Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัย

รายงานการวิจัย

Published by weerawan.kam, 2022-08-07 03:15:44

Description: รายงานการวิจัย

Keywords: Gam

Search

Read the Text Version

การสร้างแบบฝกึ ทักษะเพอื่ ส่งเสริมการอ่านคา้ ควบกล้า สา้ หรบั นกั เรยี นชันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ของ วีรวรรณ โตช้ าลี รหสั นักศึกษา 60810101006 เสนอต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด เพือ่ เปน็ สว่ นหนึง่ ของการศึกษาตามหลกั สตู ร ครุศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย กมุ ภาพันธ์ 2565



คณะกรรมการควบคมุ และคณะกรรมการสอบ ไดพ้ ิจารณาวิจัยของ นายสาววีรวรรณ โต้ชาลี แลว้ เห็นสมควรรับเปน็ ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสตู รครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย ของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ร้อยเอ็ด ................................................................................ ที่ปรึกษาวิจัย (อาจารย์เชอร์ร่ี เกษมสุขสาราญ) มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอด็ อนมุ ัติใหร้ ับวิจยั ฉบับน้ี เปน็ ส่วนหนึง่ ของการศกึ ษา ตามหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ร้อยเอ็ด

ก ชอ่ื เรอ่ื งงานวิจัย การสรา้ งแบบฝกึ ทกั ษะเพอื่ สง่ เสรมิ การอ่านคาควบกล้า สาหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ชอ่ื นักศกึ ษา นางสาววีรวรรณ โต้ชาลี ปรญิ ญา ครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ า ภาษาไทย อาจารย์ท่ปี รกึ ษา อาจารยเ์ ชอรร์ ่ี เกษมสขุ สาราญ ปกี ารศึกษา 2564 บทคดั ย่อ การสร้างแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการอ่านคาควบกล้า สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีวตั ถุประสงค์ 4 ประการ ได้แก่ 1.เพอ่ื สร้างแบบฝึกทกั ษะเพอ่ื ส่งเสริมการอา่ นคาควบกลา้ สาหรับนักเรยี นช้ัน มัธยมศึกษาปที ี่ 1 2. เพ่ือหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสรมิ การอ่านคาควบกลา้ สาหรบั นักเรียน ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 3. เพื่อหาดัชนปี ระสทิ ธิผลของงแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการอา่ นคาควบกล้า สาหรับ นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 4. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนทีม่ ีต่อแบบฝึกทักษะเพ่ือส่งเสริมการอ่าน คาควบกล้าสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตัวอย่างเป็นนักเรียนจานวน 10 คน ได้มาโดยวิธีการเลือก แบบเจาะจง (Purposive Sampling) เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสรมิ การอ่านคาควบ กล้า สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 2. แบบประเมินคุณภาพแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการอ่านคาควบ กล้า สาหรับผู้เชีย่ วชาญ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ เร่อื ง คาควบกล้า 20 ข้อ 4. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ในการใช้แบบฝึกทักษะเพอื่ ส่งเสริมการอ่านคาควบกล้า สาหรับนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าประสิทธิภาพ ค่าดัชนีประสิทธิผล ดัชนีความ สอดคลอ้ ง ผลการวิจัยพบวา่ 1. การสร้างแบบฝึกทักษะเพ่ือส่งเสริมการอ่านคาควบกล้า สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ปรากฏว่าแบบฝึกทกั ษะมปี ระสทิ ธภิ าพ E1 / E2 เท่ากับ 84/85 2. ดัชนปี ระสทิ ธิผลของแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการอ่านคาควบกล้า สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษา ปที ี่ 1 มีค่าเทา่ กับ 0.5 แสดงว่านักเรียนท่ีเรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบฝึกทักษะเพอ่ื ส่งเสริมการ อ่านคาควบกล้า สาหรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 มีความก้าวหน้าในการเรยี นคดิ เปน็ รอ้ ยละ 50 3. ความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อแบบฝึกทักษะเพือ่ ส่งเสริมการอ่านคาควบกล้า สาหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่สี ุด (x̅ =4.71, SD =0.30) คา้ สา้ คัญ: แบบฝกึ ทักษะ, การอา่ น, คาควบกล้า, ภาษาไทย

ข Abstract: Creating a skill exercise to encourage reading diphthongs. For Grade 1 students, there are four objectives: 1. To create a skill exercise to promote reading diphthongs. For students in Grade 1 2. To find the effectiveness of the skill exercises to promote reading diphthongs. For students in Mathayom 1 3. To find the index of effectiveness of the skill exercises for promoting diphthong reading. For Mathayomsuksa 1 students 4. To study the satisfaction of learners with the skill exercises to promote reading of diphthongs for Mathayom Suksa 1 students, the sample consisted of 10 students was obtained by using the method of selecting a diphthong. Specific (Purposive Sampling) Research tools 1. Skills exercises to promote reading diphthongs. For Mathayom Suksa 1 students 2. A quality assessment form for practicing skills to promote reading diphthongs. For experts 3. An achievement test on the subject of 20 diphthongs 4. A satisfaction assessment form for using the skill exercises to promote reading of diphthongs. For Grade 1 students, the statistics used in the data analysis were mean, standard deviation. Efficiency Effectiveness Index Conformity Index The research results were as follows: 1. Creating a skill exercise to promote reading diphthongs For Mathayomsuksa 1 students, the efficiency of the skill exercises E1 / E2 เท่ากับ 84/85. 2. Index of the effectiveness of skill exercises for promoting reading diphthongs For Grade 1 students, the value was 0.5, indicating that students who had learned through skill- based learning activities to promote reading diphthongs For Grade 1 students, they have a 50% progression in their studies. 3. Student satisfaction towards the skill exercises to promote reading diphthongs For Grade 1 students, the overall level was at the highest level (x̅ =4.71, SD =0.30). Keywords: Exercises, pronunciation, Diphthong words, Thai language

ค ประกาศคุณูประการ การวิจัยคร้ังน้ีสาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรณุ าจากผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์เชอร์ร่ี เกษมสุขสาราญ ที่ปรึกษาวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ท่ีกรุณาให้คาปรึกษา ช้ีแนะ ให้ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ตรวจแก้ไข ข้อบกพร่องในงานวิจัย เพื่อให้งานวิจัยครั้งน้ีเสร็จสมบูรณ์ ตลอดจนให้กาลังใจแก่ผู้วิจัยตลอดมา ผู้วิจัยรู้สึก ซาบซงึ้ ใจในความเมตตากรุณา เอาใจใส่ เอน็ ดอู ยา่ งดยี ิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณ คุณครูสุนทร ชนะมาตย์ คุณครูสิรจิตร พลคีรี คุณครูดวงอุไร สระเพ็ชร และท่าน รองผู้อานวยการกิตติภพ โพนเงิน โรงเรียนนาไคร้พิทยาสรรพ์ ที่ให้ความอนุเคราะห์เป็นผู้เช่ียวชาญในการ ตรวจสอบและใหค้ าแนะนาแก้ไขเครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการวจิ ยั ใหม้ ีคุณภาพ ขอขอบพระคุณ คณาจารย์สาขาวิชาภาษาไทย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏร้อยเอด็ อาจารย์เมตตา ฟองฤทธ์ิ อาจารย์สันติ ทพิ นา อาจารย์หน่ึงฤทัย มว่ งเยน็ อาจารย์อนนั ตศักด์ิ พลแกว้ เกษ อาจารยอ์ ุไรวรรณ สงิ ห์ทอง อาจารย์ชาญยุทธ สอนจันทร์ และอาจารย์ชมบุญ สุทธิปัญโญ ท่ีให้ความรู้เก่ียวกับขั้นตอนการทาวิจัย และใหค้ าแนะนาท่ีดีเพ่อื ใช้เปน็ แนวทางในการทาวจิ ยั คร้งั นจ้ี นประสบความสาเรจ็ ด้วยดี ขอขอบพระคุณผู้อานวยการ บุคลากร และนักเรียนโรงเรียนนาไคร้พิทยาสรรพ์ ในเขตอาเภอ กฉุ นิ ารายณ์ จงั หวดั กาฬสินธุ์ ทกุ คนทใี่ ห้ความร่วมมือเปน็ อย่างดใี นการเกบ็ รวบรวมข้อมูลในการวิจัยครัง้ นี้ ขอขอบคุณรุ่นพี่และเพ่ือนร่วมรุ่นในสาขาวิชาภาษาไทยท่ีคอยให้คาแนะนา คาปรึกษา และให้ความ ช่วยเหลอื พรอ้ มท้งั ให้กาลังใจท่ดี ี ทาให้การวจิ ยั ครัง้ นสี้ าเร็จลลุ ว่ งไดด้ ้วยดี สุดท้ายน้ีที่สาคัญท่ีสุด ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณบุพการีผู้มีพระคุณยิ่งใหญ่ท่ีคอยสนับสนุน และให้ ความรว่ มมอื ในทกุ เรื่องท่ีเก่ยี วกับการทาวิจยั รวมทัง้ คอยใหก้ าลังใจและใหค้ าปรึกษาแกผ่ ูว้ จิ ยั เสมอมา ผู้วจิ ัย

สารบัญ ง บทที่ หน้า บทคัดย่อ ก Abstract ข ประกาศคุณูประการ ค สารบญั ง 1 1 บทนา 1 ความสาคญั ของปัญหา 6 วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั 6 สมมุตฐิ านของการวิจยั 7 ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รบั 7 ขอบเขตของการวิจัย 8 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 9 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง 9 หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย 19 พทุ ธศักราช 2551 30 แบบฝึกทกั ษะ 42 คาควบกล้า 44 การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 46 ดัชนปี ระสทิ ธิผล (E.I.) 48 ความพงึ พอใจ 56 งานวจิ ัยท่ีเกีย่ วข้อง 56 57 3 วธิ ดี าเนินการวจิ ยั 57 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 63 เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั 65 วิธีการสรา้ งเครือ่ งมอื และตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมือ 69 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 73 การวิเคราะหข์ อ้ มลู 73 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ สรปุ ผลการวิจัย

จ อภิปรายผล 73 ขอ้ เสนอแนะ 76 บรรณานกุ รม 78 ภาคผนวก 83 ภาคผนวก ก แบบประเมนิ ความเหมาะความสมสาหรบั ผเู้ ชยี่ วชาญตอ่ แบบฝกึ ทักษะ 84 ภาคผนวก ข แบบประเมินคณุ ภาพแบบทดสอบผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น 87 ภาคผนวก ค แบบประเมินความพึงพอใจต่อแบบฝกึ ทกั ษะเพอ่ื ส่งเสรมิ การอา่ นคาควบกลา้ สาหรับนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 94 ภาคผนวก ง นวตั กรรมการศกึ ษา (แบบฝึกทักษะ) 97 ประวตั ยิ อ่ ของผวู้ ิจยั 123

1 บทที่ 1 บทน้า ความส้าคญั ของปัญหา ภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติท่ีมีความสาคัญต่อคนไทย เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ เป็น สมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้ มีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน คนไทยทุก คนต้องใช้ภาษาเป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสอื่ สาร เพื่อถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และความรู้สึก ใหผ้ ูอ้ ่นื สามารถรบั รูไ้ ดถ้ กู ต้องตรงตรงตามความตอ้ งการทจ่ี ะถ่ายทอดออกมา ฉะนน้ั ผทู้ ม่ี ีความสามารถ ในการใช้ภาษาไทยได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ จะได้เปรียบและเป็นท่ียอมรับของบคุ คลท่ัวไป ภาษาไทย ถือว่าเป็นมรดกของชาวไทยที่สั่งสมมาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงเอกลักษณข์ องชาติ ไทย คนไทยในฐานะเจ้าของภาษาจึงควรศึกษาหลักการใช้ภาษาที่ถูกต้อง ตั้งแต่การพูด การอ่าน การเขียนที่ถูกต้องตามอักขระ และรักษาภาษาไทยอันทรงคุณค่า ตระหนักในคุณค่าทางภาษาให้สม เป็นมรดกทางวฒั นธรรมอนั ทรงคุณคา่ ไม่ใช้ในทางที่ผิด โดยเฉพาะการอา่ นออกเสียงในภาษาไทยท่ไี ม่ ถกู ต้อง การใช้คาในประโยคไมถ่ ูกต้องตามหลกั ภาษา พดู ไม่ชัดเลียน แบบส่อื โดยไม่คานงึ ถึงอกั ขรวิธี ท่ีถูกต้องตามหลักภาษา ดังท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตรแก่นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2512 “ในปัจจุบันนี้ปรากฏว่า ไดม้ กี ารใช้คาออกจะฟ่มุ เฟือย และไม่ตรงกบั ความหมายอันแท้จริงอยู่เนือง ๆ ท้ังออกเสยี งกไ็ มถ่ ูกตอ้ ง ตามอักขรวิธี ถ้าปล่อยให้เป็นไปดังน้ี ภาษาของเราก็มีแต่จะทรุดโทรม ชาติไทยเรามีภาษาของเราใช้ เองเปน็ สง่ิ อนั ประเสรฐิ อยูแ่ ลว้ เปน็ มรดกอนั มีค่าตกทอดมาถึงเราทกุ คน จงึ มหี น้าท่จี ะตอ้ งรกั ษาไว้...\" หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไดก้ าหนดสาระ คอื การอ่าน การเขยี น การฟงั การดู และการพดู หลักการใชภ้ าษาไทย และวรรณคดี และวรรณกรรม สาระท่ี 4 คอื หลักการใช้ภาษา เป็นสาระหนึ่งท่ีมีบทบาทสาคญั ที่จะสามารถส่งเสริม และพัฒนาผู้เรียนให้ไปถึงคุณภาพของผู้เรียนตามเป้าหมายของกลุ่มสาระท่ีได้กาหนดไว้ เพราะหลัก ภาษาเป็นสาระการเรียนที่เก่ียวข้องกับองค์ความรู้ และการวิเคราะห์ ผู้เรียนต้องเรียนรู้ให้เกิดความ แตกฉาน เพือ่ ท่ีจะสามารถนาไปใช้ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

2 พระยาอุปกิตศิลปะสาร (2533: 1) ได้ให้ความหมายของหลักภาษาไทยว่าเป็นระเบียบแบบ แผนของภาษาท่ีคนเราใช้พูดจากัน และฐะปะนีย์ นาครทรรพ (2545: 5) อธิบายว่าหลักภาษาไทยมี ความจาเป็นอยา่ งยิ่ง หากขาดหลักภาษาไทยเสียแล้ว ก็เท่ากับขาดบรรทัดฐานของภาษา จะเป็นเหตุ ให้มีการใช้ภาษาอย่างบกพร่องผิดพลาด และไขว้เขว นานไปก็จะทาให้ภาษาเสื่อมสลายไปได้ ดังน้ัน หลักภาษาไทยจึงมีความสาคัญทั้งการฟัง การพูด การเขียน รวมถึงการอ่าน โดยเฉพาะการอ่าน ถือ เป็นทักษะพื้นฐานท่สี ง่ เสริมทกั ษะทกุ ๆ ดา้ น การอ่านเป็นทักษะหรือเครื่องมือในการเรียนรู้ท้ังครูอาจารย์ และนิสิตนักศึกษาตลอดจน นักเรียนจะต้องอ่านเพื่อสะสมความรู้ นกั เรยี นทฉี่ ลาดและเรยี นเก่งมักเป็นผู้อ่านเก่งเสมอ จึงถือได้ว่า การอา่ นเป็นทักษะท่สี าคัญที่สุดของผู้เรียนตัง้ แตร่ ะดับประถมศึกษาไปจนตลอดชีวติ และจาเป็นอยา่ ง ย่ิงท่ีครู ผู้ปกครอง และผู้เก่ียวข้องควรให้ความสาคัญต่อการอ่านอย่างแท้จริง โดยเฉพาะครูผู้สอน จะต้องจัดเนื้อหาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับการดารงชีวิต เหมาะสมกับความสามารถ และความ สนใจของผู้เรยี น สอนให้นกั เรียนได้แสวงหาความรู้ และได้ลงมือปฏิบัตจิ ริงทุกขั้นตอน เดก็ จะเกิดการ เรยี นรู้เอง ครูควรใชว้ ิธีสอน ท่แี ก้ปัญหากระบวนการ การทางาน และฝึกทักษะ กระบวนการต่าง ๆ ที่ จะสรา้ งนิสัยให้นักเรียนรู้จักการนาข้อมูลมาคิดวิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบ การสรา้ งทางเลือก ประเมินผล จนจาขอ้ มูลและเกิดความเข้าใจ (กรมวชิ าการ 2546 ก: 10) เพราะฉะนั้นจงึ ควรจัดกิจกรรมการเรียน การสอนวิชาภาษาไทยในโรงเรียนให้มีประสทิ ธิภาพมากขึน้ โดยเน้นการอ่านให้แก่ผู้เรียน เพราะการ อ่านส่งผลต่อนักเรียนหลายประการคือ ช่วยพัฒนาการพูด ถ้าอ่านมากอ่านเป็น จะสามารถเข้าใจใน เนื้อหาสาระของเร่ืองที่อ่านได้อย่างดี นอกจากนั้น การอ่านยังช่วยสร้างความสาเ ร็จ ความ เจรญิ ก้าวหน้าอย่างรวดเรว็ และรุง่ เรืองกวา่ ผูท้ ี่ไม่มนี ิสัยรกั การอ่าน (สนิท ตง้ั ทวี 2538: 3) จากความสาคัญของการอา่ นดงั ท่ีกล่าวมา ผู้วิจัยได้ทาการศึกษา สภาพการอ่านของนักเรียน และการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านในโรงเรียน ผลปรากฏวา่ นักเรียนมัธยมศึกษามีปัญหาท่ีสาคัญใน การอา่ นภาษาไทย คอื การออกเสยี งไม่ชัดเจน จากการวจิ ยั ของนกั วจิ ัยหลายท่านพบว่า การออกเสยี ง ร ล และเสยี งควบกล้า เปน็ ปัญหาน่าวิตก บุญเหลอื เทพยสวุ รรณ (2518: 2) กล่าวว่า “สิง่ ที่น่าห่วงใย ท่สี ุดคือ การที่ภาษาไทย กาลังสญู เสียพยัญชนะเสยี งหน่ึงไปจากภาษา คือเสยี ง ร ถ้าสังเกตคนท่ีอายุ 30 ลงมา มีน้อยคนที่จะใช้เสียง ร เป็นเสียงท่ีมีใช้ตามปกติเวลาพูด จะใช้เมื่อระมัดระวังเป็นพิเศษ” ปัญหาในการอ่านออกเสียงคาควบกล้าเกิดข้ึนกับผู้ใช้ภาษาทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นนักเรียน นักศึกษา ตลอดจนข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ สาเหตุที่ผู้ใช้ภาษาไมอ่ อกเสียงคาควบกล้าเป็นเพราะการออกเสียงยาก

3 กว่า ออกเสียงไม่มีตัวควบ และไม่ได้รับการฝึกฝนให้ออกเสียงได้ถูกต้อง (สุดารัตน์ เอกวาณิช 2520: 4) กล่าวสอดคล้องกับ พรรณธิภา อ่อนแสง (2532: 3) ว่า ในปัจจุบันสังเกตได้ว่าการออกเสียง ร ล และพยัญชนะควบกล้า ในสื่อมวลชนต่าง ๆ มีความบกพร่องในทางออกเสียง อาจเน่ืองมาจาก ขาด การสานึกในการใช้ภาษาไทย ขาดความระมัดระวังในการออกเสียง และออกเสียงตามสมัยนิยม ส่ือมวลชนเหล่านี้ มีความใกล้ชิดกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา จึงมีอิทธิพลต่อภาษาพูดของเด็ก การ ออกเสียงคาควบกล้าผิดพลาดเป็นประจาทาให้เกิดความเสียหายกับภาษาประจาชาติ และสื่อ ความหมายไม่ตรงกบั ความเข้าใจของผู้พดู การใช้ภาษาไทยน้นั สง่ิ ทีเ่ ป็นรากฐานสาคัญท่ีจะทาให้การใช้ภาษาสมบูรณ์กค็ ือ เสียง การใช้ ภาษาเพ่ือการส่อื สารจงึ ต้องศกึ ษาเร่ืองเสยี งในภาษาไทยเป็นเรื่องแรก ได้แก่ เสียงพยัญชนะ เสยี งสระ และเสียงวรรณยุกต์ เพราะเสียงในภาษาไทยเป็นพ้ืนฐานในการใช้ภาษา หากไม่สามารถออกเสียงใน ภาษาได้ถูกต้องแล้ว จะส่งผลต่อการใช้คา ประโยค จนถึงการใช้ภาษาในการส่ือสารเร่ืองต่าง ๆ ไม่ สมั ฤทธผ์ิ ล โดยเฉพาะเรอื่ งคาควบกลา้ หากออกเสยี งไม่ถูกต้องแล้วจะทาให้ส่ือความหมายผิดได้ เรือ่ ง เสียงในภาษาไทยจึงเป็นองค์ความรู้เร่อื งหลักภาษาท่ีผเู้ รยี นจะตอ้ งมีความรู้ความเข้าใจในเสียงเหล่าน้ี เพ่ือประโยชนใ์ นออกเสียงคา การผูกถ้อยคา หรือผูกประโยคในการสื่อสาร แตก่ ารเรียนการสอนวิชา ภาษาไทยโดยเฉพาะอย่างย่ิงเกี่ยวกับเรื่องเสียงในภาษาไทย ไม่ประสบผลสาเร็จเท่าที่ควรเพราะมี ปัญหาหลายด้าน ทั้งที่เก่ียวกับตัวครู นักเรียน และปัญหาเก่ียวกับส่ือการเรียนการสอน ซ่ึงนักเรียน ส่วนใหญ่เห็นว่าน่าเบื่อ และไม่ชอบเรียน ท้งั ๆ ท่ีเป็นเรอ่ื งท่มี ีความสาคัญต่อพื้นฐานการใช้ภาษาไทย และการศกึ ษาของนักเรยี น ปัญหาการใชภ้ าษาไทยเปน็ ปัญหาทเี่ กิดมานาน และเปล่ียนแปลงไปตามสถานการณใ์ นแต่ละ ยคุ แต่ละสมัย ปัญหาการเรียนการสอนและการใชภ้ าษาไทยด้านปัจจัยภายนอก เช่น ส่ือมวลชน สื่อ อนิ เตอรเ์ นต็ โรงเรียน ครอบครวั และบุคคลสาธารณะ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพล สง่ ผลถึงการใชภ้ าษาไทย ในปัจจุบัน เนื่องจากภาษาสามารถเปล่ียนแปลงไปได้ตามยุคตามสมัย จะเห็นว่าคนรุ่นใหม่ใช้ภาษา อย่างไม่ระมัดระวัง ผิดหลักไวยากรณ์การใช้ภาษาอย่างมักง่าย การตัดคาตามสะดวก ใช้คาผิดหน้าท่ี และออกเสียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ผิด ส่งผลถึงการออกเสียงคาต่าง ๆ ผิด เช่น คาควบกล้า ซง่ึ ทาให้การสือ่ ความหมายผิดได้ ผูว้ ิจยั ได้เห็นปัญหาของการออกเสียงคาควบกล้าผิดของนักเรียน โดยเฉพาะการออกเสียงคา ควบกล้า ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 สาเหตุทที่ าให้เกิดปัญหาดังกล่าวมีหลายประการ เช่น

4 ปัญหาเกดิ จากตวั นักเรียนไม่อยากเรียน การไมเ่ หน็ ความสาคญั ของการใช้คาควบกลา้ การจดั กจิ กรรม การเรียนรู้ของครูผู้สอน ส่ือการเรียนการสอน ครอบครัวชุมชนท่ีพดู ภาษาอื่น พูดภาษไทยไม่ชัด พูด ภาษาถิ่นของตน สื่อตา่ ง ๆ เช่น สื่อโซเชยี ลมเี ดีย โทรทัศน์ วิทยุ ใช้ภาษาท่ผี ิด ออกเสยี งคาควบกลา้ ไม่ ถกู ตอ้ ง เมื่อนักเรยี นเกิดปญั หาการออกเสยี งคาควบกลา้ ผิดยอ่ มส่งผลให้การสอ่ื สารไมส่ ัมฤทธผิ์ ล หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ อง ชาติ เมือ่ พจิ ารณาตามมาตรฐาน ท 4.1 เน้ือหาของหลกั ภาษาไทยมีหลากหลายเนอ้ื หา ซึ่งแตล่ ะเนือ้ หา จะสอดคล้องกับระดับช่วงชั้น ตามตัวช้ีวัดที่ได้กาหนดไว้ และแต่ละระดับช่วงชั้นนั้น ๆ แม้ว่าจะมี เนอ้ื หาเปน็ เรื่องเดียวกัน แตจ่ ะเรียนในระดับงา่ ยไปหายาก นักเรียนบางส่วนอาจคิดว่าเป็นเรือ่ งเดิม ๆ เนื้อหาหลักภาษาไทยบางเร่ืองเปน็ เน้ือหาทีต่ ้องทาความเข้าใจและใชเ้ วลาในการศึกษาทาความเข้าใจ จึงเกดิ การเบื่อหนา่ ยไม่อยากเรียนรู้ แตแ่ ทท้ ่ีจริงแล้วหลักภาษาไทยเป็นเน้ือหาทเี่ ม่ือทาความเข้าใจแล้ว จะเป็นหลักในการใช้ภาษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และหลักภาษาเป็นสาระที่ต้องผ่านการเรียนแบบ ซา้ ๆ โดยเฉพาะเรื่องเสียงในภาษาไทยทเี่ ป็นพืน้ ฐานสาคัญทจี่ ะทาใหก้ ารใชภ้ าษาสมบรู ณ์ สาระที่ต้อง ผา่ นการเรียนแบบซา้ ๆ ซึ่งสอดคล้องกบั ทฤษฎีหลกั จิตวิทยาของ ธอร์นไดค์ เร่ืองกฎแหง่ การฝึกหัด มี ใจความว่า “สงิ่ ท่ีผู้เรียนทาบ่อย ๆ ซ้า ๆ กันหลายครงั้ จนเกิดความชานาญ ผเู้ รยี นจะทาส่ิงน้ันไดด้ ี แต่ สิ่งทน่ี าน ๆ ทาครงั้ จะทาได้ไม่ดี” การปรับทัศนคติของนักเรียน ให้หันมาสนใจในการศึกษาเร่ืองคาควบกล้า เพ่ือให้นักเรียน สามารถออกเสียงไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักภาษา และมีประสิทธิภาพในการสอื่ สาร ตอ้ งมีปัจจัยหลายอย่าง ท้งั ดา้ นตัวนักเรียน สอื่ การสอน และวธิ กี ารจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนเองด้วย ปัญหาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยในปัจจุบนั เปน็ อีกปัญหาหนึ่ง คือ ครูยังยดึ รปู แบบการ สอนเดมิ ๆ ครูเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ บรรยายตามหนังสือเปน็ หลัก นักเรียนมีหนา้ ทท่ี ่องจาส่ิงที่ครู สอนและจดบันทึกไปพร้อมกับที่ครูบรรยายหน้าห้อง ซ่ึงอาจเป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนท่ี กระตุ้นความสนใจไมเ่ พียงพอสาหรับผู้เรียนในยคุ ปัจจุบนั ไม่คานึงถงึ ความแตกตา่ งด้านการเรียนรขู้ อง ผเู้ รยี น จึงทาใหน้ ักเรียนเกดิ ความเบ่ือหน่าย ไมส่ นใจเรยี นเนื้อหาท่ีครูป้อนให้ จงึ อาจเป็นสว่ นหน่งึ ทท่ี า ให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนลดลง ดังน้ัน ครูจึงต้องพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน โดย

5 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบันมาช่วยเพ่ือให้ตอบสนองความสนใจและความต้องการของ นกั เรียน (สดุ าพร ลกั ษณยี นาวนิ . 2553: 9) ส่อื การเรียนการสอนเป็นส่วนประกอบหน่ึงในรูปแบบการจดั การเรียนการสอน สื่อการสอน อาจทาให้นกั เรียนเกดิ ความเบื่อหน่าย ไม่สนใจเรียนเนื้อหาที่ครูป้อนให้ หรือตรงกันข้ามนักเรยี นกลับ สนใจในสือ่ การเรียนการสอนที่ครูนามาใช้จัดการเรียนการสอน สื่อการเรยี นการสอนนั้นมีหลากหลาย รูปแบบ เช่น ส่ือวัสดุ ได้แก่ สไลด์ แผ่นใส เอกสาร ตารา สารเคมี สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และคู่มือการฝึก ปฏิบตั ิ สื่ออุปกรณ์ ไดแ้ ก่ ของจรงิ หุน่ จาลอง เครอื่ งเลน่ เทปเสียง เคร่ืองเลน่ วดี ิทศั น์ เครื่องฉายแผ่นใส อุปกรณ์และเครอ่ื งมือในห้องปฏิบตั ิการ สอ่ื เทคนคิ หรือวิธีการ ได้แก่การสาธิต การอภปิ รายกลุ่ม อออ การฝึกปฏิบัติการฝึกงาน การจัดนิทรรศการ และสถานการณ์จาลอง ส่ือคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การนาเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer presentation) การใช้ Intranet และ Internet เพ่ือการส่ือสาร (Electronic mail: E-mail) และการใช้ WWW (World Wide Web) อน่ึง การแก้ไขปญั หาการออกเสียงคาควบกล้าให้ชัดเจนและถูกต้องท่ีสามารถกระทาได้โดย การฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ ซ่ึงครูผู้สอนจะเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการช่วยเหลือนักเรียน ฉะน้ันการ ฝกึ หัดให้ นักเรียนออกเสียงคาควบกล้าอยู่เสมอนั้นจะทาให้นักเรียนเกดิ ความชานาญและใช้ภาษาได้ อยา่ งถูกต้อง ในการฝึกทักษะจาเปน็ ต้องอาศัยแบบฝกึ หัดเพื่อทบทวนความเข้าใจและฝึกในเร่อื งที่ได้เรียน ไปแล้ว ครูส่วนมากจะใช้แบบฝึกหัดที่มีอยู่ในหนังสือแบบเรียนให้นักเรียนฝึกหัดหลังการเรียน ดังที่ สายสนุ ีย์ สกุลแก้ว (2534: 31) กล่าวว่าหนังสือแบบเรียนบางเล่มมีแบบฝึกหัดเพียงเล็กน้อยหรือไม่มี เลย ดังนนั้ จงึ เป็นหน้าที่ของครูโดยตรงที่จะสร้างแบบฝึกหัดให้เหมาะสมกับเรื่องทีส่ อนเพื่อใหน้ ักเรยี น เกิดทักษะ และเข้าใจมากข้ึน ครูจะต้องเลือกให้เหมาะสมกับเรื่องที่สอนเพื่อให้แบบฝึกหัดนั้น มี ประสิทธภิ าพสงู และเหมาะสมกับนักเรียนมากทีส่ ุด การใชแ้ บบฝึกทักษะประกอบในการเรียนการสอนนั้นมีความสาคญั หลายประการ เช่น ทาให้ นักเรียนเข้าใจบทเรียนไดด้ ีขนึ้ เพราะแบบฝึกทกั ษะจะเป็นเคร่ืองมือทบทวนความรูท้ ่ีนกั เรียนได้เรียน และทาให้เกิดความชานาญคล่องแคล่วในเนื้อหาวิชาเหล่าน้ันยง่ิ ข้นึ อกี ประการหน่งึ คอื ทาให้ครูทราบ ความเข้าใจของนกั เรียน ที่มีตอ่ บทเรียน ซ่ึงจะช่วยให้ครูสามารถปรับปรุงเนอ้ื หา วธิ ีสอนและกิจกรรม ตลอดจนสามารถชว่ ยนักเรียน ได้ดีท่ีสุดตามความสามารถ และนอกจากน้ีการใชแ้ บบฝกึ ทักษะยังทา

6 ใหน้ ักเรียนมคี วามเช่ือมั่น โดยสามารถทางานได้ตามลาพัง มคี วามรับผดิ ชอบในงานทไี่ ด้รับมอบหมาย และสามารถประเมินผลงานตนเองได้ จากปัญหาการออกเสียงคาควบกล้า ผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะสร้างแบบฝึกทักษะการอ่าน คาควบกล้าเพ่ือส่งเสริมการอ่านคาควบกล้า มาใช้สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนาไครพ้ ิทยาสรรพ์ อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธ์ุ เพ่อื สรา้ งความก้าวหน้า และพฒั นา ส่ือ เทคนิควิธีการสอนให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่ได้กาหนด แนวทางการจัด การเรยี นการสอนโดยให้ถือว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนร้แู ละพัฒนาตนเอง ได้ และผู้เรียนต้องมีความสาคัญทีส่ ุด กระบวนการเรียนการสอนต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ความรู้ตามธรรมชาติและเตม็ ศกั ยภาพสภาพสังคมปัจจุบัน วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย 1. เพอื่ สรา้ งแบบฝกึ ทกั ษะเพอ่ื สง่ เสรมิ การอ่านคาควบกล้า สาหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะเพ่ือส่งเสริมการอ่านคาควบกล้า สาหรับนักเรียนชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 3. เพอ่ื หาดัชนปี ระสทิ ธผิ ลของงแบบฝึกทกั ษะเพ่ือสง่ เสริมการอ่านคาควบกล้า สาหรับนักเรยี น ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 4. เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของผเู้ รียนที่มตี อ่ แบบฝกึ ทักษะเพื่อส่งเสริมการอา่ นคาควบกลา้ สาหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 สมมตุ ฐิ านของการวจิ ยั 1. แบบฝึกทักษะเพ่ือส่งเสริมการอ่านคาควบกล้า สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ท่ีเรยี นดว้ ยแบบฝกึ ทกั ษะเพอื่ สง่ เสรมิ การอ่านคาควบกลา้ สาหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 มีพฒั นาการทสี่ งู ขน้ึ 3. นกั เรียนมคี วามพึงพอใจตอ่ แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสรมิ การอ่านคาควบกล้า สาหรับนักเรยี น ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ที่ผูว้ ิจยั สร้างข้นึ อยูใ่ นระดับดี

7 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ บั 1. ได้แบบฝึกทักษะเพ่ือส่งเสริมการอา่ นคาควบกล้า สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. ได้ทราบพัฒนาการของนักเรียนที่ได้ฝึกทักษะการอ่านคาควบกล้าด้วยแบบฝึกทักษะเพ่ือ สง่ เสริมการอา่ นคาควบกล้า สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 3. ได้ทราบความพึงพอใจของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีไดฝ้ ึกทกั ษะการอา่ นคาควบกล้า จากแบบฝึกทกั ษะเพอื่ สง่ เสริมการอา่ นคาควบกลา้ สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ขอบเขตของการวจิ ยั การวิจัยในครงั้ น้ี ผวู้ จิ ัยกาหนดขอบเขตการวจิ ยั ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร ประชากรทใี่ ช้ในการวจิ ยั ได้แก่ นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนนาไคร้พิทยาสรรพ์ จังหวัดกาฬสินธ์ุ สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 24 จานวน 2 ห้องเรียน รวมนักเรียนท้ังหมด 39 คน ซึ่งจัดห้องเรียนโดยคละ ความสามารถของนักเรยี น 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 จานวน 5 คน นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 จานวน 5 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนนาไคร้พิทยาสรรพ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ รวมนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง จานวน 10 คน ไดม้ าโดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 2. ตัวแปรทีศ่ ึกษา ตวั แปรทีส่ นใจศึกษาได้แก่ 1) ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะเพ่ือส่งเสรมิ การอ่านคาควบกลา้ สาหรับนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 2) ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝกึ ทักษะเพ่ือส่งเสริมการอ่านคาควบกล้า สาหรับนักเรียน ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 3) ความพึงพอใจของแบบฝกึ ทกั ษะเพอื่ ส่งเสริมการอา่ นคาควบกล้า สาหรบั นกั เรยี นช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1

8 3. เนื้อหาการวจิ ยั เน้ือหาท่ีใชใ้ นการสรา้ ง ได้แก่ คาควบกลา้ แท้ คาควบกล้าไมแ่ ท้ 4. ระยะเวลาท่ีศกึ ษา การวิจัยครงั้ นี้ มขี อบเขตระยะเวลาในการวิจัย ในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ต้ังแต่เดอื น ธนั วาคม ถงึ เดือนกุมภาพนั ธ์ รวมทัง้ สน้ิ 3 เดอื น นิยามศพั ท์เฉพาะ 1. แบบฝึกทักษะ หมายถึง กิจกรรมท่ีผู้สอนให้ผู้เรียนทา เพ่ือให้นักเรียนได้ทากิจกรรมท่ีเป็น การทบทวนหรือเสรมิ เพม่ิ เติมความร้ใู หแ้ ก่นกั เรยี น และนักเรยี นไดฝ้ ึกปฏิบัตดิ ว้ ยตนเองให้ บรรลุ วัตถปุ ระสงคท์ ผี่ สู้ อนตัง้ ไว้ 2. คาควบกล้า (อักษรควบ) หมายถึง พยญั ชนะสองตัวเขียนเรียงกนั อยู่ต้นพยางค์ และใช้สระ เดียวกัน เวลาอา่ นออกเสียงกล้าเป็นพยางคเ์ ดียวกัน เสียงวรรณยุกต์ของพยางค์นั้นจะผันเป็นไปตาม เสยี งพยญั ชนะตัวหนา้ ซ่งึ คาควบกลา้ (อักษรควบ) นนั้ มี 2 ชนดิ คอื อักษรควบแท้ และอกั ษรควบไม่แท้ 3. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการอ่านคาควบกล้า สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที ่ี 1 หมายถงึ คะแนนจากการทากิจกรรมระหว่างเรยี นและผลลัพธ์สุดทา้ ยของการเรียน โดยใชเ้ กณฑ์ประสิทธภิ าพ E1/E2 E1 หมายถึง ประสิทธภิ าพของกระบวนการ E2 หมายถึง ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ 4. ความพึงพอใจ หมายถึง ความคดิ เห็นทางบวกของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ต่อแบบฝึก ทกั ษะเพือ่ ส่งเสรมิ การอา่ นคาควบกล้า สาหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1

9 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง การสร้างแบบฝึกทักษะเพ่ือส่งเสริมการอา่ นคาควบกล้า สาหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ในครงั้ นีม้ เี อกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ งดงั น้ี 1. เอกสารท่ีเก่ียวข้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย พทุ ธศกั ราช 2551 2. เอกสารท่ีเกย่ี วข้องกับแบบฝึกทักษะ 3. เอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั คาควบกล้า 4. การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 5. ดชั นปี ระสิทธผิ ล (E.I.) 6. ความพึงพอใจ 7. งานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 1. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย พุทธศกั ราช 2551 1.1 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั พนื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ให้เป็น หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและ กรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีด ความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ. 2544) พร้อมกันน้ีได้ปรับ กระบวนการพฒั นาหลักสูตรใหม้ ีความสอดคล้องกบั เจตนารมณ์แหง่ พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจทางการศึกษาให้ ทอ้ งถ่ินและสถาบนั ศกึ ษาไดม้ บี ทบาทและมีสว่ นร่วมในการพัฒนาหลกั สตู ร เพ่อื ให้สอดคล้องกับสภาพ และความต้องการของท้องถิ่น (สานักนายกรัฐมนตรี. 2542) จากการวิจยั และติดตามประเมินผลการ ใช้หลักสูตรในช่วงระยะ 6 ปีท่ีผ่านมา สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา พบว่า หลักสูตร การศึกษาข้ันพืน้ ฐานพุทธศักราช 2544 มีจุดดีหลายประการ เชน่ ช่วยส่งเสรมิ การกระจายอานาจทาง

10 การศึกษาทาให้ทอ้ งถ่ิน และสถานศึกษามีบทบาทสาคัญในการพฒั นาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความ ต้องการของท้องถน่ิ และมีแนวคิด หลักการในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรยี นแบบองค์รวมอยา่ งชดั เจน อย่างไรก็ตามผลการศึกษาดังกลา่ วยงั ได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นที่เป็นปัญหาและความไม่ชดั เจนของ หลกั สูตรหลายประการ ทั้งในส่วนเอกสารหลกั สตู รกระบวนการนาหลกั สตู ร สู่การปฏิบัติ และผลผลิต ท่ีเกิดจากการใช้หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษา ในการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งสถานศึกษาส่วนใหญ่กาหนดสาระและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้มาก ทาให้ เกดิ ปัญหาหลกั สตู รแน่น การวัดและประเมินผลไมส่ ะท้อนมาตรฐาน สง่ ผลตอ่ ปญั หาการจัดทาเอกสาร หลักฐานทางการศึกษาและการเทยี บโอนผลการเรยี น รวมทงั้ ปัญหาคุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทกั ษะ ความสามารถและคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคอ์ นั ยงั ไม่เป็นท่นี ่าพอใจ นอกจากน้ันแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 10 ได้ชใ้ี ห้เห็นถึงความจาเป็นใน การปรับเปล่ียนจุดเน้นในการพฒั นาคุณภาพคนในสังคมไทย ให้มคี ุณธรรมและมีความรอบรู้อย่างเท่า ทนั ให้มคี วามพรอ้ มทง้ั ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถกา้ วทันการเปลยี่ นแปลง เพ่ือนาไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มี พื้นฐานจิตใจท่ีดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมท้ังมีสมรรถนะ ทักษะและความรู้พื้นฐานท่ีจาเป็นในการ ดารงชวี ิต อนั จะสง่ ผลตอ่ การพฒั นาประเทศแบบยง่ั ยนื ซึ่งแนวทางดงั กล่าวสอดคล้องกบั นโยบายของ กระทรวงศกึ ษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเขา้ สโู่ ลกยุคศตวรรษท่ี 21 โดยม่งุ ส่งเสริมผ้เู รยี นมี คุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ . 2551) จ า ก ข้ อ ค้ น พ บ ใ น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย แ ล ะ ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น พทุ ธศักราช 2544 ท่ีผา่ นมาประกอบกับข้อมลู จากแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 เกี่ยวกบั แนวทางการพฒั นาคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการในการพฒั นาเยาวชน สูศ่ ตวรรษที่ 21 จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เพ่ือนาไปสู่การ พัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ท่ีมีความเหมาะสมชัดเจน ท้ัง เป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติใน ระดับเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษา โดยไดม้ ีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของ ผูเ้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ัดท่ีชัดเจน เพ่ือใช้เป็นทิศทางในการ

11 จดั ทาหลกั สตู ร การเรียนการสอนในแต่ละระดบั นอกจากน้ันได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรยี นขน้ั ต่าของ แต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ในแตล่ ะชั้นปไี วใ้ นหลักสูตรแกนกลาง และเปดิ โอกาสให้สถานศกึ ษาเพ่มิ เติม เวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกท้ังได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์ การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรยี นรู้ และมคี วามชดั เจนต่อการนาไปปฏิบตั ิ เอกสารหลักสูตรแกนกลางข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 นี้จัดทาข้ึนสาหรับท้องถิ่นและ สถานศึกษา ได้นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน เพ่ือพฒั นาเด็กและเยาวชนไทยทกุ คน ในระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานให้มีคณุ ภาพดา้ นความรู้และทกั ษะ ทจ่ี าเป็นสาหรับการดารงชีวิต ในสงั คมที่มีการเปล่ียนแปลงและแสวงหาความรูเ้ พ่อื พัฒนาตนเองอยา่ ง ต่อเน่อื งตลอดชีวติ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้ีวัดทก่ี าหนดไวใ้ นเอกสารน้ี ช่วยทาให้หน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งในทุก ระดับ เห็นผลคาดหวังท่ีตอ้ งการในการพฒั นาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถ ช่วยให้หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้องในระดบั ทอ้ งถน่ิ และสถานศึกษา รว่ มกันพฒั นาหลักสูตรไดอ้ ย่างม่นั ใจ ทา ให้การจัดทาหลักสูตรในระดับสถานศกึ ษามีคุณภาพและมีความเป็นเกภาพยง่ิ ขึ้นอีกท้ังยังช่วยให้เกิด ความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่าง สถานศึกษา ดังน้ันในการพัฒนาหลกั สูตรในทุกระดับตั้งแต่ระดบั ชาติจนกระทง่ั ถึงสถานศึกษา จะต้อง สะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน รวมท้ังเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบและครอบคลุมผู้เรียนทุก กลุ่มเปา้ หมายในระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน การจดั หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายทีค่ าดหวังได้ทุกฝ่าย ท่เี ก่ียวข้องทั้งระดับชาติ ชมุ ชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็น ระบบและต่อเน่ือง ในการวางแผนดาเนินการส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพอ่ื พัฒนาเยาวชนของชาตไิ ปสูค่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูท้ ก่ี าหนดไว้

12 1.2 หลกั สูตรการศกึ ษาขนั พนื ฐานกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย พทุ ธศักราช 2551 ท้าไมต้องเรียนภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และเสริมสร้างบคุ ลิกภาพของชาตใิ หม้ ีความเปน็ ไทย เป็นเครื่องมือในการติดตอ่ ส่ือสารเพื่อสร้าง ความ เข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สมารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมในสังคม ประชาธปิ ไตยได้อยา่ งสนั ติสุข และเปน็ เคร่ืองมอื ในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พฒั นากระบวนการคิดวิเคราะห์วิจารณ์ และสร้างสรรค์ ใหท้ ันต่อ การเปล่ียนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการ พัฒนาอาชีพให้มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ด้น วัฒนธรรม ประเพณี และสนุ ทรียภาพ เป็นสมบัตลิ ้าคาควรแกก่ ารเรียนรู้ อนุรกั ษ์ และ สืบสาน ให้คง อยูค่ ู่ชาติไทยตลอดไป เรยี นรู้อะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร การ เรียนรู้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และเพื่อนาไปใช้ในชีวติ จริง การอ่าน อ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ การอา่ นใน ใจเพ่ือสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จักส่ิงท่ีอ่าน เพ่ือนาไปปรับใช้ใน ชีวิตประจาวัน การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนส่ือสาร โดยใช้ถ้อยคาและรูปแบบต่าง ๆ ของการเขยี น ซ่ึงรวมถึงการเขยี นเรียงความ ย่อความ รายงานชนดิ ต่าง ๆ การเขียนตามจนิ ตนา การ วิเคราะหว์ จิ ารณ์ และเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ การฟัง การดู และกาพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรสู้ ึก พดู ลาดับเร่ืองราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ทั้งเป็นทางการและ ไมเ่ ปน็ ทางการ และการพูดเพือ่ โน้มนา้ วใจ หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาตแิ ละกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกตอ้ ง เหมาะสม กับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่าง ๆ และอิทธิพลของภาษาต่าง ประเทศ ใน ภาษาไทย

13 วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลินการเรยี นรแู้ ละทาความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก เพลงพ้ืนบ้านที่เป็นภูมิปัญญาท่ีมีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียม ประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพ่ือให้เกิดความ ซาบซงึ้ และภูมใิ จ ในบรรพบรุ ุษทีไ่ ด้สัง่ สมสืบทอดมาจนถึงปจั จุบัน สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 1 การอา่ น มาตรฐานที่ 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาและ สรา้ งวสิ ัยทศั นใ์ นการดาเนินชีวิต สาระที่ 2 การเขยี น มาตรฐานที่ 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสารเขยี นเรียงความย่อความและเขียนเรือ่ งราว ในรปู แบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพดู มาตรฐานที่ 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ความคิด ความรสู้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ สาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษา มาตรฐานท่ี 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการเปล่ียนแปลงของภาษาและ พลงั ของภาษาภมู ิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ สารที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานท่ี 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คณุ ค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ คณุ ภาพผู้เรยี น จบชันประถมศึกษาปที ่ี 3 อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ เร่ืองสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคาและข้อความที่อ่าน ต้ังคาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์

14 คาดคะเน เหตุการณ์ สรุปความรู้ข้อคิดจากเร่ืองที่อ่ืน ปฏิบัติตามคาส่ัง คาอธิบายจากเรื่องที่อ่านได้ เข้าใจ ความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ อ่านหนังสืออย่างสม่าเสมอ และมี มารยาทในการอา่ น มีทักษะในการคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจา เขยี นจดหมายลา ครู เขียนเรอื่ งเก่ยี วกับประสบการณ์ เขยี นเร่อื งตามจินตนาการและมีมารยาทในการเขียน เล่ารายละเอียดและบอกสาระสาคัญ ตั้งคาถาม ตอบคาถาม รวมท้ังพูดแสดงความคิด ความรู้สึกเก่ียวกับเร่ืองฟังและดู พูดสื่อสารประสบการณ์และพูดแนะนา หรือพูดเชิญชวนให้ผู้อื่น ปฏบิ ตั ติ าม และมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา ความแตกต่างของคาและพยางค์ หน้าท่ีของคา ใน ประโยค มีทักษะการใช้พจนานุกรมในการคน้ หาความหมายของคา แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคา คล้องจอง แตง่ คาขวัญ และเลือกใชภ้ าษไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีท่ีอ่าน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซ่ึงเป็นของ ท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่นสาหรับเด็กในท้องถ่ิน ท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรอง ที่มีคุณค่าตาม ความสนใจได้ จบชนั ประถมศึกษาปีที่ 6 อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะไดถ้ กู ตอ้ ง อธบิ าย ความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนัยของคา ประโยค ข้อความ สานวนโวหาร จากเร่ืองที่อ่าน เข้าใจ คาแนะนา คาอธิบายในคมู่ ือต่าง ๆ แยกแยะข้อคิดเห็น และข้อเท็จจรงิ รวมทั้งจับใจความสาคัญของ เรอื่ งทอี่ ่าน และนาความร้คู วามคิดจากเรอ่ื งทอี่ ่านไปตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาในการดาเนนิ ชีวิตได้ มีมารยาท มนี สิ ัยรักการอ่าน และเห็นคณุ คา่ สิ่งท่อี ่าน มที ักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคา แต่งประโยค เขียนข้อความ ตลอดจนเขียนส่ือสารโดยใช้ถ้อยคาชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพโครงเรื่องและ แผนภาพความคดิ เพ่ือพัฒนางานเขยี น เขียนเรยี งความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการ ต่าง ๆ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมี มารยาทในการเขยี น

15 พดู แสดงความรู้ ความคดิ เกี่ยวกบั เรื่องท่ฟี ังและดู เลา่ เรื่องย่อหรือสรุปจากเร่ืองท่ฟี งั และดู ต้ัง คาถาม ตอบคาถามจากเรอื่ งทฟี่ ังและดู รวมท้ังประมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดโู ฆษณา อยา่ ง มีเหตุผล พูดตามลาดับขั้นตอนเร่ืองต่าง ๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นค้นคว้าจากการฟัง การดู การสนทนา และพดู โน้มน้าวได้อย่างมีเหตุผล รวมทัง้ มมี ารยาทในการดแู ละพดู สะกดคา และเข้าใจความหมายของคา สานวน คาพังเพย และสุภาษิต รู้และเข้าใจ ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ชนิดของประโยค และคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คาราชาศัพท์ และคาสุภาพได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพ และกาพย์ยานี 11 เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน เล่านทิ านพ้ืนบา้ น ร้องเพลงพ้ืนบ้าน ของท้องถ่นิ นาข้อคดิ เห็นจกเรื่องท่อี ่านไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง และท่องจาบทอาขยานตามท่กี าหนดได้ จบชนั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจความสาคัญและรายละเอียดของสิ่งที่อ่าน แสดงความคิดเห็น และขอ้ โตแ้ ย้งเกี่ยวกบั เรื่องทอี่ ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคิด ยอ่ ความ เขยี นรายงานจากสง่ิ ท่ี อ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างมเี หตุผล ลาดบั ความอยา่ งมีข้ันตอนและความเป็นไปได้ของเรือ่ งทอ่ี ่าน รวมทัง้ ประเมินความถูกตอ้ งของข้อมูลท่ใี ชส้ นบั สนุนจากเรอื่ งท่ีอา่ น เขยี นส่อื สารด้วยลายมือที่อ่านง่าย ชัดเจน ใช้ถ้อยคาได้ถูกต้องเหมาะสมตามระดับภาษาเขียน คาขวัญ คาคม คาอวยพรในโอกาสตา่ ง ๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติ และ ประสบการณ์ต่าง ๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิดหรือโต้แย้ง อย่างมีเหตุผล ตลอดจนเขยี นรายงานการศึกษาค้นควา้ และเขียนโครงงาน พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสิ่งท่ีได้จากการฟังและดู นาข้อคิดไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน พูดรายงานเรอื่ งหรือประเดน็ ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีศิลปะในกรพดู พดู ในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพูดโน้มนา้ วอย่างมีเหตุผลน่าเช่ือถือ รวมท้ังมีมารยาทในการฟัง ดู และพดู เขา้ ใจและใช้คาราชาศพั ท์ คาบาลสี ันสกฤต คาภาษาต่างประเทศอื่น ๆ คาทับศัพท์ และศพั ท์ บัญญัติในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม

16 ประโยคซ้อน ลักษณะภาษาที่เป็นทางการ ก่ึงทางการและไม่เป็นทางการ และแต่งบทร้อยกรอง ประเภทกลอนสภุ าพ กาพย์ และโคลงสีส่ ภุ าพ สรุปเนื้อหารรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน วิเคราะห์ตัวละครสาคัญ วิถีชีวิตไทย และ คุณค่า ทไี่ ด้รับจากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมทั้งสรุปความรู้ข้อคิดเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวติ จริง จบชันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองที่อา่ นได้ วิเคราะห์วิจารณ์เรอื่ งที่อ่าน แสดงความคิดเห็น โต้แย้งและ เสนอความคิดใหมจ่ ากการอา่ นอย่างมเี หตุผล คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเร่ืองท่ีอ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และเขียนรายงานจากส่ิงท่ีอ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนา ความรู้ ความคิดจากการอ่านมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ และนา ความรู้ความคดิ ไปประยุกตใ์ ชแ้ กป้ ัญหาในการดาเนนิ ชวี ิต มมี ารยาท และมีนิสยั รกั การอ่าน เขียนสื่อสารในรปู แบบต่าง ๆ โดยใช้ภาษาไดถ้ ูกตอ้ งตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ย่อความจากสือ่ ท่ี มีรูปแบบและเนื้อหาที่หลากหลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารต่าง ๆ เขียน บันทึกรายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทั้งประเมินงานเขียนของผู้อื่น และนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง ตั้งคาถาม และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีฟังและดู มี วิจารณญาณในการเลือกเร่ืองที่ฟังและดู วิเคราะห์วัตถุประสงค์ แนวคิดการใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือ ของเร่อื งทฟ่ี ัง และดู ประเมิน สิ่งท่ีฟัง และดู แล้วนาไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชีวิต มีทักษะการพูด ในโอกาสต่าง ๆ ทั้งท่เี ป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยใช้ภาษาท่ีถูกตอ้ ง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหม่ อย่างมีเหตผุ ล รวมทั้งมีมารยาทในการฟงั ดู และพดู เข้าใจธรรมชาติ ของภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คาและกลุ่มคา สร้างประโยคได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ แต่งคาประพันธป์ ระเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉันท์ ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับกาลเทศะ และใช้คาราชาศัพทแ์ ละคาสภุ าพไดอ้ ย่างถูกต้อง วเิ คราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย อิทธิพลของ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะห์และประเมินการใช้ ภาษาจากสื่อส่ิงพิมพ์และ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องตัน

17 รู้และเข้าใจลักษณะเด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน เช่ือมโยงกับการ เรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และนาข้อคิดจากวรรณคดีและ วรรณกรรมไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ การพฒั นาส่ือการเรยี นรภู้ าษาไทย พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มาตรา 22-23 และหมวด 9 มาตรา 63-64 ได้กาหนดแนวทางการจัดการศึกษา กระบวนการเรียนรู้และเทคโนโลยีการศึกษาท่ีเน้นถึง บทบาทและความสาคัญของการพัฒนาส่ือการเรียนการสอน และแหล่งการเรียนรู้เพื่อ ปรับปรุง คุณภาพของผู้เรียนและผู้สอนให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตาม พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ ในคู่มือเล่มน้ี ขอนาเสนอแนวทางการพัฒนาส่ือการเรียนรู้ ภาษาไทยและ แหล่งการเรียนรู้ เพ่ือใช้ประโยชน์ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอนในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ดงั น้ี สือ่ การเรยี นร้ภู าษาไทย ส่อื การเรียนหรือสื่อการเรียนการสอน เป็นเคร่ืองมือท่คี รูกาหนดขึ้นเพ่ือใช้ทาหน้าที่ถา่ ยทอด และแลกเปลี่ยนเนอื้ หา ประสบการณ์ แนวคิด ทักษะ และเจตคติระหว่างผ้สู อนกับผู้เรียน หรอื ใช้เป็น เคร่ืองมือการแสวงหาความรู้ของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนเป็นผู้ใช้ส่ือ เพ่ือให้เกิดความรู้ ฝึก ทักษะ กระบวนการและสรา้ งเสรมิ ความร้สู กึ นึกคดิ จนบรรลจุ ดุ ประสงค์ของการเรียนรู้ ความส้าคัญของสอ่ื การเรียนการสอน การเรียนการสอนเป็นกระบวนการสื่อสารความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ ความคิดเห็น ตลอดจนเจตคติ ซ่ึงอาจจะทาได้หลายวิธี และอาจใช้เคร่ืองมือประกอบการสอนต่าง ๆ อีกมากมาย โดยที่การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้ ผเู้ รียนมีทั้งความร้แู ละคุณธรรม โดยจัดกระบวนการเรียนร้แู ละบูรณาการตามความเหมาะสม ของแต่ ละระดับการศึกษา ดังนั้นการสอนโดยการบรรยาย หรือการใช้หนังสือเพียงเล่มเดียว ไม่สามารถ พัฒนาผู้เรียนให้บรรลุจุดหมายตามที่คาดหวังไว้ เพราะในสังคมปัจจุบันเป็นยุคสมัยท่ีข้อมูลข่าวสาร ความรู้สมัยใหม่ ตลอดจนเทคโนโลยีการส่ือสารได้แผ่ขยายกว้างขวางอย่างไม่มีขอบเขตจากัด

18 จาเป็นต้องพัฒนาศักยภาพความสามารถของผู้เรียนอย่างเต็มที่ ให้มีนิสัยใฝ่รู้ แสวงหาความรู้ด้วย ตัวเอง ผู้เรียนสามารถเรียนร้แู ละพัฒนาตนเอง โดยใช้แหลง่ ความรู้ที่มีรูปแบบ หลากหลาย กล่าวคือ การเรยี นการสอนจาเปน็ ต้องเลือกสรรส่อื การเรยี นการสอนท่ีทาใหผ้ เู้ รยี น เรียนรดู้ ้วยตนเอง มโี อกาสรู้ รว่ มกับผอู้ ืน่ และมีความรับผิดชอบท่ีจะสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นการสอนภาษาไทย การวัดผลและประเมินการเรียนรู้ด้านภาษาเป็นงานท่ียากซ่ึงต้องการความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการพัฒนาทางภาษา ดังนั้นผู้ปฏิบัติหน้าท่ีวัดผลการเรียนรู้ด้านภาษาจาเป็นต้องเข้าใจ หลกั การของการเรียนรู้ภาษา เพ่อื เปน็ พ้ืนฐานการดาเนนิ งาน ดังน้ี 1. ทักษะทางภาษาท้ังการฟัง การดู การพูด การอ่านและการเขียนมีความสาคัญเท่า ๆ กัน และทกั ษะเหล่าน้ีจะบรู ณาการกนั ในการเรียนการสอนจะไมแ่ ยกฝกึ ทักษะทีละอย่างจะตอ้ งฝึกทักษะ ไปพร้อม ๆ กนั และทักษะทางภาษาทกั ษะหน่ึงจะส่งผลตอ่ การพัฒนาทกั ษะทางภาษาอนื่ ๆ ด้วย 2. ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาความสามารถทางภาษาพร้อมกับการพัฒนาความคิด เพราะ ภาษาเป็นส่ือของความคิด ผู้ท่ีมีทักษะและความสามารถในการใช้ภาษา มีประมวลคามาก จะช่วยให้ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดด้วย ขณะเดียวกันการเรียนภาษาจะเรียนร่วมกันกับผู้อื่น มีการ ติดต่อสื่อสาร ใชภ้ าษาในการติดต่อกบั เพ่ือนกับครจู ึงเป็นการฝกึ ทักษะทางสังคมด้วย เม่อื ผู้เรียนได้ใช้ ภาษาในสถานการณ์จริงท้ังในบริบททางวิชาการในห้องเรียนและในชุมชน จะทาให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษา และไดฝ้ กึ ทักษะทางสงั คมในสถานการณจ์ รงิ 3. ผูเ้ รยี นต้องเรียนรูก้ ารใช้ภาษาพูดและภาษาเขยี นอยา่ งถกู ตอ้ งดว้ ยการฝึกการใช้ ภาษามิใช่ เรียนรู้กฎเกณฑ์ทางภาษาแต่เพียงอย่างเดยี ว การเรียนภาษาจะต้องเรียนรู้ไวยากรณ์ หรือหลักภาษา การสะกดคา การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และนาความรู้ดังกล่าวไปใช้ในการฝึกฝนการเขียนและ พฒั นาทักษะทางภาษาของตน 4. ผู้เรียนทุกคนจะได้รับการพัฒนาทักษะทางภาษาเท่ากัน แต่การพัฒนาทางภาษา จะไม่ เทา่ กัน และวธิ กี ารเรียนรู้จะต่างกัน 5. ภาษากบั วัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด หลักสตู รจะต้องให้ความสาคัญและใช้ ความเคารพและเห็นคุณค่าของเชอ้ื ชาติ จัดกิจกรรมภูมิหลังของภาษาและการใช้ภาษาถ่ินของผู้เรียน

19 และช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาภาษาไทยของตน และพัฒนาความรู้สึกท่ดี ีเกี่ยวกับภาษาไทยและกระตุ้นให้ ผู้เรียนสามารถเรียนภาษาไทยดว้ ยความสขุ 6. ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือของการเรียนรู้ และทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะต้องใช้ภาษาไทย เป็นเคร่ืองมือการส่ือสารและการแสวงหาความรู้ การเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะใช้ภาษาในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การอภิปราย การเขียนรายงาน การเขียนโครงการ การตอบคาถาม การตอบข้อทดสอบ ดังน้ันครูทุกคนไม่ว่าจะสอนวิชาใดก็ตามจะต้องใช้ภาษาที่เป็นแบบแผน เป็น ตวั อย่างที่ดแี กน่ กั เรยี น และตอ้ งสอนการใช้ภาษาแก่ผเู้ รียนดว้ ยเสมอ กล่าวสรุปได้ว่าหลักสูตร คือ แบบแผนท่ีจัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการทาตามเป้าหมายท่ี คาดหวังโดยมีฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมกันรับผิดชอบ เป็น การทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง ในการดาเนินงานมีการส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรุงแกไ้ ข เพือ่ พัฒนาเยาวชนของชาตไิ ปสูค่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู้ ีก่ าหนดไว้ 2. แบบฝึกทักษะ 2.1 ความหมายของแบบฝกึ ทกั ษะ สุคนธ์ สินธพานนท์ (2551: 148) ให้ความหมายของชดุ การฝึก หมายถึง ส่ือหรอื นวัตกรรม ที่ สร้างข้ึนเพอ่ื ให้นักเรียนได้ทากิจกรรมท่ีเป็นการทบทวนหรือเสริมเพิม่ เติมความรใู้ ห้แก่นักเรียนหรอื ให้ นักเรียนได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ในด้านการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณคิดแก้ปัญหา คิด สร้างสรรค์ ซ่ึง เป็นทักษะสาคัญของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ ให้แก่ผูเ้ รียนไดม้ ี คุณลกั ษณะตามทต่ี ้องการปัจจบุ ันน้ีผ้สู อนไดจ้ ัดทาชุดการฝึกในลักษณะชุดฝึกทักษะ ต่างๆ เช่นชุดฝึกทักษะ การเรียนรู้ ชุดฝึกทักษะการคิด ชุดฝึกทักษะการตัดสินใจ ชุดฝึกทักษะการ แก้ปัญหา เปน็ ต้น เกรกิ ท่วมกลาง และ จนิ ตนา ท่วมกลาง. (2555: 176) ได้ใหค้ วามหมายของแบบฝึกหัด แบบ ฝกึ แบบฝกึ เสริมทักษะหรือชุดฝึกไว้วา่ หมายถงึ ส่ือ/นวัตกรรมการเรียนการสอประเภทหนึง่ สาหรับ ใหผ้ เู้ รียนประกอบการเรียนรู้ ฝึกปฏิบตั ติ อ่ เนื่องจากการเรียนรู้ในเร่อื งนัน้ ๆ มาแล้ว เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ และมที ักษะด้านใดดา้ นหนึง่ เพิม่ ขึ้น อังชรินทร์ ทองปาน (2561: 200-201) ให้ความหมายของการอ่าน หมายถึง การถอดรหัส จาก ตัวอักษรและกระบวนการปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างผู้เขียนกับผอู้ า่ น โดยใชต้ ัวอักษรเป็นส่อื กลางในการ

20 สื่อสาร และ อุปมาอุปมัยในรูปแบบต่างๆ โดยผู้อ่านอาศัยการคาดเดาจากภาษาท่ีอ่านแล้วบูรณการ ทักษะที่หลากหลายเข้า ด้วยกัน เช่น การจาแนก ความแตกต่าง การวิเคราะห์คา และความคิดเห็น ของผู้เขียน ซ่ึงกระบวนการแปล และถอดรหัสนั้น ผู้อ่านต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์เดิม มา ช่วยในการตคี วาม และสรุปความได้ตาม ความสามารถของตนเอง เพอื่ ให้เขา้ ใจสิ่งทผี่ ู้เขียนตอ้ งการส่ือ มากข้นึ จากความหมายของแบบฝึกทักษะท่ีมีผู้ให้ความหมายข้างต้น สรุปได้ว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง กิจกรรมที่ผู้สอนให้ผู้เรียนทา เพื่อให้นักเรียนได้ทากิจกรรมที่เป็นการทบทวนหรือเสริม เพ่ิมเติมความรู้ให้แกน่ กั เรียนและนกั เรยี นได้ฝึกปฏิบตั ดิ ้วยตนเองใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ท่ีผูส้ อนต้งั ไว้ 2.2 ความส้าคัญของแบบฝึกต่อการฝึกทักษะ เกรกิ ท่วมกลาง และ จินตนา ท่วมกลาง(2555: 176)ได้ระบคุ วามสาคัญของแบบฝกึ ต่อการ ฝึกทักษะไวว้ ่า 1) ชว่ ยให้ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และเกิดทักษะในด้านต่าง ๆ ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ตี่ ัง้ ไว้ 2) ผู้เรียนได้ฝกึ จนเกดิ ความชานาญ 3) สามารถนาความรไู้ ปใชไ้ ดอ้ ย่างถูกต้องแมน่ ยา 2.3 หลักจิตวทิ ยาที่เกย่ี วข้องกบั แบบฝึก สุคนธ์ สินธพานนท์ (2553: 98-100) ในการสร้างชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม และ สามารถนาไปใช้ในการเรยี นรู้อย่างมีประสิทธภิ าพน้ัน จาเปน็ ตอ้ งนาหลกั จิตวิทยาและหลกั การสอนมา เป็นพ้ืนฐานในการจัดทาด้วย ดังนั้นผู้จัดทาจึงควรได้ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีของนักจิตวิทยาและ นักการศึกษามาเป็นขอ้ คิดในการจดั ทาตัวอย่างเชน่ 1. ทฤษฎกี ารสอนของบรเู นอร์ (Bruner’s Instruction Theory) ทฤษฎีการสอนของบรูเนอรก์ ล่าววา่ การสร้างแบบฝึกทักษะ ครจู ะจัดการเรียนการสอนให้กบั เดก็ นั้น จะตอ้ งพิจารณาหลกั การ 4 ประการ คอื 1.1 แรงจูงใจ (Motivation) ซ่ึงมีท้ังแรงจูงใจท่ีเกิดจากภายในตัวเด็กเอง จะทาให้เกิด ความปรารถนาท่ีจะเรียนรู้และความต้องการความสาเร็จ นอกจากนั้นยังมีแรงจูงใจที่ต้องการเข้า รว่ มกับผู้อ่นื และรจู้ กั ทางานดว้ ยกัน กล่าวได้ว่า ครูจะต้องทาใหเ้ ด็กเกดิ ความปรารถนาทีจ่ ะรู้ โดยการ

21 จดั การทาใหเ้ ด็กมแี รงจูงใจมากขึ้น เพอ่ื เดก็ จะให้พยายามสารวจทางเลอื กต่าง ๆ อย่างมีความและพึง พอใจอนั จะนาไปสเู่ ปา้ หมายท่ตี ้องการ 1.2 โครงสร้างของความรู้ (Structure of Knowledge) มกี ารเสนอเนอ้ื หาให้กบั เดก็ ใน รูปแบบที่ง่ายเพียงพอท่ีผ้เู รียนสามารถเข้าใจได้ เช่น เสนอโดยให้การทาจริง ใช้รูปภาพ ใช้สัญลักษณ์ มกี าร เสนอข้อมูลอย่างกระชบั เปน็ ตน้ 1.3 ลาดับขั้นของการเสนอเนื้อหา (Sequence) ผู้สอนควรเสนอเน้ือหาตามข้ันตอน และ ควรเสนอในรูแบบของการกระทามากทีส่ ุด ใชค้ าพูดน้อยที่สุดต่อจากนั้นจึงค่อยเสนอเป็นแผนภูมิหรือ รปู ภาพตา่ ง ๆ สุดทา้ ยจึงค่อยเสนอเป็นสญั ลักษณห์ รอื คาพดู ในกรณที คี่ วามรูพ้ ้ืนฐานของเดก็ ดีพอแล้ว ครกู ส็ ามารถเรมิ่ การสอนด้วยการใช้สญั ลกั ษณไ์ ด้เลย 1.4 การเสรมิ แรง (Reinforcement) การเรียนรู้จะมีประสิทธิภาพถ้ามีการใหก้ ารเสรมิ แรง เมื่อเดก็ สามารถแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างถูกต้องตามเป้าหมายท่กี าหนดไว้ 2. ทฤษฎีการเช่ือมโยง (Connectionism) ของธอร์นไดค์ (Thorndike) ธอร์นไดค์ได้อธบิ ายถงึ ความสัมพันธ์ระหวา่ งสงิ่ เร้า (Stimulus) และการสนองตอบ (Response) ของอนิ ทรีย์ความสมั พันธจ์ ะมมี ากขึ้นหรอื ลดลงเปน็ ผลเนื่องมาจากผลท่ีเกดิ ขึ้นหลังจากการสนองตอบ ถ้าผลที่เกิดขึ้นอนิ ทรีย์พงึ พอใจ ความสมั พันธ์ระหวา่ งสิง่ เรา้ แลการสนองตอบนนั้ จะมีมากขึ้น แตถ่ ้าผล ท่เี กดิ ข้ึนนน้ั อนิ ทรียไ์ มพ่ งึ พอใจ ความสมั พนั ธ์ระหว่างสงิ่ เร้าและการตอบสนองย่อมลดลงหรือหายไปใน ท่ีสุด ธอร์นไดค์ เรียกหลักการนี้ว่า กฎแห่งผล (Law of Effect) กฎแห่งผลกล่าวว่าการเรียนรู้จะ เกิดข้ึน เพราะบุคคลกระทาซ้า และยิ่งทามากความชานาญจะเกิดข้ึน ทาให้ผู้ฝึกมีความคล่องแคล่ว สามารถทาได้ดี 3. ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ารวางเงอื่ นไข (The Conditions of Learning) กาเย่ ได้ศึกษาแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ของนักจิตวิทยากลุ่มพฤติกรรมนิยม ปัญญานิยม และมนุษย นยิ มและได้นาแนวคิดเหล่านั้นมาประยุกต์ใช้ในการอธิบายปรากฏการณ์ของพฤติกรรมของมนุษย์ใน สังคม ส่วนใหญ่เขาจะเน้นไปทางแนวคิดของนักจิตวิทยาของกลุ่มปัญญานิยม กาเย่ได้เสนอแนว ทางการจดั การเรียนการสอนในหอ้ งเรียนให้คานงึ ถงึ ปจั จยั ตา่ ง ๆ ดงั น้ี 3.1 ลักษณะของผู้เรียน ผู้สอนจะตอ้ งพิจารณาเก่ียวกับเรื่อง ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ความพร้อม แรงจงู ใจ

22 3.2 กระบวนการทางปัญญาและการสอน เงื่อนไขการเรียนรู้ที่ส่งผลทาให้การสอน ตา่ งกนั เชน่ 1) การถ่ายโยงการเรียนรู้ มี 2 ลักษณะคือทาให้เกิดการเรียนรู้ทักษะในระดบั ท่ีสงู ไดด้ ขี ้ึน และแผข่ ยายไปสู่สภาพการณ์อื่นนอกเหนอื จากสภาพการสอน 2) การเรียนรูท้ ักษะการเรียนรู้ บุคคลอาจมีวิธีการที่จะจัดการเรียนรู้ การจดจาและการ คิดด้วยตัวเขาเอง จึงควรช่วยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนรู้ให้พัฒนาไปตามศักยภาพของ ตนเองอย่างเตม็ ท่ี 3) การสอนกระบวนการแกป้ ัญหา มี 2 เงื่อนไข คือ ผเู้ รียนจะตอ้ งรู้กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่จา เป็นมาก่อน และสภาพของปญั หาท่ีเผชิญมาก่อนเรียน จะคน้ พบคาตอบจากการเรยี นรโู้ ดยการค้นพบ ซ่ึงผู้เรียนจะมีโอกาสค้นพบเกณฑ์ต่าง ๆ ในระดับทีส่ ูงขน้ึ 4) สภาพการณ์สาหรับการเรียนรู้ ผู้สอนจะต้องรู้สภาพการณ์ของการเรียนรู้ จึงจะสามารถวางระบบการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เช่น การสอนซ่อมเสริม การสอนกลุ่มเล็ ก การสอนกล่มุ ใหญ่ 2.4 หลกั การสร้างแบบฝึก การสร้างแบบฝกึ เป็นส่งิ จาเปน็ ในการสอนเพราะการฝกึ ฝนบ่อย ๆ และหลาย ๆ ครั้ง ยอมทา ใหเ้ กิดความคลองแคล่วได้ มีผู้ใหข้ ้อแนะนาในการสร้างแบบฝกึ ไวหลายท่าน ดังนี้ สุนันทา สนุ ทรประเสรฐิ (2547: 48-49) ได้ใหข้ ้อเสนอแนะในการสร้างแบบฝกึ ไว้ว่า การสรา้ ง แบบฝึกเพ่ือใช้ประกอบในการจัดการเรียนการสอนในวิชาต่าง ๆ นั้น จะเน้นส่ือการสอนในลักษณะ เอกสาร แบบฝึกหัดเป็นส่วนสาคัญ ดังน้ันการสร้างจึงควรให้มีความสมบูรณ์ท่ีสุด ท้ังในด้านเน้ือหา รปู แบบ และกลวธิ ีในการนาไปใช้ ซ่งึ ควรเป็นเทคนคิ ของแตล่ ะคน ในท่ีน้ีจะขอเสนอแนะดังน้ี 1. พึงระลกึ เสมอว่า ตอ้ งใหผ้ ู้เรียนศึกษาเน้ือหากอ่ นใช้แบบฝกึ 2. ในแต่ละแบบฝึกอาจมเี นอื้ หาสรปุ ยอ่ หรือเป็นหลกั เกณฑ์ไว้ให้ผูเ้ รยี นได้ศึกษาทบทวนกอ่ น 3. ควรสรา้ งแบบฝกึ ใหค้ รอบคลุมเนือ้ หาและจุดประสงค์ที่ต้องการ และไม่ยากหรือง่าย จนเกนิ ไป 4. คานึงถงึ หลักจิตวิทยาการเรยี นรู้ของเด็ก ต้องให้เหมาะสมกับวุฒิภาวะและความ แตกตา่ ง ของผู้เรยี น

23 5. ควรศึกษาแนวทางการสร้างแบบฝึกให้เข้าใจก่อนปฏิบัติการสร้าง อาจนาหลักการของ ผู้อ่ืน หรือทฤษฎีการเรียนรู้ของนักการศึกษา หรือนักจิตวิทยามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อหา และสภาพการณไ์ ด้ 6. ควรมีคมู่ ือการใช้แบบฝึก เพื่อให้ผสู้ อนคนอ่นื นาไปใช้ไดอ้ ย่างกว้างขวาง หากไม่มคี ู่มือต้อง มีคาชแี้ จงข้นั ตอนการใชท้ ีช่ ัดเจน แนบไปในแบบฝึกหดั ดว้ ย 7. การสร้างแบบฝึก ควรพิจารณารูปแบบให้เหมาะสมกับธรรมชาติของแต่ละเน้ือหาวิชา รูปแบบจึงควรแตกตา่ งกนั ตามสภาพการณ์ 8. การออกแบบชุดฝึกควรมีความหลากหลาย ไม่ซ้าซาก ไม่ใช้รูปแบบเดียว เพราะจะทาให้ ผ้เู รียนเกดิ ความเบ่ือหน่าย ควรมแี บบฝึกหลาย ๆ แบบ เพื่อฝึกใหผ้ ้เู รียนไดเ้ กิดทักษะอย่างกวา้ ง ขวาง และสง่ เสรมิ ความคดิ สร้างสรรคอ์ ีกดว้ ย 9. การใช้ภาพประกอบเป็นส่ิงสาคัญท่ีจะช่วยให้แบบฝึกน้ันน่าสนใจ และยังเป็นการ พัก สายตาให้กบั ผูเ้ รยี นอีกด้วย 10. การสร้างแบบฝึก หากต้องการให้สมบูรณ์ครบถ้วน ควรสร้างในลักษณะของเอกสาร ประกอบการสอน (ศึกษารายละเอียดจาดคู่มือการฝึกอบรมปฏิบัติการ “การผลิตเอกสารประกอบ การสอน) แต่จะเนน้ ความหลากหลายของแบบฝึกมากกว่า และเนื้อหาท่ีสรุปไวจ้ ะมีเพยี งยอ่ ๆ 11. แบบฝึกต้องมีความถูกต้อง อย่าให้มีข้อผิดพลาดเด็ดขาด เพราะเหมือนกับย่ืนยาพิษ ใหก้ บั ลกู ศิษย์โดยรเู้ ท่าไมถ่ งึ การณ์ เขาจะจาในสิง่ ทผ่ี ิด ๆ ตลอดไป 12. คาส่ังในแบบฝึกเป็นสิ่งสาคัญที่ไม่ควรมองข้ามไป เพราะคาส่ังคือประตบู านใหญ่ท่ีจะไข ความรู้ ความเข้าใจของผู้เรียนไปสู่ความสาเร็จ คาส่ังจึงตอ้ งสน้ั กะทัดรัด และเขา้ ใจง่ายไม่ทาใหผ้ ูเ้ รยี น สบั สน 13. การกาหนดเวลาในการใช้แบบฝึก แต่ละชุดควรให้เหมาะสมกับเนื้อหา และความ สนใจ ของผเู้ รียน 14. กระดาษที่ใช้ ควรมีคณุ ภาพเหมาะสม มีความเหนียวและทนทาน ไม่เปราะบางหรือขาด ง่ายจนเกนิ ไป

24 เกริก ท่วมกลาง และ จินตนา ท่วมกลาง (2555: 181) กล่าวว่า แบบฝึกทักษะเป็นการฝึกให้ ผู้เรียนมีความชานาญคล่องแคล่ว ว่องไว จะเกิดข้ึนได้ ก็ต่อเม่ือทาซ้าบ่อย ๆ จนเกิดความชานาญ เทคนิคการสรา้ งแบบฝกึ ทด่ี คี วรมลี กั ษณะ ดังน้ี 1. เกี่ยวข้องกับเร่อื งทีเ่ รียนมาแล้วในสาระการเรยี นรูเ้ รอ่ื งใดเร่อื งหนง่ึ 2. เหมาะสมกับวยั และความสามารถของผู้เรยี นแตล่ ะระดับช้ัน 3. ใชภ้ าษาทผี่ ้เู รยี นอา่ นเขา้ ใจง่าย 4. ใชเ้ วลาเหมาะสมกบั แบบฝกึ ตามจิตวทิ ยาของผู้เรยี นในแตล่ ะวัย 5. คดิ ได้เรว็ และสนุก เรียงเร่ืองฝึกจากง่ายไปหายาก 6. น่าสนใจ แปลกใหม่ ท้าทายความสามารถ 7. ศึกษาไดด้ ว้ ยตนเองนอกเวลา มรี ายละเอียดการฝึกศกึ ษาไดเ้ ข้าใจ 8. มคี าชแี้ จงส้นั ๆ อ่านเข้าใจง่ายสาหรบั ศึกษาดว้ ยตนเอง 9. มีตวั อยา่ งประกอบให้เขา้ ใจแนวทางการฝึกต่อ 10. ตวั อย่างควรให้ผู้เรยี นเกดิ แนวคิดหลายๆ แนวคิดแกผ่ ฝู้ กึ 11. มภี าพประกอบดงึ ดูดความสนใจและสื่อความหมายไดช้ ดั เจน 12. ภาพควรเปน็ ภาพโปรง่ มีรายละเอยี ดไม่ซับซอ้ น 13. เน้อื หาสาหรบั เขียนไว้ให้เติมมีขนาดเหมาะสมกบั ขอ้ ความที่ผเู้ รียนต้องการเขยี น 14. การวางแบบฟอร์มท่ดี จี ะทาให้เกดิ ความเรียบรอ้ ย สวยงาม และประหยัด 15. ควรบันทกึ วิธีสอนทีส่ อดคลอ้ งกบั จุดประสงคข์ องการฝกึ 16. มีจุดประสงคช์ ัดเจนในแต่ละแบบฝกึ 17. มีกิจกรรมการฝึกตรงตามจุดประสงค์ 18. ผูเ้ รียนสามารถฝกึ ปฏิบตั ิ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และทบทวนได้ 19. ควรมขี อ้ แนะนาการใช้ มใี หเ้ ลอื กตอบอย่างจากดั และเลอื กตอบอย่างเสรี 20. สรา้ งตามหลักทฤษฎีและหลักจิตวิทยาความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลเรียนรดู้ ว้ ยการลงมือ ปฏิบตั ิ

25 สุคนธ์ สินธพานนท์ (2561: 151-152) ไดเ้ สนอการสรา้ งแบบฝึกทกั ษะไวด้ ังนี้ 1. ศึกษาหลกั สูตรหลักการจุดมุง่ หมายของหลักสูตร 20 2. วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรยี นรแู้ ละสาระการเรียนรูเ้ พ่ือวิเคราะห์ เนอื้ หาจุดประสงค์ในแตล่ ะชุดการฝกึ 3. จดั ทาโครงสร้างและชดุ ฝึกในแตล่ ะชุด 4. ออกแบบชุดการฝกึ /ชุดฝกึ ทักษะในแตล่ ะชดุ ใหม้ รี ปู แบบท่ีหลากหลายและนา่ สนใจ 5. ลงมือสร้างแบบฝึกในแต่ละชุดรวมทั้งออกข้อสอบก่อนและหลังเรียนให้สอดคล้องกับ เนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้ 6. นาไปให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบ 7. นาชดุ การฝกึ /ชุดฝึกทักษะไปทดลองใช้ บนั ทึกผล แลว้ ปรบั ปรุงแกไ้ ขสว่ นท่บี กพร่อง 8. ปรับปรุงชุดการฝกึ /ชุดฝกึ ทักษะใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ 9. นาไปใช้จรงิ และเผยแพร่ออกไป จากการศึกษาหลักการสรา้ งแบบฝึกทักษะ สรปุ ไดว้ า่ หลักการสรา้ งแบบฝกึ ทักษะควรเกย่ี วข้อง กับเรื่องท่ีเรียนมาแล้วในสาระการเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เหมาะสมกับวัยและความสามารถของ ผู้เรียนแต่ละระดับช้ัน มีรูปแบบที่หลากหลายและน่าสนใจ รวมท้ังในการออกข้อสอบควรมีความ สอดคล้องกบั เนื้อหาและจดุ ประสงคท์ ่ีเรยี นอกี ดว้ ย 2.5 องค์ประกอบของแบบฝึก สุนนั ทา สุนทรประเสรฐิ . (2547: 42 ) กล่าวถงึ สว่ นประกอบของแบบฝึกทักษะ ดังนี้ 1. คู่มือการใช้แบบฝึกเป็นเอกสารสาคัญประกอบการใช้แบบฝึกว่าใช้เพ่ืออะไรและมวี ิธีการใช้ อยา่ งไร ซ่ึงประกอบดว้ ย 1.1 สว่ นประกอบของแบบฝกึ ระบวุ ่า แบบฝึกชดุ นี้มีกีช่ ดุ อะไรบ้าง และส่วนประกอบอนื่ ๆ เชน่ แบบทดสอบ หรอื แบบบันทกึ ผลการประเมนิ 1.2 สงิ่ ที่ครูหรือนักเรียนตอ้ งเตรยี มล่วงหนา้ ก่อนเรียน 1.3 จุดประสงคใ์ นการใชแ้ บบฝึก 1.4 ขัน้ ตอนการใช้แบบฝึก 1.5 เฉลยแบบฝึก

26 2. แบบฝึก ควรประกอบด้วย 2.1 ชื่อชุดฝึกในแต่ละชดุ ย่อย 2.2 จดุ ประสงค์ 2.3 คาส่ัง 2.4 ตัวอย่าง 2.5 ชดุ ฝึก 2.6 ภาพประกอบ21 2.7 แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรยี น 2.8 แบบประเมนิ บนั ทึกผลการใช้ บุญชม ศรสี ะอาด. (2553: 95) กลา่ ววา่ แบบฝกึ มีสว่ นประกอบสาคัญ 4 อย่าง คือ 1. คู่มือครู หรือคู่มือการใช้แบบฝึก เป็นคู่มือท่ีจัดทาขึ้นเพ่ือให้ผู้ใช้ศึกษาและปฏิบัติตาม เพอ่ื บรรลุผลอยา่ งมีประสิทธิภาพ อาจประกอบด้วยแผนการสอนและอธบิ ายการจดั กจิ กรรมการสอน 2. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น เปน็ แบบทดสอบท่ีใช้สาหรบั วดั ความก้าวหน้าทเ่ี กิด จากการเรยี นของผเู้ รียน 3. ชดุ ฝึกปฏิบัติเป็นแบบฝึกหดั หรอื บัตรคาสั่งท่ีระบุกิจกรรมเพ่ือให้ผู้เรียนปฏิบตั ิตามลาดับ ขนั้ ตอนของการเรียน 4. ส่ือการสอน เป็นส่ิงต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับเน้ือหาและประสบการณ์ อาทิ รูปภาพ สไลด์ เทปบนั ทกึ เสียง บตั รคา ฯลฯ มุทิตา อังคระษี. 2559: อ้างอิงจาก สุจิต เหมวัล. (2555: 12-13) ได้ให้ข้อเสนอแนะว่า องค์ประกอบของแบบฝกึ ทกั ษะในแต่ละเลม่ ควรมดี งั น้ี 1. ปกนอก 2. ปกใน 3. คานา 4. สารบญั 5. สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ี ตอ้ งการฝกึ 6. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

27 7. ใบความรู้ 8. ใบกิจกรรม/แบบฝกึ /กจิ กรรมฝึก 9. แบบฝึกหัด 10. แบบทดสอบหลังเรียน 11. บรรณานกุ รม 12. เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ่ 13. เฉลย/แนวคาตอบแบบฝกึ หัด 14. เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น 15. ปกหลัง จากการศึกษาองคป์ ระกอบแบบฝกึ ทกั ษะสรปุ ได้วา่ แบบฝึกทักษะ ควรมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ ต่อไปนี้ สิ่งท่คี รหู รอื นักเรยี นต้องเตรยี มล่วงหน้าก่อนเรยี น จุดประสงค์ในการใช้แบบฝึก แบบบันทึกผล การประเมิน ปกหน้า ปกใน ภาพประกอบ คานา คาแนะนา หรือคาช้ีแจงในการใช้แบบฝึก สารบัญ แบบทดสอบก่อนเรียนใบความรู้ ตัวอย่าง แบบฝึกทักษะ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบ ก่อนเรยี นเฉลยคาตอบแบบฝึกหดั เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน ปกหลงั บรรณานกุ รม 2.6 ลักษณะของแบบฝึกท่ดี ี สุนันทา สุนทรประเสริฐ (2547: 40-41) ได้เรียบเรียงลักษณะของแบบฝึกที่ดีไว้ว่า แบบฝึก เป็นเคร่ืองมือสาคัญที่จะช่วยเสริมทักษะให้กับผู้เรียน การสร้างแบบฝึกให้มีประสิทธิภาพ จึงจาเป็น จะต้องศึกษาองค์ประกอบและลักษณะของแบบฝึก เพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสมกับระดับความสามารถ ของนักเรยี น สคุ นธ์ สินธพานนท์ (2553: 98) กล่าววา่ ในการสร้างชุดการฝกึ /ชดุ ฝกึ ทกั ษะการเรยี นรู้ทด่ี ีนั้น ผู้สร้างชุดการฝึกควรคานึงในเรอื่ งตอ่ ไปนี้ 1. ควรมีแบบฝึกทักษะหลาย ๆ แบบในชุดการฝึก/ชุดฝึกทักษะเพื่อไม่ให้ผู้เรียนเกิดความ เบอื่ หนา่ ยและควรมีรูปแบบท่ีเร้าความสนใจผู้เรียนไดล้ องความสามารถของตน 2. ผู้เรียนสามารถนาส่ิงที่ได้เรียนรู้จากบทเรียนมาตอบในชุดการฝึกหรือชุดฝึกทักษะหรือ นามาประยุกต์ใช้ในการตอบในแบบฝึกทักษะ 3. สานวนภาษาง่ายเหมาะกบั วัยของผู้เรยี นและผเู้ รียนสามารถศกึ ษาได้ด้วยตนเอง

28 4. ชุดการฝกึ /ชดุ ฝึกทักษะแต่ละชุดนั้นควรคานึงถงึ ความแตกต่างของแต่ละบคุ คล 5. ชุดฝกึ ทกั ษะการเรียนรู้ควรฝกึ ความสามารถของผ้เู รยี นหลาย ๆ ด้าน 6. ควรฝกึ ทักษะการเรียนรู้ในด้านความคดิ หลาย ๆ รปู แบบ เช่น คิดวเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ คิดสรา้ งสรรค์ 2.7 ประโยชน์ของแบบฝกึ สคุ นธ์ สนิ ธุพานนท์. (2551: 88) กล่าวถงึ ประโยชนข์ องการใชแ้ บบฝึกในการจัดการเรยี นรไู้ ว้วา่ 1. แบบฝึกทักษะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองเด็กแต่ละคนมีความสามารถต่างกันการ เรียนรู้ด้วยตนเองจะทาให้การเรียนมีประสิทธิภาพทาให้เกิดกาลังใจในการเรียนและยังเป็นการซ่อม เสรมิ ผ้ไู มผ่ า่ นการประเมิน 2. แบบฝึกทักษะช่วยเสริมใหผ้ ู้เรยี นเกิดทักษะทค่ี งทนสามารถฝึกทนั ทีหลังจากจบบทเรียน หรอื ฝกึ ซ้า ๆ หลาย ๆ คร้งั เพ่อื ให้เกดิ การเรียนรูท้ ่แี ม่นยาและเน้นให้ทาเพ่มิ เตมิ ในเรอื่ งทผี่ ดิ 3. เป็นเครื่องมือในการวัดผลหลังจากจบบทเรียนในแต่ละคร้ังเพื่อตรวจสอบความรู้ของ ตนเอง ถ้าทาผิดหรือไม่เข้าใจก็สามารถซ่อมเสริมได้ด้วยตนเองเป็นเคร่ืองมือที่มีคุณค่าท้ังผู้สอนและ ผเู้ รียน ผูเ้ รียนก็ไม่เป็นปมด้อยเม่อื ผิดก็จะแก้ไขดว้ ยตนเอง 4. ชว่ ยเสริมบทเรียนหรือคาสอนของครูซึ่งครูผู้สอนทาขึ้นฝึกทกั ษะนอกเหนอื จากบทเรียน เสริมให้ผู้เรยี นคิดเปน็ แกป้ ัญหาเปน็ เพื่อฝกึ แกป้ ัญหาในการดาเนนิ ชีวิต 5. ฝึกได้เป็นรายบุคคลจะฝึกเมื่อไรก็ได้ไม่จากัด เวลาสถานท่ีโดยครูเร้าหรือกระตุ้นให้เกิด ความยากเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 6. ลดภาระการสอนของครูไม่ต้องทบทวนความรตู้ ลอดเวลาไมต่ ้องตรวจงานด้วยตนเองทุก คร้งั เพราะฝึกทักษะการคิดไม่มกี ารเฉลยทีต่ ายตวั มแี นวหลากหลาย 7. เป็นการฝึกความรบั ผิดชอบของผู้เรียนให้ผู้เรียนทาแบบฝึกตามลาพังเปน็ การเสริมสร้าง ประสบการณ์ในการทางาน 8. ผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนผู้เรียนทาแบบฝึกที่หลากหลายทาให้ผู้เรียนสนุกสนาน เพลิดเพลนิ ท้าทายให้ลงมือทากจิ กรรม

29 สนุ ันทา สุนทรประเสรฐิ . (2550: 53) ได้กล่าววา่ ประโยชน์ของแบบฝกึ ทักษะไดด้ ังน้ี 1. ทาใหเ้ ขา้ ใจบทเรียนดีขนึ้ เพราะเป็นเคร่อื งอานวยประโยชนใ์ นการเรียนรู้ 2. ทาให้ครทู ราบความเขา้ ใจของนกั เรยี นทมี่ ีตอ่ บทเรยี น 3. ฝกึ ให้เด็กมคี วามเชอ่ื มนั่ และสามารถประเมินผลของตนเองได้ 4. ฝึกให้เด็กทางานตามลาพังโดยมีความรับผดิ ชอบในงานท่ไี ด้รับมอบหมาย 5. ชว่ ยลดภาระครู 6. ชว่ ยใหเ้ ดก็ ฝกึ ฝนไดอ้ ย่างเต็มท่ี 7. ช่วยพฒั นาตามความแตกต่างระหว่างบคุ คล 8. ชว่ ยเสริมใหท้ กั ษะคงทนซง่ึ ลักษณะการฝกึ เพอื่ ชว่ ยใหเ้ กิดผลดังกล่าวน้นั ได้แก่ 8.1 ฝึกทนั ทีหลงั จากทเี่ ด็กได้เรยี นรู้ในเร่อื งน้ัน ๆ 8.2 ฝกึ ซ้าหลาย ๆ คร้ัง 8.3 เนน้ เฉพาะในเรอ่ื งท่ผี ิด 9. เปน็ เคร่อื งมือวดั ผลการเรียนหลงั จากจบบทเรียนในแตล่ ะครั้ง 10. ใช้เปน็ แนวทางเพ่อื ทบทวนด้วยตนเอง 11. ชว่ ยให้ครมู องเห็นจุดเด่นหรอื ปัญหาตา่ งๆของเดก็ ไดช้ ดั เจน 12. ประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายแรงงานและเวลาของครู เกรกิ ท่วมกลาง และ จินตนา ทว่ มกลาง (2555: 179-180) ได้ระบุประโยชน์ของแบบฝึกหรือ ข้อดีของแบบฝึกไวด้ งั น้ี 1. ใชเ้ ป็นแบบฝึกหดั ทบทวนเรื่องทเี่ รียนมาแล้ว 2. เปน็ เคร่ืองมอื วดั ผลการเรยี นหลงั จากเรียนจบในแต่ละครัง้ 3. เป็นส่วนช่วยเสริมสรา้ งทักษะดา้ นต่างๆแกผ่ เู้ รยี น 4. การให้ผู้เรยี นทาแบบฝึกหัดช่วยใหค้ รูมองเห็นจุดเดน่ และจุดด้อยของผู้เรียนได้ชัดเจน ซ่ึง จะดาเนินการแก้ไขปัญหาท่ีพบหรือพัฒนาในสว่ นทเ่ี ดน่ ได้ทนั ท่วงที 5. แบบฝึกหัดหรือแบบฝึกทักษะที่จัดทาขึ้นนอกเหนือจากท่ีอยู่ในหนังสือเรียน จะช่วยให้ ผู้เรียนได้ฝกึ ฝนอย่างเต็มที่ 6. แบบฝึกทักษะที่จัดพิมพ์ไว้เรียบร้อย จะช่วยให้ครูประหยัดเวลาในการเตรียมสื่อและ ผ้เู รียนสะดวกในการฝึกไม่ตอ้ งเสียเวลาในการลอกแบบฝึกจากตารา

30 7. แบบฝกึ ชว่ ยให้ผู้เรยี นได้ทราบความก้าวหนา้ ทางการเรียนของตนเอง 8. ทาใหเ้ ขา้ ใจบทเรยี นดีข้ึน เพราะแบบฝึกช่วยทบทวนบทเรยี น ทาใหเ้ กิดความคลอ่ งแคลว่ ชานาญในเนือ้ หานั้นย่ิงขึ้น 9. ฝกึ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีความรับผิดชอบในการทางาน สามารถทางานตามลาพงั ได้ 10. ฝึกให้เดก็ มีความเชื่อม่ันและมัน่ ใจในตนเอง สามารถประเมนิ ผลงานของตนเองได้ 11. เป็นเครื่องมอื ประเมินผลการสอนของครู ทาใหร้ ขู้ อ้ บกพร่องในการสอนและปรับปรุงได้ ตรงประเด็น 12. แบบฝึกช่วยเร้าและกระตุน้ ความสนใจของผู้เรยี นทาใหอ้ ยากเรียน 13. ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนได้ฝึกทักษะตรงจดุ ทีต่ อ้ งการฝกึ ได้เตม็ ที่ 14. นกั เรียนได้ฝกึ ทกั ษะจากแบบฝึกทกั ษะทคี่ รสู ร้างขน้ึ ซึ่งตรงกบั เนอ้ื หาทค่ี รทู าการสอน 15. ใชเ้ ป็นเครอื่ งมอื การวัดผลประเมนิ ผลเป็นรายบคุ คลได้ 16. ช่วยเสรมิ ทักษะในการใชภ้ าษา การอา่ น การเขียนไดค้ งทน 17. ช่วยสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคล หากแบบฝกึ น้ันเหมาะสมกับวุฒิภาวะของผเู้ รียน จะช่วยให้ผเู้ รยี นประสบความสาเร็จในการเรยี น 18. ชว่ ยให้ผเู้ รยี นมีทศั นคติท่ดี ีตอ่ การเรยี น 19. ชว่ ยให้ผเู้ รียนไดท้ ราบความกา้ วหนา้ ในการเรียนของตนเอง จากการศึกษาประโยชน์ของการอา่ น สรุปได้ว่า แบบฝึกทักษะมีประโยชน์ต่อตัวของเด็กและครู ซ่งึ จะทาให้เดก็ เกิดความชานาญมากข้ึน และอาศัยการการฝกึ ฝนอยา่ งตอ่ เน่ืองสม่าเสมอ ซึ่งแบบฝึกจะ ช่วยให้เด็กเกิดการเรยี นรู้ และแสวงหาองคค์ วามรู้ใหม่ ๆ ทเี่ หมาะสมกับกับเดก็ 3. คา้ ควบกลา้ คาควบกล้า หรือบางทีเรียก อักษรควบ เกิดจากพยัญชนะ 2 ตัวควบหรือรวมอยู่ในสระ เดียวกนั โดยร่วมกันทาหนา้ ท่ีเป็นพยัญชนะต้น ได้แก่ พยัญชนะทค่ี วบหรือกลา้ กับตัว ร ล ว เมื่อควบ หรอื กล้ากันแลว้ จะต้องออกเสยี งพรอ้ มกนั เป็นตัวสะกดหรอื การันต์ก็ต้องเป็นดว้ ยกัน

31 3.1 ความหมายของคา้ ควบกล้า คาควบกล้าเป็นคาที่ต้องออกเสียง ร ล ว พร้อมด้วยพยัญชนะตัวแรกพร้อม ๆ กัน มผี ู้ศึกษา ให้ความหมายดังน้ี วัชรพงศ์ โกมุทธรรมวิบูลย์ (2550: 24) ให้ความหมายคาควบกล้าตามพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถานไว้ว่า กล้า [กลา้ ] ก. ควบ ทาให้เข้ากัน กลนื กัน เช่น กล้าอกั ษร อักษรกล้า ควบ ก. เอารวมกัน คาควบกล้า หมายถึง “คา” ที่ประสมกับ รลวออกเสียงกล้ากัน อักษรควบ หมายถึง “ตวั อกั ษร” ทปี่ ระสมกับ ร ล ว ออกเสียงกล้ากนั สานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ (2551: 12) ไดใ้ หค้ วามหมาย คาควบกล้า ไวว้ ่า คาในภาษาไทยที่ใชอ้ กั ษรควบ คอื พยัญชนะท่คี วบกับตวั ล ร ว มเี สียงกล้าเปน็ สระเดยี วกัน เอกรินทร์ สม่ี หาศาล และคนอื่น ๆ (2551: 64-66) กลา่ วว่า คาควบกลา้ คอื คาที่มพี ยัญชนะ ตน้ 2 ตัวเรียงกันประสมสระเดียวกันและอ่านออกเสียงพยัญชนะต้น 2 ตัวกล้ากัน พยัญชนะตัวควบ คือตัวหลังทเ่ี ปน็ เสียงกล้า มีเพียง 3 ตัว ไดแ้ ก่ ร ล ว คาควบกลา้ แบง่ เปน็ 2 ชนิด คือ 1. คาควบกล้าแท้ คือ คาทมี่ พี ยัญชนะ 2 ตัวเรียงกัน พยัญชนะตัวหนา้ เปน็ ตัว ก ข ค ต ป ผ พ พยัญชนะตัวควบเป็นตวั ร ล ว ประสมสระเดียวกนั เวลาอา่ นจะออกเสยี งพยญั ชนะ 2 ตัว พร้อมกนั เชน่ กรงุ กลม ไกว 2. คาควบไม่แท้ คือ คาที่มีพยัญชนะ 2 ตัวเรียงกัน พยัญชนะตัวหน้าเป็นตัว จ ซ ท ศ ส พยัญชนะตวั ควบเป็นตวั ร ประสมสระเดยี วกนั เช่น จริง ไซร้ ทราย เศรา้ สรา้ ง เวลาอ่านออกเสียงคา ควบไม่แท้ท่ีมีตัว จร ซร ศร และสร จะอ่านออกเสียงพยัญชนะตัวหน้าเท่าน้ัน ไม่ต้องออกเสียงตัว ร เช่น เศร้า อ่านว่า เสา้ หากเป็นคาควบกล้าไม่แท้ทม่ี ีตัว ทร ให้อ่านออกเสยี งเปน็ ซ เช่น ทรง อ่านว่า ซง กระทรวงศกึ ษาธิการ (2553: 44-45) กล่าววา่ อักษรควบหรือตัวควบกลา้ หมายถงึ พยญั ชนะ ท่ีควบกับ ร ล ว ประสมสระเดียวกันออกเสียงควบกล้าเป็นพยางค์เดียวกัน โดยออกเสียงวรรณยุกต์ ตามพยัญชนะตัวหนา้ สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2553: 44) ได้ให้ความหมายอักษรควบ หรอื ตัวควบกลา้ ไว้วา่ หมายถึง พยญั ชนะทีค่ วบกับ ร ล ว ประสมสระเดียวกนั ออกเสียงควบกลา้ เป็น พยางค์เดียว โดยออกเสียงวรรณยุกต์ตามพยัญชนะตัวหน้า สรุปได้ว่า คาควบกํล้าหรืออักษรควบ

32 หมายถึง คาที่มพี ยัญชนะต้น 2 ตัวเรียงกันตัวหลงั เป็น ร ล ว ประสมสระและตัวสะกดเดียวกันออก เสียงเปน็ พยางคเ์ ดียวออกเสยี งวรรณยกุ ตต์ าม พยัญชนะตัวหนา้ ดังนนั้ คาควบกล้า (อักษรควบ) หมายถึง พยัญชนะสองตัวเขยี นเรยี งกันอยูต่ ้นพยางค์ และใช้ สระเดียวกัน เวลาอา่ นออกเสียงกล้าเป็นพยางค์เดียวกัน เสียงวรรณยุกต์ของพยางค์นั้นจะผันเป็นไป ตามเสยี งพยัญชนะตัวหน้าซึ่งคาควบกลา้ (อักษรควบ) นั้นมี 2 ชนิดคือ อักษรควบแท้ และอักษรควบ ไม่แท้ 3.2 ชนดิ ของคา้ ควบกล้า เยาวลักษณ์ ชาติสุขศิริเดช (2545: 87) ได้กล่าวว่าอักษรควบ คือ พยัญชนะประสม 2 ตัว โดยพยัญชนะตัวหน่ึงควบกับ ร ล ว และประสมกับสระเสียงเดียวกัน สามารถแบ่งได้ 2 ชนิดโดย พิจารณาจากการออกเสยี ง ดงั นี้ 1. อกั ษรควบแท้ เป็นพยัญชนะควบกล้าหรือพยัญชนะประสมท่ีออกเสียงพยัญชนะทั้ง 2 ตัว พรอ้ มกนั ซง่ึ คาไทยแทม้ เี สียงควบกลา้ ทั้งสิ้น 11 เสยี ง 15 รปู ดงั น้ี เสียง กร กรอบ กราบ กรวย แกรง่ คร่ึง เสยี ง กล ไกล กลาง กลอย กลม กลบั เสียง กว ไกว กวาง แกว่ง เกวียน เสียง คร, ขร ใคร ครอบ เครือ่ ง ขรุขระ ขริบ เร่ิม เสยี ง คล, ขล คลอง คลกุ คลาน ขลาด ขลุ่ย ขลงั เสยี ง ควขว ความ ควาย คว่า ขวัญ ขว้าง ขวิด เสยี ง ปร ปราบ ปรุง เปราะ ปรับ เปรต เสียง ปล ปลา ปลด เปล่า ปลอด เปลีย่ ว เสียง พล.ผล พลู พลาด พลิก โผล่ ผลัด ผลิ เสียง พร พราง พร่า พรกิ พราย พระ เสียง ตร ตรวจ แตร ตรา ตรู เตร่ นอกจากน้ี ยังมีคาควบกล้าที่เพ่ิมขึ้นในภาษาไทย เน่ืองจากได้รับอิทธิพลจาก ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาองั กฤษ ดงั เช่น เสยี ง บร เบรก บรดิ จ์ บรัน่ ดี เสยี ง บล บลอ็ ก เสียง คร ดรัมเมเยอร์ เสยี ง ฟร ฟรี เสียง ทร ทรานซสิ เตอร์ ทรัมเป็ต

33 เสยี ง ฟล ฟลอร์ ฟลอู อรีน 2. อักษรควบไม่แท้ เป็นพยัญชนะที่มีรูปเขียนพยัญชนะควบกล้ากับพยัญชนะ “ร” แต่ออก เสยี งเป็นพยัญชนะเดีย่ ว โดยออกเสยี งเฉพาะพยัญชนะตวั แรกเท่านนั้ เชน่ เสียง จร พยญั ชนะ จ จรงิ เสยี ง ซร พยัญชนะ ซ ไซร้ เสยี ง ศร พยญั ชนะ ศ ศรี เศร้า ปราศรัย เสียง สร พยัญชนะ ส สระ สร้าง สรอ้ ย เสยี ง ทร พยญั ชนะ ซ ไทร แทรก พทุ รา รูปพยัญชนะ “ทร” บางคาเป็นอักษรควบแท้ เช่น จันทราอินทรา นิทรา ซึ่งได้รับอิทธิพล จากภาษาตา่ งประเทศ กรมวิชาการ (2546 ข: 168-169) ไดแ้ บ่งคาควบกลา้ ออกเป็น 2 ชนิด คอื 1. อักษรควบแท้ ไดแ้ ก่ อักษรควบที่ออกเสยี งพยญั ชนะ 2 ตวั ควบกล้ากัน ดงั น้ี 1.1 พยญั ชนะตัวหน้า ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร เชน่ กราบ ขรึม คร้งั เตรียม โปรด พรอ้ ม 1.2 พยัญชนะตัวหน้า ก ข ค ป ผ พ ควบกบั ล เชน่ กลอ้ ง ขลยุ่ กลว้ ย เปล่ยี น ผลัก 2. อักษรควบไม่แท้ ได้แก่ อักษรควบทอี่ อกเสียงพยัญชนะตวั หน้าเพียงตัวเดียวหรอื ออกเสียง เปน็ อยา่ งอื่น ดังนี้ 2.1 พยัญชนะตัวหน้า จ ซ ศ ส ควบกับ ร จะออกเสียงพยัญชนะตวั หน้า ไม่ออกเสยี ง ร กํล้า เช่น จริง ไซร้ ศรี สรา้ ง 2.2 พยัญชนะตัวหน้าเป็น ท ควบกับ ร จะออกเสียงเปน็ ซ เช่น ทรวง ทราบ ทรดุ โทรม 3.3 การอา่ นคา้ ควบกลา้ การอ่านเป็นพฤติกรรมท่ีสาคัญยง่ิ ซ่ึงครูต้องใช้ความสามารถและพยายามให้มากในการท่ีจะ สง่ เสริมใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการอ่าน เพราะการอ่านมีความสาคญั มากในการศึกษา การอ่าน แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื การอ่านในใจ และ การอ่านออกเสียง วรรณี โสมประยูร (อ้างถึงใน เตียงทอง จันทรเจริญ. 2553: 37) สรุปว่า การอ่าน เป็น กระบวนการทางสมองที่แปลสัญลักษณ์ต่าง ๆ ท่ีสามารถมองเห็นให้เกิดความรู้ความเข้าใจแจ่มแจ้ง ชัดเจน ตรงตามท่ีผู้เขยี นต้องการและสนองตามผอู้ ่านด้วย ดงั นัน้ การอ่านท่ีจะทาให้เกิดความคิด และ

34 จะนาไปใช้ประโยชน์แก่ผู้อ่านได้ดีทาให้การอ่านมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล สรุปได้ว่า การ อ่านออกเสียง คือการเปล่งเสียงตามตัวอักษร ถ้อยคาและความหมายต่าง ๆ ท่ีเขียนไว้ออกมาให้ ถูกต้อง ซึ่งหลกั สาคัญของการอ่านออกเสยี งข้อหนึง่ ได้แก่ ความชัดเจน คือการออกเสียงให้ชดั ถอ้ ยชัด คาทั้งเสียงสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ และคาควบกล้า การอ่านออกเสียงพยัญชนะ ร ล ว และ พยัญชนะควบกล้า ร ล ว เป็นปัญหามากในปัจจุบัน จึงจาเป็นตอ้ งทราบหลักในการอ่านและฝกึ อย่าง ถูกตอ้ ง วิเชยี ร เกษมประทุม (2545: 9) กล่าวสรปุ ไว้ว่า การออกเสียงพยญั ชนะควบกลา้ ร ล ว จะต้อง รู้ถงึ วธิ กี ารออกเสียงพยญั ชนะ ร ล ว แต่ละตัวให้ถูกต้องก่อน ดงั น้ี (1) เสียง /ร/ หรอื เสียงรัวล้ิน (tril) ออกเสียงโดยการยกปลายลิ้นข้นึ ไปแตะปุ่ม เหงือกเบา ๆ เมื่อกระแสลมผา่ นจุดน้ี ทาใหป้ ลายลนิ้ สะบดั ออก และกลับไปแตะป่มุ เหงือกสลบั กนั หลาย ๆ ครง้ั (2) เสียง /ล/ หรือเสียงข้างล้ิน (lateral) เกิดจากการกักลมไว้ตรงกลางของปากคือ ยกส่วน ของลน้ิ แตะฐานบนให้สนทิ แลว้ ปล่อยใหล้ มผ่านออกมาดา้ นข้างของลิ้นข้างใดขา้ งหนงึ่ หรอื ทง้ั สองขา้ ง (3) เสียง /ว/ หรือเสียงริมฝีปาก เพดานบน เกิดจากการใช้ล้ินส่วนหลังกับเพดานอ่อน และ ห่อริมฝีปาก เปล่งเสียงออกมาพร้อม เม่ือออกเสียงพยัญชนะ ร ล ว แต่ละเสียงได้คล่องแล้ว จึงออก เสียงคาควบกลา้ กับพยญั ชนะตัวอ่ืน ๆ เช่น เกรง ปลอม ขวาน แต่ถา้ ยังออกเสียงควบกล้าไมไ่ ด้ใหอ้ อก เสยี งดว้ ยวธิ ีตอ่ ไปน้ี (3.1) ออกเสียงควบกล้า โดยวิธีแยกเสียงเป็น 2 พยางค์ เช่น คาว่า กราบ ให้ แยกเป็น คอื กะ ทราบ (3.2) ออกเสียงควบกล้าท่ีแยกเปน็ 2 พยางค์ นั้นช้า ๆ ก่อนแล้วค่อยทวีความเร็วข้ึนใน ท่ีสุด เชน่ ปะ ลา ปะ สา ปะ- ลา ปลา คะ รวั คะรวั คะ รัว ครวั กะ วาง กะ วาง กะ วาง กวาง กรมวิชาการ (2546 ก: 168-170) อักษรควบเป็นลักษณะเฉพาะที่สาคัญอีกอย่างหน่ึงของ ภาษาไทยปัจจุบันคนส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความสาคัญ ต่อการออกเสียงคาที่ใช้อักษรควบให้ถูกต้อง ชัดเจนแม้แต่คนท่ีอยู่ในวงการศึกษา หรือบุคคลที่มีตาแหน่งหน้าที่สาคัญของประเทศก็จะพูดตาม สบาย ขาดความระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงคาประเภทน้ีเท่าท่ีควร ซ่ึงจะเป็นตวั อย่างใหเ้ ยาวชน รุ่นหลังไม่ให้ความสาคัญต่อการออกเสียงคาไทยให้ถูกต้องด้วย จึงควรท่ีครผู้สอนจะได้สร้างความ

35 ตระหนักให้นักเรียนเล็งเห็นความจาเป็นและความสาคัญเรือ่ งการออกเสียงและพูดคาทใ่ี ช้อักษรควบ ใหถ้ กู ต้องตามความหมาย 1. คาควบแท้ ไดแ้ ก่ พยัญชนะ ร ล ว ควบกับพยัญชนะตัวหน้า ประสมสระตัวเดียวกัน เวลา อ่านออกเสยี งพยญั ชนะทั้งสองตัวพร้อมกัน เชน่ พยัญชนะต้น ควบกับ “ฐ” ได้แก่ ครู เพราะ ครัว กรน ปรวนแปร ขรุขระ พระ ตรง ครั้ง กราบ โปรด ปรักปร้า ครน้ื เครง เคร่งครัด ครอบปรอย กรอง เปน็ ต้น พยัญชนะต้น ควบกับ “ล” ได้แก่ เปล่า ปลีก คลาน คลุกเคล้า เปลี่ยนแปลง กลม กลม เพลดิ เพลนิ เกลี้ยกล่อม เกลยี วคลน่ื คลอ่ งแคล่ว เกลา้ เป็นต้น พยัญชนะต้น ควบกบั “ว” ได้แก่ ควาด ขวาน ควาย ขวิด เคว้งคว้าง แขวน ขวนขวาย คว้า ควาญ แกว่งไกว ความ แควน้ ขวญั ควน้ เปน็ ต้น ตัวอยา่ งพยญั ชนะทคี่ วบกลา้ กบั ตวั ร ล ว แล้วออกเสยี งพร้อมกัน ๑) ตรา อา่ นว่า ตรา ตัว ต กับ “ร” ออกเสียงรว่ มสระอา ๒) ปล อ่านว่า ปม ป กับ “ล” ออกเสยี งรว่ มสระ ๓) แคว อ่านว่า แคว ตัว ค กับ “ว” ออกเสยี งร่วมสระแอ ๔) เกรียงไกร อ่านวา่ เกรียงไกร “กร” เป็นพยัญชนะสองตวั ควบกบั สระเอียร่วมกนั ๕) ไกวเปล อ่านว่า ไกว-เปล “กว” “ปล” เป็นพยัญชนะสองตวั ควบกัน “กว” เปน็ คาควบใช้ สระ ไอรว่ มกนั “ปล” เป็นคาควบใช้สระ เอ ร่วมกนั ๖) แห่กล่อม อ่านวา่ แห่-กลอ่ ม “กล” เปน็ พยญั ชนะสองตัวควบกัน ใชส้ ระ ออ รว่ มกัน มี ม เป็นตวั สะกด ดงั น้ัน คาที่พยัญชนะตวั แรกประสมกับพยัญชนะ ร ล ว และใช้สระร่วมกันเราอ่าน ออกเสียง กล้ากัน เราเรยี กวา่ “คาควบแท้” อักษรควนแท้ ทาหน้าท่ที ้ังตัวสะกด และพยัญชนะต้น เช่น จักรี อตั รา บุตรี นิทรา จติ รา สุมิ ตรา ภัทรา อศิ รา เป็นตน้ อกั ษรควบแท้ ทาหน้าท่ีตัวการันต์ อักษรควบแทน้ อกจากจะทาหน้าท่ีเป็นพยัญชนะต้น เป็น ตัวสะกดแล้วยังใชเ้ ป็นตัวการนั ตไ์ ดอ้ กี เชน่ ศาสตร์ พกั ตร์ พสั ตร์ อนิ ทร์ จันทร์ ๑) ศาสตร์ ส สะกด ตร การนั ต์ ๒) พกั ตร์ ก สะกด ตร การันต์

36 ๓) พัสตร์ ส สะกด ตร การันต์ ๔) อินทร์ น สะกด ทร การันต์ 2. ค้าควบไม่แท้ คือ อักษรที่เกิดจากพยัญชนะสองตัว ตัวหน่ึงเป็นตัว ร ควบหรือร่วมอยู่ใน สระเดียวกัน ทาหน้าท่ีเป็นพยัญชนะต้น โดยตัว ร อยู่หลังพยัญชนะตัวที่ควบ ออกเสียงเฉพาะ พยัญชนะตัวหน้าเพียงตัวเดียว โดยที่ตัว ร ไม่ออกเสียง หรือเมื่อควบกันแล้วก็จะออกเสียงเป็นเสียง พยญั ชนะตัวอ่นื ได้แก่ พยญั ชนะ ร ควบกับพยญั ชนะตัวหน้าประสมสระตวั เดียวกัน เวลาอ่านไม่ออก เสียง ร ออกเสยี งเฉพาะตัวหนา้ หรอื มิฉะนนั้ กอ็ อกเสียงเปน็ เสียงอ่นื ไป คาควบไม่แท้ที่ออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวหน้า ได้แก่ พยัญชนะ จ ซ ศ ส ควบกับ ร เช่น จรงิ ไซร้ เศร้า ศรี ศรัทธา สร้างเสรมิ สรอ้ ย สระ สรงสรา้ ง คาควบไม่แท้ ท ควบกับ ร แล้วออกเสียงกลายเป็น ซ ได้แก่ ทรงทราบ ทราม ทราย แทรก ทรุด โทรม มทั รี อนิ ทรี นนทรี พุทรา อกั ษรควบไม่แท้ออกเสียงเฉพาะตวั หน้า เช่น ๑) ศรี อา่ นว่า สี ๒) สระ อา่ นวา่ สะ ๓) สรา้ ง อ่านวา่ ส้าง ๔) เศรา้ อ่านว่า เสา้ อกั ษรควบไมแ่ ทอ้ อกเสยี งพยญั ชนะตวั หนา้ เพียงตัวเดียวมี จ ซ ศ ส อักษรควบไมแ่ ท้ออกเสยี งเปน็ พยัญชนะตวั อ่ืน ทร ออกเสยี งเป็น “ซ” เชน่ ๑) ทรวดทรง อ่านวา่ ซวด-ซง ๒) ทราบ อ่านวา่ ซาบ ๓) ทราย อ่านวา่ ซาย นอกจากน้ี ยังมีคาควบกล้าที่เพ่ิมขึ้นในภาษาไทย เนื่องจากได้รับอิทธิพลจาก ภาษาตา่ งประเทศ โดยเฉพาะภาษาองั กฤษ ดงั เช่น เสยี ง บร เบรก บรดิ จ์ บร่นั ดี เสียง บล บล็อก เสียง คร ดรัมเมเยอร์ เสยี ง ฟร ฟรี

37 เสยี ง ทร ทรานซสิ เตอร์ ทรัมเป็ต เสยี ง ฟล ฟลอร์ ฟลอู อรีน 2. อักษรควบไม่แท้ เป็นพยัญชนะที่มีรูปเขียนพยัญชนะควบกล้ากับพยัญชนะ “ร” แต่ออก เสียงเปน็ พยัญชนะเดยี่ ว โดยออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวแรกเท่านน้ั เชน่ เสยี ง จร พยัญชนะ จ จริง เสียง ซร พยัญชนะ ซ ไซร้ เสยี ง ศร พยัญชนะ ศ ศรี เศรา้ ปราศรยั เสยี ง สร พยัญชนะ ส สระ สรา้ ง สรอ้ ย เสียง ทร พยญั ชนะ ซ ไทร แทรก พทุ รา รูปพยัญชนะ “ทร” บางคาเป็นอักษรควบแท้ เช่น จันทราอินทรา นิทรา ซึ่งได้รับ อิทธิพล จากภาษาต่าประเทศ วิเชียร เกษประทุม (2551: 9-10) ได้กล่าวถึงคาควบกล้าไว้ว่า ความวิบัติในภาษาไทยมีมาก โดยเฉพาะคาทน่ี กั เรียนออกเสียงไมค่ ่อยถูกคอื คาทม่ี ี ร และคาควบกล้าทุกคา ฉะนั้น ก่อนจาฝกึ หดั คา ดงั กล่าวให้เกดิ ความคล่องปากคล่องล้ิน จงึ ควรทราบลักษณะของตัว ร ล และเร่อื งคาควบกลา้ พอเป็น พ้ืนฐานเบอื้ งต้น ตามหลกั ภาษาศาสตร์หน่วยเสียง /ร / และ /ล/ เปน็ พวกพยัญชนะเหลว เสียงก้อง มี หลักการออกเสียงต่างกันคือ หน่วยเสียง /ร/ ได้แก่ตัว ร และ ฤ ออกเสียงรัว โดยตวัดปลายลิ้น ให้ กระดกลิ้น ริมฝีปากห่อ หน่วยเสียง /ล/ ได้แก่ตัว ล พ ออกเสียงข้างล้ิน เวลาออกเสียงใช้ปลายลิ้น แตะปุ่มเหงือกบน ทัง้ เสียง /ร/ และ /ล/ ออกเสียงกล้ากับพยัญชนะอื่นไดส้ ะดวกจงึ มคี าที่มตี ัว ร และ ล กล้าพยญั ชนะอ่นื อยู่หลายคา เมื่อรวบรวมโดยสรุปแลว้ พยัญชนะทอ่ี อกเสียงควบกล้ากับ ร ล และ ว ได้ มีดงั น้ี ร ควบกล้ากับตัว ก ข ค ต ท บ พ ฟ ได้ ล ควบกลา้ กบั ตวั ก ข ค ต บ พ ฟ ได้ ว ควบกลา้ กับตวั ก ข ค ได้ คาควบกล้าทุกคาออกเสยี งยาก ตอ้ งฝึกใหค้ ลอ่ งปากคล่องลิ้น ถา้ ออกเสยี งคาควบกลา้ ไมไ่ ด้ มี วิธกี ารฝึกดงั นี้ 1. ให้ออกเสียงคาควบกล้าน้ัน โดยมีเสยี งสระอะ ผสมอยูด่ ้วยในคาหน้าทุกคา เชน่ กลอง ให้ ออกเปน็ กะ - ลอง

38 2. เม่อื ออกเสียงโดยมีสระอะนาไดแ้ ลว้ ต่อไปใหอ้ อกเสียงคาควบกล้าเหล่านน้ั โดยมีสระอะนา เร็ว ๆ ก็จะกลายเป็นคาควบกล้าไปทันที และกจ็ ะออกเสียงคาควบกล้าต่าง ๆ ได้ทุกคาอย่างแน่นอน ถ้ามเี ครือ่ งบันทกึ เสยี งช่วยในการฝึกด้วยกจ็ ะได้ผลอย่างเร็วเร็ว วันเพ็ญ เทพโสภา (2553: 33-34) ได้กล่าวถึงคาควบกล้าไว้ว่า การอ่านคาในภาษาไทยน้ัน ค่อนข้าง ยุ่งยากและสับสนมาก เนื่องจากภาษาไทยเรารบั ภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้เป็นจานวนมาก และหลักเกณฑข์ องแต่ละภาษาก็แตกต่างกันไป เมื่อเรารับภาษาเขามาจงึ ตอ้ งนาหลักเกณฑ์เขามาด้วย ซึง่ ก็แตกต่างจากภาษาไทยของเรา เพราะฉะน้ันหลกั ในการอ่านภาษาไทยของเราจงึ มี 4 วิธีคอื 1. อา่ นตามหลกั ภาษาไทย 2. อ่านตามหลักภาษาอ่นื ทไ่ี ทยรับมาใช้ 3. อ่านตามนยิ มของคนไทยที่เคยชินในการอา่ น 4. อา่ นตามลักษณะบงั คับของแตล่ ะคาประพันธ์ อักษรควบ คือ คาท่ีมีพยัญชนะสองตัวมาอยู่รวมกันในรูปสระเดียวกัน พยัญชนะที่ทาหน้าที่ เปน็ ตวั ควบก็คือ ร ล ว ซง่ึ หลักการอา่ นก็มีดังน้ี 1. อ่านแบบอักษรควบแท้ คือ จะอ่านออกเสียงพยัญชนะสองตัวพร้อมกันและเป็น เสียง เดียวกัน เช่น เกรียงไกร ครงั้ คราว กลับกลาย 2. อ่านแบบอักษรควบไม่แท้ คือ เวลาอา่ นจะอ่านออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวหน้าตัว เดียว ส่วนพยญั ชนะตวั หลงั ไม่ตอ้ งออกเสียง เช่น จรงิ ศรี สรอ้ ย 3. อ่านแบบอกั ษรควบแทแ้ ละอักษรควบไมแ้ ท้ คือ อักษรควบทมี่ ีพยัญชนะ ท ควบ ร ซึง่ เวลา อ่านจะเปน็ ไดท้ ้งั อักษรควบแท้และอกั ษรควบไม่แท้ 3.1 อ่านเป็นอักษรควบแท้ คือ จะอ่านออกกเสียงพยัญชนะ ท และ ร ไปพร้อมกัน เช่น สุนทรี นิทรา จนั ทรคติ เอม็ ทรี จันทรา เมโทร 3.2 อ่านเป็นอักษรควบไม่แท้ คือ จะไม่อ่านออกเสียง ท และ ร แต่จะเป็นเสียง ซ แทน เช่น ทรวดทรง ทราบ ทราย โทรม ทรุด ไทร ทรวง ทราบ ทรัพย์ เทริด แทรก อินทรีย์ พุทรา ฉะเชิงเทรา นนทรี มัทรี อินทรยี ์ จากเหตุผลดังท่ีกล่าวมาสรุปได้ว่า คาท่ีมีพยัญชนะสองตัวมาอยู่รวมกันในรูปสระเดียวกัน พยัญชนะที่ทาหน้าท่ีเป็นตัวควบก็คือ ร ล ว อักษรควบแท้จะอ่านออกกเสียงพยัญชนะ ท และ ร ไป

39 พร้อมกัน ส่วนอักษรควบไม่แท้ เวลาอ่านจะอ่านออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวหน้าตัวเดียว ส่วน พยญั ชนะตัวหลงั ไมต่ ้องออกเสยี ง ประยูร ทรงศิลป์ (2553: 158) ไดก้ ล่าวถึงการอ่านออกเสียงคาควบกล้าไว้ว่า อกั ษรควบ คือ พยางค์หรือคาท่ีมีพยัญชนะ ร ล ว ควบคู่กับพยัญชนะตัวหน้าและประสมกับสระเดียวกัน มี 2 ชนิด คือ อักษรควบแทแ้ ละอักษรควบไมแ่ ท้ มหี ลกั การอ่านดงั นี้ 1. อา่ นแบบอกั ษรควบแท้ คือ อา่ นออกเสียงพยัญชนะตัวแรกและพยญั ชนะตวั ควบพรอ้ มกัน ดังตัวอยา่ งคาท่ีมี ร ควบ เช่น กรงุ ครอบ คริ มะพร้าว ขรุขระ ปราบ ขรึม อินทรา ครอง โปร่ง นิทรา พลิ้ว ตรา ขรัว พร่า คาที่มี ล ควบ เชน่ พลุ คลอง กลืน ผลิ ขลงั ปลาย เกลยี่ แผลง เขลา โผล่ เพลิง คล้อย ขลุ่ย กลอก ปลอ่ ย คาที่มี ว ควบ เช่น ขวญั คว่า แกว่ง ขวนขวาย ไกว ไขวค่ ว้า กวา้ ง แขวง ควกั ไขว้ เควง้ ขว้าง กวา้ น ขวบ ควาญ 2. อา่ นแบบอักษรควบไมแ่ ท้ ได้แก่ 2.1 อา่ นออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตวั หน้าเพียงตัวเดียว เชน่ ศรทั รา (สัด - ทา) อาศรม (อา- สม) เศร้า (เสา้ ) ปราศรยั (ปรา- สยั ) แสรง้ (แสง้ ) สระ (สะ) สร้อย (ส้อย) สรา้ ง (ส้าง) จริง (จงิ ) ไซร้ (ไซ)้ 2.2 อ่านพยญั ชนะ ท ควบกลา้ กับ ร ออกเสยี งเป็น ซ เชน่ ทรดุ โทรม (ชดุ - โซม) ทรวดทรง (ซวด - ซง)

40 ทรวง (ซวง) พุทรา (พุด - ซา) อินทรยี (์ อ่นื - ซี) เทริด (เซดิ ) ปจั จุบันไทยรับคาภาษาอังกฤษเข้ามาใช้ในลกั ษณะการทับศัพท์เป็นจานวนมาก เม่ือถ่ายถอด อักษรจากภาษาอังกฤษ tr เข้ามาใช้ในภาษาไทยเปน็ ทร อา่ นออกเสียงอย่างอกั ษร ควบแท้ เช่น เซน็ ทรัล (เซน็ - ทล) Tractor แทรกเตอร์ (แทรก- เตอ้ ) Transistor ทรานซสิ เตอร์ (ทราน- ซสิ - สะ - เต้อ) Trombone ทรอมโบน (ทรอม- โบน) Trumpet ทรมั เปต็ (ทรัม- เป้ด) 3.4 ปญั หาการอ่านออกเสยี งค้าควบกล้า ปัจจุบันคนไทยส่วนใหญ่มักออกเสียงคาควบกล้าไม่ชัดเจน สาเหตุท่ีทาให้คนไทยใช้ภาษา ผิดพลาดซึ่งมผี ศู้ ึกษาได้แสดงความคิดเห็นดังนี้ ม.ร.ว.สมุ นชาติ สวัสดกิ ุล (อ้างถึงใน อรณุ ี ลอ้ คา. 2547: 65) ไดแ้ สดงความคิดเหน็ ไว้ดงั นี้ 1. ครูสอนภาษาไทยไม่ได้รับการสนับสนุนเท่าท่ีควร เพราะผู้ใหญ่ในวงการศึกษา ให้ความ สนใจในวิชาเรยี นภาษาไทยน้อย มักเหน็ ว่าวิชาภาษาไทยเปน็ ของงา่ ย ใคร ๆ กเ็ ปน็ ครูสอนภาษาไทยได้ 2. ปัจจุบันมีจานวนนักเรียนมากข้ึน เน้ือหาวิชามากขึ้นแต่มีเวลาจากัด ครูต้องรีบสอนให้ ทันเวลา จึงอาจจะปล่อยปละละเลยนักเรียน ไม่ได้กวดขันอย่างเพียงพอ จึงเป็นสาเหตุให้ นกั เรยี นออกเสยี งผิดพลาดไป 3. ภาษาไทยเป็นภาษาประณีต ต้องระมัดระวัง ครูผู้สอนบางท่านยังถือว่าความผิดพลาด คลาดเคลอื่ นเป็นเร่อื งเล็กน้อยไมส่ าคัญและไม่คานงึ ถึงการพดู คาบางคาไมช่ ัด 4. อิทธิพลของสื่อมวลชน ทั้งวิทยุ โทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์ เป็นแหล่งสาคัญ ที่เผยแพร่ ภาษาผดิ ๆ ไปสปู่ ระชาชน

41 รัชนี ศรีไพรวรรณ (2517: 11) การอ่านออกเสยี งมีปญั หาอยู่หลายประการคือ 1. อ่านไม่ออก 2. อ่านคาผิดซึ่งอาจจะอ่านคาท่ีมีอักษรนาผิดอ่านคาพ้องรูปผิด อ่านคาหรือข้อความที่มี เครื่องหมายประกอบผดิ อา่ นแยกคา หรอื อ่านแบ่งวรรคตอนผิด 3. อ่านออกเสยี งผิด มีหลายลักษณะ เช่น อ่านออกเสียงพยัญชนะตัวหนึ่งเป็นพยัญชนะ อีก ตวั หน่ึงออกเสียงคาท่ีใช้ ร เป็น ล เชน่ โรงเรียน เป็น โลงเลียน เรียบร้อย เป็น เลียบล้อย รน่ื เริง เป็น ล่นื เลิง ออกเสยี งคาควบกล้าผดิ เช่น ปรับปรุง อ่าน ปับปุง คลาน อ่าน คาน แกว่ง ไกว อ่าน แก่งไก หรือ แฝงไฟออกเสยี งคาผิดตามลักษณะภาษาถ่ินออกเสยี งคาที่มีมาจากภาษาต่างประเทศผิด เป็นต้น ชลธิรา กลดั อยู่ (อ้างถึงใน ปรีชา เผ่าเคร่ือง. 2541: 34) กล่าวถึงปัญหาในการอ่านออกเสียง คาที่ใชอ้ ักษร ร ล ว ควบกลา้ ไวด้ ังน้ี 1. พวกท่ีใช้อักษร ร และ ล ควบกล้า มีดังต่อไปนี้ ก ร เป็นพยญั ชนะล้ินรัว ล เป็นพยัญชนะ ข้างล้ินลกั ษณะปลายล้ินจรดโคนลน้ิ ล้นิ งอ และมว้ นใหล้ มออกข้างล้นิ ไดแ้ ก่ กร กล ขร คร คล ปร ปล พร และ ผล คาเหล่านี้ส่วนใหญ่ ผู้ที่ออกเสียง ร ล ไม่ชัดเจน จะมีปัญหา คือ ออกเสียงคาที่มีอักษร ควบ ร ล ควบกล้าไม่ชัดเจน ไปด้วยจะออกเสียงสบั กัน เช่น ปลาบปล้ืม เป็น ปราบปรึม พรวดพราด เป็น พลวดพลาด เป็นต้น หรือไม่ออกเสียง ร ล ท่ีควบกล้าอยู่เลย เช่น ตรง เป็น ตง เพราะจะออก เสยี งไดง้ ่ายกวา่ และไมไ่ ด้รบั การฝึกฝนให้ออกเสียงได้ถกู ต้อง เมอ่ื เคยชนิ เขา้ ก็พอใจท่จี ะออกเสยี งตาม สบายไมต่ ้อง รัวล้นิ หรือห่อลน้ิ เราจึงมกั ได้ยนิ คาเหล่านีอ้ ยู่เสมอ “จะปับปงุ เปย่ี นแปงปะเทศ” 2. การออกเสียงอักษรควบกลา้ ว อกั ษร ว ควบกล้าเปน็ พยญั ชนะก่ึงสระออกเสยี งที่รมิ ฝปี ากคล้ายกับออกเสยี งสระอุ ไดแ้ ก่ คว ขว และ คว การออกเสียงบางคนมีการสับเสียงกันมาก คือ ขว หรือ คว ออกเสียงเป็น กว เช่น ควัน เป็น กวัน ควาย เป็น กวาย เป็นต้น ส่วนพวกที่ออกเสียงคาท่ีมีอักษร ว ควบกล้ากับเสียงเด่ียวท่ีมี ลกั ษณะคล้ายกนั - การออกเสียง กว คว เป็น ฟ เชน่ ท้องฟ้ากว้างและทะเลก็ดูเคว้งคว้างจัง เป็น ท้องฟา้ ฟ้าง และทะเลก็ดูเฟ้งฟ้างจงั - การออกเสียง ขว เป็น ฝ เช่น หนั หน้าไปทางขวาแล้วแขวนเส้ือไว้ เป็น หันหน้าไป ทางฝา แล้วแฝนเส้ือไว้

42 เหตุที่เป็นเช่นน้ี เพราะเสียง คว ขว คว และ ฟ ฝ นี้มีวิธีการออกเสยี งที่คล้ายคลงึ กัน ซ่ึง เมื่อ ออกเสยี งผิดแล้วจะทาให้ผูฟ้ ังเข้าใจความหมายผิดไปโดยสน้ิ เชงิ เพราะเป็นคนละหน่วยเสียง นับได้ว่า การออกเสียงคาควบกล้าผิดพลาดทาให้ผู้ฟังเข้าใจความหมายผิดไป จึงต้อง ระมัดระวังในการออกเสยี งใหช้ ดั เจน จากสาเหตุดังกล่าวมาแล้วข้างตน้ ยังเปน็ ปัญหาต่อเน่ืองมาจนถึงปจั จบุ ัน จึงสมควรอย่างยิ่งท่ี จะได้รับการใส่ใจ ทุกฝ่ายจะต้องช่วยกันแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังท้ังครูผู้สอน ผู้ปกครอง รวมถึง ผู้บรหิ ารนัน้ ๆ ด้วย 4. การทดสอบประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 4.1 ความหมายของการทดสอบประสทิ ธภิ าพ ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2556: 7) ให้ความหมายวา่ ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง สภาวะ หรือคุณภาพของสมรรถนะในการดาเนนิ งาน เพื่อให้งานมีความสาเร็จโดยใชเ้ วลา ความพยายาม และ คา่ ใชจ้ า่ ยคุ้มคา่ ท่ีสุดตามจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้ เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ โดยกาหนดเป็นอตั ราส่วนหรอื รอ้ ย ละระหว่างปัจจัยนาเข้ากระบวนการและผลลัพธ์ (Ratio between input, process and output) ประสิทธิภาพเน้นการดาเนินการ ที่ถูกตอ้ งหรือกระทาส่งิ ใด ๆ อย่างถกู วธิ ี (Doing the thing right) ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2556: 7) การทดสอบประสิทธภิ าพ หมายถึง การนาสื่อหรอื ชุดการสอน ไปทดสอบด้วยกระบวนการสองขั้นตอน คือ การทดสอบประสิทธิภาพใช้เบ้ืองต้น (Try Out) และ ทดสอบประสทิ ธภิ าพสอนจริง (Trial Run) เพื่อหาคุณภาพของสอ่ื ตามขั้นตอนท่กี าหนดใน 3 ประเด็น คือ การทาให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น การช่วยให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนและทาแบบ ประเมิน สดุ ท้ายได้ดี และการทาให้ผู้เรียนมีความ พึงพอใจ นาผลทไ่ี ด้มาปรับปรุงแก้ไขก่อนที่จะผลิต ออกมา เผยแพรเ่ ปน็ จานวนมาก 4.2 การกา้ หนดเกณฑป์ ระสิทธภิ าพ เกณฑ์ (Criterion) หมายถึง ขีดกาหนดท่ีจะยอมรับวา่ สง่ิ ใดหรือพฤตกิ รรมใดมคี ุณภาพ หรือ ปริมาณท่รี บั ได้ การตัง้ เกณฑ์ตอ้ งตั้งไว้คร้ังแรกครัง้ เดียว เพ่ือจะปรบั ปรุงคุณภาพให้ถึงเกณฑ์ข้นั ที่ตั้งไว้ จะต้ัง เกณฑ์การทดสอบประสิทธิภาพไว้ต่างกันไม่ได้ เช่น เมื่อมีการทดสอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook