ศกึ ษาวเิ คราะหก์ ารบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก พระรฐั พงค์ อาจณิ ณฺ ธมโฺ ม (ทองแปง) วทิ ยานพิ นธน์ เี้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธศาสนาและปรชั ญา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั พทุ ธศกั ราช 2563
ศกึ ษาวเิ คราะหก์ ารบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก พระรฐั พงค์ อาจณิ ณฺ ธมโฺ ม (ทองแปง) วทิ ยานพิ นธน์ เ้ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธศาสนาและปรชั ญา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั พทุ ธศกั ราช 2563
ANALYTICAL STUDY ON PERFECTION OF GIVING OF PHRA VESSANDORN IN VESSANTARAJATAKA RATTAPHONG ÃCINṆ Ạ DHAMMO (THONGPANG) A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE MASTER DEGREE OF ARTS PROGRAM IN BUDDHISM AND PHILOSOPHY GRADUATE SCHOOL MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY 2020
บทคัดยอ่ หวั ข้อวิทยานิพนธ์ : ศกึ ษาวเิ คราะห์การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสนั ดรใน เวสสันดรชาดก ชื่อนกั ศึกษา : พระรฐั พงค์ อาจณิ ณฺ ธมโฺ ม (ทองแปง) ชือ่ ปรญิ ญา : ศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ า : พุทธศาสนาและปรัชญา ปีพทุ ธศกั ราช : 2563 อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาหลัก : พระครูสมหุ ธ์ นโชติ จิรธมฺโม, ดร. อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาร่วม : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทรงศักด์ิ พรมดี ____________________________________________________________________ วิทยานิพนธน์ ้ี มีวัตถุประสงค์ดังน้ี 1) เพื่อศึกษาแนวคิดและหลักคำสอนทานบารมีในพุทธ ศาสนาเถรวาท 2) เพ่ือศึกษาการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก 3) เพื่อ วเิ คราะห์คุณค่าการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลจาก เอกสารตำราและงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้องจากน้ันได้ทำการวิเคราะห์ข้อมลู ตามวตั ถุประสงค์ ผลการวจิ ยั พบวา่ : แนวคดิ และหลกั คำสอนทานบารมใี นพทุ ธศาสนาเถรวาท ทานบารมี เปน็ แนวคิดคำสอนใน สารัตถสังคหสตู รท่ีกล่าวถึง การให้ การบริจาค การเสียสละ ด้วยความบรสิ ุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน การให้ทานยังเป็นการคลายความตระหน่ี ความเห็นแก่ตัว ความโลภในจิตใจมนษุ ย์ ส่งผลให้เกิดความ ใส สวา่ ง สะอาดของจิตใจทำใหเ้ กิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหม้ ีความเจรญิ กา้ วหนา้ ย่งิ ข้ึน การบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก พระเวสสนั ดรบำเพญ็ ทานบารมี โดยบริจาคพระโอรสพระธิดาให้แก่พราหมณ์ชูชก และการบริจาคพระชายาให้กับพระอินทร์จำแลง ในทางพระพุทธศาสนาถอื ว่าเป็นการให้ทานระดับกลางคอื อุปทานบารมี แมท้ างสังคมถกู มองวา่ เป็น เร่ืองท่ีไม่ถูกต้อง เพราะนำความทุกข์มาให้บุตรธิดาและพระชายาของตน และอาจขดั กับจรยิ ธรรมใน ฐานะของบดิ าที่ตอ้ งดูแลบตุ รธิดาและภรรยาใหม้ คี วามสุข แตใ่ นทางพทุ ธปรชั ญาถือวา่ การบริจาคทาน ของพระเวสสนั ดรเปน็ ปัญญาธกิ โพธสิ ตั ว์ คือทรงพิจารณาตติ รองแล้วจึงบำเพญ็ ทาน วิเคราะหค์ ุณคา่ การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก พบว่า คณุ ค่า ต่อตัวบุคคลของพระเวสสันดร เป็นตัวอย่างของพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ในการบำเพ็ญทานบารมี เป็นการสละทรพั ยส์ ินของตน เพอ่ื ใหท้ านเป็นประโยชน์แก่ผ้อู ื่น เปน็ คณุ ธรรมของพระโพธิสัตว์ คุณค่า ด้านสังคมหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาท่ีปรากฏในเวสสันดรชาดก ช่วยให้การอยู่ร่วมกันในสังคม เปน็ ไปอยา่ งสงบ ทุกคนตา่ งปฏิบตั หิ นา้ ท่ขี องตนเอง ไม่สร้างความเดอื ดร้อนให้ตนเอง คำสำคัญ ทานบารม,ี พระเวสสันดร, เวสสนั ดรชาดก
Abstract Thesis Topic : Analytical Study on Perfection of Giving of Phravessandorn in Vessantarajataka Student’s Name Degree Sought : Phra Rattaphong Ãciṇṇadhammo (Thongpang) Program : Master of Arts Anno Domini : Buddhism and Philosophy Advisor : 2020 Co-Advisor : Phrakrusamu Thanachot Ciradhammo, Dr. : Asst.Prof.Dr. Songsakdi Promdee The objectives of this thesis were as follows; 1) to study concepts and doctrines of perfection of giving in Theravada Buddhism, 2) to study the practice of perfection of giving of Phravessandorn in Vessantarajataka, and 3) to analyze the value of practicing perfection of giving of Phravessandorn in Vessantarajataka. The researcher studied information from documents, textbooks and related theses, and analyzed the data according to the objectives. The results of research were found that : Regarding the concept and doctrine of perfection of giving in Theravada Buddhism, perfection of giving was the concept of teaching in Saratthagaṅgahasutta stating donation and sacrifice without expecting returns. Giving also relieved stinginess, selfishness and greed in the human mind resulting in clarity of mind and leading to development of quality of life for further progress. Regarding the practice of perfection of giving of Phravessandorn in Vessantarajataka, Phravessandorn’s performance of perfection of giving by donating his son and daughter to Brahmin, Chuchok, and by donating his wife to Indra in disguise was considered a medium level of giving , that is, Upaāramī in Buddhism. Although the society might perceive it as inaccurate for it brought suffering to his children and his wife and it might be against ethics as a father who had to keep his children and wife happy, in Buddhist philosophy, Vessantara's donation was reckoned as Paññābodhika Bodhisattva for his donation was fully considered before giving.
ช Regarding Analysis of value of the practice of perfection of giving of Phravessandorn in Vessantarajataka, it was found that as for personal value, Phravessandorn was an example of all Buddhists in performing perfection of giving by donating his own property to benefit others with the virtue of Bodhisatta. As for social value, Buddhist principles that appeared in Vessantarajataka helped to peacefully live in society. Everyone performed his duty and caused no trouble for oneself. Keywords : Perfection of giving, Phravessandorn, Vessantarajataka
กติ ตกิ รรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ สำเร็จลงได้ด้วยความกรุณาอย่างดียิ่งจากบุคคลหลายฝ่าย ในการให้ คำแนะนำปรึกษา และปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องตา่ ง ๆ ด้วยดีเสมอมา ผู้วิจัยรู้สึกซาบซึง้ เป็นอย่างยิง่ จงึ ขอกราบขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มหาวิทยาลัยที่มีความ เป็นเลศิ ทางวิชาการตามแนวพระพทุ ธศาสนา ท่ใี ห้ได้รับโอกาสมีสถานท่ีในการศกึ ษา เล่าเรยี น คน้ คว้า รวบรวมความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ตลอดระยะเวลาที่ได้ศึกษาด้านพุทธศาสนาและปรัชญา ระดับปรญิ ญาโท ในมหาวทิ ยาลัยแหง่ นี้ ขอกราบขอบพระคุณคณบดี คณะศาสนาและปรัชญามหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั ที่ได้อำนวยความสะดวกในการศึกษาตลอดหลักสูตร ขออนุโมทนาผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โผน นามมณี ที่กรุณาเป็นประธานควบคุมการสอบ ขออนุโมทนาคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ทุกท่าน ทีไ่ ดใ้ หค้ ำแนะนำเกีย่ วกบั ความถกู ต้องของเนื้อหาในเล่มวิทยานิพนธด์ ว้ ยดี ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา ทุกท่าน ทไ่ี ดป้ ระสทิ ธป์ิ ระสาทวชิ าความรู้ ขอขอบพระคุณ พระครูสมุห์ ธนโชติ จิรธมฺโม,ดร. และขออนุโมทนาผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงศักดิ์ พรมดี ที่ให้ความอนุเคราะห์ รับเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ที่ได้ให้คำปรึกษาตลอดจน ตรวจสอบข้อบกพร่องต่าง ๆ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง แก้ไขเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ ฉบบั นี้ จนสำเรจ็ ลลุ ่วงได้เปน็ อย่างดี สดุ ท้ายน้ี ขออนโุ มทนาเจา้ หน้าทีบ่ ัณฑิตวิทยาลัยทุกทา่ น ที่ได้ให้ความสะดวกด้วยดเี สมอมา และขออนโุ มทนาครอบครวั และญาตมิ ติ รทุกทา่ น ทีม่ ีสว่ นเกี่ยวข้องกบั การศกึ ษาในครัง้ น้ี ทีค่ อยห่วงใย ใหก้ ารสนับสนนุ และเป็นกำลังใจต้ังแต่เริ่มเรียนจนถึงจบการศึกษาเป็นอย่างดี คุณงามความดีและประโยชน์อันเกิดจากวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ผู้วิจัยขอใช้เป็นเครื่อง สักการบชู าคณุ พระรตั นตรยั พระคุณของมารดา บดิ า ครอู าจารยท์ ่ปี ระสิทธ์ปิ ระสาทความรู้ท่ีมีคุณค่า ยิง่ และขอแผ่คณุ ความดนี ี้ให้แก่เพ่ือนมนุษย์และสรรพสัตวท์ ุกรูปทุกนาม พรอ้ มท้งั เจ้ากรรมนายเวรใน ทุกภพทุกชาตดิ ว้ ยเทอญ พระรฐั พงค์ อาจณิ ฺณธมฺโม (ทองแปง)
สารบญั คำยอ่ ตำราท่ีผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าหลักคำสอนใน “ศึกษาวิเคราะห์การบำเพ็ญทานบารมีของ พระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก”เป็นข้อมูลอ้างอิง จากพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย พุทธศักราช 2539 โดยมคี ำย่อและคำเตม็ ทีอ่ ้างถึง ดังน้ี พระวนิ ยั ปฎิ ก ว.ิ มหา. = วนิ ัยปฎิ ก มหาวภิ ังค์ พระสตุ ตนั ตปฎิ ก ที.ส.ี = ทีฆนิกาย สีลขนั ธวรรค ท.ี ม. = ทีฆนิกาย มหาวรรค ที.ปา. = ทีฆนิกาย ปาฏกิ วรรค ม.อุ. = มัชฌมิ นิกาย อปุ รปิ ัณณาสก์ สํ.ส. = สงั ยตุ ตนิกาย สคาถวรรค ส.ํ สฬา. = สงั ยุตตนิกาย สฬายตนวรรค อง.ฺ เอกก. = อังคตุ ตรนิกาย เอกกนิบาต อง.ฺ อฏฺฐก. = อังคตุ ตรนิกาย อัฏฐกนิบาต ข.ุ ข.ุ = ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ขุ.ธ. = ขุททกนิกาย ธรรมบท ข.ุ เถร. = ขุททกนิกาย เถรคาถา ขุ.ชา. = ขทุ ทกนิกาย ชาดก ขุ.ชา.เอกก. = ขุททกนิกาย เอกกนบิ าตชาดก ข.ุ ป. = ขุททกนิกาย ปฏิสมั ภิทามรรค ขุ.อป. = ขทุ ทกนิกาย อปทาน ขุ.พุทธฺ . = ขทุ ทกนิกาย พทุ ธวงศ์ ข.ุ จริยา. = ขุททกนกิ าย จริยาปฎิ ก คัมภรี ์ฎกี า มงคฺ ล. = มังคลตั ถทปี นี
ฎ การอา้ งองิ ชื่อย่อคัมภีร์พระไตรปิฎกมี 3 ตอน คือ เลขเล่ม / เลขข้อ / เลขหน้า เช่น องฺอฏฺฐก. 23/144/272 หมายถึง พระไตรปิฎก หมวดพระสุตตันตปิฎก องคุตตรนิกาย อัฏฐกนิปาต เล่มที่ 23 ขอ้ ที่ 144 หน้าท่ี 272 เป็นตน้ ช่ือย่อคัมภีร์อรรถกถา ฎีกา และปกรณ์วิเสส มี 2 ตอน หมายถึง เลขเล่ม/เลขหน้า เช่น 3/5 หมายถงึ เล่มที่ 3 หน้าที่ 5 เปน็ ตน้
สารบญั หน้า บทคดั ยอ่ ภาษาไทย....................……............................................................................ จ บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ......................…….……………………………………..……………….……. ฉ กติ ตกิ รรมประกาศ.....................…….……………………………………..………………………...... ซ สารบญั คำยอ่ .......................……................................................................................... ฌ สารบญั .......................……............................................................................................ ญ บทที่ 1 บทนำ........................……………………………………...…………………………………… 1 1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา………………………………………………………….. 1 1.2 คำถามวจิ ยั …………………..……………………………………………………………………………... 3 1.3 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั ...……..……………………………………………………………………. 3 1.4 ขอบเขตของการวิจัย…………………………………………………………………………..………… 3 1.5 วิธดี ำเนินการวิจยั ………………….……...............………………………………………………….. 4 1.6 ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ……………………………………………………………………...……. 4 1.7 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กยี่ วข้อง……………………………………………………………………… 5 1.8 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ……………………………………………………………………........…… 13 1.9 นิยามศัพทเ์ ฉพาะในการวิจยั ……………………………………………………………………..….. 13 บทท่ี 2 ศกึ ษาแนวคดิ และหลกั คำสอนทานบารมใี นพทุ ธศาสนาเถรวาท…….............. 15 2.1 แนวคดิ ทานบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท………………………..….....…………..…............ 15 2.1.1 ความหมายของหลักธรรมทานบารมี………………..….....………………………..…... 15 2.1.2 ประเภทของทาน………………………..………………………..….....……..…................ 18 2.1.3 สาเหตุของการให้ทาน.................................................................................... 18 2.1.4 องคป์ ระกอบของทาน..................................................................................... 21 2.1.5 ประโยชนข์ องการให้ทาน………………………..….....………………………..…........... 23 2.2 การบำเพญ็ ทานบารมี………………………..….....………………………....………………..…..... 26 2.2.1 ทานบารมี………………………..….....………….....…..….....………………………..…..... 30 2.2.1 ทานอปุ บารม.ี ................................................................................................. 30
ฎ สารบญั (ตอ่ ) หน้า 2.2.1 ทานปรมัตถบารม.ี .......................................................................................... 31 2.3 หลกั คำสอนทานบารมใี นพุทธศาสนาเถรวาท........................................................… 32 2.3.1 หลักคำสอนทานบารมีท่ีปรากฏในพระไตรปิฎก............................................. 32 2.3.2 การใหท้ านทป่ี รากฏในคมั ภีรพ์ ระพุทธศาสนาเถรวาท.................................... 33 2.3.3 การใหท้ านในทัศนะของพระธรรมโกศาจารย์ (พทุ ธทาสภิกขุ)........................ 38 2.3.4 การใหท้ านในทัศนะของ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต )......................... 38 2.4 แนวคดิ มุมมองการให้ทานของพระเวสสันดร............................................................ 39 2.4.1 วเิ คราะหก์ ารใหท้ านพระเวสสันดร.................................................................. 40 2.4.2 วิเคราะห์เชงิ สงั คมครอบครวั ........................................................................... 42 บทท่ี 3 การบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก............................. 45 3.1 ความหมายการบำเพ็ญทานบารม.ี ............................................................................ 45 31.1.ความหมายของบารม.ี ..................................................................................... 45 3.1.2 การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสนั ดร........................................................ 48 3.2 การบำเพ็ญทานบารมตี ามจรยิ าวัตรของพระโพธิสัตว์............................................... 54 3.2.1 ความหมายของจริยาวัตร............................................................................... 55 3.2.2 จรยิ าของพระโพธสิ ัตว.์ ................................................................................... 56 3.2.3 จริยา 8 ประการ............................................................................................ 57 3.2.4 จรยิ ากถาว่าดว้ ยความประพฤต.ิ ..................................................................... 58 3.2.5 คณุ ธรรมของพระโพธสิ ัตวเ์ วสสนั ดร................................................................ 59 3.3 พระเวสสนั ดรกบั การบำเพ็ญทานบารมี 3 ระดบั ....................................................... 61 3.3.1 ทานบารมี........................................................................................................ 64 3.3.1 ทานอุปบารม.ี .................................................................................................. 65 3.3.1 ทานปรมตั ถบารม.ี .......................................................................................... 65 บทที่ 4 วิเคราะหค์ ณุ คา่ การบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก.... 70 4.1 คุณค่าตอ่ ตวั บุคคล.................................................................................................... 70 4.1.1 ทานบารมี....................................................................................................... 70 4.1.2 ทานอปุ บารม.ี ................................................................................................. 72
ฏ สารบญั (ตอ่ ) หน้า 4.1.3 ทานปรมตั ถบารม.ี ........................................................................................... 73 4.2 คุณค่าต่อสงั คม.......................................................................................................... 77 4.2.1 การใหท้ านของพระเวสสนั ดรเชิงสงั คมในสังคมไทย....................................... 77 4.2.2 รปู แบบการให้ทานในสงั คมไทยยคุ ปัจจบุ ัน.................................................... 79 บทที่ 5 บทสรปุ ขอ้ เสนอแนะ...................................................................................... 83 5.1 บทสรุป..................................................................................................................... 83 5.1.1 แนวคิดและหลกั คำสอนทานบารมใี นพทุ ธศาสนาเถรวาท.............................. 83 5.1.2 การบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก............................ 85 5.1.3 คณุ ค่าการบำเพ็ญทานบารมขี องพระเวสสันดรในเวสสนั ดรชาดก.................. 87 5.2 ขอ้ เสนอแนะ............................................................................................................. 89 5.2.1 ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย................................................................................ 89 5.2.2 ข้อเสนอแนะเพ่ือการทำวิจยั ........................................................................... 89 บรรณานกุ รม............................................................................................................... 90 ประวตั ิผวู้ จิ ยั ................................................................................................................ 94
ศกึ ษาวเิ คราะหก์ ารบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก ANALYTICAL STUDY ON PERFECTION OF GIVING OF PHRA VESSANDORN IN VESSANTARAJATAKA พระรัฐพงค์ (อาจิณณฺ ธมโฺ ม) ทองแปง Rattaphong Ãciṇṇadhammo (Thongpang) พระครสู มุห์ธนโชติ จริ ธมโฺ ม Phrakrusamu Thanachot Ciradhammo ทรงศักดิ์ พรมดี Songsakdi promdee บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั GRADUATE SCHOOL MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY บทคัดย่อ บทความวิจยั น้ี มีวตั ถปุ ระสงค์ดังนี้ 1) เพ่อื ศึกษาแนวคิดและหลักคำสอนทานบารมีในพุทธศาสนา เถรวาท 2) เพื่อศึกษาการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก 3) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าการ บำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสันดรในเวสสนั ดรชาดก ผู้วจิ ัยไดศ้ ึกษาขอ้ มลู จากเอกสารตำราและงานวิจัยเป็น วิจัย (เอกสาร Documentary Research ) ท่ีเก่ยี วขอ้ งจากน้ันได้ทำการวิเคราะห์ข้อมลู ผลการวิจัยพบว่า : 1) แนวคิดและหลักคำสอนทานบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท ทานบารมี เป็น แนวคิดคำสอนใน สารัตถสังคหสูตรที่กล่าวถึง การให้ การบริจาค การเสียสละ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวัง ผลตอบแทน การให้ทานยงั เป็นการคลายความตระหน่ี ความเหน็ แกต่ ัว ความโลภในจิตใจมนษุ ย์ ส่งผลให้เกิด ความ ใส สว่าง สะอาดของจิตใจทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชวี ิตให้มีความเจรญิ ก้าวหน้ายิง่ ข้ึน 2)การบำเพ็ญ ทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก พระเวสสนั ดรบำเพ็ญทานบารมีโดยบรจิ าคพระโอรสพระธดิ า ให้แก่พราหมณช์ ชู ก และการบรจิ าคพระชายาให้กับพระอนิ ทรจ์ ำแลง ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นการให้ ทานระดับกลางคือ อปุ ทานบารมี แม้ทางสงั คมถกู มองว่าเป็นเรอ่ื งท่ไี มถ่ ูกต้อง เพราะนำความทุกข์มาให้บุตร ธิดาและพระชายาของตน และอาจขัดกับจริยธรรมในฐานะของบิดาที่ต้องดูแลบุตรธิดาและภรรยาให้มี ความสขุ แต่ในทางพทุ ธปรัชญาถอื ว่าการบรจิ าคทานของพระเวสสนั ดรเป็นปญั ญาธิกโพธสิ ัตว์ คือทรงพิจารณา ติตรองแลว้ จงึ บำเพญ็ ทาน3) วิเคราะหค์ ุณคา่ การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก พบว่า คุณค่าต่อตัวบคุ คลของพระเวสสันดร เป็นตัวอย่างของพุทธศาสนิกชนท้ังหลาย ในการบำเพ็ญทานบารมี เป็น การสละทรัพย์สินของตน เพื่อให้ทานเป็นประโยชนแ์ ก่ผู้อ่ืน เป็นคุณธรรมของพระโพธิสัตว์ คุณค่าด้านสังคม หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในเวสสันดรชาดก ช่วยให้การอยู่ร่วมกันในสังคมเปน็ ไปอย่างสงบทกุ คนต่างปฏิบตั หิ นา้ ทข่ี องตนเอง ไมส่ ร้างความเดือดร้อนใหต้ นเอง คำสำคัญ ทานบารมี, พระเวสสันดร, เวสสนั ดรชาดก
Abstract The objectives of this research were as follows; 1) to study concepts and doctrines of perfection of giving in Theravada Buddhism, 2) to study the practice of perfection of giving of Phravessandorn in Vessantarajataka, and 3) to analyze the value of practicing perfection of giving of Phravessandorn in Vessantarajataka. The researcher studied information from documents, textbooks and related theses, and analyzed the data according to the objectives. The results of research were found that : Regarding the concept and doctrine of perfection of giving in Theravada Buddhism, perfection of giving was the concept of teaching in Saratthagaṅgahasutta stating donation and sacrifice without expecting returns. Giving also relieved stinginess, selfishness and greed in the human mind resulting in clarity of mind and leading to development of quality of life for further progress. Regarding the practice of perfection of giving of Phravessandorn in Vessantarajataka, Phravessandorn’s performance of perfection of giving by donating his son and daughter to Brahmin, Chuchok, and by donating his wife to Indra in disguise was considered a medium level of giving , that is, Upaāramī in Buddhism. Although the society might perceive it as inaccurate for it brought suffering to his children and his wife and it might be against ethics as a father who had to keep his children and wife happy, in Buddhist philosophy, Vessantara's donation was reckoned as Paññābodhika Bodhisattva for his donation was fully considered before giving. Regarding Analysis of value of the practice of perfection of giving of Phravessandorn in Vessantarajataka, it was found that as for personal value, Phravessandorn was an example of all Buddhists in performing perfection of giving by donating his own property to benefit others with the virtue of Bodhisatta. As for social value, Buddhist principles that appeared in Vessantarajataka helped to peacefully live in society. Everyone performed his duty and caused no trouble for oneself. Keywords : Perfection of giving, Phravessandorn, Vessantarajataka บทนำ พระพุทธศาสนา เข้ามาสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี และกลมกลืนเข้ากับ ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมไทย มีบทบาทและอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของคนไทยตั้งแต่นั้น เป็นต้นมา เห็น
ได้จากการที่คนไทยนำเอาหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาไปประพฤติปฏิบัติได้มีการนำเอาบุคคลท่ี ปรากฏในชาดกต่าง ๆ ทางพระพุทธศาสนามาเป็นต้นแบบ โดยเฉพาะมหาเวสสันดรชาดก ที่กล่าวถึงพระ เวสสันดรที่ทรงบำเพ็ญทานบารมีเป็นตัวอย่างที่ดีในการให้ทานทำให้คนไทยรู้จักการให้ทาน เสียสละ แบ่งปัน มีน้ำใจไมตรโี อบอ้อมอารีเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกนั ทำให้เกิดความรักความสามัคคีท่ีดีงามในสังคมไทยแต่เดมิ มหา เวสสันดรชาดกแต่งไว้เป็นภาษามคธไม่ปรากฏนามผู้แต่ง(ธนิต อยู่โพธ์ิ, 2514 : 235) มูลเหตุการณ์เล่าเรื่อง มหาชาติคัมภีร์ธรรมบทขุททกนิกายกล่าวว่า เรื่องเวสสันดรชาดกเปน็ พุทธดำรัสที่สมเด็จพระบรมศาสดาตรัส แก่ภิกษุสงฆ์ ขีณาสพสองหมื่นรูป และพระประยูรญาตทิ ีน่ ิโครธารามมหาวหิ ารในนครกบิลพัสดุ์ในคราวเสด็จ โปรดพระเจ้าสุโทธนะพุทธบิดา และพระวงศ์ศากยะบรรดา พระประยูรญาติไม่ปรารถนาจะทำความเคารพ พระองค์ด้วยเห็นว่าอายุน้อยกว่าพระองค์ทรงทราบความคิดนี้จึงทรงแสดงปาฏิหาริย์โดยเสด็จขึ้นเบื้องนภา อากาศแล้วปลอ่ ยให้ฝุ่นละอองธุลพี ระบาทตกลงส่เู ศียรของ พระประยูรญาตทิ ั้งหลาย พระประยูรญาติจึงได้ละ ท้ิงทฐิ แิ ล้ว ถวายบังคมพระพทุ ธเจา้ ขณะนนั้ ไดเ้ กิดฝนโบกขรพรรษ พระภกิ ษุทัง้ หลายเห็นเป็นอศั จรรยจ์ งึ ได้ทูล ถาม พระพทุ ธเจา้ จงึ ตรสั วา่ ฝนชนิดน้เี คยตกมาแล้วในอดตี แลว้ จงึ ทรงแสดงธรรมเรือ่ งมหาเวสสนั ดรชาดก หรือ เรือ่ งมหาชาติใหแ้ กพ่ ระภกิ ษแุ ละพระประยรู ญาติ มหาเวสสนั ดรชาดก พระโพธส์ิ ตั วเ์ สวยชาติเป็นพระเวสสันดร พระองคท์ รงประสูตใิ นวันที่ พระราช บิดาทรงทำประทักษิณพระนคร และพระราชมารดากำลังเสด็จชมร้านตลาด จึงได้ทรงพระนามว่า เวสสันดร พระองค์พอพระทัยในการบริจาคทานโดยที่สุดแม้ร่างกายและชีวิตก็ทรงพอพระทัยทีจ่ ะบริจาคใหเ้ ปน็ ทานได้ ก่อนออกจากพระนครก็มีผู้มาขอราชรถพร้อมทั้งม้าทรง พระองค์ก็ทรงบริจาคให้เป็นทานอีก พระเวชสันดร ทรงพาพระนางมัทรี พระโอรส และพระธิดา ดำเนินด้วยพระบาทผ่านเมืองเจตราชไปถือเพศเป็นฤาษี ณ บรรณศาลาที่เขาวงกต เสวยผลหมากรากไม้เป็นอาหาร เวลาผ่านไป 7 เดือน พราหมณ์ขอทานชื่อชูชกได้ เดินทางไปขอพระโอรสและธดิ า คือ ชาลแี ละกณั หาเพื่อน าไปเป็นทาสรบั ใช้ พระองคพ์ ระราชทานให้ วนั รุ่งข้นึ ท้าวสักกเทวราชแปลงเพศเป็นพราหมณ์มาขอพระนางมัทรีพระองค์ก็พระราชทานให้อีก พราหมณ์ชูชกพา 2 กุมาร เดนิ ทางไปถึงเมอื งเชตุดร พระ เจ้าสญชัยทรงเห็นเข้า จงึ โปรดใหน้ ำพระราชทรพั ย์มาไถ่พระราชนัดดา ทั้ง 2 ไว้ต่อได้ให้พระราชนัดดานำทางไปรับพระเวสสันดรกลับนคร เมื่อพระเวสสันดรเสดจ็ กลับพระนคร ฝน แก้ว 7 ประการไดต้ กลงมาทั่วพระนคร พระองคท์ รงปกครองแผน่ ดินโดยธรรม ทรงบริจาคมหาทานและรักษา อุโบสถศีลตลอดพระชนมายุ หลงั จากสวรรคตแลว้ จงึ ไปสู่สวรรคช์ ้ันดุสิต ให้ทานเปน็ การบำเพญ็ บญุ หรอื การทำ ความดสี ำหรบั คฤหสั ถห์ รือผู้ครองเรอื นประการหนง่ึ ตามหลักบญุ กริ ยิ าวัตถุ ทายกผ้ตู อ้ งการบำเพญ็ บุญต้องเริม่ จากการให้ทาน เพ่ือดำเนนิ ไปสู่ศลี และภาวนาในทีส่ ุด การให้ทาน การรกั ษาศีล และการเจรญิ ภาวนาตามหลัก บุญกริ ยิ าวตั ถจุ ึงเปน็ การพฒั นาจิตใจอย่างเป็นขน้ั ตอน มคี วามสัมพนั ธ์สืบเน่ืองกันจากระดับทบี่ ุคคลสามารถทำ ได้โดยง่าย ไปถึงระดับที่ต้องอาศยั ความเพียรอย่างแรงกล้า บุคคลผู้สามารถเจริญสมาธิภาวนาจนใจสงบแน่ว แน่ควรแก่การงานนั้น จิตใจของบุคคลนั้น ต้องได้รับการฝึกฝนในขั้นการให้ทาน และการรักษาศีลเพื่อขจัด ความโลภ ความโกรธ และความหลงอนั เป็นรากเหงา้ ของอกุศลมาเป็นอย่างดี ซึ่งถา้ บคุ คลไม่สามารถชำระศีล อนั เปน็ การบำเพ็ญเพยี รทางกายให้บริสทุ ธ์ิ กไ็ ม่อาจจะยงั สมาธิภาวนาให้เกิดและไม่อาจจะบรรลุฌาน วิปสั สนา (ญาณ) มรรคและผลใด ๆ ไดท้ านในระดบั ปจั เจกบุคคล จงึ เป็นไปเพอ่ื ขจดั ความโลภ ความโกรธ และความหลง
อันเป็นเหตุเกิดแห่งอกุศลมูล ส่วนทานในระดับสังคม เป็นหลักปฏิบัติการฝึกจิตใจให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักการแบง่ ปัน ไมแ่ ก่งแย่ง ชิงดีชิงเดน่ ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดการทะเลาะววิ าท เป็นเหตุสร้างความบาดหมางให้แก่คน ในสงั คม เมื่อทุกคนรจู้ ักการใหแ้ ก่ผู้อ่นื ผใู้ หย้ อ่ มเปน็ ที่รัก และทุกคนจะรสู้ ึกถึงความปลอดภัยในชีวิต การงาน และการใช้ชีวติ ทีไ่ ม่ตอ้ งหวาดระแวง ย่อมนำมาซง่ึ ความสขุ ทงั้ ตอ่ ตนเองและสงั คม นอกจากทานในระดับสังคม หรอื ประโยชน์ตอ่ ผู้อ่ืนแลว้ ในระดับที่สูงขึ้นไป สำหรับผูท้ ม่ี ีความเสยี สละเพื่อสังคมอย่างยอดเยยี่ ม ทานยังเป็น คณุ ธรรมสำหรบั การสร้างบารมเี พื่อการบรรลคุ ุณธรรมในระดับที่สงู ขนึ้ ไปดงั เช่น ทานอุปบารมีท่ีพระพุทธองค์ ทรงบำเพ็ญมาเมอ่ื ครงั้ เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดร ไดท้ รงให้พระนางมทั รผี ู้เปน็ มเหสี กัณหา และชาลีบุตร ธดิ าเป็นทานแก่ชชู ก ซึง่ เปน็ ทานทก่ี ระทำไดย้ ากยง่ิ ทานจึงมคี วามสำคญั ทงั้ ในระดับปจั เจกบคุ คล และในระดับ สงั คม การที่ผู้วิจัยเรื่องทำวิทยานิพนธ์เรื่องนี้ เพราะเห็นว่าการบำเพ็ญทานบารมีที่ปรากฏในเวสสันดร ชาดก ในประเด็นการบำเพญ็ ทานบารมีเปน็ กลไกสำคัญที่สอนให้พุทธศาสนิกชนได้รู้จักการถวายทานสร้างกุศล บุญอันดีงามแก่ตนเอง ครอบครัว สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักธรรมคำสอนที่ปรากฏในมหาเวสสันดรชาดก ล้วนแล้วแต่เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การให้ทาน การเสียสละ ของพระเวสสันดร ที่ถือเป็นการบำเพ็ญเพียรอย่างสูงสุดในชาติสุดท้ายนี้ เพื่อเป็นแนวทางให้คนรุ่นหลังได้ กระทำตาม เป็นตน้ แบบที่ดีเพ่ือให้พระพุทธศาสนา มีความเจรญิ รงุ่ เรอื งและม่ันคงสบื ตอ่ มาจนถึงทกุ วันนี้ และ ยงั มอี งค์ประกอบหลายประการที่เป็นเหตใุ หก้ ารบำเพญ็ ทานบารมขี องท่านประสบความสำเร็จ ดังนั้น จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจว่า แนวคิดและหลักคำสอนทานบารมีในพุทธศาสนาเถรวาทมีประวัติ ความเป็นมาอย่างไร มีวิธีการปฏิบัติแนวคดิ อย่างไร และการบำเพญ็ ทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดร ชาดก พระเวสสันดรโพธิสัตว์ทรงมีวิธีการบำเพ็ญถวายทานบารมีอย่างไรในพระชาตินี้ มีบทบาทที่สำคัญ อย่างไรซึง่ ท่านเป็นต้นแบบของการบำเพ็ญทานบารมี และมีคุณค่าในการบำเพ็ญทานบารมีอย่างไรบ้าง ทั้งนี้ เพือ่ เป็นแนวทางในการประกอบศาสนกจิ ดำเนินชวี ติ และเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาสืบตอ่ ไป วัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั 1) เพ่ือศึกษาแนวคิดและหลักคำสอนทานบารมใี นพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพ่ือศึกษาการบำเพญ็ ทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก 3) เพ่อื วิเคราะห์คณุ ค่าการบำเพญ็ ทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ยั ในการศกึ ษาวจิ ัยครั้งน้ี ผู้วิจัยทำการศกึ ษาวิเคราะห์ “ศกึ ษาวเิ คราะห์การบำเพญ็ ทานบารมีของพระ เวสสันดรในเวสสันดรชาดก\" เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) และ ศึกษาจากข้อมูลเอกสารต่าง ๆ หนังสือ เอกสารวิชาการ วิทยานิพนธ์ วารสาร บทความ และเอกสารวิจัยท่ี เก่ยี วขอ้ งในการรวบรวมขอ้ มลู ซ่ึงจะมีลำดบั ขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปนี้
1. การศึกษาและรวบรวมข้อมูล การวจิ ยั เอกสาร (Documentary Research) จะดำเนนิ การศึกษา ข้อมูลชั้นปฐมภูมิ (Primary Source) จากพระไตรปิฎก ศึกษาข้อมูลชั้นทุติยภูมิ (Secondary Source) จาก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ปกรณว์ ิเสส และตำราอื่น ๆ ทงั้ ที่เป็นภาษาไทย เป็นต้น และศึกษาข้อมูลจากเอกสาร หนังสือ บทความฯลฯ เพอ่ื ศึกษาวเิ คราะห์การบำเพญ็ ทานบารมีของพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก 2. รวบรวมเอกสาร และทำการวิเคราะห์ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากเอกสาร หนังสือ และสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ นำมา วิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ ในแตล่ ะประเดน็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษาวจิ ยั คร้งั นี้ 3. รวบรวมเอกสาร และทำการสงั เคราะห์ข้อมูล เนือ้ หา \"ศึกษาวิเคราะหก์ ารบำเพญ็ ทานบารมีของ พระเวสสันดรในเวสสนั ดรชาดก\" ตามวัตถุประสงคข์ องการศกึ ษาวิจยั คร้งั นี้ 4. นำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมารวบรวม และทำการวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ประมวลผลให้เป็นหมวดหมู่ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 5. สรุปผลการศึกษาและเสนอแนะ รวบรวมข้อมูลจัดพิมพ์ข้อมูล จากเอกสารที่ทำการศึกษา เก่ยี วกบั ในเวสสันดรชาดก” เปน็ ตน้ 6. เขียนเรียบเรียงขอ้ มลู และทำการปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้เหมาะสม 7. เขยี นรายงานการวจิ ัยฉบบั สมบูรณ์ 8. นำเสนอผลงานวจิ ัย ขอบเขตของการวจิ ยั 1. ขอบเขตด้านเอกสาร ขอบเขตการวจิ ยั ดา้ นเอกสาร (Documentary Research) โดยศกึ ษาจากเอกสารชั้นปฐมภูมิ คือ พระไตรปิฎกฉบบั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พทุ ธศกั ราช 2539 เปน็ เอกสารหลัก และเอกสารทุติยภูมิ ที่เป็นหนังสือ เอกสารวิชาการ วิทยานิพนธ์ วารสาร บทความ และเอกสารวิจัยที่เกี่ยวขอ้ งกับหลักธรรมการ บำเพญ็ ทานบารมที ่ปี รากฏในเวสสนั ดรชาดก 2. ขอบเขตด้านเน้อื หา งานวิจัยน้ีได้กำหนดเนื้อหาของการศึกษาเก่ียวกบั เร่ือง การศึกษาวิเคราะห์การบำเพ็ญทาน บารมที ีป่ รากฏในเวสสันดรชาดก โดยงานวิจยั นี้มงุ่ ศึกษาเนอ้ื หาหลักใน 3 ประเดน็ ประกอบดว้ ย 1) แนวคดิ และหลักคำสอนทานบารมใี นพทุ ธศาสนาเถรวาท - แนวคิดทานบารมใี นพุทธศาสนาเถรวาท - การบำเพ็ญทานบารมี - หลักคำสอนทานบารมใี นพทุ ธศาสนาเถรวาท 2) การบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก - ความหมายการบำเพญ็ ทานบารมี - การบำเพญ็ ทานบารมตี ามจริยาวตั รของพระโพธสิ ตั ว์ - พระเวสสนั ดรกบั การบำเพญ็ ทานบารมี 3 ระดับ 3) วเิ คราะหค์ ณุ คา่ การบำเพญ็ ทานบารของพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก
- คุณคา่ ตอ่ ตวั บุคคล - คณุ คา่ เชิงสังคม อภิปรายผล 1. แนวคิดและหลักคำสอนทานบารมใี นพุทธศาสนาเถรวาท พระเวสสันดร เป็นผู้ที่มีแนวคิดมกี าร วางแผนไว้ล่วงหน้า ให้กับครอบครัวของพระองคเ์ ป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว จึงได้พระราชทานให้ทานทกุ อยา่ ง แก่ผู้ ที่มาทุนขอ เพื่อให้ทานในครั้งนี้ สำเร็จ พระองค์จึงได้เก็บความเศร้าเสียใจไว้ข้างใน ไม่ให้ผู้ใดล่วงรู้ได้ ในเชิง ครอบครวั เป็นการทำให้ครอบครัวแตกแยก ไปคนละทิศละทาง ทำใหเ้ กดิ ความทุกข์ ของท้ัง 4 พระองค์ แต่ใน ส่ิงที่ทำไปเพื่อความปรารถนาพระโพธิญาณสูงสุด ในการบริจาคมหาทานทั้งปุตตทาน คือการพระราชทาน พระโอรสและพระธิดาให้เป็นทาน และภริยาทาน คือการพระราชทานพระชายาให้เป็นทานนั้นหากเมื่อมอง อย่างผิวเผินในยุคสมัยที่เปลี่ยนไป อาจถูกตั้งคำถามว่าเป็นการถูกต้องเหมาะสมชอบธรรมหรือขัดกับหลัก มนุษยธรรมหรือจรยิ ศาสตร์หรือไม่ การให้ชีวิตคนอื่นเพือ่ เปน็ บนั ไดมุ่งสู่การบรรลุพระสัมมาสัมโพธญิ าณของ ตนเองนั้น ถือว่าเป็นล่วงละเมิดในสิทธิมนุษยชนหรือไม่ คำถามเหล่านี้ล้วนแต่แฝงความเคลือบแคลงสงสัย ให้กับผู้คนที่ต่างวัฒนธรรมหรือเกิดใหม่ในกาลภายหลัง ดังนั้นผู้เขียนจึงต้องการหาคำตอบและเหตุผล เพื่อ นำมาตีความและอธิบายขยายความเพื่อทำความเข้าใจให้กับผู้ที่ยังเคลือบแคลงสงสัยอยู่ ในกรณีการ พระราชทานพระโอรสพระธิดาและพระชายาให้เป็นทานของพระเวสสันดรนั้นว่าถูกต้องเหมาะสมและชอบ ธรรมหรือไม่ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการทำความเข้าใจให้ถูกต้องตามหลักการและเหตุผล และนำมาซ่ึง สัมมาทิฏฐิต่อไป 2.การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก ทานบารมี ได้แก่ ทานที่บำเพ็ญด้วย การสละทรัพย์ ในขทุ ทกนกิ าย จรยิ าปิฎก กล่าวถึงการบำเพญ็ ทานบารมีของมหาโควินทพราหมณ์โพธิสัตว์ท่ีได้ บรจิ าคมหาทานรอ้ ยล้านแสนโกฏิ เพื่อพระสพั พญั ญตู ญาณ ระดับการบำเพญ็ ทานในฐานะเปน็ บารมีจริยาวัตร ของพระโพธิสัตว์ หมายถึง การทำความดีด้วยกัมมสัทธาก็คือว่าผู้ตั้งประณิธานเป็นพระโพธิสัตว์ บำเพ็ญทส บารมีไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งเป็นเวลานานก็เพราะกัมมสัทธา คือเชื่อกรรม แม้จะผ่านการเวยี นวา่ ยตายเกิดก่อนที่จะ ได้รับการพยากรณ์จากพระพุทธเจา้ ผูท้ รงพระชนม์อยู่ก็นบั ชาติไมถ่ ้วน เมื่อได้รับการพยากรณ์แลว้ ก็เวยี นว่าย ตายเกิด 547 ชาติ บำเพ็ญทสบารมี ทานอุปบารมี ได้แก่ ทานที่บำเพ็ญด้วยการสละอวยั วะ เช่นดวงตา และ โลหติ ในการบำเพญ็ ทานอุปบารมีน้ี ในขุททกนิกาย จริยาปิฎก กล่าวถึงพระจริยาของพระเจา้ สวี รี าชโพธิสัตว์ที่ ให้ทาน พระเนตรข้างหนึ่งแก่ท้าวสักกะ การให้ทานครั้งนี้ก็เพือ่ สัพพัญญูตญาณทานอุปบารมี เป็นบารมีข้ัน กลาง พร้อมทท่ี รงฌานโลกีย์ ท่านพวกนจี้ ะพอใจการเจรญิ พระกรรมฐาน และทรงฌาน แต่ยงั ไมถ่ ึงขน้ั วิปสั สนา ยงั ไมพ่ ร้อมท่ีจะไปและไมพ่ ร้อมที่จะยนิ ดีเร่อื งพระนพิ พาน พรอ้ มอยู่แค่ฌานสมาบตั ิ เลยเป็นผู้ต้ังใจสร้างบารมี ไปทางดี คือไปตามทางท่จี ะก้าวหนา้ ไปสู่ความเจรญิ ให้ยิง่ ๆ ขนึ้ ไป ทานปรมตั ถบารมี ได้แก่ ทานท่ีบำเพ็ญด้วย การสละชีวิต ในปัณฑิตจริยา กล่าวถึงการบำเพ็ญทานปรมัตถปารมขี องบัณฑิตพระโพธิสัตว์ที่อุทิศร่างกายให้ เป็นทานแก่พราหมณ์ พระเวสสันดรพระราชทานพระโอรสพระธิดาและพระชายาให้เป็นทาน ประเด็นการ พระราชทานพระโอรสพระธิดาให้เป็นทานของพระเวสสันดรนั้น เมื่อมองอย่างผิวเผินก็จะดูเหมือนว่า พระ เวสสันดรเป็นพ่อที่ขาดเมตตาธรรม แต่เมื่อพิจารณากันอย่างละเอียดถี่ถ้วนแล้วจะเห็นว่า พระองค์เป็นผู้มี
วิสัยทัศน์ยาวไกล มีพระทัยเปี่ยมล้นด้วยเมตตา จะเห็นได้วา่ จากการที่พระองค์ไม่ปรารถนาที่จะให้พระโอรส และพระธิดาทั้งสองต้องตกระกาลำบากในป่าเขาลาเนาไพร และทรงคาดหวังลึก ๆ ว่าอยากให้พระโอรส พระธิดาของพระองค์เปน็ สะพานทองติดต่อกับพระราชบิดาและพระราชมารดา และไหพ้ ระโอรสของพระองค์ ได้เปน็ กษัตริย์ครองเมืองสีพตี อ่ ไปพระเวสสันดร (ปัญญา สละทองตรง, 2544 : 102) ถอื ว่าเปน็ นักบริจาคทาน ผู้ย่ิงใหญ่ทีส่ ุดในโลกดังปรากฏในวรรณกรรม พระเวสสนั ดรชาดก ดงั นี้คอื พระราชทานชา้ งปจั จยั นาคเป็นทาน และได้ทำพธิ สี ัตตสดกมหาทาน คือบริจาคชา้ ง มา้ โคนม รถม้า ทาส และทาสีอยา่ งละ 700 เปน็ การบริจาคให้ คนทั่วไป และพระองค์ได้ทำปญั จมหาบริจาค คือการบริจาคท่ียิง่ ใหญ่ 5 ประการ คือ 1) ธนบริจาค (การสละ ทรัพย์สมบัติเปน็ ทาน) 2) อังคบริจาค(การสละร่างกายเป็นทาน) 3) ชีวิตบริจาค(การสละชวี ิตให้เป็นทาน) 4) บุตรบริจาค(การสละลกู ใหเ้ ปน็ ทาน) 5) ภรยิ าบริจาค (การสละภรรยาใหเ้ ปน็ ทาน) และพระเวสสันดรได้บำเพ็ญ คุณธรรมของพระโพธิสตั ว์ดังน้ี 1) ใหใ้ นสงิ่ ทบ่ี คุ คลให้ได้ยาก 2) ทำในส่ิงทบ่ี คุ คลทำไดย้ าก 3) ทนในสิ่งที่บุคคล ทนได้ยาก 4) ชนะในสิ่งท่ีบุคคลชนะได้ยากและ 5) ละในสิ่งที่บุคคลละไดย้ ากและเมือ่ วิเคราะหจ์ ริยธรรมจาก บทบาทของพระเวสสันดรพบวา่ หลักทศพิธราชธรรม เป็นตัวแทนดา้ นคณุ ธรรมของพระเวสสนั ดรจากบทบาท และหน้าทท่ี ่พี ระองคไ์ ด้ทรงปฏิบัติ (พระสุกรี ยโสธโร, 2563 : 5) พระโพธญิ าณเร่อื ยมานานถงึ 20 อสงชัยกับ 1 แสนมหากัป ตลอดระยะเวลาอันยาวนานนี้ พระองคต์ ้องท่องเที่ยวเวยี นว่ายตายเกิดในภพภูมติ ่าง ๆ ทรงสู้ อุตส่าห์สรา้ งบารมีด้วยน้ำพระทัยที่เด็ดเด่ียวทรงมุ่งมัน่ ต่อพระโพธญิ าณบารมที ีไ่ ด้ทรงบำเพ็ญที่เกื้อกูลเป็นต่อ พระโพธิญาณนั้นหากว่าด้วยพระธรรมแล้วมี 10 ประการดูบารมี 10 ท่กี ล่าวแลว้ และในการบำเพญ็ แตล่ ะบารมี มีทานบารมีเป็นต้นก็ทรงบำเพ็ญไม่เท่ากันในแต่ละชาติบางชาติก็ทรงบำเพ็ญอย่างธรรมดาบางชาติก็ทรง บำเพ็ญอย่างอุกฤษฏ์ฉะนั้นหากพิจารณาตามลักษณะที่ทรงบำเพ็ญนี้บารมีจึงมี 3 ระดับชั้น (พระมหาวิลาส ญาณวโร, 2508 : 184) 3.วิเคราะห์คุณค่าการบำเพ็ญทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสันดรชาดก คณุ ค่าการบำเพ็ญทาน บารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก เป็นตัวอย่างของพุทธศาสนิกชนชาวพุทธทั้งหลาย ในการบำเพ็ญ ทานบารมี เป็นการสละทรัพย์สินของตนและสละสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ทานเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นที่ได้รับความ ลำบาก เป็นคุณธรรมของพระโพธิสัตว์ที่ยากจะทำได้ และยังน่ายกย่องเชิดชูเป็นอย่างยิ่ง คุณธรรมคือการ เสียสละกิเลสภายในคือโลภะ โทสะ โมหะ ให้เบาบางลงหรือหมดไปในที่สุด การเสียสละช่ัวคราวหรือถาวรก็ เรียกว่าได้ปฏิบัติหลักจาคะการบำเพญ็ ทานคือการให้ซึ่งเจาะจงว่าเป็นการให้วัตถุสิ่งของเป็นหลัก นอกจากน้ี ความหมายของคำว่าการให้ยังครอบคลุมไปถึงการให้สติปัญญา (วิทยาทาน) การให้ธรรมะ (ธรรมทาน) เพียงแตไ่ มใ่ ช่การใหท้ านโดยทัว่ ไปเพราะจัดอยู่ในขั้นของการบำเพ็ญเพื่อเกิดความกตัญญูรู้คุณ และตอบแทน หรอื สนองคุณ สรุปได้วา่ บคุ คลที่มีคุณธรรมด้านความกตัญญูกตเวทนี ้ีถือไดว้ า่ เปน็ บุคคลทีป่ ระเสริฐยง่ิ และความ ซ่อื สัตย์สุจริต เรอื่ งพระเวสสันดรชาดก มีอทิ ธพิ ลตอ่ วัฒนธรรม จารีตของคนไทยมาเป็นระยะเวลาช้านานแล้ว โดยพุทธศาสนกิ ชนชาวไทยได้กำหนดการทำบบุ ุญผะเหวด โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเปน็ การได้บำเพ็ญตามจริยา พระโพธิสัตวเ์ วสสันดรการใหท้ านของพระเวสสันดรเชิงสงั คมวทิ ยาในสังคมไทย คนไทยในยคุ ปัจจบุ นั มแี นวคิด มจี ิตใจ เออ้ื เฟื้อเผอ่ื แผ่ ชว่ ยเหลือกนั และกนั และมจี ิตแห่งการให้ทานเป็นลักษณะปกติวิสยั ซ่งึ ทานต้องขึ้นอยู่
กับเจตนาทง้ั 3 ประการ คอื กอ่ นให้ กำลังให้ หลังจากใหไ้ ปแลว้ รูปแบบในการให้มีหลกั อยู่ 3 ประการ ได้แก่ เขตสมบัติ คือ บุญเขตถึงพร้อม ไทยธรรมสมบัติ คือ ไทยธรรมถึงพร้อม และจิตตสมบัติ คือ เจตนาถึงพร้อม การทำ น้ีถอื ไดว้ ่ามเี จตนาท้ัง 3 กาล เพราะตัวเจ้าของทานน้ันมีการชำระ จติ อยู่ตลอดเวลา ถอื ว่าผู้ให้ทานเป็น ทานปติ คือ ผเู้ ป็นนายแห่งทาน ไมใ่ ช่เปน็ ทาสแหง่ ทาน สหายแห่งทาน แตใ่ ห้ดว้ ยความเคารพต่อไทยทานด้วย เคารพต่อปฏิคาหกด้วย ประดุจให้แก่ผู้เป็นที่เคารพนับถือและบูชาฉะนั้น ถือได้ว่ามีผลต่อการให้ทาน สงั คมไทยในยุคปจั จบุ ัน ซ่ึงเปน็ สังคมแบบพหุวัฒนธรรม ท่ีมีแนวคิดดา้ นความเช่ือ และพธิ ีกรรม ท่ีหลากหลาย ทำให้เกิดมิติทางสงั คมที่สลับซับซ้อนจนบางครั้ง ทำให้เกิดความสับสนในดา้ นความเชื่อ วิธีการ และพิธีกรรม โดยเฉพาะการให้ทานในทางพระพุทธศาสนา ซึ่งมีหลักการ และแนวทางในพระไตรปิฎก อย่างชัดเจน แต่ อาจจะเกิดจากความคลาดเคลือ่ น ในการตีความหมายและการส่ือสารการใหค้ นไทยถือวา่ เป็นชาวพุทธเข้าใจ คำว่าทานให้มากขึ้น ทาน มีรากศัพท์ มาจากทาธาตุใน ภาษาบาลี หมายถึง การให้ การบริจาค การเสียสละ (หลวงเทพดรุณานุศิษฏ์, 2530 : 274) องคค์ วามรู้ และนวัตกรรม การบำเพญ็ ทานบารมีของพระเวสสันดร หลกั คำสอนทานบารมใี นพทุ ธศาสนาเถรวาท แนวคดิ เกี่ยวกบั ทานบารมี พระเวสสนั ดรกบั การบำเพ็ญ ในพุทธศาสนาเถรวาท ทานบารมี 3 ระดบั คุณค่าการบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก จากการศึกษาวิเคราะห์การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก พบว่าหลักการ บำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก นั้น ได้อาศัยหลักธรรมการให้ทานในทางพุทธศาสนา เป็นตัวอย่าง ที่มนุษย์ในสังคมในยุคปัจจุบันได้ศึกษาเรียนรู้การให้ การเสียสละทรัพย์สินของตนเพื่อเป็น ประโยชน์แก่ผู้อื่น และยังสามารถนำไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อีกด้วย เพื่อให้ผู้คนในสังคมได้
เรยี นรู้การใหท้ านดว้ ยจติ เมตตาให้โดยไม่หวังสง่ิ ตอบแทน จึงทำใหส้ งั คมน้นั นา่ อยู่ มีแตส่ งบสขุ ซง่ึ ไดร้ ับตน้ แบบ มาจากเวสสันดรชาดกเป็นเรื่องของการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดร นอกจากจะเป็นเรื่องราวการ บำเพญ็ ทานบารมีของพระพุทธเจา้ ในคร้ันเป็นพระโพธสิ ัตว์แลว้ ยงั เป็นต้นแบบของผ้สู นใจในการปฏิบัติเพื่อจะ นำพาปุถุชนทั้งหลายข้ามพน้ จากวฏั ฏะสงสารเขา้ สู่พระนิพพานในท่สี ดุ สรุป หลักการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก นั้น ได้อาศัยหลักธรรมการให้ทาน ในทางพทุ ธศาสนาเป็นตัวอย่าง ทีม่ นุษยใ์ นสังคมในยุคปัจจุบนั ได้ศึกษาเรียนรู้การให้ การเสยี สละทรัพย์สินของ ตนเพื่อเป็นประโยชน์แกผ่ ูอ้ ืน่ และยังสามารถนำไปประพฤติปฏิบัตใิ นชีวิตประจำวันได้อีกด้วย เพื่อให้ผู้คนใน สังคมได้เรียนรู้การให้ทานด้วยจิตเมตตาให้โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน จึงทำให้สังคมนั้นน่าอยู่ มีแต่สงบสุข ซ่ึง ได้รับต้นแบบมาจากเวสสันดรชาดกเป็นเรื่องของการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดร นอกจากจะเป็น เรอื่ งราวการบำเพญ็ ทานบารมีของพระพุทธเจ้าในคร้นั เปน็ พระโพธิสตั ว์แล้ว ยังเปน็ ตน้ แบบของผู้สนใจในการ ปฏบิ ัติเพอ่ื จะนำพาปุถุชนทัง้ หลายข้ามพน้ จากวฏั ฏะสงสารเข้าสู้พระนพิ พานในทส่ี ุดอกี ดว้ ยทาน หมายถึง การ ให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิง่ ใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบญุ เกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชวี ติ ของเราใหส้ มบูรณ์พรอ้ มดว้ ยทรัพย์สมบัติ พระเวสสันดร พระองค์มีคุณธรรมที่ได้เป็นแบบอย่างของชาวพุทธมากมายหลายอย่าง ตามแต่ ทัศนะของแต่ละท่าน ประโยชน์ของการให้ทาน ประโยชนข์ องการใหท้ านหรือที่ทางศาสนาเรียกว่า“ อานสิ งส”์ ก็คือประโยชน์หรือผลที่เกิดจากการให้ทานนั่นเองซึ่งจะมีผลเกิดขึ้นทั้งแกผ่ ู้ให้ทานและผู้รับทาน แต่ถ้าพูดถงึ อานิสงส์ของการให้ทานจะหมายถึงผลทานที่จะเกิดขึ้นมีข้ึนแก่ผู้ให้เป็นสำคัญเฉพาะผู้ให้ทานไมว่ ่าจะให้ด้วย เหตผุ ลประการใดก็ตาม (ตามท่ีกล่าวมาแล้วนน้ั ) ผูใ้ ห้ยอ่ มจะไดร้ ับอานิสงส์คือผลที่เกิดจากการให้ทานนั้นการ บำเพ็ญทานบารมีตามจริยาวัตรของพระโพธิสัตว์เป็นเรื่องยากเกินไปและเกินความจำเป็นสำหรับตัวเองท่ี ปรารถนาเพียงทรัพยส์ มบัติในชาตินี้และเมื่อตายไปก็ปรารถนาสวรรค์สมบัติ ความจริง การบำเพ็ญทสบารมี ขอให้มีจุดเริ่มต้นแห่งการทำดีด้วยกุศลเจตนาอย่างแท้จริง บุคคลก็จะได้รับการพัฒนาไปตามลำดับ ในการ บำเพญ็ ทสบารมไี ม่ต้องกำหนดเปน็ ทานบารมศี ลี บารมี เนกขัมมบารมกี ็ได้ แตใ่ หเ้ ป็นไปในวิถีชีวติ โดยยึดหลักไม่ ทำชั่ว ทำดี และทำจิตให้ผ่องใสซึ่งมีนัยดังกลา่ วมาแล้ว เช่น ในการให้ทาน ได้ชื่อว่าทำดี ได้ชื่อว่าบำเพ็ญทาน บารมี ในขณะเดียวกันขณะที่ให้ทานเกิดความตระหนี่ขึ้นมาก็ข่มไว้ ชื่อว่าได้บำเพ็ญขันติบารมี สัจจบารมี อธษิ ฐานบารมี มีเหตุแทรกซอ้ นข้ึนมาขณะให้ทานซ่ึงจะทำใหจ้ ิตเศร้าหมองก็รกั ษาอาการน่ิงไว้ ช่ือว่าไดบ้ ำเพ็ญ อธิษฐานบารมีและอุเบกขาบารมีเป็นต้น และในฐานะที่เป็นพระโพธิสัตว์ การที่จะเป็น พระโพธิสัตว์ได้น้ัน จะต้องเป็นผู้มีความเสียสละความสุขของตนเอง เพื่อประโยชน์สุขของมหาชนคนอื่น จะต้องบำเพ็ญในสิ่งที่ สามัญชนทำได้ยาก พระเวสสนั ดรทรงเปน็ แบบอยา่ งในการบำเพญ็ บารมีในหลายภพหลายชาติ โดยเฉพาะทศ ชาติสุดท้ายก่อนตรสั รู้พระสมั มาสัมโพธิญาณ ในความเสียสละและหนกั แน่นของพระองค์จึงน่าสรรเสรญิ และ ศรทั ธาเลอื่ มใสเปน็ อย่างย่ิง (บรรจบ บรรณรุจิ, 2549 : 211)
คุณค่าการบำเพญ็ ทานบารมี ที่ปรากฎในเวสสันดรชาดกมคี ณุ ค่า 2 ด้านด้วยกนั คอื 1) คุณคา่ ต่อตัว บุคคลคุณค่าการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก เป็นตัวอย่างของพุทธศาสนิกชนชาว พุทธทั้งหลาย ในการบำเพ็ญทานบารมี เป็นการสละทรัพย์สินของตนและสละสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ ทานเป็น ประโยชน์แก่ผ้อู ืน่ ท่ีไดร้ บั ความลำบาก เป็นคณุ ธรรมของพระโพธสิ ตั ว์ทยี่ ากจะทำได้ และยังนา่ ยกยอ่ งเชิดชูเป็น อย่างยิ่ง การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสนั ดรในเวสสันดรชาดก เป็นการสะท้อนในเชิงอุดมคตินิยม สร้าง ตัวอย่างของพุทธศาสนิกชนชาวพุทธท้ังหลาย ได้เข้าใจหลักการบำเพ็ญทานบารมี ซึ่งมีอยู่ 3 ระดับ คือ ทาน บารมี ข้ันต้น ทานอุปบารมี ขัน้ กลาง ทานปรมัตถบารมี ขั้นสูง เชน่ การสละทรพั ย์สนิ ของตนและสละสิง่ ตา่ ง ๆ ของพระเวสสนั ดร เชน่ การให้ทานช้างปัจจยั นาคเปน็ ทาน และได้ทำพธิ ีสตั ตสดกมหาทาน คือบรจิ าคช้าง ม้า โคนม รถม้า ทาส และทาสีอย่างละ 700 เป็นการบริจาคใหค้ นท่ัวไป (พระครูพิลาศสรกิจ (สุรศักดิ์ ธารายศ), 2562 : 2307) 2) คุณค่าด้านสังคม หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาทีป่ รากฏในมหาเวสสันดรชาดก จะช่วยให้ การอยู่ร่วมกันในสังคมเป็นไปอย่างสงบ ทุกคนต่างปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง ไม่สร้างความเดอื ดร้อนให้ตนเอง และผู้อื่น เมื่อใครทำผิดก็ให้อภัยซึ่งกันและกัน มีความสามัคคีเป็นที่ตั้ง สังคมมีความเข็มแข็ง ปัญหาทาง ครอบครัวลดน้อยลงและอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขคนไทยในยุคปัจจุบันมีแนวคิด มีจิตใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ชว่ ยเหลือกนั และกนั และมจี ิตแหง่ การให้ทานเป็นลักษณะปกติวิสัย ซงึ่ ทานตอ้ งขึ้นอยกู่ ับเจตนาท้งั 3 ประการ คอื ก่อนให้ กำลงั ให้ หลงั จากให้ไปแลว้ รูปแบบในการใหม้ ีหลักอยู่ 3 ประการ ได้แก่ เขตสมบัติ คือ บุญเขตถึง พร้อม ไทยธรรมสมบตั ิ คอื ไทยธรรมถงึ พรอ้ ม และจิตตสมบัติ คือ เจตนาถงึ พร้อมการทำ ข้อเสนอแนะ 5.2.1 ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย 1) ผูท้ ่สี นใจศกึ ษาเรอ่ื งการบำเพญ็ บารมขี องพระเวสสันดร ควรมกี ารจัดตง้ั ขอ้ มูลเอกสารเฉพาะเร่ือง ทานในเรอื่ งของเวสสันดรชาดกไวใ้ น สถานท่ตี ่าง ๆ เชน่ ชุมชน หมู่บ้าน สงั คม และ หอ้ งสมดุ ทวั่ ไป เพ่อื สะดวก ตอ่ การศกึ ษาเรียนรู้ได้งา่ ยย่ิงขึ้น 2) ในปจั จบุ ันมีผู้สนใจในการบำเพ็ญบารมขี องพระเวสสนั ดร ซง่ึ ถือวา่ การใหท้ านบางอย่างเป็นส่ิงท่ี ทำที่ไดย้ ากมาก เพราะฉะน้ัน ยังมผี ้คู นสนใจการบำเพญ็ บารมแี บบนอี้ ยจู ำนวนมาก แตย่ ังขาดข้อมูล ประโยชน์ จากการบำเพ็ญ ผลลพั ธ์ และวิธีการบำเพญ็ ทีถ่ กู ตอ้ ง 5.2.2 ข้อเสนอแนะเพือ่ การทำวิจัย 1) ควรมีการทำวจิ ยั ในประเด็นท่ีเก่ียวกบั การวเิ คราะห์การบำเพญ็ ทานบารมีของพระเวสสนั ดร เป็น เรอื่ งราวของพระโพธสิ ัตว์ซึง่ เปน็ พระชาติสุดท้ายของพระพุทธเจ้า เราสามรถพบเหน็ และมีให้ศึกษาแค่รูปภาพ ตามวัดต่าง ๆ เท่านั้น ส่วนปณิธานแนวคิด และวิธกี ารปฏิบัตแิ ละคำอธิบายต่างของพระโพธิสัตวเ์ วลาสสันดร ยังไม่มใี ห้ศกึ ษา 2) ควรมีการทำวิจยั ในประเดน็ ทีเ่ กีย่ วกบั การวเิ คราะหก์ ารให้ทานในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมประเพณี การฟังธรรมมหาชาติเวสสันดรชาดกมีทั่วประเทศไทยซ่ึงมีผู้คนสนใจมากมาย แต่น้อยคนที่จะรู้ถึงความหมาย หลักธรรมเรื่องการใหท้ านท่ีแท้จริง
3) ควรมีการทำวจิ ัยในประเด็นที่เก่ียวกับการใหท้ านในเรื่องของเวสสันดรชาดกกับการใหท้ านของ ผคู้ นในสงั คมไทยปัจจบุ ันวา่ บรรณานกุ รม ธนติ อยู่โพธิ์. ตำนานเทศนม์ หาชาติและแหล่เครอ่ื งเลน่ มหาชาติ. กรุงเทพฯ : ศวิ พร, 2514. บรรจบ บรรณรุจิ. พระเวสสันดรชาดก มหาบรุ ุษแหง่ หมิ พานต์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พร้ินติ้งแอนด์พับลชิ ชิ่ง, 2549. ปญั ญา สละทองตรง. มลิ ินทปญั หา เลม่ 2. กรงุ เทพฯ : การศาสนา, 2544. พระมหาวิลาส ญาณวโร, ปธ.9. โลกนาถทีปนี. กรุงเทพฯ : จำลองศิลป์, 2508). หลวงเทพดรุณานศุ ิษฏ์. พระคัมภีรธ์ าตุปปทีปกิ า. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลยั , 2530. พระครูพิลาศสรกิจ (สุรศักดิ์ ธารายศ), ศึกษาวิเคราะห์การให้ทานในสังคมไทยยุคปัจจบุ ัน. วารสารมหาจุฬา นาครทรรศน,์ ปที ี่ 6 ฉบบั ที่ 5 (กรกฎาคม 2562) พระสุกรี ยโสธโร, การศึกษาวิเคราะห์จริยธรรมของตัวละครในวรรณกรรมพระเวสสันดรชาดก, วารสาร สถาบันวิจยั พมิ ลธรรม, ปที ี่ 7 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม-มถิ นุ ายน 2563)
บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา พระพทุ ธศาสนา เข้ามาส่ปู ระเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี และกลมกลืนเข้า กับขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมไทย มีบทบาทและอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของคนไทยตั้งแต่น้ัน เปน็ ต้นมา เห็นได้จากการท่ีคนไทยนำเอาหลักธรรมคำส่ังสอนทางพระพุทธศาสนาไปประพฤติปฏิบัติ ได้มีการนำเอาบุคคลท่ีปรากฏในชาดกต่าง ๆ ทางพระพุทธศาสนามาเป็นต้นแบบ โดยเฉพาะ มหาเวสสันดรชาดก ท่กี ลา่ วถึงพระเวสสันดรท่ีทรงบำเพ็ญทานบารมีเป็นตัวอย่างที่ดใี นการใหท้ านทำ ให้คนไทยรู้จักการให้ทาน เสียสละ แบ่งปัน มีน้ำใจไมตรโี อบอ้อมอารีเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ต่อกันทำให้เกิด ความรกั ความสามคั คีทดี่ งี ามแต่เดมิ มหาเวสสันดรชาดกแตง่ ไว้เป็นภาษามคธไมป่ รากฏนามผแู้ ต่ง1 มูลเหตุการณ์เล่าเรอ่ื งมหาชาตคิ ัมภรี ธ์ รรมบทขทุ ทกนกิ ายกล่าวว่า เร่ืองเวสสนั ดรชาดกเป็น พุทธดำรัสที่สมเด็จพระบรมศาสดาตรัสแก่ภิกษุสงฆ์ ขีณาสพสองหมืน่ รปู และพระประยรู ญาติท่ีนิโคร ธารามมหาวิหารในนครกบิลพัสดุ์ในคราวเสด็จโปรดพระเจ้าสุโทธนะพุทธบิดา และพระวงศ์ศากยะ บรรดา พระประยูรญาติไม่ปรารถนาจะทำความเคารพพระองค์ด้วยเห็นว่าอายุนอ้ ยกว่าพระองค์ทรง ทราบความคิดนี้จึงทรงแสดงปาฏิหาริย์โดยเสด็จข้ึนเบื้องนภาอากาศแล้วปล่อยให้ฝุ่นละอองธุลี พระบาทตกลงสู่เศียรของ พระประยูรญาติทั้งหลาย พระประยูรญาติจึงได้ละทิ้งทิฐิแล้ว ถวายบังคม พระพุทธเจ้า ขณะน้ันได้เกิดฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุท้ังหลายเห็นเป็นอัศจรรย์จึงได้ทูลถาม พระพุทธเจ้าจงึ ตรัสว่าฝนชนิดนี้เคยตกมาแล้วในอดีต แล้วจึงทรงแสดงธรรมเรื่องมหาเวสสันดรชาดก หรือเรื่องมหาชาติให้แกพ่ ระภิกษแุ ละพระประยูรญาติ มหาเวสสนั ดรชาดก พระโพธิส์ ัตว์เสวยชาติเป็นพระเวสสนั ดร พระองค์ทรงประสูติในวนั ท่ี พระราชบิดาทรงทำประทักษิณพระนคร และพระราชมารดากำลังเสด็จชมร้านตลาด จึงได้ทรง พระนามว่า เวสสันดร พระองค์พอพระทัยในการบริจาคทานโดยท่ีสุดแม้ร่างกายและชีวิตก็ทรงพอ พระทัยที่จะบริจาคให้เป็นทานได้ ก่อนออกจากพระนครก็มีผู้มาขอราชรถพร้อมทั้งม้าทรงท้ังหลาย พระองค์ก็ทรงบริจาคให้เป็นทานอีก พระเวชสันดรทรงพาพระนางมัทรี พระโอรส และพระธิดา ดำเนินด้วยพระบาทผ่านเมืองเจตราชไปถือเพศเป็นฤาษี ณ บรรณศาลาท่ีเขาวงกตเสวยผลหมากราก 1ธนิต อยโู่ พธิ์, ตำนานเทศน์มหาชาติและแหล่เครื่องเล่นมหาชาติ, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศิวพร, 2514), หนา้ 235.
2 ไม้เป็นอาหาร เวลาผ่านไป 7 เดือน พราหมณ์ขอทานชื่อชูชกได้เดินทางไปขอพระโอรสและธิดา คือ ชาลีและกัณหา เพื่อนำไปเป็นทาสรับใช้ พระองคพ์ ระราชทานให้ วนั ร่งุ ขึ้นท้าวสักกเทวราชแปลงเพศ เป็นพราหมณ์มาขอพระนางมัทรีพระองค์กพ็ ระราชทานให้อีก พราหมณ์ชชู กพา 2 กุมาร เดินทางไป ถึงเมืองเชตุดร พระเจ้าสัญชยั ทรงเห็นเขา้ จงึ โปรดให้นำพระราชทรพั ยม์ าไถ่พระราชนัดดาทง้ั 2 ไว้ต่อ ได้ให้พระราชนัดดานำทางไปรับพระเวสสนั ดรกลบั นคร เมือ่ พระเวสสันดรเสด็จกลบั พระนคร ฝนแก้ว 7 ประการได้ตกลงมาทั่วพระนคร พระองค์ทรงปกครองแผ่นดินโดยธรรม ทรงบริจาคมหาทานและ รักษาอุโบสถศีลตลอดพระชนมายุ หลงั จากสวรรคตแล้วจึงไปสู่สวรรคช์ น้ั ดสุ ติ 2 ทานเป็นการบำเพ็ญบุญหรือการทำความดีสำหรับคฤหัสถ์หรือผู้ครองเรือนประการหน่ึง ตามหลักบุญกิริยาวัตถุ ทายกผู้ต้องการบำเพ็ญบุญต้องเริ่มจากการให้ทาน เพ่ือดำเนินไปสู่ศีล และ ภาวนาในที่สุด การให้ทาน การรักษาศีล และการเจริญภาวนาตามหลักบุญกิริยาวัตถุจึงเป็นการ พฒั นาจิตใจอย่างเป็นขั้นตอน มีความสัมพันธ์สืบเนื่องกันจากระดับท่ีบุคคลสามารถทำได้โดยง่าย ไป ถึงระดับทต่ี อ้ งอาศัยความเพยี รอย่างแรงกลา้ บุคคลผสู้ ามารถเจรญิ สมาธภิ าวนาจนใจสงบแน่วแน่ควร แก่การงานน้ัน จิตใจของบุคคลน้ัน ต้องได้รับการฝึกฝนในขั้นการให้ทาน และการรักษาศีลเพ่ือขจัด ความโลภ ความโกรธ และความหลงอันเปน็ รากเหง้าของอกุศลมาเป็นอย่างดี ซง่ึ ถ้าบุคคลไม่สามารถ ชำระศีลอันเป็นการบำเพ็ญเพียรทางกายให้บริสุทธิ์ ก็ไม่อาจจะยังสมาธิภาวนาให้เกิดและไม่อาจจะ บรรลุฌาน วิปสั สนา (ญาณ) มรรคและผลใด ๆ ไดท้ านในระดับปัจเจกบุคคล จึงเปน็ ไปเพ่ือขจัดความ โลภ ความโกรธ และความหลงอันเป็นเหตุเกิดแห่งอกุศลมูล ส่วนทานในระดับสังคม เป็นหลัก ปฏิบตั ิการฝึกจิตใจให้มีความเอื้อเฟื้อเผอ่ื แผ่ รู้จักการแบ่งปนั ไม่แก่งแย่ง ชิงดีชงิ เดน่ ไม่ก่อให้เกิดการ ทะเลาะววิ าท เป็นเหตุสร้างความบาดหมางให้แก่คนในสังคม เม่อื ทุกคนรู้จักการให้แก่ผู้อ่ืน ผู้ให้ย่อม เป็นที่รัก และทุกคนจะรู้สึกถึงความปลอดภัยในชีวิต การงาน และการใช้ชีวิตท่ีไม่ต้องหวาดระแวง ยอ่ มนำมาซ่งึ ความสขุ ท้ังต่อตนเองและสังคม นอกจากทานในระดับสังคมหรือประโยชน์ต่อผู้อื่นแล้ว ในระดับที่สูงข้ึนไป สำหรับผู้ที่มีความเสียสละเพ่ือสังคมอย่างยอดเย่ียม ทานยังเป็นคุณธรรมสำหรับ การสร้างบารมีเพื่อการบรรลุคุณธรรมในระดับที่สูงขึ้นไปดังเช่น ทานอุปบารมีที่พระพุทธองค์ทรง บำเพ็ญมาเมอ่ื ครั้งเสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดร ได้ทรงใหพ้ ระนางมทั รีผูเ้ ป็นมเหสี กัณหา และชาลี บตุ รธิดาเป็นทานแก่ชูชก ซง่ึ เปน็ ทานที่กระทำได้ยากย่ิง ทานจึงมีความสำคญั ทั้งในระดับปจั เจกบคุ คล และในระดบั สังคม3 การท่ีผู้วิจัยเร่ืองทำวิทยานิพนธ์เร่ืองนี้ เพราะเห็นว่าการบำเพ็ญทานบารมีที่ปรากฏใน เวสสันดรชาดก ในประเด็นการบำเพ็ญทานบารมีเปน็ กลไกสำคัญที่สอนใหพ้ ุทธศาสนิกชนไดร้ ู้จักการ 2ข.ุ ธ. 28/10/18. 3ม.อุ. 14/379-380/449-450.
3 ถวายทานสร้างกุศลบุญอันดีงามแก่ตนเอง ครอบครัว สังคม และส่ิงแวดล้อม หลักธรรมคำสอนท่ี ปรากฏในมหาเวสสันดรชาดก ล้วนแล้วแต่เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะอย่างย่งิ การใหท้ าน การเสียสละ ของพระเวสสนั ดร ที่ถือเป็นการบำเพ็ญเพียรอย่างสูงสุด ในชาติสุดท้ายนี้ เพื่อเป็นแนวทางให้คนรนุ่ หลังได้กระทำตาม เป็นต้นแบบที่ดีเพื่อให้พระพุทธศาสนา มีความเจริญร่งุ เรืองและมั่นคงสืบตอ่ มาจนถึงทุกวันนี้ และยังมีองค์ประกอบหลายประการที่เป็นเหตุ ให้การบำเพ็ญทานบารมขี องท่านประสบความสำเรจ็ ดังนั้น จึงเป็นส่ิงที่น่าสนใจว่า แนวคิดและหลักคำสอนทานบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท มีประวัติความเป็นมาอย่างไร มีวิธีการปฏิบัติแนวคิดอย่างไร และการบำเพ็ญท านบารมีของ พระเวสสนั ดรในเวสสันดรชาดก พระเวสสันดรโพธิสตั ว์ทรงมีวธิ กี ารบำเพ็ญถวายทานบารมีอยา่ งไรใน พระชาติน้ี มีบทบาทท่ีสำคัญอย่างไรซ่ึงท่านเป็นต้นแบบของการบำเพ็ญทานบารมี และมีคุณค่าใน การบำเพ็ญทานบารมีอย่างไรบ้าง ทั้งน้ีเพื่อเป็นแนวทางในการประกอบศาสนกิจดำเนินชีวิตและเผย แผพ่ ระพุทธศาสนาสบื ต่อไป 1.2 คำถามการวจิ ยั 1.2.1 แนวคิดและหลกั คำสอนทานบารมใี นพุทธศาสนาเถรวาท เปน็ อยา่ งไร 1.2.2 การบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก เป็นอย่างไร 1.2.3 คุณค่าการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสนั ดรในเวสสันดรชาดก ควรเป็นอย่างไร 1.3 วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั 1.3.1 เพ่อื ศกึ ษาแนวคิดและหลักคำสอนทานบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท 1.3.2 เพ่อื ศึกษาการบำเพ็ญทานบารมขี องพระเวสสันดรในเวสสนั ดรชาดก 1.3.3 เพ่ือวเิ คราะหค์ ณุ คา่ การบำเพ็ญทานบารมขี องพระเวสสันดรในเวสสนั ดรชาดก 1.4 ขอบเขตของการวจิ ยั 1.4.1 ขอบเขตดา้ นเอกสาร ขอบเขตการวิจัยด้านเอกสาร (Documentary Research) โดยศึกษาจากเอกสารชั้นปฐม ภูมิ คือ พระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช 2539 เป็นเอกสารหลัก และ เอกสารทุติยภูมิท่ีเป็นหนังสือ เอกสารวิชาการ วิทยานิพนธ์ วารสาร บทความ และเอกสารวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับหลกั ธรรมการบำเพญ็ ทานบารมีทีป่ รากฏในเวสสันดรชาดก
4 1.4.2 ขอบเขตด้านเนอ้ื หา งานวิจัยนีไ้ ด้กำหนดเนื้อหาของการศึกษาเก่ียวกบั เร่อื ง การศกึ ษาวเิ คราะห์การบำเพญ็ ทาน บารมที ีป่ รากฏในเวสสันดรชาดก โดยงานวิจยั น้มี ุง่ ศึกษาเน้อื หาหลกั ใน 3 ประเด็น ประกอบด้วย 1) แนวคิดและหลักคำสอนทานบารมใี นพุทธศาสนาเถรวาท 2) การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสนั ดรชาดก 3) การวิเคราะห์คุณค่าการบำเพญ็ ทานบารของพระเวสสนั ดรในเวสสันดรชาดก 1.5 วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ยั ในการศกึ ษาวจิ ัยครงั้ นี้ ผูว้ จิ ัยทำการศึกษาวเิ คราะห์ “ศกึ ษาวิเคราะหก์ ารบำเพญ็ ทานบารมี ของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก\" เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) และศึกษาจากข้อมูลเอกสารต่าง ๆ หนังสือ เอกสารวิชาการ วิทยานิพนธ์ วารสาร บทความ และเอกสารวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องในการรวบรวมขอ้ มูล ซง่ึ จะมีลำดบั ข้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี 1.5.1 การศึกษาและรวบรวมข้อมูล การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) จะดำเนินการศึกษาข้อมูลช้ันปฐมภูมิ (Primary Source) จากพระไตรปิฎก ศึกษาข้อมูลช้ันทุติยภูมิ (Secondary Source) จากอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ปกรณ์วิเสส และตำราอื่น ๆ ทั้งท่ีเป็นภาษาไทย เป็นต้น และศึกษาข้อมูลจากเอกสาร หนังสือ บทความ ฯลฯ เพื่อศึกษาวิเคราะห์การบำเพ็ญทาน บารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก 1.5.2 รวบรวมเอกสาร และทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากเอกสาร หนังสือ และส่ิงพิมพ์ ต่าง ๆ นำมาวเิ คราะห์และสงั เคราะห์ ในแต่ละประเด็นตามวัตถุประสงคข์ องการศกึ ษาวิจัยคร้ังน้ี 1.5.3 รวบรวมเอกสาร และทำการสังเคราะห์ข้อมูล เนื้อหา \"ศึกษาวิเคราะห์การบำเพ็ญ ทานบารมีของพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก\" ตามวัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษาวิจัยครั้งนี้ 1.5.4 นำข้อมูลทไ่ี ด้ทง้ั หมดมารวบรวม และทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประมวลผลใหเ้ ป็น หมวดหมตู่ ามวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 1.5.5 สรุปผลการศึกษาและเสนอแนะ รวบรวมข้อมูลจัดพิมพ์ข้อมูล จากเอกสารที่ ทำการศึกษาเก่ียวกับ การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก” เปน็ ต้น 1.6 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ แนวคิดและหลักคำสอนทานบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท การบำเพ็ญทานบารมีของ พระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก วิเคราะหก์ ารบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสนั ดรในเวสสันดรชาดก “ศึกษาวิเคราะหก์ ารบำเพญ็ ทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก” 1.6.1 ทำใหท้ ราบแนวคดิ และหลกั คำสอนทานบารมีในพทุ ธศาสนาเถรวาท
5 1.6.2 ทำให้ทราบการบำเพญ็ ทานบารมีของพระเวสสนั ดรในเวสสันดรชาดก 1.6.3 ทำใหท้ ราบคณุ ค่าการบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสันดรในเวสสนั ดรชาดก 1.7 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง การศึกษาวิจัยศึกษาใน ครั้งน้ีเป็น การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) ทำการศึกษาคน้ ควา้ จากเอกสาร และผลงานการวิจยั ที่เกีย่ วขอ้ งต่าง ๆ ซงึ่ ผู้ศกึ ษาวิจยั พบว่า มีเอกสาร และงานวิจัย บทความวิจัย และวิทยานิพนธ์ เป็นต้น ที่มีเน้ือหาเก่ียวข้องกับเร่ืองท่ีผู้ศึกษาวิจัย ทำการศึกษาในครงั้ นี้ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1.7.1 เอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง สมเด็จพระสงั ฆราชเจากรมหลวงวชิรญาณวงศ ได้กล่าวไวใ้ นหนังสือ “ธรรมานกุ รม” ไวว้ ่า การบําเพ็ญบารมีของ พระโพธิสัตวจนถึงในพระชาตทิ ่ีสุดซ่ึงเปน็ พระสิทธัตถะ “ว่าพระสัมมาสัมพุทธ เจาไม่ได้เกิด ไม่ได้เจ็บ ไม่ได้ตาย ตลอดถึงไม่เกิด ไม่เกิดไปตามกายแม้ในทศชาติคือ 10 ชาติท่ีท่าน แสดงไวว่าพระเตมีย พระชนก พระสุวรรณสาม พระเนมีพระมโหสถ เป็นตน จนถึงพระเวสสันดร” เม่ือตองเกิดในเบ้ืองตน ก็ตองชํารุดทรุดโทรมในทามกลาง ในที่สุดก็สลาย น้ีเป็นสวนรูปกาย ทานจึง บําเพ็ญบารมีสืบเน่ืองต่อกันมาโดยลำดับ จนถึงในท่ีสุดที่เป็นพระสิทธัตถะ นี่เป็นตัวอย่างที่ผู้นับถือ พระพุทธศาสนาจะถึงระลึกถึงแล้วและพยายามทำตนใหดีข้ึนโดยลำดับ ตามความสามารถที่จะพึง กระทำได้พระโพธสิ ตั วทเ่ี รียกกันและรูกันเขาใจกันนนั้ ท่านมงุ่ หมายถึงพระโพธสิ ัตวที่จะตรสั รูเปน็ พระ สมั มาสัมพุทธเจาอย่างเดียวแต่เมือ่ ระลึกถึงศัพทวา พระพุทธะเชนนี้แลว ทานแจกออกไปต่าง ๆ กัน คือ พระสัมมาสัมพุทธะ หรือ อนุพุทธะ อีกอย่างหน่ึง เม่ือเป็นเชนน้ีก็นาจะเรียกพระโพธิสัตวเป็น 3 อย่าง ตามพระพุทธะน้ัน เป็นตนควรจะเรียกชื่อวา สัมมาสัมพุทธโพธสิ ัตว์ อยา่ งที่ 2 ควรจะเรียกวา ปจั เจกโพธิสัตว อย่างที่ 3 ควรจะเรียกวา สาวกโพธิสตั วหรืออนุโพธสิ ตั ว์ 4 สมเดจ็ พระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) ได้กล่าวไว้ในหนงั สอื “ทศบารมีทศพธิ ราชธรรม” ว่าในการบำเพญ็ บารมีทง้ั 3 น้ัน คอื บารมี อุปบารมี ปรมัตถบารมี โดยให้ความหมายของบารมีท้ัง 3 อย่างว่า บารมีท่ีเป็นปกติสามัญ บารมีท่ีย่ิงใหญ่กว่าปกติสามัญและบารมีที่ถึงท่ีสุด บารมี 10 และ ราชธรรมต้องปฏิบัติให้สัมพันธ์กันถึงจะสมบูรณ์จะขาดส่ิงหนึ่งส่ิงใดไม่ได้พระโพธิสัตว์ทำได้ ก็ส่ังสม 4สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ, ธรรมานุกรม, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหามกุฎราช วทิ ยาลยั , 2525), หนา้ 320–321.
6 บารมีเป็นพระพุทธเจ้าได้ พระราชาทำได้ก็จะทำใหพระราชาท่ีมีความประเสริฐที่สุดในโลก ทั้งบารมี และทศพิศราชธรรมทกุ คนสามารถปฏบิ ตั ิได้เหมือนกนั หมด5 พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) ได้กล่าวไว้ในหนังสือ \"การให้ทานที่ไม่ต้องเสียเงิน เเล้วยังได้นิพพาน\" ซ่ึงล้วนแล้วแต่เป็นหนทางสู่ความสุข โดยได้จัดเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระเบียบ เพ่อื ให้งา่ ยแก่การศึกษาปฏิบัติอันจะทำให้เกิดสติ มีปัญญาในการแกป้ ัญหาทีเ่ กิดขน้ึ ในชวี ิต ทำให้รจู้ ัก การดำเนินชีวิตอยู่บนความไม่ประมาท มีคุณธรรมประจำใจ สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข โดยแท้จริง6 พระเทพมุนี (วิลาส ญาณวโร) กล่าววาไวในหนังสอื “ศาสตร์วาด้วยการเป็นพระพุทธเจา” ไว้ว่าสมเด็จพระบรมโพธิสัตวเจาท้ังปวง ยอมมีใจม่ันประกอบไปด้วยอธิษฐานธรรม มีความมั่นคง เด็ดขาดย่ิงนัก ด้วยว่าพระพุทธภูมิจักสำเร็จได้ ตองอาศัยอธิษฐานธรรมเป็นสำคัญ เหตุน้ันพระโพธิ สัตวเจาทั้งปวง จึงพยายามสรางสม อบรมพระอธิษฐานธรรมใหมากมูลเพิ่มพูน ใหถึงความแกกลา ยง่ิ ขน้ึ ไปในทุก ๆ ชาติทเี่ กดิ ไม่วาจะเกิดในชาตไิ หน และเสวยพระชาตเิ ปน็ อะไรก็ตามก็ยอมพยายาม สร้างความมั่นคงต้ังมั่นแหงดวงจิตเพื่อใหศักด์ิสิทธ์ิสัมฤทธ์ิผลตามความมุงมาด ถายังขาดอยู่ไม่เต็ม บริบรู ณ์ก็เพียรเพ่ิมพนู ใหภิญโญภาพย่งิ ๆ ข้นึ ไปมใี จแน่วแนต่ ง้ั มน่ั ในสง่ิ น้นั มิได้หวั่นไหวโยกคลอนเลย แมแ้ ต่นอ้ ยถงึ ใครจะคอยขูคํารามเข่นฆ่าใหอาสัญส้นิ ชีวติ กไ็ มล่ ะอธษิ ฐานจติ สมาทานในกาลไหน ๆ” 7 พระครูวิธรรมโกศล (ชัยวัฒน์ ธมฺมวฑฺฒโน) ได้กล่าวไว้ในหนังสือ มหาเวสสันดรชาดกมี คุณค่าประดุจเพชร ที่สามารถนำไปประยุกต์เข้ากับชีวิตประจำวันได้ทุกระดับ เป็นตัวอย่างแห่งการ ปฏิบตั ิราชการตลอดจนการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศ นอกจากน้ีพุทธศาสนกิ ชนยงั นับถือกันมา แต่โบราณว่า ผู้ใดฟังเทศน์มหาชาติจะได้รับผลานสิ งส์มาก จึงเกิดประเพณีเทศน์มหาชาติ เป็นประจำ ทุกปี และถอื ปฏบิ ตั วิ ่าตอ้ งเทศนใ์ ห้จบภายในวนั เดยี วจึงจะได้อานิสงส์แรง8 สุรีย์ มีผลกิจ ได้กล่าวไว้ในหนังสือ “พระเวสสันดรชาดก” ไว้ว่าเวสสันดรชาดกเป็นการ แสดงภพชาติหน่ึงในการบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ ที่นำมาเทศนาในการเทศน์มหาชาติ เป็น เรื่องราวทเ่ี ก่ียวกบั การบำเพ็ญบารมีของพระเวสสนั ดร ซึง่ เปน็ พระชาตสิ ดุ ทา้ ยก่อนจะอุบัตเิ ปน็ เจ้าชาย 5สมเด็จพระญาณสงั วร (เจรญิ สุวฑฺฒโน), ทศบารมีทศพธิ ราชธรรม, (กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราช วทิ ยาลยั , 2534), หน้า 253. 6พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ), การให้ทานที่ไม่ต้องเสียเงินเเล้วยังได้นิพพาน, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ ล่ียงเชียง เพยี รเพอื่ พุทธศาสน์, บจก.สนพ., 2555), หนา้ 1. 7พระเทพมุนี (วลิ าส ญาณวโร), ศาสตรวา่ ด้วยการเปน็ พระพทุ ธเจา้ , (กรงุ เทพฯ : สารมวลชน, (ม.ป.ป.), 2533), หน้า 64. 8พระครูวิธรรมโกศล (ชัยวัฒน์ ธมฺมวฑฺฒโน), กะเทาะเปลือกเวสสันดรชาดก, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ เลย่ี งเซียง, 2536), หนา้ 22.
7 สิทธัตถะ ทรงออกผนวชและได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นี้ การบำเพ็ญบารมีของ พระโพธิสัตว์ ทา่ นเรียกวา่ พทุ ธการกธรรม คอื ธรรมท่ีต้องบำเพญ็ เพ่อื การบรรลพุ ระสัมมาสมั โพธญิ าณ ไดแ้ กบ่ ารมี 10 ประการ คอื ทานบารมี การให้ทาน ให้โดยไม่เหลือ ดุจภาชนะท่ีเต็มด้วยน้ำ เทคว่ำลง ศีลบารมี รักษาศีลให้บริสุทธ์ิ ดุจจามรีรักษาขนหางของตน เนกขัมมบารมี มุ่งแสวงหาทางท่ีจะหลุด พ้นจากภพ ปัญญาบารมี ศึกษาเรียนรู้กับบัณฑิตผู้มีปัญญา วินัยบารมี ตั้งความเพียร ประคองความ เพียรไวท้ ุกอิริยบถ ขนั ติบารมี อดทนต่อความยากลำบาก ต่อคำยกย่องและเหยียดหยาม สัจบารมี มี วาจาที่แน่นอน ไม่เป็นสอง อธิษฐานบารมี มีจิตต้ังม่ัน ดุจภูเขาท่ีไม่สะเทือนไหวด้วยแรงลมกล้า เมตตาบารมี มคี วามเมตตาตอ่ สรรพสัตวท์ ้ังหลายเสมอกนั โดยไม่เลอื ก อุเบกขาบารมี ความวางเฉย มี ใจเป็นกลาง9 กฤษศญพงษ์ ศิริ ได้กล่าวไว้ในหนังสือ การฟังเทศน์มหาชาติสอนให้คนรู้จักทำความดี ประกอบกรรมดีรจู้ ักการบำเพ็ญบุญบรจิ าคทานสละความเหน็ แกต่ ัวสละทรพั ย์เพื่อสาธารณประโยชน์ เป็นการลดความตระหน้ีในใจลดความเห็นแก่ตัวทำให้ไม่ยึดติดกับสิ่งที่เป็นรูปรสกล่ินเสียงที่เป็น อนิจจังเพราะเวลาจากโลกนี้ไปแล้วไมม่ ีใครนำส่ิงต่าง ๆ ติดตัวไปได้มีแตค่ วามดแี ละความชั่วเท่านนั้ ที่ สามารถเอาไปได้ในภพหน้านอกจากน้ันพุทธศาสนิกชนยังมีความเช่ือว่าการได้ฟังพุทธวจนะ เช่น การฟงั เทศน์มหาชาตยิ อ่ มเกิดอานิสงสแ์ ละกุศลราศีแก่ตน10 สรุปได้ว่า เวสสันดรชาดกเป็นการแสดงภพชาติหน่ึงในการบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ ซึ่งการบำเพ็ญบารมีทั้ง 3 น้ัน คือ บารมี อุปบารมี ปรมัตถบารมี โดยให้ความหมายของบารมีทั้ง 3 อย่างว่า บารมีท่ีเป็นปกติสามัญ บารมีท่ียิ่งใหญ่กว่าปกติสามัญและบารมีท่ีถึงที่สุด บารมี 10 และ ราชธรรมต้องปฏิบัติให้สัมพันธ์กันถึงจะสมบูรณ์จะขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดไม่ได้พระโพธิสัตว์ทำได้ ก็ส่ังสม บารมีเป็นพระพุทธเจ้าได้ พระราชาทำได้ก็จะทำใหพระราชาที่มคี วามประเสริฐที่สุดในโลก ท้ังบารมี และทศพิศราชธรรมทกุ คนสามารถปฏิบตั ิได้เหมอื นกันหมดการบาํ เพญ็ บารมขี องพระโพธิสตั วจนถึงใน พระชาติท่ีสุดซึ่งเป็นพระสิทธัตถะ ว่าพระสัมมาสัมพุทธเจาไม่ได้เกิด ไม่ได้เจ็บ ไม่ได้ตาย ตลอดถงึ ไม่ เกิด ไมเ่ กดิ ไปตามกายแมใ้ นทศชาติคือ 10 ชาตทิ ่ีท่านแสดงไวว่าพระเตมีย พระชนก พระสวุ รรณสาม พระเนมีพระมโหสถ เป็นตน จนถึงพระเวสสันดร เมื่อตองเกิดในเบื้องตน ก็ตองชํารุดทรุดโทรมใน ทามกลาง ในท่ีสดุ กส็ ลาย น้ีเป็นสวนรูปกาย ทานจึงบําเพ็ญบารมีสบื เน่ืองตอ่ กันมาโดยลำดับ จนถงึ ใน ท่ีสดุ ที่เปน็ พระสทิ ธัตถะ สอนให้คนรู้จักทำความดีประกอบกรรมดรี จู้ ักการบำเพ็ญบุญบริจาคทานสละ ความเห็นแก่ตวั สละทรพั ยเ์ พื่อสาธารณประโยชน์เป็นการลดความตระหนีใ้ นใจลดความเหน็ แก่ตวั 9สรุ ีย์ มีผลกิจ, พระเวสสันดรชาดก, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คอมฟอรม์ , 2555), หนา้ 2. 10กฤษศญพงษ์ ศริ ิ, องคค์ วามรู้เร่ืองกำรเทศน์มหาชาตเิ วสสันดรชาดก, (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์สำนกั งาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2558), หน้า 9.
8 1.7.2 งานวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง พระสมหมาย ปวโร (ติตะปัน) ได้ศึกษาวิจัยเก่ียวกับวรรณกรรมมหาเวสสันดรชาดก กรณศี ึกษา ชูชกกัณฑใ์ นคมั ภีร์ใบลานอักษรขอม ผลการวิจัยพบวา่ คุณค่าในแงม่ ุมตา่ งๆท่ีปรากฏอยู่ใน วรรณกรรมเวสสนั ดรอักษรขอมกัณฑ์ชูชก การศึกษาใบลานมหาเวสสันดรกัณฑ์ชูชกอักษรขอมฉบับ คัมภีร์วัดบ้านแขว ตำบลห้วยใต้ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ วิเคราะห์ในแง่ของหลักธรรมการ ปกครอง วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรมประเพณีและค่านิยมท่ีมีอยู่ในยุคพุทธศักราช 2462 ความเป็นอยู่ของผู้คน ในสมัยนั้นอย่างเรียบง่าย มีการช่วยเหลือเก้ือกูลกันและกัน เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ช่วยเหลือกันในยามทุกข์ยากลำบากไม่เห็นแก่ตัว มีอาชีพการทำเกษตรกรรม ตาม เศรษฐกจิ ท่ีพอเพียงอาชพี ที่ไดร้ ับความนิยมมาก กค็ ือการได้เข้ารับราชการอย่ใู นวงั การแตง่ กายก็ยังนุ่ง ผ้าถุงโจงกระเบน เครื่องประทินโฉมความงามก็อาศัยธรรมชาติ เช่น ขม้ิน เป็นต้นคติความเชื่อไสย ศาสตร์ โหราศาสตร์ เชื่อฤกษย์ าม เชอ่ื หลักการทางศาสนาพุทธ คือ บาป บุญ คุณโทษ มีความละอาย ชัว่ กลวั บาป มีความกตัญญูกตเวที เคารพในพระพทุ ธศาสนาอย่างสงู 11 พระมหาวรวรรธน์ นภภูริสิริ (อัตถาพร) ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาวิเคราะห์วิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการของตัวละครท่ีปรากฏในเวสสันดรชาดก ผลการวิจัยพบว่า พระเวสสันดร เป็น แบบอย่างผู้เสยี สละประโยชนสวนตัวเพอ่ื ประโยชนสวนรวม มุงบำบดั ทุกขบํารุงสุขของประชาชนเป็น ทตี่ ั้ง ยอมเสยี สละความสขุ สวนพระองคแมจ้ ะทุกขกไ็ มห่ วนั่ เป็นแบบอย่างของบุคคลผไู้ ม่ยึดตดิ อำนาจ วาสนา รูซ้ึงถึงโลกธรรมหาได้หวั่นไหวหรือได้ลมเลิกบําเพ็ญบารมีเรื่องพระเวสสันดรชาดกจึงเป็น วรรณกรรมสำคญั สอนใหรจู ักโอบออมอารีเอื้อเฟ้อื เผอ่ื แผ่ ไม่เห็นแกตวั ซึ่งจะทำใหสังคมสงบสุขแฝงไว ด้วยคติสอนใจใหรูจกั การดำเนินชีวติ และแกปญหาชวี ิตใหเกิดสุข ตลอดจนหล่อหลอมอัธยาศัยของคน ในสังคมใหมีความสามัคคีมีน้ำใจ รูจักใหอภัยและใหโอกาสกัน ซึ่งเป็นการเสริมสร้างบารมีธรรมให เกดิ ขน้ึ แกตนเองและผอู้ ื่น12 พระมหาธวัช เขมธโช (พทุ ธโส) ได้ศกึ ษาวิจัยเกีย่ วกับการศกึ ษาเชิงวเิ คราะหเ์ รื่องการเทศน์ มหาชาติท่ีมีอิทธิพลต่อสังคมไทย ผลการวิจัยพบว่า การเทศน์มหาชาตินั้นเป็นการสั่งสอนคนให้รู้จัก บาปบุญคุณโทษประโยชน์รูจ้ ักใหท้ านรักษาศลี เจรญิ ภาวนา และเป็นการสรรเสริญพระเกยี รติคณุ ของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สมัยท่ีพระองค์เสวยพระชาตเิ ปน็ พระโพธิสตั ว์พระนามว่าเวสสนั ดร 11พระสมหมาย ปวโร (ติตะปัน), “วรรณกรรมเวสสันดรชาดก”, วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตร มหาบัณฑติ , (บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย), 2555, หน้า 19. 12พระมหาวรวรรธน์ นภภูริศริ ิ (อตั ถาพร), “การศกึ ษาวเิ คราะห์วธิ คี ิดแบบโยนิโสมนสิการของตวั ละครที่ ปรากฏในเวสสันดรชาดก”, วทิ ยานพิ นธปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวทิ ยาลัย), 2555, หน้า 126.
9 ในพระชาติสุดท้าย ก่อนท่ีจะได้ตรัสรู้อนุตตรสัมโพธิญาณ โดยท่ีพระเวสสันดรทรงบำเพ็ญทานศีล ภาวนา ทรงบำเพญ็ ทานดว้ ยการพระราชทานสงิ่ ของแก่ชาวเมือง พระราชทานช้างปัจจัยนาเคนทร์แก่ พราหมณ์ชาวเมืองกาลิงคราช พระราชทานพระชาลี พระกัณหา พระโอรสและพระธิดาแก่ชูชก พระราชทานพระมเหสี คอื พระนางมทั รีแก่พระอินทร์ พระเวสสนั ดรทรงรักษาศลี รักษาคำสัตย์คือเมื่อ พระองค์ตรัสว่าจะพระราชทานส่ิงใดแล้ว ก็พระราชทานตามท่ีตรัสได้ทรงเจริญภาวนา ด้วยการออก ทรงผนวชเจริญภาวนาอยู่ท่ีเขาวงกต ทรงสละความเป็นอยู่อย่างกษัตริย์ดำรงพระชนม์ชีพอย่าง นักบวช ทำให้ผทู้ ไี่ ด้ฟงั เทศนม์ หาชาติแลว้ มอี ุปนิสัยจติ ใจที่ออ่ นโยน มีศรทั ธาปสาทะในพระพุทธศาสนา ยนิ ดีในการใหท้ านรักษาศลี เจรญิ ภาวนาเช่นเดยี วกับพระเวสสันดร ละความเหน็ แก่ตวั ความยดึ มน่ั ถือ ม่นั ให้บรรเทาเบาบางลงไป13 พระครพู ิลาศสรกิจ (สุรศกั ด์ิ ธารายศ) ได้ศึกษาวิจัยเกยี่ วกบั การศึกษาวิเคราะห์การให้ทาน ในสังคมไทยยุคปจั จุบัน ผลการวิจัยพบวา่ การให้ทานในสงั คมไทยปัจจบุ ัน พบวา่ การใหท้ านทถ่ี ูกต้อง ประกอบดว้ ยแนวการปฏิบัติในการให้ทานท้ังผูใ้ ห้ และผู้รบั ต้องเป็นผู้มีคุณธรรมและจริยาวัตรงดงาม ถกู ต้องตามหลักศาสนา และเข้าใจรอบรู้ไม่ตกเป็นเหยื่อของทุรชน เพราะในสงั คมปัจจุบันเป็นสังคม เทคโนโลยีกา้ วไกล จึงจำเป็นต้องรู้เทา่ ทันโลกพร้อมที่จะนำพาตัวเอง สังคมสกู่ ารพัฒนาด้านวตั ถแุ ละ จิตวิญญาณ เพื่อสร้างสรรค์ประโยชน์สุขแก่สังคมได้อย่างสมบูรณ์และต่อยอดสู่การพัฒนาองค์กร ประเทศชาติต่อไป การให้ทานยุคสังคมไทยปัจจุบัน พัฒนาเกี่ยวเน่ืองกับการบริจาคทาน เพ่ือทำ ประโยชน์ใหก้ ับสังคมส่วนรวมท่ีเป็นการกศุ ลด้วยระบบสแกน QR Codeในการให้ทานและการใช้บตั ร สมาร์ทการ์ด ทัง้ น้ี เพราะทำให้ท้ังผู้ให้และผู้รับไดร้ บั อานิสงส์แห่งผลบุญจากการให้ทาน โดยไม่มีความ วิตกกังวลใจ เนื่องจากการกระท าโดยใช้หลักศรัทธาและปัญญาควบคู่กันไปอย่างถูกต้องรอบคอบ และจดั แจนอย่างแท้จริง14 พระครไู พศาลปริยัติกิจ ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกบั ปารมีกูฏ : การปริวรรต การตรวจชำระและ การศึกษาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า จากการปริวรรตและศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์ปารมีกฏู ฉบับวัด บ้านแจม่ อำเภอเมือง จงั หวดั ลำพนู เก่ียวกบั การบำเพญ็ บารมีของพระโพธสิ ัตวก์ ่อนเสวยพระชาติเป็น พระพุทธเจ้า โดยวิเคราะห์บารมีทั้งหมด ได้แก่ ทานบารมี ศีลบารมี เนกขัมมบารมี ปัญญาบารมี วิริยะบารมี ขันติบารมี สัจจบารมี อธิษฐานบารมี เมตตาบารมีและอุเบกขาบารมี พบหลกั ธรรมที่มี 13พระมหาธวัช เขมธโช (พุทธโส), “การศึกษาวิเคราะห์เรื่องการเทศน์มหาชาติที่มีอิทธิพลต่อ สังคมไทย”, วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย), 2537, หน้า 120. 14พระครูพิลาศสรกิจ (สุรศักด์ิ ธารายศ), “ศึกษาวิเคราะห์การให้ทานในสังคมไทยยุคปัจจุบัน” วทิ ยานิพนธ์ปริญญพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย), 2562, หนา้ 2.
10 ความสำคัญและมีคุณค่าต่อสังคมที่สอดคล้องกับบารมี 10 ประการ คือ หลักสังคหวัตถุ หลัก เบญจศีล หลักพรหมวิหาร 4 หลกั ไตรสิกขา และหลักอิทธิบาท 4 ซึ่งคุณค่าของหลักธรรมต่าง ๆ ที่มี ตอ่ สังคม คือ การอยูร่ ่วมกนั ในทางสงั คม โดยไมเ่ บียดเบียน กอ่ ความทกุ ข์ความเดือดรอ้ น หรือก่อเวร ภัย แต่รู้จักมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับเพื่อนมนุษย์อย่างช่วยเหลือเก้ือกูล ดำรงตนอยู่ในกรอบของศีล ดำเนินชีวติ ตามหลักของศีล ดว้ ยจิตท่ีดีและใช้ปญั ญาในการวางแผนระบบการดำเนินชีวติ ของตน 15 รศ.ดร.สุวิญ รักสัตย์ ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับภาวะผู้นําของพระโพธิสัตว์ ผลการวิจัยพบว่า เป็นภาวะผู้นำที่ประกอบไปด้วยธรรมทุกชาติไม่เพียงแต่ 10 ชาติท่ยี กมาเทานั้นทุกชาตทิ ่ีท่านบําเพ็ญ เพียรมาสมควรอย่างยิ่งที่จะใชเปน็ แนวทางในการสร้างภาวะผนู้ ําใหเกิดขึ้นในตัวเราทกุ คนจะมากบา้ ง น้อยบ้างก็ไม่เป็นไรเพราะทุกคร้ังท่ีได้ใชบารมีธรรมเป็นเคร่ืองสร้างภาวะผู้นำแลวไม่มีคําวาไม่มี คุณคาเป็นคุณคาทั้งส้ินเปรียบดังหยดน้ำเป็นคุณคาสำหรับผู้กระหายทุกคนเปรียบเหมือนธรรมเป็น คุณคาสำหรับพระอริยะทกุ พระองคมแี ตด่ ีโดยสวนเดยี ว16 นิธิอร พรอำไพสกุล ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสุนทรียภาพในอรรถกถาเวสสันดรชาดก ผลการวิจัยพบว่า การใช้ภาษาที่สร้างสุนทรียภาพในอรรถกถาเวสสันดรชาดกมี 3 ประเภท คือ 1) การสรรค์ 2) การใช้ 3) การใช้สัญลักษณ์ ด้านการสรรคำมีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ คือ 1) เพื่อ พรรณนาอารมณ์ 2) ความรู้สึกของตวั ละครเพื่อแสดงกิริยาอาการของตัวละคร 3) เพื่อแสดงลักษณะ ของตัวละครการใช้ภาพพจน์นั้น เพื่อเปรียบเทียบให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังเข้าใจเรื่องราวชาดกและสื่อ อารมณ์ความรู้สึกของตัวละครได้ชัดเจนประเภทคืออุปมาและบุคลาธิษฐานส่วนการใช้สัญลักษณ์มี จุดมุ่งหมายเพ่ือสื่อแนวคิดและสาระธรรมทางพุทธศาสนาโดยนำเสนอผ่านตัวละครและฉากอันเป็น ขนบธรรมเนยี มของวรรณคดบี าลที ่ีมงุ่ แยกแยะให้ผู้อ่านเหน็ ความดแี ละความช่วั ไดอ้ ย่างชดั เจน17 พระมหาสง่า ไชยวงศ์ ได้ศึกษาวจิ ัยเก่ียวกับอิทธิพลของพระเวสสันดรชาดกต่อสังคมไทย และการให้ทานตามคติแห่งพระเวสสันดร ผลการวิจัยพบว่า ในช่วงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีการ สอนเร่ืองการสร้างบุญกุศลในทางศาสนาท่ีได้บุญมาก คือการบริจาคทาน การทำทานในสังคมไทย ส่วนหนง่ึ มาจากการสอนเรือ่ งชาดกในพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นเรื่องการบำเพ็ญบารมีของพระโพธสิ ัตว์ ชาดกได้เข้ามามีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของคนไทยมาหลายยุค หลายสมัย นับแต่ผู้นำประเทศจนถึง ชาวบ้านธรรมดา เพราะเปน็ เรอ่ื งที่สามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ และมีตัวอย่างให้เป็น 15พระครูไพศาลปริยัติกิจ, “ปารมีกูฏ : การปริวรรตการตรวจชำระและการศึกษาวิเคราะห์”, พฆิ เนศวรส์ าร, ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) : 91-92. 16รศ.ดร.สุวิญ รักสัตย์, “ภาวะผู้นําของพระโพธิสัตว์, วารสารบัณฑิตศาส์น, ปที่ 14 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) : 44. 17นธิ ิอร พรอำไพสกุล, “สุนทรียภาพในอรรถกถาเวสสันดรชาดก”, วทิ ยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตร มหาบณั ฑติ , (บัณฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ), 2549, หนา้ 29.
11 เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน เช่น ภาพสลักตา่ ง ๆ หรือภาพป้ันโบราณที่เล่าเร่ืองราว ซ่งึ นักโบราณคดไี ด้ สันนิษฐานจากลักษณะทางประติมาณวิทยาว่า เป็นชาดกในพระพุทธศาสนาจริยธรรมท่ีเป็น เอกลักษณ์ของเร่ือง (เวสสันดรชาดก) อยู่ท่ีเน้นให้เห็นอานุภาพของความเสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว ปลกู ฝังนิสัยเรื่องความเมตตากรณุ าต่อกัน เห็นใจกนั ผู้รับฟังก็จะมีนิสัยโนม้ เอียงไปทางพระเวสสันดร เพราะตอ้ งการเอาอย่าง เมอ่ื เป็นเชน่ น้ี ความโลภ ความเห็นแก่ตัวก็จะน้อยลง รกั ที่จะเสียสละเอ้ือเฟ้ือ กัน มีการปลูกฝังให้เห็นภาพ และปรารถนาสังคมในอุดมคติอยา่ งในสมัยพระอรยิ เมตไตย โดยใช้การ สร้างแรงจูงใจว่า แม้ไม่ได้ทำทาน แต่ใครก็ตามท่ีตังใจฟังธรรมเวสสันดร ตั้งแต่ต้นจนจบ 13 กัณฑ์ ก็สามารถปรารถนาพระนพิ พาน หรือไปเกดิ ในสมัยพระศรีอริยเมตไตยได้เช่นกันนอกจากจริยธรรมท่ี ปรากฏในพระเวสสนั ดรชาดก ซ่ึงเน้นทคี่ วามเสียสละเพื่อประโยชน์แก่ส่วนรวม คนไทยยังได้นำหลัก จริยธรรมเหล่านม้ี าปฏบิ ตั แิ ละจากลกั ษณะของความเปน็ คนใจบุญสูญทานนเ่ี อง18 สำหรับพระมหาบุญทัน อานนฺโท ได้ศึกษาวิจัยเก่ียวกับการศึกษาเชิงวิเคราะห์เร่ือง เวสสนั ดรชาดก ศกึ ษาเฉพาะทานบารมี ผลการวจิ ัยพบวา่ 1. เวสสันดรชาดกเป็นพระพุทธวจนะท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระภิกษุสงฆ์พุทธบริษัท ณ นิโครธาราม ในกรุงกบิลพัสด์ุ และเม่อื ผู้ใดไดส้ ดบั กย็ อ่ มเกดิ สิรสิ วสั ดมิ งคล เป็นกุศลบุญราศี 2. บุคคลสดับเวสสันดรชาดกอันประดับดว้ ยพระคาถาหนึ่งพัน ในวันและราตรีเดียวให้จบ และให้บชู าด้วยประทีป ธูป เทียน ธงฉัตร สารพัดดอกไม้ ดอกบัว ดอกผักตบ เป็นต้น ให้ครบจำนวน ถ้วนส่ิงละพัน ด้วยอานิสงส์น้ันจะชักนำให้สมมโนรถตามปรารถนา ผู้มั่งมุ่งหมายใครจะพบศาสนา พระศรีอริยเมตไตรยอิทธิพลของความเช่ือเกี่ยวกับการบำเพ็ญทานบารมี สืบเนื่องจากสุโขทัยจนถึง อยุธยาและรัตนโกสินทร์ คตินิยมการทำบุญตามพระเวสสันดรโพธิสัตว์ก็ยังคงอยู่เสมอ และการฟัง เทศน์มหาชาติไม่ได้จำกัดอยู่แค่ประชาชนเท่านั้น แม้องค์พระมหากษัตริย์ก็มีพิธีเทศน์ตามพิธีหลวง และนอกจากนน้ั ยังมีพระมหากษัตริยบ์ างพระองค์ถอื คติตามพระเวสสันดรโพธิสัตว์และได้ถวายทาน ดุจว่าบำเพ็ญบารมีเพอื่ โพธิญาณ19 สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระราชนพิ นธ์เรื่องทศบารมใี น พทุ ธศาสนาเถรวาท ผลการวจิ ัยพบว่า ภาพจิตรกรรมฝาผนงั เร่อื งทศชาติไว้ตอนหนง่ึ วา่ พระอารามต่าง ๆ ในประเทศไทยที่มภี าพเขียนบนฝาผนังมีอยู่มาก พระอุโบสถที่ประดิษฐานพระพุทธปฏิมา มักจะมี ภาพแสดงเรื่องไตรภูมิ มีสวรรค์ช้ันต่าง ๆ และภูมิอื่น ๆ อยู่ที่ด้านหุ้มกลองหลังพระปฏิมา ด้านหน้า 18พระมหาสงา่ ไชยวงศ์, “การศึกษาวิเคราะห์เรอ่ื งทานในพระพุทธศาสนา”, วทิ ยานิพนธป์ ริญญาศิลป ศาสตรมหาบณั ฑติ , (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชยี งใหม)่ , 2541, หนา้ 50-55. 19พระมหาบุญทัน อานนฺโท, “การศึกษาเชิงวิเคราะห์เร่ืองเวสสันดรชาดก ศึกษาเฉพาะทานบารมี”, วิทยานิพนธป์ รญิ ญาพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ , (บัณฑิตวทิ ยาลัย : มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ), 2540, หนา้ 77.
12 พระปฏิมานิยมทำภาพมารวิชัย สว่ นด้านขา้ งมักจะเป็นภาพเล่าเร่ืองต่าง ๆ เป็นภาพพุทธประวัติบ้าง ภาพชาดกบ้าง ภาพวรรณคดีบ้าง ที่มีมากท่ีสุดคือภาพทศชาติ ซ่ึงแสดงถึงพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมี ต่าง ๆ ภาพเหล่านี้ถือได้ว่าเป็นภาพสำหรับประกอบคำสอนของพระสงฆ์ซ่ึงมักจะใช้เรื่องชาดกเป็น เรือ่ งสาธกในการแสดงพระธรรมเทศนา ทำให้ผู้ฟังเหน็ ภาพประกอบไป และจะไดม้ ีความซาบซง้ึ ในรส พระธรรมอกี ดว้ ย20 แม่ชีธัญธารีย์ ฉัฐบวรสิทธ์ิ ได้ศึกษาวิจัยเก่ียวกับศึกษาการบรรลุธรรมของสหชาติของ พระพุทธเจ้าเชิงเปรยี บเทียบ ผลการวจิ ัยพบว่า การสั่งสมบารมีของสหชาติของพระพุทธเจ้า มีความ แตกต่างกัน การต้ังความปรารถนาแตกต่างกัน ระยะเวลาในการสั่งสมบุญบารมีไม่เท่ากัน เช่น พระอานนท์ พระกาฬุทายี ตั้งความปรารถนาเป็นอริยสาวก ที่เป็นเอตทัคคะ บำเพ็ญบารมี 100,000 กัป พระยโสธราเถรี หรือ พระภัททากัจจานาเถรี ตั้งความปรารถนาเป็นคู่ชีวิต คู่บารมีของ พระโพธิสัตว์ ต้องบําเพ็ญบารมี 4 อสงไขยกับเศษ 100,000 กัป รวมถึงพระฉันนะและกัณฐกะ เทพบุตร มิได้ต้ังความปรารถนาแต่ก็มีบุญบารมีท่ีสั่งสม เมื่อบารมีสมบูรณ์จึงได้เกิดเป็นสหชาติของ พระพทุ ธเจ้าในชาติสุดทา้ ย และถึงพร้อมด้วยการประพฤติปฏบิ ัติตามคาํ สอนของพระพุทธเจ้า ทำให้ วิธีการปฏิบัติเพื่อการบรรลุธรรมของสหชาติ มีทั้งการปฏิบัติ สมถยานิก และวิปัสสนยานิก จนได้ บรรลุอมตธรรมต้องอาศัยการบําเพญ็ สั่งสมบารมีในอดตี ชาติเป็นเหตุปัจจัยเกอ้ื กูลให้ปัจจุบันชาติที่มี ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา พัฒนากา้ วหน้าข้ึนตามลำดับตามแนวทางการปฏิบัติสติปัฏฐาน 4 เหน็ ความจริงอันประเสรฐิ คอื อริยสจั 4 บรรลอุ รหัตตผล ไดว้ ชิ ชา 3 พรอ้ ม คุณวิเศษ ปฏสิ ัมภิทา 4 วิโมกข์ 8 และอภิญญา 6 ผู้ปฏิบัติจนสำเร็จพระอริยบุคคลขั้นท่ี 4 คือ พระอรหันต์ ไดส้ ำเรจ็ วิชชา 3 และคณุ วิเศษ อาจจะไดไ้ มเ่ ท่ากนั 21 สรุปได้ว่า มหาเวสสันดรชาดกถือเป็นวรรณกรรมท่ีมีคุณค่าเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเรื่อง ของการให้ทานเป็นการบำเพ็ญบุญ หรือการทำความดีสำหรับคฤหัสถ์หรือผู้ครองเรือนประการหนึ่ง ตามหลักบุญกิริยาวัตถุ ทายกผู้ต้องการบำเพ็ญบุญต้องเร่ิมจากการให้ทาน และเป็นคุณค่าของ หลักธรรมคำสอนทถี่ ือเปน็ แบบอยา่ งของการแบง่ ปัน การให้ทาน การเสยี สละ เพ่ือดำเนินไปสู่ศีล และ ภาวนาในทสี่ ุด การใหท้ าน การรกั ษาศลี และการเจริญภาวนาตามหลักบุญกริ ิยาวัตถุ อีกประการหน่ึง วรรณกรรมเร่ืองนี้เต็มไปด้วยด้วยคติธรรมคำสอนต่าง ๆ ที่สำคัญพุทธศาสนิกชนท่ัวไปสามารถนำมา เปน็ แบบอยา่ ง ในการดำเนินชีวิตของตนเองไดเ้ ปน็ อย่างดี 20สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ, “ทศบารมใี นพุทธศาสนาเถรวาท”, วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตร มหาบณั ฑิต, (บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย), 2524, หน้า 167. 21แม่ชธี ัญธารีย์ ฉัฐบวรสิทธิ์, “การบรรลุธรรมของสหชาติของพระพุทธเจ้าเชิงเปรียบเทียบ”, วารสาร ปรัชญานิทรรศน์, ปที ่ี 24 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม - มถิ นุ ายน 2562) : 70.
13 1.8 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ในการศึกษาวิเคราะหก์ ารบำเพ็ญทานบารมที ป่ี รากฏในเวสสันดรชาดก ผ้วู ิจัยได้ดำเนินการ วิจัยตามขั้นตอน ดังน้ี เพื่อศึกษาวเิ คราะหก์ ารบำเพญ็ ทานบารมี ท่ปี รากฎในเวสสันดรชาดก แนวคดิ และหลักคำสอนทาน การบำเพ็ญทานบารมีของ บารมใี นพทุ ธศาสนาเถรวาท พระเวสสนั ดรในเวสสันดรชาดก คุณค่าการบำเพ็ญทานบารมขี อง พระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก แผนภมู ทิ ่ี 1.1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั 1.9 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ การวิเคราะห์ หมายถึง การแยกแยะสิ่งทีจ่ ะพจิ ารณาออกเปน็ ส่วนยอ่ ยท่มี ีความสัมพันธ์กัน เพื่อทำความเข้าใจแต่ละส่วนให้แจ่มแจ้ง รวมทั้งการสืบค้นความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เพ่ือดูว่า ส่วนประกอบปลีกย่อยนั้นสามารถเข้ากันได้หรือไม่ สัมพันธ์เกี่ยวเน่ืองกันอย่างไร ซึ่งจะช่วยให้เกิด ความเข้าใจต่อสิง่ หนึ่งสงิ่ ใดอยา่ งแท้จรงิ โดยพ้ืนฐานแลว้ การวเิ คราะห์ถอื เปน็ ทกั ษะท่ีมนษุ ย์ฝกึ ได้ จริยาวัตร หมายถงึ ความประพฤติ กิริยามารยาท ท่วงทวี าจาท่ีงดงาม หน้าที่อนั พึงปฏิบัติ วางตัวท่เี หมาะสม น่าเล่ือมใสศรัทธา กล่าวคือ ความเป็นผ้ถู ึงพร้อมด้วยจรณะนัน่ เอง เวสสันดรชาดก หมายถึง เร่ืองราวหรือชีวประวัติในชาติสุดท้ายในการบำเพ็ญเพียรทาน บารมีของพระโพธสิ ัตว์ ก่อนจะทรงอุบัติเป็นพระโคตมพุทธเจ้า คือ สมัยท่ีพระองค์เป็นพระโพธิสัตว์ บำเพ็ญบารมีอยู่ พระองค์ทรงนำมาเล่าให้พระสงฆ์ฟังในโอกาสต่าง ๆ เพ่ือแสดงหลักธรรมสุภาษิตท่ี พระองค์ทรงประสงค์ เรียกเรื่องในอดีตของพระองค์น้ีว่า ชาดก ชาดกเป็นเร่ืองเล่าคล้ายนิทาน บางครง้ั จงึ เรียกวา่ นิทานชาดก
14 การบำเพญ็ ทานบารมี หมายถึง การให้เพื่อสงเคราะห์ผูท้ ่ีขาดแคลน เพื่อสงเคราะห์ผูท้ ี่ควร สงเคราะห์ เป็นการผูกมิตรภาพไมตรีจติ หรือเพือ่ บูชาผู้ท่คี วรบูชา เป็นการบูชาคุณหรือตอบแทนคุณ หรือเป็นการบำเพ็ญบุญในบุญเขต ในเบ้ืองต้นได้แก่การสงเคราะห์ผู้อื่นและสัตว์อื่นด้วยวัตถุสิ่งของ เรียกว่า \"อามิสทาน\" นับต้งั แต่ญาติพ่ีน้อง พวกพ้อง สมณะพราหมณ์ผทู้ รงศลี และสัตว์เดรัจฉาน ตาม โอกาส และเหมาะสมแก่ฐานะของคนนั้น ๆ สูงขึ้นไป ได้แก่ การให้ธรรมะเป็นทาน ตลอดจนการ แนะนำ ส่งั สอนให้ผูอ้ ่นื คิดดีทำดี ให้เขาสามารถครองชวี ิตอยู่ได้ด้วยความดีงาม เปน็ การสงเคราะหโ์ ดย ธรรม เป็นการใหป้ ญั ญาแก่เขาได้ดำเนนิ ชวี ติ อยา่ งถกู ต้องและมีคุณคา่ เรยี กว่า \"ธรรมทาน\" คุณค่าของการบำเพ็ญทานบารมี หมายถึง คุณค่าการบำเพ็ญทานบารมี ท่ีปรากฎใน เวสสนั ดรชาดกมีคุณค่า 2 ดา้ นดว้ ยกัน คือ 1) คณุ ค่าต่อตวั บุคคลคณุ คา่ การบำเพ็ญทานบารมีของพระ เวสสันดรในเวสสันดรชาดก เป็นตัวอย่างของพุทธศาสนิกชนชาวพุทธทั้งหลาย ในการบำเพ็ญทาน บารมี เป็นการสละทรัพย์สินของตนและสละส่ิงต่าง ๆ เพ่ือให้ทานเปน็ ประโยชน์แกผ่ ู้อน่ื ท่ีได้รบั ความ ลำบาก เป็นคุณธรรมของพระโพธิสตั วท์ ีย่ ากจะทำได้ และยังนา่ ยกยอ่ งเชิดชูเป็นอย่างยิ่ง 2) คณุ ค่าต่อ สงั คม หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในมหาเวสสันดรชาดกทั้ง 13 กัณฑ์ จะช่วยให้การอยู่ ร่วมกันในสังคมเป็นไปอย่างสงบ ทุกคนต่างปฏิบัติหนา้ ที่ของตนเอง ไมส่ ร้างความเดือดร้อนให้ตนเอง และผู้อ่ืน เม่ือใครทำผิดก็ให้อภัยซ่ึงกันและกัน มีความสามัคคีเป็นท่ีต้ัง สังคมมีความเข็มแข็ง ปัญหา ทางครอบครวั ลดน้อยลง และอย่รู ว่ มกันอยา่ งสงบสขุ
บทที่ 2 แนวคดิ และหลกั คำสอนทานบารมใี นพทุ ธศาสนาเถรวาท การวิจยั เร่อื ง “ศกึ ษาวเิ คราะหก์ ารบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสันดรชาดก” ในบทน้ี จะศึกษาเร่ืองแนวคิดและหลักคำสอนทานบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท โดยวางกรอบใน การศึกษาไว้ 4 หัวข้อคือ 1) แนวคิดเกี่ยวกับหลักธรรมการบำเพ็ญทานบารมี ซึ่งประกอบด้วย ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญ แนวคิด 2) การบำเพ็ญทานบารมี 3) หลักคำสอนทานบารมี ในพทุ ธศาสนาเถรวาท 4) แนวคดิ มุมมองการใหท้ านของพระเวสสันดร ตามรายละเอียด ดงั นี้ 2.1 แนวคิดทานบารมใี นพุทธศาสนาเถรวาท 2.1.1 ความหมายของหลักธรรมทานบารมี ในคัมภีร์พระไตรปิฎกซ่ึงถือว่าเป็นคัมภีร์หลักในการศึกษาค้นคว้าคำสอนเรื่องต่าง ๆ ใน พระพุทธศาสนามีหลายแหง่ ที่กล่าวถงึ เรื่อง “ทาน” เอาไวด้ ังทไี่ ด้ชแ้ี จงถึงความสำคัญในบททห่ี นงึ่ แล้ว ทานเป็นบุญอย่างหนึ่ง เรียกว่า \"ทานมัย\" คือบุญท่ีเกิดจากการให้ เป็นสังคหวัตถุ คือเป็นเคร่ืองยึด เหน่ียวจิตใจกนั ไวไ้ ด้ และเป็นบ่อเกดิ แห่งบารมที ่ีเรียกว่า ทานบารมิ การใหท้ านมีวัตถุประสงคส์ ำคัญ ในการคลายความตระหน่ี ความเห็นแก่ตัว ความโลภในจิตใจมนุษย์ ส่งผลให้เกิดความ ใส สว่ าง สะอาดของจติ ใจขึน้ มา ทาน มีรากศัพท์ มาจากทาธาตุใน ภาษาบาลี หมายถึง การให้ การบริจาค การเสียสละ1 เป็นหลักธรรมสำคัญท่ีมีการกล่าวถึงมากในพระไตรปิฎกฉบับหลวง 45 เล่ม มีอยู่ 34 เลม่ ที่มีคำสอน เรือ่ งทานอยู่ในจำนวน นนั้ ได้ตรวจพบคำว่า “ทาน” และท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ทาน \"ถึง 1,244 คร้ัง” จึงเป็น เรื่องทคี่ วรศกึ ษาถึงเหตผุ ลที่ทานได้รบั การสรรเสรญิ เอาไวใ้ นพระไตรปฎิ กซึ่งพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าทรง ตรสั สอนเอาไว้เพอ่ื ให้ถือเป็นเบ้อื งต้นแหง่ การปฏิบตั ิธรรมเพ่ือเข้าสู่ความหลุดพ้นเพราะทานเปน็ ธรรม ท่ีง่ายต่อการปฏิบัติสำหรับผู้เริ่มเข้าสู่พระพุทธศาสนาและสามารถมองเห็นผลของการกระทำเป็น รปู ธรรมทช่ี ัดเจน ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบรสิ ุทธ์ิใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้ หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดข้ึน และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์ พร้อมดว้ ยทรัพยส์ มบัติ ถ้าใครปราศจากทานบารมี เกดิ มาก็จะยากจน สร้างบารมไี ดไ้ มส่ ะดวก เพราะ 1หลวงเทพดรุณานุศิษฏ์, พระคัมภีร์ธาตุปปทีปิกา, (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2530), หน้า 274.
16 มัวแต่กังวลเรื่องการทำมาหากิน “ทาน” จึงเป็นพ้ืนทานของการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความ เจริญก้าวหน้า ทาน เป็นหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ 10 การทำทานจึงเป็นการทำบุญอย่างหนึ่ง คำว่า “ทาน” น้โี ดยทั่วไปมักเข้าใจสบั สนกบั คำวา่ “บุญ” เนอ่ื งจากเรามักจะเรียกการถวายของแดพ่ ระภิกษุ วา่ “ทำบุญ” แต่เม่ือให้ของแกค่ นยากจน หรือคนท่ีด้อยกว่าตน มักเรียกว่า “ทำทาน” แตจ่ รงิ ๆ แล้ว การใหน้ น้ั ไมว่ า่ จะให้แกใ่ ครก็ตามถอื ว่าเป็นทานทั้งส้นิ ดังน้ัน พระพุทธองค์จงึ ทรงแสดงอนุปุพพิกถา2 (เร่ืองกล่าวโดยลำดบั ) กอ่ นแลว้ จึงตรัสสอน ข้อปฏิบัติ เช่น อริยสัจ 4 หรือ บางแห่งเรียกคล้องกันว่าทรงแสคงอนุปุพพิกถา และ จตุราริยสัจ เปน็ ตน้ ในอนปุ ุพพิกถา กม็ เี รอื่ งทานเปน็ ข้อแรกหลักธรรมทมี่ ที านเปน็ ข้อแรกมีปรากฏในหลายท่ีเช่น 1. อนุปพุ พิกนา 4 ได้แก่ 1. ทานกถา วา่ ดว้ ยเร่ืองการทา่ ทานและอานสิ งส์ของทาน 2. สีลกถา วา่ ดว้ ยเรอ่ื งศีลและอานสิ งสข์ องการรกั ษาศีล 3. สัคคกถา วา่ ด้วยสุขในสวรรค์ ทีพ่ รอ้ มดว้ ยกามคณุ 5 4. กามาทีนวกถา วา่ ดว้ ยโทษของการมวั เมาลุ่มหลงในกาม 5. เนกขมั มานสิ ังสกถา ว่าด้วยอานิสงสข์ องการออกบวช 2. สงั คหวัตถุ 4 คือ 1. ทาน การเออ้ื เฟ้ือเผื่อแผเ่ สียสละแบง่ ปันฯ 2. ปยิ วาจา การกลา่ ววาจาทสี่ ภุ าพไพเราะออ่ นหวานสมานสามัคคใี ห้ เกิดไมตรี และความรักใครน่ ับถอื 3. อตถฺ จรยิ า หมายถึงการขวนขวายชว่ ยเหลือกิจการบำเพ็ญ สาธารณประโยชนค์ ลอดถึงช่วยแกไ้ ขปรบั ปรุงสง่ เสริม ในทางจริยธรรม 4. สมานตตฺ ตา หมายถึงการปฏิบัติตนสม่ำเสมอในชนท้งั หลายและเสมอ ในสุขทุกขโ์ ดยรว่ มรบั รรู้ ว่ มแกไ้ ข นอกจากนี้ยังมีปรากฏใน สปั ปรุ ิสธรรม 3 ทานศลี บรรพชา บารมี 10 มีทานบารมีศีลบารมี และปญั ญาบารมี ทศพธิ ราชธรรม 10 มที านศลี บริจาคเป็นต้นบุญกริ ิยาวตั ถุ 3 ทานศีลภาวนาและบุญ กิริยาวัตถุ 10 เป็นต้นเพราะทานเป็นหลักธรรมสำคัญจึงมีปรากฏเป็นข้อแรกในหมวดธรรมต่าง ๆ อยู่หลายแห่งจึงนับได้ว่าทาน เป็นด่านแรกของการปฏิบตั ิธรรมในพระพุทธศาสนาเพ่ือปูพ้ืนฐานเข้าสู่ การปฏิบัติธรรมข้ันสูงต่อไปดังนั้นชาวพุทธจึงควรจะศึกษาในเรื่องน้ีให้เข้าใจอย่างถูกต้อง ว่าการทำ ทานในพระพุทธศาสนามีความสำคัญอย่างไรมีกี่ประเภทผู้ทำทานจะได้อานิสงส์อย่างไรเพื่อจะได้ไม่ 2ว.ิ มหา. 4/25/29.
17 ก้าวผิดแนวทางปฏิบตั อิ นั จะนำมาซึ่งความเดอื ดรอ้ นภายหลงั และท่สี ำคัญเพอื่ ใหท้ ราบมวี ตั ถปุ ระสงคท์ ี่ แทจ้ รงิ ของการทำทานว่าเปน็ อยา่ งไรเปน็ ต้นเพอื่ เสริมศรทั ธาให้ประกอบดว้ ยปญั ญาสมั มาทิฏฐติ ่อไป การทำทานนอกจากจะเป็นการแสดงออกซึ่งน้ำใจท่ีเผื่อแผ่แล้วทานยงั เป็นธรรมท่ีสามารถ ช่วยให้จิตใจเราบริสุทธขิ์ ึ้นจากความโลภความเห็นแก่ตัวซ่ึงเป็นกิเลสท่ีห่อหุ้มจิตใจไม่ให้บรรลุความดี เมอ่ื ปฏบิ ัติดีแลว้ ย่อมอำนวยประโยชนส์ ขุ ใหท้ ั้งโลกนีแ้ ละโลกหน้า3 ทานจะช่วยลดความโลภให้น้อยลงเพราะความโลภเป็นอกุศลธรรมนำมาซึ่งความเส่ือมใน ทสุตตรสูตร4 ได้แสดงไว้ว่า “ธรรมสามอยา่ งท่ีเป็นเป็นไปในส่วนข้างเสื่อมคืออกุศลมูลคือโลภะอกุศล มูลคือโทสะอกุศลมูลคือโมหะ” ซ่ึงท่านเปรียบอกุศลที่เกิดข้ึนในใจเป็นดังสนิมท่ีเกิดขึ้นกับเหล็กย่อม กัดกินเน้ือเหลก็ ใหเ้ สียหายหากไม่กำจัดก็จะเกดิ ความเสียหายจนไม่สามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ได้กิเลส คือความตระหน้ีทกี่ ัดกนิ จิตใจมนุษยก์ ็เช่นเดียวกันจึงควรเอาชนะหรือขจัดความตระหน้ใี นใจด้วยการ ให้ทานดังมีพระบาลีรับรองว่า ชิเน กทยิรํ ทาเนน แปลว่าควรเอาชนะความตระหนี่ด้วยการให้5เป็น เรอ่ื งทย่ี ากมากทเ่ี ราจะตอ่ สกู้ ับความโลภที่หอ่ หุม้ จิตใจจนสามารถเอาชนะได้เพราะย่งิ นานวนั หากไมไ่ ด้ รับการขจัดออกไปแล้วความโลภก็จะมีความกล้าแกร่งจนยากท่ีจะเอาชนะแล้วหันมาปฏิบัติตนเป็น ผู้ให้ทานในสังยุตตนิกาย6 ทาน หมายถึง การให้การยกมอบให้ผู้อื่นให้ของที่ควรให้แก่คนท่ีควรให้เพ่ือประโยชน์แก่ เขาทานแบง่ ออกเป็น 2 ประเภทคือ 1) อามสิ ทานคอื การให้ทานส่ิงของ 2) ธรรมทานคอื การให้ธรรม ทานการที่พระเวสสันดรให้ทานช้างแก่พวกท่ีมาทูลขอแสดงให้เห็นถึงความมีจิตใจท่ียอมเสียสละ ส่ิงของท่ีสำคัญแก่ผู้อ่ืนคุณความดีที่บำเพ็ญยากยิ่งคือทานซึ่งการให้ทานเสียสละอย่างยิ่งยวดที่เป็น บารมขี ั้นปกตเิ รียกวา่ ทานบารมีได้แก่พาหริ ภัณฑบรจิ าคคือสละของนอกกายการใหส้ ละทยี่ ิ่งยวดขึน้ ไป อีกซ่งึ เปน็ บารมีข้ึนจวนจะสุตเรียกว่าทานอุปบารมีไดแ้ กย่ งั คบริจาคคอื การเสยี สละให้อภัยวะในตวั เช่น การบริจาคดวงตาและการให้การสละที่ยิ่งยวดที่สดุ เรียกวา่ ทานปรมตั ถบารมไี ด้แก่ชวี ิตบริจาคคือสละ ชีวติ การสละให้พาหริ ภัณฑห์ รอื พาหิรวตั ) เป็นพาหิรทานคือใหส้ ิ่งภายนอกสว่ นการสละให้อวัยวะเลอื ด เนอ้ื ชวี ิตตลอดจนยอมตวั เปน็ ทาสรบั ใชเ้ พอ่ื เป็นประโยชนแ์ ก่ผู้อน่ื เปน็ อัตมตั ตกิ ทานคอื ให้ของภายใน7 3องฺ.อฏฐก. 23/144/272. 4ท.ี ปา. 11/393/296. 5ขุ.พุทธ. 9/1/123. 6ส.ํ ส. 15/97/28. 7พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ประยุตโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งท่ี 10, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เอส. อาร.์ พริ้นตงิ้ แมสโปรดักส์, 2546), หนา้ 129.
18 2.1.2 ประเภทของทาน ประเภทของทานตามหลกั พระพทุ ธศาสนาอาจแบ่งได้ 4 ประเภท คอื 1. ประเภทท่ีจัดตามปฏิคาหก มี 2 ได้แก่ 1) ปาฏิปุคคลิกทาน การให้ทานเจาะจงผู้รับ 2) สังฆทาน การให้ทานแกส่ งฆ์ มุ่งท่ีหมคู่ ณะ 2. ประเภทท่ีจัดตามสิ่งของที่ให้ทาน มี 3 ได้แก่ 1) อามิสทาน การให้ทานด้วยส่ิงของ 2) ธรรมทาน การให้ทานดว้ ยการแนะนำศิลปวิทยาและใหธ้ รรมเป็นทาน 3) อภยั ทาน การให้ทานโดย การให้อภัย 3. ประเภททีจ่ ัดตามเป้าหมายในการให้ทาน มี 2 ได้แก่ 1) วัฏฏทาน หรือวัฏฏคามที าน การให้ทานท่ีปรารถนามนุษย์สมบัตแิ ละสวรรคส์ มบัติ 2) วิวัฏฏทาน หรอื วิวฏั ฏคามที าน การให้ทานที่ ปรารถนาออกจากทกุ ขใ์ นสังสารวัฏ 4. ประเภทที่จัดตามลกั ษณะและวิธีการใหท้ าน มี 3 ได้แก่ 1) ทานทาส การให้ทานโดย ท่ีผู้ให้ยงั เป็นถูกกเิ ลสครอบงำ และใหใ้ นสง่ิ ที่เลวแกค่ นอื่น 2) ทานสหาย การให้ทานทเ่ี สมอกับสงิ่ ที่ตน มี 3) ทานบดี การใหท้ านท่ีประณีตกวา่ ส่งิ ท่ตี นมี สรุปได้ว่า ทานประเภทท่ี 1 มุ่งถึงบุคคลผู้จะรับทานโดยมีขอบเขตกว้างแคบต่างกัน ประเภทที่ 2 มุ่งกล่าวถงึ ส่ิงของท่ีจะให้ทานซ่ึงมีท้ังให้วัตถุและให้ธรรม ประเภทที่สามมุ่งถึงเป้าหมาย ของการให้ทาน ส่วนประเภทที่สีม่ ุ่งถึงบุคคลผู้ใหท้ านโดยจัดตามสภาพของจิตใจท่ียังมีกิเลสมากน้อย ตา่ งกัน มองโดยสรุปก็มเี พียงสามประเภทเท่าน้ัน คือผใู้ ห้ทาน ผู้รบั ทาน วัตถทุ าน ส่วนเป้าหมายทาน น้ันขึ้นอยู่กับผู้ให้ทานเป็นสำคัญ เพราะกระบวนการให้ทานบุคคลผู้ให้ย่อมแสดงบทบาทสำคัญกว่า องคป์ ระกอบอย่างอื่น ในทนี่ ี่จะไม่ขอกล่าวรายละเอยี ด เพราะจะทำให้ประเดน็ กวา้ งเกินไป ผูเ้ ขียนจึง งดการอธิบายประเภทของทานไว้เพียงเท่านี้ก่อน ผู้สนใจรายละเอียดเอียดเก่ียวกบั ประเภทของของ ทานโปรดศึกษาไดจ้ ากในทักขิณาวภิ งั คสูตร8 2.1.3 สาเหตุของการใหท้ าน การให้ทานตามที่กลา่ วมานน้ั แต่ละคนก็มีเหตุผลในการใหท้ านแตกตา่ งกันไปดงั พระดำรสั ที่ พระพทุ ธเจ้าตรสั แก่พระสาวกถึงสาเหตแุ ห่งการใหท้ านในทานสตู รไว้ 8 ประการคือ 1.บางคนใหท้ านเพราะหวงั ผลตอบแทนจึงใหท้ าน 2.บางคนให้ทานเพราะความกลวั 3.บางคนใหท้ านเพราะนึกว่าเขาเคยให้แก่เราแล้ว 4.บางคนใหท้ านเพราะนึกวา่ เขาจักใหต้ อบแทนเราบา้ ง 5.บางคนให้ทานเพราะนกึ ว่าการให้ทานเปน็ การดี 8ม.อุ. 14/379-380/449-450.
19 6.บางคนใหท้ านเพราะนึกว่าเราหงุ หากนิ เองไดส้ มควรท่จี ะให้ทานแก่ชนผหู้ ุงหากินเองไม่ได้ 7.บางคนให้ทานเพราะนกึ ว่าเม่ือเราให้ทานนี้แลว้ กิตติศัพทอ์ นั งามของเราจกั ฟงุ้ ขจรไป 8.บางคนใหท้ านเพราะเพื่อประดับปรงุ แตง่ จิตของคน9 นอกจากนีย้ งั พบในพระสูตรอนื่ อีกเชน่ ทานวตั ถุสตู รพระพุทธเจ้าตรัสแกพ่ ระสาวกถงึ สาเหตุ ของการใหท้ านไว้อีก 8 ประการคอื 1.บางคนให้ทานเพราะชอบพอกัน 2.บางคนใหท้ านเพราะโกรธ 3.บางคนให้ทานเพราะหลง 4.บางคนใหท้ านเพราะกลัว 5.บางคนใหท้ าน เพราะนึกวา่ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยใหม้ า เคยทำมา เราไม่ควรให้ เสยี วงศ์ตระกูลดั้งเดิม 6.บางคนให้ทานเพราะนึกว่าเราให้ทานน้ีแล้วเมื่อกายแตกดับตายไปจักเข้าถึงสุคติโลก สวรรค์ 7.บางคนให้ทานเพราะนึกว่าเม่ือเราให้ทานนี้จิตย่อมเลื่อมใสความเบิกบานใจความดีใจ ย่อมเกิดขน้ึ ตามลำดับ 8.บางคนให้ทานเพ่ือประดับปรุงแต่งจิตของตน10 ในสังคีติสูตรก็ได้กลา่ วถึงสาเหตุของการ ให้ทานไว้ 8 ประการ เช่นกัน คอื 1.บางคนใหท้ านเพราะประจวบเหมาะ (มีผ้รู ับมาถึงเขา้ ก็ใหท้ าน) 2.บางคนให้ทานเพราะกลัว 3.บางคนให้ทานเพราะคดิ วา่ เขาได้เคยใหแ้ ก่เรา 4.บางคนให้ทานเพราะคิดวา่ เขาจกั ให้แกเ่ รา 5.บางคนใหท้ านเพราะคดิ วา่ การให้ทานเปน็ การดี 6.บางคนให้ทานเพราะคิดว่าเราหุงต้มคนเหล่าน้ีมิได้หุงต้มเราหุงต้มอยู่จะไม่ให้แก่ผู้ท่ีมิได้ หงุ ตม้ ย่อมไม่สมควรดังนนั้ เขาจึงให้ทาน 7.บางคนให้ทานเพราะคดิ วา่ เมือ่ เราให้ทานนี้แล้วเกยี รตศิ ัพทอ์ ันงามรองเรายอ่ มระบือไป 8.บางคนใหท้ านเพอ่ื ความสบายอกสบายใจ11 9อง.อฏฺฐก. 23/31/193. 10อง.อฏฐฺ ก. 23/33/194. 11ท.ี ปา. 11/336/227.
20 ในสังคีตสิ ตู รเช่นเดยี วกนั ได้กล่าวถงึ สาเหตขุ องการให้ทานและความปรารถนาที่จะสำเรจ็ ได้ ไวอ้ กี 8 ประการคอื 1. บางคนใหท้ านแกส่ มณพราหมณด์ ว้ ยม่งุ หวังสงิ่ ท่ใี ห้ทานไปเพราะได้เหน็ กษัตริย์พราหมณ์ คฤหบดีมีความสมบูรณ์ด้วยกามคุณห้าจึงคิดว่าเม่ือตายแล้วจักเข้าถึงความเป็นสหายของกษัตริย์ พราหมณ์คฤหบดีได้ต้ังจิตอธษิ ฐานอบรมจิตเพ่ือคุณธรรมเบื้องสงู จึงจักไปเกิดในทนี่ ั้นความปรารถนา ของผูม้ ศี ีลจักสำเร็จไดเ้ พราะจติ บริสทุ ธิ์ 2. บางคนให้ทานแกส่ มณพราหมณด์ ้วยมุ่งหวังส่ิงที่ให้ทานไปเพราะได้ยินว่าพวกเทวดาช้ัน จาตุมหาราชิกามีอายุยืนมีวรรณะมีความสุขมากจึงคิดว่าเม่ือตายแล้วจักเข้าถึงความเป็นสหายของ เทวดาช้ันจาตุมหาราชิกาได้ต้ังอธิษฐานจิตอบรมจิตเพื่อคุณธรรมเบื้องสูงจึงจักไปเกิดในท่ีน้ันความ ปรารถนาของผู้มศี ีลจะสำเร็จไดเ้ พราะจิตบริสุทธิ์ 3. บางคนให้ทานแกส่ มณพราหมณ์ด้วยมุ่งหวังสิง่ ทีต่ นให้ทานไปเพราะได้ยินว่าพวกเทวดา ชน้ั ดาวดึงส์มีอายยุ ืนมีวรรณะมีความสุขมากจงึ คดิ ว่าเมอ่ื ตายแลว้ จักเขา้ ถึงความเป็นสหายของเทวดา ช้นั ดาวดึงส์ได้ตั้งอธิษฐานจิตอบรมจิตเพ่ือคุณธรรมเบือ้ งสูงจักไปเกิดในท่นี ัน้ ความปรารถนาของผู้มีศีล จะสำเรจ็ ไดเ้ พราะจิตบริสทุ ธิ์ 4. บางคนให้ทานแก่สมณพราหมณ์ด้วยมุ่งหวงั ส่งิ ที่ตนให้ทานไปเพราะได้ยินว่าพวกเทวดา ชั้นยามาอายุยืนมีวรรณะมีความสุขมากจึงคิดว่าเม่ือตายแล้วจักเข้าถึงความเป็นสหายของเทวดาชั้น มายาได้ตง้ั อธิษฐานจิตอบรมจติ เพอื่ คณุ ธรรมเบ้อื งสงู จึงจักไปเกิดในท่ีน้ันความปรารถนาของผู้มีศีลจะ สำเรจ็ ได้เพราะจติ บริสทุ ธนิ์ ะ 5. บางคนให้ทานแก่สมณพราหมณ์ด้วยมุ่งหวงั สง่ิ ท่ีตนให้ทานไปเพราะไดย้ ินว่าพวกเทวดา ช้นั ดุสิตมีอายยุ ืนมีวรรณะมีความสุขมากจึงคิดว่าเม่ือตายแล้วจักเข้าถึงความเป็นสหายของเทวดาชั้น ดุสิตได้ตั้งอธิษฐานจติ อบรมจิตเพื่อคุณธรรมเบอ้ื งสูงจึงจักไปเกิดในที่นั้นความปรารถนาของผู้มีศีลจะ สำเร็จได้เพราะจติ บรสิ ทุ ธ์ิ 6. บางคนให้ทานแก่สมณพราหมณ์ด้วยมุ่งหวังสิ่งทตี่ นให้ทานไปเพราะได้ยินว่าพวกเทวดา ชั้นนิมมานรดีมีอายุยืนมีวรรณะมีความสุขมากจึงคิดว่าเม่ือตายแล้วจักเข้าถึงความเป็นสหายของ เทวดาช้ันนิมมานรดีได้ต้ังอธิษฐานจิตอบรมจิตเพื่อคุณธรรมเบื้องสูงจึงจักไปเกิดในที่นั้นความ ปรารถนาของผมู้ ีศีลจะสำเรจ็ ได้เพราะจิตบริสุทธ์ิ 7. บางคนให้ทานแกส่ มณพราหมณ์ด้วยมุ่งหวงั สง่ิ ทีต่ นใหท้ านไปเพราะไดย้ ินว่าพวกเทวดา ช้นั ปรนิมมิตวสวัสดีมอี ายุยืนมวี รรณะมคี วามสขุ มากจึงคิดว่าเม่ือตายแลว้ จกั เขา้ ถึงความเปน็ สหายของ เทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัสดีได้ตั้งอธิษฐานจิตอบรมจิตเพื่อคุณธรรมเบ้ืองสูงจึงจักไปเกิดในที่น้ันความ ปรารถนาของผ้มู ีศลี จะสำเร็จได้เพราะจิตบริสทุ ธ์ิ
21 8. บางคนให้ทานแก่สมณพราหมณ์ด้วยมุ่งหวงั สิ่งท่ีตนให้ทานไปเพราะไดย้ ินว่าพวกเทวดา ในหม่พู รหมมีอายุยืนมวี รรณะมีความสขุ มากจงึ คิดวา่ เมอ่ื ตายแล้วจักเข้าถึงความเปน็ สหายของเทวดา ในหมูพ่ รหมได้ตั้งอธิษฐานจติ อบรมจิตเพื่อคุณธรรมเบอ้ื งสงู จงึ จักไปเกิดในที่นั้นความปรารถนาของผ้มู ี ศีลจะสำเร็จไดเ้ พราะจิตบริสุทธิ์12 จากพระสูตรน้ีได้กล่าวถึงสาเหตุแห่งการให้ทานและความปรารถนาของผู้ให้ทานที่จะ สำเร็จผลได้เพราะได้ตั้งอธิษฐานจิตมีการอบรมจิตเพื่อพัฒนาจิตให้มีคุณธรรมให้สูงยิ่งๆขึ้นไปและที่ สำคัญผใู้ ห้น้นั ต้องเป็นผู้มศี ลี ด้วยความปรารถนาจงึ จะสำเรจ็ ได้ตามท่ีตอ้ งการ 2.1.4 องคป์ ระกอบของทาน โดยท่วั ไป องค์ประกอบของทาน มี 3 สว่ นคือ ผู้ให้ทาน ผู้รบั ทาน และวัตถุทาน โดยเรียก ตามภาษาพระว่า 1) ทายก คือ ผใู้ ห้ทาน 2) ปฏคิ าหก คือ ผ้รู บั ทาน 3) ไทยธรรรม คือ วัตถทุ ่ีให้ทาน หากขาดส่วนใดส่วนหนึ่งการให้ทานย่อมไม่ครบองค์ประกอบ และการวนิ ิจฉัยคุณค่าของทานยึดเอา องค์ประกอบหลักทงั้ 3 เหล่าน้ีเปน็ เกณฑ์ 1. องค์ประกอบของทายก มี 3 ประการ คือ 1) บุพพเจตนา หมายถงึ ทายกยอ่ มเป็นผ้ยู ินดี ก่อนที่จะให้ทานล่วงหนา้ 1 เดือนหรือ 15 วัน ว่า เราจักให้ทาน เจตนาในส่วนน้ีเกิดขึ้นต้ังแต่เกิดความคิดเช่นนี้ จนถึงขณะจัดแจงเคร่ือง อุปกรณส์ ำหรับให้ทานก่อนมุญจนเจตนา ทายกย่อมมีจิตยินดใี นขณะนน้ั ว่า เราจกั ฝงั ขุมทรัพยอ์ ันเป็น เหตุแหง่ สมบัติท่ีสามารถจะติดตามเราไปได้ 2) มุญจนเจตนา หมายถึง ขณะที่ให้ทาน ย่อมมีใจยินดีในทานท่ีตนกำลังให้น้ัน เจตนาในขณะกำลังให้นี้ เกิดขึ้นเม่ือทายกบรรจงวางไทยธรรมในมือของทักขิไณยบุคคล ทำจิตให้ เล่ือมใสว่า เรากำลังทำการถอื เอาสิ่งทเ่ี ปน็ แกน่ สาร มีสาระจากทรัพยท์ ่ไี ม่มสี าระไมม่ ีแก่นสาร 3) อปราปรเจตนา หมายถึงหลังจากให้ทานแล้ว ทายกย่อมยินดีเสมอ ๆ เม่ือระลึก ถึงทานที่ตนได้ให้แล้ว เจตนาในส่วนนี้ เกิดข้ึนหลังจากทายกบรจิ าคไทยธรรมแก่ทักขิไณยบุคคลแล้ว มีจิตใจชื่นบาน เกิดปีติโสมนัสว่า ทานที่ชื่อว่าบัณฑิตบัญญัติไว้ เราก็ได้ปฏิบัติตามแล้ว ทานของเรา สำเร็จประโยชนด์ ว้ ยดีแล้ว สิ่งสำคัญประการหน่ึงก็คือ เจตนาท้ัง 3 ประการนี้ จะบริบูรณ์ครบองค์ได้เมื่อทายกนั้น ประกอบด้วยสมั มาทฏิ ฐิ มีความเช่อื ในกรรมและผลของกรรม คือเชอ่ื ว่าทานเป็นความดี พระพุทธเจ้า เปน็ ต้นทรงบัญญตั ไิ ว้ ทานที่ทำแลว้ มผี ล บญุ กรรมทบ่ี ุคคลบำเพ็ญแลว้ ยอ่ มมผี ล 12ที.ปา. 11/337/227-228.
22 2. องค์ประกอบของปฏิคาหก มี 3 ประการ ได้แก่ 1) เป็นผู้ปราศราคะหรือเป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อกำจัดราคะ 2) เป็นผู้ปราศโทสะหรือเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อกำจัดโทสะ 3) เป็นผู้ปราศโมหะหรือเป็นผู้ ปฏบิ ตั เิ พือ่ กำจดั โมหะ องคข์ องปฏคิ าหกทั้ง 3 ประการนไ้ี ม่ไดจ้ ำกัดอยู่เฉพาะพระอรหันต์เท่านั้นว่าเป็นผถู้ ึงพร้อม ด้วยองค์ของปฏิคาหก แม้ทานท่ีถวายแก่พระอนาคามี พระสกทาคามี พระโสดาบัน กระท่ังสามเณร ผู้รับใช้ ถึงบวชในวันนั้น ก็ช่ือว่า บวชเพ่ือโสดาปัตติมรรค ฉะน้ัน ทานท่ีถวายแก่สามเณรก็ถือได้ว่า ถวายแก่ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกำจัดราคะ โทสะ โมหะเช่นกัน ทานท่ีประกอบด้วยองค์ 6 คือ องค์ของ ทายก 3 และปฏิคาหก 3 เหลา่ นี้นับว่ามีผลมาก มีอานิสงสม์ าก 3. องค์ประกอบของวัตถุทาน มี 3 ประการ ได้แก่ 1) เป็นของสะอาด ได้มาโดยบริสุทธิ์ 2) เปน็ ของประณีต 3) เป็นของทีเ่ หมาะสม สมควรแกผ่ รู้ บั สิ่งท่ีควรเนน้ เป็นพิเศษในท่ีนค่ี ือ จาคเจตนา คือเจตนาเป็นเหตใุ ห้บริจาคทาน บุคคลเม่ือจะ ให้ทานต้องประกอบด้วยเจตนาท่ีมีศรัทธา มีหิริจึงให้ทาน และทานท่ีให้นั้นเป็นทานที่ไม่มีโทษ จาค เจตนาเหล่าน้ีจึงเรียกว่าเป็นทาน เจตนาเป็นเหตุบริจาคทานแก่ผู้อ่ืน ซ่ึงมีปัญญาเคร่ืองรู้ดีเป็นเบื้อง หน้า ประกอบด้วยวัตถุ 10 มี ข้าวเป็นต้นชอื่ ว่าทาน หรือความไมโ่ ลภ ท่ีประกอบด้วยเจตนาเป็นเหตุ ใหบ้ ริจาคทานน้ัน ก็เรียกว่า ทานเช่นกัน13ทานท่ีทายกเป็นผู้มีสัมมาทฏิ ฐิ คอื เป็นผูม้ ีความเช่ือว่า ทาน ทท่ี ายกให้แลว้ ยอ่ มมีผล ทานเป็นความดี ท่านผู้รู้มีพระพทุ ธเจา้ เปน็ ตน้ สรรเสริญไว้และบญั ญัตไิ ว้แล้ว ทานในส่วนนี้ จึงหมายเอาเจตนาเป็นเหตุให้คนบริจาคทาน ซ่ึงเป็นไปทางใจ (เจตสิกทาน) ลักษณะ ของทานที่มุ่งเจตนาเป็นหลักน้ี เป็นเกณฑ์หลกั สำหรับตัดสินค่าทางจริยะของทานประการหนึ่ง ซง่ึ จะ กลา่ วโดยละเอียดอกี คร้งั หน่งึ ในเกณฑ์ตดั สนิ เรื่องทาน วิรัติ คือการงดเว้น ได้ชื่อว่าทาน เพราะเม่ือบุคคลประกอบด้วยวิรัติ ย่อมจะงดเว้นจาก เจตนาแห่งบุคคลผู้ทุศีล ได้แก่ ความกลัว และความขลาดเป็นต้น ข้อนี้ จะเห็นได้จากการให้อภัยแก่ บุคคลอ่ืน เป็นต้น วิรัติมี 3 อย่างคือ 1) สัมปัตตวิรัติ งดเว้นส่ิงท่ีมาถึงเข้าโดยมิได้สมาทาน สมาทาน วริ ตั ิงดเว้นเพราะการสมาทาน และสมจุ เฉทวิรัติงดเว้นโดยสิ้นเชิง14วิรัติประการสุดท้ายนี้เป็นวิรัติของ พระอรยิ สาวกผไู้ ด้สำเร็จอริยมรรคและอริยผลแล้ว เพราะภัยและเวรทั้ง 5 ของพระอริยสาวกเป็นอัน สงบแลว้ ตัง้ แตว่ ิรัตนิ นั้ ประกอบพรอ้ มด้วยอรยิ มรรคกลา่ วคือการบรรลุมรรคผล ไทยธรรม ได้ชื่อว่าทาน เพราะบุคคลเมื่อจะให้ก็ย่อมให้ข้าวและน้ำเป็นต้นเป็นทาน เม่ือหมายถึง วัตถุสำหรับให้ทาน จึงเรยี กว่าวัตถนุ นั้ ว่า เป็นไทยธรรม 13มหามกุฏราชวิทยาลัย, มังคลตฺถทีปนี แปล เล่ม 2, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2534), หนา้ 4. 14มหามกุฏราชวิทยาลัย, มังคลตฺถทีปนี แปล เล่ม 3, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2531), หนา้ 174.
23 ทานมี 3 อย่างดังท่ีกล่าวมาแลว้ แต่โดยเนือ้ ความมเี พียง 2 อย่างคือ ธรรมทเี่ กี่ยวเนื่องทางใจ (เจตสิก ธรรม) และไทยธรรม เม่ือกล่าวโดยสรุปแล้ว ในมังคลัตถทีปนี หมายความ เฉพาะจากเจตนาเท่าน้ัน วา่ เป็นทาน 2.1.5 ประโยชน์ของการให้ทาน ประโยชน์ของการให้ทานหรือที่ทางศาสนาเรียกว่า“ อานิสงส์” ก็คือประโยชน์หรือผลท่ี เกดิ จากการให้ทานนั่นเองซ่ึงจะมผี ลเกิดขึน้ ทั้งแก่ผู้ให้ทานและผู้รับทาน แตถ่ ้าพูดถึงอานสิ งส์ของการ ให้ทานจะหมายถึงผลทานที่จะเกิดข้ึนมีขึ้นแก่ผู้ให้เป็นสำคัญเฉพ าะผู้ให้ทานไม่ว่าจะให้ด้วยเหตุผล ประการใดก็ตาม (ตามท่กี ล่าวมาแลว้ นน้ั ) ผู้ให้ยอ่ มจะได้รบั อานิสงสค์ อื ผลท่เี กดิ จากการใหท้ านน้ัน พระพุทธเจ้าทรงแสดงถงึ ประโยชน์ทเ่ี กิดข้ึนแก่ผ้ใู หท้ านไว้ 5 ประการคือ 1) ผใู้ หย้ ่อมเป็นทรี่ กั เป็นทีช่ อบใจของคนทั้งหลาย 2) บัณฑิต (คนด)ี ทัง้ หลายยอ่ มคบหาสมาคมกับผ้ใู หท้ านนัน้ 3) ชอื่ เสียงอันดงี ามของเขายอ่ มขจรไป 4) ผู้ให้ทานได้ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ห่างจากฆราวาสธรรม คือหลักธรรมสำหรับการครอง เรือนหรอื ธรรมของผคู้ รองเรอื นมี 4 อยา่ งคอื 1) สจั จะ ความจรงิ ใจซื่อสัตยต์ ่อกนั 2) ทมะ รูจ้ ักข่มใจตนเองควบคุมอารมณ์ตนเองได้ 3) ขันติ มีความอดทน 4) จาคะ ความเสยี สละเผื่อแผแ่ บง่ ปันมนี ้ำใจตอ่ กนั 5) ผู้ให้ท่านเม่ือส้ินชีวิตแล้วย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์การให้ทานจะให้กับทักขิเณย บคุ คลหรือผู้รับทานระดบั ใดก็ตามผู้ให้ยอ่ มจะไดร้ ับอานิสงส์หรือผลจากการให้ทานนั้นท้ัง 5 ประการ ดังกลา่ ว แต่ถ้าพดู ถึงอานสิ งส์ว่าจะได้มากนอ้ ยเพียงใดก็ตอ้ งอาศัยองคป์ ระกอบอ่ืน ๆ อกี เชน่ ผใู้ ห้ทาน ผู้รับทานวัตถุทานยกตัวอย่างวัตถุทานหากเป็นการให้วัตถุเป็นทานก็มีอานิสงส์ระดับหน่ึง แต่ถ้าให้ ธรรมเป็นทานถือว่าชนะการให้ทั้งปวงนอกจากน้ันพระพุทธเจ้าทรงแสดงถึงอานิสงส์หรือประโยชน์ ของการให้ทานซึ่งเป็นการตอบคำถามท่ีสุภมาณพโตเทยบุตรว่าการให้ทานเป็นปัจจัยเก้ือหนุนให้ไป เกิดในสุคติโลกสวรรค์หรือหากมาเกิดเป็นมนุษย์กจ็ ะเป็นผู้มีโภคะมากข้อความตอนหน่ึงใน จูฬกัมมวิ ภังคสูตร ว่าดกู ่อนมาณพบุคคลบางคนในโลกน้ีจะเป็นสตรีหรือบุรษุ ก็ตามย่อมให้ข้าวน้ำผ้ายานดอกไม้ ของหอมเคร่ืองลูบไล้ท่ีนอนที่อยู่อาศัยประทีปโคมไฟแก่สมณะหรือพราหมณ์ เขาตายไปย่อมเข้าถึง สคุ ติโลกสวรรค์เพราะกรรมนี้ที่เขาได้ส่ังสมไวบ้ ำเพ็ญไว้อย่างนห้ี ากตายไปไม่ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ ถ้ามาเกิดเป็นมนุษย์ ณ ที่ใดก็ตามจะเป็นผู้มีโภคะมากจากพระพุทธดำรัสนี้ทำให้ทราบถึงประโยชน์ ของการใหท้ าน 2 ประการ คอื
24 1. การให้ทานเป็นเคร่ืองเกื้อหนุนใหไ้ ปเกิดในสุคติโลกสวรรค์กล่าวคือเม่ือตายไปจะเข้าถึง สคุ ติโลกสวรรค์พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ปยตุ โต) ไดอ้ ธบิ ายโลกสวรรค์ไว้ว่าเปน็ แดนทีเ่ ลศิ ล้ำด้วยกามคุณ ท้ัง 5 หรือเป็นโลกของเทวดาและปกติแลว้ ก็จะหมายเอากามาวจรสวรรค์เป็นสวรรค์ท่ีเกี่ยวข้องด้วย กาม 5 ช้ันมจี าตุมหาราชกิ าดาวดึงส์ยามาดสุ ิตนิมมานรดีและปรนิมมิตวสวตั ดี 2. การให้ทานเป็นเครือ่ งเกอื้ หนุนให้เป็นผู้มีโภคะมากการให้ทานจะทำให้เป็นผ้มู ีโภคะมาก ได้อย่างไรเร่ืองน้ีเราจะพิจารณาจากความจริงที่ปรากฏให้เห็นในชีวิตจริงบางคนเกิดมาในตระกูลที่มี โภคะมากคือมีทรัพย์สมบัติมากบางคนเกิดมาแทบไม่มีอะไรจะกินแม้จะด้ินรนหาอย่างไรก็ไม่พอกิน เร่อื งนเี้ ราจะต้องพิจารณาเหตุปัจจัยหลายประการ แต่ปจั จัยตัวหน่ึงท่ปี รากฏในพระพุทธดำรัสนี้ก็คือ การให้ทานนอกจากน้ันในนิธิกัณฑสูตรพระพุทธเจา้ ก็ทรงแสดงถึงอานิสงส์หรือประโยชน์ของการให้ ทานและการให้ทานก็จดั ว่าเป็นการทำบุญอย่างหนึ่งหากพิจารณาถึงอานิสงส์ของการให้ทานจากนิธิ กัณฑสูตร15นีพ้ อสรปุ ได้ ดังน้ี 1. เป็นผ้มู ีผวิ พรรณงามมเี สียงไพเราะมที รวดทรงดี (รูปงาม) และมีบรวิ าร 2. เปน็ พระราชาครองประเทศและได้รบั ความสุข 3. ไดม้ นษุ ยส์ มบัติสวรรค์สมบัติและนพิ พานสมบัติ 4. ได้กัลยาณมิตร ถึงความเป็นผูร้ ู้ (วิชชา) และถึงความหลุดพน้ ได้ (วิมุตต)ิ 5. ไดป้ ฏิสัมภิทา วโิ มกข์ สาวกบารมีญาณ ปจั เจกโพธญิ าณ และพุทธภูมิ อาทิตตสูตร16พระพุทธเจ้า ทรงแนะให้พทุ ธศาสนิกชนใหท้ าน เพราะทรงเห็นประโยชน์คือ ใหเ้ ปน็ ผ้มู ีโภคทรัพยว์ ่าโลกคอื หมู่สัตวอ์ นั ชราและมรณะเผาผลาญแล้วควรนำออก (ซ่ึงโภคทรพั ย์) ดว้ ย การใหท้ าน เพราะวัตถุท่ีบุคคลให้แลว้ ได้ชื่อว่านำออกดแี ล้ว ทานวัตถุท่ีบุคคลให้แล้วน้ันย่อมมีสุขเป็น ผลที่ยังมไิ ด้ให้ยอ่ มไม่เปน็ เชน่ นน้ั โจรยงั ปล้นได้พระราชายงั ริบไดเ้ พลิงยงั ไหมไ้ ดห้ รอื สูญหายไปได้อน่ึง บุคคลจำต้องละร่างกายพร้อมด้วย เคร่ืองอาศัยทั้งมวล เพราะการตายจากไปผู้มีปัญญารู้ชัดอย่างน้ี แล้วควรใช้สอยโภคทรัพย์ และให้ทานเมื่อให้ทานและใช้สอยตามควรแล้วจะไม่ถูกติฉินนินทาพึงถึง 4 สถานะ อันเป็นแดนสวรรค์มีปัญหาเก่ียวกับประโยชน์แห่งการให้ทาน ปรากฏอยู่ทุกยุคสมัยแม้ใน สมัยพุทธกาลก็มผี ู้สงสัยในการกระทำทาน เช่นกัน ว่าการกระทำทานด้วยความเชอ่ื เพอื่ อทุ ิศใหแ้ กผ่ ู้ที่ ตายไปแล้วเขาจะไดบ้ ริโภคทานนั้นหรือไมป่ ัญหาน้ีพระพุทธเจ้าทรงแก้ไว้ในขาณุสโสณีสูตร17 ว่าทาน นั้นจะสำเร็จแก่ผู้ท่ีตายไปก็เฉพาะในฐานะที่เขาจะรับได้ถ้าไม่อยู่ในฐานะที่จะรับได้ก็ไม่สำเร็จ ประโยชน์หากผู้ตายไม่อยู่ในฐานะที่จะรับแม้ทานท่ีให้แล้วก็ไม่ไร้ผลฐานะท่ีผู้ตายไม่สามารถจะได้รับ 15ขุ.ขุ. 17/9/302. 16สํ.สฬา. 18/202-205. 17อง.ฺ เอกก. 24/277-282.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120