Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 102วิทยาศาสตร์และเทคดนโลยีเพื่อป้องกันภัยพิบัติ

102วิทยาศาสตร์และเทคดนโลยีเพื่อป้องกันภัยพิบัติ

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-05-20 10:32:26

Description: 102วิทยาศาสตร์และเทคดนโลยีเพื่อป้องกันภัยพิบัติ

Search

Read the Text Version

100 ตารางท่ี 3 สถติ ิสถานการณอทุ กภัย ระหวา งป พ.ศ. 2545-2553 จำนวน จำนวน บาดเจบ็ ความเสยี หาย ป พ.ศ. (จังหวัด) (คน) เสียชีวิต มูลคา 0 (คน) (ลา นบาท) (ครง้ั ) 72 10 66 3 216 13,385.31 2545 5 59 0 44 2,050.26 2546 17 63 1,462 28 850.65 2547 12 58 17 75 5,982.28 2548 12 54 0 446 9,627.41 2549 6 65 22 36 1,687.86 2550 13 64 1,665 113 7,601.79 2551 6 74 53 5,252.61 2552 5 266 16,338.77 2553 7 หมายเหตุ: ขอมูลรวมของป 2554 ยังอยูร ะหวางจดั ทำ ที่มา: กรมปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย สำหรับปี 2554 ซึ่งเป็นปีที่ประเทศไทยประสบปัญหาอุทกภัย อยา งรนุ แรง มรี ายละเอยี ดเพ่มิ เติม ท่ีสามารถสรปุ ตามลำดับเวลาทเ่ี กดิ ข้ึน ดงั นี้ • เดอื นมนี าคม อยใู นชวงฤดูรอน แตในปน บ้ี ริเวณประเทศไทยตอนบน มีอากาศหนาวเย็นเกือบตลอดเดือน และมีฝนตก ในบางชว ง เนอ่ื งจากอทิ ธพิ ลของบรเิ วณความกดอากาศ สูงจากประเทศจีนที่แผลงมาปกคลุมประเทศไทย ตอนบนเปนระยะๆ ในขณะเดียวกนั มหี ยอ มความกด อากาศต่ำกำลังแรงปกคลุมบริเวณภาคใตตอนกลาง ทำใหบริเวณภาคใตมีฝนตกชุกหนาแนนเกือบตลอด เดอื น โดยมีฝนหนักถึงหนกั มากตอ เน่ืองในหลายพ้ืนท่ี กอใหเกิดอุทกภัยเปนบริเวณกวางและรุนแรงเปน ประวัติการณ์ บริเวณจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพอื่ การบริหารจัดการภัยพบิ ตั ิ 101 นครศรธี รรมราช สงขลา พทั ลุง นราธิวาส ยะลา ตรงั พังงา กระบี่ และสตลู นอกจากนี้ยงั มีรายงานดินโคลน ถลมในจังหวัดชมุ พร สรุ าษฎรธ านี ตรังและกระบี่ โดย ปริมาณฝนรวมท้ังประเทศของเดือนมีนาคมปนี้มาก ทีส่ ดุ ในรอบ 36 ป (พ.ศ.2519-2554) และหลายพน้ื ที่มี ปริมาณฝนมากทส่ี ดุ ใน 24 ช่ัวโมง ตอมาในช่วงฤดูฝนปี 2554 นี้หลายพื้นที่ของ ประเทศไทยมีฝนตกสมำ่ เสมอ หลายพนื้ ที่ปริมาณฝน มากกวา คาปกติ 40-50% และในปน ี้ไมมีฝนทงิ้ ชว ง อยา งทเ่ี คยปรากฏ ในภาพรวมแลว ประเทศไทยตอนบน มีฝนมากเกินความตองการโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จากอิทธพิ ลของมรสุม ตะวนั ตกเฉยี งใต รอ งความกดอากาศตำ่ พายหุ มนุ เขตรอ น ทเี่ คลือ่ นผานและท่ีเคล่ือนเขามาใกลมีอยางตอ เนอ่ื ง • เดือนมิถนุ ายน ไดรบั อิทธพิ ลจากพายโุ ซนรอ น “ไหหมา” (HAIMA) ท่ี เคล่ือนขึ้นฝงบริเวณประเทศเวียดนามตอนบนเม่ือวันท่ี 24 แล้วอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันเคลื่อนผ่าน ประเทศลาวและออนกำลังลงเปนหยอมความกด อากาศต่ำ กำลงั แรงบริเวณประเทศลาว เมอื่ วนั ท่ี 26 จากน้ันไดเคล่ือนเขาปกคลุมบริเวณจังหวัดนานแลว สลายตัวไปในวันเดียวกัน พายุลูกนี้สงผลใหหลาย จงั หวดั บรเิ วณประเทศไทยตอนบนโดยเฉพาะภาคเหนอื มีฝนตกหนักถึงหนักมากตอเนื่องและบางพื้นท่ีมี ปริมาณฝนมากทส่ี ุดใน 24 ช่วั โมง สูงกวาสถติ ิเดิม ที่เคยตรวจวัดไดของเดือนเดียวกันโดยปริมาณฝน สูงสุดใน 24 ชว่ั โมงวัดได 335.2 มิลลิเมตรที่อุทยาน แหง ชาตดิ อยภูคา อาเภอปว จงั หวดั นา น เมอ่ื วนั ท่ี 25

102 และมรี ายงานนำ้ ทว มฉบั พลนั นำ้ ปา ไหลหลากและดนิ ถลม ในบรเิ วณจังหวัดแพร เชยี งราย พะเยา นา น ตาก และสุโขทัย มผี ูเสียชวี ิตรวม 3 ราย ประชาชนไดร ับ ความเดอื ดรอ น 105,703 ครัวเรือน 411,573 คน พื้นที่เกษตรเสียหาย 159,598 ไร่ (กรมปองกัน และบรรเทาสาธารณภยั ขอมลู ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2554) • เดอื นกรกฎาคม ชว งปลายเดือนประเทศไทยไดรับอิทธิพลจาก พายุ โซนรอ น “นกเตน” (NOCK-TEN) ซึ่งเคล่อื นตวั ขนึ้ ฝง บริเวณประเทศเวียดนามตอนบน ผ่านประเทศลาว แลวออนกำลังลงเปนพายุดีเปรสชันกอนเคลื่อนเขาสู ประเทศไทยบริเวณจังหวดั นานในวนั ท่ี 31 และออน กำลังลงเปนหยอมความกดอากาศต่ำและปกคลุม ภาคเหนือของประเทศไทยบริเวณจังหวัดเชียงใหม และแม่ฮ่องสอนในเวลาต่อมา ทำให้ประเทศไทยมี ฝนตกชุกหนาแนนกับมีฝนตกหนักถึงหนักมากบาง พนื้ ที่ โดยเฉพาะบริเวณภาคเหนอื และภาคตะวนั ออก เฉียงเหนือตอนบนมีฝนหนักถึงหนักมากหลายพ้ืนท่ี ปริมาณฝนมากทส่ี ดุ ใน 24 ช่วั โมง วดั ไดทีอ่ ำเภอเมอื ง จังหวัดหนองคาย เมือ่ วนั ท่ี 30 สงู ถึง 405.9 มิลลเิ มตร ซงึ่ ทำลายสถติ เิ ดิมในรอบปข องจังหวัดหนองคาย และ มรี ายงานน้ำทว มบรเิ วณจงั หวัดแมฮ อ งสอน นาน แพร อุตรดติ ถ พษิ ณุโลก พจิ ิตร หนองคาย เลย อดุ รธานี สกลนคร และนครพนม • เดอื นสงิ หาคม ประเทศไทยไดรับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต และรอ งความกดอากาศตำ่ กำลงั คอ นขา งแรงทพ่ี าดผา น ประเทศไทยตอนบน ทำใหม ฝี นตกชกุ หนาแนน เกือบ

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพอ่ื การบริหารจัดการภัยพิบัติ 103 ตลอดเดือนโดยเฉพาะบริเวณภาคเหนือและภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือมีรายงานฝนหนักถึงหนักมากเปน ระยะๆ จนเกิดนำ้ ทวมตอเนื่องในหลายพนื้ ที่ • เดือนกนั ยายน นอกเหนือจากมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต และรอ งความกด อากาศตำ่ แลว ประเทศไทยไดรับอิทธิพลจากพายหุ มนุ เขตรอ นอกี 2 ลกู คอื พายุโซนรอ น “ไหถ าง” (HAITANG) โดยพายนุ ไ้ี ดเ คลอ่ื นขน้ึ ฝง บรเิ วณเมอื งเว ประเทศเวยี ดนาม ในวนั ท่ี 27 แลวออ นกำลงั ลงเปน พายดุ เี ปรสชันกอ น เคล่ือนตัวผานประเทศลาวแลวออนกำลังลงเปนหยอม ความกดอากาศต่ำกำลังแรงเคล่ือนเขาปกคลุมภาค ตะวันออกเฉยี งเหนือ และภาคเหนือของประเทศไทย ในวนั ที่ 28 นอกจากนไี้ ตฝนุ “เนสาด” (NESAT) ได เคลือ่ นตวั ผานอา วตังเก๋ยี ขึน้ ฝง เมืองฮาลอง ประเทศ เวียดนามในขณะมีกำลังแรงเปนพายุโซนรอนในวันท่ี 30 ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้นึ จากพายทุ ้ัง 2 ลูก สงผลให ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ต อ น บ น มี ฝ น ต ก ชุ ก ห น า แ น น โ ด ย มี รายงานฝนหนักถึงหนักมากเป็นระยะๆ ต่อเนื่อง จากเดอื นท่ีผา นมา และมรี ายงานนำ้ ทว มเปนบรเิ วณ กว้างและต่อเนื่องในหลายพื้นที่ บางพื้นที่น้ำท่วม อยางไมเ คยปรากฏมากอ น • เดอื นตุลาคม จากฝนท่ตี กตอเน่ือง สงผลใหปรมิ าณฝนสะสมของ ประเทศไทยต้งั แตวนั ท่ี 1 มกราคม-31 ตลุ าคม 2554 มีปรมิ าณฝนรวม 1,822.4 มลิ ลิเมตร สงู กวา คา ปกติ 28 เปอรเซนต โดยบรเิ วณภาคเหนือมีปรมิ าณฝน 1674.5 มลิ ลเิ มตรสงู กวา คา ปกตถิ งึ 42 เปอรเ ซนต สว นภาคกลาง มปี ริมาณฝน 1,508.6 มิลลิเมตรสูงกวาคาปกติ 26 เปอรเ ซน็ ต

104 จากปรมิ าณฝนสะสมขา งตน ทำใหเ กดิ อทุ กภยั ทร่ี นุ แรง สง ผลกระทบ ตอ บรเิ วณลมุ แมน ำ้ เจา พระยาและลมุ นำ้ โขง เรม่ิ ตง้ั แตป ลายเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2554 และส้ินสดุ เมอื่ วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555 มีราษฎรไดรับ ผลกระทบแลวมากกวา 12.8 ลานคน อทุ กภัยดงั กลา วทำใหพ้นื ดนิ กวา 150 ลานไร (6 ลานเฮกตาร) ซ่ึงในจำนวนน้เี ปนทัง้ พนื้ ทเ่ี กษตรกรรม และอุตสาหกรรมใน 65 จังหวดั 684 อำเภอ ราษฎรไดรบั ความเดอื ดรอน 4,086,138 ครวั เรือน 13,595,192 คน บา นเรือนเสยี หายท้ังหลัง 2,329 หลัง บานเรือนเสยี หายบางสว น 96,833 หลัง พน้ื ที่การเกษตรคาดวา จะไดร บั ความเสยี หาย 11.20 ลา นไร ถนน 13,961 สาย ทอ ระบายน้ำ 777 แหง ฝาย 982 แหง ทำนบ 142 แหง สะพาน/คอสะพาน 724 แหง บอปลา/บอ กงุ / หอย 231,919 ไร ปศุสัตว 13.41 ลานตวั มผี เู สียชีวิต 813 ราย (44 จงั หวดั ) สญู หาย 3 คน (ขอ มลู กรมปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ) 1.2 วาตภยั วาตภยั มผี ลกระทบตอ พน้ื ทก่ี วา งนบั รอ ยตารางกโิ ลเมตร โดยเฉพาะ อยางยิ่งอาณาบริเวณที่ศูนยกลางของพายุเคล่ือนท่ีผานจะไดรับผลกระทบ มากทสี่ ดุ ซง่ึ ความเสยี หายมกั ผนั แปรไปตามความรุนแรง เมือ่ พายุมกี ำลัง แรงในชน้ั ดีเปรสชั่นจะทำใหเ กดิ ฝนตกหนกั และมักมีอทุ กภยั ตามมา หาก พายมุ ีกำลงั แรงขึน้ เปนพายโุ ซนรอน หรอื พายุไตฝนุ จะกอใหเ กิดภยั หลาย อยา งพรอ มกัน ทั้งวาตภัย อุทกภัย และคลนื่ พายซุ ัดฝง เปน อันตราย และ อาจก่อให้เกิดความเสียหายถึงขั้นรุนแรง ทำให้ประชาชนเสียชีวิตเป็น จำนวนมากได สำหรับประเทศไทยไดเกิดภัยพิบัติจากวาตภัยหลายครั้ง ตามสถิติการเกดิ วาตภยั ตามตารางท่ี 4

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพ่ือการบรหิ ารจดั การภัยพิบตั ิ 105 ตารางท่ี 4 สถติ ิสถานการณว าตภยั ระหวา งป พ.ศ. 2545-2553 ความเสียหาย จำนวน จำนวน ป พ.ศ. (ครัง้ ) (จงั หวัด) บาดเจบ็ เสียชีวิต มลู คา (คน) (คน) (ลานบาท) 2545 594 67 11 18 213.33 2546 3,213 76 434 74 457.42 2547 3,834 76 63 73 398.41 2548 1,313 57 0 13 148.87 2549 1,883 65 39 29 92.24 2550 2,233 67 71 10 234.54 2551 1,995 65 30 15 227.54 2552 1,348 68 26 24 207.37 2553 2,192 69 174 30 198.85 ที่มา: กรมปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั 1.3 ภยั จากดนิ โคลนถลม ภัยจากดินโคลนถลมมักเกิดขึ้นพรอมกับหรือเกิดตามมาหลังจาก เกิดนำ้ ปา ไหลหลาก อนั เน่ืองมาจากพายฝุ นทท่ี ำใหเ กดิ ฝนตกหนกั อยาง ตอเนื่องรุนแรง สงผลใหมวลดินและหินไมสามารถรองรับการอุมน้ำได จึงเกิดการเคล่ือนตัวตามอิทธิพลของแรงโนมถวงของโลก ปจจบุ นั ปญ หา ดินโคลนถลมเริ่มเกิดขึ้นในประเทศไทยบอยมากขึ้นและมีความรุนแรงเพิ่ม มากขึน้ อันมีสาเหตุมาจากพฤตกิ รรมของมนษุ ย เชน การตัดไมท ำลายปา การทำการเกษตรในพน้ื ที่ลาดชนั การทำลายหนาดิน เปน ตน สงผลให การเกิดปญหาดินโคลนถลม เพมิ่ มากข้นึ ดงั จะเห็นไดจ ากสถิตใิ นตารางท่ี 5 ซงึ่ แสดงใหเ หน็ ถึงความถ่ีของปญหาทเ่ี กดิ ขนึ้ ในแตล ะชว งทศวรรษ

106 ตารางท่ี 5 สถติ สิ ถานการณภ ยั จากดนิ โคลนถลม ระหวา งป พ.ศ. 2531-2554 ความเสยี หาย ป พ.ศ. จงั หวัด บาดเจบ็ เสยี ชวี ติ มูลคา (คน) (คน) (ลา นบาท) 22 พฤศจิกายน 2531 นครศรีธรรมราช NA 242 1,000 11 กนั ยายน 2543 เพชรบรู ณ NA 10 NA 4 พฤษภาคม 2543 แพร NA 43 100 11 สงิ หาคม 2544 เพชรบรู ณ 109 136 645 20 พฤษภาคม 2547 ตาก 391 5 NA 23 พฤษภาคม 2549 แพร และอุตรดิตถ NA 83 308 15 สิงหาคม 2550 เพชรบูรณ NA 6 NA 11 ธันวาคม 2551 สุราษฎรธานี NA 2 NA 27 กรกฎาคม 2552 เชียงใหม NA NA NA 6 พฤศจกิ ายน 2552 ยะลา และนราธวิ าส NA 12 NA 11 ตลุ าคม 2553 ระยอง NA 2 NA 1 พฤศจิกายน 2553 สงขลา 3 5 NA 2, 9 พฤศจิกายน 2553 สุราษฎรธานี NA NA NA 4 พฤศจกิ ายน 2553 นครศรีธรรมราช NA NA NA 20 ธันวาคม 2553 พัทลุง NA NA NA 26, 29-30 มนี าคม 2554 นครศรธี รรมราช,กระบ่ี NA NA NA 3 สงิ หาคม 2554 แมฮ อ งสอน NA NA NA 9 กันยายน 2554 อตุ รดติ ถ NA NA NA 28 กนั ยายน 2554 เชียงราย NA NA NA ที่มา: กรมทรัพยากรธรณี 1.4 ภยั แลง เน่ืองจากประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม การขาดแคลนนำ้ จึงสง ผลกระทบอยางรุนแรงตอประชาชนทปี่ ระกอบอาชพี การเกษตร โดย เฉพาะพื้นที่ตอนบนของประเทศไทยจะมีปริมาณฝนตกนอยลง สงผลให

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยเี พ่อื การบรหิ ารจัดการภัยพิบัติ 107 ปริมาณน้ำในเขื่อนและอางเก็บน้ำท่ัวประเทศมีปริมาณไมเพียงพอสำหรับ ประชาชนใชอ ปุ โภคบรโิ ภคและเพอ่ื การเกษตร ปญ หาภยั แลง จะมคี วามรนุ แรง มากขน้ึ พน้ื ทน่ี อกเขตชลประทาน ทำใหป ระชาชนตอ งประสบความเดอื ดรอ น ในหลายพนื้ ที่ ตามตารางท่ี 6 ตารางที่ 6 สถิตสิ ถานการณภ ัยแลง ระหวา งป พ.ศ. 2545-2554 ความเสียหาย พ้ืนทีป่ ระสบภัย ราษฎร พ้นื ท่กี ารเกษตร มูลคา ป พ.ศ. (ลานบาท) (จังหวดั ) เดือดรอน เสียหาย 508.78 (คน) (ไร) 174.32 190.66 2545 66 12,841,110 2,071,560 7,565.86 495.27 2546 63 5,939,282 484,189 198.30 103.90 2547 64 8,388,728 1,480,209 108.35 1,415.223 2548 71 11,147,627 13,736,660 2549 61 11,862,358 578,753 2550 66 16,754,980 1,350,118 2551 61 3,531,570 524,999 2552 62 17,353,358 594,434 2553 64 15,740,824 1,716,853 2554 54 17,688,304 169,324 37.83 ท่ีมา: กรมปองกนั และบรรเทาสาธารณภัย 1.5 ภยั จากคลน่ื สนึ ามิ ประไทยไมเคยมีปรากฏการณของภัยจากคล่ืนสึนามิมากอน จนเมื่อวันอาทิตยที่ 26 ธันวาคม 2547 ไดเกิดคลื่นสึนามิอันเนื่องมา จากแผน ดินไหวใตท ะเลขนาด 9.3 รกิ เตอรท่หี มูเ กาะสมุ าตรา สงผลให 11 ประเทศ ในทวปี เอเชยี และทวีปแอฟริกาใต ไดรับผลกระทบอยา งรนุ แรง มีผูเสียชีวิตมากกวา 216,000 คน สำหรับประเทศไทยไดรับผลกระทบ ในพน้ื ท่ี 6 จังหวดั ชายฝง ทะเลอนั ดามนั คอื จังหวดั พงั งา กระบ่ี ระนอง

108 ภูเกต็ ตรังและสตลู มผี เู สียชีวติ ท้ังชาวไทยและตางประเทศ รวม 5,401 คน สญู หาย 2,921 คน และทำใหมเี ดก็ กำพรามากกวา 1,215 คน มูลคา ความเสียหายเบ้ืองตนประมาณ 14,491 ลา นบาท กอใหเกิดความสญู เสยี ตอ ระบบเศรษฐกจิ และอตุ สาหกรรมการทอ งเทย่ี วมากกวา 30,000 ลา นบาท 1.6 ภยั หนาว ในชวงเดือนตุลาคมถงึ เดือนกมุ ภาพนั ธของทุกป ความกดอากาศ สูงจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนจะแผลงมาปกคลุมประเทศไทย สงผลใหพ้ืนที่ดังกลาวเกิดความหนาวเย็นท่ัวไปโดยเฉพาะในพ้ืนท่ีบน ภูเขาหรือยอดดอยสูงจะหนาวเย็นมาก ซึ่งสงผลตอการใชชีวิตประจำวัน อีกทั้งทำใหเกิดโรคระบาดที่มีสาเหตุมาจากสภาพความหนาวเย็น เชน โรคตดิ ตอ ทางเดินหายใจ โรคไขหวัดใหญ และโรคระบาดสัตว เปน ตน สง ผลกระทบใหป ระชาชนไดร บั ความเดอื ดรอ นจำนวนมาก ตามตารางท่ี 7 ตารางที่ 7 สถติ ิสถานการณภ ัยหนาว ระหวา งป พ.ศ. 2545-2554 ความเสยี หาย พื้นท่ปี ระสบภยั ป พ.ศ. (จงั หวดั ) ราษฎรเดอื ดรอน (คน) ราษฎรเดอื ดรอน (ครวั เรือน) 2545 42 1,913,021 871,229 2546 22 1,100,920 316,973 2547 32 1,246,112 521,225 2548 25 3,742,793 1,131,313 2549 47 2,303,703 821,999 2550 48 5,910,339 1,992,912 2551 49 9,554,992 3,780,051 2552 52 10,588,881 4,961,509 2553 52 10,609,301 4,961,525 2554* 49 28,930,295 8,723,421 หมายเหตุ: * ขอ มูลระหวางวันที่ 1 พฤศจกิ ายน 2553 - 31 มีนาคม 2554 ทม่ี า: กรมปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย

วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พือ่ การบรหิ ารจดั การภัยพิบัติ 109 1.7 อคั คภี ยั อัคคีภัยสามารถเกิดข้ึนไดจากการกระทำของมนุษยหรือเกิดขึ้น ไดเ อง เชน ไฟปา อัคคีภยั สว นใหญม ีสาเหตมุ าจากความประมาท ขาด ความระมัดระวังหรอื พลั้งเผลอ เชน การเกิดไฟฟา ลัดวงจร การลกุ ไหมจาก การระเบิดจากการปรุงอาหารหรือจากการลอบวางเพลิง รายงานด้าน อัคคีภัยของฮองกงพบวาประเภทส่ิงปลูกสรางหรือสถานที่เกิดเพลิงไหม สูงสดุ เกิดในสถานทีท่ เี่ ปนทอ่ี ยอู าศยั เชน เดียวกบั ประเทศสหรัฐอเมรกิ าท่ี เพลิงไหมสวนใหญเ กิดภายในบานเรือน สำหรับประเทศไทยการเก็บรายงานสถิติการเกิดเพลิงไหมไมได แยกประเภท สิ่งปลูกสรางและสาเหตุที่ทำใหเกิดอัคคีภัยไวชัดเจน แต อยา งไรกต็ ามการเกดิ เพลงิ ไหมไ ดก อ ใหเ กดิ ความสญู เสยี ทง้ั ชวี ติ และทรพั ยส นิ ของประชาชนเปน จำนวนมาก ตามตารางท่ี 8 ตารางท่ี 8 สถติ ิสถานการณอัคคีภัย ระหวางป พ.ศ. 2545-2554 ความเสียหาย จำนวน จำนวน ป พ.ศ. (ครง้ั ) (จงั หวัด) บาดเจ็บ เสียชวี ติ มูลคา (คน) (คน) (ลา นบาท) 2545 1,135 67 150 24 805.81 2546 2,267 76 167 56 565.54 2547 1,727 76 69 31 487.02 2548 1,559 62 68 48 931.91 2549 1,734 66 66 37 1,083.84 2550 1,901 71 156 45 875.79 2551 1,696 61 92 30 1,424.89 2552 1,527 62 312 83 817.33 2553 1,903 66 83 29 1,283.79 2554 1,524 61 149 42 2,776.51 ท่ีมา: กรมปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

110 นอกจากนี้ยังมีการเกิดอัคคีภัยจากไฟป่า ส่วนใหญ่ไฟป่ามัก เกดิ จากฝม อื มนษุ ยท ก่ี อ ขน้ึ เพอ่ื ประโยชนข องมนษุ ยเ อง ทง้ั จากการทำเกษตร ลา สตั ว หรอื จากความประมาท สถติ กิ ารเกดิ ไฟไหมป า ในประเทศไทยในแตล ะป มีความถค่ี อ นขา งสงู มพี น้ื ทไ่ี ดร บั ความเสยี หายจำนวนมาก ดงั ตารางท่ี 9 ตารางที่ 9 สถิติสถานการณภยั จากไฟปา ระหวางป พ.ศ. 2545-2554 ป พ.ศ. จำนวน(คร้ัง) จำนวน (จังหวดั ) พนื้ ที่เสยี หาย (ไร) 2545 11,974 64 253,391 2546 8,011 64 98,523 2547 10,544 64 201,758 2548 9,447 64 189,276 2549 4,711 64 55,885 2550 7,757 64 117,270 2551 5,569 60 70,811 2552 5,410 61 61,506 2553 6,763 61 80,659 2554 2,390 51 24,835 ท่มี า: สำนกั ปอ งกัน ปราบปราม และควบคมุ ไฟปา กรมอทุ ยานแหงชาติ สตั วปา และพนั ธุพชื 1.8 ภยั จากแผน ดนิ ไหวและอาคารถลม ประเทศไทยยงั ไมเ คยเกดิ แผน ดนิ ไหวขนาดใหญ แตไ ดม กี ารบนั ทกึ แผนดินไหวขนาดปานกลางในพื้นที่ภาคเหนือ จังหวัดตาก ขนาด 5.6 รกิ เตอร เม่อื วนั ที่ 17 กุมภาพันธ 2518 และไดเ กดิ แผนดนิ ไหวในพน้ื ท่ี ภาคตะวนั ตก ขนาด 5.9 รกิ เตอร เมอ่ื วนั ท่ี 22 เมษายน 2526 บรเิ วณแนว รอยเล่ือนศรสี วัสดิ์ จงั หวดั กาญจนบุรี นอกจากน้ันในบรเิ วณภาคตะวนั ตก และภาคเหนือ ยังมแี ผนดินไหวทีส่ ามารถรูสกึ ไดปละประมาณ 5-6 ครง้ั ผลกระทบทเ่ี กิดข้นึ จากแผนดินไหวจะกอ ใหเกดิ ความเสียหายตอส่งิ กอ สรา ง โดยเฉพาะอาคารและบานพักอาศัย การตกหลนของวัตถุในที่สูง ทั้งนี้

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยเี พื่อการบรหิ ารจดั การภยั พิบัติ 111 การเกิดแผนดินไหวในประเทศใกลเคียงยอมสงผลกระทบตอประเทศไทย ดวยเชน กัน ตารางท่ี 10 นำเสนอ สถิตกิ ารเกดิ แผนดินไหวในประเทศไทย และประเทศใกลเคียง ตารางท่ี 10 สถติ กิ ารเกดิ แผนดินไหวในประเทศไทยและประเทศใกลเคยี ง ระหวา งป พ.ศ. 2549-2551 วนั เกดิ เหตกุ ารณ จดุ ทเี่ กิดแผนดินไหว ขนาด ขอ มลู เพมิ่ เตมิ (รกิ เตอร) 24 มกราคม 2549 รัฐฉาน ประเทศพมา 5.7 รสู กึ สน่ั สะเทอื นท่ี จ.เชยี งใหม ละติจดู 20.53 องศา เชยี งรายและแมฮอ งสอน เหนือ ลองจิจูด 98.69 องศาตะวันออก 8 ตุลาคม 2549 ประเทศพมา ละติจดู 5.6 รสู ึกไดที่ จ.เพชรบุรี ราชบุรี 12.02 องศาเหนอื ลองจจิ ดู ประจวบครี ขี นั ธ และสมทุ รสาคร 99.17 องศาตะวนั ออก มีรายงานอาคารสิง่ กอ สราง เสยี หายเลก็ นอยที่ จ.ประจวบคีรีขันธ 1 ธนั วาคม 2549 ดา นตะวนั ออกของเกาะ 6.5 รูส ึกไดท ี่ จ,สงขลา สุมาตรา ท่ีละติจดู 3.49 และนราธิวาส องศาเหนอื ลองจจิ ูด 99.2 องศาตะวันออก 13 ธนั วาคม 2549 จดุ ศนู ยก ลางอยเู ชยี งใหม 5.1 กำแพงเมอื งเชียงใหม 700 ป ละตจิ ดู 18.93 องศาเหนอื เกดิ รอยรา ย วัดและโรงเรียน ลองจจิ ดู 98.97 องศา หลายแหง เสยี หายเกดิ รอยรา ว ตะวนั ออก (รอยเลอ่ื น แมท า) 2 พฤศจกิ ายน 2550 พรมแดนพมา-ลาว-จนี 5.7 รูสึกสั่นไหวทบี่ ริเวณ หา งจากจงั หวดั เชยี งราย จงั หวดั เชยี งราย 200 กม. 28 ธนั วาคม 2550 เกาะสุมาตราตอนเหนอื 5.7 รูสึกสัน่ ไหวบนตึกสูงของ ประเทศอินโดนเี ซีย จ.ภเู กต็ และพังงา หางจากจังหวัดภูเก็ต 340 กม. 12 พฤษภาคม 2551 มณฑลเสฉวน 7.8 สรา งความเสียหายทั้งชวี ิต ประเทศจีน และทรพั ยสนิ เปนจำนวน 620,000 ลานบาท 3 กนั ยายน 2551 - 5.1 ไมมีรายงานความเสียหาย ทม่ี า: สำนกั แผน ดินไหว กรมอุตุนยิ มวทิ ยา และกรมทรัพยากรธรณี

112 จากแนวโนม ของการเกดิ ภยั พบิ ตั ิ ทง้ั ประเภทของภยั พบิ ตั ิ ความรนุ แรง และความถท่ี เ่ี กดิ ขน้ึ จะเหน็ ไดว า หากประเทศไทยยงั ไมต ระหนกั ถงึ ภยั ตา งๆ เหลา น้ี และยงั ไมม กี ารเตรยี มความพรอ มในดา นตา งๆ ทง้ั การบรหิ ารจดั การ ในภาพรวม และการวิจัย พฒั นาและสรา งนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อนำมา ประยกุ ตใ นการเตรยี มความพรอ ม การปอ งกนั การลดความเสย่ี ง การแกไ ข ปญ หาทง้ั ในระยะยาวและภาวะฉกุ เฉนิ แลว ประเทศไทยคงจะตองสูญเสยี ชีวิตของประชาชน ทรัพยส นิ ของทง้ั ภาครัฐและภาพเอกชน และโอกาสใน การพฒั นาอยางไมสามารถประมาณมลู คา ได 2. ตัวอยา งของงานวจิ ยั และนวตั กรรม เพอื่ การบริหารจัดการภัยพิบตั ใิ น ประเทศไทย คงไมมีประเทศใดท่ีประสงคจะใหมีภัยพิบัติเกิดขึ้นในประเทศตน แตภัยพิบัติทางธรรมชาตินั้นเปนสิ่งท่ียากตอคาดการณและหลีกเลี่ยง ทางเลอื กทด่ี ที ส่ี ดุ คอื การเตรยี มพรอ ม ปอ งกนั และหาทางรบั มอื และบรรเทา ผลกระทบทอ่ี าจจะเกดิ จากภยั พบิ ตั นิ น้ั ดว ยองคค วามรทู างดา นวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยี ดังท่ไี ดน ำเสนอตวั อยา งไวใ นสวนที่ 1 ของเอกสารฉบบั น้ี ประเทศไทยก็เชนกัน การเผชิญภัยพิบัติธรรมชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่ง อุทกภัยครง้ั ใหญใ นระยะเวลา 2-3 ปมานี้ ทำใหประชาชนคนไทย และ หนว ยงานตางๆ ในประเทศมคี วามต่ืนตวั ตอภยั พิบัตทิ ต่ี นเองอาจตองเผชญิ ในอนาคตมากยิ่งขึ้น รวมถึงความตื่นตัวที่จะดำเนินงานวิจัยและพัฒนา สรา งสรรคน วตั กรรม เพอ่ื นำมาใชป อ งกนั และรบั มอื กบั ภยั พบิ ตั แิ ละผลกระทบ ท่ีจะเกิดข้ึน

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพอ่ื การบริหารจัดการภัยพิบัติ 113 ในสวนตอไปนี้ เปนการนำเสนอขอมูลเกี่ยวกับงานวิจัยพัฒนา และนวตั กรรมทางดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พอ่ื การบรหิ ารจดั การภยั พบิ ัติที่มีในประเทศ ที่ไดรวบรวมขึ้น โดยเปนผลงานจากหลากหลาย หนว ยงานทัง้ ภาครฐั สถาบันการศึกษาและภาคเอกชน ในการนำเสนอ ไดจ ดั กลมุ ผลงานวจิ ยั และนวตั กรรมดงั กลา ว ตามขน้ั ตอนการบรหิ ารจดั การ ภัยพบิ ตั ิ ดังทไ่ี ดน ำเสนอในสวนที่ 1 ซึ่งประกอบดว ย 6 ข้นั ตอน คอื การปอ งกนั การบรรเทาผลกระทบการเตรยี มพรอ ม การรบั สถานการณฉ กุ เฉนิ การฟน ฟบู ูรณะ และการพัฒนา เน่ืองจากปญหาอุทกภัยเปนภัยพิบัติหลักท่ีประเทศไทยประสบ รวมถึงผลกระทบอยางรนุ แรงของอุทกภยั ในป 2554 จงึ ไมน าแปลกใจท่ีเรา จะพบวา งานวจิ ัยและนวัตกรรมสว นใหญท เี่ กิดขึน้ ในชวงน้ี จะมงุ เนนไป ทป่ี ระเด็นของ “อทุ กภยั ” มากกวาจะเปน งานวจิ ัยพัฒนาและนวตั กรรมท่ี ครอบคลุมภัยพิบัติหลากหลายดาน อนึ่ง การรวบรวมขอมูลในเอกสาร ฉบบั นี้ เปนเพียงความพยายามเรมิ่ ตนในการศกึ ษา รวบรวม และประมวล ขอ มูลการดำเนินงานของหลายหนว ยงานในประเทศ โดยผลงานวจิ ยั และ/ หรือนวัตกรรมที่นำเสนอเปนเพียงตัวอยางสวนหนึ่งของความพยายามของ หนว ยงานในประเทศไทย เพอ่ื ใหผูอ า น หรือผูทีส่ นใจท่ัวไปไดรบั ทราบ เพ่ือนำไปใชประโยชนต ามความเหมาะสมตอ ไป ทัง้ น้ี อาจมขี อจำกดั ดาน ข้อมูลในส่วนของนวัตกรรมในภาคเอกชน ที่จะเห็นว่ายังมีไม่มากนัก ซึ่งอาจเนอ่ื งดว ยขอ จำกัดของเวลาในการรวบรวมขอ มูล หรอื ดว ยเหตุผล ทางธุรกิจท่ีอาจทำใหไมสามารถเปดเผยนวัตกรรมที่อยูระหวางการวิจัย และพฒั นา

114 2.1 การปอ งกนั (Prevention) และการบรรเทาผลกระทบ (Mitigation) งานวิจัยและนวัตกรรมในกลุมนี้ โดยรวมแลวเปนนวัตกรรมที่มี การประยกุ ตใ ชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารกบั ขอมูลเชงิ พื้นท่ี เพื่อ ใชในการวางแผนเพ่ือหลีกเลี่ยงหรือบรรเทาผลกระทบและความรุนแรงของ ภัยพิบตั ิที่เกดิ ข้นึ (1) แผนทีน่ ำ้ ทว ม พฒั นาโดย: สถาบันเทคโนโลยีแหง เอเชยี (AIT) สถาบันเอไอทไี ดผลติ แผนทข่ี องพนื้ ท่ี ทป่ี ระสบอุทกภยั ในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ นิคมอตุ สาหกรรมบางกะดี เชยี งรากนอ ย นคิ มอตุ สาหกรรมนวนคร นคิ มอตุ สาหกรรมบางปะอนิ สนามบินดอนเมือง จังหวัดอยุธยา จังหวัดนครสวรรค จังหวัด ชัยนาท และจังหวัดอุตรดิตถ แตที่นาสนใจคือ แผนที่ภาพของ ประเทศไทยท้งั กอนและหลังอทุ กภยั และแผนทีป่ ระเทศไทยในชวง ฤดแู ลง อีกท้งั แผนท่ีของสถาบันเอไอที มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร และวัดพระธรรมกาย ขณะนมี้ กี ารนำแผนดาวเทยี มเหลา นีไ้ ปใช โดย สำนกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (องคก ารมหาชน) กรมปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย และ UN-ESCAP

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเพ่อื การบรหิ ารจดั การภยั พิบตั ิ 115 (2) แผนท่ีระวังภยั แหง ชาติ พฒั นาโดย: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วทิ ยาเขตปตตานี เปน งานวิจัยเพ่อื จัดทำโปรแกรมจำลองนำ้ ทว ม โดยไดค นควาและ ศึกษาในมมุ ทก่ี วา งขน้ึ ในเรอ่ื งของสมการคลน่ื นำ้ ตน้ื สมการการแพร และการไหลของนำ้ ดว ยการออกแบบโมเดลทห่ี ลากหลายและทดลอง ซ้ำๆ เพอ่ื ดูความนา จะเปน ท่อี าจเกิดขน้ึ ในหลายๆ รูปแบบ โดยนำ ขอมูลเกี่ยวกบั ลักษณะดนิ ตน ไม ปริมาณนำ้ ภาพถายดาวเทยี ม ภาพเรดาร มาใชประกอบการพฒั นาแบบจำลองเพ่ือใหก ารจำลองมี ความละเอยี ดและเสมอื นจรงิ มากขน้ึ แตป จ จบุ นั จำเปน จะตอ งมขี อ มลู ความสูงต่ำของพื้นที่คอนขางละเอียดดวย เพื่อใหครอบคลุมพื้นที่ คคู ลอง เนนิ สงู ในพน้ื ทต่ี า งๆ โดยโมเดลทใ่ี ชอ ยปู จ จบุ นั มคี วามละเอยี ด ของระยะจดุ ขอ มลู ขนาด 92.5 เมตร ทง้ั น้ี คณะผวู จิ ยั ไดน ำโปรแกรม จำลองน้ำทวมไปใชในวางแผนทางไหลของน้ำในระดับตำบลทั่ว ประเทศ โดยการเกบ็ ขอ มูลแตละพนื้ ท่มี าวิเคราะห และเผยแพรให ความรูกับประชาชนในแบบที่เขาใจงาย รวมถึงสรางเครือขายให ทุกคนเปนแนวเฝาระวังภัยในพืน้ ท่ขี องตวั เอง และรบั มอื กับภัยพิบตั ิ ทจี่ ะเกิดขนึ้ ในอนาคตรวมกนั อยางมีประสิทธิภาพ

116 (3) ระบบประเมินความเสยี่ งตอน้ำทวม (Flood Risk Evaluation System for Thailand) พัฒนาโดย: คณะวศิ วกรรมศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั เปน แผนที่ออนไลนทปี่ ระชาชนสามารถใชเ ปนเครื่องมือ เพ่ือใหรับรู สภาพกายภาพที่ตั้งของที่อยูอาศัย ทรัพยสินของบุคคลและสถาน ประกอบการธรุ กิจตางๆ รวมทง้ั เสนทางนำ้ และระบบระบายนำ้ ซึ่ง สามารถเชื่อมโยงกับขอมูลการปองกันและแกไขปญหาน้ำทวมดวย ระบบพื้นทีป่ ดลอมของกรุงเทพมหานคร รวมทงั้ สามารถใชประเมนิ ระดบั นำ้ ทก่ี ำลงั จะเขา ทว มบรเิ วณใกลเ คยี งทพ่ี กั เพอ่ื ตดั สนิ ใจวางแผน การดำเนนิ การปอ งกนั หรอื อพยพดว ยตนเอง ไมห วงั พง่ึ ทางการเพยี ง อยา งเดยี ว โดยขณะนม้ี ขี อ มลู รองรบั ในสว นของพน้ื ทก่ี รงุ เทพมหานคร และบางพื้นทข่ี อง จ.สมุทรปราการ โดยขอ มลู ท่ีผพู ฒั นาไดน ำเขา ในระบบปจ จุบนั ไดแ ก คาระดบั พื้นดินบางสวนของเขตประเวศ กรงุ เทพฯ บางสว นของ อ.บางพลี อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ขอมูล จากโครงการศึกษาวิจัยการประยุกตใชไลดารสำหรับงานวิศวกรรม โครงการรว มมอื ระหวางกรมทางหลวงกรมแผนที่ทหารและแคนาดา ขอมูลบันทกึ ดวยเทคโนโลยเี ลเซอรส แกนเนอร (ไลดาร) พ.ศ. 2548, คาระดับของผิวถนนสายหลกั ของกรงุ เทพฯ สำรวจเมอ่ื พ.ศ. 2550 และพน้ื ทีป่ ด ลอ มเพื่อการระบายนำ้ ของกรุงเทพฯ

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยเี พอ่ื การบรหิ ารจัดการภยั พิบตั ิ 117 (4) แผนที่สนับสนุนการบริหารจดั การอทุ กภยั รายแรง พฒั นาโดย: สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องคการมหาชน) (สสนก.) สสนก. ได้จัดทำแผนที่แสดงรายละเอียดของลักษณะภูมิประเทศ เสนทางนำ้ เข่อื น ประตูระบายน้ำ สถานสี บู น้ำ ฯลฯ สนับสนนุ การปฏิบัติงานของศูนยป ฏิบัตกิ ารชว ยเหลือผปู ระสบอุทกภยั (ศปภ.) เพ่อื ใชในการวางแผนรบั มือกับอุทกภัย โดยมรี ายการดงั นี้ 1. แผนทล่ี กั ษณะภมู ปิ ระเทศ แสดงตำแหนง ประตรู ะบายนำ้ ลมุ แมน ำ้ เจาพระยาฝง ตะวันออก 2. แผนทล่ี กั ษณะภมู ปิ ระเทศ แสดงตำแหนง ประตรู ะบายนำ้ ลมุ แมน ำ้ เจา พระยาฝง ตะวันตก 3. แผนทล่ี กั ษณะภมู ปิ ระเทศ แสดงตำแหนง ประตรู ะบายนำ้ ลมุ แมน ำ้ ทาจีน 4. แผนท่ีแสดงถนน ทางนำ้ และตำแหนงประตรู ะบายน้ำ ลุม แมน ้ำ เจาพระยาฝง ตะวันออกดานบน 5. แผนทแี่ สดงถนน ทางนำ้ และตำแหนงประตูระบายนำ้ ลมุ แมน ำ้ เจา พระยาฝง ตะวนั ออกดา นลาง 6. แผนทแ่ี สดงถนน ทางนำ้ และตำแหนง ประตูระบายน้ำ ลมุ แมน ำ้ เจา พระยาฝง ตะวันตก 7. แผนที่แสดงถนน ทางนำ้ และตำแหนง ประตรู ะบายน้ำ ลมุ แมน ำ้ ทาจีน 8. แผนท่ีแสดงระดับความสงู ถนน ทางนำ้ ลุมแมน ำ้ เจาพระยา 9. แผนทแ่ี สดงระดบั ความสูง ถนน ทางนำ้ ลมุ แมน้ำทา จนี

118 10. แผนที่แสดงระดับความสงู พื้นทก่ี รงุ เทพมหานคร 11. แผนทีแ่ สดงแนวคันกั้นน้ำ พ้ืนทีก่ รงุ เทพมหานคร 12. แผนทแี่ สดงระดบั ความสงู และแนวคนั กั้นน้ำ ลมุ แมน ำ้ ทา จีน 13. แผนทีแ่ สดงพน้ื ท่ีนำ้ ทว มขังรายวนั 8 บล็อค 14. แผนทแ่ี สดงเขตเสย่ี งภยั นำ้ ทว มระดบั ตา งๆ พน้ื ทก่ี รงุ เทพมหานคร 15. แผนทแี่ สดงเขตปลอดภยั จากน้ำทวม พน้ื ท่กี รงุ เทพมหานคร (5) “เคยู-เทนซโิ อมเิ ตอร” ระบบเตอื นภยั ดินถลม พัฒนาโดย: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รวมกับ สถาบนั เทคโนโลยีแหงเอเชีย (เอไอที) สถาบนั เทคโนโลยี พระจอมเกลา พระนครเหนือ และเครอื ขายนกั วจิ ยั ในตา งประเทศ “เคยู-เทนซิโอมเิ ตอร” ประกอบดว ยเซ็นเซอรวัดแรงดนั น้ำในดินและ สวนรับน้ำปลายดินเผา โดยใช้ความรู้ด้านปฐพีวิทยาวิเคราะห์ พฤตกิ รรมของดนิ จากความชน้ื และปรมิ าณนำ้ ในชอ งวา งดนิ ประยกุ ต ใชก ับการทำนายภัยพิบตั ิ เพราะเม่อื นำขอมูลทไี่ ดไปรวมกับขอมูล

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพอ่ื การบริหารจัดการภัยพบิ ตั ิ 119 ทางธรณี ชนดิ ของดนิ ปรมิ าณน้ำฝน และพชื คลมุ ดนิ สรา งแบบ จำลองทางคณติ ศาสตร จะชว ยแจง เตอื นในหมบู า นเสย่ี งภยั ดนิ โคลน ถลมไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ เทคโนโลยนี ี้ราคาถูกกวาในทอ งตลาด 50% จากราคาปจจุบนั อยทู ี่ 2 หมืน่ บาทตอจดุ ทตี่ องการวัด โดยใช เซน็ เซอรท ไ่ี ดม าตรฐาน ตลอดจนผา นการสอบเทยี บดา นความแมน ยำ ทำใหผ ใู ชง านเกิดความมัน่ ใจ อกี ทั้งใชงานงา ย และมีความยืดหยนุ หากตอ งการปรบั เปลย่ี นไปใชในงานท่ีมรี ูปแบบเฉพาะ ซอมแซมและ บำรุงรักษาไดง า ยกวาเครอื่ งมือนำเขา 2.2 การเตรยี มพรอม (Preparedness) งานวิจัยและนวัตกรรมในกลมุ นี้ ชวยเพมิ่ ขีดความสามารถใหก ับ รฐั บาล องคก รปฏบิ ตั ิ ชมุ ชนและปจเจกชน ในการเผชญิ กับภาวการณท เ่ี กดิ ภยั พบิ ตั ิไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ ทงั้ น้ี จะเห็นไดวา งานวจิ ัยและ นวตั กรรม ในสว นน้ี จะมคี วามสมั พนั ธก บั การใชช วี ติ ประจำวนั ของประชาชน ทว่ั ไป เชน อาหาร/นำ้ ดม่ื เพ่อื การบรโิ ภค เปนตน

120 กลมุ ทเี่ ก่ยี วกับการเตรียมรับนำ้ ทวมและจัดการกบั นำ้ ทว มขัง (1) n-Sack พฒั นาโดย: ศนู ยนาโนเทคโนโลยแี หงชาติ (นาโนเทค) สวทช. กระสอบ n-Sack ถูกพฒั นาข้ึนมาทดแทนการใชถ ุงทราย ทำใหกอน การใชงานมีน้ำหนักเบา สามารถขนยา ยไดอ ยา งรวดเรว็ ประหยัด พลงั งานเชื้อเพลงิ และสามารถใชง านไดท ันทีโดยไมตองเสยี เวลา ในการบรรจุกระสอบ กระสอบ n-sack มีแนวคิดจากการพฒั นา พอลิเมอรด ูดซึมนำ้ ท่ีใชในผลิตภณั ฑด แู ลสว นบุคคล เชน ผาออ ม ผาอนามยั มาใชใ นการปอ งกนั นำ้ ทว ม สามารถดดู ซมึ นำ้ ไดไ มน อ ยกวา 100 เทา เมื่อเทียบกับน้ำหนักแหงเริ่มตน สามารถใชงานซ้ำได มากกวา 1 ครั้ง โดยวัสดุทีใ่ ชสามารถแตกสลายดวยรังสียูวี และ น้ำหนกั เบา

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการภัยพิบตั ิ 121 (2) กระสอบพลาสติกแบบมปี ก พฒั นาโดย: ความรว มมอื ระหวา งมลู นธิ ชิ ยั พฒั นา สถาบนั สารสนเทศ ทรพั ยากรน้ำและการเกษตร (องคก ารมหาชน) กรมทรัพยากรธรณี และ บรษิ ทั ปตท. เคมิคอล กระสอบมปี ก ถกู ออกแบบใหใ ชพ อลเิ มอร 2 ชนดิ ทม่ี คี วามหนาแนน สงู คอื พอลิเอทลิ นี สานในดา นขวาง ในขณะท่พี อลพิ รอพลิ นี นำไปสาน ในแนวตงั้ เพอื่ ลดการฉกี ขาดและยงั ทำใหต ัวกระสอบมีความทนทาน พรอมเตมิ สารปอ งกนั แสงยูวี เพิม่ อายุการใชง านนานถงึ 15 ป ใน ขณะทก่ี ระสอบธรรมดามีอายุการใชง านที่ 1 ปเทา นั้น ในสวนของปก 2 ดา นซา ยและขวาของตวั กระสอบ ทำหนาที่เพิม่ แรง ยดึ เหนย่ี วขณะวางกระสอบทบั ซอ นกนั ทำใหโ ครงสรา งของคนั กน้ั นำ้ หรอื กันดนิ ถลมแข็งแรงขน้ึ ชะลอความเสยี หายไดด ีซึง่ กระสอบมีปก นี้ ไดท ำการจดสทิ ธบิ ตั รแลว

122 (3) เครือ่ งบรรจทุ รายรุน ท่ี 2 พฒั นาโดย: ทมี วจิ ยั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี (มทร. ธญั บุร)ี มทร. ธญั บุรีคิดเครอื่ งบรรจุทรายรนุ 2 ซงึ่ บรรจไุ ดไ วกวา เดิม 2 เทา โดยสามารถกรอกทรายได 14 ถงุ ตอ นาที จากรุน แรกท่ที ำงานได 7 ถงุ ตอ นาที โดยอาศัยแรงงานคนเพยี งแค 2 คน โดยตวั เครือ่ งบรรจุ ทรายประกอบดวยสองสว นคือ สว นสายพานลำเลยี งทำจากยางยาว 2 เมตร ปรบั ความเร็วดวยการควบคมุ มอเตอรขับขนาด 1 แรงมา สามารถลำเลียงทรายได้ในอัตรา 60-140 กิโลกรัมต่อ 1 นาที และสว นควบคมุ การบรรจตุ วั เครอ่ื งทรงกระบอกทำจากเหลก็ ดา นใน มีชดุ กวาดปอ งกนั ทรายตดิ ทน่ี ำ้ หนกั 17-20 กโิ ลกรมั ตอ ถงุ สามารถ บรรจไุ ด 7-14 ถงุ ตอ นาที ยง่ิ กวา นน้ั ยงั สามารถผลติ ไดต อ เนอ่ื งทำให ผลิตได้ทันต่อความต้องการ สามารถบรรจุได้ทั้งทรายเปียกและ ทรายแหง นอกจากนั้นเพ่ืออำนวยความสะดวกในสภาพพื้นท่ีท่ีไมอำนวย ในการใชไฟฟา เครอ่ื งนีย้ งั มรี ะบบผลิตไฟฟา ดวยตนเอง จากชุด ผลติ ไฟฟา เครอ่ื งยนตเ บนซนิ ทำใหส ามารถยา ยไปทำงานไดท กุ ทแ่ี ม |ไฟฟา ดับหรอื ไมม รี ะบบไฟฟา หากคิดท่ีความเร็วสงู สุด 7 ถุงตอนาที สามารถผลติ ทรายบรรจุกระสอบได 420 ถงุ ตอชว่ั โมง เปรียบเทียบ กับการผลิตของคนที่ 2 ถงุ ตอ นาที ใชเวลา 1 ชวั่ โมงไมห ยดุ พัก ผลิต ทรายบรรจุกระสอบได 120 ถงุ พบวา เครื่องผลติ ไดมากกวา 3.5 เทา

วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพอ่ื การบริหารจัดการภยั พบิ ตั ิ 123 (4) nCA :- “น้ำใส หายเหมน็ ออกซเิ จนสูง” พฒั นาโดย: ศนู ยเ ทคโนโลยโี ลหะและวสั ดแุ หง ชาติ (เอม็ เทค) สวทช. รวมกบั กรมวิทยาศาสตรบริการ (วศ.) เปน นวตั กรรมแกป ญ หานำ้ ทว มขงั และเนา เสยี ใหก ลายเปน นำ้ ดี ระบบ ดงั กลาวประกอบดว ย สารจับตะกอนเพอ่ื ใหนำ้ ใส และเครอ่ื งเตมิ อากาศด้วยปั๊มที่ออกแบบการใช้งานที่ง่าย ราคาประหยัด ทั้งนี้ “สารจบั ตะกอนเพอ่ื ใหน ำ้ ใส”นน้ั ผลติ จากสารสกดั ธรรมชาตแิ ละผงถา น ไมม อี ะลูมิเนียมหรอื โลหะหนักผสมอยู สามารถจับตะกอนในน้ำได อยา งรวดเรว็ และสามารถยอ ยสลายไดเ องตามธรรมชาติ ฉะนน้ั จงึ มี ความปลอดภัยในการนำไปใชงานและไมกอใหเกิดปญหามลพิษตอ สง่ิ แวดลอม น้ำทไ่ี ดหลงั จากตกตะกอนและกรองตะกอนออก จะเปน นำ้ ใส กลิน่ ไมเหม็น ดังนน้ั หากตองการนำน้ำน้ีไปใชอ ุปโภค หรอื บริโภคจำเป็นต้องผ่านกรรมวิธีในการฆ่าเชื้อโรคที่ถูกต้อง เช่น การฆา เชอ้ื ดว ยความรอ นโดยการตม หรอื การผสมสารคลอรนี เจอื จาง เปน ตน

124 กลมุ ท่ีเกีย่ วกับอาหารและน้ำดม่ื (5) ขา วขาวดอกมะลทิ นน้ำทวม พฒั นาโดย: ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ (ไบโอเทค) สวทช. รวมกับมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร กรมการขาว กระทรวงเกษตรและสหกรณ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา ขา วขาวดอกมะลิ 105 เปน ขาวสายพันธทุ ท่ี นอยูใตนำ้ ไดประมาณ 15-21 วนั โดยท่ีตน ขา วไมตาย ทนนำ้ ทวมฉบั พลันไดทกุ ระยะของ การเจรญิ เตบิ โต ไวตอ ชว งแสง ปลกู ไดเ ฉพาะนาป เหมาะสำหรบั ปลกู ในพ้นื ทีน่ านำ้ ฝนในเขตภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ทีม่ ี ความเสย่ี งในการเกดิ นำ้ ทว มฉบั พลัน จดุ เดน ของเทคโนโลยกี ารพฒั นาพนั ธขุ า วขาวดอกมะลิ 105 ทนนำ้ ทว ม ฉับพลนั คอื ชว ยลดความเสย่ี งจากการสญู เสยี ผลผลติ อนั เนอ่ื งมาจาก การเกิดอุทกภัยในแตละป นอกจากนี้ การใชเทคโนโลยีชีวภาพ (เคร่อื งหมายพนั ธกุ รรม) ในการปรบั ปรุงพนั ธดุ งั กลา ว ยังชวยเพิ่ม ความแมนยำในการคัดเลอื ก ลดระยะเวลาในการดำเนนิ การ อกี ทั้ง ประหยัดงบประมาณโดยสามารถทดแทนการทดสอบในสภาพจริง

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเพอื่ การบริหารจดั การภัยพิบัติ 125 (6) ชุดกรองน้ำด่มื พลังงานแสงอาทิตย พฒั นาโดย: มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี เปนการพัฒนาปรบั แปลงเทคโนโลยีหรอื อปุ กรณที่มีอยูแลว นำมา ประยกุ ตใชใ หเหมาะกับสถานการณ การทำงานของชุดกรองน้ำดื่ม พลังงานแสงอาทิตย ประกอบดวยสองสวน คอื สวนทใ่ี ชก รองน้ำ กับสว นทใ่ี หพ ลงั งาน โดยสว นทก่ี รองนำ้ นน้ั ใชเ ครอ่ื งกรองนำ้ ทห่ี าซอ้ื ไดทัว่ ไป แตพิเศษคือเพมิ่ การกรองหยาบเขาไป ทำใหสามารถใชไ ด กบั น้ำท่ีมีคุณภาพดอยกวานำ้ ประปา สว นดา นหลังของชุดกรองน้ำ ประกอบดวยอินเวอรเตอรที่รับพลังงานจากโซลาเซลล เพื่อชารจ แบตเตอรีป่ ม นำ้ อาศยั แรงดันทำใหเครอ่ื งทำงาน การใชง านงาย ผูใช เพยี งกดสวิทซเคร่อื งก็จะทำการกรองนำ้ ได น้ำด่มื ท่ีสะอาดปลอดภัย การออกแบบใหชุดกรองน้ำใชพลังงานจากโซลาเซลลแทนการ ใชไ ฟฟา เนอ่ื งจากในพน้ื ทป่ี ระสบอทุ กภยั สว นใหญร ะบบไฟฟา มกั จะ มปี ญหา ไมม ีไฟฟาใช รวมถงึ เร่ืองความปลอดภัยจากไฟร่วั ไฟช็อต สำหรับตน ทนุ การผลติ ประมาณ 20,000 บาทตอชดุ จึงเหมาะตอ การนำไปใชใ นกลมุ ชุมชนทอ่ี ยูรวมกันในหมบู า น ศนู ยอ พยพหรอื ศนู ยพ ักพงิ มกี ำลังการผลิตในการกรองน้ำดม่ื ได 120 ลิตรตอชั่วโมง หรอื ประมาณถงั น้ำขนาด 20 ลิตร จำนวน 6 ถงั ซงึ่ เพยี งพอตอ การบรโิ ภคของคนในชุมชน นอกจากนี้ ชุดกรองนำ้ ถูกออกแบบ ใหม ขี นาดเลก็ กะทดั รัด ใสใ นกระเปา เดินทางได เคล่ือนยายสะดวก สำหรับการนำไปใชง านในพืน้ ทปี่ ระสบภัยตา งๆ ได

126 (7) ชุดน้ำประปาแบบพกพา พฒั นาโดย: คณะวิทยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั ชดุ น้ำประปาแบบพกพาประกอบดวย 1. ขวดกรองนำ้ 2. สารจับ ตะกอน (ในชุดเรียกวา สาร ก.) 3. คลอรีนฆา เชอื้ (ในชดุ เรียกวา สาร ข.) 4. ถานกมั มนั ต (ชื่อทางการคา วา คารอาบอนหรือคารบ อน แกทองเสยี ) ข้ันตอนการผลติ เตรยี มน้ำปริมาณ 2 ลิตรหรือนำ้ 1 ขวดใหญ หยดสาร 1 ลงไปแลวกวนอยา งรวดเรว็ หรอื เขยา เปน เวลา 2 นาที จากนั้น ต้งั ทิง้ ไว 10 นาที ใหตะกอนนอนกน แลว ใช |ผา ขาวบางกรอง จะไดนำ้ ทสี่ ะอาดกอ นหยดคลอรีน 5 หยด กวน หรอื เขยา ใหเ ขา กนั ตง้ั ทง้ิ ไว 15 นาทจี ะไดน ำ้ สะอาดเทยี บเทา นำ้ ประปา ใช ในสว นของนำ้ ดม่ื จะกรองผา นชดุ กรอง ประกอบดว ย ถา นกมั มนั ต ซึ่งจะชว ยกำจดั สารที่ทำใหเกดิ สีและกลน่ิ รวมถงึ กล่ินคลอรีน และ กำจัดโลหะหนักบางชนิด ขั้นตอนคือ ตัดกนขวดพลาสติกเพื่อจะ ทำเปน ภาชนะกรอง รองดว ยสำลี และถานกมั มนั ตท ล่ี างแลว 3 คร้ัง จากน้ันปด จุกขวดดวยผากรอง ท้ังน้ี ในการผลิตน้ำดื่มควรนำนำ้ ทีไ่ ดไปตมกอนนำมาดื่มเพื่อความปลอดภัย ในชุดผลิตน้ำประปา จะมแี อลกอฮอลแ ขง็ ขนาด 250 ซีซี บรรจกุ ระปอ ง จำนวน 4 กระปอง เพือ่ ใหนำไปใชตมนำ้ หรือหุงขาวได โดย 1 กระปอ งใชต ดิ ไฟได 30 นาที ตม น้ำได 1 ลิตร หรือใชห งุ ขา ว 2 ½ ถว ยตวง โดยใชหมอ สแตนเลส เพื่อรบั ประทานได 3-4 คน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยเี พอื่ การบริหารจดั การภยั พบิ ตั ิ 127 (8) เครอื่ งกรองน้ำดมื่ ระบบ Reverse Osmosis (RO) พัฒนาโดย: สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หง ประเทศไทย (วว.) เปน เคร่ืองกรองนำ้ ด่มื ระบบ Reverse Osmosis (RO) ทส่ี ามารถ ผลิตน้ำดื่มที่สะอาดจากน้ำที่ทวม หรือน้ำในแมน้ำลำคลองไดถึง ชั่วโมงละ 1,000 ลิตร (9) เครอ่ื งกรองน้ำดม่ื ระดับชมุ ชน พัฒนาโดย: กรมวทิ ยาศาสตรบรกิ าร (วศ.) เทคโนโลยีเครอื่ งกรองน้ำดื่มระดบั ชุมชน ทมี่ กี ำลงั การผลติ 1,000 ลติ ร/ชวั่ โมง สำหรับการผลติ น้ำดม่ื ในชมุ ชน โดยเคร่อื งกรองนำ้ ดมื่ ดงั กลาว สามารถแกไขปญหาของการขาดแคลนน้ำของผูป ระสบภยั ได ลักษณะเครื่องกรองน้ำดื่มระดับชุมชนนี้สามารถนำน้ำดิบจาก แหลง น้ำผิวดิน เชน แมน ้ำ ลำคลอง หนองบงึ บอ หรือนำ้ จากบาดาล มาผา นระบบกรอง 2 ขน้ั ตอน คอื ขน้ั ตอนการกำจัดสารแขวนลอย การทำใหน้ำใส การฆาเชอ้ื โรค และขน้ั ตอนการปรับคณุ ภาพนำ้ ให เปน นำ้ ออน

128 (10) ลำดีอนิ โนฟดู ส พัฒนาโดย: บรษิ ทั เชยี งใหมวนสั นนั ส จำกัด รวมกับ สำนกั งาน นวตั กรรมแหง ชาติ (สนช.) เปนอาหารสำเร็จรูปพรอมรับประทาน ผลิดขึ้นภายใตโครงการ นวตั กรรมเพอ่ื ชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั นำ้ ทว ม ทบ่ี รษิ ทั เชยี งใหมว นสั นนั ส จำกดั รว มมอื กบั สำนกั งานนวตั กรรมแหงชาติ (สนช.) โดยเปน ผลิตภัณฑข าวเหนยี วนึ่งพรอ มเนือ้ สตั ว (ไกอ บซอส) บรรจถุ ุงปดสนิท ผานการฆาเช้ือดวยกระบวนการสเตอริไรซเซชั่นท่ีอุณหภูมิสูงกวา 100 องศาเซลเซยี ส และความดันมากกวา 15 ปอนดตอ ตารางนิ้ว จงึ เก็บรกั ษาไดน าน 1 เดือน โดยไมตอ งแชเย็น เมอ่ื จะรับประทาน กส็ ามารถฉกี ซองรบั ประทานไดทนั ที หรอื แชในนำ้ รอ น 3 นาที เพอ่ื อนุ ใหอ าหารนา รบั ประทานยง่ิ ขน้ึ จงึ มคี วามสะดวกตอ การขนสง และงา ยตอ การรบั ประทาน ซง่ึ ในโครงการดงั กลา วเลอื กใชข า วเหนยี ว และข้าวเหนียวดำ เนื่องจากช่วยทำให้รู้สึกอิ่มได้นานกว่าปกติ นวตั กรรมน้ี ไดถ กู นำมาใชใ นการผลติ อาหารสำเรจ็ รปู พรอ มรบั ประทาน จำนวน 50,000 ซอง ไดทำการแจกจายประชาชนที่ประสบภัย น้ำทว ม

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพือ่ การบรหิ ารจดั การภยั พิบตั ิ 129 (11) เมนขู าวผัดเก็บไดนาน พัฒนาโดย: คณะอตุ สาหกรรมอาหาร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร (ม.อ.) เปนการศึกษาวิจัยการแปรรูปอาหารเพื่อรองรับสถานการณอุทกภัย ในเขตภาคใต โดยคณะผวู ิจัยไดคิดคน เมนูขาวผัดทล่ี ดสดั สว นของ องคป ระกอบประเภทเนอ้ื และไข ทก่ี อ ใหเ กดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมที ม่ี ผี ลทำให อาหารเนา เสยี มาบรรจุในภาชนะปดสนิท ผา นการฆา เชอ้ื จลุ นิ ทรีย บรรจุลงในถุงยังชีพพรอมน้ำดื่มท่ีผลิตโดยคณะอุตสาหกรรม การเกษตร ทม่ี ีการปดฉลากบอกวนั หมดอายุ และขอ ควรระวงั ใน การบรโิ ภคทช่ี ดั เจน ทำใหง า ยตอ การแจกจา ย เพอ่ื รองรบั เหตกุ ารณ อุทกภัยที่จะเกิดขน้ึ ในอนาคต สามารถเกบ็ ไดน าน 1 เดือน ใน อนาคตจะขอทนุ สนับสนุนวจิ ัยเพ่ิมเติม เพ่อื คดิ สูตรอาหารใหม ีความ หลากหลาย รวมถึงการพฒั นาชนิดพันธขุ า วที่เหมาะสม การศกึ ษา วจิ ัยเรอื่ งอายกุ ารเกบ็ การเปลี่ยนแปลงคณุ ภาพ และบรรจุภณั ฑ โดยมุง หวังใหส ามารถเกบ็ อาหารไดน านมากขึน้ ไมเ นาเสีย เพ่อื ให ผูบริโภคหรือผูประสบภัยไดรับอาหารยังชีพที่มีรสชาติและคุณภาพ ทดี่ ขี ึน้

130 นวตั กรรมท่ชี วยในการใชชีวิตประจำวันภายใตภ าวะน้ำทว ม (12) สขุ าฉกุ เฉินตน แบบสเี ขียว พฒั นาโดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ รว มกบั สำนกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) และ กรมปา ไม เปน การศกึ ษาเรอ่ื งการใชป ระโยชน และการเพม่ิ มลู คา ไมส วนปา เชน ไมย ูคาลปิ ตสั โดยนำมาออกแบบและสรางเปนสุขาเคลอื่ นท่ี โดย สวนประกอบของสุขาจะใชไมสวนปาท่ีมีขนาดเล็กนำไปผานการอัด นำ้ ยาและอบแหงแลวเปน วสั ดหุ ลกั ในการประกอบสุขา ในสวนของ ผนงั ใชไมแ ผนทีท่ ำจากวัสดุทดแทนไมม นี ้ำหนกั เบา นำมาตอกันใน ลักษณะสำเรจ็ รปู (Knockdown) ทำใหประหยัดเวลาในการกอ สราง และลดคาใชจา ย คา ขนสง การดแู ลซอ มแซมบำรงุ รกั ษางาย และ ในสวนของหลังคาหองสุขาจะใชแผงโซลาเซลลเพื่อเปลี่ยนพลังงาน แสงอาทติ ยเ ปน พลงั งานไฟฟา สำหรบั ใหแ สงสวา ง ชว ยในการประหยดั พลังงาน และยังไดออกแบบนำ้ ใช น้ำทิง้ และการจดั เกบ็ สิ่งปฏิกูล อยางเปน ระบบภายใตห อ งสุขา

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการบริหารจดั การภยั พบิ ัติ 131 (13) บา นลอยนำ้ พัฒนาโดย: สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (เอไอที) รวมกับบริษัท เมเจอร์เน็ทเวิร์ค จำกัด และ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอรแ หง ชาติ (เนคเทค) สวทช. เปนบานชั้นเดียวที่สามารถลอยน้ำไดเม่ือเกิดเหตุการณน้ำทวม รอบบริเวณบาน โดยใชทุนดานลางของตัวบานที่สามารถยกให บา นลอยขนึ้ มาบนนำ้ ได นอกจากนี้ยังมีอปุ กรณส ำหรบั ผลิตกระแส ไฟฟาโดยใชแ ผง Solar Cell ซง่ึ สามารถผลติ กระแสไฟฟาเพ่อื ใชใ น ระบบแสงสวา งและประกอบอาหารได (บรษิ ทั ฯ มคี วามรว มมอื กบั เนคเทค สวทช.นำเทคโนโลยีหลอดสุญญากาศใชในการเก็บไฟจากแผง โซลาเซลสเพ่ือแปลงพลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานไฟฟาใชกับ หลอดไฟ/ปลั๊กไฟภายในบา น)

132 (14) กางเกงแกว พัฒนาโดย: ศนู ยเ ทคโนโลยโี ลหะและวสั ดแุ หง ชาติ (เอม็ เทค) สวทช. กางเกงแกว หรอื Magic pants เปน นวัตกรรมทพ่ี ฒั นาข้นึ สำหรบั ผูใสใชล ยุ น้ำราคาประหยัด โดยผใู ชสวมใสจ ากเทา ข้นึ มาถงึ เอวหรอื ถงึ อก เม่อื จะตอ งลุยน้ำทว มท่สี กปรก เพื่อปอ งกันโรคทมี่ ากับนำ้ ทวม เชนเทาเปอย หรือโรคติดเชื้ออื่นๆ อันจะชวยรักษาสุขอนามัยแก ประชาชนในภาวะนำ้ ทว ม (คำวา “แกว” หมายถึงความใสหรอื จะ แปลวาวิเศษก็ได) กางเกงแกว ใชก รรมวิธกี ารผลติ เหมือนโรงงานผลิต เสื้อกนั ฝนท่ัวไป โดยมขี นาดกวา งประมาณ 0.66 ม. ยาวประมาณ 1.35 ม. ผากลาง เชื่อมตะเข็บดวยความรอนจนมีลักษณะเปนรูป กางเกงทปี่ ลายขาเปนถุง ดา นปากถุง มีการตดิ เชือกเพ่อื ใชทำหนา ท่ี เปน สายรดั เอว โดยนกั วจิ ยั จากเอม็ เทค ไดค ดั เลอื กชนดิ ของพลาสตกิ ทเี่ หมาะสมกบั การใชงาน กลาวคือ มีคณุ สมบัติเหนียว บาง และ เนื้อสัมผัสนิ่มคลายผา รวมทั้งศึกษาวิธีการ/รูปแบบของการเชื่อม พลาสติกแบบตางๆ เพื่อเปรียบเทียบ ความคงทนในการใชงาน ในระยะยาว

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเพ่ือการบริหารจดั การภยั พบิ ัติ 133 (15) บเี อส 1593 ฆาลูกน้ำยงุ รำคาญ พฒั นาโดย: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหิดล กรมควบคุมโรค และ กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสุข สารบเี อส 1593 เปน น้ำเชอื้ ชีวภาพ ผลิตจากเชอ้ื แบคทเี รียบาซิลลสั สเฟยรคิ สั (Bacillus sphaericus) หรอื บเี อสสายพนั ธุ 1593 (BS 1593) โดยจลุ นิ ทรยี ช ุดนถ้ี ูกเก็บในชองแข็งนานกวา 20 ป เปน เช้อื ท่ีไดรบั การรับรองโดยองคก ารอนามยั โลก (WHO) วาปลอดภัย สารบีเอส สามารถฆาลูกน้ำยุงรำคาญตามน้ำทวมขังได 95-100% ภายใน 1-2 วัน จากการทดสอบใช 8,000 ลิตรกบั พื้นที่ 5,000 ไร ลูกน้ำ ท่ีกินผลึกแบคทีเรียเขาไปจะตายภายใน 24 ชั่วโมง แตขั้นตอน ผลติ ตองเขม งวด ไมใ หม ีสารอน่ื ปนเปอน

134 (16) หนูสะอาด พฒั นาโดย: ศูนยน าโนเทคโนโลยแี หงชาติ (นาโนเทค) สวทช. เปน ผาขนหนูกล่ินหอมสำหรบั เช็ดทำความสะอาดผวิ หนงั สามารถ ฆา เชอ้ื โรคทท่ี ำใหเ กดิ โรคผวิ หนงั ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ยบั ยง้ั เชอ้ื รา และแบคทเี รยี ท่ีมาจากการสมั ผัสกบั นำ้ สกปรก ขาดน้ำสะอาดชำระ ลา งรา งกาย รวมทงั้ ความอบั ชืน้ จากเส้อื ผาหรอื เครอื่ งแตง กายทีไ่ ม สะอาด ผาขนหนูสะอาดใชนาโนเทคโนโลยีรวมกับสารสกัดจาก ธรรมชาติ อาทิ นำ้ มนั กานพลู น้ำมันยคู าลปิ ตัส เพ่ือฆาเช้ือท่ีกอ ให เกดิ โรคทางผิวหนงั พกพาสะดวกและใชง านไดงา ยในทุกสถานท่ี (17) ป.ก.ย. 54 (แปงกนั ยงุ ) พัฒนาโดย: ศูนยน าโนเทคโนโลยีแหงชาติ (นาโนเทค) สวทช. เปน แปง ทาตวั กนั ยงุ ทผ่ี ลติ จากวตั ถดุ บิ ธรรมชาติ คอื แปง ขา วเจา และ ใชนาโนเทคโนโลยีผสานกับน้ำมันหอมระเหยจากธรรมชาติ เชน น้ำมันตะไครหอม น้ำมันยคู าลิปตสั และน้ำมันสม โดยเทคโนโลยี นาโนที่ใชจะเพ่ิมประสิทธิภาพของยากันยุงในรูปผงแปงใหมีฤทธ์ิ ไลยงุ ไดนาน 2.4 ช่วั โมง โดยแปง ป.ก.ย. 54 นี้จะไมม สี วนผสมของ ทัลคัมที่กอใหเ กิดการระคายเคอื ง และเปนอันตรายตอสุขภาพหาก ใชในระยะยาว จึงเปนผลิตภัณฑกนั ยุงทางเลือกสำหรับผบู รโิ ภคได

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพ่อื การบรหิ ารจัดการภัยพบิ ัติ 135 (18) มุงนาโน พฒั นาโดย: ศนู ยน าโนเทคโนโลยีแหง ชาติ (นาโนเทค) สวทช. เปน มงุ กนั ยงุ ทม่ี สี ารเดลตาเมธรนิ (Deltamethrin) ซง่ึ เปน สารสงั เคราะห เลยี นแบบสารสกดั จากดอกดาวเรอื งและดอกเกก็ ฮวย และไดร บั การ รบั รองจากองคการอนามยั โลก โดยเมอื่ ยุงสมั ผสั กับมงุ นจ้ี ะบนิ ชา ลง และตายในท่สี ดุ มงุ นีจ้ ะผลติ จากเสนใยธรรมชาติทผ่ี า นกระบวนการ นาโนเทคโนโลยีในการเคลือบเสนใยหรือผสมสารนี้ในเม็ดพลาสติก เพื่อขึ้นรูปเปน เสน ใย สงผลใหม ีคณุ สมบัตพิ ิเศษในการปองกันและ กำจัดยงุ ไดภายใน 6 นาที มีอายุการใชงานประมาณ 2 ป และ สามารถซักทำความสะอาดมุงนไ้ี ดม ากกวา 30 คร้ัง

136 (19) ชุดทดสอบเช้ือโรคฉห่ี นู พฒั นาโดย: ศนู ยน าโนเทคโนโลยแี หง ชาติ (นาโนเทค), มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล, จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั ชุดทดสอบเชื้อโรคฉี่หนูที่สามารถทดสอบไดโดยระยะเวลาอันส้ัน ในตนทุนต่ำ อนุภาค พอลิเมอรข นาดนาโนเมตรสำหรบั ยึดตรงึ โปรตนี แอนตบิ อดี และแอนตเิ จน จะมีการออกแบบและสงั เคราะห อนุภาคนาโน ทีม่ โี ครงสรางแบบ Core-shell เพื่อประยุกตใ ชใ น การผลติ เปน ‘ชุดทดสอบเชือ่ โรคฉ่ีหนูสำเร็จรปู ’ สามารถสังเกตผล การทดสอบไดดวยตาเปลาใชระยะเวลาส้ันกวาวิธีเดิมซ่ึงตองใชระยะ เวลามากกวาหนึง่ วนั รวมถึงมตี นทุนการผลิตตำ่ และสามารถนำไป ใชใ นการประยกุ ตใชต รวจวินจิ ฉัยโรคอน่ื ๆ ได

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเพ่อื การบรหิ ารจดั การภยั พิบตั ิ 137 กลมุ นวตั กรรมทางดานการเดนิ ทาง/การขนสง (20) วิธที ำรถยนตล อยน้ำ พฒั นาโดย: สำนักวชิ าวศิ วกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี สรุ นารี จ.นครราชสมี า เปน การนำตาขา ยและผา ใบมาใชหอ หมุ ตวั รถ เพอื่ ปอ งกนั น้ำไหลเขา ตวั รถซึ่งจะสรางความเสียหายใหก ับระบบตางๆ ของรถยนต อกี ท้ัง วธิ กี ารดงั กลาวนยี้ งั สามารถที่จะทำใหร ถยนตสามารถลอยน้ำ และ เคลอ่ื นยา ยรถยนตอ อกมาจากสถานทท่ี ถ่ี กู นำ้ ทว มได โดยใชอ ปุ กรณ เพอื่ ดำเนินการเพยี ง 3 อยางในการใชหอหมุ รถยนต ซึ่งไดมีการนำ รถยนตเกง นำ้ หนกั ไมเ กนิ 1,200 กิโลกรมั มาทำการทดสอบใน เบือ้ งตน ประกอบดวย 1) ผา ใบคลมุ สนิ คาท่ีรถบรรทกุ นิยมนำไปใช ขนาดความกวา ง 4 เมตร ยาว 7 เมตร หนา 2 มิลลเิ มตร 2) ตาขา ยเชือกขนาดเดียวกัน และ 3) เชอื กเพื่อใชสำหรับยึดตาขาย และผา ใบคลุมตวั รถยนตอีก 2 เสน

138 2.3 การรบั สถานการณฉ กุ เฉนิ (Emergency Response) งานวจิ ยั และนวตั กรรมทช่ี ว ยในการปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ปอ งกนั อนั ตราย ความสูญเสียต่างๆ เช่นการช่วยชีวิต กู้ภัย การแจกจ่ายอาหารยา การปฐมพยาบาลเบื้องตน ซึ่งจะเห็นวางานวิจัยและนวัตกรรมสวนใหญ จะเกย่ี วขอ งกบั การใหข อ มลู เชงิ พน้ื ทแ่ี บบ real-time เพอ่ื ชว ยในการตดั สนิ ใจ/ ลดความเส่ียงในการเดนิ ทางในภาวะทีไ่ มป กติ (1) การนำระบบประเมนิ และรายงานสถานภาพ การจราจร (Traffy) มาประยกุ ตใ ชใ นการรายงาน สถานการณนำ้ ทวม พฒั นาโดย: ศนู ยเ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ ละคอมพวิ เตอรแ หง ชาติ (เนคเทค) สวทช. การนำระบบประเมนิ และรายงานสภาพการจราจร หรอื Traffy มา ประยกุ ตใ ชร ายงานสถานการณน ำ้ ทว ม โดยการดงึ ขอ มลู การรายงาน สถานการณน ำ้ ทว มตามจดุ ตา งๆ จาก Social Media ดว ยการ พัฒนาโปรแกรมใหมีการดึงขอมูลจากคำสำคัญท่ีเกี่ยวกับน้ำทวม โดยอัตโนมัติ จากนั้นจะมีการคัดแยกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง การจราจรและน้ำทวมเปนหลักและนำขอมูลมาคัดกรองและแยก ประเภท เชน ดา นสถานการณน ำ้ ทว ม ดา นปญ หาจราจร ดา นการขอ ความชว ยเหลือ เปนตน ซง่ึ วธิ กี ารเลือกขอ มลู จะเลือกจากขอ มลู ทม่ี ี การทวิตเตอรซำ้ ๆ หรือคลายๆ กัน จากนั้นนำขอมูลที่มีการทวติ เตอร

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยเี พื่อการบริหารจดั การภยั พบิ ัติ 139 มาผูกกับพิกัดในพื้นที่นั้นๆ ว่ามีกล้องวงจรปิดของหน่วยงานใน เครือขายของ Traffy ตดิ ต้ังอยูบริเวณดงั กลา วหรอื ไม ถา มกี ็จะมีการ ถา ยทอดภาพในบรเิ วณนน้ั ๆ เลยวา มสี ถานการณน ำ้ ทว มเปน อยา งไร โดยเชอ่ื มตอ ขอ มลู กลอ งผานเวบ็ http://info.traffy.in.th ซงึ่ ผใู ช สามารถเช็คขอมลู ผานโทรศัพทมอื ถือที่ http://info.traffy.in.th/i เพื่อใหป ระชาชนเขา ถึงขอ มูลไดงายขึน้ (2) จาเฉยอัจฉรยิ ะ พฒั นาโดย: ศนู ยเ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ ละคอมพวิ เตอรแ หง ชาติ (เนคเทค) สวทช. รวมกับสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย และบริษัท เมเจอรเ นท็ เวริ ค จำกดั จา เฉยคอื หุน จำลองตำรวจทีต่ ิดตัง้ เทคโนโลยี sensor อยูตามตัว เพ่อื ใชใ นการตรวจจับความเร็วของรถท่ีวง่ิ ผา น และตรวจการแซง ทบั เสน ขาว (จุดหา มจอด หรอื คอสะพาน) อยางไรกด็ ี เพอื่ ตอบสนอง ตอการรับมอื อทุ กภยั ทีเ่ กดิ ขึ้น ไดม กี ารพฒั นาการตรวจสอบระดบั น้ำ บนพนื้ ถนนเพิ่มเติม เพ่ือใหสามารถรายงานสถานภาพน้ำทว มบน พื้นถนนไดตามความเปนจริงโดยใชการประมวลภาพน้ำบนพนื้ ถนน เทยี บกบั ถนนปกติ ทำใหผ ใู ชถ นนสามารถตรวจสอบขอ มลู วา สามารถ ทจ่ี ะวงิ่ ผานถนนดังกลา วไดหรือไม

140 (3) Flood Sign และ Flood Sign Application on Mobile Phone พฒั นาโดย: ศนู ยเ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ ละคอมพวิ เตอรแ หง ชาติ (เนคเทค) สวทช. เปนเคร่ืองมือท่ีใชในการรายงานระดับคราบน้ำทวมสูงสุดสำหรับ อุทกภยั ป 2554 หลักการทใี่ ชใ นการพฒั นาคอื เพอ่ื สง เสริมการใช Crowd Sourcing (แหลง ขอมลู จากประชาชน) ในการชว ยรายงาน ขอมลู ท่เี กยี่ วขอ งกบั ภัยพบิ ัติ เพ่อื ใหข อ มลู ครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีและมี ความทนั สมยั หรอื เปนปจจุบนั มากที่สดุ และเพ่อื ใหไดม าซง่ึ ขอมูล ระดับคราบน้ำท่วมและนำไปทำการวิจัยต่อยอด เช่นการพัฒนา กระบวนการประมาณคาในชวงท่ีไมมีผูรายงานขอมูลเขามา (interpo-lation) และการนำเสนอสถานการณน ำ้ ทว มจรงิ ทป่ี ระชาชน สามารถทำความเขาใจไดงาย โดยแสดงความสูง-ต่ำของระดับนำ้ เชิงพน้ื ท่ี

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพ่อื การบรหิ ารจัดการภัยพบิ ัติ 141 (4) ศนู ยบรกิ ารถายทอดการสื่อสารสำหรบั ผบู กพรองทางการไดยนิ และผบู กพรอง ทางการพูดเพื่อแจง เหต/ุ ขอรบั การชวยเหลือ พฒั นาโดย: ศนู ยเ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ ละคอมพวิ เตอรแ หง ชาติ (เนคเทค) สวทช. ในชวงมหาอทุ กภยั ป 2554 ที่ผา นมา มูลนธิ ิสากลเพอ่ื คนพกิ าร รว มกับ กระทรวงวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี โดย ศูนยเทคโนโลยี อเิ ล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแ หง ชาติ (เนคเทค) สวทช. โดยการ สนบั สนนุ ของ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสยี ง กิจการ โทรทศั น และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ไดจัดตงั้ ศูนย บรกิ ารถา ยทอดการสือ่ สารแหงประเทศไทย (เพอ่ื คนหหู นวก) ข้ึน โดยไดเ ปด บริการพเิ ศษ เพ่ือชว ยเหลือคนหูหนวก ซึง่ เปนกลุมท่ีมี อุปสรรคในการติดตอสอื่ สารและการรับรูขอมูล จงึ ทำใหไมสามารถ ไดร บั ทราบขอ มลู ขา วสารสถานการณน ำ้ ทว ม การชว ยเหลอื จากภาครฐั รวมถึงสิทธิประโยชนท่คี วรไดรบั และการรองขอความชว ยเหลอื เมอ่ื มีความจำเป็นเร่งด่วน โดยศูนย์ช่วยเหลือคนหูหนวกฯ ได้จัด เจา หนาที่ชวยรับแจง เหตฉุ กุ เฉิน (ลา มภาษามือ) จำนวน 8 คน ประจำใน 2 ชวงคือ ชว งที่ 1 เวลา 08.30 – 15.30 น. และชวงท่ี 2 เวลา 15.30 – 21.00 น. พรอมทัง้ มีทมี ประชาสัมพนั ธ ทีมติดตอ ประสานงาน ทมี ลงพ้นื ที่ ทีมงานกลาง เพือ่ ดำเนินการชว ยเหลือคนหูหนวกที่ ประสบอทุ กภยั บรกิ ารของศนู ยฯ ประกอบดว ย 1. บริการรบั แจง เหตุดวน การขอความชวยเหลือทเ่ี กิดขนึ้ ในภาวะ นำ้ ทว มภาคกลางและกรงุ เทพมหานคร 2. ประสานงานเพ่ือใหความชวยเหลือหรือใหขอมูลแกคนหูหนวก ตามที่รองขอ

142 3. ประสานงานใหความชวยเหลือกรณีคนหูหนวกตองการอพยพ โดยจัดหารถหรือเรือเขาไปรับพรอมเจาหนาท่ีลามภาษามือ รวมทงั้ การจดั หาศนู ยพกั พงิ สำหรบั คนหูหนวก 4. บรกิ ารแจงขอ มลู ขา วสาร รวมท้ังการแจง เตือนภยั นำ้ ทว มใหกบั คนหหู นวก 5. ประสานกับสมาคมคนหูหนวกแหงประเทศไทย เพอ่ื จดั ทำฐาน ขอมูลเบอรโทรศัพทในการติดตอส่ือสารของสมาชิกคนหูหนวก และการปก หมุดทอ่ี ยบู นแผนท่ี เพ่อื สามารถใหค วามชว ยเหลอื คนหหู นวกไดทันทวงที (5) Thai Flood Reporter พฒั นาโดย: บรษิ ทั Code App Co., Ltd. เปนแอพพลิเคชั่นสำหรับชวยกันรายงานสถานการณน้ำทวมใน ประเทศไทยผานเครอื ขา ยสงั คม โดยจะทำการสงตำแหนง ทอี่ ยู และเวลาขณะรายงาน รวมถงึ ภาพถา ยไปยัง Twitter พรอ มกับแทก็ #ThaiFlood ซง่ึ มผี ตู ดิ ตามสถานการณผ า นชอ งทางนอ้ี ยเู ปน จำนวนมาก รวมถึงผูมีบทบาทในการใหความชวยเหลือและเกาะติดสถานการณ นอกจากนย้ี ังสามารถสง SMS ไปยงั บรกิ าร 4567892 ของกระทรวง ICT ได โดยแอพพลิเคชัน่ จะชวยระบตุ ำแหนงของเพอื่ นๆ ทีร่ ายงาน เขา มาดว ย

วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พอ่ื การบรหิ ารจัดการภยั พิบตั ิ 143 (6) ThaiFlood พฒั นาโดย: สังคมนักพัฒนาแอนดรอยด (Droidsans) เปน แอพพลเิ คชน่ั รายงานสถานการณน ำ้ ทว มบน Android โดยไดบ อก รายละเอยี ดเบอรโ ทรศพั ทฉ กุ เฉนิ ขอ ความรายงานสถานการณน ำ้ ทว ม จากชาวทวิตเตอรที่ทวิตพรอมใสแทก #Thaiflood และรวมภาพ Gallery แสดงสภาพนำ้ ทว มตามแทก #thaiflood บนทวิตเตอรด วย เชนกัน ผูสนใจสามารถ download มาเพอื่ ติดตามขา วคราวและ ภาพสถานการณจาก twitter ทม่ี กี ารใช keyword thaiflood โดย สามารถตดิ ตามจากหนา เวบ็ ไดท ่ี http://droidsans.com/ThaiFlood/ (7) I lert u - mobile application พฒั นาโดย: Arunsawad dot com เปน Mobile application สำหรบั ผปู ระสบภยั หรอื กลมุ เสย่ี ง (i) สามารถ แจง เหตใุ หอาสาสมัคร (u) ผา นทาง mobile application ทีด่ าวโหลด ไดฟรี โดยผูใชสามารถกดปุมเลือกประเภทการแจงเหตุตางๆ บน application ได และอาสาสมคั รจะรบั ขา วสารการขอความชวยเหลือ นำไปประสานงานกับ หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง เชน สวพ 91 รวมถงึ ติดตามจนผปู ระสบภยั ไดรับความชว ยเหลือ

144 (8) เครอ่ื งบินตดิ อุปกรณถา ยภาพระบบเรดาร พฒั นาโดย: สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอภ.) รว มกบั องคการสำรวจอวกาศแหงประเทศญปี่ นุ (JAXA) สทอภ. และ JAXA ไดร ว มมอื กนั สง เครอ่ื งบนิ ตดิ อปุ กรณถ า ยภาพระบบ เรดาร ขึน้ บินสำรวจความเสียหายในพนื้ ทท่ี ำทวม 3 จงั หวดั ไดแก จ.นครสวรรค ชัยนาท และอยธุ ยา เมอื่ วันที่ 24 กนั ยายน 2554 โดยตดิ เรดาหไ วที่ใตทอ งเคร่ือง สามารถบนั ทกึ ภาพถายทางอากาศ ดวยความละเอียดสูงไดอยางแมนยำ และเมื่อผนวกกับภาพจาก ดาวเทียมธีออสและดาวเทียมดวงอื่นๆ ที่ สทอภ. รับสัญญาณ จะชวยใหการวิเคราะหและประเมินพื้นที่เสียหายจากน้ำทวมเปนไป อยางแมน ยำ โดย สทอภ. ไดเ ผยแพรภาพถายจากดาวเทียม แสดง พน้ื ทเ่ี สย่ี งภยั ในการเกดิ นำ้ ทว มฉบั พลนั ของ 13 เขตในกรงุ เทพมหานคร ไดแ ก หนองคา งพลู ทุงสองหอง สายไหม คลองถนน อนสุ าวรีย จระเขบัว ลาดพรา ว คลองกมุ คลองจนั่ หัวหมาก สะพานสูง คลองสองตน นนุ ลาดกระบัง และบริเวณปรมิ ณฑล ไดแก จ.นนทบรุ ี จ.นครปฐม จ.สมุทรปราการ และจ.ฉะเชิงเทรา เพื่อเตรียมรับ สถานการณน้ำทวม และหลีกเลี่ยงเสนทางจราจรที่มีน้ำทวมขัง รวมทั้งติดตามขาวสถานการณน ้ำทวม และระดบั น้ำอยา งใกลชดิ เพอ่ื เตรยี มอุปกรณป อ งกัน ตลอดจนเตรยี มยายทอ่ี ยูชัว่ คราว

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยเี พือ่ การบรหิ ารจดั การภัยพบิ ตั ิ 145 (9) ระบบโทรมาตรตรวจวัดสภาพอากาศและระดับน้ำ อัตโนมัตแิ ละระบบสง ขอ ความสั้น (SMS) แจง เตือนภัย จากปริมาณน้ำฝน น้ำในเขอ่ื น และพายุ พฒั นาโดย: สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องคก ารมหาชน) (สสนก.) เปนระบบสำหรับตรวจวัดสภาพอากาศและระดับน้ำอัตโนมัติ มีขนาดเลก็ ตดิ ตง้ั งา ย สามารถเชอ่ื มโยงขอ มลู อตั โนมตั ผิ า นระบบ GPRS และมรี ะบบแสดงผลขอ มลู ในรปู แบบของ Internet GIS ผา นทาง เว็บไซต www.thaiweather.net รวมท้งั มรี ะบบสง ขอ ความสั้น (SMS) แจงเตือนภัย เมื่อตรวจพบขอมูลที่มีแนวโนมจะกอใหเกิดภัยจาก ปรมิ าณฝนทต่ี กหนกั และเตอื นภยั ปรมิ าณนำ้ ในเขอ่ื น และพายุ เพอ่ื แจง ไปยงั หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง ไดแ ก กรมชลประทาน กรมปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย กรมทรพั ยากรธรณี ศูนยเตือนภยั พิบัติ แหงชาติ มูลนิธริ าชประชานุเคราะหในพระบรมราชปู ถมั ภ มลู นิธิ อาสาเพ่ือนพงึ่ (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย สำนกั งานเทศบาล เมอื งเกาะสมยุ จังหวัดสุราษฎรธานี ใหเตรยี มพรอมรบั สถานการณ ไดท นั ที

146 (10) แผนภาพคาดการณฝ นลวงหนา 7 วัน พฒั นาโดย: สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องคก ารมหาชน) (สสนก.) งานวจิ ยั และพฒั นาแบบจำลองลม (RAMS) และแบบจำลองสภาพอากาศ (WRF) สามารถคาดการณฝนและสภาพอากาศลว งหนา ได 7 วัน โดยขอ มูลดังกลาวจะถกู สง ตอใหกรมชลประทาน กรมปองกันและ บรรเทาสาธารณภยั กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา ศนู ยเตอื นภยั พบิ ตั ิแหง ชาติ การไฟฟาฝายผลติ แหง ประเทศไทย และสำนักงานพฒั นาเทคโนโลยี อวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) เพื่อสนับสนุนการ เตือนภยั และการบริหารจัดการน้ำ ในปง บประมาณ พ.ศ. 2555 จะมีการวิจัยและพัฒนาตอ ยอดเรอ่ื ง การคาดการณร ะยะกลางและระยะยาว (7 เดือน) เพอ่ื ระบชุ วงเวลาที่ ฤดกู าลจะเปลีย่ น หรอื ฝนท้ิงชว งได และใชเ ปนขอ มลู ในการวางแผน การเพาะปลูก และบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศตอไป โดยหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถใชประโยชนจากแบบจำลองลม และแบบจำลองสภาพอากาศ ในการวเิ คราะห วจิ ัย ติดตาม และ เตือนภัย จากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ดูข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ http://live1.haii.or.th/wrf_image/index.php

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพ่อื การบริหารจดั การภยั พบิ ตั ิ 147 (11) โทรมาตรตดิ ตามระดับนำ้ อตั โนมตั ิ ในคลองรังสติ ประยรู ศกั ดิ์ พฒั นาโดย: สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องคก ารมหาชน) (สสนก.) ในชวงมหาอุทกภัยที่ผานมา สสนก. ไดติดตั้งสถานีวัดระดับน้ำ อัตโนมัติที่สะพานขามคลองรังสิตประยูรศักด์ิบริเวณคลองหนึ่ง จ.ปทมุ ธานี เพอ่ื ตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงระดบั นำ้ รายชว่ั โมงในคลอง รังสติ ประยูรศกั ด์ิอยางตอ เนอ่ื ง และเปน ขอมูลสนับสนนุ การเตือนภยั ทั้งนี้สามารถติดตามขอมูลไดที่เว็บไซต http://telein.haii.or.th/ report/future.php

148 (12) ระบบตดิ ตามการระบายนำ้ ออกจากพ้ืนทน่ี ้ำทวมขัง พฒั นาโดย: สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องคก ารมหาชน) (สสนก.) สสนก. ไดจัดทำช้นั ขอ มลู พน้ื ทน่ี ้ำทวมจากภาพถา ยดาวเทียม ประตู ระบายน้ำ แนวคันกน้ั น้ำ พนื้ ท่กี ารระบายนำ้ ฝงตะวันตก พ้ืนทีก่ าร ระบายนำ้ ฝง ตะวันออก คลองตางๆ รวมถงึ คลองลัด เพอ่ื เปนขอ มูล แกหนวยงานที่เกี่ยวของและประชาชนที่สนใจ โดยสามารถเขาถึง ขอ มูลผานเว็บไซต http://live1.haii.or.th/thaifloodwatch/igis/ index.php

วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพ่ือการบรหิ ารจดั การภัยพบิ ัติ 149 (13) ระบบขอมูลสำหรับติดตามและแกไขปญ หาน้ำทว ม พัฒนาโดย: สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องคการมหาชน) (สสนก.) เปน ระบบขอ มลู สนบั สนนุ เพอ่ื การตดิ ตามและแกไ ขปญ หาสถานการณ นำ้ ทว ม โดยมชี นั้ ขอมูลพ้ืนทน่ี ำ้ ทวมจากภาพถา ยดาวเทยี ม ประตู ระบายนำ้ แนวคันก้ันน้ำ พ้นื ท่กี ารระบายนำ้ ฝง ตะวนั ตก พน้ื ท่ี การระบายน้ำฝง ตะวนั ออก คลองตางๆ รวมถงึ คลองลดั เพ่อื ให หนวยงานท่ีเก่ียวของใชประโยชนในการดำเนินการแกไขปญหา http://live1.haii.or.th/thaifloodwatch/igis/index.php (14) การใชข อ มูลจากดาวเทยี มในการติดตามพ้นื ทน่ี ำ้ ทวม พฒั นาโดย: สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) (สสนก.) การใชข อ มลู จากดาวเทยี ม RADARSAT-1 ในการประเมนิ สถานการณ น้ำทวมเพ่ือเปนเคร่ืองมือในการประมาณการพ้ืนท่ีท่ีเสียหายจาก น้ำทวม โดยจำแนกพื้นที่น้ำทวมตามการใชประโยชนที่ดิน (ไร)