแหลงเพาะพันธุ ยุงลาย และนอนกางมุง หรือนอนในหองที่มีมุง ลวด หากตองออกไปในทีม่ ียุงชุกชุม ควรทายากันยุงปองกันทุก ครัง้ โรคไขห วัดใหญและไขห วดั ใหญส ายพนั ธใุ หม 2009 โรคไขหวัดใหญ โรคไขหวัดใหญ เปนโรคติดเชือ้ ระบบทางเดินหายใจ เกิดจากเชือ้ ไวรัส พบไดทั้งเด็กและ ผูใ หญ สามารถติดตอกนั ไดงา ยจะมีอาการรุนแรงกวาโรคหวดั ธรรมดา ผูปวยจะมีไขส ูง ปวดศรี ษะ ปวดเมื่อยกลามเนอื้ ออ นเพลีย คัดจมูก น้ํามูกไหล ตาแดง ไอ จาม บางรายอาจมีอาการคลืน่ ไส อาเจียน เบื่ออาหาร ทองเดิน และอาจมีโรคแทรกซอนได เชน หลอดลมอักเสบ กลามเนื้อหัวใจอักเสบ ปวดบวม ตอมทอนซิลอักเสบ เปนตน ซึ่งภาวะแทรกซอนเหลานีม้ ักเกิดในเด็กเล็ก คน สูงอายุ ผูปวยเบาหวาน คนท่ีสูบบุหรี่จัด หรือผูปว ยทีเ่ ปนโรคปอดเรื้อรัง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook