Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โปรแกรมการพัฒนาทักษะการควบคุมตนเองฯ

โปรแกรมการพัฒนาทักษะการควบคุมตนเองฯ

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-28 02:54:33

Description: โปรแกรมการพัฒนาทักษะการควบคุมตนเองฯ

Search

Read the Text Version

โปรแกรมการพัฒนาทักษะ การควบคุมตนเอง (self-control) เพอื่ ปองกนั (bพuฤตllyกิ รinรgมก)ารรังแกกัน ในเด็กประถมศึกษาท่ี 1-3 กองสง เสรมิ และพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต



กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ

ชอื่ หนังสอื : โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพ่อื ป้องกันพฤติกรรมการรังแกกนั (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาท่ี 1-3 จัดทำ�โดย : กองสง่ เสริมและพฒั นาสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ พมิ พค์ รัง้ ที่ 1 : 2562 จ�ำ นวนพมิ พ์ : 700 เลม่ พมิ พท์ ่ี : บริษัท พรอสเพอรสั พลสั จ�ำ กัด

คำ�นำ� จากข้อมูลปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ท่ีสำ�คัญในเด็กวัยเรียนพบว่า พฤติกรรมรังแกกัน (bullying) ในประเทศไทยมสี ดั สว่ นทคี่ อ่ นขา้ งสงู และเปน็ อนั ดบั 2 ของโลก ซง่ึ ผลกระทบทเี่ กดิ จากการรงั แกกนั (bullying) สง่ ผล มากมายต่อร่างกาย จติ ใจและการด�ำ เนนิ ชีวติ ของทัง้ นกั เรียนท่เี ปน็ ผรู้ ังแกและเหย่อื หากผมู้ สี ว่ นเกีย่ วขอ้ งปล่อยท้ิงไว้ หรือมองว่าเป็นเพียงการแกล้งกันตามธรรมดาของเด็ก อาจนำ�ไปสู่การก่อปัญหาอาชญากรรมหรือการทำ�ร้ายผู้อื่น ในเด็กท่เี ปน็ ผูร้ งั แก ส่วนนกั เรียนทเ่ี ป็นเหยื่อ ได้รบั บาดเจบ็ เกิดปัญหาสขุ ภาพจิต อาจรู้สึกอบั อาย ซมึ เศร้า วติ กกงั วล เก็บกดความกา้ วรา้ ว ฆ่าตวั ตาย นอกจากนี้ บุคคลทีอ่ ยู่รอบข้างเด็ก เชน่ ครู เพื่อน พ่อแม่ผูป้ กครอง โรงเรยี น สงั คม กอ็ าจไดร้ บั ผลกระทบจากพฤตกิ รรมอนั เปน็ ผลกระทบจากการรงั แกของเด็กด้วย โปรแกรมเล่มน้ีพัฒนาข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์ใน 2 กลุ่มคือ 1) ผู้ใช้โปรแกรม และ 2) กลุ่มเป้าหมาย โดยในกลมุ่ ผใู้ ชโ้ ปรแกรม ประกอบดว้ ย ครปู ระจ�ำ ชน้ั ครทู ดี่ แู ลระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น (ครแู นะแนว/ครทู ป่ี รกึ ษา) มงุ่ หวงั ใหค้ รเู กดิ ความตระหนกั เหน็ ความส�ำ คญั ในบทบาทของตนทจ่ี ะชว่ ยเฝา้ ระวงั พฤตกิ รรมรงั แกกนั ในเดก็ นกั เรยี น ประถมศกึ ษาที่ 1-3 มีความรู้ทถี่ กู ต้อง และมีทกั ษะในการจัดการ แกไ้ ข เก่ียวกับพฤติกรรมรังแกกัน รวมท้ังสามารถ พฒั นาทกั ษะการควบคมุ ตนเองในเดก็ กลมุ่ เปา้ หมาย สว่ นวตั ถปุ ระสงคท์ คี่ าดหวงั ใหเ้ กดิ กบั นกั เรยี นประถมศกึ ษาที่ 1-3 คือเด็กมที กั ษะในการควบคมุ ตนเอง (self-control) ตลอดจนสามารถมีทกั ษะในการป้องกันตนเองจากการถูกรงั แก และมที กั ษะในการรับมือเม่อื ถูกรังแกได้ โปรแกรมเล่มนพ้ี ฒั นาภายใตก้ ระบวนการวิจยั และพฒั นาของกรมสขุ ภาพจติ ผา่ นผ้เู ช่ียวชาญ นกั วิชาการ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ตวั แทนครรู ะดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาที่ 1-3 รวมทง้ั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านดา้ นสขุ ภาพจติ เดก็ ในวยั เรยี น พจิ ารณาเนอ้ื หา ทางวิชาการ ดำ�เนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผ่านการทดลองใช้โปรแกรมในกลุ่มเป้าหมาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพทาง วชิ าการของเทคโนโลยีสขุ ภาพจิตใหม้ ีความเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมายและบรบิ ทของพ้นื ที่ การพฒั นาชดุ โปรแกรมไดร้ บั ความรว่ มมอื จากคณะผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นสขุ ภาพจติ เดก็ ของกรมสขุ ภาพจติ ในการ ใหข้ อ้ เสนอแนะและขอ้ คดิ เหน็ ใหถ้ กู ตอ้ งครอบคลมุ เกยี่ วกบั การพฒั นาคณุ ภาพทางวชิ าการ ผแู้ ทนจากหนว่ ยงานทง้ั ใน และนอกสังกดั กรมสุขภาพจิต ไดแ้ ก่ ศนู ยส์ ขุ ภาพจติ สถาบนั ราชานุกูล สถาบนั สขุ ภาพจิตเดก็ และวัยรนุ่ ราชนครนิ ทร์ กรมอนามยั กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ ผแู้ ทนส�ำ นกั งานสาธารณสขุ อ�ำ เภอและโรงพยาบาลชมุ ชน มลู นธิ ศิ นู ยพ์ ทิ กั ษ์ สทิ ธิเด็ก ในการใหข้ อ้ เสนอตอ่ การน�ำ โปรแกรมไปใชใ้ นพืน้ ที่ รวมทั้งปรบั ปรุงและพฒั นาเนือ้ หาโปรแกรมใหเ้ หมาะสม ต่อสถานการณ์และกลุ่มเป้าหมายย่ิงขึ้น ประการสำ�คัญ ได้รับความร่วมมืออย่างดีย่ิงจากครูในพ้ืนท่ีทดลองใช้ ท่ีได้ ร่วมพัฒนาแผนกิจกรรม ให้ข้อเสนอแนะการใช้โปรแกรมในบริบทจริง ตลอดจนแนวทางในการบูรณาการโปรแกรม กบั กระบวนการเรยี นการสอนในระบบโรงเรียน กรมสุขภาพจิตหวังวา่ โปรแกรมการพัฒนาทักษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพ่อื ปอ้ งกนั พฤติกรรม การรังแกกัน (bullying) ในเด็กประถมศึกษาท่ี 1-3 จะชว่ ยใหผ้ ู้ใช้มแี นวทางในการดำ�เนนิ งานเฝ้าระวังการรังแกกันใน โรงเรยี น รวมทัง้ การรบั มือกับปญั หาพฤติกรรมการรงั แกกนั ได้อยา่ งเหมาะสม เพอ่ื ลดปญั หาพฤตกิ รรม-อารมณใ์ นเดก็ วัยเรียน เออื้ ต่อการใช้ศักยภาพในการเรยี นรตู้ ามวัยอยา่ งเต็มท่ี เปน็ กำ�ลังสำ�คญั ในการพฒั นาประเทศตอ่ ไป กรมสขุ ภาพจิต โปรแกรมการพฒั นาทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) ก เพื่อปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรังแกกนั (bullying) ในเด็กประถมศกึ ษาที่ 1-3



สารบัญ หน้า 1 5 บทนำ� 11 แผนการเรียนรูส้ �ำ หรบั ครู “ครูคือคนสำ�คญั ในการคมุ้ ครอง ป้องกันเด็ก จากการรงั แกกัน” 23 แผนการสอน 1 เขา้ อก เขา้ ใจ รบั มือและสร้างพลังสู่การช่วยเหลือการรังแกกนั 31 แผนการสอน 2 พฤติกรรมการรังแกกนั 38 แผนการสอน 3 การจดั การกบั พฤติกรรมรงั แกกนั 45 แผนการเรยี นรสู้ ำ�หรับนักเรยี น “ครคู ือผูส้ รา้ งภมู ิค้มุ กันเด็กจากการรงั แกกัน” 52 แผนการสอน 4 การเลอื กคบเพ่อื น 54 แผนการสอน 5 เมอ่ื ถูกเพอื่ นรังแก หนคู วรทำ�อย่างไร 55 แผนการสอน 6 ทักษะการตระหนกั รู้อารมณต์ นเอง และควบคุมอารมณต์ นเอง ภาคผนวก สิทธเิ ด็ก การเสรมิ สร้างความเหน็ อกเหน็ ใจผูอ้ ืน่ รายนามผู้ร่วมพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพื่อปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรังแกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาที่ 1-3 โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) ข เพื่อป้องกันพฤตกิ รรมการรังแกกนั (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาที่ 1-3



บทนำ� แนวคดิ ผลกระทบทเ่ี กดิ จากการรงั แกกนั (bullying) สง่ ผลมากมายทง้ั นกั เรยี นทเี่ ปน็ ผรู้ งั แก และนกั เรยี นทเ่ี ปน็ เหยอ่ื นกั เรยี นทีเ่ ปน็ ผู้รังแก อาจมีปญั หาพฤติกรรมก้าวรา้ ว พฤติกรรมตอ่ ตา้ นสงั คม น�ำ ไปสกู่ ารกอ่ ปญั หาอาชญากรรมหรือ การท�ำ รา้ ยผ้อู น่ื สว่ นนกั เรียนท่เี ป็นเหย่ือ ไดร้ บั บาดเจบ็ มีปัญหาสุขภาพกาย เชน่ ปวดหัว ปวดท้อง อาจรสู้ ึกอบั อาย ซึมเศรา้ และวติ กกงั วล ฆ่าตัวตาย (Menard and Grotpeter, 2014; Wang and Iannotti, 2012) บุคคลที่อยรู่ อบ ขา้ งเด็ก เชน่ ครู เพอ่ื น พ่อแมผ่ ูป้ กครอง โรงเรียน สังคม อาจไดร้ บั ผลกระทบจากพฤติกรรมรงั แกดว้ ย เชน่ ปญั หา อาชญากรรม และการกระท�ำ ท่ีผิดกฎหมาย (Robert, 2000) จากการศกึ ษาเกย่ี วกบั พฤตกิ รรมรงั แกกนั (bullying) ในประเทศไทย พบพฤตกิ รรมการรงั แกกนั ในนกั เรยี น ระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ถงึ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ร้อยละ 40 (สมบตั ิ ตาปัญญา, 2549) และในนักเรยี นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 รอ้ ยละ 23.4 (ชตุ นิ าถ ศกั รนิ ทร์กุล และ อลิสา วชั รสนิ ธ,ุ 2557) จากข้อมูลดงั กล่าว นบั ว่าเป็น สัดสว่ นทีค่ อ่ นขา้ งสงู เมอื่ พจิ ารณาแนวทางทจี่ ะจดั การหรอื แกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว แนวทางทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพและไดผ้ ลคอื การสรา้ ง การรบั มอื กบั ปจั จยั เสยี่ งและการเสรมิ สรา้ งปจั จยั ปกปอ้ ง หรอื กลา่ วอกี นยั หนง่ึ คอื การสรา้ งแนวทางปอ้ งกนั พฤตกิ รรม รงั แกกนั ตงั้ แตเ่ นนิ่ ซง่ึ สามารถท�ำ ไดใ้ นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.1-3) โดยเดก็ ในวยั นสี้ ามารถเรยี นรเู้ รอื่ งความ เป็นเหตเุ ป็นผลมากขึ้นกว่าเดก็ ปฐมวยั การเสรมิ สรา้ งทักษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) จะชว่ ยใหเ้ ด็กสามารถ รจู้ กั ควบคมุ และจดั การอารมณต์ นเอง เคารพในสทิ ธขิ องผอู้ นื่ รวมทง้ั การเสรมิ สรา้ งทกั ษะในการปกปอ้ งตนเองจากการ เปน็ เหย่อื และรบั มือกบั การรังแกกนั จะเป็นเสมือนการเสริมสร้างปัจจยั ปกป้อง และน�ำ ไปสู่การลดการเกดิ พฤตกิ รรม รงั แกกนั แม้ว่าเด็กวยั เรยี นจะใช้เวลาในโรงเรียนแตกต่างกัน แตโ่ รงเรียนถือเปน็ สถาบนั หลกั ในการขัดเกลาทางสงั คม โรงเรยี นจงึ กลายเปน็ หนงึ่ ในสถานทสี่ �ำ คญั ทสี่ ดุ ส�ำ หรบั มาตรการสง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรคในกลมุ่ เดก็ และเยาวชน โดยตน้ แบบทีส่ ำ�คญั ในโรงเรียนสำ�หรับนกั เรียนคอื ครู ซึง่ เป็นผู้ท่รี ู้จกั และใกล้ชิดกบั เดก็ หากครูมคี วามเขา้ ใจ ตระหนัก มีทัศนคติท่ีถูกต้องเก่ียวกับการรังแกกัน รวมถึงมีแนวทางการเสริมสร้างทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) แก่เด็ก จะสามารถลดปัจจัยเสี่ยงจากการเผชิญความก้าวร้าว รุนแรงและบาดแผลทางใจให้กับเด็ก ป้องกันการเกิด ปัญหาสุขภาพจติ จากการถกู รังแก หรอื ลดพฤติกรรมรุนแรง กา้ วรา้ วของเดก็ ท่เี ป็นผกู้ ระทำ�เม่ือเดก็ เตบิ โตข้นึ ตอ่ ไป โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพอื่ ปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรงั แกกนั (bullying) ในเด็กประถมศึกษาท่ี 1-3 เป็นโปรแกรมทพ่ี ัฒนาขึ้นโดยใช้หลักการเรียนรู้แบบมสี ่วนร่วม (Participatory Learning) โดยลกั ษณะโปรแกรมถกู ออกแบบมาเพอ่ื ใชป้ ้องกันการเกิดปญั หาสุขภาพจติ ในกลุ่มเสีย่ ง โดยการเฝ้าระวังพฤติกรรม การรังแกกันในโรงเรียน ในขณะเดียวกันเป็นโปรแกรมท่ีใช้ส่งเสริมสุขภาพจิตให้กับกลุ่มดีโดยการให้ความรู้ในเรื่อง พฤติกรรมการรังแกกัน โปรแกรมการพฒั นาทักษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) 1 เพ่ือป้องกนั พฤติกรรมการรังแกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาที่ 1-3

วัตถุประสงคข์ องโปรแกรม 1. เพ่อื ปรับทัศนคตขิ องครูตอ่ พฤติกรรมการรงั แกกนั ในเด็กนักเรียนประถมศกึ ษาที่ 1-3 2. เพอื่ เพม่ิ พนู ทกั ษะใหค้ รสู ามารถจดั การ แกไ้ ข และเฝา้ ระวงั พฤตกิ รรมการรงั แกกนั และสามารถพฒั นา ทกั ษะการควบคุมตนเองให้เหมาะสมกับกล่มุ เป้าหมาย 3. เพ่อื ให้เดก็ นกั เรยี นประถมศกึ ษาท่ี 1-3 มีทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) ส่งผลตอ่ ทักษะใน การควบคุมอารมณ์ พฤติกรรมการรงั แกกนั 4. เพื่อสร้างความเขา้ ใจเก่ยี วกับพฤติกรรมทีน่ �ำ ไปสู่การรงั แกกนั (bullying) กลุ่มเป้าหมาย นักเรยี นประถมศกึ ษาท่ี 1-3 ผูใ้ ช้โปรแกรม ครูทีเ่ ก่ียวข้อง ไดแ้ ก่ ครปู ระจ�ำ ช้นั ครูท่ดี แู ลระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน (ครูแนะแนว/ครูที่ปรึกษา) โครงสรา้ งโปรแกรม โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพอ่ื ปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรงั แกกนั (bullying) ในเด็กประถมศึกษาท่ี 1-3 ประกอบด้วยแผนกิจกรรมตามองค์ประกอบแผนกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ 1. ทัศนคติ (Attitude) 2. ความรู้ (Knowledge) และ 3. ทักษะ (Skill) ดงั น้ี แผนทัศนคติ ประกอบดว้ ย 1 แผนการสอน ไดแ้ ก่ เขา้ อก เขา้ ใจ รับมือและสร้างพลังสกู่ ารช่วยเหลอื การรงั แกกัน แผนการสอนที่ 1 เข้าอก เขา้ ใจ รับมือและสร้างพลังส่กู ารช่วยเหลือการรงั แกกนั ระยะเวลา 1 ช่วั โมง 30 นาที จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เพื่อใหค้ รูเกดิ ความตระหนกั ในการปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรงั แกกนั ในเดก็ นกั เรียนประถมศึกษาท่ี 1-3 2. เพื่อให้ครูเห็นความสำ�คัญของการเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขพฤติกรรมการรังแกกันในเด็กนักเรียน ประถมศึกษาที่ 1-3 แผนความรู้ ประกอบด้วย 1 แผนการสอน ไดแ้ ก่ พฤติกรรมการรงั แกกัน แผนการสอนท่ี 2 พฤติกรรมการรังแกกนั เวลาท่ีใช้ 1 ชวั่ โมง 15 นาที จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพอื่ ใหค้ รูมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในเรือ่ งพฤติกรรมการรงั แกกัน 2. เพอื่ ใหค้ รสู ามารถประยกุ ตใ์ ชแ้ นวทางการแกไ้ ขและการจดั การพฤตกิ รรมรงั แกกนั เพอ่ื ปอ้ งกนั พฤตกิ รรม การรงั แกกันในโรงเรยี น 2 โปรแกรมการพฒั นาทักษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพือ่ ป้องกันพฤติกรรมการรังแกกนั (bullying) ในเด็กประถมศึกษาท่ี 1-3

แผนทักษะ ประกอบดว้ ย 4 แผนการสอน ไดแ้ ก่ แผนการสอนส�ำ หรบั ครู 1 แผนการสอน ไดแ้ ก่ การจดั การกบั พฤตกิ รรม รงั แกกนั แผนการสอนส�ำ หรบั นกั เรยี น 3 แผนการสอน ไดแ้ ก่ การเลอื กคบเพอ่ื น เมอื่ ถกู เพอื่ นรงั แก หนคู วรท�ำ อยา่ งไร ทักษะการตระหนักรู้อารมณ์ตนเอง และควบคุมอารมณ์ตนเอง แผนการสอนที่ 3 การจดั การกับพฤตกิ รรมรงั แกกนั เวลาที่ใช ้ 1 ชวั่ โมง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพอ่ื ให้ครูสามารถสงั เกตพฤตกิ รรมรังแกกันจากสัญญาณเตือน 2. เพอ่ื ใหค้ รูสามารถจัดการพฤติกรรมรงั แกกันของนกั เรียนได้ แผนการสอนท่ี 4 การเลอื กคบเพ่ือน เวลาท่ใี ช ้ 1 ชวั่ โมง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นรู้ถึงลักษณะเพ่ือนทดี่ แี ละเพือ่ นท่ไี ม่ดี 2. เพ่ือให้นักเรียนสามารถประเมินและหลีกเล่ียงจากสถานการณ์ที่มีแนวโน้มความรุนแรงหรือการรังแก กนั ในช้นั เรยี น แผนการสอนที่ 5 เมอื่ ถูกเพ่อื นรงั แก หนูควรท�ำ อย่างไร เวลาท่ีใช ้ 1 ชั่วโมง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เพือ่ ให้นักเรยี นรู้วิธกี ารจัดการกับสถานการณเ์ ม่อื ถูกรังแก 2. เพอ่ื ให้นกั เรียนมที กั ษะในการรบั มอื เมื่อถูกรังแก แผนการสอนที่ 6 ทักษะการตระหนักรอู้ ารมณ์ตนเอง และควบคุมอารมณ์ตนเอง เวลาทีใ่ ช้ 1 ชว่ั โมง 30 นาที จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เพื่อให้นักเรียนสามารถตระหนกั และรบั รูอ้ ารมณข์ องตนเองเมอ่ื ถกู รังแก 2. เพอ่ื ให้นักเรียนสามารถจดั การอารมณ์ของตนเองได้อย่างเหมาะสมเม่ือถกู รงั แก โปรแกรมการพัฒนาทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) 3 เพอ่ื ป้องกันพฤตกิ รรมการรงั แกกนั (bullying) ในเด็กประถมศึกษาที่ 1-3

PART I “ครคู ือคนส�ำ คัญ ในการคุม้ ครอง ป้องกันเดก็ จากการรังแกกนั ” ผ้ใู ช้แผนกจิ กรรม - บคุ ลากรสาธารณสุข - ครูทเี่ กีย่ วข้อง ได้แก่ ครปู ระจำ�ชนั้ ครทู ด่ี ูแลระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน (ครแู นะแนว/ครูทีป่ รกึ ษา) แผนกจิ กรรม ประกอบดว้ ย แผนทศั นคติ เข้าอก เขา้ ใจ รบั มือและสร้างพลังสู่การชว่ ยเหลือการรงั แกกนั แผนความรู้ พฤติกรรมการรงั แกกนั แผนทกั ษะ การจดั การกับพฤติกรรมรังแกกนั 4 โปรแกรมการพัฒนาทักษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพ่อื ปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรังแกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาท่ี 1-3

1 เข้าอก เข้าใจ รบั มือและสร้างพลังสกู่ ารชว่ ยเหลอื การรังแกกัน เวลา 1 ชว่ั โมง 30 นาที จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เพอ่ื ให้ครเู กดิ ความตระหนักในการปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรงั แกกนั ในเด็กนกั เรยี นประถมศึกษาท่ี 1-3 2. เพ่ือให้ครูเห็นความสำ�คัญของการเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขพฤติกรรมการรังแกกันในเด็กนักเรียน ประถมศึกษาท่ี 1-3 สาระสำ�คญั เด็กประถมศึกษาตอนต้นมีความเสี่ยงต่อพฤติกรรมการรังแกกันไม่น้อยไปกว่าเด็กประถมศึกษาตอนปลาย หรือเด็กมัธยมศึกษา ซึ่งหากครูเพิกเฉยหรือมองว่าเป็นเพียงพฤติกรรมการแกล้งกันธรรมดาของเด็กนักเรียน ย่อมส่ง ผลกระทบทง้ั ด้านรา่ งกายและจติ ใจของนกั เรียน และหากปล่อยปัญหาไว้ในระยะยาว จะส่งผลกระทบ ทั้งตอ่ ตัวเด็ก ครอบครวั โรงเรยี นและสงั คม เชน่ ปญั หาความกา้ วรา้ วรนุ แรง ปญั หายวุ อาชญากร เปน็ ตน้ ดงั นนั้ ครจู งึ มบี ทบาทส�ำ คญั ในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาพฤตกิ รรมรงั แกกนั โดยเฉพาะการเสริมสรา้ งทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพ่ือให้เด็กตระหนกั รู้อารมณต์ นเอง รูจ้ ักควบคุมและจดั การอารมณ์ตนเองอย่างเหมาะสม ส่อื -อปุ กรณ์ 1. ใบกจิ กรรมที่ 1 เรอ่ื งตัวฉันเมอ่ื วยั เยาว์ 2. คลปิ วดี ทิ ศั นเ์ รอ่ื ง ด.ช.คีตัน โจนส์ (https://www.youtube.com/watch?v=5tTpBWiYLUg) 3. ใบกจิ กรรมที่ 2 เรอ่ื งเสยี งสะท้อนของ ด.ช.คีตัน 4. ใบความร้ทู ี่ 1 เรอื่ งความส�ำ คัญและการสร้างความตระหนักในการแก้ปญั หารงั แกกัน 5. ใบกจิ กรรมที่ 3 เรื่องรวมพลงั ป้องกนั การรงั แกกนั โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) 5 เพอ่ื ป้องกันพฤตกิ รรมการรงั แกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาท่ี 1-3

ข้ันตอนการด�ำ เนินกิจกรรม กจิ กรรม สือ่ -อุปกรณ์ทใี่ ช้ ระยะเวลา 1. วิทยากรใหค้ รูแตล่ ะคนนกึ ถงึ ประสบการณใ์ นวยั เดก็ ที่เคยถกู รังแก ใบกจิ กรรมที่ 1 10 นาที หรอื ไปรงั แกผ้อู ื่น โดยบนั ทกึ เรื่องราวลงในใบกิจกรรมที่ 1 เร่อื งตัวฉันเมอ่ื วัยเยาว์ 2. แบง่ กลมุ่ ๆ ละ 3-4 คน จากนน้ั ใหส้ มาชกิ แตล่ ะกลมุ่ ผลดั กนั เลา่ เรอ่ื ง 15 นาที และเลือกเรอ่ื งเล่ากลมุ่ ละ 1 เรอื่ งเพ่อื นำ�เสนอ วิทยากรสรุปว่าการ แกล้งกันเป็นเร่ืองใกล้ตัว และมีผลกระทบทางลบอย่างรุนแรงใน ระยะยาวตามมา 3. วิทยากรเปิดคลิปวีดทิ ศั นเ์ รือ่ ง ด.ช.คตี นั โจนส์ คลิปวีดิทัศน์เร่ือง ด.ช.คีตัน 10 นาที โจนส์ 4. วทิ ยากรใหค้ รูแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 5-6 คน แลว้ ใหค้ รทู �ำ กิจกรรม ใบกิจกรรมท่ี 2 เสียงสะท้อน 15 นาที ตามใบกจิ กรรมท่ี 2 ดังน้ี ของ ด.ช. คีตัน 4.1 แจกกระดาษใหค้ รู คนละ 1 แผ่น แลว้ ใหแ้ ตล่ ะคนเขียนตอบ *ถา้ ค�ำ ตอบเปน็ เชงิ บวก วทิ ยากร ประเด็นตามใบกจิ กรรม เสริมยํ้า ส่วนคำ�ตอบเชิงลบ 4.2 จากนน้ั ใหแ้ ตล่ ะคนแลกเปลย่ี นสง่ิ ทต่ี นเองเขยี นกบั ความคดิ เหน็ วิทยากรรับฟัง บอกว่าเป็นอีก ของสมาชิกในกลุม่ และคดั เลือกส่งิ ทไ่ี ด้เรียนรูจ้ ากคลปิ ความเห็นท่ีต่าง และชี้ให้เห็น วา่ ถา้ เดก็ ประสบปญั หาจะตอ้ ง มกี ารบอกเลา่ 5. วิทยากรสรุปความสำ�คัญและการสร้างความตระหนักในการแก้ ใบความรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งความส�ำ คญั 15 นาที ปัญหารงั แกกัน ตามใบความรู้ท่ี 1 และการสรา้ งความตระหนกั ใน การแก้ปญั หารังแกกนั 6. วิทยากรใหค้ รใู นกล่มุ เดมิ ชว่ ยกนั ระดมความคดิ เห็น ตามประเด็น ใบกิจกรรมท่ี 3 15 นาที ในใบกจิ กรรมท่ี 3 รวมพลงั ปอ้ งกนั การรงั แกกัน 7. วทิ ยากรใหผ้ แู้ ทนกลมุ่ มาน�ำ เสนอ และสรปุ เกย่ี วกบั การรงั แกกนั วา่ ใบกจิ กรรมที่ 3 10 นาที เป็นปัญหาสำ�คัญท่ีจะส่งผลกระทบทั้งตัวเด็กและครอบครัว และ รวมพลังปอ้ งกันการรงั แกกัน เนน้ ยํา้ วา่ ครเู ปน็ บุคคลสำ�คัญท่จี ะชว่ ยเหลอื เด็กได้ดที สี่ ดุ *ถา้ มเี วลา อาจใหโ้ หวตสโลแกนทโ่ี ดนใจ 6 โปรแกรมการพฒั นาทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพ่อื ปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรงั แกกนั (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาท่ี 1-3

ใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื ง ตัวฉนั เม่ือวยั เยาว์ ประสบการณใ์ นวยั เดก็ ท…ี่ ………………………….……………………………………………………………………….………………… ……………………………………………………………………….……………………………………………………………………….………………… …………………………………………………….……………………………………………………………………….…………………………………… ………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………… …………….……………………………………………………………………….……………………………………………………………………….….. ………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………… …………….……………………………………………………………………….……………………………………………………………………….….. ความรู้สึกท่เี กิดในขณะนี้ (ขณะทน่ี กึ ถึง) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………… …………….……………………………………………………………………….……………………………………………………………………….….. ผลทีเ่ กดิ ตามมาหลงั จากเกิดเหตกุ ารณใ์ นครัง้ น้ันเป็นอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………… …………….……………………………………………………………………….……………………………………………………………………….….. ถา้ ย้อนเวลาได้จะทำ�อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... โปรแกรมการพฒั นาทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) 7 เพอ่ื ป้องกันพฤตกิ รรมการรังแกกนั (bullying) ในเด็กประถมศกึ ษาที่ 1-3

ใบกิจกรรมที่ 2 เรอ่ื ง เสียงสะท้อนของ ด.ช.คตี ัน 1. ทา่ นรสู้ กึ อยา่ งไรจากการชมคลปิ น้ี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ทา่ นรู้สกึ อยา่ งไรกับการทีแ่ มน่ ำ�คลิปมาเผยแพร่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8 โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพอ่ื ปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรงั แกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาที่ 1-3

ใบความรทู้ ่ี 1 เรื่อง ความสำ�คัญและการสร้างความตระหนักในการแกป้ ัญหารงั แกกนั เด็กประถมศึกษาตอนต้นมีความเส่ียงต่อพฤติกรรมการรังแกกันไม่น้อยไปกว่าเด็กประถมศึกษาตอนปลาย หรือเด็กมัธยมศึกษา แม้ว่าในประเทศไทยยังไม่มีข้อมูลการศึกษาและรายงานเก่ียวกับพฤติกรรมการรังแกกัน ในเด็กนักเรียนประถมศึกษาที่ 1-3 แต่จากข้อมูลพฤติกรรมการรังแกกันในนักเรียนระดับประถมศึกษาปีท่ี 4 ถงึ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 40 (สมบัติ ตาปัญญา, 2549) และในนักเรียนมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีท่ี 3 รอ้ ยละ 23.4 (ชตุ นิ าถ ศกั รนิ ทรก์ ลุ และอลสิ า วชั รสนิ ธ,ุ 2557) ท�ำ ใหเ้ หน็ วา่ เกดิ พฤตกิ รรมการรงั แกกนั มากกวา่ 1 ใน 5 ของนักเรยี นระดบั ช้ันประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษา เปน็ ความจรงิ ทว่ี า่ เดก็ จะใชเ้ วลาสว่ นใหญอ่ ยทู่ โี่ รงเรยี น ซง่ึ หากครเู พกิ เฉยหรอื มองวา่ เปน็ เพยี งพฤตกิ รรมการ แกลง้ กันธรรมดาของเด็กนกั เรียน ย่อมสง่ ผลกระทบทง้ั ดา้ นรา่ งกายและจิตใจของนกั เรยี น ซึ่งผลกระทบดา้ นรา่ งกาย เชน่ มอี าการปวด หรอื บาดแผลตามรา่ งกาย เป็นตน้ ส่วนผลกระทบดา้ นจิตใจ เดก็ จะรู้สกึ ไม่ปลอดภยั และไม่อยาก มาโรงเรยี น เหน็ คุณคา่ ในตนเองต่าํ และแยกตนเองออกจากสงั คม โดยเฉพาะนกั เรยี นทเี่ ปน็ เหย่อื ของการรงั แก เช่น ปัญหาซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย และหากปล่อยปัญหาไว้ในระยะยาว จะส่งผลกระทบทั้งต่อตัวเด็ก ครอบครัวท้ัง นักเรียนท่ีเปน็ ผกู้ ระท�ำ และเหยอื่ รวมทงั้ ผลกระทบต่อโรงเรียนและสังคม เชน่ ปญั หาการเรียน ปัญหาความกา้ วรา้ ว รุนแรง ปัญหาการทะเลาะววิ าท ปญั หายุวอาชญากร เปน็ ตน้ ดังน้ัน ครูจึงมีบทบาทสำ�คัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมรังแกกัน โดยเฉพาะการเสริมสร้าง ทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) ท่ที ำ�ให้เด็กตระหนักรู้อารมณ์ตนเอง รูจ้ ักควบคมุ และจดั การอารมณ์ตนเอง อยา่ งเหมาะสม ครู สามารถเป็นผ้สู ังเกตการณแ์ ละเฝา้ ระวังพฤตกิ รรมรังแกกันในโรงเรยี น เปน็ ผคู้ วบคมุ สถานการณ์ และ ยตุ กิ ารรงั แกกนั ประการส�ำ คญั คอื ครจู ะตอ้ งไมม่ องขา้ มในสง่ิ ทเ่ี ดก็ เลา่ แสดงออกกบั นกั เรยี นดว้ ยการใหเ้ กยี รตเิ คารพ ในศกั ดิศ์ รคี วามเปน็ มนุษย์ ระมัดระวงั และหลีกเล่ยี งการแสดงออกทั้งทางค�ำ พูดหรือทา่ ทางทเ่ี ป็นการลอ้ เลยี น ตำ�หนิ ทเี่ ขา้ ขา่ ยการรงั แกกัน โปรแกรมการพฒั นาทักษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) 9 เพื่อปอ้ งกนั พฤติกรรมการรงั แกกนั (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาที่ 1-3

ใบกจิ กรรมท่ี 3 เรื่อง รวมพลงั ป้องกันการรังแกกัน ให้สมาชิกกลุ่ม ช่วยกันระดมความคิดตั้งคำ�ขวัญ/คำ�คม/สโลแกน เกี่ยวกับการแก้ปัญหาการรังแกกัน ที่สามารถน�ำ ไปใช้ในโรงเรยี น ที่เกี่ยวกบั ประเดน็ ในการสอดส่อง ดูแล สง่ ขา่ ว เหน็ อกเห็นใจ รวมพลงั ในการป้องกัน การรังแกกัน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 10 โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพื่อปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรงั แกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาที่ 1-3

2 พฤติกรรมการรังแกกัน เวลา 1 ชว่ั โมง 15 นาที จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เพื่อใหค้ รมู คี วามรูค้ วามเขา้ ใจในเร่ืองพฤตกิ รรมการรังแกกนั 2. เพอ่ื ใหค้ รสู ามารถประยกุ ตใ์ ชแ้ นวทางการแกไ้ ขและการจดั การพฤตกิ รรมรงั แกกนั เพอื่ ปอ้ งกนั พฤตกิ รรม การรังแกกันในโรงเรียน สาระสำ�คญั พฤตกิ รรมรงั แกกนั คอื การกระท�ำ ของบคุ คลทางดา้ นลบตอ่ บคุ คลใดบคุ คลหนง่ึ หรอื หลายๆคน โดยเกดิ ขนึ้ ซํ้า ๆ อย่างตอ่ เนื่อง ท�ำ ให้บุคคลเหล่านั้นไม่พึงพอใจ ไมส่ ขุ สบาย เจบ็ ปวดทางรา่ งกายและจติ ใจ หรอื ทำ�ใหบ้ คุ คลรู้สกึ แปลกแยก อบั อาย ดอ้ ยคณุ คา่ ซง่ึ การกระท�ำ ดงั กลา่ วกระท�ำ โดยทางรา่ งกาย วาจา หรอื อยา่ งอนื่ โดยจากการทบทวน งานวจิ ยั เกีย่ วกับพฤติกรรมการรงั แกกนั ในเดก็ และวัยรุ่น พบวา่ กลมุ่ นักเรยี นระดบั ประถมศกึ ษาส่วนใหญ่เปน็ กลมุ่ ท่ี มีความเส่ียงต่อการเกิดพฤติกรรมรังแกกันมากกว่าระดับมัธยมศึกษา ซ่ึงพฤติกรรมการรังแกกัน แบ่งได้ 2 ประเภท ใหญ่ๆ ไดแ้ ก่ พฤติกรรมการรังแกกนั ตามลักษณะของการกระท�ำ ประกอบด้วย การรงั แกดา้ นร่างกาย การรงั แกดา้ น วาจา และการรังแกดา้ นสังคม และพฤติกรรมการรังแกกันตามทิศทางการกระท�ำ ได้แก่ การรังแกทางตรง และการ รงั แกทางอ้อม ส�ำ หรับผลกระทบจะส่งผลทัง้ ตอ่ ตนเอง ครอบครัว และสังคม ส่วนสาเหตขุ องพฤติกรรมการรังแกกันมี ความเก่ยี วข้องกับด้านบคุ คล ด้านครอบครัว และดา้ นโรงเรียน/ชมุ ชน ซง่ึ การทคี่ รูเหน็ ความส�ำ คัญและมีความรคู้ วาม เข้าใจหลักการของการจัดการพฤติกรรมการรังแกกันของนักเรียน จะสามารถช่วยป้องกันพฤติกรรมการรังแกกันใน นกั เรียน ส่อื -อุปกรณ์ 1. ภาพเด็กรังแกกนั หรอื ทะเลาะกนั 2. คลปิ วีดิทัศน์เรอื่ ง บญุ ชัย...ทผ่ี า่ นมาครู 3. คลิปวีดิทัศน์เร่ือง ผลกระทบจากการถูกรังแก (https://www.youtube.com/watch?v=WktTX- 1twdE0) 4. เร่ืองราวของครูการะเกด 5. ใบความรู้ที่ 1 เรอ่ื งพฤตกิ รรมการรังแกกัน 6. ใบความร้ทู ี่ 2 เรือ่ งผลกระทบของพฤตกิ รรมการรงั แกกัน การแก้ไข และแนวทางการจัดการ 7. คลปิ วดี ทิ ศั นเ์ รอื่ ง เดก็ ออทสิ ตกิ ถกู รงั แก (https://www.youtube.com/watch?v=bhHDGnbkq8c) 8. ใบกจิ กรรมที่ 1 เร่อื งการปอ้ งกนั พฤติกรรมการรังแกกัน โปรแกรมการพฒั นาทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) 11 เพอ่ื ป้องกนั พฤติกรรมการรังแกกัน (bullying) ในเด็กประถมศกึ ษาท่ี 1-3

ขนั้ ตอนการด�ำ เนนิ กิจกรรม กจิ กรรม สือ่ -อปุ กรณท์ ี่ใช้ ระยะเวลา 1. วิทยากรนำ�ภาพเด็กรังแกกันหรือทะเลาะกัน ถามครูว่าภาพใดคือ ภาพเด็กรังแกกันหรือทะเลาะ 5 นาที ภาพเด็กรังแกกันและภาพใดคือภาพเด็กทะเลาะกัน จากนั้นสุ่ม กนั ถามครูว่า “การรังแกกันและการทะเลาะกัน แตกตา่ งกันอยา่ งไร” วทิ ยากรส่มุ คำ�ตอบ 3-5 คน 2. วิทยากรบรรยายพฤติกรรมการรังแกกัน ตามใบความรู้ท่ี 1 และ - ใบความรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งพฤตกิ รรม 10 นาที วิทยากรอาจเปิดคลปิ วดี ิทัศนเ์ รื่อง บุญชัย...ทผี่ ่านมาครู ประกอบ การรังแกกัน เพ่ือให้เห็นถึงหลุมพรางว่าบางคร้ังครูอาจรังแกเด็กโดยไม่ต้ังใจ - คลิปวีดิทัศน์เรื่อง บุญชัย... ซง่ึ ถอื เปน็ การรงั แกเดก็ ทางออ้ ม ท่ีผ่านมาครู 3. วทิ ยากรใหค้ รดู คู ลปิ วดี ทิ ศั นห์ รอื อา่ นเรอ่ื งราวของครกู าระเกด และ - คลปิ วดี ทิ ศั นเ์ รอ่ื ง ผลกระทบ 10 นาที ใหค้ รแู บง่ กลมุ่ ๆ ละ 3-4 คน อภปิ รายกนั ในกลมุ่ ถงึ ผลกระทบทเี่ กดิ จากการถูกรังแก ขน้ึ กบั ตัวละครในคลิป - เร่อื งราวของครกู าระเกด 4. วทิ ยากรสมุ่ ถาม 2-3 กลมุ่ และใหก้ ลมุ่ ทมี่ คี วามเหน็ แตกตา่ งเพม่ิ เตมิ ใบความร้ทู ี่ 2 เรื่องผลกระทบ 15 นาที จากนน้ั วิทยากรบรรยายถงึ ผลกระทบ ตามใบความร้ทู ี่ 2 ของพฤติกรรมการรังแกกัน การแกไ้ ขและแนวทาง การจัดการ 5. วทิ ยากรเปดิ คลปิ วดี ทิ ศั นเ์ รอื่ ง เดก็ ออทสิ ตกิ ถกู รงั แก ใหส้ มาชกิ กลมุ่ - คลปิ วดี ิทัศนเ์ รือ่ ง 20 นาที ยอ่ ยเดมิ ระดมความคดิ เกย่ี วกบั การสอดสอ่ ง เฝา้ ระวงั การรงั แกกนั เด็กออทสิ ติกถกู รงั แก เพอ่ื การปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรงั แกกนั ตามประเดน็ หวั ขอ้ ดงั ตอ่ ไปน้ี - ใบกิจกรรมท่ี 1 เรอื่ ง 5.1 ระบบการสอดสอ่ งเฝา้ ระวงั เพอ่ื ปอ้ งกนั การรงั แกกนั ในชน้ั เรยี น/ การป้องกันพฤตกิ รรม โรงเรยี น การรังแกกนั 5.2 ท�ำ อยา่ งไรจงึ จะใหร้ ะบบในขอ้ 5.1 น�ำ ไปสปู่ ฏบิ ตั จิ รงิ ดว้ ยการ มีส่วนร่วมของผบู้ ริหาร ครู นกั เรยี น ผปู้ กครองและชุมชน 6. ตัวแทนกลุ่มนำ�เสนอ และวิทยากรสรุปสาระสำ�คัญของกิจกรรม - ใบความรทู้ ี่ 2 เร่อื ง 15 นาที และบรรยายเพิ่มเตมิ ในเร่อื ง การแก้ไขพฤตกิ รรมและแนวทางการ ผลกระทบ...แนวทางการ จัดการ ตามใบความรทู้ ี่ 2 (อาจเลอื กคลิปบุญชยั แทนได้) จดั การ - คลปิ วีดทิ ัศน์เร่อื ง บุญชัย... ที่ผ่านมาครู 12 โปรแกรมการพัฒนาทักษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพอ่ื ปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรงั แกกัน (bullying) ในเด็กประถมศกึ ษาท่ี 1-3

ภาพเด็กรงั แกกันหรือทะเลาะกนั ท่ีมา: https://www.theodysseyonline.com/letter-people-bullied ท่มี า: http://www.thaihealth.or.th/Content/21683 โปรแกรมการพัฒนาทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) 13 เพ่ือปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรงั แกกนั (bullying) ในเด็กประถมศึกษาที่ 1-3

ใบความรู้ที่ 1 เรือ่ ง พฤตกิ รรมการรังแกกนั พฤติกรรมการรังแกกัน คือ การกระทำ�ของบุคคลทางด้านลบต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือหลายๆ คน โดยเกดิ ขนึ้ ซา้ํ ๆ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ท�ำ ใหบ้ คุ คลเหลา่ นน้ั ไมพ่ งึ พอใจ ไมส่ ขุ สบาย เจบ็ ปวดทางรา่ งกายและจติ ใจ ซงึ่ การกระท�ำ ดังกล่าวกระท�ำ โดยทางรา่ งกาย วาจา หรืออยา่ งอนื่ (เกษตรชัย และหมี , 2556: สมบัติ ตาปญั ญา, 2549: Olweus, 1996) ความแตกตา่ งของการทะเลาะกนั และพฤติกรรมการรงั แกกัน การทะเลาะกัน พฤติกรรมการรังแกกนั อำ�นาจเทา่ กัน อ�ำ นาจไมเ่ ท่ากนั /ต้องการควบคมุ เพ่อื น ไม่เกิดบ่อย มกั เป็นอบุ ตั ิเหตุ ไมร่ นุ แรง ท�ำ พฤติกรรมทางลบซํ้าๆ ไดร้ ับผลกระทบทางอารมณ์พอๆ กัน มวี ตั ถปุ ระสงค์ และแสดงออกชดั เจนวา่ ตอ้ งการแกลง้ โดย มกี ารแสดงความรับผิดชอบหรอื ส�ำ นกึ ผดิ กระทำ�ทางกายหรืออารมณ์ มคี วามพยายามแก้ปญั หา สำ�นึกหรือไม่ส�ำ นึกผิดก็ได้ ท�ำ ให้เหยอื่ รูส้ ึกวา่ การรังแกไม่ไดเ้ กิดข้นึ จริง อุบัติการณ์การเกิดพฤติกรรมการรังแกกัน แนวโน้มพฤติกรรมการรงั แกกัน/การใช้ความรุนแรงในนักเรียนระดับประถมศึกษาที่ 1-3 จากการทบทวนงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมการรังแกกันในเด็กและวัยรุ่นในต่างประเทศ พบว่า ประเทศ บราซิล พบพฤติกรรมการรงั แกกันในนักเรียนประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถงึ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 รอ้ ยละ 17.6 (Moura, Cruz & Quevedo, 2011) ประเทศปากสี ถาน พบพฤตกิ รรมการรงั แกกนั ในนกั เรยี นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 รอ้ ยละ 23.2 (Shujja et al., 2014) ประเทศเนเธอร์แลนด์ พบพฤติกรรมการรังแกกนั ในนักเรียนมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 รอ้ ยละ 13.3 (Jansen et al., 2011) และประเทศนอรเ์ วย์ พบพฤติกรรมการรงั แกกันในนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 รอ้ ยละ 11.4 (Strom et al., 2013) ส่วนการศึกษาในไทย พบพฤตกิ รรมการรงั แกกันในนกั เรียนระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ถึงมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ร้อยละ 40 (สมบัติ ตาปญั ญา, 2549) และในนักเรียนมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ถึงมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ร้อยละ 23.4 (ชตุ นิ าถ ศักรินทร์กลุ และ อลสิ า วชั รสนิ ธ,ุ 2557) จากผลงานวจิ ัยทผ่ี า่ นมา แสดงให้เหน็ วา่ กลุ่มนกั เรยี นระดบั ประถมศึกษา สว่ นใหญ่เปน็ กล่มุ ที่มคี วามเส่ยี งต่อการเกดิ พฤตกิ รรมการรงั แกกันมากกว่าระดับมธั ยมศกึ ษา จากข้อมูลงานวิจัยท้ังในและต่างประเทศ ชี้ให้เห็นว่าพฤติกรรมการรังแกกันเกิดขึ้นได้กับทุกเช้ือชาติและ ปัญหานีเ้ กิดขึน้ อยา่ งกวา้ งขวางทวั่ โลก 14 โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพ่อื ปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรังแกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาท่ี 1-3

ประเภทและลกั ษณะของพฤตกิ รรมการรังแกกัน พฤตกิ รรมการรงั แกกนั แบง่ ได้ 2 ประเภทใหญๆ่ ไดแ้ ก่ ตามลกั ษณะการกระท�ำ และตามทศิ ทางการกระท�ำ ซ่งึ มรี ายละเอียดดงั นี้ 1. ตามลักษณะการกระทำ� พฤติกรรมการรังแกกนั ตามลกั ษณะของการกระทำ� แบง่ ได้ 3 ประเภท คอื การรงั แกด้านรา่ งกาย การรังแกด้านวาจา และการรงั แกด้านสังคม 1.1 การรงั แกดา้ นรา่ งกาย เปน็ การกระท�ำ ทส่ี ามารถเหน็ ไดท้ งั้ ผกู้ ระท�ำ และถกู กระท�ำ หรอื บคุ คลอน่ื ที่ อยใู่ นเหตกุ ารณน์ น้ั โดยมหี ลกั ฐานหลงเหลอื ใหเ้ หน็ เชน่ บาดแผล รอยฟกชาํ้ เปน็ ตน้ (Khamis, 2015) พฤตกิ รรมรงั แก กันดา้ นร่างกาย เช่น กัด ขวา้ งของใส่ ชก ตี เตะ ตอ่ ย และผลัก เป็นต้น (ชุตนิ าถ ศกั รินทร์กลุ และ อลิสา วัชรสินธุ, 2557; Laeheem, 2013) 1.2 การรงั แกด้านวาจา เปน็ ลกั ษณะของการทำ�รา้ ยจติ ใจ และความรู้สึกของผูอ้ ื่น (สมบตั ิ ตาปัญญา, 2549) ซงึ่ การกระท�ำ ไมม่ หี ลกั ฐานใหเ้ หน็ เหมอื นดา้ นรา่ งกาย โดยอาจจะใชค้ �ำ พดู หยาบคาย พดู ลอ้ เลยี นชอ่ื บดิ ามารดา ล้อเลียนรูปร่างลักษณะร่างกาย พูดตะคอกตะโกนใส่ พูดเสียดสี การขู่ ตำ�หนิ และปล่อยข่าวลือ เป็นต้น (ชุตินาถ ศักรินทรก์ ุล และ อลสิ า วชั รสินธุ, 2557; Laeheem, 2013) 1.3 การรังแกด้านสงั คม เป็นการกระทำ�ที่เกี่ยวกับสัมพนั ธภาพระหวา่ งบคุ คลหรือกลุ่มบุคคล บคุ คล ทถ่ี กู รงั แกดา้ นสังคมมักถกู กีดกนั ไม่ให้เขา้ กลุ่ม เพ่ือให้เข้าใจผิดระหว่างกนั เป็นตน้ (Laeheem, 2013) 2. ตามทิศทางการกระทำ� พฤติกรรมรังแกกันตามทิศทางของการกระทำ� แบ่งได้ 2 ประเภท คือ การรงั แกทางตรง และการรงั แกทางอ้อม (เกษตรชัย และหีม, 2556) 2.1 การรงั แกทางตรง เป็นการกระทำ�ที่เก่ียวกับการทำ�รา้ ยร่างกายและจิตใจ ด้านรา่ งกาย เชน่ การตี ชกตอ่ ย และขว้างของใส่ เปน็ ตน้ และดา้ นจติ ใจ เช่น การพูดล้อเลียนหรอื ข่มขู่ และการขโมยของ เปน็ ตน้ 2.2 การรงั แกทางออ้ ม เปน็ การอาศยั บคุ คลอน่ื เขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง เพอื่ ใหผ้ ทู้ ถี่ กู รงั แกไดร้ บั ผลกระทบ เชน่ การใสร่ ้าย การปลอ่ ยขา่ วลือ และการถูกกีดกันให้ออกจากกลุม่ เพ่ือน เปน็ ต้น โปรแกรมการพัฒนาทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) 15 เพื่อป้องกันพฤติกรรมการรงั แกกัน (bullying) ในเด็กประถมศึกษาที่ 1-3

สาเหตุของการเกดิ พฤติกรรมการรังแกกันในเดก็ นกั เรียน จากการศกึ ษา พบวา่ สาเหตทุ ี่เกีย่ วข้องกับพฤติกรรมรังแกกนั มีหลายสาเหตุ สามารถจำ�แนกไดเ้ ปน็ ดา้ น บุคคล ดา้ นครอบครัว และดา้ นโรงเรยี น/ชมุ ชน ดังนี้ 1. ด้านบุคคล จากการศึกษาสาเหตุด้านบุคคล พบว่า มีเกี่ยวข้องกับการเกิดพฤติกรรมการรังแกกันได้ หลากหลาย ประกอบด้วย ทศั นคติ ผลการเรียน ดังต่อไปนี้ 1.1 ทศั นคติ ทัศนคติมคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั การเกิดพฤตกิ รรมการรังแกกนั จากการศกึ ษาของเจนดรอน และคณะ (Gendron et al., 2011) พบว่า การรบั รู้เก่ียวกับบรรยากาศภายในโรงเรยี นทางด้านลบ เชน่ การเหน็ เพ่ือน รงั แกกนั หรือครใู ช้คำ�พูดที่เหยยี ดหยามเด็กนักเรยี น เป็นต้น จะสง่ ผลให้เกิดพฤตกิ รรมการรงั แกกันสงู การศึกษาของ ฮารเ์ รลฟชิ และคณะ (Harel-Fisch, et al., 2011) พบวา่ การรบั รตู้ อ่ โรงเรยี นทางดา้ นลบมคี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรม การรังแกกัน และการศึกษาของคารม์ ิส (Khamis, 2015) พบว่าการรบั รูท้ างด้านบวกเกย่ี วกับโรงเรยี น เชน่ ครดู ูแล เอาใจใสด่ ีท�ำ ให้รูส้ ึกอบอนุ่ หรือมีเพื่อนคอยชว่ ยเหลอื เปน็ ต้น สามารถลดการเกดิ พฤติกรรมการรังแกกนั ลงได ้ 1.2 ผลการเรียน ผลการเรียนมีความเก่ียวข้องกับการเกิดพฤติกรรมการรังแกกัน จากการศึกษาของ สมคิด ลอมาลี (2554) ในนกั เรียนระดบั ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ในกรุงเทพมหานคร พบว่า นกั เรียนทมี่ รี ะดบั ผลการ เรยี นต่ํากวา่ 2.00 มีพฤตกิ รรมการรงั แกกันอยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ และการศกึ ษาของชตุ นิ าถ ศกั รินทร์กุล และอลิสา วัชรสนิ ธุ (2557) ในนกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ถึงมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 พบว่า นักเรยี นท่มี รี ะดบั ผลการเรยี นต่ํา กวา่ 3.00 มีความเสย่ี งทจ่ี ะเป็นผรู้ ังแกผ้อู นื่ และเป็นทัง้ ผรู้ งั แกผอู้ ่ืนกบั ถูกรังแกมากกวา่ นกั เรยี นที่มีระดับผลการเรียน สูงกว่า 3.00 ถึง 4.935 และ 3.156 เทา่ ตามล�ำ ดับ 2. ด้านครอบครัว จากการศึกษาสาเหตดุ ้านครอบครัว พบวา่ มีเกยี่ วขอ้ งกบั การเกิดพฤตกิ รรมการรังแก กนั ได้หลากหลาย เช่น ความรุนแรงในครอบครวั ดงั ต่อไปน้ี 2.1 ความรุนแรงในครอบครวั เปน็ สาเหตุหน่ึงทม่ี คี วามเกีย่ วขอ้ งกับพฤติกรรมการรังแกกนั จากการ ศึกษาของโบว์ และคณะ (Bowes et al., 2009) พบวา่ เดก็ นกั เรียนท่คี รอบครัวมีการใช้ความรนุ แรงระหว่างกันและ เดก็ ไดร้ บั ความอบอนุ่ จากครอบครวั นอ้ ยจะมพี ฤตกิ รรมการรงั แกกนั และเดก็ กลมุ่ ดงั กลา่ วจะอยใู่ นกลมุ่ ของผรู้ งั แกผอู้ น่ื การศกึ ษาของเกษตรชยั และหมี และอทุ ิศ สังขรัตน์ (2555) พบว่า ความรุนแรงของพ่อแม่มคี วามสมั พนั ธท์ างบวกกบั พฤตกิ รรมการรงั แกกัน กลา่ วคอื ครอบครวั ที่พ่อแม่มกี ารใช้ความรนุ แรง เด็กมโี อกาสเกิดพฤติกรรมการรังแกกัน 3. ดา้ นโรงเรียน/ชมุ ชน (คา่ นยิ มทางสังคมในการใช้ความรนุ แรง สือ่ ) จากการศึกษาสาเหตดุ า้ นสังคม พบว่า มีเกยี่ วขอ้ งกับการเกดิ พฤตกิ รรมรังแกกันได้หลากหลายปจั จัย ประกอบด้วย ทีอ่ ยอู่ าศัย และสอ่ื ดังตอ่ ไปนี้ 3.1 ทอ่ี ยู่อาศัย ลกั ษณะของชมุ ชนทแ่ี ตล่ ะคนใชใ้ นการด�ำ รงชวี ติ อยู่นัน้ มคี วามแตกตา่ งกนั ซ่ึงสามารถ สง่ ผลใหบ้ คุ คลซมึ ซบั เอาสงิ่ ตา่ งๆ ทอ่ี ยรู่ อบตวั มาทง้ั โดยความตง้ั ใจและความบงั เอญิ ไดไ้ มเ่ ทา่ กนั ส�ำ หรบั การศกึ ษาของ อูบา และคณะ (Uba, Yaacob & Juhari, 2010) พบว่า เด็กนกั เรยี นท่อี าศยั อยูใ่ นเมอื งมีพฤตกิ รรมรงั แกกนั น้อยกว่า เดก็ นกั เรียนท่อี าศยั อยใู่ นชนบท 16 โปรแกรมการพัฒนาทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพื่อปอ้ งกนั พฤติกรรมการรงั แกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาท่ี 1-3

3.2 สอื่ อปุ กรณ์จ�ำ พวกสอ่ื ตา่ งๆ ทไี่ ด้จากโทรทัศน์ อนิ เตอรเ์ น็ต เป็นตน้ สามารถส่งผลตอ่ พฤติกรรม ของเดก็ จากการศกึ ษาของปวริศร์ กจิ สขุ จติ (2555) พบวา่ เดก็ นักเรียนทม่ี ีพฤติกรรมรังแกกันมกี ารเลยี นการรงั แก มาจากสอ่ื 14.8% และการทเี่ ดก็ ดรู ายการโทรทศั นท์ ม่ี คี วามรนุ แรงซาํ้ หลายๆครง้ั จะท�ำ ใหม้ พี ฤตกิ รรมกา้ วรา้ วเพมิ่ ขน้ึ การศกึ ษาของซมิ เมอแมน และคณะ (Zimmerman, Glew, Christakis, & Katon, 2005) พบว่า ค่าเฉลี่ยของเดก็ ทม่ี พี ฤติกรรมรงั แกกนั ในการดูโทรทัศน์ คือ 5 ชัว่ โมงตอ่ วัน ส่วนเดก็ ท่ไี มม่ ีความเกีย่ วข้องกับพฤติกรรมรงั แกกนั จะดู โทรทศั น์ 3.2 ชัว่ โมงต่อวัน และการศึกษาของเกษตรชัย และหีม และอุทศิ สังขรตั น์ (2555) พบว่า ความรนุ แรงท่ี ได้จากเกมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมรังแกกัน กล่าวคือ เด็กที่ได้ซึมซับความรุนแรงจากเกมมีโอกาสเกิด พฤติกรรมรังแกกนั ลกั ษณะของเดก็ ท่ีมแี นวโน้มถกู เพอ่ื นรงั แก ซง่ึ ครตู อ้ งสังเกตเด็กกลุม่ นเ้ี ปน็ พิเศษ 1. ความผดิ ปกตทิ างดา้ นรา่ งกาย เชน่ อว้ นมาก ผอมมาก เตยี้ หรอื ตวั เลก็ มาก ตวั ด�ำ มาก พดู ตดิ อา่ ง พกิ าร ทางกาย จมูกบ้ี ปากแหว่ง ตาเหล่ จมูกโต ใส่แวน่ 2. เป็นเดก็ พเิ ศษ เช่น ออทิสติก 3. เรียนออ่ น/ เรียนไม่ทันเพื่อน โดนครูดุบอ่ ย 4. มบี ุคลิกลักษณะทไ่ี ม่มน่ั ใจในตนเอง อยูค่ นเดยี ว/ไมม่ ีเพือ่ น หรือเป็นเด็กขแ้ี ง 5. เด็กที่มีครอบครัวยากจน 6. อาชีพบางประเภทของผู้ปกครอง เช่น เดก็ ที่พอ่ แมม่ ีอาชพี เก็บขยะ ทำ�ความสะอาด เปน็ ต้น โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) 17 เพ่ือปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรงั แกกนั (bullying) ในเด็กประถมศึกษาท่ี 1-3

เร่อื งราวของครกู าระเกด สมยั ครูการะเกดเรยี นอย่ชู ้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เม่ือโรงเรยี นเลกิ นักเรยี นเดินกลับบ้านเปน็ แถว มีคนถอื ธง นำ�หนา้ พวกนักเรียนแวะรมิ นาํ้ ท้ังเดก็ ผู้ชายและผูห้ ญงิ ลงไปเล่นนํ้ากัน แตต่ อนน้ันเป็นฤดูนํ้าหลาก การะเกดยนื มองดู นักเรียนคนอ่ืนเล่นน้ําอยู่ตรงกลางสะพานไม้ ไม่คิดว่าเพ่ือนจะแกล้ง ดูเพ่ือนวิ่งข้ึนมาตรงสะพานแล้วกระโดดลงนํ้า อยู่ ๆ เพื่อนแกล้งวิ่งมาชนผลักให้ตกนํ้า แล้วชวนเล่นน้ํา การะเกดไม่เล่นเพราะกลัวนํ้า สำ�ลักนํ้า ปิ่นโตข้าวก็หาย กระเปา๋ เปยี ก หนงั สอื เปยี กหมด นาํ้ พาไหลไปตดิ กอหญา้ ทมี่ หี นาม ท�ำ ใหห้ นามปกั มอื เตม็ ไปหมด พาตวั เองขน้ึ มาจากนา้ํ พอขนึ้ มาฝงั่ ไดก้ ร็ สู้ กึ เสยี ใจ รอ้ งไห้ กลบั บา้ นเลย หลงั จากนนั้ เพอ่ื นมาขอโทษ โตขนึ้ มาเพอื่ นคนนนั้ กพ็ ยายามท�ำ ดดี ว้ ย แต่การะเกดไมเ่ คยอภยั ให้ ไม่พูดดีด้วย เขาเอานา้ํ มาใหก้ นิ ก็แคพ่ ดู วา่ ขอบใจแตไ่ มก่ นิ ยงั มีความโกรธจนกระท่งั บดั นี้ เขาดีดว้ ยแตไ่ มด่ ีกบั เขา ความรู้สึกในขณะท่ีถูกรังแกคือกลัวมาก ไม่ชอบเพื่อนคนน้ัน ไม่ชอบพฤติกรรมรังแก รู้สึกไม่ปลอดภัย ไม่อยากคบเพือ่ น ไม่มเี พอ่ื นดกี ว่า ไปไหนไปคนเดียวดีกวา่ เพราะระแวงไปหมด ใครอย่ามาเดินเขา้ ใกล้ ทำ�ให้สมยั เด็ก ไมม่ ีเพอ่ื น ใครจะมาเดินตามไม่ได้ มคี วามฝงั ใจกลวั เขาแกล้ง หลงั จากนัน้ สิง่ ทเ่ี กิดขึ้นคอื การกลวั จมนํา้ น้าํ ไมล่ กึ ก็ไมล่ ง กลัวอยนู่ นั่ แหละ นํ้าต้นื กก็ ลวั นา้ํ แคใ่ ต้หวั เข่ากไ็ มข่ า้ ม กลวั ถูกเพ่อื นรังแก พอหนกั ๆ เข้า ช่วงหลังการะเกดเรม่ิ ตอบโต้ ตอบโตด้ ว้ ยความรุนแรง มจี กิ ผม แค่เพือ่ นผลกั หรอื เดนิ ชน จนปจั จุบนั นเี้ ปน็ ครกู ็มีพฤติกรรมแบบนน้ั คือถงึ จดุ ๆ หน่ึง จะตอบโตร้ นุ แรง กบั เดก็ นักเรียนกม็ พี ฤตกิ รรมแบบนี้ ตอ้ งรบี เอาเดก็ เดนิ หนอี อกนอกห้อง 18 โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพอ่ื ปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรังแกกนั (bullying) ในเด็กประถมศกึ ษาท่ี 1-3

ใบความรทู้ ่ี 2 เร่ือง ผลกระทบของพฤตกิ รรมการรงั แกกัน การแกไ้ ข และแนวทางการจดั การ ผลกระทบของพฤตกิ รรมการรังแกกันในเด็กนักเรียน เมอ่ื เกิดเหตกุ ารณ์พฤติกรรมการรังแกกันขึน้ การกระทำ�ดงั กล่าวจะส่งผลตอ่ ตนเอง ครอบครัว และสงั คม ซึง่ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้ ตนเอง จากการศกึ ษาของเทป-เทยเ์ ลอร์ และคณะ (Tharp-Taylor et al., 2009) พบว่า เดก็ นักเรียนท่มี ี พฤตกิ รรมรงั แกกนั มปี ญั หาดา้ นรา่ งกาย34%โดยมอี าการปวดหรอื บาดแผลตามรา่ งกายเปน็ ตน้ อกี ทง้ั ยงั สง่ ผลใหม้ ปี ญั หา ดา้ นพฤตกิ รรม เชน่ ชอบการทำ�ร้ายผอู้ ื่น เป็นต้น (Kumpulainen et al., 1998) ส�ำ หรับผลต่อดา้ นจติ ใจจะท�ำ ให้รูส้ ึก ไมป่ ลอดภยั กบั การมาโรงเรยี น (Alikasifoglu et al., 2007) แยกตวั ออกจากสงั คม (Spriggs et al., 2007) เดก็ บางคน ขณะทที่ �ำ อาจจะเกดิ ความรสู้ กึ วา่ ตนเองมคี วามสามารถ (Seixas et al., 2013) มรี ะดบั ของการเหน็ คณุ คา่ ในตนเองสงู (กอรป์ บญุ ภาวะกลุ และปราโมทย์ สคุ นชิ ย,์ 2554) บางการศกึ ษา พบวา่ มรี ะดบั การเหน็ คณุ คา่ ในตนเองตาํ่ (O’Moore & Kirkham, 2001) นอกจากนี้ ยงั ท�ำ ใหม้ ภี าวะซมึ เศรา้ และมคี วามพยายามในการฆา่ ตวั ตาย (Bauman et al., 2013) ครอบครวั จากการศกึ ษาของโรเบริ ท์ (Robert, 2000) พบว่า เด็กท่มี พี ฤตกิ รรมรังแกกัน เมือ่ โตเป็นผใู้ หญ่ จะมีพฤติกรรมก้าวร้าวตอ่ คูส่ มรสและลกู สังคม จากการศึกษาของโรเบริ ท์ (Robert, 2000) ในกลุ่มตวั อย่างทมี่ พี ฤตกิ รรมรงั แกกนั ต้ังแต่วยั เดก็ และ เมื่อเติบโตเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ พบว่า กลุ่มคนดังกล่าวมีความเก่ียวข้องกับอาชญากรรม และการฝ่าฝืนกฎจราจรกว่าผู้ที่มี พฤตกิ รรมรงั แกกนั เล็กน้อย และการศึกษาของกลู และคณะ (Glew et al, 2000) พบว่า เดก็ ผูช้ ายทถ่ี กู รังแกมาตง้ั แต่ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ถงึ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มเี ก่ียวขอ้ งกบั อาชญากรรมอย่างนอ้ ย 1 ครัง้ เมอ่ื อายุ 24 ปี และ 35 ปี การแกไ้ ขพฤติกรรมการรังแกกนั  ยุตกิ ารแกล้งกนั และควบคมุ สถานการณ์ให้ได้  พูดคุยกบั เด็กทร่ี งั แกคนอื่น โดยไม่มเี ด็กทเี่ ป็นเหยอ่ื หรอื ผอู้ ย่ใู นเหตุการณ์  บอกเด็กท่รี ังแกว่าตามกฎของโรงเรียนต้องได้รับผลอยา่ งไร  หากจ�ำ เปน็ ขอพบผ้ปู กครอง เพ่อื แจ้งให้ทราบ แนวทางการจดั การ เม่ือพบการรงั แกกนั ตอ้ งจดั การทุกครง้ั และพยายามควบคมุ สถานการณ์ ต้องรายงานใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบ อยา่ ทำ�สิง่ ทจี่ ะเป็นการแสดงอคตแิ ก่เด็กท่รี ังแกคนอื่น ล้อเลียน ต�ำ หนหิ รอื สรา้ งความรงั เกียจใหส้ งั คม แต่ปฏิบัตติ ามปกติกับเด็กที่รงั แกผู้อื่น ถูกรังแก พ่อแมเ่ ดก็ ทงั้ สองฝ่าย และเดก็ ที่อยูใ่ นเหตกุ ารณ์ โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) 19 เพ่ือป้องกนั พฤตกิ รรมการรังแกกัน (bullying) ในเด็กประถมศึกษาที่ 1-3

ใบกิจกรรมท่ี 1 เรื่อง การป้องกันพฤติกรรมการรงั แกกัน ใหส้ มาชกิ กลมุ่ รว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั วธิ กี ารในการปอ้ งกนั พฤตกิ รรมรงั แกกนั โรงเรยี น กลมุ่ ละ 1 ประเดน็ ดงั นี้ 1. ระบบการสอดส่องเฝา้ ระวังเพื่อป้องกันการรังแกกนั ในช้นั เรยี น/ โรงเรียน 2. ทำ�อย่างไรจึงจะให้ระบบในข้อ 1 นำ�ไปสู่ปฏิบัติจริง ด้วยการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ครู นักเรียน ผปู้ กครองและชมุ ชน ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 20 โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพอื่ ป้องกันพฤตกิ รรมการรงั แกกนั (bullying) ในเด็กประถมศึกษาท่ี 1-3

บรรณานุกรม กอรป์ บญุ ภาวะกลุ และปราโมทย์ สคุ นชิ ย.์ (2554). การศกึ ษาพฤตกิ รรมรงั แกขม่ ขกู่ บั ระดบั ความรสู้ กึ มคี ณุ คา่ ในตนเอง ในโรงเรยี นมัธยมแหง่ หน่งึ กรงุ เทพมหานคร. วารสารสมาคมจิตแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย, 56(1), 35-44. เกษตรชัย และหีม. (2556). พฤติกรรมการรังแกของนักเรียน. (พิมพ์ครั้งท่ี 1). สงขลา: หน่วยโสตทัศนศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร.์ เกษตรชยั และหมี และอทุ ศิ สงั ขรตั น.์ (2555). ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปจั จยั คณุ ลกั ษณะทางจติ ปจั จยั การอบรมเลย้ี งดู ของครอบครวั และปจั จัยอทิ ธพิ ลความรุนแรงกบั พฤตกิ รรมการรงั แกของนกั เรียน โรงเรยี นเอกชนสอน ศาสนาอสิ ลามในจงั หวดั สงขลา. วารสารศลิ ปศาสตร,์ 4(2), 65-82. ชตุ นิ าถ ศักรินทรก์ ลุ และ อลสิ า วัชรสินธุ. (2557). ความชกุ ของการขม่ เหงรงั แกและปัจจัยด้านจติ สงั คมท่ีเก่ียวขอ้ ง ในเด็กมัธยมต้น เขตอำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 59(3), 221-230. ปวริศร์ กจิ สขุ จิต. (2555). ปจั จยั ทเี่ ป็นสาเหตใุ ห้เกดิ การรังแกกันในโรงเรียนมัธยมสตรีในกรุงเทพมหานคร ตามแนว ทฤษฎเี รียนรขู้ องโรนลั ด์ แอล เอเคอร.์ วิทยานพิ นธป์ ริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (อาชญาวทิ ยาและ งานยตุ ิธรรม), บณั ฑิตวิทยาลยั , มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. สมคดิ ลอมาล.ี (2554). ปจั จยั ทมี่ คี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมขม่ ขขู่ องนกั เรยี นชว่ งชน้ั ท่ี 2 โรงเรยี นสงั กดั กรงุ เทพมหานคร เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและ พลศกึ ษา, บณั ฑติ วิทยาลัย, มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. สมบตั ิ ตาปญั ญา. (2549). รายงานการส�ำ รวจปญั หาการรงั แกกนั ของนกั เรยี น. ภาควชิ าจติ เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. Alikasifoglu, M., Erginoz, E., Ercan, O., Uysal, O., & Albayrak-Kaymak, D. (2007). Bullying behaviours and psychosocial health: Results from a cross-sectional survey among high school students in istanbul, Turkey. European Journal of Pediatrics, 166(12), 1253-1260. Bauman, S., Toomay, R. B., & Walker, J. L. (2013). Associations among bullying, cyberbullying, and suicide in high school students. Journal of Adolescence, 36(2), 341-350. Bowes, L., Arseneault, L., Maughan, B., Taylor, A., Caspi, A., & Moffitt, T. (2009). School, Neighborhood, and family factors are associated with children’s bullying involvement: A nationally representative longitudinal study. Journal of the American Academy of Child and Adolescent Psychiatry, 48(5), 545-553. Gendron, B. P., Williams, K. R., & Guerra, N. G. (2011). An analysis of bullying among students within schools: Estimating the effects of individual normative beliefs, self-esteem, and school climate. Journal of School Violence, 10, 150-164. Glew, G., Rivara, F., & Feudtner, C. (2000). Bullying: Children hurting children. Pediatrics in Review, 21(1), 183-190. Harel-Fisch, Y., Walsh, S. D., Fogel-Grinvald, H., Amitai, G., Pickett, W., Molcho, M., et al. (2011). Neg- ative school perceptions and involvement in school bullying: A universal relationship across 40 countries. Journal of Adolescence, 34, 639-652. โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) 21 เพอ่ื ปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรังแกกนั (bullying) ในเด็กประถมศึกษาท่ี 1-3

Jansen, D. E., Veenstra, R., Ormel, J., Verhulst, F. C., & Reijneveld, S. A. (2011). Early risk factors for being a bully, victim, or bully/victim in late elementary and early secondary education. The longitudinal TRAILS study. BMC Public Health, 11(1), 1-7. Khamis, V. (2015). Bullying among school-age children in the greater Beirut area: Risk and protective factors. Child Abuse & Neglect, 39(1), 137-146. Kumpulainen, K., Rasanen, E., Henttonen, I., Almqvist, F., Kresanov, K., Linna, S. L., et al. (1998). Bullying and psychiatric symptoms among elementary school-age children. Child Abuse and Neglect, 7(22), 705-717. Laeheem, K., (2013). Bullying behavior among primary school students in islamic private schools in Pattani province. Kasetsart Journal Social Science, 34(3), 500-513. Moura, D. R., Cruz, A. C., & Quevedo, L. A. (2011). Prevalence and characteristics of school age bullying victims. Jornal de Pediatria, 87(1), 19-23. Olweus, D. (1996). Bullying at School: Knowledge base and an effective intervention program. Annals of the New York Academy of Sciences, 794(1), 265-276. O’Moore, M., & Kirkham, C. (2001). Self-Esteem and its relationship to bullying behaviour. Aggressive Behavior, 27(4), 269-283. Roberts, W. B., (2000). The bully as victim. Professsional School Counseling, 4, 148-156. Seixas, S. R., Coelho, J. P., & Nicolas-Fischer, G. (2013). Bullies, Victims and bully-victims impact on health profile. The Journal Educacao Sociedade e Culturas, 38, 53-75. Shujja, S., Atta, M., & Shujjat, J. M. (2014). Prevalence of bullying and victimization among sixth graders with reference to gender, Socio-economic status and type of schools. Journal of Social Sciences, 38(2), 159-165. Spriggs, A. L., Iannotti, R. J., Nansel, T. R., & Haynie, D. L. (2007). Adolescent bullying involvement and perceived family, peer and school relations: Commonalities and differences across race/ethnicity. Journal of Adolescent Health, 41(3), 283-293. Strom, I. F., Thoresen, S., Wentzel-Larsen, T., & Dyb, G. (2013). Violence, bullying and academic achievement: A study of 15-year-old adolescents and their school environment. Child Abuse & Neglect, 37(4), 243-251. Tharp-Taylor, S., Haviland, A., & D’Amico, E. J. (2009). Victimization from mental and physical bullying and substance use in early adolescence. Addictive Behaviors, 34(6), 561-567. Uba, I., Yaacob, S. N., & Juhari, R. (2010). Bullying and it’s relationship with depression among teenagers. Journal of Psychology, 1(1), 15-22. Zimmerman, F. J., Glew, G. M., Christakis, D. A., & Katon, W. (2005). Early cognitive stimulation, emotional support, and television watching as predictors of subsequent bullying among grade-school children. Archives of Pediatrics and Adolescent Medicine, 159, 384-388. 22 โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพ่ือปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรงั แกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาท่ี 1-3

3 การจัดการกับพฤตกิ รรมรังแกกนั เวลา 1 ช่วั โมง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. เพ่ือให้ครสู ามารถสงั เกตพฤตกิ รรมรงั แกกันจากสญั ญาณเตอื น 2. เพ่ือใหค้ รูสามารถจดั การพฤตกิ รรมรังแกกันของนกั เรยี นได้ สาระสำ�คัญ วธิ กี ารสงั เกตลกั ษณะเดก็ ทม่ี แี นวโนม้ ทจ่ี ะถกู เพอื่ นรงั แก และวธิ กี ารสงั เกตสญั ญาณเตอื นของเดก็ ทถ่ี กู รงั แก ในโรงเรยี น จะเปน็ การเฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั การรงั แกกนั ในโรงเรยี นได้ รวมทง้ั มวี ธิ กี ารจดั การทเ่ี หมาะสมเพอ่ื การแกไ้ ข ปัญหาพฤตกิ รรมรงั แกกนั ในโรงเรยี น สอื่ -อุปกรณ ์ 1. สอ่ื คลิปวดี ิทัศนเ์ กยี่ วกับการรังแกกัน (เด็กออทิสตกิ ถกู รงั แก: https://www.youtube.com/watch?v=bhHDGnbkq8c) 2. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องสัญญาณเตือนท่คี รูสามารถสงั เกตเด็กทถี่ กู รังแกในโรงเรยี น 3. ใบความร้ทู ี่ 2 เร่ืองวธิ กี ารจัดการของครูเมื่อเด็กรังแกกัน 4. ใบกิจกรรมท่ี 1 เรือ่ งวธิ กี ารจัดการกบั พฤตกิ รรมรังแกกันในชั้นเรียน 5. ใบกิจกรรมที่ 2 เรือ่ งวธิ กี ารจดั การของครูเมื่อเด็กรงั แกกนั โปรแกรมการพฒั นาทักษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) 23 เพ่ือปอ้ งกนั พฤติกรรมการรงั แกกนั (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาท่ี 1-3

ขน้ั ตอนการดำ�เนนิ กจิ กรรม กจิ กรรม สอ่ื -อุปกรณท์ ใี่ ช้ ระยะเวลา 1. วิทยากรกล่าวถึงคลิปเด็กออทิสติกถูกรังแกในแผนการสอนท่ี 2 ใบความรู้ท่ี 1 เรื่องสัญญาณ 10 นาที เร่ืองพฤติกรรมการรังแกกันว่าเป็นลักษณะของเด็กที่มีแนวโน้ม เตือนท่ีครูสามารถสังเกตเด็ก ถูกรังแก และบรรยายเรื่องสัญญาณเตือนท่ีครูสามารถสังเกตเด็ก ทีถ่ ูกรังแกในโรงเรียน ท่ถี กู รังแกในโรงเรียน ตามใบความรทู้ ่ี 1 2. วิทยากรแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5-6 คนและใหแ้ ตล่ ะกลุ่มรว่ มกันอภปิ ราย ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องวิธีการ 20 นาที ตามประเด็นในใบกิจกรรมท่ี 1 จัดการกับพฤติกรรมรังแกกัน ในชั้นเรียน 3. วทิ ยากรสรปุ และบรรยายเพม่ิ เตมิ เรอ่ื ง วธิ กี ารจดั การของครเู มอื่ เดก็ ใบความรทู้ ี่2เรอื่ งวธิ กี ารจดั การ 10 นาที รังแกกนั ตามใบความรู้ที่ 2 ของครูเม่อื เดก็ รงั แกกนั 4. วทิ ยากรแบง่ กลุม่ ๆ ละ 6 คน เพื่อแสดงบทบาทสมมติ ใบกิจกรรมที่ 2 เร่ืองวิธีการ 15 นาที ตามใบกิจกรรมท่ี 2 จดั การของครเู มอ่ื เดก็ รังแกกนั 5. วิทยากรให้ผู้เรียนสะท้อนวิธีการจัดการของครูเม่ือเด็กรังแกกัน 5 นาที ในแตล่ ะสถานการณ์ 2 ประเดน็ คอื ชอบตรงท.่ี .. จะดีกว่านถ้ี า้ ... จากน้ันวทิ ยากรสรุปและเพิม่ เติม 24 โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพอื่ ปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรังแกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาที่ 1-3

ใบความรทู้ ่ี 1 เร่อื ง สญั ญาณเตอื นทคี่ รูสามารถสงั เกตเดก็ ท่ถี ูกรงั แกในโรงเรยี น โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) 25 เพ่อื ป้องกนั พฤตกิ รรมการรงั แกกนั (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาที่ 1-3

ใบกจิ กรรมที่ 1 เร่ือง วธิ กี ารจดั การกบั พฤตกิ รรมรงั แกกนั ในชน้ั เรียน 1. วทิ ยากรแบ่งกลุม่ ๆ ละ 5-6 คนและใหส้ มาชิกแต่ละกลุม่ รว่ มกนั อภปิ รายตามประเดน็ ต่อไปนี้ 1.1 วิธีการจัดการกบั พฤตกิ รรมรังแกกันในช้นั เรียน 1.2 วิธกี ารสื่อสารและการช่วยเหลือเดก็ ท่เี ป็นฝา่ ยรงั แกและถูกรงั แกเพอ่ื ยุตสิ ถานการณใ์ นขณะนน้ั 2. แตล่ ะกลมุ่ สง่ ผแู้ ทนนำ�เสนอ วิธีการจดั การกับพฤติกรรมรงั แกกันในชน้ั เรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วธิ กี ารสอื่ สารและการชว่ ยเหลอื เดก็ ทเ่ี ปน็ ฝา่ ยรงั แกและถกู รงั แกเพอื่ ยตุ สิ ถานการณใ์ นขณะนนั้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... 26 โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพือ่ ป้องกันพฤติกรรมการรังแกกนั (bullying) ในเด็กประถมศึกษาท่ี 1-3

ใบความรู้ท่ี 2 เรือ่ ง วิธีการจดั การของครูเมื่อเด็กรังแกกนั หากครพู บเด็กมพี ฤตกิ รรมจากสญั ญาณเตอื นแลว้ ให้รีบแก้ไขอยา่ งเรง่ ด่วนโดยครคู วรให้เวลาในการพูดคยุ กบั เดก็ ทง้ั สองฝา่ ย พดู คยุ ดว้ ยนา้ํ เสยี งนมุ่ นวล ไมค่ าดคน้ั ขม่ ขแู่ ละใหเ้ วลาเดก็ ในการเลา่ เรอ่ื ง ใหก้ �ำ ลงั ใจและความมนั่ ใจ วา่ การเล่าน้นั จะเป็นการช่วยเหลอื ไม่ใหม้ กี ารรงั แกซา้ํ อีก สำ�หรับเพอื่ นทีเ่ ห็นเหตุการณ์ ให้ครูพูดคุยกับเด็กว่าการท่ีเด็กเห็นเหตุการณ์แล้วไม่ได้ช่วยเหลือเพื่อน หรือไม่ได้ห้าม เสมือนหน่ึงว่าเป็น การเห็นด้วยกับการรังแกกัน หากเกินความสามารถที่จะช่วยเหลือหรือห้ามปราม เด็กต้องบอกครู หากเด็กที่เห็น เหตุการณใ์ หค้ วามช่วยเหลอื หรอื แจ้งให้ครทู ราบ ครูควรพูดช่นื ชมให้กำ�ลงั ใจเด็กว่าส่ิงทีท่ �ำ เป็นสง่ิ ทด่ี แี ละถูกตอ้ ง ส�ำ หรับเด็กท่เี ปน็ ฝา่ ยรงั แก เมื่อครูพบว่ามีเด็กคนใดคนหน่ึงเร่ิมรังแกเด็กคนอ่ืน ครูต้องหยุดพฤติกรรมน้ันโดยเร็ว ก่อนที่เด็กคนอ่ืน จะเลียนแบบและขยายวงกว้างออกไป โดยบอกเด็กทร่ี งั แกเพ่ือนวา่ มบี ทลงโทษหรือกฎเกณฑเ์ มอื่ รังแกเพอื่ น และครู คาดหวังวา่ จะไมเ่ กิดเหตุการณ์นขี้ ึน้ อีก ในกรณีทเ่ี ดก็ ไมม่ พี ฤตกิ รรมรังแกซาํ้ ครคู วรพูดชมเชย หรอื ใหร้ างวลั ครูควร เฝ้าระวงั การเกิดพฤติกรรมซ้าํ โดยบอกครูคนอ่นื ๆ หรอื เครอื ขา่ ยใหเ้ ฝา้ ระวังพฤติกรรมเดก็ โดยพิจารณาจากความถ่ี และความรุนแรงของพฤติกรรม ครูควรพดู คยุ กับพอ่ แมว่ า่ เดก็ มพี ฤติกรรมนี้ในโรงเรยี น สำ�หรับเดก็ ท่ถี ูกรังแก ครคู วรด�ำ เนินการดงั น้ี 1. ครูต้องใหห้ ลกั คดิ กบั เดก็ ว่า “เพ่ือนทม่ี ารังแกเขามจี ดุ ประสงคค์ ือต้องการให้เราโกรธ เม่อื ไหรท่ ่เี รา ไมแ่ สดงอารมณโ์ กรธ โมโห หรือไม่พอใจออกมาโดยการนงิ่ เฉย และเดนิ หนไี ปไมส่ นใจเดก็ ทีม่ ารงั แก ต่อไปเขาก็ จะเลิกแกล้งเอง” ดังนั้น ถ้าอยากให้เพ่ือนหยุดรังแกจะต้องนิ่งให้มากที่สุดและไม่ตอบโต้เพ่ือนในขณะน้ัน ซ่ึงการไม่โต้ตอบจะทำ�ให้เพื่อนหยุดไปเอง นอกจากนี้ ครูอาจให้หลักคิดกับเด็กในการคบเพื่อนว่า “เวลาคบเพื่อน ให้คบเพื่อนที่เราอยู่ด้วยแล้วมีความสุข อยู่กับเพ่ือนท่ีเราเล่นด้วยแล้วสนุก” และเน้นยํ้าว่า “การคบเพ่ือนเป็น สิทธ์ิของเรา ให้เลือกเพ่ือนท่ีเราถูกใจท่ีสุด” และ “เพื่อนสามารถโกรธหนูได้ แต่เพ่ือนทำ�ร้ายร่างกายหนูไม่ได้ หนมู สี ทิ ธท์ิ จี่ ะปกปอ้ งตนเอง เพราะการทเ่ี พอื่ นจงใจมาแตะตอ้ งตวั หนู ถอื เปน็ อาชญากรรมทนั ที หนตู อ้ งรบี บอกคร”ู 2. ฝึกใหเ้ ดก็ พดู กบั ตนเอง (self talk) เป็นวธิ ใี ห้กำ�ลังใจตนเองโดยพดู กบั ตนเอง เชน่ “ฉันไม่ชอบที่เขารังแกฉนั ฉนั จะจดั การกบั เรอื่ งนใ้ี หไ้ ด”้ “ทุกอย่างจะตอ้ งผา่ นไปดว้ ยดี” “ฉันต้องเขม้ แขง็ ฉันตอ้ งเข้มแข็ง ฉันตอ้ งเขม้ แขง็ ” “ฉนั ไมก่ ลวั ใครอกี ต่อไป” โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) 27 เพือ่ ป้องกนั พฤตกิ รรมการรงั แกกัน (bullying) ในเด็กประถมศึกษาที่ 1-3

3. ฝึกทกั ษะให้เดก็ กลา้ พูดกลา้ บอก กลา้ เจรจาต่อรอง ดงั ต่อไปน้ี - บอกเพอ่ื นทมี่ ารงั แกวา่ “อยา่ ท�ำ แบบนน้ี ะ เราไมช่ อบ” พดู ดว้ ยเสยี งอนั ดงั ชดั ถอ้ ยชดั ค�ำ หนกั แนน่ อย่าพูดหงอๆ พูดแผว่ ๆ เพราะจะท�ำ ใหเ้ พื่อนยิ่งไดใ้ จและแกลง้ เราอกี - ในกรณที ี่เพอื่ นกา้ วเขา้ มาถึงตัว หนูต้องตะโกนเสียงดังว่า “หยดุ นะ” หรือ “อย่านะ” พร้อม ๆ กับขยับตัวออกมา เบี่ยงหลบ หรือปัดมือเขาออกจากตัว เพราะการตะโกนเสียงดังจะทำ�ให้เพื่อนที่มาแกล้งหรือ มารงั แกชะงกั ไปไดช้ วั่ ครู่ และครหู รอื เดก็ อนื่ ๆ สามารถไดย้ นิ และเขา้ มาดเู หตกุ ารณไ์ ดง้ า่ ยขน้ึ ครตู อ้ งชว่ ยฝกึ ใหเ้ ดก็ รจู้ กั ออกเสียงดงั เพื่อปกป้องตนเอง - ถ้าบอกเพ่ือนแล้ว เพอ่ื นไมฟ่ ัง ก็ใหบ้ อกกบั เพื่อนอีกครงั้ ว่า “ถ้ายงั ไมฟ่ งั เราจะบอกคร”ู ถา้ เพ่อื น ยังทำ�อีก กใ็ ห้ไปบอกครูว่าเกดิ อะไรขึ้น 4. หลีกเล่ียงพ้ืนท่ีเส่ียงหรือพ้ืนท่ีที่เคยถูกรังแก เช่น ห้องน้ํา ใต้อาคารเรียน หลังอาคารเรียนหรือ เวลาจะไปไหนกอ็ ย่าไปคนเดยี วใหช้ วนเพ่อื นไปด้วย การสอ่ื สารท�ำ ความเข้าใจกบั ผปู้ กครอง การสื่อสารทำ�ความเข้าใจกับผู้ปกครองจะช่วยให้ผู้ปกครองรับรู้ถึงพฤติกรรมหรือผลกระทบที่เกิดขึ้น กบั ตวั เดก็ รวมทงั้ ชว่ ยใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการรงั แกกนั เพอื่ ปอ้ งกนั การเกดิ เหตกุ ารณซ์ า้ํ ในโรงเรยี น ซงึ่ การสอื่ สารทำ�ความเข้าใจกับผ้ปู กครองมีแนวทาง ดังน้ี 1. ครเู ชญิ ผูป้ กครองของเดก็ ทั้ง 2 ฝ่ายมาพบทโี่ รงเรยี น ครูพดู คยุ เกยี่ วกับพฤติกรรมของเดก็ และแนวทาง แก้ไขปัญหาการรังแกกันกับพ่อแม่ผู้ปกครองของเด็กท้ังสองฝ่าย โดยพูดคุยถึงการเคารพสิทธิของผู้อ่ืน กฎกติกา ในการอยรู่ ว่ มกนั ในโรงเรยี นกบั ผู้ปกครองเดก็ ที่เป็นฝา่ ยรงั แกผู้อืน่ โดยบอกกบั ผูป้ กครองของเด็กท่ีเป็นฝา่ ยรังแก เชน่ “ลูกของคุณมีพฤติกรรมข่มขู่ คกุ คามเพื่อนในโรงเรียน เขาควรจะตอ้ งเรยี นรูส้ ทิ ธิของผอู้ ื่น” 2. สว่ นผู้ปกครองของเดก็ ที่เป็นฝา่ ยถกู รังแก ครพู ดู คุยถึงแนวทางการปกปอ้ งสทิ ธติ นเอง การจดั การและ รบั มอื เมอ่ื โดนรงั แก โดยครอู าจแนะน�ำ ผปู้ กครองของเดก็ ทถี่ กู รงั แก เชน่ “คณุ ตอ้ งสอนลกู ใหร้ จู้ กั ปกปอ้ งสทิ ธขิ องตนเอง เมอ่ื โดนเพ่อื นขม่ ขู่ คกุ คาม” 28 โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพือ่ ปอ้ งกนั พฤติกรรมการรงั แกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาที่ 1-3

ใบกจิ กรรมที่ 2 เรื่อง วธิ กี ารจัดการของครูเม่อื เด็กรงั แกกัน 1. วทิ ยากรแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 6 คนใหแ้ ต่ละกลมุ่ เลอื กผ้แู สดงตามบทบาทสมมติดงั นี้ คนท่ี 1 แสดงบทบาทสมมติเปน็ นักเรียนทเี่ ปน็ ฝา่ ยรงั แกเพอ่ื น คนท่ี 2 แสดงบทบาทสมมตเิ ปน็ นกั เรียนทถ่ี ูกรังแก คนท่ี 3 แสดงบทบาทสมมตเิ ปน็ เพ่ือนนักเรียนทอ่ี ย่ใู นเหตุการณ์ คนที่ 4 แสดงบทบาทสมมติเปน็ ครูท่ีตอ้ งจดั การกบั พฤตกิ รรมรงั แกกนั ของนักเรียน คนท่ี 5 แสดงบทบาทสมมตเิ ป็นผู้ปกครองของเด็กทเ่ี ปน็ ฝา่ ยรังแกเพ่อื น คนท่ี 6 แสดงบทบาทสมมตเิ ป็นผปู้ กครองของเด็กทเ่ี ปน็ ฝา่ ยถูกรังแก 2. ให้แตล่ ะกลุ่ม เลอื ก 1 สถานการณ์ เพ่อื แสดงบทบาทสมมติ ตามสถานการณด์ ังต่อไปน้ี สถานการณท์ ี่ 1 เดก็ นกั เรยี นหญงิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ไวผ้ มยาวและมกั ถกู เพอื่ นนกั เรยี นชายหอ้ งเดยี วกนั ดึงผมเปน็ ประจ�ำ สถานการณ์ที่ 2 เดก็ นกั เรียนชายชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2 ที่มีจมกู โต และมักถกู เพ่อื นๆเรียกว่า “ไอจ้ มูกโต” เปน็ ประจ�ำ จนท�ำ ให้เด็กร้สู ึกอายและเป็นปมดอ้ ยมากจนบางคร้งั เด็กบอกพอ่ แมว่ ่าไมอ่ ยากมาโรงเรียน สถานการณ์ท่ี 3 เด็กนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 และได้เจอรุ่นพี่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 รีดไถเงิน ที่ผปู้ กครองใหม้ าโรงเรยี นทุกวัน โดยร่นุ พีค่ นนีแ้ อบมาดกั รอในทปี่ ลอดคน หรอื คนอย่นู อ้ ย ไม่เป็นที่สงั เกตและขม่ ขู่วา่ ไม่ใหบ้ อกใคร ไมง่ ้นั จะอัดให้นว่ มเลย สถานการณ์ท่ี 4 เด็กนักเรียนหญิงชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เป็นคนเงียบๆ ไม่กล้าเถียงใคร แต่งตัว ดว้ ยชดุ นกั เรยี นเกา่ ๆ ถกู เพอ่ื นในชน้ั เรยี นกดี กนั ไมใ่ หเ้ ขา้ กลมุ่ ท�ำ กจิ กรรมดว้ ย เวลาเพอ่ื นจบั กลมุ่ เลน่ ตกุ๊ ตาหรอื ของเลน่ ในโรงเรียน กโ็ ดนเพ่อื นไลใ่ หไ้ ปเล่นทอ่ี ่ืน สถานการณ์ที่ 5 เด็กนักเรียนชายช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 รูปร่างเล็กกว่าเพื่อนๆ ในห้อง มักถูกเพ่ือน ที่ตัวโตกวา่ แกล้งหยบิ ของใชข้ องตนเองไป เชน่ ไมบ้ รรทดั สมดุ หนงั สือ และลอ้ เลยี นวา่ “ไอเ้ ต้ยี ” และเอาไปซ่อน แนวทางการแสดงบทบาทสมมติ สมาชิกในแต่ละกลุ่ม คิดหาวิธีการส่ือสารของครูเพ่ือแก้ไขสถานการณ์ขณะน้ันให้ผ่านไปด้วยดีกับทุกคน ท่ีเก่ียวขอ้ ง หลงั จากเตรยี มการแสดงบทบาทสมมตเิ รียบรอ้ ยแล้ว ให้แต่ละกลุ่มออกมาน�ำ เสนอ โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) 29 เพ่อื ปอ้ งกันพฤติกรรมการรังแกกัน (bullying) ในเด็กประถมศกึ ษาท่ี 1-3

PART II “ครูคือผสู้ ร้างภูมิคุ้มกนั เดก็ จากการรังแกกัน” ผู้ใชแ้ ผนกจิ กรรม - ครทู เ่ี กี่ยวข้อง ได้แก่ ครูประจำ�ชนั้ ครูที่ดแู ลระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น (ครแู นะแนว/ครทู ี่ปรกึ ษา) - ครชู น้ั ประถมศึกษาท่ี 1-3 แผนกิจกรรม ประกอบดว้ ย แผนทกั ษะ - การเลือกคบเพ่อื น - เม่อื ถูกเพ่อื นรังแก หนคู วรท�ำ อย่างไร - ทักษะการตระหนกั รู้อารมณต์ นเอง และควบคมุ อารมณต์ นเอง 30 โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพ่ือปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรังแกกนั (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาที่ 1-3

4 การเลอื กคบเพ่อื น เวลา 1 ชวั่ โมง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เพ่ือใหน้ ักเรียนทราบถงึ ลักษณะเพ่ือนทดี่ แี ละเพ่อื นทไ่ี ม่ดี 2. เพ่ือให้นักเรียนสามารถประเมินและหลีกเลี่ยงจากสถานการณ์ท่ีมีแนวโน้มความรุนแรงหรือการรังแก กันในช้ันเรียน สาระสำ�คญั เพ่ือนคอื คนท่สี ร้างมติ รภาพทดี่ ี อยดู่ ว้ ยแล้วมรี อยยมิ้ ช่วยปลอบใจ ไม่ท้ิงกนั ไม่ปลอ่ ยหรอื ชักชวนให้เพื่อน หลงไปผดิ ทาง ปกป้องเพอื่ นจากค�ำ กลา่ วที่ไมจ่ ริง และพาเพื่อนไปในทางท่ดี ี การคบเพื่อนเป็นส่ิงสำ�คัญมากเนือ่ งจาก เพือ่ นมีอิทธิพลตอ่ จิตใจและการกระทำ�ของนกั เรยี น เพราะนักเรยี นมกั จะทำ�ตามเพื่อนโดยนกึ ว่าเป็นสงิ่ ที่ดี แต่บางส่ิง กเ็ ป็นสิ่งท่ีไม่ดี เช่น การรังแกเพื่อนทีอ่ อ่ นแอกว่า การท�ำ ตวั เป็นหวั โจก เปน็ ต้น เพอื่ นดี ๆ ถึงจะมเี พียงน้อยนิด แต่หาก มีความจริงใจ และคอยดูแลกัน แนะน�ำ ส่ิงดี ๆ ให้กนั จะมีส่วนส�ำ คญั ในการเปลีย่ นแปลงชีวิตของเรา นอกจากนี้ ทักษะการสังเกตและความสามารถในการประเมินสถานการณ์ท่ีมีแนวโน้มความรุนแรงหรือ การรงั แกกนั ไดใ้ นโรงเรยี น จะชว่ ยใหน้ กั เรยี นสามารถปอ้ งกนั ตนเองจากการเปน็ เหยอื่ ของการรงั แกกนั รวมทง้ั สามารถ ช่วยบอกหรอื เตอื นเพอ่ื นไม่ให้ตกอยู่ในสถานการณเ์ หลา่ น้ีได้ สื่อ-อุปกรณ์ 1. ใบความรู้ท่ี 1 เรอ่ื งการเลอื กคบเพือ่ น และผลของการคบเพือ่ น 2. ใบกจิ กรรมท่ี 1 เร่ืองถ้าเป็นเพ่อื นกนั ต้องท�ำ และไม่ท�ำ อย่างนี้ 3. ภาพพฤติกรรม ถ้าเปน็ เพื่อนกนั ตอ้ งท�ำ และไมท่ �ำ อย่างน้ี 4. กระดาษฟลปิ ชาร์ต/ กระดาน 5. ปากกาเคมี โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) 31 เพอื่ ป้องกันพฤตกิ รรมการรังแกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาท่ี 1-3

ขั้นตอนการด�ำ เนินกิจกรรม สือ่ -อุปกรณท์ ีใ่ ช้ ระยะเวลา 5 นาที กจิ กรรม 1. ครูนำ�สู่บทเรียนโดยถามนักเรียนว่าใครมีเพ่ือนให้ยกมือขึ้น และ สุ่มถามวา่ “เพื่อนท่ดี ีในหอ้ งเรยี นควรเป็นแบบไหน” 2. ให้นักเรียนจับคู่ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นว่าเพื่อนท่ีดีเป็นอย่างไร 5 นาที และเพื่อนแบบใดท่ีคดิ ว่าไมด่ ี 3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 3-5 คนให้ช่วยกันคิดหาคำ�ตอบว่า - ใบกจิ กรรมที่ 1 เรือ่ ง 10 นาที “ถ้าเป็นเพ่ือนกันต้องทำ�และไม่ทำ�อย่างน้ี” ให้ครูอ่านและอธิบาย ถา้ เป็นเพ่ือนกนั ตอ้ งทำ�และ หรือขยายความในใบกจิ กรรมใหเ้ ดก็ (โดยเฉพาะชนั้ ป.1) ไม่ทำ�อย่างนี้ หมายเหต:ุ ครอู าจใชภ้ าพแทนการตอบขอ้ ค�ำ ถามจากใบกจิ กรรม - ภาพพฤติกรรม ถา้ เป็น เพอื่ นกันตอ้ งท�ำ และไมท่ ำ� อยา่ งน้ี 4. ครูสมุ่ ถามนกั เรยี น 2-3 คู่ และสรุปถงึ ตวั อย่างของเพ่อื นท่ดี ี และ - กระดาษฟลปิ ชารต์ /กระดาน 5 นาที เพื่อนท่ีไม่ดีว่าเป็นอย่างไร มีลักษณะแบบใดบ้าง ครูเขียนคำ�ตอบ - ปากกาเคมี ของนกั เรยี นลงในฟลปิ ชาร์ต/ กระดาน 5. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม 3 – 4 คนช่วยกันคิดและแบ่งแยกว่าหาก 10 นาที นกั เรยี นคบเพอ่ื นดแี ละไมด่ ี ผลจะเปน็ อยา่ งไรบา้ ง โดยเชอ่ื มโยงกบั เดก็ ทม่ี แี นวโนม้ ของพฤตกิ รรมรงั แกกนั (ครยู กตวั อยา่ งสถานการณ์ เพอ่ื นทไ่ี มด่ ี เชน่ เพอ่ื นทแี่ ยง่ ดนิ สอ ท�ำ ใหเ้ ราไมม่ ดี นิ สอใช้ สว่ นเพอ่ื น ทดี่ ี เชน่ เพื่อนทแี่ บง่ ขนม หรอื ชวนเราเลน่ ) 6. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำ�เสนอในกลุ่มใหญ่ ครูเขียนคำ�ตอบของ - ใบความรทู้ ี่ 1 เรอ่ื งการเลอื ก 15 นาที นักเรียนลงในฟลิปชาร์ต/ กระดาน ครูสรุปและบรรยายเพ่ิมเติม คบเพื่อน และผลของการ ตามใบความรทู้ ี่ 1 คบเพอ่ื น - กระดาษฟลปิ ชารต์ /กระดาน - ปากกาเคมี 7. ครูใหน้ กั เรยี นจับคูค่ ยุ กันว่าถ้าเจอเพอ่ื นทท่ี ำ�ไมด่ ตี อ่ กนั เช่น พูดจา ครูอาจใช้แบบบันทึกกจิ กรรม 10 นาที ข่มขู่ แกลง้ กนั นกั เรยี นควรท�ำ อยา่ งไร จากน้ันครสู มุ่ ถามและสรปุ เปน็ รายบุคคล เพื่อตดิ ตาม เนน้ ย้ําการกระทำ�ทถี่ ูกต้องเหมาะสม การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรม อยา่ งเปน็ รูปธรรม 32 โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพอ่ื ป้องกนั พฤตกิ รรมการรังแกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาท่ี 1-3

ใบความร้ทู ่ี 1 เรื่อง การเลือกคบเพ่ือน และผลของการคบเพอื่ น การคบเพอื่ นเปน็ สงิ่ ส�ำ คญั มากเนอ่ื งจากเพอ่ื นมอี ทิ ธพิ ลตอ่ จติ ใจและการกระท�ำ ของนกั เรยี น เพราะนกั เรยี น มกั จะท�ำ ตามเพอื่ นโดยนกึ วา่ เปน็ สง่ิ ทด่ี แี ตบ่ างสง่ิ กเ็ ปน็ สงิ่ ทไี่ มด่ ี เชน่ การรงั แกเพอ่ื นทอี่ อ่ นแอกวา่ การท�ำ ตวั เปน็ หวั โจก เป็นต้น เพอ่ื นดี ๆ ถงึ จะมีเพยี งนอ้ ยนิด แตห่ ากมีความจรงิ ใจ และคอยดูแลกัน แนะนำ�ส่ิงดี ๆ ใหก้ นั จะมสี ่วนส�ำ คัญ ในการเปลี่ยนแปลงชีวติ ของเด็กนกั เรียน เพือ่ นท่ดี ี มลี ักษณะ 1. มีความสุขไปดว้ ยกัน เพือ่ นทดี่ ีจะมคี วามสุขและร่วมยินดไี ปกับความสำ�เรจ็ แม้วา่ เราจะไดส้ ง่ิ ทีด่ กี วา่ ยอมรบั ในความเปน็ เรา สามารถทจี่ ะเรยี นและเลน่ ด้วยกนั อยา่ งมีความสุข 2. ให้คำ�แนะนำ� ชักจูงไปในทางท่ีถูกต้อง เพื่อนที่ดีต้องรู้จักตักเตือนกันและกัน กล้าที่จะบอกกล่าว หากเราก�ำ ลงั ท�ำ ในสง่ิ ทไ่ี มเ่ หมาะสม หวงั ดตี อ่ เรา แตห่ ากเพอ่ื นน�ำ พาเราไปในทางทไ่ี มด่ ี แสดงวา่ เพอ่ื นไมไ่ ดป้ รารถนาดตี อ่ เรา 3. เคารพสิทธิกันและกัน ไม่ก้าวก่ายเรื่องส่วนตัวมากจนเกินไป มีความเกรงใจกัน ให้เกียรติกัน รู้จกั ให้อภัย ไมเ่ อาเปรียบกนั ไม่เหน็ แกต่ ัว แตเ่ ป็นผยู้ อมเสียสละและเหน็ แก่ประโยชนข์ องสว่ นรวม เพอื่ นท่ีไมด่ ี มีลักษณะ 1. คนพาลหรือคนเกเร คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คนประเภทนีม้ ักชวนเราไปในทางทไี่ ม่ดี เช่น ชวนเรา โดดเรียน ชวนเราไปเสพยา พากันไปเกเร ชอบรงั แกเพือ่ น เช่น พูดขม่ ขเู่ สยี งดงั พูดลอ้ เลียน ชวนกันท�ำ ลายขา้ วของ หรอื ท�ำ รา้ ยคนอนื่ ไมเ่ ตอื นเราเมอ่ื ท�ำ ผดิ ซํ้ายังอาจสนับสนนุ อกี ดว้ ย เพื่อนประเภทน้ีมกั น�ำ เราสู่ดา้ นมดื และไมท่ �ำ ให้ เรามอี นาคตท่ดี ี ถา้ ต้องอยกู่ ับคนพาลอยา่ งหลีกเล่ียงไมไ่ ด้ เชน่ เรียนอยู่หอ้ งเดียวกัน ตอ้ งระลกึ อยเู่ สมอว่าเราอยูใ่ กล้ ส่ิงทเ่ี ปน็ อนั ตราย เหมือนอยใู่ กล้คนท่ีเป็นโรคตดิ ต่อ ต้องอย่าให้เขาชักจูง อยา่ ใหเ้ ขาน�ำ ไปในทางที่ไม่ดี 2. แก่งแย่ง แข่งขัน ข้ีอิจฉา คอยทับถมตลอดเวลา ต้องเด่นต้องดีกว่าเรา คุยด้วยแล้วรู้สึกแย่ เหน็ เราดีกวา่ ไม่ได้ ไม่พอใจเมอ่ื เราทำ�สง่ิ ใดสำ�เรจ็ เชน่ ถ้าไมใ่ ห้ลอกการบา้ น จะถอดกางเกง/กระโปรง 3. เก็บความลับไม่อยู่ คอยเอาความลับหรือเร่ืองส่วนตัวของเราไปป่าวประกาศให้เพ่ือนรู้ นินทาว่าร้าย หรือพดู ไม่ดี เอาเราไปพูดในทางเสียหาย คอยยุยงเพื่อนใหไ้ ม่ชอบเรา 4. เห็นแก่ตวั เอาความตอ้ งการของตัวเองเปน็ หลกั คิดวา่ ตวั เองส�ำ คญั ท่สี ุด ไม่มีนา้ํ ใจ ไม่รจู้ ักแบง่ ปัน พดู แต่เร่ืองตวั เอง ไมน่ ึกถึงเพือ่ นคนอนื่ 5. เวลาเรามีปัญหา ไม่เคยช่วยเหลือ เพ่ือนบางคนเวลามีปัญหา จะมาขอความช่วยเหลือจากเรา เรากช็ ่วยเขาเต็มท่ี แตพ่ อเวลาที่เราต้องการความชว่ ยเหลอื บา้ ง เพือ่ นคนน้กี ลบั ไมส่ นใจ “คบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล” สุภาษิตไทย ที่เปรียบเปรย การคบเพอื่ นไดอ้ ยา่ งเหน็ ภาพทสี่ ดุ ตอ้ งยอมรบั เลยวา่ การมเี พอื่ นดี ๆ ถงึ จะมเี พยี งนอ้ ยนดิ แตห่ ากมคี วามจรงิ ใจ และ คอยดแู ลกนั แนะน�ำ สง่ิ ดี ๆ ใหก้ นั กด็ ีกวา่ มเี พอื่ นเปน็ รอ้ ย แต่หาความจรงิ ใจไมไ่ ดเ้ ลย เพราะเพอื่ นนน้ั มสี ว่ นส�ำ คญั ในการเปลี่ยนแปลงชีวิตของเรา ในทางตรงกันข้าม ถ้าเราคบเพื่อนท่ีไม่ดีเรามีโอกาสท่ีจะถูกเพื่อนที่ไม่ดีรังแกได้ หรอื ถูกชกั จงู ไปรังแกเพ่อื นคนอน่ื โปรแกรมการพฒั นาทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) 33 เพ่ือป้องกันพฤติกรรมการรังแกกนั (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาที่ 1-3

ผลของการคบเพ่ือนทดี่ ีและไม่ดี การคบเพื่อนทไ่ี ม่ดี 1. ไม่อยากมาโรงเรยี น การคบเพือ่ นดี 2. ผลการเรยี นตกตํา่ 1. มีสมาธใิ นการเรียน ไมต่ อ้ งหวาดระแวงวา่ ใคร 3. ถูกแกล้ง ท�ำ ใหบ้ าดเจ็บ พดู จาไม่สุภาพ ดดุ ่าว่าเพื่อน จะมารังแกหรือท�ำ รา้ ย 4. ถูกชักจูงให้ทำ�หรือล่อลวงให้ทำ�ส่ิงไม่ดี เช่น ลองให้ 2. มเี พอ่ื นคอยชว่ ยเหลอื เพ่ือนรกั และใหก้ ำ�ลังใจ 3. มีความสขุ ท�ำ ให้อยากมาโรงเรยี น สบู บุหรี่ ดืม่ เหลา้ 4. เพอ่ื นคอยตักเตอื นชกั น�ำ ไปในทางท่ีดี 5. เห็นตวั อยา่ งทไ่ี มด่ แี ลว้ เกดิ การเลยี นแบบ เช่น การชกต่อยทำ�ร้ายผอู้ ่นื การข่มขู่ ลอ้ เลียนคน ท่ีอ่อนแอกว่า เปน็ ตน้ 6. ถกู หักคะแนนความประพฤติ 34 โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพอ่ื ปอ้ งกนั พฤติกรรมการรงั แกกนั (bullying) ในเด็กประถมศกึ ษาที่ 1-3

ใบกิจกรรมที่ 1 เร่อื ง ถา้ เปน็ เพอื่ นกันต้องท�ำ และไมท่ �ำ อยา่ งน้ี ให้นักเรยี นทำ�เครอื่ งหมาย  ท่ีพฤตกิ รรมต่อไปนว้ี ่าควร “ท�ำ ” หรือ “ไม่ทำ�” พฤตกิ รรม ทำ� ไม่ท�ำ 1. เดินมาเปน็ พวก ท�ำ เสยี งดังใส่เพอ่ื นคนอนื่ ๆ 2. แสดงความไมพ่ อใจ โดยการทำ�ลายขา้ วของ 3. เดินเข้ามาขอยมื ดินสอ 4. พดู ข่มขู่ จะเอาเงนิ 5. ชอบพดู ล้อเลียน ล้อชอื่ พ่อแมบ่ อ่ ย ๆ 6. เปดิ กระโปรงเดก็ ผู้หญิง 7. แบ่งของเล่นหรอื ขนม 8. พดู ท้าทาย ชวนตี 9. ค้นกระเปา๋ เพื่อน 10. พูดวา่ ถา้ ไมใ่ ห้ลอกการบ้าน จะถอดกางเกง/กระโปรง จะไม่คยุ ดว้ ยและจะไม่ให้ เพื่อนคนอนื่ เลน่ ด้วย 11. ตบหัวเพ่ือน 12. ชวนไปท�ำ การบา้ น โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) 35 เพื่อปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการรงั แกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาท่ี 1-3

ใบเฉลยกจิ กรรม เรื่อง ถ้าเปน็ เพ่อื นกันตอ้ งท�ำ และไมท่ �ำ อยา่ งน้ี ให้นกั เรยี นท�ำ เครือ่ งหมาย  ท่ีพฤตกิ รรมต่อไปนว้ี า่ ควร “ท�ำ ” หรือ “ไมท่ ำ�” พฤตกิ รรม ท�ำ ไม่ท�ำ 1. เดินมาเป็นพวก ทำ�เสียงดงั ใส่เพื่อนคนอน่ื ๆ  2. แสดงความไม่พอใจ โดยการท�ำ ลายข้าวของ  3. เดินเข้ามาขอยมื ดนิ สอ 4. พูดข่มขู่ จะเอาเงิน  5. ชอบพดู ล้อเลียน ลอ้ ชื่อพอ่ แม่บอ่ ย ๆ  6. เปดิ กระโปรงเดก็ ผู้หญิง  7. แบ่งของเล่นหรอื ขนม  8. พูดทา้ ทาย ชวนตี 9. ค้นกระเปา๋ เพื่อน  10. พูดวา่ ถา้ ไมใ่ ห้ลอกการบ้าน จะถอดกางเกง/กระโปรง จะไม่คุยดว้ ยและจะไมใ่ ห้   เพื่อนคนอ่นื เล่นดว้ ย  11. ตบหวั เพอ่ื น 12. ชวนไปท�ำ การบา้ น   36 โปรแกรมการพฒั นาทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพอื่ ปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรงั แกกนั (bullying) ในเด็กประถมศกึ ษาท่ี 1-3

ภาพพฤตกิ รรม ถ้าเปน็ เพ่ือนกันตอ้ งท�ำ และไม่ท�ำ อย่างนี้ ภาพวาดจาก นกั เรยี นโรงเรยี นบ้านเมอื งปักสามคั คี จงั หวดั นครราชสีมา โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) 37 เพอื่ ปอ้ งกนั พฤติกรรมการรงั แกกนั (bullying) ในเด็กประถมศกึ ษาที่ 1-3

5 เม่อื ถกู เพือ่ นรังแก หนคู วรทำ�อย่างไร เวลา 1 ชั่วโมง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เพื่อให้นกั เรียนรวู้ ิธีการจัดการกบั สถานการณเ์ มือ่ ถูกรงั แก 2. เพ่ือให้นักเรียนมที กั ษะในการรบั มอื เม่ือถกู รงั แก สาระส�ำ คัญ เม่ือเข้าสู่โรงเรียน ได้พบกับเพ่ือนๆ ที่มาจากครอบครัวท่ีมีความแตกต่าง บางครั้งอาจทำ�ให้เกิดเหตุการณ์ ไมค่ าดคิด เชน่ การถูกขม่ ขู่ ถูกแกลง้ หรอื ถูกรงั แก ซงึ่ อาจส่งผลใหเ้ กิดพฤตกิ รรมตอ่ ต้าน กลวั สงั คม กลวั เพอื่ นและ โรงเรียน จนไม่อยากมาโรงเรียน ดังนน้ั การเสรมิ สรา้ งใหน้ ักเรียนมีวธิ ีการและทักษะในการรบั มอื เม่ือถกู รงั แก จะช่วย ให้เดก็ สามารถปกป้องและดแู ลตนเองจากบุคคลหรอื สถานการณ์ทถ่ี กู รงั แกหรือตกเปน็ เหยือ่ ได้อย่างสรา้ งสรรค์ สือ่ -อุปกรณ์ 1. ใบความรู้ท่ี 1 เรื่องการรับมอื หรอื การป้องกนั ตัวเมื่อถูกแกลง้ 2. ใบกิจกรรมท่ี 1 เร่อื งเจอแบบน้.ี ..ท�ำ ไงดี 3. ใบกิจกรรมท่ี 2 เรือ่ งการจัดการเมอ่ื ถูกรังแก 4. ใบนิทานเร่อื ง ไลต่ งจิน้ ลกู ขอทาน ผไู้ ม่ยอมแพ้ต่อชะตาชวี ิต 5. กระดาษฟลิปชาร์ต/กระดาน 6. ปากกาเคมี 38 โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคมุ ตนเอง (self-control) เพ่อื ป้องกนั พฤติกรรมการรังแกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาท่ี 1-3

ขัน้ ตอนการด�ำ เนนิ กจิ กรรม กิจกรรม สื่อ-อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ ระยะเวลา 1. ครใู หน้ กั เรยี นดูภาพหรอื เลา่ เรอ่ื งตามภาพทีละสถานการณ์ใหฟ้ งั ใบกิจกรรมที่ 1 เรอ่ื ง 20 นาที จากน้ันให้นกั เรียนรวมกลุ่ม 3-4 คน ช่วยกันคดิ ว่าเดก็ ที่ถกู กระท�ำ เจอแบบน.้ี ..ทำ�ไงดี ควรท�ำ อยา่ งไร? สถานการณ์ที่ 1 โอโ๋ ดนเพ่อื นลอ้ วา่ อว้ น หนา้ ตาไม่น่ารกั สถานการณ์ท่ี 2 เก่ง เดินไปหลังโรงเรียนแล้วถูกรุ่นพี่รีดไถเงิน ค่าขนม พร้อมพูดจาข่มขู่ว่า “ถ้าไม่ให้จะเจ็บตัว” เก่งรู้สึกตกใจ กลัวมาก สถานการณ์ท่ี 3 อทิ ธิพลชอบตบหวั เพอ่ื นอยา่ งแรง 2. ครจู ดค�ำ ตอบทน่ี กั เรยี นเสนอขน้ึ บนกระดาน หลงั จากนนั้ ใหน้ กั เรยี น - กระดาษฟลปิ ชารต์ /กระดาน 15 นาที ชว่ ยกนั บอกวธิ กี ารเหลา่ น้ี อนั ไหน “เหมาะสม” และ “ไมเ่ หมาะสม” - ปากกาเคมี และใหน้ กั เรียนจดบันทึกค�ำ ตอบลงในสมดุ 3. ครสู รปุ และบรรยายเรอ่ื ง การจดั การ หรอื การปอ้ งกนั ตวั เมอื่ ถกู แกลง้ - ใบความรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง 10 นาที ตามใบความร้ทู ่ี 1 การจัดการหรือการป้องกันตัว *ครอู าจเสรมิ ขอ้ คดิ แกน่ กั เรยี นดว้ ยการเลา่ เรอื่ ง“ไลต่ งจน้ิ ลกู ขอทาน เม่ือถกู แกล้ง ผูไ้ มย่ อมแพต้ ่อชะตาชีวิต” - ใบนทิ านเร่อื ง ไลต่ งจิน้ ลูกขอทาน ผ้ไู ม่ยอมแพต้ ่อ ชะตาชวี ิต 4. ครแู บง่ กลุ่ม 5-6 คน ฝกึ ทกั ษะการจดั การและการส่อื สาร - ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง 5 นาที เม่ือถูกรงั แก โดยแสดงบทบาทสมมตติ ามสถานการณต์ อ่ ไปนี้ การจดั การเม่อื ถูกรงั แก สถานการณท์ ่ี 1 เกง่ เดนิ ไปหลงั โรงเรยี นแลว้ ถกู รนุ่ พรี่ ดี ไถเงนิ คา่ ขนม พร้อมพดู จาขม่ ขู่วา่ “ถา้ ไมใ่ ห้จะเจ็บตัว” เกง่ รสู้ กึ ตกใจกลัวมาก สถานการณท์ ่ี 2 นาํ้ หวาน โดนเพอื่ นล้อช่อื พ่อแมบ่ อ่ ย ๆ สถานการณ์ท่ี 3 มะลิ โดนเพื่อนเปิดกระโปรงตอ่ หน้าเพือ่ นในห้อง 5. ครใู หข้ อ้ คดิ เหน็ และสรปุ วธิ กี ารจดั การและการสอ่ื สารเมอ่ื ถกู แกลง้ - ใบความรทู้ ่ี 1 เร่อื ง 10 นาที การจัดการหรือการป้องกันตัว เม่อื ถูกแกลง้ *หมายเหต:ุ หากเวลาในการทำ�กิจกรรมมจี ำ�กดั ครูอาจแบ่งกิจกรรมออกเปน็ 2 ครง้ั โดยกิจกรรมที่ 1 ประกอบดว้ ยข้ันที่ 1-3 และกจิ กรรมท่ี 2 ประกอบด้วยขน้ั ท่ี 4-5 โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) 39 เพ่ือป้องกนั พฤติกรรมการรังแกกนั (bullying) ในเด็กประถมศึกษาท่ี 1-3

ใบนิทาน เร่อื ง “ไล่ตงจ้ิน ลกู ขอทาน ผู้ไม่ยอมแพ้ต่อชะตาชวี ติ ” ไล่ตงจ้ินไม่มีบ้าน ท้ัง 14 ชีวิตเร่ร่อนขอทานไปตามที่ต่างๆ อาศัยตามศาลเจ้าในป่าช้า หรือ ใต้ตน้ ไม้ ขอทานเป็นเงิน หรอื เศษอาหารมาเล้ียงพอ่ แม่ และพ่ีนอ้ ง น้องชายคนหนง่ึ ปญั ญาอ่อนหนักเสยี ยง่ิ กวา่ แม่ เวลาทเ่ี ขากับพอ่ ออกไปขอทานต้องผกู แมก่ บั น้องชายปัญญาออ่ นไวก้ ับตน้ ไม้ เพื่อปอ้ งกันไม่ให้ เกิดอนั ตราย เขาเกิดมาขาดแคลนสิง่ จ�ำ เป็นพน้ื ฐานของชีวติ แตด่ ิ้นรนตอ่ ส้อู ย่างเขม้ แข็ง ไม่ยอมแพ้ ไมง่ อมือ งอเท้า เขาอยากไปโรงเรียนและมีคนๆ หน่ึงเสียสละเพ่ือทำ�ให้ฝันของเขาเป็นจริง ท่ีโรงเรียนไล่ตงจิ้น เปน็ เด็กเรียนเกง่ เลน่ กีฬาเกง่ จนรับรางวลั และเกียรติบตั รดีเดน่ มากมายทีไ่ ม่มใี ครแม้แต่คนเดยี วในบา้ น เห็นคณุ คา่ ของมนั เพราะทกุ คนอ่านหนังสือไม่ออก กลับจากเรยี นหนงั สอื เขาเดนิ เทา้ กบั พ่อไปขอทานต่างเมอื งระยะทางแสนไกล น่ังอา่ นหนังสือ ทำ�การบ้านได้โดยอาศัยแสงสว่างจากเสาไฟ หยุดอ่านคุกเข่าคำ�นับขอบคุณเม่ือมีเศษเงินหย่อนลงขัน ยามดึกคืนหน่ึงเขาเดินจูงพ่อกลับบ้าน เผลอหลับในจูงพ่อเดินลงในคลอง เงินที่ขอทานมาได้หายไปหมด พอ่ ทุบตเี ขารุนแรง ด้วยความน้อยใจไลต่ งจิ้นวางแผนฆ่าทกุ คนในครอบครัวและฆา่ ตวั เองดว้ ยยาฆ่าแมลง แตแ่ ลว้ มีส่งิ หนง่ึ ท�ำ ใหเ้ ขาเปล่ียนความคิด แม้จะมีข้อจำ�กัดมากมายในชีวิต ไล่ตงจ้ินไม่เคยหมดกำ�ลังใจท่ีจะต่อสู้ การต่อสู้คร้ังสำ�คัญคือ การเอาชนะใจครอบครวั หญิงสาวท่ีเขารัก ทกุ วนั นี้ไล่ตงจ้นิ มคี รอบครวั ทีอ่ บอุ่น มลี ูกชายลูกสาว เขาดแู ล แมแ่ ละน้องชายปัญญาอ่อนเปน็ อย่างดี ที่มา: เสาวลักษณ์ พัวพัฒนกลุ . (2550). หนงั สือดีทน่ี ่าอ่าน ไล่ตงจิ้น ลกู ขอทาน ผู้ไม่ยอมแพต้ อ่ ชะตาชีวิต https://www.gotoknow.org/posts/59225. หมายเหตุ: ทา่ นสามารถหาอ่านนทิ าน ฉบับการ์ตูนไดท้ ่ี สำ�นักพิมพ์ซีเอ็ด 40 โปรแกรมการพฒั นาทักษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพ่ือปอ้ งกันพฤติกรรมการรงั แกกนั (bullying) ในเดก็ ประถมศึกษาที่ 1-3

ใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอื่ ง เจอแบบน.ี้ .ท�ำ ไงดี โปรแกรมการพัฒนาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) 41 เพ่อื ปอ้ งกันพฤตกิ รรมการรังแกกนั (bullying) ในเด็กประถมศึกษาที่ 1-3

ใบกิจกรรมที่ 2 เร่อื ง การจดั การเม่อื ถูกรงั แก 42 โปรแกรมการพฒั นาทกั ษะการควบคุมตนเอง (self-control) เพ่อื ปอ้ งกนั พฤติกรรมการรงั แกกัน (bullying) ในเดก็ ประถมศกึ ษาท่ี 1-3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook