Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 102วิทยาศาสตร์และเทคดนโลยีเพื่อป้องกันภัยพิบัติ

102วิทยาศาสตร์และเทคดนโลยีเพื่อป้องกันภัยพิบัติ

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-05-20 10:32:26

Description: 102วิทยาศาสตร์และเทคดนโลยีเพื่อป้องกันภัยพิบัติ

Search

Read the Text Version

50 3.1.3 การประยุกตใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการลด ผลกระทบจากภัยพิบัตธิ รรมชาติ 1) การเฝา ระวงั และการเตรยี มพรอ มดา นขอ มลู ขา วสารเกย่ี วกบั ภยั พิบตั ิ • เหตุการณแผน ดินไหวฮันชนิ ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ระบบการเฝา ระวงั ภยั พบิ ตั ทิ ข่ี าดความถกู ตอ งของขอ มลู เปน ผล ใหค ณะรฐั มนตรไี ดร บั รายงานทผ่ี ดิ พลาดวา แผน ดนิ ไหวเกดิ ขน้ึ ทีเ่ มอื งเกียวโต ซงึ่ หา งจากโกเบถึง 50 กิโลเมตร จงึ ทำให รัฐบาลกลางไมสามารถใหความชวยเหลือตอสถานการณท่ี เกิดขึน้ ไดทนั ทว งที • เหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) การเฝา ระวงั เหตกุ ารณแ ผน ดินไหว: รฐั บาลญป่ี นุ ตดิ ตง้ั จดุ ตรวจวดั ความรนุ แรงของแผน ดนิ ไหวไวถ งึ 627 จุดทวั่ ประเทศ โดยมีศูนยอ ตุ ุนยิ มวิทยาของญ่ปี ุน (The Japanese Meteorological Agency: JMA) เปน หนวยงาน รับผิดชอบหลัก ซึ่งเป็นศูนย์บริการด้านสภาพอากาศของ รฐั บาลญป่ี นุ ทำหนา ทร่ี วบรวมและรายงานขอ มลู สภาพอากาศ พยากรณอากาศสำหรับประเทศญี่ปุน ตลอดจนตรวจสอบ ตดิ ตามและแจง เตอื นภยั จากภยั ธรรมชาติ มฐี านะเปน หนว ยงาน กง่ึ อิสระสังกัดกระทรวงที่ดิน สาธารณูปโภคและการขนสง นอกจากนี้ ยังรับผิดชอบการสังเกตการณ์ การเตือนภัย แผน ดินไหว คลน่ื สนึ ามิ และการปะทุของภเู ขาไฟ

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพอื่ การบริหารจดั การภัยพบิ ัติ 51 การเฝาระวังเหตุการณคลืน่ สนึ ามิ: รัฐบาลญี่ปุนติดตั้งระบบเฝาระวังภัยสึนามิแลวเสร็จ เมื่อป พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) ซ่งึ ประกอบดวยเซ็นเซอร 300 ตัว รอบพื้นผวิ มหาสมุทร และเซ็นเซอรใตน ้ำ 80 ตัว เพอ่ื ตรวจจบั แรงส่ันสะเทือนและติดตามความเปล่ียนแปลงปจจัยท่ีจำเปน ในการพยากรณก ารเกิดสึนามิ 2) การพยากรณและคาดการณอ นั ตรายจากภยั พบิ ัติ • เหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) การพยากรณแ ละคาดการณแผน ดินไหว: แมญี่ปุนรวมถึงทุกประเทศในโลกยังไมสามารถคาดการณ การเกิดแผนดินไหวได แตดวยขอมูลจากระบบเฝาระวังภัย แผนดินไหวในญ่ปี นุ ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ ทำใหญ่ปี ุน สามารถรบั รู ถึงภัยแผนดินไหวทเี่ กิดข้นึ ไดอยา งทนั การณ (realtime) และ สามารถแจงเตือนภัยไดโ ดยอัตโนมัติภายใน 3 วนิ าที หลงั เกิด แรงสนั่ สะเทอื นทศี่ ูนยกลาง การพยากรณแ ละคาดการณคล่นื สึนามิ: ดวยขอมูลจากระบบเฝาระวังภัยสึนามิ การเคลื่อนไหวของ ศนู ย์กลางใต้พื้นผิวมหาสมุทร และระดับความรุนแรงของ แผ่นดินไหว จะถูกคำนวณโดยคอมพิวเตอร์อัตโนมัติ ที่มี การจัดทำแบบจำลองเพื่อชวยในการคำนวณมากกวา 100,000 แบบจำลอง รว มกับการตรวจสอบรวมกนั ทั้งคนและ เครอื่ งมอื เพอื่ แสดงผลของการเกดิ สึนามิ โดยจะแสดงความสงู ความเรว็ ตำแหนง และระยะเวลาที่จะซดั ถึงชายฝง

52 3) การปองกันและลดความเสียหายจากภยั พิบตั ิ • เหตกุ ารณแผน ดินไหวฮนั ชิน ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) แมประเทศญี่ปุนปรับปรุงมาตรฐานการกอสรางโดยคำนึงถึง หลกั วทิ ยาศาสตรเพอ่ื รองรับภัยแผนดนิ ไหว ในป พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) เพื่อความพร้อมและการเตรียมการรับมือกับ แผ่นดินไหว โดยสิ่งปลูกสร้างยุคใหม่ทั้งอาคารและถนนมี การออกแบบเพ่ือรองรับแผน ดนิ ไหว แตเ มอื่ เกิดแผน ดนิ ไหว ขน้ึ ยงั มอี าคารเกา จำนวนมากทก่ี อ สรา งดว ยเทคโนโลยที ล่ี า สมยั ไมสามารถตานทานความรุนแรงไดจึงพังถลมลงมาหรือไดรับ ความเสียหายจากการเกดิ เพลงิ ไหม ภายหลงั เหตกุ ารณภยั พิบัติ หนวยงานทองถน่ิ ไดป รับการวาง ผังเมืองซึ่งชวยปองกันแผนดินไหว กำหนดแนวปองกันไฟ สรา งถนนและสิ่งกอสรา งท่ีมมี าตรฐานสงู สามารถตา นทาน แรงสน่ั สะเทือนแผนดนิ ไหว รวมทงั้ สง เสรมิ ใหมกี ารใชวัสดุกนั ไฟในการกอสรางบานและทีอ่ ยอู าศยั ยง่ิ ไปกวา นั้น ในป พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) รัฐบาลญ่ีปุนได ผา นกฎหมาย ซึง่ เพมิ่ ความเขมงวดกับระเบียบกอสรางอาคาร ตลอดจนกำหนดใหสิ่งปลูกสรางใหมจะตองตานทานแรงสั่น สะเทือนจากแผนดินไหว แตกฎหมายนี้ยังไมครอบคลุมถึง อาคารเกา จำนวนมากทย่ี งั เสย่ี งตอ ความเสยี หายจากแผน ดนิ ไหว ในอนาคต อยา งไรกต็ าม หนว ยงานท่ีปรึกษาดา นการพัฒนาของญป่ี นุ (Official Development Assistance) เสนอใหร ัฐบาลญ่ปี นุ เปลี่ยนแปลงนโยบายดานการบริหารจัดการภัยพิบัติจากเดิม ท่ีเนน วศิ วกรรมปอ งกัน (Engineer-Oriented) ไปสแู นวทาง บรหิ ารจดั การแบบบรู ณาการซง่ึ รวมถงึ การบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ิ

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พือ่ การบรหิ ารจัดการภัยพบิ ัติ 53 ทเ่ี นน บทบาทของชมุ ชนเปน สำคญั เนอ่ื งจากหนว ยงานทป่ี รกึ ษา ดา นการพัฒนาของญป่ี นุ พบวา หนว ยงานของรัฐมขี ดี ความ สามารถจำกดั ในการรักษาชีวติ ของประชาชน ดังนน้ั ชมุ ชนจึง ควรเปนกลไกสำคัญที่มีบทบาทในการบริหารจัดการภัยพิบัติ ทเี่ กิดข้ึน ภายหลังเหตุการณแผนดนิ ไหวที่เมอื งโกเบ พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ซึ่งมีผูเสียชีวิตถึงกวาหกพันคน นำไปสูการปรับปรุง มาตรฐานการกอ สรา งของประเทศในป พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ซ่ึงมคี วามเขมงวดและมีรายละเอยี ดเพม่ิ มากข้ึน • เหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ภายหลังการปรับปรุงมาตรฐานการกอสรางของประเทศในป พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ซึ่งมีความเขมงวดและมีรายละเอียด เพ่มิ มากข้นึ ดังกลาว ทำใหปจ จบุ นั อาคารและสิง่ กอสรา งใน ประเทศญี่ปุนไดรับการออกแบบใหมีความยืดหยุน มีระบบ ปอ งกันภัยทีร่ ับมอื แผนดินไหวไดดี ใชวัสดทุ นไฟ ยงิ่ ไปกวาน้นั ลา สุดไดออกแบบใหอ าคารท่ีสรา งใหม โดยเฉพาะอาคารสงู ทุกแห่งสามารถเอนไปมาได้ขณะแผ่นดินไหว นอกจากนี้ เทคโนโลยีอัจฉริยะทำใหระบบรถไฟฟาท้ังใตดินและบนดิน จะหยุดวิง่ ทันทีขณะเกิดแผน ดนิ ไหว และยิง่ ไปกวานน้ั อาคาร บา นเรอื นทกุ หลงั จะมีระบบเซนเซอรติดตัง้ ทม่ี เิ ตอรแ กส หาก ตรวจจบั แผนดินไหวทีม่ ีความรุนแรงเกิน 5 แมกนิจูด-ตาม มาตราริกเตอร จะตัดการจายแกสโดยอตั โนมตั ิ ทำใหชว ยลด โอกาสการเกิดเพลงิ ไหมเมือ่ เกดิ แผน ดนิ ไหว

54 4) การลดความเปราะบางและเส่ียงตอความเสียหายของระบบ โครงสรา งพนื้ ฐานสำคัญยิง่ ยวด (Reduce vulnerability of interdependent critical infrastructure) • เหตกุ ารณแผนดินไหวฮันชิน ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) เนื่องจากแผนดินไหวโกเบเกิดข้ึนในชวงเวลาท่ีการพัฒนา ระบบโทรคมนาคมยงั ไมก าวหนา มากนกั โทรศพั ทเคลื่อนท่ี และการสอ่ื สารทางอนิ เทอรเ นต็ ยงั ไมแ พรห ลาย ดงั นน้ั เมอ่ื เกดิ แผนดินไหว ซง่ึ ทำใหร ะบบไฟฟาและระบบโทรศัพทพืน้ ฐาน ถกู ทำลายท้งั ระบบ ความเสียหายดงั กลาวเช่อื มโยงลกุ ลามจน เปน เหตใุ หพ ืน้ ทีป่ ระสบภัยพิบตั ิถกู ตัดขาดจากรัฐบาลกลาง • เหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ประเทศญ่ีปุนไดมีการปรับปรุงมาตรฐานและจัดเตรียมระบบ บรกิ ารสาธารณะพน้ื ฐาน ทง้ั สถานพยาบาล ระบบสาธารณปู โภค พ้ืนฐาน ทั้งระบบคมนาคม ระบบไฟฟ้า ระบบประปา โครงขา ยโทรศพั ท สิ่งอำนวยความสะดวก และอปุ กรณตา งๆ ในการดำรงชวี ติ ขน้ั พน้ื ฐาน เพอ่ื รองรบั เหตฉุ กุ เฉนิ และสามารถ ให้บริการได้แม้ในยามเกิดภัยพิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แผน ดนิ ไหวขนาดใหญ 5) การเตือนภัยและเผยแพรแนวทางการปฎิบัติที่เหมาะสม ภายใตความเส่ียงจากภยั พิบตั ิ • เหตกุ ารณแผน ดินไหวฮนั ชิน ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) การรายงานสถานการณท ล่ี า ชา และคลาดเคลอ่ื นทำใหผ ปู ระสบภยั ตองดำรงชีวิตอยางยากลำบากในท่ีพักฉุกเฉินที่มีท่ีวางไม เพยี งพอตอจำนวนผูประสบภยั รวมทัง้ การขาดแคลนอาหาร นำ้ ดืม่ ผาหมและเคร่ืองใชต างๆ

วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พ่อื การบรหิ ารจดั การภัยพิบัติ 55 อย่างไรก็ตาม ภายหลังเหตุการณ์ภัยพิบัติ รัฐบาลญี่ปุ่น ไดรณรงคและใหความรูแกประชาชนถึงการปฏิบัติตนในบาน ในโรงเรียนและสถานที่ทำงาน ทำใหชาวญี่ปุนตระหนักใน ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติตนอยางขึน้ ใจ เชน การปด ทอ แกส การตัด ไฟฟากอนอพยพไปสูที่กำบังที่มั่นคง เด็กนักเรียนจะอพยพ ไปอยใู นสนามหญา เปด โลง เมอ่ื เกดิ แผน ดนิ ไหว รวมถงึ จดั เตรยี ม ความพรอมของหนวยกูภัยที่พรอมใหความชวยเหลืออยาง เป็นขั้นตอน ซึ่งทั้งหมดเป็นส่วนหนึ่งของมาตรการรับมือ แผนดนิ ไหวทชี่ าวญปี่ นุ ไดถ า ยทอดความรูตอกัน โดยรฐั บาล มีการจดั ทำคมู ือเรื่องภยั แผน ดินไหว รวบรวมลำดบั ขั้นตอน ต้ังแตกอนเกดิ ระหวา งเกิด และหลงั เกดิ เพอ่ื งา ยตอ การศึกษา และการปอ งกนั ทส่ี ามารถใชไ ดจ รงิ • เหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ปจจุบันระบบการปองกันและการเตือนภัยที่ญี่ปุนพัฒนาข้ึน ถอื วาทดี่ ีท่ีสดุ ในโลก แมเ หตุภัยพบิ ตั ิครั้งนี้จะสรา งความสูญ เสยี ท่ีไมส ามารถประเมินคา ได แตเปน ท่ยี อมรับโดยทั่วไปวา ญปี่ นุ มรี ะบบเตือนภยั ทีร่ วดเรว็ แมนยำ และมปี ระสทิ ธภิ าพ และเปนประจักษแลววาสามารถรักษาชีวิตของประชาชนไวได นบั หม่ืนคนจากเหตุการณภยั พบิ ัตคิ ร้ังน้ี โดยระบบเตือนภัยแผนดินไหวของประเทศญ่ีปุนสามารถ ทำงานอัตโนมัตภิ ายใน 3 วินาที หลังเกิดแรงสัน่ สะเทือน ที่ศนู ยกลาง โดยคลืน่ แผนดนิ ไหวใชเวลา 90 วนิ าทีในการ เดนิ ทางถึงกรงุ โตเกยี ว หรือประชาชนจะมเี วลาราว 1 นาที ในการหาที่กำบังภัยหลังไดรับสัญญาณเตือนภัยลวงหนา โดยเมือ่ เกิดแผน ดนิ ไหวระบบจะสง สัญญาณเตือนภยั อตั โนมัติ

56 ถึงประชาชนโดยตรงทางโทรศัพทเคลื่อนที่ และผานสถานี โทรทัศน์ วิทยุ รวมทั้งการแจ้งเตือนในสถานประกอบการ โรงงาน โรงพยาบาล และโรงเรียน ผานระบบ Area Mail Information Service แสดงใหเห็นถงึ ประสิทธิภาพของระบบ การเตือนภัยที่ชวยรกั ษาชวี ติ ประชาชนไวไ ดเปน จำนวนมาก ในขณะท่ี การเตอื นภยั สนึ ามใิ ชเ วลา 3 นาที หลงั เกดิ แผน ดนิ ไหว โดยคล่นื สนึ ามใิ ชเ วลาเดินทาง 6 นาทีกอ นพัดถลม ชายฝง ที่ อยใู กลจ ดุ ศนู ยกลางแผนดินไหว หรือประชาชนจะมเี วลาราว 15 นาที ในการอพยพไปสทู ป่ี ลอดภยั หลงั ไดร บั สญั ญาณเตอื นภยั ลว งหนา ซึ่งชวยปองกันการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นตามมาเปน อนั มาก ทั้งนี้ การเตือนภยั สนึ ามิครง้ั แรกเกดิ ขนึ้ เม่อื ป 2484 (ค.ศ. 1941) ในเวลานน้ั เปน เพียงระบบการเตือนภัยในระดบั ทองถิ่น โดยใชสถานกี ระจายเสียงของทองถ่ิน และการติดตอ ผานโทรศพั ทถ งึ สถานตี ำรวจ โดยใชเ วลาประมาณ 10-20 นาที หลงั การเกดิ แผน ดนิ ไหว ทง้ั นี้ ในการแจง เตอื นภัยสึนามนิ นั้ ศนู ยเ ตอื นภยั สนึ ามภิ มู ภิ าคจะเผยแพรข อ มลู เตอื นภยั ดว ยสาย การติดตอ ภาคพนื้ ดิน และดาวเทียม สง ตอ ไปยังองคกรและ สาธารณะ สวนประชาชนที่อาศยั อยูน อกพนื้ ทีด่ ังกลา วก็จะมี การแจง ใหเตรยี มพรอ ม และคอยเฝาตดิ ตามสถานการณจ าก ศนู ยเ ตือนภยั ทอ งถนิ่ ท่ี นอกจากนี้ เนื่องจากหลักการสำคัญในการเตือนภัย คือ ความรวดเรว็ และความแมนยำ รฐั บาลญ่ีปนุ สามารถลดระยะ เวลาเป้าหมายที่ใช้ในการเตือนภัยได้สำเร็จจาก 20 นาที ในป พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) มาเปน 13 นาทใี นป พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) และ 3 นาที ในป พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) ตามลำดับ

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พอื่ การบริหารจดั การภยั พิบัติ 57 อยา งไรกต็ าม นอกเหนอื จากสง่ิ ซง่ึ ไดก ลา วมาแลว นน้ั สง่ิ ทป่ี รากฏ แกสายตาชาวโลกและมีความโดดเดนท่ีสุดในการบริหารจัดการภัยพิบัติ เหตกุ ารณแ ผน ดนิ ไหวและคล่ืนสนึ ามิ ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ของ ญี่ปุน หาใชความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการรับมือ กบั ภยั พบิ ัตไิ ม หากแตเปนอัตลกั ษณของคนญปี่ นุ ท่ีมีระเบยี บวินยั อดทน มงุ ม่นั ทุกคนรว มมือกนั แกไ ขปญหาท่กี ำลงั เผชญิ อยอู ยางเปน ขัน้ ตอน ตาม ระบบทอ่ี อกแบบและวางไวล ว งหนา โดยปราศจากความวนุ วาย ตน่ื ตระหนก แมใ นชว งเวลาท่วี กิ ฤตอิ ยางยิง่ แมก ระทงั่ ผูอพยพก็ตางแสดงความเขา ใจ ตอ ความยากลำบากของรัฐบาลและเจา หนาที่ และพรอมที่จะรวมมอื หรอื ชว ยกนั แกไ ขสถานการณดวยการรว มแรงรวมใจ 3.2 การประยกุ ตใ ชว ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พอ่ื การบรหิ าร จดั การภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตใิ นประเทศสหรฐั อเมรกิ า กรณีศกึ ษาเหตุการณเ ฮอรรเิ คนแคทรีนา (Hurricane Katrina) พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) สหรัฐฯ มีการจัดต้ังหนวยงานที่ทำหนาที่ในการบริหารจัดการ ภัยพบิ ัตโิ ดยตรงอยางสำนักงานบรหิ ารจดั การสถานการณฉ กุ เฉินแหงชาติ สหรัฐฯ (Federal Emergency Management Agency: FEMA) และ หนว ยงานปอ งกนั ภยั ของรฐั บาลทอ งถน่ิ ซง่ึ มหี นา ทใ่ี นการเตรยี มพรอ มรบั มอื กบั ภยั พบิ ตั อิ ยา งเปน ระบบ นอกจากน้ี ยงั มหี นว ยงานทท่ี ำงานสอดประสาน กนั เกย่ี วกบั การพยากรณค าดการณแ ละการเตอื นภยั พบิ ตั ิ ไดแ ก สำนกั บรกิ าร สภาพอากาศแหง ชาติสหรัฐฯ (National Weather Service: NWS) ศูนย เฮอรร เิ คนแหง ชาตสิ หรฐั ฯ (National Hurricane: NHC) และหนว ยปอ งกนั ภยั ชายฝง สหรฐั ฯ (United States Coast Guard: USCG) โดยในกรณขี องเฮอรรเิ คนแคทรินาน้นั มกี ารติดตามเฝา ระวังและ แจง เตอื นภยั อยางตอ เน่อื งนับสัปดาหกอนทีพ่ ายจุ ะพดั เขา สูฝง ซงึ่ รัฐบาล

58 ทอ งถน่ิ มบี ทบาทสำคญั ทจ่ี ะตอ งเรง เตรยี มความพรอ มเพอ่ื ปอ งกนั ภยั รวมถงึ อพยพประชากรไปสทู พ่ี น้ื ทป่ี ลอดภยั อยา งไรกต็ าม เนอ่ื งจากพายเุ ฮอรร เิ คน แคทรนิ าเปน ภยั พบิ ตั ขิ นาดใหญเ กนิ กวา ทร่ี ฐั บาลกลางจะคาดถงึ ประกอบกบั รัฐบาลกลางไมไดรับรายงานขอมูลขาวสารอยางเพียงพอและทัน สถานการณ ดังนนั้ การบรหิ ารจดั การภยั พิบตั ิครัง้ นจี้ ึงไมมปี ระสทิ ธิภาพ เทา ทค่ี วร ทำใหป ระธานาธบิ ดแี ละรฐั บาลกลางถกู วจิ ารณถ งึ ความลม เหลว ในการบริหารจัดการภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉินและตอบสนองตอเหตุการณ ชาเกนิ ไป นบั ตั้งแตการเตรียมการปอ งกนั จนไปถึงการฟน ฟแู ละชดเชย ใหแกผูประสบภัย สงผลใหผูอำนวยการสำนักงานบริหารจัดการภาวะ ฉกุ เฉนิ กลางแหง สหรฐั ฯ (FEMA) และผบู งั คบั บญั ชาระดบั สงู ของกรมตำรวจ เมอื งนวิ ออรลนี ส ตองแสดงความรบั ผดิ ชอบดวยการลาออกในเวลาตอมา ในทางกลบั กัน สำนักบริการสภาพอากาศแหง ชาติสหรัฐฯ (NWS) ศนู ยเฮอรร ิเคนแหงชาตสิ หรัฐฯ (NHC) และหนวยปอ งกนั ภัยชายฝง สหรฐั ฯ (USCG) กลบั ไดรับคำชืน่ ชมอยา งมาก จากการคาดการณและเตือนภยั ท่ี รวดเรว็ และแมนยำ สดุ ทา ยแลว ความลม เหลวในการบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั เิ ฮอรร เิ คน แคทรินาของรัฐบาลกลางสหรัฐฯ ทำใหภายหลังจากเหตุการณภัยพิบัติ เฮอรร เิ คนแคทรินา สหรฐั ฯตอ งชดใชว ามผดิ พลาดครง้ั น้ดี ว ยงบประมาณ มหาศาลเพื่อใชในการบูรณะฟนฟูพื้นที่ประสบภัย ตามมาตรการซึ่งถูก บญั ญตั ขิ น้ึ เปน กฎหมายเฉพาะทเ่ี รยี กวา พระราชบญั ญตั เิ พอ่ื การฟน ฟเู ศรษฐกจิ และบรรเทาภยั พิบตั ิเฮอรร ิเคนแคทรินา (Hurricane Katrina Disaster Relief and Economic Recovery Act) ซึง่ ประกาศเมือ่ วนั ท่ี 22 กนั ยายน พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) เพ่ือกำหนดมาตรการฟน ฟูและบรรเทาผลกระทบ จากภยั พบิ ัติ ซ่ึงครอบคลุมทั้งทางดา นทีอ่ ยูอาศยั สงั คม เศรษฐกิจ การคา การเกษตร และสง่ิ แวดลอ ม อยา งไรกต็ าม เนอ่ื งจากการดำเนนิ การดงั กลา ว เปนการสั่งการจากรัฐบาลกลางสหรัฐฯ สงผลใหเกิดความลาชาและไม สามารถตอบสนองความตองการของผูประสบภัยในพื้นท่ีไดทันทวงที

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พื่อการบริหารจัดการภัยพิบตั ิ 59 เห็นไดจากวาแมเวลาลวงเลยมากวาคร่ึงทศวรรษหลังเหตุการณภัยพิบัติ ทวากย็ ังพบเห็นประชาชนอกี นับพันคนในรัฐหลยุ เซียนา และรฐั มสิ ซสิ ซปิ ป ทย่ี งั ตอ งอาศยั อยใู นทพ่ี กั ชว่ั คราว โดยผปู ระสบภยั ยงั ไมส ามารถเขา ไปอาศยั ในพน้ื ทเ่ี ดมิ ของตนและยงั ไมม กี ารระบพุ น้ื ทท่ี จ่ี ะกอ สรา งทพ่ี กั ถาวรแหง ใหม 3.2.1 ลกั ษณะและผลกระทบของภัยพิบัติ เหตุการณเ ฮอรร เิ คนแคทรีนา (Hurricane Katrina) พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) เปน พายเุ ฮอรร ิเคนท่รี ุนแรง และสรา งความเสียหายทีส่ ุด ในประวัติศาสตรของสหรัฐฯ ถูกจัดความรุนแรงตาม มาตราเฮอรริเคน ในประเภทท่ี 5 (ตามมาตราของ Saffir-Simpson Hurricane Scale) ซ่ึงถือวารุนแรงที่สุด และมีพายุเฮอรริเคนที่อยูในประเภทนี้มากอนเพียง 3 ลกู เทา นนั้ ไดแก เฮอรร เิ คนเลเบอรเ ดย (Hurricane Labor Day) ในป พ.ศ. 2478 (ค.ศ. 1935) เฮอรรเิ คนคามิลล (Hurricane Camille) ในป พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) และเฮอรร ิเคนแอนดรูว (Hurricane Andrew) ในป พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) กอ นทจ่ี ะถกู ลดระดบั ความรนุ แรงใหอ ยใู นประเภทท่ี 4 เฮอรริเคนแคทรนี ามีลกั ษณะเปน พายหุ มุนทมี่ แี หลง กำเนดิ ในมหาสมุทร แอตแลนตกิ บรเิ วณเสน Tropics4 นอกจากน้ี เมอ่ื เกดิ พายเุ ฮอรร เิ คนแคทรนิ า ทำใหเ กิดปรากฏการณคล่นื พายหุ มุนยกซดั ฝง (storm surge) คอื คลน่ื ท่ี เกิดจากการยกตัวข้ึนของน้ำทะเลนอกชายฝงดวยอิทธิพลของความกด อากาศและอิทธพิ ลของพายุหมนุ เขตรอน ซึง่ คล่ืนพายุหมุนยกซดั ฝงขณะ เกิดเฮอรร ิเคนแคทรนิ าสามารถวัดความสงู ของยอดคลนื่ ไดถึง 7.6 เมตร 4 เมื่ออากาศเหนือผิวน้ำในมหาสมุทรใกลเสนศูนยสูตรมีอุณหภูมิสูงขึ้นและลอยตัวข้ึนสู ทองฟา จะเคล่ือนท่มี าปะทะมวลอากาศเย็นจากบริเวณเสนรุง กอใหเกดิ Warm Front (มวลอากาศ รอนดันมวลอากาศเย็นใหเ คลือ่ นท)ี่ และ Cold Front (มวลอากาศเย็นดันมวลอากาศรอ นใหเคลอ่ื นที)่ หมุนรอบแกนกลาง (Low-Pressure Center) แลว เคลื่อนที่เขาสแู ผนดนิ ซงึ่ ปกติพายหุ มนุ ประเภทน้ี จะมีขนาดใหญ บางลูกมีเสน ผานศูนยก ลางหลายรอยกโิ ลเมตร และอาจมคี วามเรว็ ลมใกลจ ุดศูนย กลางถงึ 100-150 กโิ ลเมตรตอ ชวั่ โมง หากเกดิ ในฝง มหาสมุทรแปซิฟค เรียกวา พายไุ ตฝุน (Typhoon) และหากเกิดในมหาสมุทรแอตแลนติค เรยี กวา พายุเฮอรรเิ คน (Hurricane) เมอ่ื เกิดขน้ึ จะสราง ความเสียหายจากพายุลมและฝน และการเกิดอุทกภัยในบริเวณกวาง แตละปพายุหมุนประเภทนี้ เกิดขน้ึ บอ ยครัง้ ขน้ึ และสรา งความเสียหายตอ ชีวติ และทรพั ยสนิ มากมาย

60 โดยพ้ืนท่ีที่ไดรับผลกระทบจากเฮอรริเคนแคทรีนามากที่สุด ไดแ ก บริเวณชายฝง ดา นตะวนั ออกและทางตอนใตข องสหรฐั ฯ โดยเฉพาะ อยา งยง่ิ ในเมอื งนวิ ออรล นี ส มลรฐั หลยุ เซยี นา ซง่ึ ตามแถลงการณข องทางการ สหรัฐฯ ในวนั ท่ี 29 สิงหาคม พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) พายุดงั กลา วกิน เนอ้ื ทค่ี วามเสยี หายประมาณ 90,000 ตารางไมล (233,000 ตารางกโิ ลเมตร) ซ่งึ กวา งเกอื บเทา เกาะบรเิ ตนใหญ (Great Britain) ทั้งเกาะ เฮอรริเคนแคทรีนา นับเปนพายุที่มีความรุนแรงเปนอันดับ 6 ในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ทม่ี กี ารบนั ทกึ ไว มผี ไู ดร บั ผลกระทบกวา 1.5 ลา นคน และมีผเู สียชวี ิต 1,836 คน ระหวา งการเกดิ พายแุ ละนำ้ ทว ม การประเมนิ มูลคา ความเสียหายกวา 81 พันลา นเหรยี ญสหรัฐฯ รวมถงึ ประชากรกวา 800,000 คน ไมม ที ี่อยูอาศัย ซ่งึ เปน จำนวนท่ีมากท่ีสดุ ในประวตั ศิ าสตร สหรัฐฯนับแตก รณี Dust Bowl5 รวมถึงทำใหป ระชากรอเมริกันกวา หาลาน คนไมม ไี ฟฟา ใช 3.2.2 การประยกุ ตใ ชว ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยใี นการบรหิ าร จัดการภยั พิบตั ธิ รรมชาติ 1) การปองกัน และการบรรเทาผลกระทบ (Prevention and Mitigation) แผนการดำเนินงานดานภยั พบิ ัติของรฐั บาลกลางสหรัฐฯ: ในภาพรวม มกี ารจดั ตง้ั หนว ยงานกลางเพอ่ื รบั ผดิ ชอบการบรหิ าร จัดการภยั พบิ ตั ิในระดบั ประเทศขึ้นโดยเฉพาะ คอื Federal Emergency Management Agency (FEMA) โดยประธานาธบิ ดี เปนผูมอี ำนาจแตงต้ังผูอำนวยการ FEMA 5 Dust Bowl เกดิ ขนึ้ ในป พ.ศ. 2473 (ค.ศ. 1930) เกิดพายฝุ นุ ที่เกดิ จากความแหงแลง สราง ความเสียหายให้กับสหรัฐฯ โดยเฉพาะภาคการเกษตร และสร้างความเจ็บป่วยให้กับประชาชน จำนวนมาก โดยคาดวา ในชวงเวลาประชากรสหรัฐฯ กวา 3 ลานคนตอ งอพยพทงิ้ ท่อี ยูโดยเฉพาะใน มลรัฐแคลฟิ อรเ นยี โอกลาโฮมา และอารค นั ซสั

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเพือ่ การบริหารจัดการภัยพิบตั ิ 61 กลไกการเฝา ระวงั และเตอื นภัย: ศูนยบรกิ ารดานอากาศแหง ชาติสหรัฐฯ (National Weather Service: NWS) ศนู ยเ ฮอรร เิ คนแหงชาติสหรฐั ฯ (National Hurricane Center: NHC) เปน 2 หนว ยงานหลักภายใตศ ูนย บริหารจัดการชั้นบรรยากาศและมหาสมุทรแหงชาติสหรัฐฯ (National Oceanic and Atmospheric Administration: NOAA) ที่ทำหนา ที่ตรวจสอบ ตดิ ตาม และเฝาระวังการเปลี่ยนแปลง ดว ยเครื่องมือภูมสิ ารสนเทศท่ีทันสมยั ทงั้ เรดารต รวจอากาศ เครอ่ื งบนิ ลาดตระเวน และดาวเทยี มสำรวจทรพั ยากร และแจง ไปยงั พ้นื ทท่ี ีเ่ ปน เสน ทางผานของพายุ โดยหนว ยปอ งกันภัย ชายฝงของสหรัฐจะเปนผูเตือนภัยตามพ้ืนที่ที่คาดหมายวาจะ ไดรบั ผลกระทบ รวมไปถึงการทำงานของหนว ยงานอ่ืนๆ เชน ศูนยฝ ก อบรมการบนิ จะมกี ารบนิ เพอ่ื ทำการสำรวจและชว ยเหลอื 2) การเตรยี มพรอ ม (Preparedness) กลไกการเตรียมพรอมการประสานงานระหวางหนวยงาน กลางและหนวยงานทองถิน่ : เม่ือเกิดภาวะฉกุ เฉิน หรือภยั พิบตั ิ หนว ยงานทองถ่ินของรัฐ (State) จะเข้ารับผิดชอบดำเนินการเป็นอันดับแรก โดย ผูวาการรัฐจะพจิ ารณาประกาศเขตภัยพิบัติ หากหนว ยงาน ทอ งถน่ิ ระดบั รฐั ไมส ามารถชว ยเหลอื แกไ ขปญ หาได รฐั บาลกลาง (Federal) จะเขา ควบคมุ สถานการณ ประธานาธบิ ดจี ะประกาศ ใหพ ืน้ ท่นี ้นั ๆ เปนพนื้ เขตภยั พิบตั ิ และรัฐบาลกลางจะจัดสรร งบประมาณสนบั สนนุ เพอ่ื แกไ ขปญ หา โดยมรี ะบบการจดั การ เรยี กวา National Incident Management System: NIMS ซ่ึงมผี ทู ่รี บั ผิดชอบสง่ั การอยางมเี อกภาพ (unified command) เรียกวา Incident Commander (IC) โดยประสานการสนับสนนุ

62 และนโยบายจากหนวยงานระดับชาติทุกแหงท่ีเก่ียวของไปสู หนว ยงานในพน้ื ท่ีตามระบบการสง่ั การ (Incident Command System) ใหส ามารถรว มกนั ปฏบิ ตั งิ านไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ การจัดตง้ั หนว ยปองกันภัยระดบั ทองถิน่ : รฐั บาลทอ งถน่ิ จะจดั ตง้ั หนว ยปอ งกนั ภยั ของตนเอง เพอ่ื เตรยี ม พรอมรับการข้ึนฝงของเฮอรริเคนแคทรินาและรัฐบาลแหงรัฐ ไดต ง้ั ศนู ยฉ กุ เฉนิ ขน้ึ โดยรฐั บาลทอ งถน่ิ จะรบั ผดิ ชอบการปฏบิ ตั ิ หากมีคำสั่งอพยพ และไดเตรียมการโดยสรางที่พักชั่วคราว ฉุกเฉินในชุมชนแถบชายฝง รวมทั้งมีที่พักชั่วคราวที่เตรียม สำรองไว้ โดยที่พักชั่วคราวที่เตรียมไว้ได้แก่สนามกีฬา ซุปเปอรโดม ซ่ึงรองรบั คนได 26,000 คน และมกี ารจดั เตรียม น้ำและอาหารสำรองไว แผนการอพยพประชาชน: เพื่อใหรัฐบาลทองถ่ินทำการอพยพประชาชนออกจากพ้ืนท่ี โดยแบง เปน 3 ชว ง เริ่มจาก 50 ชัว่ โมง 40 ช่ัวโมง และ 30 ช่ัวโมงกอนพายเุ ขาฝง ซ่งึ อาสาสมัครและเจาหนาทไี่ ดอพยพ ประชาชนในพื้นท่ีสวนใหญทางตะวันออกเฉียงใตของ หลยุ เซียนา ชายฝง มิสซิสซิปปแ ละอลาบามา โดยในแผน ฉุกเฉินของรัฐบาลทองถ่ินไดกำหนดใหใชรถประจำทาง รถโรงเรยี น รถพยาบาลและขนสง สาธารณะอน่ื ๆ เพอ่ื การอพยพ อยา งไรกต็ าม รฐั บาลทอ งถน่ิ ไมส ามารถทำการอพยพประชาชน ไดทัน แมว าจะมียานพาหนะจำนวนมากแตก ไ็ มมีคนขับรถที่ เพียงพอ 3) การรบั สถานการณฉุกเฉนิ (Emergency Response) แมจะมีการวางแผนเตรียมการรับมือทั้งในระดับรัฐบาลกลาง และรัฐบาลทองถิ่น แตเ มื่อเกิดเหตเุ ฮอรร ิเคนแคทรนี าพดั ถลม

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยเี พือ่ การบริหารจัดการภยั พิบัติ 63 พื้นที่ประสบภัยขึ้นจริง การตอบสนองในภาวะฉุกเฉินและ การชวยเหลือของรฐั บาลสหรัฐฯ ทั้งรฐั บาลกลางและรฐั บาล ทอ งถิน่ กลับชา เกินไป ประกอบกบั การประเมนิ สถานการณที่ ผิดพลาดและการรายงานสถานการณที่คลาดเคลื่อน ทำให ประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางส่งั การใหความชวยเหลือใหกับ ผปู ระสบภยั ลาชา ผูประสบภัยตอ งประสบปญหาการดำเนิน ชีวติ หลังพบิ ตั ภิ ัยอกี ระยะหนึ่ง ประชาชนในซุปเปอรโ ดมตอง รอคอยเปน เวลาหลายวนั กวา จะไดร บั การชว ยเหลอื ทง้ั ปญ หา การขาดแคลนเครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภค ยาและเวชภณั ฑ และสง่ิ ของ จำเปน สง ผลใหเ กดิ ปญ หาการปลน จแ้ี ละลกั ขโมยจำนวนมาก กองกำลังทหารจำนวนมากที่เขาไปในพื้นที่ใหความสำคัญ กับการคุมครองทรัพยสินมากกวาการใหความชวยเหลือ ประชาชน แมว าจะมีทงั้ รถยนต อาหาร และสิง่ ของท่ีจำเปน อยใู นพน้ื ท่ี แตไ มม กี ารนำมาบรจิ าคแจกจา ยใหก บั ผปู ระสบภยั ซง่ึ เปน ผลใหรัฐบาลสหรัฐฯ ถูกประชาชน และประเทศตา งๆ วิจารณถึงความไรประสทิ ธภิ าพในภาวะฉกุ เฉินและตอบสนอง ตอเหตุการณชา เกินไป 4) การฟน ฟูบรู ณะ (Recovery and Reconstruction) เฮอรร เิ คนแคทรินาไดท ำลายทุนทางเศรษฐกจิ โครงสรา งทาง สงั คม และทรัพยากรของประเทศสหรฐั ฯไปมหาศาล ดังนน้ั การฟนฟบู ูรณะจึงจำเปนตองเรงดำเนินการโดยดวน และใช งบประมาณมหาศาล เพ่อื ชวยเหลอื ผไู ดร บั ผลกระทบในภาวะ ฉกุ เฉินใหก ลบั มาดำรงชีวติ ในสภาวะปกติ รวมท้ัง การฟนฟู ประเทศในภาพรวม ท้งั ดานโครงสรา งพนื้ ฐาน การพฒั นา เศรษฐกิจ การจดั การดา นประชากร สังคม และสิง่ แวดลอม อยา งไรกต็ าม แมร ฐั บาลสหรฐั และรฐั สภาไดอ นมุ ตั งิ บประมาณ กวา 110 พนั ลา นเหรียญสหรัฐฯ สำหรบั ฟน ฟูชวยเหลือผไู ดรับ

64 ผลกระทบจากเฮอรร เิ คนแคทรนิ าแตก ารฟน ฟบู รู ณะเปน ไปชา มาก โดยภายหลงั ภยั พิบัตผิ านไปแลว 1 ป ก็ยังไมสามารถคน หา ผูเสยี ชวี ติ และสูญหายไดค รบ ประชาชนชาวนิวออรล นี สก วา 750,000 คน ยังไมสามารถกลับไปอยูท บ่ี า นเดมิ ได ระบบ น้ำประปาในหลายพื้นที่ยังไม่กลับสู่สภาพปกติ การฟื้นฟู ท่ีใชจายงบประมาณไปจำนวนมากไมสามารถตอบสนอง ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ทำให้มีผู้ที่ตัดสินใจ อพยพยายถ่ินฐานกวา 10 ลานคน จากพ้นื ท่ปี ระสบพบิ ัตภิ ยั ไปสพู นื้ ทอ่ี ่ืนทัว่ สหรฐั ฯ ยิง่ ไปกวา น้นั แมภยั พิบตั ิเฮอรรเิ คน แคทรินาจะผานไปกวา 5 ป แตกลับยังพบผปู ระสบภยั ที่ไรท ี่ อยนู ับพันคนยงั ตอ งอาศัยอยใู นท่ีพักชวั่ คราว 5) การพฒั นา (Development) มาตรการเพิ่มความแข็งแรงของระบบโครงสรา งพื้นฐาน เชน ฟน ฟเู ครอื ขา ยคมนาคม ระบบขนสง ทา เรอื และอาคารสถานท่ี สาธารณะ โดย U.S. Army Corps of Engineers (Corps) เปนหนวยงานหลักในการซอมแซมกำแพงปองกันน้ำทวม ยาวกวา 220 ไมล และซอ มบำรงุ ระบบปอ งกนั พายเุ ฮอรรเิ คน ของเมืองนิวออร์ลีนส์ ไม่ว่าจะเป็นสถานีสูบน้ำและประตู ระบายนำ้ ซง่ึ มเี ปา หมายทจ่ี ะพฒั นาระบบสาธารณปู โภคตา งๆ ใหม คี วามแขง็ แรง สามารถปอ งกนั นำ้ ทว มและพายไุ ดถ งึ 100 ป ขางหนา นอกจากฟนฟูฟนฟูระบบการส่ือสารโทรคมนาคมใหกลับมา ใชงานไดดงั เดมิ แลว U.S. Department of Commerce (DOC) ยงั ใชงบประมาณกวา 1.3 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพื่อสราง สถานีกระจายเสียงเตือนภัยจากพายุเฮอรริเคนเพ่ิมเติม รวมทง้ั ประสานงานกบั Federal Communication Commission ในการอนุญาตใหใชระบบการส่ือสารผานดาวเทียมเอกชน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยเี พอื่ การบรหิ ารจดั การภัยพบิ ตั ิ 65 Ultra-wideband และคล่ืนไมโครเวฟ ระหวา งการกูภยั และ การชว ยเหลือฟน ฟใู นเขตพน้ื ทีป่ ระสบภัยพบิ ตั ิ 3.2.3 การประยุกตใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการลด ผลกระทบจากภัยพิบตั ธิ รรมชาติ 1) การเฝา ระวงั และการเตรยี มพรอ มดา นขอ มลู ขา วสารเกย่ี วกบั ภัยพิบตั ิ ศูนยบรกิ ารดา นอากาศแหงชาตสิ หรฐั ฯ (National Weather Service: NWS) ศนู ยเ ฮอรรเิ คนแหงชาติสหรัฐฯ (National Hurricane Center: NHC) เปน 2 หนวยงานหลกั ภายใต ศนู ยบ รหิ ารจดั การชน้ั บรรยากาศและมหาสมทุ รแหง ชาตสิ หรฐั ฯ (National Oceanic and Atmospheric Administration: NOAA) ท่ที ำหนา ทตี่ รวจสอบ ตดิ ตาม และเฝา ระวังการเปลย่ี นแปลง ดว ยเคร่ืองมือภูมิสารสนเทศท่ีทนั สมัย ท้งั เรดารตรวจอากาศ เครอื่ งบินลาดตระเวน และดาวเทียมสำรวจทรัพยากร 2) การพยากรณและคาดการณอ นั ตรายจากภัยพบิ ัติ ขอมูลท่ีไดจากการตรวจสอบของศูนยบริการดานอากาศ แหง ชาติสหรฐั ฯ (NWS) และศนู ยเฮอรรเิ คนแหงชาติสหรฐั ฯ (NHC) จะถูกนำมาพยากรณค าดการณโดยผเู ชย่ี วชาญเฉพาะ จากท้งั 2 หนวยงานแบบทนั การณ (real-time) ซ่งึ ทำให สามารถเฝาระวังและคาดการณระดับความรุนแรงของพายุ ประเมนิ สถานการณแ ละผลกระทบ รวมถงึ คาดการณค วามกวา ง ของพื้นที่ที่จะไดรับผลกระทบไดอยางแมนยำ และสามารถ ประกาศยกระดับสถานการณจากระดับการเฝาระวังเปนระดับ การแจงเตือนภัยกอนท่ีพายุเฮอรริเคนแคทรินาจะขึ้นฝงใน พื้นท่ีนิวออรลีนส หลยุ เซยี นา อลาบามา และมิสซิสซิปป ไดกอ นเวลาถึง 2 วนั อกี ทงั้ สามารถคาดการณพ ายุโซนรอน

66 และปรากฏการณคลื่นพายหุ มนุ ยกซดั ฝง (storm surge) ที่ครอบคลุมพ้ืนท่ีชายฝงสวนใหญของอาวเม็กซิโกในเวลา ตอ มาไดถ กู ตอ ง 3) การลดความเปราะบางและเส่ียงตอความเสียหายของระบบ โครงสรางพืน้ ฐานสำคัญย่งิ ยวด (Reduce vulnerability of interdependent critical infrastructure) เม่ือเฮอรริเคนแคทรินามีความรุนแรงข้ึนและพัดเขาสูชายฝง ไดก อ ใหเ กดิ ฝนตกหนกั เกดิ คลน่ื ลกู ใหญโ ถมทำลายบา นเรอื น บรเิ วณชายฝง ทำใหเ กดิ นำ้ ทวมเปนบริเวณกวา ง เสนทาง คมนาคมหลักถูกทำลาย ผนวกกับความเสียหายจากความ เปราะบางของระบบสาธารณปู โภคพ้ืนฐาน จนเปนเหตุใหเมอื่ พายุพดั ผานพ้นื ท่ีประสบภัยแลว เกดิ ภาวะสูญญากาศ โดย ความชว ยเหลือไมสามารถเขา ถงึ พน้ื ทป่ี ระสบภยั และหยุดชะงกั ไปชว งเวลาหนง่ึ ทำใหเ กดิ ปญ หากบั ผปู ระสบภยั ในพน้ื ทห่ี ลบภยั เช่น ในช่วงสี่วันแรก ผู้อพยพในซุปเปอร์โดมนับหมื่นคน ขาดอาหาร และน้ำ เฉกเช่นเดียวกับโครงสร้างสิ่งปลูกสร้างพื้นฐาน ระบบ สาธารณปู โภคพืน้ ฐานเปราะบางตอ ภัยพบิ ตั ิขนาดใหญ เม่ือ เฮอรร เิ คนแคทรนิ าพดั ถลม ชายฝง ระบบบรกิ ารสาธารณปู โภค พน้ื ฐานเสยี หายลกุ ลามทง้ั ระบบ โดยระบบจา ยไฟฟา หยดุ ทำงาน น้ำประปาไมไหล เครือขายโทรศพั ทเ สยี หายจนใชการไมไ ด ย่งิ ไปกวานัน้ ยงั ขาดความพรอมในการใหบ รกิ ารสาธารณสขุ ในยามฉกุ เฉนิ จนเปนเหตใุ หผ ูสงู อายไุ มไดรบั ยาทจี่ ำเปน ไมมี การจัดการสขุ อนามยั ทเ่ี หมาะสม ขาดแคลนนำ้ สะอาด และ หองน้ำไมเพียงพอ

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเพอ่ื การบรหิ ารจดั การภัยพิบตั ิ 67 4) การเตือนภัยและเผยแพรแนวทางการปฏิบัติที่เหมาะสม ภายใตค วามเสีย่ งจากภยั พิบัติ หลังจากที่ศูนย์เฮอร์ริเคนแห่งชาติสหรัฐฯ (NHC) ประกาศ ยกระดับสถานการณจากระดับการเฝาระวังเปนระดับการ แจงเตือนภัย หนวยปอ งกันภัยชายฝง สหรฐั ฯ (USCG) ระบบ กำลงั ทหารกองหนนุ กวา 400 นาย เพ่อื ดำเนินการแจง เตือนภัยพิบัติในพื้นท่ีท่ีคาดวาจะเปนเสนทางผานของพายุ ไดอยางรวดเรว็ นำมาซ่งึ คำช่นื ชมจากการคาดการณ และ เตอื นภัยท่รี วดเร็วและแมน ยำ อยา งไรกต็ ามระบบการสอื่ สารภาครฐั ทลี่ า ชา และคลาดเคลอ่ื น ทำใหรฐั บาลกลางไมไดร บั ขอมลู ทถี่ กู ตองแมน ยำ และประเมนิ ระดับความรุนแรงของความหายนะที่เกิดขึ้นต่ำกวาที่เกิดจริง ทำใหประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางถูกต้ังขอสังเกตถึงความ ไรประสิทธิภาพในภาวะฉุกเฉิน ซึ่งมีผลตอความมั่นคงของ รัฐบาลและทำใหเ กิดความส่นั คลอนทางการเมอื งตอมา อยางไปกวานน้ั การสื่อสารมวลชนทไ่ี มมีประสิทธิภาพ จงึ ไม สามารถสรางแรงจูงใจใหเกิดความรวมมือรวมใจและ ความเสียสละในชุมชน จนเป็นเหตุให้รัฐบาลท้องถิ่นไม่ สามารถแกไ ขหรอื จดั การกบั ปญ หาทไ่ี มค วรเกดิ ขน้ึ บางประการ เช่น ไม่สามารถเพื่อขอความร่วมมือจากบริษัทรถโดยสาร เพ่อื นำประชาชนอพยพออกจากพนื้ ท่ี ไมสามารถระงบั ความ รนุ แรงและการปลน ชงิ ทรัพยส นิ ในพน้ื ทป่ี ระสบภยั เปนตน

68 3.3 การประยกุ ตใ ชว ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พอ่ื การบรหิ าร จดั การภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตใิ นประเทศไตห วนั กรณศี กึ ษาแนวทางเชงิ นโยบายดา นการวจิ ยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยีการบริหารจดั การภยั พิบัติในประเทศไตห วนั เนื่องจากประเทศไตหวันอยูในเขตภูมิประเทศที่ตองเผชิญกับ ความเส่ยี งจากภยั พิบัติธรรมชาติเปนประจำอยา งหลีกเลี่ยงไมได ทั้งพายุ ไตฝนุ และแผนดนิ ไหว ซ่ึงโดยเฉลย่ี แลว ไตห วันจะตองเผชิญกับพายไุ ตฝ นุ เฉล่ยี 3.6 ลูกตอ ป และเกดิ แผน ดนิ ไหวอยูบอยครง้ั เน่ืองจากภมู ปิ ระเทศ ท่ตี ้งั อยูบนรอยตอของแผนเปลอื กโลก ดังน้นั ภาครฐั บาลและประชาชน จะตองพยายามหาวิธีการเพื่อลดอันตรายจากภัยธรรมชาติเหลาน้ีใหได มากทสี่ ุด โดยเฉพาะอยา งยงิ่ การมงุ ม่ันพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อยา งจรงิ จงั เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ิ โดยแผนงาน สำคัญของรัฐบาลไตหวันซึ่งประสบผลและเห็นเปนรูปธรรมชัดเจน ไดแก การรเิ รมิ่ ใชแ ผนพฒั นาเทคโนโลยีการบริหารจดั การภยั พิบัติ ตัง้ แตป  พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) ซ่ึงเปนผลใหเกดิ ผลงานวจิ ยั เพ่ิมขน้ึ อยางมนี ยั สำคญั หลังจากเรมิ่ บงั คบั ใชแผนฯดงั กลา ว และการริเร่มิ จดั ตงั้ ศูนยว ิทยาศาสตร และเทคโนโลยเี พื่อลดภยั พิบตั ิแหง ชาติไตหวัน (National Science and Technology Center for Disaster Reduction: NCDR) หรือ แผนงาน วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พอ่ื ลดภยั พบิ ตั แิ หง ชาตไิ ตห วนั (National Science and Technology Program for Hazards Mitigation: NAPHM) ในอดตี ซึ่งทำหนาที่เปนกลไกสำคัญในการบูรณาการและแปลงผลงานวิจัยไปสู การนำเทคโนโลยีจากงานวจิ ัยไปใชงาน 3.3.1 แผนวจิ ยั แหง ชาตเิ พอ่ื การปอ งกันภยั พบิ ัติ โครงการวิจัยขนาดใหญเพ่ือการปองกันภัยพิบัติในไตหวันน้ี ประกอบดวย แผนพัฒนาเทคโนโลยีการบริหารจัดการภัยพิบัติตอเนื่อง จำนวน 3 ฉบับ ฉบบั ละ 5 ป รวมชว งเวลาในการดำเนนิ การตามแผนฯ ทงั้ ส้ิน 15 ป โดยสาขาวจิ ยั และพฒั นาที่แผนฯ ฉบับแรกใหความสำคญั ไดแ ก

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพอื่ การบริหารจดั การภยั พบิ ตั ิ 69 อุตนุ ยิ มวทิ ยา (Meteorology) การปอ งกนั อทุ กภยั (Flood Protection) วทิ ยาการแผน ดนิ ไหว (Seismology) วิศวกรรมแผนดินไหว (Earthquake Engineering) และวศิ วกรรมเทคนคิ เชงิ ภมู ศิ าสตร (Geotechnic Engineering) ซึ่งแตละสาขาจะแตกตางกันเพื่อใหครอบคลุมองคความรูดานวิทยาศาสตร รวมทั้งครอบคลุม ทั้งในบริบทของการปฏิบัตลกั ษณะเฉพาะของแตล ะ ทอ งถน่ิ และการเปล่ยี นแปลงในระยะยาว ในขณะที่แผนฯ ฉบบั ตอมา นอกจากจะครอบคลุมทุกสาขาท่มี งุ เนน ในแผนฯ ฉบบั แรกทงั้ หมดแลว ยัง ผนวกรวมการพฒั นาบคุ ลากรเพ่ือการบริหารจดั การภยั พบิ ัติ และประเด็น ดานเศรษฐกจิ และสังคมในการปอ งกันภยั พิบตั ริ วมอยูด วย อยา งไรกต็ าม สำหรับในแผนฯ ฉบับที่ 3 ซงึ่ เปน ฉบบั สดุ ทา ยน้ัน ไมร ะบกุ ารพัฒนา บุคลากรเพื่อการบริหารจัดการภัยพิบัติ เนื่องจากปญหาการขาดแคลน กำลงั คนในการผลิตผลงานการวิจัยและพฒั นาตามแผนทีว่ างไว โดยภาพรวมแลว การดำเนนิ การตามแผนฯ ตอ เนอ่ื งทง้ั 3 ฉบบั นน้ั นบั ไดว า มผี ลลพั ธเ ปน ทน่ี า พอใจอยา งยง่ิ เหน็ ไดจ ากจำนวนโครงการวจิ ยั และพฒั นาทถี่ ูกผลิตขึน้ มากกวา 1,000 โครงการ ทงั้ จากหนวยงานรัฐบาล ที่เกย่ี วขอ งและสถาบันการศึกษาตา งๆ ทัว่ ประเทศ ภายในระยะเวลา 15 ป นอกจากนี้ ภายใต้โครงการวิจัยจำนวนมากดังกล่าว ย่อมส่งผลถึง การพัฒนาขีดความสามารถและจำนวนบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนา พรอมกนั ไปดว ยในเวลาเดยี วกนั และยอ มหมายรวมไปถึงการผลิตผลงาน ดา นวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีจำนวนมาก อยางไรกต็ าม จากจำนวน ผลงานวจิ ยั นบั พนั โครงการดงั กลา ว กลับมผี ลงานวิจยั ไมมากนกั ทถี่ กู นำ ไปประยุกตในขั้นของการปฏิบัติ ดวยเหตุผลสำคัญหลายประการ ไดแก • การขาดชองทางเชิงระบบในการสงผานผลงานวิจัยไปสู การประยุกตใชง าน • การสงผานงานวิจัยไปสูการประยุกตใชงานจริงตองใชระยะ เวลายาวนานกวาการเผยแพรผลงานวิจัยในรูปของส่ิงตีพิมพ นอกจากน้ี ยังเปนเรื่องยากที่จะกำหนดเกณฑสำหรบั ประเมิน

70 ประสิทธิภาพของโครงการตางๆ ที่มีความหลากหลายและ แตกตางกนั มาก • ความยากลำบากในการโนมนาวใหสถาบันการศึกษาตางๆ รบั ภาระในการนำผลงานวจิ ยั ไปประยกุ ตใ ช เนอ่ื งจากนกั วจิ ยั ในสถาบนั การศกึ ษาสว นใหญเ หน็ ความสำคญั ของการเผยแพร ผลงานวจิ ยั ในวารสารมากกวา การตอ ยอดงานวจิ ยั สกู ารปฏบิ ตั ิ • ความยากลำบากในการประสานงานและติดตอสื่อสารกัน ระหวา งหนว ยงานราชการ เพ่อื จากแตละหนวยงานมกั จะมี กรอบความคิดและภาระหนาที่ในการบริหารจัดการภัยพิบัติที่ แตกตางกนั 3.3.2 การจดั ตง้ั ศนู ยว ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พอ่ื ลดภยั พบิ ตั ิ แหงชาติไตห วัน (National Science and Technology Center for Disaster Reduction: NCDR) ศูนยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อลดภัยพิบัติแหงชาติไตหวัน (National Science and Technology Center for Disaster Reduction: NCDR) หรือ แผนงานวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พื่อลดภยั พิบตั แิ หง ชาติ ไตหวนั (National Science and Technology Program for Hazards Mitigation: NAPHM) ในอดตี ศนู ยฯ ดังกลาวเร่ิมตนจากการเปนเพียง แผนงานหรอื โครงการพฒั นาท่รี ิเริ่มครัง้ แรกในป พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) เพ่ือเสริมสรางการประสานและบูรณาการระหวางกระทรวงและหนวยงาน ภาครฐั ทม่ี ีสว นเกยี่ วขอ งกับการบรหิ ารจดั การภัยพิบัติ รวม 12 กระทรวง ครอบคลุม 19 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยสภาวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ไตห วนั (National Science Council: NSC) จะเปน แกนกลางในการประสานงาน กบั หนว ยงานตา งๆ เพ่อื ดำเนินงานดา นการสนับสนุน ปฏบิ ัตกิ าร และ บรู ณาการ แนวทางทีจ่ ะสง ผา นผลงานวิจยั ไปสูการนำไปใชบ ริหารจัดการ ภยั พิบตั ใิ นภาคการปฏิบัตใิ นทายท่สี ุด

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยเี พ่อื การบริหารจัดการภัยพิบัติ 71 เพ่ือยกระดบั ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การภยั พิบตั ิ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง ภัยพิบัติธรรมชาติจากพายุไต้ฝุ่นและแผ่นดินไหว แผนงาน วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเพือ่ ลดภยั พิบตั ิแหงชาตไิ ตหวัน (NAPHM) ระยะ ท่ีหน่ึง ในป พ.ศ. 2542-2544 (ค.ศ. 1999-2001) จงึ ถกู ออกแบบใหเ ปน กลไกในการพฒั นาวิธีการวเิ คราะหความรนุ แรง ประเมนิ ความเส่ียง และ จำลองสถานการณ์ภัยพิบัติ ที่มีความเหมาะสมสำหรับประยุกต์ใช้กับ แผนการบริหารจัดการภัยพิบัติในพื้นที่นำร่อง ซึ่งเมื่อวิธีการดังกล่าว ถูกปรับแตงใหเหมาะสมเชิงพื้นที่แลว ก็จะถูกนำเสนอตอรัฐบาลทองถิ่น เพอ่ื พจิ ารณานำไปใชป ระโยชนใ นการพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ิ ตามแผนงานในพื้นทีน่ ้นั ๆ (แผนภาพที่ 2) แผนภาพท่ี 2 กรอบการทำงานของแผนงานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีเพ่อื ลดภัยพบิ ตั แิ หงชาติไตหวัน ระยะท่ี 1 (NAPHM Phase I) ในป พ.ศ. 2542-2544 (ค.ศ. 1999- 2001) ทม่ี า: Chin Hin-Lien Yen et al, (2006)

72 ผลงานท่ีสำคัญของแผนงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อลด ภยั พบิ ตั ิแหงชาติไตหวัน (NAPHM) ระยะที่ 1 ที่สำเรจ็ เปนรูปธรรม ไดแ ก • การปรับปรุงความถูกตองของการพยากรณอุทกภัยและ แผน ดนิ ถลม และการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพของการดำเนนิ งาน ดา นการอพยพและการใหค วามชว ยเหลอื โดยใชป ระโยชนจ าก ขอ มูลรายละเอียดระดับท้องถิ่น เกี่ยวกับข้อมูลกระแสลม การเกิดการตกตะกอน และการคาดการณส ภาพภูมิอากาศ • การจดั ทำแผนท่ีรบั น้ำ (inundation potential maps) บนเกาะ ไตห วนั • การพัฒนาวธิ กี ารประเมินอนั ตรายจากอทุ กภยั ซ่ึงพจิ ารณา ความสัมพันธระหวางระดับความสูงของน้ำที่ทวมกับระดับ ความเสียหาย • การริเร่มิ จัดทำฐานขอมูลภูมิสารสนเทศสำหรับการจัดแบงเขต พื้นท่ีอันตรายจากอทุ กภยั • การศึกษารวบรวมรปู แบบการเกดิ แผน ดินไหวในไตหวัน • การศกึ ษาความสมั พนั ธร ะหวา งความเสยี หายจากภยั แผน ดนิ ไหว กับลักษณะการเคล่ือนที่ของแผนดินในเขตพื้นที่เจียหนาน (Chia-Nan) และลุมนำ้ ไทเป (Taipei Basin) • การพัฒนาแบบจำลองประเมินความเสียหายจากแผนดินไหว ท่ชี ่ือวา ฮาซ-ไตห วัน (Haz-Taiwan) เพือ่ ใชก บั การจำลอง สถานการณภ ยั พบิ ตั ิแผน ดินไหวในพืน้ ทีท่ ี่ตองการศึกษา • การศึกษาวิธีการท่ีเหมาะสมสำหรับการประเมินความเส่ียง จากอันตรายของแผนดินไหวในเขตเมืองและการจำลองสถาน การณอ ันตรายจากเหตุเพลิงไหมใ นเขตเมอื ง การอพยพและชว ย เหลอื ผปู ระสบภยั และความเสยี หายดานเศรษฐกิจ

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพ่ือการบรหิ ารจดั การภัยพบิ ัติ 73 • การพัฒนาระบบสนับสนนุ การตดั สินใจ (decision-support system) ซึ่งบูรณาการวิธีการจำลองสถานการณ์อันตราย ภายในบริบทของขอมูลภมู ิสารสนเทศ (GIS) เพ่อื การบริหาร จดั การภยั พบิ ตั ิ • การพัฒนาแผนการบริหารจัดการภัยพิบัติสำหรับเมืองไทเป (Taipei) และเมอื งเจยี ย่ี (Chiayi) ซง่ึ เปน โครงการศกึ ษาตน แบบ เพ่อื การประยกุ ตใชเ ทคโนโลยบี รหิ ารจัดการภัยพิบัติ อยา งไรกต็ าม แมผ ลการดำเนนิ งานของแผนงานวิทยาศาสตรแ ละ เทคโนโลยีเพือ่ ลดภัยพบิ ตั แิ หงชาติไตหวนั (NAPHM) ระยะท่ี 1 จะสำเร็จเปน รูปธรรมและสามารถใชประโยชนไดอ ยางชัดเจน แตผเู กี่ยวของใน NAPHM ทุกกระทรวงและทุกหนวยงานตางใหความตระหนักและเห็นพองตรงกัน วา การบรหิ ารจดั การภัยพิบตั เิ ปน ภารกิจทจ่ี ะตองดำเนนิ การตอเน่อื งใน ระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นต่างๆ ได้แก่ การวิเคราะห์ ความรนุ แรงของภยั พบิ ตั ิ การประเมนิ ความเสย่ี ง การวางแผนและการบรหิ าร จดั การในการแบ่งเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน การบริหารจัดการองค์กร การศกึ ษา สาธารณะ การสนบั สนนุ ดา นการเงนิ การจดั เกบ็ ภาษี การประเมนิ การจัดการภัยพิบัติและการประกันภัย ซึ่งประเด็นต่างๆทั้งหมดนี้ล้วน แลวแตเ กยี่ วของกบั วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยไี มท างใดกท็ างหนึ่ง ดังน้นั คณะท่ีปรึกษาภายใตแผนงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อลดภัยพิบัติ แหงชาติไตหวัน (NAPHM) จึงเสนอใหตออายุและดำเนินงานแผนงาน ดังกลา วตอไปอีกเปนเวลา 5 ป ภายใตแ ผนงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพอื่ ลดภยั พิบตั แิ หงชาติไตห วัน (NAPHM) ระยะที่ 2 โดยแผนงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อลดภัยพิบัติแหงชาติ ไตหวนั (NAPHM) ระยะท่ี 2 ในป พ.ศ. 2545-2549 (ค.ศ. 2002-2006) น้ี ตอ งการเรง การพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยกี ารบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ิ และเพ่ิมความเขมขนในการนำเทคโนโลยีมาประยุกตใชบริหารจัดการ

74 ภยั พิบัติ โดยการวางแผนงานที่ระบุและอนุมัติโดยสภาวิทยาศาสตร์ แห่งชาติไต้หวัน (NSC) ครอบคลุมประเด็นหลักๆ ได้แก่ การประเมิน ความเสี่ยงและการวิเคราะหความรุนแรงของภัยธรรมชาติ นโยบายและ กฎระเบียบ การประยุกตใ ชและการดำเนินงานดา นการจัดการภัยพิบัติ ประเด็นทางสังคมและเศรษฐกิจในการบริหารจัดการภัยพิบัติ ขอมูลและ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ สถาบันเกี่ยวกับการบริหารจัดการภัยพิบัติ การฝกซอ มรบั มอื กับสถานการณภยั พบิ ตั ิ (แผนภาพที่ 3) แผนภาพที่ 3 กรอบการทำงานของแผนงานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยเี พอื่ ลดภยั พบิ ตั แิ หง ชาตไิ ตหวัน ระยะที่ 2 (NAPHM Phase II) ในป พ.ศ. 2545-2549 (ค.ศ. 2002-2006) ท่มี า: Chin Hin-Lien Yen et al, (2006) 3.3.3 ประเดน็ ดา นกฎหมาย สภานิติบัญญัติแหงชาติไตหวันไดผานพระราชบัญญัติการลด ภยั พิบตั ิ (Disaster Reduction Act) ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) และเริ่มมีผลบงั คับใชเดอื นถัดมา โดยพระราชบัญญัติฉบบั น้ี

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พ่อื การบริหารจดั การภัยพิบตั ิ 75 ครอบคลุมและริเร่ิมขอบเขตของการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรท่ี เกย่ี วของกบั การบรหิ ารจัดการภัยพิบัติอยางชัดเจน เชน ประเดน็ การ เสริมสรา งศักยภาพการนำผลงานวจิ ัยมาประยกุ ตใช พระราชบญั ญตั ฉิ บบั นก้ี ลา วชดั เจนวา ศนู ยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพอ่ื การบรหิ ารจดั การ ภัยพิบัติตองถูกจัดต้ังข้ึนเพ่ือสงเสริมการประยุกตใชเทคโนโลยีการบริหาร จดั การภัยพบิ ัติ รวบไปถงึ การแตง ตั้งคณะทีป่ รึกษา ซ่งึ ประกอบดวย ผูเชย่ี วชาญดา นการบริหารจดั การภัยพบิ ตั ิ เพอื่ เปนผใู หคำปรึกษาเกี่ยวกบั การบริหารจัดการภัยพิบัติแกรัฐบาลในทุกระดับ และยังมีประเด็นอื่นๆ ท่ีเกยี่ วของกับการพัฒนาเทคโนโลยีบริหารจดั การภัยพิบัติ เชน รัฐบาลใน ทุกระดับควรเสริมสรางการประยุกตเทคโนโลยีการบริหารจัดการภัยพิบัติ การดำเนินการดานการสำรวจและการวิเคราะหความรุนแรงของภัยพิบัติ และการจำลองสถานการณดว ยเครอ่ื งมือทางวิทยาศาสตร และเผยแพรผล การสำรวจและการวเิ คราะหอยางทันการณ นอกจากนี้ ในมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติฉบับดังกลาวนี้ บัญญัติวา “องคกรที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการภัยพิบัติทั้งในระดับ เทศบาลเมอื งและในระดบั ประเทศ ควรกำหนดแผนงานการใหค วามชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั ในระดับทสี่ อดคลองกับศกั ยภาพของพืน้ ท่นี น้ั ๆ” ซึ่งท้ังหมดน้ีลว นแสดงใหเ ห็นถงึ ความจริงจงั ของประเทศไตห วัน ท่ีตระหนักถึงความสำคัญของการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ตลอดจนการนำผลงานวจิ ยั ที่ไดมาประยกุ ตใชเ พ่อื การบริหาร จัดการภัยพิบัติอยางเปนรูปธรรมในทุกระดับ ตั้งแตในระดับทองถิ่นจน กระทั่งถงึ ในระดับประเทศ

76 4. บทสรปุ และขอ เสนอแนะ การศกึ ษาประสบการณก ารบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ขิ องตา งประเทศ จากเหตกุ ารณภ ยั พบิ ตั ธิ รรมชาตใิ นอดตี แมไ มม เี จตนาใหเ กดิ ปรากฏการณ ทำซ้ำการบริหารจัดการภัยพิบัติตามแนวทางท่ีตางประเทศเคยดำเนินการ เน่ืองจากทุกภัยพิบัติที่เกิดซ้ำรอยยอมมีเงื่อนไขใหมเกิดข้ึนควบคูเสมอ ซึ่งเงื่อนไขใหมที่ปฏิสัมพันธกับการกระทำแบบเกายอมนำไปสูผลลัพธท่ี แตกตา งจากเดิมอยางแนนอน หากแตการศึกษาประวตั ิศาสตรการบรหิ าร จัดการภัยพิบัตินี้เพียงตองการศึกษาแนวคิดและแรงบันดาลใจจาก การตอสูกับภัยพิบัติในอดีตตามแนวทางในตางประเทศ แลวนำมาปรบั ทำความเขาใจเปรียบเทียบกับสถานการณภัยพิบัติของไทยในปจจุบัน โดยเฉาะอยา งยง่ิ ในประเดน็ แนวทางการประยกุ ตใ ชแ ละพฒั นาวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยีเพือ่ การบริหารจัดการภยั พิบัตธิ รรมชาติ ซึ่งการศึกษาคร้งั นี้ ตอ งการมงุ เนน เปน สำคัญ 4.1 การประยุกตใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในข้นั ตอน การบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตใิ นประเทศกรณศี กึ ษา กบั กรณภี ยั พบิ ตั ขิ องไทย 1) การปองกัน และการบรรเทาผลกระทบ (Prevention and Mitigation) กรณีแผนดินไหวและคลื่นสึนามิในเขตโทโฮกุของเกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) รัฐบาลญี่ปุ่นมี โครงสรา งการบรหิ ารบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั โิ ดยมสี ภาการบรหิ าร จัดการภัยพิบัติแหงชาติ เปนองคกรดานนโยบาย และการ สงั่ การเมอ่ื เกดิ ภยั พบิ ตั ิระดับประเทศ โดยมีเครือ่ งมือทส่ี ำคัญ

วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพ่ือการบรหิ ารจัดการภยั พิบตั ิ 77 เชน ระบบขอ มลู สารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ิ และ เชื่อมต่อด้วยระบบสื่อสารไร้สาย เพื่อการสื่อสารระหว่าง รฐั บาลกลาง องคกรทองถน่ิ จนถงึ ระดบั หมูบานและประชาชน โดยเชอ่ื มตอ เขา กบั เครอื ขา ยการสอ่ื สารเพอ่ื การปอ งกนั ภยั พบิ ตั ิ ผา นระบบดาวเทยี ม และโทรศพั ทเ คลอ่ื นท่ี รวมทง้ั มหี นว ยงาน รับผิดชอบการกูภัยและการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน โดยตรง ไดแ ก Fire and Disaster Management Agency (FDMA) ซ่งึ อยูภายใตก ระทรวงกจิ การภายในและการสอ่ื สาร ญป่ี ุน กรณพี ายเุ ฮอรริเคนแคทรนิ า ประเทศสหรัฐฯ ในป พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) แม้ว่าจะมีการวางแผนและจัดตั้งหน่วยงาน รบั ผิดชอบขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อเป็นกลไกดำเนินการต่างๆ ในการใหความชว ยเหลือผปู ระสบภยั แตย งั คงประสบปญหา การพจิ ารณาตดั สนิ ใจทไ่ี มร วดเรว็ เพยี งพอ ทำใหก ารตอบสนอง เปน ไปอยา งลา ชา และไรป ระสทิ ธภิ าพ ทง้ั ในระดบั รฐั บาลกลาง และรัฐบาลทอ งถนิ่ กรณคี ลน่ื ยกั ษส นึ ามใิ นประเทศไทย ในป พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) แมก ารบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ขิ องไทย ไดม กี ารตราพระราชบญั ญตั ิ ปอ งกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) และแผน ปองกันภัยฝายพลเรือนแหงชาติ พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) แตการดำเนินการชวยเหลือผูประสบภัยจากเหตุการณคล่ืน สึนามิ กลับดำเนินการโดยการออกประกาศของกระทรวง มหาดไทยและประกาศศนู ยชว ยเหลือผปู ระสบภัย ซงึ่ ไดจ ัดตั้ง ขึ้นอยา งเรง ดว นในชว งเวลาวิกฤติ กรณเี หตกุ ารณม หาอุทกภยั ในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) แมค ณะกรรมการปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

78 แหงชาติจะจัดทำแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย แหงชาติ พ.ศ. 2553-2557 ทม่ี ีกรอบยุทธศาสตรครอบคลุม ต้ังแตระยะกอนเกิดภยั ระยะเกิดภัย และระยะหลงั เกิดภยั ขน้ึ และคณะรฐั มนตรไี ดใหค วามเหน็ ชอบเม่ือวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) แลว แตย งั ประสบปญ หาความชัดเจน ในทางปฏบิ ัติ ทำใหไ มสามารถนำมาใชด ำเนินการไดอ ยาง เปนรปู ธรรมเมือ่ เกิดภยั พิบัติ 2) การเตรยี มพรอม (Preparedness) จุดมุงหมายสำคัญประการหนึ่งของการเตรียมความพรอม (Preparedness) คอื เพอ่ื ยกระดบั ความสามารถในการตดั สนิ ใจ และการตอบสนองที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพเม่ือเกิด เหตุวิกฤต ซึ่งยอมจะสรางความเชื่อมั่นใหกับประชาชนวา ภาครัฐและฝายบริหารจะมีความพรอมในการเขาชวยเหลือ หากเกิดพิบตั ิภยั ในพ้นื ที่ ซ่ึงจะสามารถลดความสญู เสยี ชวี ติ และทรพั ยส ินในพื้นที่ภัยพบิ ัตไิ ด กรณีแผน ดนิ ไหวฮันชนิ ที่โกเบ ประเทศญีป่ ุน ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) รัฐบาลญป่ี นุ ตอบสนองตอสถานการณอ ยางลา ชา เนอ่ื งจากพืน้ ทีป่ ระสบภัยถูกตดั ขาด ประกอบกับการรายงาน สถานการณท ล่ี า ชา และคลาดเคลอ่ื นทำใหผ ปู ระสบภยั ตอ งดำรง ชีวิตอยางยากลำบากในท่ีพักฉุกเฉินที่มีท่ีวางไมเพียงพอตอ จำนวนผูประสบภัย รวมท้งั การขาดแคลนอาหาร นำ้ ด่มื และ เครื่องใช้ต่างๆ ทั้งนี้เนื่องจากการขาดการเตรียมการที่มี ประสทิ ธภิ าพและการประเมนิ ความเสย่ี งทต่ี ำ่ กวา ความเปน จรงิ แมวาในพ้ืนท่ีใกลเคียงจะมีประสบการณการเกิดแผนดินไหว อยางรุนแรงมากอน จึงทำใหเกิดความเสียหายตอชีวิตและ ทรัพยส นิ จำนวนมาก

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พ่ือการบริหารจัดการภยั พบิ ตั ิ 79 กรณีแผนดินไหวและคล่ืนสึนามิในเขตโทโฮกุของเกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุน ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) รฐั บาลญป่ี นุ มีการเตรยี มการรับมอื ภัยพบิ ตั ิอยา งมปี ระสิทธิภาพ ทง้ั การ เตรียมการดานระบบเตือนภัย โครงสรา งพ้นื ฐาน วสั ดุอุปกรณ และบุคลากร รวมทั้งการใหค วามรแู กป ระชาชนเพื่อเตรยี มรบั ภัยพิบัติธรรมชาติมาโดยตลอด เมื่อเกิดเหตุการณภัยพิบัติ ประชาชนจงึ สามารถหลบภยั ไดอ ยา งรวดเรว็ และชว ยรกั ษาชวี ติ ผูคนไดเปน จำนวนมาก กรณีพายเุ ฮอรริเคนแคทรนิ า ประเทศสหรัฐฯ ในป พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) แมว า ศนู ยเ ฮอรร เิ คนแหง ชาติ (National Hurricane Center: NHC) จะมีการติดตามเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัย ตอ เนือ่ งหลายสัปดาหก อนพายุจะพดั เขาสูฝ ง แตก ารเฝาระวงั และการประเมินสถานการณท่ผี ิดพลาดและข้นั ตอนการส่งั การ ที่ลา ชา ทำใหร ฐั บาลกลาง รฐั บาลทอ งถน่ิ และ FEMA ไมส ามารถ เตรยี มการทดี่ พี อและไมม กี ารสง่ั การใดๆ เพอื่ ทำการอพยพ ประชาชนไปสูท ่ีปลอดภยั ไดอ ยางทนั เวลา กรณคี ลื่นสึนามิในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) ประชาชนไมไดรบั การแจงเตอื นภัยอยางทนั ทว งที เน่อื งจาก เปนภัยพิบัติรูปแบบใหมท่ีไมเคยเกิดขึ้นในประเทศมากอน หนวยงานราชการท่ีเก่ียวของจึงไมสามารถคาดการณ ความรุนแรงหรือเตรียมการรองรับใดกอนเกิดเหตุภัยพิบัติได อยางไรก็ตาม การที่รัฐบาลใหการตอบสนองตอเหตุการณ ลงพื้นที่สั่งการและประสานงาน และใหความชวยเหลือได อยา งรวดเรว็ ประกอบกบั ความรว มมอื ของภาคเอกชนและกลมุ อาสาสมัครต่างๆ ที่ระดมกำลังให้ความช่วยเหลือ ทำให้ สถานการณค ลค่ี ลายลงในภาพรวม ผูประสบภยั ทงั้ ชาวไทย และชาวตางชาติชื่นชมในการตอบสนองตอภัยพิบัติของ ประเทศไทย

80 กรณีเหตกุ ารณมหาอุทกภัยในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) รฐั บาลกลางประสบปญ หาการประเมนิ สถานการณ และการตัดสินใจผิดพลาด ทำใหการชวยเหลือของภาครัฐ เปนไปอยางลา ชา และดอยประสิทธิภาพ แตด วยความรว มมือ ของหนวยงานเอกชน โดยเฉพาะสื่อมวลชนที่นำเสนอภาพ ความรนุ แรงของอุทกภัยอยางตอเนอ่ื ง ทำใหภ าคเอกชนและ อาสาสมัครลงสูพื้นท่ีเพ่ือชวยเหลือบรรเทาทุกขแกผูประสบภัย ทำใหเ ห็นจุดออนในการบริหารจัดการ การคาดการณ และ ประเมินสถานการณ์ รวมทั้งการบูรณาการเพื่อช่วยเหลือ ผปู ระสบภัยพิบัติขนาดใหญของหนวยงานภาครัฐซ่งึ ควรไดรับ การปรับปรุงใหดีข้นึ 3) การรับสถานการณฉกุ เฉิน (Emergency Response) ปญ หาหลักในการบรหิ ารจดั การในภาวะฉกุ เฉิน คือ ในชวง เกิดวิกฤติไดเกิดชวงสูญญากาศกอนที่ความชวยเหลือ จะเขา สพู น้ื ทป่ี ระสบภยั โดยพน้ื ทท่ี ไ่ี ดร บั ความเสยี หายรา ยแรง สาธารณปู โภค และเสนทางคมนาคมสวนใหญจะถูกทำลาย จนไมสามารถใชการได ทำใหเ กิดปญหาการอพยพประชาชน ทต่ี ดิ อยใู นเหตกุ ารณ ซง่ึ กอ ใหเ กดิ การสญู เสยี ชวี ติ และทรพั ยส นิ ตามมา ทง้ั นี้ ระบบการส่ือสารขอมลู ขาวสารในภาวะฉุกเฉนิ และการกภู ยั จงึ มคี วามสำคญั มากตอ การตดั สนิ ใจ ทำใหจ ำเปน ตองมกี ารวางระบบท่ดี ี ทงั้ ดา นกฎระเบยี บและการมอบหมาย หนวยงานรับผิดชอบในการอำนวยการ เพือ่ ใหเกดิ การจดั การ กบั สถานการณอ ยา งถกู ตอ ง ทง้ั การสง่ั การและอปุ กรณส นบั สนนุ เพอ่ื ใหเ จา หนา ทผ่ี ปู ฏบิ ตั งิ าน อาสาสมคั ร และหนว ยกภู ยั ตา งๆ เขา ใจสถานการณแ ละสามารถบรู ณาการการใหค วามชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั ไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยเี พื่อการบรหิ ารจัดการภัยพบิ ตั ิ 81 นอกจากนี้ การเขาใหค วามชว ยเหลือในสถานการณฉ ุกเฉิน เปนเรื่องของการจัดการบนพ้ืนฐานของขอมูลและทรัพยากร ที่มอี ยจู ริง โดยตอ งทำการประเมนิ และรายงานสถานการณ ท่ีเกดิ ข้นึ ตอผมู ีอำนาจตดั สินใจ โดยจดั ระบบฐานขอ มลู ทั้งทีม่ ี อยแู ลว (แผนท่ีภมู ิประเทศพนื้ ที่ประสบภยั จำนวนประชากร ในพนื้ ท่ี และสถติ ิขอมูลท่จี ำเปน เชน เด็ก ผสู งู อายุ และ คนพิการ) ใหสามารถเขา ถึงไดทนั ที และผนวกเขากับขอ มูล สถานการณแ บบทนั การณ (real-time) ซง่ึ จะมผี ลในการพจิ ารณา การสงความชวยเหลอื เขา สพู น้ื ที่ กรณีแผน ดินไหวฮันชินทโ่ี กเบ ประเทศญป่ี ุน ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) การตอบสนองของรฐั บาลที่ลาชาประกอบกบั กา รเขาสูพ้ืนท่ีเปนไปอยางยากลำบากทำใหเกิดความเสียหาย กระจายเปนวงกวาง ผูที่เขาชวยเหลือและบรรเทาทุกขกลุม แรกเปนกลมุ เอกชนในพน้ื ท่ี กรณีแผนดินไหวและคลื่นสึนามิในเขตโทโฮกุของเกาะฮอนชู ประเทศญป่ี นุ ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) การใหค วามชว ยเหลอื โดยเฉพาะรฐั บาลทอ งถน่ิ เปน ไปอยา งรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ เม่ือเปรียบเทียบกับการตอบสนองในภาวะฉุกเฉินในกรณีอื่นๆ ซ่ึงเปนผลจากการเตรียมการท่ีดี กรณีพายเุ ฮอรร ิเคนแคทรินา ประเทศสหรัฐฯ ในป พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) การตอบสนองในภาวะฉุกเฉินและการชวยเหลอื เป็นการดำเนินงานของฝ่ายรัฐเป็นหลัก ประชาชนในศูนย์ หลบภยั ตอ งรอคอยเปน เวลาหลายวนั กวา จะไดร บั การชว ยเหลอื กองกำลังทหารจำนวนมากที่เขาไปในพื้นท่ีทำหนาท่ีคุมครอง ทรพั ยสนิ มากกวาการใหค วามชว ยเหลือประชาชน แมว าจะมี ทรัพยากร เชน รถยนต อาหาร และส่ิงของทจี่ ำเปน อยใู น พน้ื ที่ แตไมม ีการนำมาบริจาคแจกจา ยใหก ับผูประสบภัย

82 กรณคี ลืน่ สึนามิในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) ภายในเวลาไมก ช่ี ่วั โมงหลงั ภัยพบิ ตั ิ มีการแจกจา ยน้ำ อาหาร และสง่ิ ของบรจิ าค รวมทง้ั มอี าสาสมัครจำนวนมากหล่งั ไหล เข้ามาสู่พื้นที่ประสบภัย การตอบสนองและการช่วยเหลือ ในภาวะฉกุ เฉนิ เปน การรวมพลงั ของหนว ยงานรฐั องคก รพฒั นา เอกชน ภาคเอกชน และการรวมพลงั ของชุมชน 4) การฟน ฟบู รู ณะ และการพฒั นา (Recovery Reconstruction and Development) รฐั บาลสว นใหญจ ะเนน การจดั ทำโครงการเพอ่ื ฟน ฟแู ละพฒั นา ขนึ้ เปนกรณีพเิ ศษ ซงึ่ มักประกอบดว ยโครงการปรบั ปรงุ ดาน โครงสร้าง ทั้งที่เป็น Hard Structure (เช่น อาคาร ระบบสอ่ื สาร) และ Soft Structure (เชน มาตรฐานสง่ิ กอ สรา ง) โดยการปรบั ปรงุ หรอื การกอ สรา งโครงสรา งพน้ื ฐานตา งๆ ทเ่ี นน การปอ งกันภยั พบิ ัติ เชน การกอ สรางเขอ่ื นกน้ั นำ้ ซงึ่ ตองมี ระบบบำรงุ รกั ษา และการบริหารจัดการทม่ี ีประสทิ ธิภาพ เพอื่ ไมใหเ กดิ ปญหาการลงทุนสญู เปลา กรณีแผน ดนิ ไหวฮันชนิ ท่โี กเบ ประเทศญป่ี ุน ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) การฟนฟูบรู ณะพ้ืนท่แี ละโครงสรา งพนื้ ฐานใน พนื้ ทป่ี ระสบภยั ใชเ วลาตอ เนอ่ื งหลายป แมว า ระบบไฟฟา ประปา และโทรคมนาคมจะกลับมาใชไ ดห ลังเหตกุ ารณ แตการฟน ฟู ระบบทางดว นและการปลูกสรางอาคาร บา นพักอาศยั ที่ไดร ับ ความเสยี หายยังตองใชเ วลานานกวา 4 ป นอกจากน้ี รฐั บาล ญ่ีปุนไดใชโอกาสน้ีในการพัฒนามาตรฐานการบริหารจัดการ ภัยพิบัติขนาดใหญ่ เช่น การออกกฎหมายและปรับปรุง กฎหมายเพ่อื ยกระดบั มาตรฐานการเตรียมพรอม ปอ งกนั และ รบั มอื กบั ภยั พิบตั เิ ปน จำนวนมาก รวมถึงกำหนดแผนปองกัน

วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พื่อการบริหารจัดการภัยพบิ ตั ิ 83 ภัยพิบัติไว้ล่วงหน้า รวมไปถึง รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีแผน ประสานงานภายหลังการเกดิ ภัย โดยสงเสริมใหภ าคเอกชน องค์กรต่างๆ และประชาชนทั่วไปเผชิญภัยพิบัติด้วยหลัก ความรบั ผดิ ชอบ สามารถพึง่ ตนเองและชวยเหลอื กนั อยางมี ประสิทธิภาพ ซึ่งสรา งคณุ ปู การในการบรหิ ารจดั การภัยพบิ ัติ ของญ่ปี ุนอยางมากในเวลาตอ มา กรณีแผนดินไหวและคล่ืนสึนามิในเขตโทโฮกุของเกาะฮอนชู ประเทศญีป่ นุ ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ถงึ แมรัฐบาลจะมี ความพรอมท้ังกำลังคนและเครื่องมือแตเน่ืองจากผลกระทบ จากความเสียหายท่ีโรงไฟฟานิวเคลียรฟุกุชิมะไดอิชิจึงทำให รฐั บาลญีป่ ุน ไมส ามารถดำเนนิ การฟนฟูพนื้ ทปี่ ระสบภัยได อย่างเต็มรูปแบบ เนื่องจากต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาที่ โรงไฟฟา นวิ เคลยี รใ หส ำเร็จกอ น กรณีพายุเฮอรรเิ คนแคทรนิ า ประเทศสหรัฐฯ ในป พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) ภายหลงั ภยั พบิ ัติผานไปแลว 1 ป ก็ยงั ไมสามารถ คนหาผูเสยี ชวี ิตและสูญหายไดครบ ประชาชนชาวนวิ ออรลนี ส กวา 750,000 คน ยงั ไมสามารถกลับไปอยทู ่บี านเดมิ ได ระบบนำ้ ประปาในหลายพน้ื ทย่ี งั ไมก ลบั สสู ภาพปกติ การฟน ฟู ท่ีใชจายงบประมาณไปจำนวนมากยังไมสามารถตอบสนอง ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ทำให้มีผู้ที่ตัดสินใจ อพยพยายถน่ิ ฐานจำนวนมาก กรณีคลน่ื สนึ ามิในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) กระบวนการฟน ฟเู ปน การทำงานรว มกันของหลายฝา ย กลุม อาสาสมัครจำนวนมากทำงานบนพ้ืนฐานความตองการท่ี แทจริงของชุมชน หลายชมุ ชนในพนื้ ทใ่ี ชว ิกฤติดงั กลา วเปน โอกาส ทำใหเกิดกระบวนการพัฒนา การสรา งจติ สำนึกและ ความเขม แขง็ ของชมุ ชนอยางตอ เน่ือง

84 กรณเี หตุการณม หาอุทกภยั ในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ปจจุบันยังอยูใ นระยะกำหนดมาตรการดำเนนิ การ ซ่ึงรัฐบาลใชโอกาสนี้ในการทบทวนและกำหนดมาตรการท่ี เหมาะสมชดั เจนในการบรหิ ารจดั การอทุ กภยั อยา งยง่ั ยนื ตอ ไป 4.2 การประยกุ ตใ ชว ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พอ่ื การบรหิ าร จดั การภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตใิ นประเทศกรณศี กึ ษาจากเหตุ การณภ ยั พบิ ตั ขิ องไทย 1) การเฝา ระวงั และการเตรยี มพรอ มดา นขอ มลู ขา วสารเกย่ี วกบั ภัยพบิ ัติ จากระบบการเฝาระวังภัยพิบัติท่ีขาดความถูกตองของขอมูล ในเหตุการณแผนดินไหวฮนั ชนิ ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ทำใหผูประสบภัยตองดำรงชีวิตอยางยากลำบากในท่ีพัก ฉุกเฉินที่มีที่วางไมเพียงพอตอจำนวนผูประสบภัย รวมทั้ง การขาดแคลนอาหาร น้ำดื่ม ผ้าห่มและเครื่องใช้ต่างๆ อยางไรกต็ าม จากความผดิ พลาดดังกลา ว ทำใหรัฐบาลญ่ปี ุน ตัดสินใจลงทุนเพื่อการตรวจสอบ ติดตาม และเฝ้าระวัง ภัยพิบัตินบั เปนมูลคามหาศาล จนปจ จุบันนบั ไดว า ญ่ปี นุ เปนประเทศท่ีมีระบบการเฝาระวังภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพ ที่สดุ ในโลก ในขณะที่ ในกรณีของภัยพิบัติพายุเฮอร์ริเคนแคทรินาใน ประเทศสหรฐั ฯ ในป พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) นน้ั แมเ หตกุ ารณ ภัยพิบัติดังกลาวจะจบลงดวยโศกนาฏกรรมครั้งประวัติศาสตร แตหนว ยงานทไ่ี ดรบั การเชดิ ชูอยา งยงิ่ คือ หนว ยงานดา น การเกบ็ ขอ มลู ภมู อิ ากาศและภยั พบิ ตั ขิ องสหรฐั ฯ ทง้ั ศนู ยบ รกิ าร ดา นอากาศแหง ชาตสิ หรฐั ฯ (NWS) และศนู ยเ ฮอรร เิ คนแหง ชาติ สหรฐั ฯ (NHC) ทีส่ ามารถประสานงานรวมกนั ในการตรวจสอบ

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพอื่ การบริหารจดั การภัยพบิ ัติ 85 ติดตาม และเฝ้าระวัง จนสามารถคาดการณ์การเกิดพายุ เฮอรร เิ คนแคทรนิ าไดก อ นพายจุ ะพดั เขา สฝู ง ตอ เนอ่ื งนบั สปั ดาห สวนในกรณขี องประเทศไทยนั้น จากเหตุการณภ ัยพิบตั ิคล่ืน สนึ ามิ ในป พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) เนือ่ งจากบริเวณทะเล อนั ดามนั ไมเ คยปรากฏภยั พบิ ัตจิ ากคลน่ื สนึ ามิมากอน จึงขาด การเตรียมความพรอ มในการเกบ็ ขอมลู ตรวจสอบ ตดิ ตาม และเฝาระวังภัยพบิ ัติประเภทนี้ ในขณะที่ เหตกุ ารณภ ัยพิบตั ิ มหาอุทกภยั ของไทย ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ปญหา สำคัญประการหนึ่งคือการขาดการบูรณาการขอมูลระหวาง หนว ยงาน ท้ังในและระหวา งประเทศ โดยในระดับหนว ยงาน ในประเทศนนั้ เราควรบรู ณาการขอ มูลท่เี กีย่ วของกบั อุทกภัย ทงั้ หมด อาทิ ขอมลู ปรมิ าณน้ำฝน ขอ มลู ปริมาณน้ำในเขอ่ื น ตลอดจนขอมูลระดบั ความสงู ของพืน้ ที่ เปนตน นอกจากนี้ ในระดบั ระหวา งประเทศนน้ั แมไ ทยจะมกี ารเกบ็ ขอ มลู ปรมิ าณ น้ำฝนโดยกรมอุตนุ ิยมวทิ ยามาโดยตลอด แตการคาดการณ ปริมาณนำ้ ฝนลว งหนาไดอยา งแมน ยำยงั ตอ งอาศยั ขอมูลจาก องคก รอตุ นุ ยิ มวิทยาโลก ท้งั จากสถาบันตรวจสภาพอากาศ สหรฐั ฯ ญป่ี ุน และจนี แลว นำมาสรางแบบจำลองคาดการณที่ เหมาะสมกบั กรณขี องไทย 2) การพยากรณและคาดการณอ นั ตรายจากภยั พิบัติ จากขอ มลู ทค่ี าดเคลอ่ื นทำใหร ฐั บาลญป่ี นุ ประเมนิ ความเสย่ี งตำ่ กวาความเปนจรงิ ในเหตกุ ารณแผน ดนิ ไหวฮนั ชนิ ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) จึงทำให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและ ทรพั ยส ินจำนวนมาก อยา งไรก็ตาม เปน ท่ียอมรับโดยทั่วไป ในปจ จบุ นั วา เปน ระบบคาดการณแ ละเตอื นภยั ทร่ี วดเรว็ แมน ยำ และมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้ช่วยรักษาชีวิตของประชาชนใน

86 เหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ไวไดน บั หมืน่ คน โดยในปจจุบัน ญ่ปี นุ สามารถ รบั รถู ึงภยั แผน ดินไหวทีเ่ กดิ ขนึ้ ไดอ ยา งทนั การณ (real-time) และสามารถแจง เตือนภยั ไดโดยอัตโนมัตภิ ายใน 3 วนิ าที หลงั เกิดแรงสั่นสะเทือนทศี่ ูนยกลาง รวมถึงสามารถคาดการณ และแสดงผลของการเกิดสนึ ามิ ไดทง้ั ระดับความสูง ความเร็ว ตำแหนง และระยะเวลาท่จี ะซดั ถงึ ชายฝง ดังทก่ี ลา วไปแลว ศนู ยบ รกิ ารดา นอากาศแหง ชาตสิ หรฐั ฯ (NWS) และศูนยเ ฮอรร ิเคนแหงชาตสิ หรัฐฯ (NHC) สามารถคาดการณ การเกิดพายุเฮอรริเคนแคทรินาไดกอนที่จะพัดเขาสูฝงนับ สัปดาห รวมไปถงึ สามารถประเมนิ ระดบั ความรุนแรงของพายุ สถานการณและผลกระทบ คาดการณความกวางของพื้นที่ ที่จะไดรับผลกระทบไดอยางแมนยำ และสามารถประกาศ ยกระดับสถานการณจากระดับการเฝาระวังเปนระดับการแจง เตือนภัยกอนที่พายุเฮอรริเคนแคทรินาจะข้ึนฝงในพ้ืนที่ นิวออรล นี ส หลุยสเซยี นา อลาบามา และมสิ ซสิ ซิปปไ ดกอน เวลาถงึ 2 วนั อยา งไรกต็ าม การประเมนิ สถานการณท ผ่ี ดิ พลาด ของรฐั บาลกลาง สง ผลใหก ารสง่ั การชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั ลา ชา ในกรณขี องประเทศไทยนั้น จากเหตกุ ารณภ ัยพบิ ตั คิ ลนื่ สึนามิ ในป พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) แมก รมอุตนุ ิยมวิทยาจะสามารถ ตรวจจับความสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวได้ แต่การขาด ความรูความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับคลื่นสึนามิ จึงไมสามารถ คาดการณก ารเกดิ ภยั พบิ ตั ไิ ด ในขณะทจ่ี ากเหตกุ ารณภ ยั พบิ ตั ิ มหาอทุ กภยั ของไทย ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) การขาด การบรู ณาการขอ มลู กอ ใหเ กดิ ความผดิ พลาดในการคาดการณ และประเมินสถานการณ ซงึ่ นำมาสูค วามเสียหายจำนวนมาก ตามมา

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยเี พือ่ การบริหารจดั การภยั พิบตั ิ 87 3) การปอ งกันและลดความเสยี หายจากภัยพบิ ตั ิ จากความเสียหายในเหตุการณเหตุการณแผนดินไหวฮันชิน ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ทำใหญ ป่ี นุ ใหค วามสำคญั อยางจริงจังกับการออกแบบอาคารสิ่งปลูกสรางใหสามารถ รองรบั ภยั แผน ดนิ ไหวได ไมว า จะเปน การกำหนดมาตรฐานการ กอสรางท่ีเขมงวดในการบังคับใหสิ่งปลูกสรางใหมทั้งอาคาร และถนนตอ งมกี ารออกแบบเพอ่ื รองรบั แผน ดนิ ไหว ใหส ามารถ ตา นทานแรงสน่ั สะเทอื นจากแผน ดนิ ไหวได โดยเฉพาะอยา งยง่ิ อาคารสูงทุกแหงตองสามารถเอนไปมาไดขณะแผนดินไหว รวมไปถึงหนวยงานทองถิ่นวางแผนปรับการวางผังเมืองซึ่ง ชวยปอ งกนั แผน ดนิ ไหว กำหนดแนวปอ งกนั ไฟ รวมทง้ั สง เสรมิ ใหม ีการใชวสั ดุกันไฟในการกอ สรา งบา นและที่อยอู าศัย นอกจากน้ี การประยกุ ตใ ชเ ทคโนโลยอี จั ฉรยิ ะทส่ี ามารถทำให ระบบรถไฟฟาทั้งใตดินและบนดินหยุดวิ่งทันทีขณะเกิด แผน ดนิ ไหว และยิง่ ไปวา น้นั อาคารบานเรอื นทกุ หลงั จะมี ระบบเซนเซอรต ิดตั้งท่ีมเิ ตอรแ กส หากตรวจจับแผนดินไหวท่ีมี ความรุนแรงเกิน 5 แมกนจิ ดู -ตามมาตราริกเตอร จะตดั การจา ยแกส โดยอตั โนมตั ิ ทำใหช ว ยลดโอกาสการเกดิ เพลงิ ไหม เม่ือเกดิ แผน ดนิ ไหว ในกรณเี หตกุ ารณภ ยั พบิ ตั มิ หาอทุ กภยั ของไทย ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ปัญหาส่วนหนึ่งเกิดจากการวางผังเมืองที่ไม่ คำนึงถงึ การรบั มอื กบั ภยั พิบตั ิจากอุทกภยั ดงั เหน็ ไดจ ากการ ขยายเมืองในเขตกรุงเทพฯ จะขยายตัวออกดานขางเปนรูป ผเี สื้อ มกี ารกอสรางโรงงาน บา นจัดสรร ถมและตดั ถนนเพ่อื ทำให้เกิดเมืองใหม่ในเขตพื้นที่ที่ทับทางน้ำ (floodway) ในขณะท่ีผังเมืองในเขตพื้นท่ีปริมณฑลก็ไมสอดคลองกัน

88 บางพื้นที่เชนบริเวณใตคลองรังสิต จนบัดนี้ยังไมมีการวาง ผังเมอื งทชี่ ดั เจน รวมไปถงึ การออกแบบส่งิ กอสรางไมคำนงึ ถึง ความสามารถในการรองรบั อุทกภยั เชน ไมนยิ มออกแบบ บา นเรือนใหมเี สาสูงเพอื่ รับมืออทุ กภัย 4) การลดความเปราะบางและเส่ียงตอความเสียหายของระบบ โครงสรางพื้นฐานสำคัญย่งิ ยวด (Reduce vulnerability of interdependent critical infrastructure) ทง้ั จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวฮันชิน ในปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) และเหตกุ ารณภัยพบิ ัตพิ ายเุ ฮอรร ิเคนแคทรนิ าใน ประเทศสหรฐั ฯ ในป พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) การวางระบบ สาธารณูปโภคและโครงสรางพ้ืนฐานสาธารณะท่ีไมสามารถ รับมือกับภัยพิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพสงผลใหเมื่อเกิดเหตุ ภยั พิบัตขิ นาดใหญข ึ้นแลว เสน ทางคมนาคมหลกั ถูกทำลาย ระบบบริการสาธารณูปโภคพื้นฐานเสียหายลุกลามทั้งระบบ โดยระบบจายไฟฟา หยดุ ทำงาน น้ำประปาไมไ หล เครือขา ย โทรศัพทเสียหายจนใชการไมไ ด จนเกดิ เปนภาวะสูญญากาศ ขน้ึ ทนั ที ทำใหค วามชว ยเหลอื เปน ไปไดอ ยา งลา ชา ไมส ามารถ เขาถงึ พน้ื ทปี่ ระสบภัยไดท นั ทวงที และสง ผลตอ ผูป ระสบภัย ในพน้ื ที่โดยตรงทัง้ ตอชีวิตและทรัพยสนิ ในขณะท่ี เหตกุ ารณแ ผน ดนิ ไหวและคลน่ื สนึ ามิ ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ถาไมนับรวมถึงเหตุการณภัยพิบัติซ้ำซอนจาก ความเสยี หายของโรงไฟฟา พลงั งานนวิ เคลยี รแ ลว จะเหน็ ไดว า ประเทศญ่ีปุนไดมีการปรับปรุงมาตรฐานและจัดเตรียมระบบ บรกิ ารสาธารณะพน้ื ฐาน ทง้ั สถานพยาบาล ระบบสาธารณปู โภค

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพอ่ื การบริหารจดั การภยั พบิ ตั ิ 89 พ้ืนฐาน ทั้งระบบคมนาคม ระบบไฟฟ้า ระบบประปา โครงขา ยโทรศพั ท สิ่งอำนวยความสะดวก และอุปกรณตางๆ ในการดำรงชวี ติ ขน้ั พน้ื ฐาน เพอ่ื รองรบั เหตฉุ กุ เฉนิ ใหส ามารถ ใชง านไดแมในยามเกดิ ภยั พิบตั ิ ดังเชน ความสามารถในการ รองรับเหตุการณแ ผนดินไหวขนาดใหญเชนนี้ 5) การเตือนภัยและเผยแพรแนวทางการปฏิบัติท่ีเหมาะสม ภายใตค วามเสย่ี งจากภยั พบิ ัติ ปจจบุ นั ระบบการเตอื นภัยของญปี่ ุนนับไดวา มปี ระสทิ ธิภาพ ที่สดุ ในโลก สามารถแจง เตือนภยั ไดอยา งรวดเรว็ และแมน ยำ ท้ังจากภยั พิบัติแผนดินไหวและภยั พิบตั คิ ลน่ื สนึ ามิ โดยระบบ เตือนภัยแผนดินไหวของญ่ปี นุ สามารถทำงานอัตโนมัติภายใน 3 วินาที หลังเกิดแรงสั่นสะเทือนที่ศูนย์กลาง ซึ่งทำให้ ผูประสบภัยจะมีเวลาราว 1 นาที ในการหาท่กี ำบังภัยหลงั ได้รับสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า ผ่านระบบส่งสัญญาณ เตือนภัยอัตโนมัติท่ีจะสงตรงถึงประชาชนโดยตรงทั้งทาง โทรศพั ทเคลือ่ นท่ี และผานสถานโี ทรทัศน วทิ ยุ รวมทงั้ การแจง เตือนในสถานประกอบการ โรงงาน โรงพยาบาล และ โรงเรยี น ผา นระบบ Area Mail Disaster Information Service ในขณะที่ การเตือนภัยสึนามิจะใชเ วลา 3 นาทหี ลงั เกิด แผน ดนิ ไหว ซงึ่ ประชาชนจะมีเวลาราว 15 นาที ในการอพยพ ไปสทู ีป่ ลอดภยั หลังไดร ับสัญญาณเตือนภัยลว งหนา กรณีคลนื่ สึนามิในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) ประชาชนไมไ ดร ับการแจง เตอื นภยั อยา งทนั ทว งที เนื่องจาก เปนพิบัติภัยรูปแบบใหมที่ไมเคยเกิดข้ึนในประเทศมากอน อยา งไรกต็ าม รฐั บาลไทยสามารถใหก ารตอบสนองตอ เหตกุ ารณ อย่างรวดเร็ว โดยลงพื้นที่สั่งการและประสานงานการให้ ความชว ยเหลอื อยา งรวดเรว็ ประกอบกบั การสือ่ สารมวลชนที่

90 มปี ระสทิ ธิภาพของไทย สามารถสรางความรวมมือของภาค เอกชนและกลมุ อาสาสมคั รตา งๆ ทร่ี ะดมกำลงั ใหค วามชว ยเหลอื ไดอยางรวดเร็ว ทำใหสถานการณคลี่คลายลงในภาพรวม ผูประสบภัยท้ังชาวไทยและชาวตางชาติตางชื่นชมในการ ตอบสนองตอ ภยั พิบตั ขิ องไทย ในขณะท่ี ในกรณมี หาอทุ กภยั ไทย ในป พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) การขาดความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ของ รฐั บาลไทย ทำให้ประสบปัญหาการประเมินสถานการณ์ ผดิ พลาด การบรู ณาการระหวา งรัฐบาลกลางกับหนว ยงาน ดานการเฝาระวังและคาดการณอุทกภัยเปนไปอยางไมมี ประสทิ ธิภาพ ดังนัน้ การแจงเตือนภยั แกประชาชนจึงลา ชา และขาดความน่าเชื่อถืออย่างมากในระยะแรก กอปรกับ ผูประสบภัยจำนวนมากไมปฏิบัติตามประกาศเตือนภัยและ อพยพ เนื่องจากประชาชนในหลายพื้นที่ไมมั่นใจในความ ปลอดภัยของทรัพยส นิ เพราะพบวา เม่อื มีการอพยพออกจาก พ้นื ที่แลว กลับมีการโจรกรรมทรัพยสินเกิดขึ้นจำนวนมาก อยางไรกต็ าม นับเปนความสำเรจ็ อีกครงั้ ของส่ือสารมวลชน ไทยที่สามารถสรางความตระหนัก และระดมความรวมมือ จากหนวยงานเอกชน และกลมุ อาสาสมัครตางๆ ทรี่ ะดมกำลงั ใหความชว ยเหลอื ทำใหส ถานการณค ล่ีคลายไปไดร ะดับหน่งึ 4.3 ขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยเี พอ่ื การบรหิ ารจดั การภยั พบิ ตั ิ จากกรณีศึกษาแนวทางเชิงนโยบายดานการวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการบริหารจัดการภัยพิบัติในประเทศไตหวัน สะทอนใหเ ห็นถึง ความมงุ มน่ั จรงิ จังของรัฐบาลไตหวันทเ่ี ห็นความสำคัญ ของการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยา งตอ เนอื่ ง เพ่อื เพม่ิ

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พือ่ การบริหารจดั การภยั พิบตั ิ 91 ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การภยั พบิ ัติ ดงั เห็นไดจากความสำเร็จในการ วางแผนวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการ ภยั พิบัติระดับชาติ รวมไปถึงการจัดตั้งศูนยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อลดภัยพิบัติแหงชาติไตหวัน และการออกกฎหมายเพื่อควบคุมและ บังคับใชเพื่อการประยุกตผลงานวิจัยและพัฒนาที่ไดใหสามารถสัมฤทธ์ิผล ในทางปฏบิ ัติ อันนำมาซ่งึ คณุ ูปการมากมายในการบริหารจัดการภัยพบิ ัติ ท่เี หมาะสมกับลักษณะเฉพาะทองถิน่ ของไตห วนั โดยมีขอสงั เกตนา สนใจ ท่ีคลายคลึงกับปญหาการประยุกตใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในไทย ดังนี้ • แมรัฐบาลไตหวันจะพยายามใหการสนับสนุนการวิจัยและ พฒั นาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางจริงจัง จนไดมาซึ่ง ผลงานวิจัยและพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จำนวนมาก แตถ า ไมม กี ลไกอน่ื ๆ ประกอบ ผลงานวจิ ยั เหลา นน้ั จะเปนเพียงเอกสารทางวิชาการที่ไมถูกนำไปประยุกตใชให เกิดประโยชนห รือเปน เพยี งงานวจิ ัยขึ้นหง้ิ • นอกเหนือไปจาก กระบวนการวจิ ัยและพัฒนาแลว การจดั การ การประสานงาน และวางแผนการบรู ณาการงานวจิ ยั ก็มี ความสำคัญจำเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากโดยธรรมชาติของ ขอบเขตองคความรูในการวิจัยและพัฒนาการจัดการภัยพิบัติ| นั้น มีความเป็นสหวิทยาการและมีความเชื่อมโยงระหว่าง หลายหนว ยงาน • การดำเนินการและการประยกุ ตใ ชผลงานวิจัยใหเ กิดประโยชน ในภาคการปฏิบัตินั้น มีความจำเปนอยางยิ่งที่จะตองให ความสำคญั กบั การถา ยทอดเทคโนโลยี การสนบั สนนุ ทางเทคนคิ และการทำงานรว มกันระหวา งหลายหนว ยงาน ยิง่ ไปกวาน้ัน อาจจะตองหมายรวมไปถึง การตรากฎหมายใหหนวยงาน

92 ปกครองในทุกระดับดำเนินการวางแผนการประยุกตใช เทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการภัยพิบัติที่เหมาะสมกับพ้ืนที่ รับผิดชอบของตน กเ็ ปนอกี วธิ ีการหน่งึ ในการกระตนุ ใหเกดิ การประยกุ ตใ ชเ ทคโนโลยีการบรหิ ารจัดการภยั พบิ ัติ นอกจากน้ี ประเดน็ การวจิ ยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี เพ่ือการบริหารจัดการภัยพิบัติที่ประเทศไทยควรใหความสำคัญเรงดวน มดี งั น้ี 1) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานภูมิสารสนเทศแหงชาติ (National Spatial Data Infrastructure: NSDI) ที่เช่อื มโยง กับระบบสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ (Decision Support System: DSS) ในปัจจุบัน มีฐานข้อมูลจำนวนมากที่ถูกเก็บรวบรวมโดย หนว ยงานภาครฐั ตา งๆ ซง่ึ สามารถนำมาประโยชนใ นการบรหิ าร จดั การภยั พบิ ตั ไิ ดอ ยา งดี แตข อ มลู เหลา นน้ั กลบั ถกู เกบ็ รวบรวม อยา งกระจายกระจายและซำ้ ซอ น จนยากทจ่ี ะนำมาบรู ณาการ รวมกนั ได นอกจากนี้ ระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจเกย่ี วกับ ภัยพิบัติที่นิยมใชกันอยูในปจจุบัน ยังคงอางอิงอยูบนฐาน ขอมูลที่จัดทำโดยหนวยงานบริหารจัดการภัยพิบัติหนวยงาน น้นั ๆ จึงทำใหระบบที่มีดังกลาวยังไมถูกนำมาใชประโยชน อยางเต็มที่ในการบริหารจัดการภัยพิบัติในภาพรวมระดับ ประเทศ ดังน้ัน การบรู ณาการฐานขอมลู จากหนว ยงานตา งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งใหเ กดิ เปน โครงสรา งพน้ื ฐานภมู สิ ารสนเทศแหง ชาติ (NSDI) ท่เี ชอ่ื มโยงกับระบบสนบั สนุนการตดั สินใจ (DSS) ท่ีถูก จัดทำข้ึนบนฐานองคความรูสหวิทยาการและความรวมมือ จากหนว ยงานตางๆในทุกระดบั ที่เกี่ยวขอ ง จึงเปนสิ่งจำเปน

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเพ่อื การบรหิ ารจัดการภยั พบิ ัติ 93 โดยเทคโนโลยีเหลานี้จะสามารถใชประโยชนในภาพรวมได อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยามที่ผู้กำหนดนโยบาย สาธารณะจำเปนจะตองกำหนดนโยบายการบริหารจัดการ ภยั พิบตั ิในสถานการณฉกุ เฉิน 2) การพัฒนาระบบการเฝาระวังและการพยากรณภัยพิบัติ (Disaster Monitoring and Forecasting System) การประยกุ ตใ ชเ ทคโนโลยกี ารสำรวจระยะไกล (Remote Sensing Technology) ทำใหสามารถไดขอมูลการเฝาระวังการเกิด ภัยพิบตั ชิ นดิ ตางๆ ทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ รวมถึงสามารถใชไดท ้งั เพื่อการเฝา ระวงั ติดตามสถานการณภัยพิบตั ิ รวมถึงสามารถ ใชประโยชนในการประเมินความเสียหายในพื้นท่ีขนาดใหญ โดยขอมูลที่ไดยังสามารถนำไปใชรวมกับขอมูลภูมิสารสนเทศ (GIS) เพ่ือการตดั สินใจภายใตสถานการณตา งๆ ทามกลาง ภยั พบิ ตั ิ นอกจากน้ี การพยากรณเ หตกุ ารณภ ยั พบิ ตั ทิ แ่ี มน ยำ จะทำใหสามารถลำดับข้ันตอนการเกิดภัยพิบัติไดลวงหนา ทง้ั ชว งเวลาของการเกดิ และอตั ราความรุนแรงของภัยพิบัตทิ ่ี จะเกิด เพื่อประโยชนในการเตรียมพรอมรับมือและลดความ เสยี หายทีอ่ าจเกดิ ขึ้นได 3) การปรับปรุงการบริหารจัดการการใชท่ีดินอยางย่ังยืน (Sustainable Land Use Management) ดวยลกั ษณะเฉพาะทางภมู ศิ าสตรของประเทศไทย ทพี่ ืน้ ที่ สว นใหญเปนพืน้ ทร่ี าบซง่ึ น้ำทว มถงึ และภมู อิ ากาศแบบมรสุม เขตรอน ทำใหประเทศไทยมีความเสี่ยงกับการเกิดอุทกภัย บอ ยคร้ัง ดังนน้ั วิธกี ารในการลดความเสยี่ งจากอทุ กภยั คอื การหลีกเลี่ยงการใชประโยชนที่ดินที่ไมเหมาะสม สงเสริม การอนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติ เสรมิ สรา งการเฝาระวังและ

94 การเตอื นภัยลวงหนาในพ้นื ที่ท่มี คี วามเส่ยี งสูง และวางแผน การบริหารจัดการการใชที่ดินอยางเขมงวด รวมทั้งมีขอมูล เพียงพอในการแนะนำแกประชาชนเพ่ือใหสามารถใชท่ีดิน ไดอ ยา งเหมาะสม โดยเฉพาะอยา งยิ่งในประเดน็ ทีเ่ ก่ียวกับ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีโดยตรง เชน การสรางระบบ การประเมนิ ความเสย่ี งจากภยั พบิ ตั เิ พอ่ื การวางแผนการใชท ด่ี นิ การวิจัยและพัฒนาการใชประโยชนที่ดินและการใชองค ความรูดานวิศวกรรมศาสตรเพื่อการบริหารจัดการภัยพิบัติใน พนื้ ท่ี อาทิ การวางผังเมือง การควบคุมวัสดุและทต่ี ้ังของสง่ิ ปลูกสราง การสรางทางระบายนำ้ เปนตน 4) การใหความรูดานการบริหารจัดการภัยพิบัติ (Disaster Management Education) ทง้ั ในระบบการศกึ ษาและนอกระบบการศกึ ษา โดยมวี ตั ถปุ ระสงค หลักเพื่อสรางความตระหนักใหกับประชาชนเก่ียวกับภัยพิบัติ ธรรมชาติ เพม่ิ ความสามารถในการลดและหลกี เลย่ี งความเสย่ี ง ที่เกิดจากภยั พิบตั ิธรรมชาติ โดยเฉพาะอยา งย่ิง การใหค วามรู เพ่อื การเตรียมความพรอมรับมือภัยพิบัติในสถานการณฉุกเฉิน ซ่งึ ประเด็นท่เี กี่ยวกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยโี ดยตรง เชน การเสริมสรางความตระหนักแกประชาชนดวยเทคโนโลยี การเรียนรู้สมัยใหม่ การขยายช่องทางการเรียนรู้ อาทิ การศกึ ษาผา นอนิ เทอรเ นต็ รวมถงึ พฒั นาระบบการประเมนิ ผล การเรียนรู เปน ตน ดงั ท้ังหมดทก่ี ลาวมาแลว จะพบวา วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี นับไดวามีบทบาทสำคัญอยางมากในกลไกการบริหารจัดการภัยพิบัติ ธรรมชาติ อยางไรกต็ าม วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยเี ปนเพียงเครอ่ื งมือ สำคัญช้นิ หน่ึงในการบริหารจดั การภัยพิบัตเิ ทาน้ัน ดงั นน้ั ความพยายาม

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพ่อื การบริหารจัดการภัยพิบตั ิ 95 ในการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการภัยพิบัติ จึงเปน เพียงความพยายามในการทลายภูเขาน้ำแขง็ สว นบน หากแตสิ่งซ่งึ สำคัญกวาการพัฒนาความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อ การบริหารจดั การภยั พบิ ตั ิ คือ การบรู ณาการวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ใหสามารถนำมาใชประโยชนรวมกับการระดมสรรพกำลังจากทุกฝายที่มี สวนเกี่ยวของเพื่อการบริการบริหารจัดการภัยพิบัติ ทั้งจากภาควิชาการ การเมือง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน



วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พอ่ื การบรหิ ารจดั การภัยพบิ ัติ 97 สว นที่ 2 การเกดิ ภัยพิบัตใิ นประเทศไทยและ ตัวอยา งผลงานวิจยั และนวัตกรรม ทีเ่ กย่ี วของ

98 1. สถานการณด า นภัยพิบัติ ในประเทศไทย เน้ือหาในสวนน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือนำเสนอสถานการณทางดาน ภยั พบิ ตั ทิ ป่ี ระเทศไทยประสบอยู ณ ปจ จบุ นั รวมถงึ ความสามารถของภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมภายในประเทศ ในการสรางและใช ประโยชนจากองคความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในการ บริหารจดั การภยั พบิ ัติดังกลา ว พระราชบญั ญตั ปิ องกันภัยฝายพลเรือน พ.ศ. 2550 ใหความหมาย ของคำวา “สาธารณภัย” วาหมายถึง อคั คีภัย วาตภัย อุทกภัย ภยั แลง โรคระบาดในมนุษย โรคระบาดในสตั ว โรคระบาดสตั วน ำ้ การระบาดของ ศตั รพู ชื ตลอดจนภยั อน่ื ๆ อนั มผี ลกระทบตอสาธารณชน ไมวาเกิดจาก ธรรมชาติ มผี ูท ำใหเ กิดขึ้น อบุ ตั ิเหตุหรือเหตุอน่ื ใดซ่ึงกอใหเ กิดอนั ตราย แกชีวิตรางกายของประชาชนหรือความเสียหายแกชีวิตและทรัพยสินของ ประชาชนหรือของรัฐ และให้หมายความรวมถึงภัยทางอากาศ และ วนิ าศกรรมดว ย อยางไรกด็ ี การศกึ ษาน้ี จะกลาวถงึ เฉพาะภัยพิบัตจิ าก ธรรมชาติ เพอ่ื ใหส อดคลองกับกรอบแนวคดิ ทีน่ ำเสนอในสว นท่ี 1 จากแผนภาพท่ี 4 แสดงใหเ หน็ ชัดเจนวา ภัยพบิ ัตไิ ดกอใหเ กิด ความเสียหายในเชิงเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศอยา งมาก โดยภยั พิบตั ิ ที่กอใหเกดิ ความเสยี หายสูงสุดคือ อทุ กภัย ซึ่งก็เปนภัยพบิ ัติครงั้ ลาสดุ ที่ ประชาชนคนไทยในหลากหลายจงั หวดั ตอ งเผชญิ ในป 2554 ท่ีผา นมา

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีเพ่อื การบริหารจดั การภยั พบิ ตั ิ 99 แผนภาพที่ 4 มูลคาความเสียหายจากการเกิดภัยพิบัติที่สำคัญใน ประเทศไทย ป พ.ศ. 2545-2554 หนวย: ลานบาท หมายเหต:ุ ขอ มูลอคั คภี ัย ไมสามารถแยกแยะภัยพบิ ัติจากธรรมชาติและภัยพิบตั ิจาก การกระทำของมนษุ ย ทมี่ า: ดัดแปลงจากขอมลู กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 1.1 อทุ กภยั ปญ หาอทุ กภยั ในประเทศไทยเกดิ ขน้ึ เปน ประจำทกุ ป อทุ กภยั นบั เปน ภัยพบิ ตั ทิ ีก่ อใหเกดิ ความเสยี หายใหแกประเทศมากทส่ี ุด โดยมีสาเหตุจาก อทิ ธิพลของรอ งความกดอากาศตำ่ กำลังแรงพาดผานภาคเหนอื ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบกับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตพัด ปกคลุมทะเลอนั ดามันและอาวไทย ทำใหม ฝี นตกหนกั และเกิดน้ำทวมใน หลายจังหวัด ประชาชนไดรับความเดือดรอน สาธารณประโยชนและ ทรัพยสินของประชาชนไดร บั ความเสียหาย รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 3