Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเตรียมสอบ ธรรมศึกษาชั้นเอก

คู่มือเตรียมสอบ ธรรมศึกษาชั้นเอก

Published by MBU SLC LIBRARY, 2021-10-15 03:41:08

Description: นักธรรมเอก

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org กาเมสุมิจฉาจาร มีสังขารคือผัสสะเป็นอารมณ หมายความว่า กาเมสุมิจฉาจาร จะสำเร็จได้ต้องมีการสัมผัสทางกาย - มุสาวาท ปีสุณวาจา และสัมผัปปลาปะ มีสัตว์หรือสังขารเป็น อารมณ์ หมายความว่า เรื่องที่พูดเท็จ พูดส่อเสืยด แล่ะพูดเพ้อเจ้อ นั้นอาจเป็นเรื่องของคน สัดว์ หรือเหตุการณ์ต่างๆก็ได้ ผ^วาจา มีสัดว์เป็นอารมณ์ หมายความว่า การพูดคำหยาบ นั้น ต้องพูดกับผู้ที่เข้าใจความหมายเท่านั้น จึงจดเป็นกรรมบถ ถ้าพูด กับผู้ที่ไฝเข้าใจ ไม่จัดเป็นกรรมบถ อภิชฌา มีสัดว์และสังขารเป็นอารมณ์ หมายความว่า สิ่งที่ โลภอยากได้นั้นเป็นมนุษย์ สัดว์ สิ่งของ ก็ได้ พยาบาท มีสัดว์เป็นอารมณ์ หมายความว่า การปองร้ายที่จัด เป็นพยาบาทนั้น ต้องปองร้ายมนุษย์ หรือสัดว์ทั้งหลายเท่านั้น • มิจฉาท็ฎฐิ มีสังขารคือธรรมอันเป็นไปในภูมิ ๓ เป็นอารมณ์ ได้แก่ กามาวจรภูมิ รูปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ หมายความว่า ความ เห็นที่จัดเป็นมิจฉาทิฏเนั้น ต้องเห็นผิดไปจากความเป็นจริง เข่น โลก อื่นไม่มี บาปไม่มี บุญไม่มี เห็นสิ่งที่ไม่เที่ยง ว่าเป็นของเที่ยง เป็นด้น ๔. โดยเวทนา คือ การรับรู้อารมณ์ หรือการเสวยอารมณ์ หรือความร้สึก มี ๓ อย่าง ได้แก่ สขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ อุเบกขาเวทนา ๑ ปาณาติบาต มีทุกขเวทนาอย่างเดียว หมายความว่า ไนขณะ ฆ่าสัดว์ จึดใจของผู้กระทำ ย่อมประกอบไปด้วยความโกรธ , อทินนาทาน มีเวทนา ๓ หมายความว่า ในขณะสักทรัพย์ จึดใจของผู้สักขโมยอาจจะมีความสุข ความทุกข้ หรือรู้สึกเฉยๆ ก็ได้ กาเมสุมิจฉาจาร มีเวทนา ๒ คือ สุขเวทนากับอุเบกขาเวทนา หมายความว่า จิดใจของผู้กำลงประพฤติผิดในกามนั้น มีแต่ความสุข หรือรู้สึกเฉยๆ เท่านั้น ๒๐๐

www.kalyanamitra.org มุสาวาท ปีสุณวาจา และสัมฝัปปลาปะ มี เวทนา ๓ หมายความว่า ในขณะที่พูดเท็จ พูดส่อเสียดหรือพูดเพ้อเจ้อนั้น จิตใจ ของผู้พูด อาจมีความรู้สึกดีใจ เสียใจ หรือเฉยๆ ก็ได้ ผรุสวาจา มีทุกขเวทนาอย่างเดียว หมายความว่า คำ พูดที่จะ จัดว่าหยาบคายนั้น ผู้พูดด้องพูดด้วยจิตที่โกรธ หากพูดด้วยจิตเมตตา ปรารถนาดี ไม่จัดเป็นผรุสวาจา อภิชฌา มิจฉาทิฏฐิ มีเวทนา ๒ คือ สุขเวทนากับอุเบกขา เวทนา หมายความว่า ในขณะที่โลภอยากได้ของผู้อื่น หรือมิความ เห็นผิดนั้น จิตใจของผู้นั้น จะมีแต่ความสุข หรือรู้สึกเฉยๆ ไม่รู้สึก โกรธหรือเสียใจเลย พยาบาท มีทุกขเวทนาอย่างเดียว หมายความว่า ในขณะที่ ปองร้ายผู้อื่นนั้น จิตใจของผู้ปองร้าย ย่อมมิแต่ความโกรธอย่างเดียว c\\6ไtrb

www.kalyanamitra.org ๔. โดยมล คือ กเลสฺที่เป็นสาเหตุให๓ดการกระทำบาปตางๆ มีอกศลมูล ๓ ได้แก โลภมูล ๑ โทสมูล ๑ โมหมูล ๑(มีโนอกุศลจิต ทุกดวง) ปาณาติบาต มีมูล ๒ คือ โทสมูล โมหมูล อทินนาทาน มีมูล ๒ คือ โทสมูล โมหมูล หรือ โลภ่มูล โมหมูล กาเมสุมิจฉาจาร มีมูล ๒ คือ โลกมูล โมหมูล มูสาวาท ปีสุณวาจาและติมผฺปปลาปะ มีมูล ๒ คือุ โทสมูล โมหมูลฺ หรือ โลภมูล โมหมูล ผรุสวาจา มีมูล ๒ คือ โทสมูล โมหมูล อภิชฌา พยาบาท มีมูล ๑ คือ โมหมูล มิจฉาทิฏเ มีมูล ๒ คือ โลภมูล โมหมูล ป้ญหาและเฉลยบทที่ ๑ ๑. พระพุทธศาสนาสอนว่า สิ่งที่สามารถทำให้คนกลายสภาพเป็นสัตว์ หรือเทวดาได้คืออะไร ? ก. เทพเจ้า ข. ตวงชะตา ค. กรรม . ง. พรหมลิขิต ๒. กรรมที่จะนำสัตว์ไปสูทุคติและสุคตินั้น เรือกว่าอะไร? ก. กรรมลิขิต ข. กรรมบถ ค. วิบากกรรม ง. กรรมคติ ๓. การได้ไปเกิดเป็นมนุษย์ เทวฺดา พรหม เรืยกว่าอะไร? ก. สุคติ • ข. ทุคติ s ค. ภพ ง. ภมิ ๒๐๒

www.kalyanamitra.org ๔.ในการทำความดีและความชั่วมีอะไรเป็นใหญ่ ? ก. เจตนา ข. เหตุจูงใจ ค. สิ่งล่อใจ ง. อารมณ์ ๔. \"ทำความดีอย่าเร้าง สร้างธุศลอย่าร้โรย\" มีความหมายตรงกบ ข้อใด ? ก. กุศลมูล ข. อกุศลมูล ค. กุศลกรรมบถ ง. อกุศลกรรมบถ ๖. ธรรมชาติที่มีอิทธิพลเหนือตวงตาว ผีสางเทวดา ตรงกบข้อใด? ก. เทวา'พุภาพ ข. พระผู้เป็นเจ้า ค. เครื่องรางของขลัง ง. กฎแห่งกรรม ๗. การประกอบกรรมดี ทำ สิ่งที่เป็นประโยช'น เรียกว่าอะไร? ก. กุศลเจตนา ข. อกุศลเจตนา ค. กุศลกรรม ง. อกุศลกรรม ๘. การทำความดีของม'พุษย์'ทั้งหลาย มุงถึงประโยชน์อะไร? ก. เพื่อเพิ่มาจูนบุญกุศล ข. เพื่องดเว้นความชั่ว ค. เพื่อละความเ'หนแก่ตัว ง. ถูก'กุกข้อ ๙. คนเราจะมีความสุขหรีอความ'กุกข้ขึ้นอยู่ลับอะไร? ก. ดวงชะตา ข. ปาฏิหาริย์ ค. การกระทำ ง. เทพเจ้า ๑๐. การตัดสินคนว่าดีหรีอเสว 'ฬิจารณาจากสิ่งใด ? . ก. การกระทำ ข. อารมณ์ ค. ความคิด ง. คำ 'พูด ๑๑. พระพุทธศาสนาสอนเกี่ยวลับความเ'ห็นไว้อย่างไร? ก. เ'ห็นว่าโลกเที่ยง . ข. เ'ห็นว่าตายแล้วสูญ ค. เ'หนว่ากรรมลิขิต ง. เ'ห็นว่าพรหมลิขิต ๒๐๓

www.kalyanamitra.org ๑๒. กรรมลิขิต มีความํหมายตรงกับข้อใด ? ก. เกิดเป็นมนุษย์ . ข. เกิดเป็นเทวดา ค. เกิดเป็นสัตว์นรก ง. ถูกทุกข้อ 1 ๑๓. การกระทำตางๆ ของบุคคลในโลกนี้ จะสำเร็จเป็นฺกรรมบถหรือ ไม่ มีอะไรเป็นเครื๋องกำหนด ? ก. เจตนา ข. อารมณ ค. ทุจรืด ง. สุจรืด ๑๔.การกระทำทางกาย วาจาใจรวมเรืยกว่าอะไร? ก. กรรม ข. เจตนา ค. เวทนา ง. อารมณ ๑๙.พฺระพุทธศาสนาสอนให้เขิอในเรื่องใด ? ก. เรื่องพรหมลิขิต ข. เรื่องดวง ค. เรื่องการกระทำ . ง^. เรื่องลี้สับ ๑๖. ผลแห่งกรรมชั่วที่บุคคลจะพึงได้รับในชาติหน้า ตรงกับข้อใด? ก. เกิดเป็นมนุษย์ ข. เกิดเป็นเทวดา ค. เกิดเป็นพ่รหม V ง. เกิดเป็นเปรต ๑๗. อารมณเป็นเหตุให้กระทำกรรมนั้นๆ มความหมายตรงกับข้อใด? ก. สิ่งที่ใจเข้าไปยึดเหนี่ยว ข. สิ่งที่เกิดร่วมกับเจตนา ค. รากเหง้าของอกศลอื่น ง. กรรมเกิดในมโนทวาร ๑๘. ปกติของจิตเป็นธรรมชาติใสสะอาด แต่กลายสภาพเป็นความโหด ร้าย ด้วยอานาจแห่งอกุศลมูลใด ? ก. โลภะ ข. โทสะ ค.โมหะ ง. ถูกทุกข้อ - ๑๙. การกระทำความชั่ว มีอะไรเป็นมูล? ก. กุศลมูล ข. อกุศลมูล ค. กุศลจิต ง. อกุศลจิต ๒๐(ร: -

www.kalyanamitra.org ๒๐. บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น ผู้มีความเห็นชอบย่อม ได้รับผลเช่นไร? ก. ทุคติ ข. สุคติ ค. อบาย ง. นิรยํะ ๑. ค ๒. ข เฉลย ๔. ก ๔. ค ๖. ง ๗. ค ๙. ค ๑๐. ก ๑๑. ค ๑๒. ง ๓. ก ๑๔. ก ๑๔. ค ๑๖. ง ๑๗. ก ๘. ง ๑๙. ข - ๒๐. ข ๑๓. ก ๑๘. ช

www.kalyanamitra.org บทที่ ๒ อกศลกรรมบถ ทางกาย ๓ อกุศลกรรมบถฃอที่ ๑ ปาณาติบาต คำ ว่า ปาณะ ในคำว่า ปาณาติบาต โดยสมมติสัจจะ ได้แก่ สัตว์ โดยปรมัตถสัจจะ ได้แก่ ชีวิตินทรีย์ ๒ อย่าง คือ. ๑.รูปซีวิตินทรีย ธรรมช่าติที่เป็นไหญในการทำใV^มีฃีรีตอยู๊1ด้ ๒. อรูปชีรีตินทรีย์ ธรรมชาติที่เป็นใหญ่ในการทำให้นามธรรม ได้แก่ เวทนา สัญญา สังขาร และรีญํญาณ มีชีรีตอยใด้ ชีรีตินทรีย์ทั้งสองนี้ มีความสัมพนธ์เกี่ยวเนองกัน เมื่ออย่าง หนึ่งถูกทำลาย อีกอย่างหนึ่งก็ถูกทำลายไปด้วย \"การฆ่า\" หมายถึง การทำให้ตาย .\"สัตว์\" หมายถึง สัตว์ทุก ชนิดทั้งที่เป็นมนุษยและสัตว์ติร้จฉาน มีข้อห้าม ๓ ประการ คือ ๑. การฆ่า ๒. การทำร้ายร่างกาย ๓. การทรกรรม กิริยาที่ฆ่านั้น จะใข้อาวุธที่มีคม เช่น มีด ดาบ .เป็นด้น หรีอ อาวุธไม่มีคม เช่น ท่อนไม้ มือ เท้า เป็นด้น จะฆ่าเอง หรีอไช!ห้ผู้อื่น ๒๐๖

www.kalyanamitra.org ฆ่าด้วยวาจา หรือแสดงอาการอย่างอื่นเพื่อใาฑูว่าใช1ห้ฆ่า เซ่น ขยิบตา โบกมือ เป็นต้น ถ้าทำสำเรืจเป็นอันฆ่าทั้งนั้น ขึ้นชื่อว่าการฆ่า การทำร้ายร่างกาย หรือการทรมาน ไม่ดีทั้ง นั้น เพราะคนเราถ้าขาดชีวิตเสียแล้ว ก็ชื่อว่าขาดหมดทุกสิ่งทุกอย่าง ชีวิตเป็นสิ่งสำคัญที่สุด จึงจัดไว้เป็นกรรมบถข้อแรก จดม่งหมายของกรรมบถข้อนี้ เพื่อให้ทกคนมีเมตตาจึตใน เพAือนมน^ุษย์และ\"สัตวV์tทังหลาย ปาณาติบาตนั้น จะสำเร็จเป็นกรรมบถได้ ต้องประกอบด้วย องค์ ๕ ดือ ๑. สัตว์มีชีวิต ๒. รู้ว่าสัตว์นั้นมีชีวิต ๓. มีจึตคิดจะฆ่า ๔. พยายามเพื่อจะฆ่า ๔. สัตว์นั้นตายด้วยความพยายามนั้น

www.kalyanamitra.org ปาณาสิบฺาตนั้น มีโทษมาก เพราะเหตุ ๔ ประการ คือ ๑. สัตวใหญ่ ๒. สัตว์นั้นมีคณ ๓. ความพยายามของผู้ฆ่ามีมาก ๔. กเลสของผู้ฆ่ารุนแรง ปาณาติบาตที่ตรงกนข้าม ข้อว่ามีโทษน้อย อานิสงส์ของการรักษากรรมบถ ข้อที่ ๑ ๑. เป็นคนมีร่างกายสมบูรณ์งดงาม่สมส่วน ๒. เป็นคนมีความแกล้วกล้า อาจหาญ ๓. เป็นคนมีกำลงมาก ๔. เป็นที่รักใคร่ของคนทั่วไป ๙. จะไฝตายเพราะผู้อื่นพยายามทำร้าย ๖. เป็นคนมีบริวารพวกพ้องมาก ๗. เป็นคนมีโรคน้อย ๘. เป็นคนมีอายุยืน ๙. เมื่อละโลกไปแล้วมีสุคติโลกสวรรค์เป็นที่ไป โทษของปาณาสิบาดฺ ในสมียพุทธกาล ในเมืองสาวัตถีมีชายคนหนึ๋3ซื่อนันทะ มือาข้พ ฆ่าโคเอาเนื้อขายเลี้ยงข้วิตตลอด ๙๙ ปีที่เขาทำอาข้พนื้ ไม่เคยืบฺริจาค ทานและริกษาศีลเลย ถ้าขาดเนื้อจะไม่ยอมริบประทานอาหารเลย วันหนึ่งในเวลาเย็น เขามอบเนื้อ่ให้ภรรยาเพื่อทำกบข้าว เสร็จแล้วไปอาบนํ้าที่ท่านํ้าบังเอิญเพื่อนข่องเขาคนหนึ่งมีแขกมาเยี่ยม ๒๐cf

www.kalyanamitra.org ที่บ้าน ไฝมีกับข้าวต้อนรับจึงไปยังบ้านนายนันทะพบภรรยาของเขุา จึงไต้ขอ^อเนื้อ แต่ไฝมีเนื้อสำหรับขาย มีแต่เนื้อที่เตรียมไว้สำหรับ v^ากับข้าวไนตอนเย็น ภรรยานายนันทะจึงไฝขายให้ เพราะทรฺาบดีว่า ถ้าขาดเนื้อแล้วสามีจะไฝยอมรับประทานอาหาร แต่ชายผู้นั้นก็ไฝฟ้ง เสิยงไต้หยิบฉวยเอาเนื้อนั้นไป นายนันทะกลับมาจากอาบนํ้า ภรรยาไต้ยกถาดอาหารที่ปราศ จากเนื้อมาให้ ไต้เล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้ฟัง เขาไฝยอมรีบประทาน อาหาร ลุกขึ้นฉวยมีดอันคมกสิบเดินเข้าไปหาโคตัวหนึ่ง ส&ดมือ เข้าไปในปาก ดีงลิ้นออกมาแล้วใข้มีดเชือดจนขาด นำ มาให้ภรรยาทำ กับข้าว โคตัวนั้นสิ้นใจดายต้วยความเจ็บปวดทรมาน เมื่อทำกับข้าว เสรีจแล้วนายนันทะจึงรับประทานอาหาร ทันทีที่เขาใส่ขึ้นเนื้อนั้น เข้าไปในปาก สิ้นของเขาไต้ขาดดกลงไปในจานข้าว ไต้รับผลกรรม ทันดาเห็นเพราะการทำปาณาดิบาตต้วยจิตใจอันโหดเหี้ยม เลือดไหล ออกจากปากร้องครวญครางเสียงเหมีอนโค ดายแล้วไปดกนรกอเวจึ อกุศลกรรมบถฃ้อที่ ๒ อทินนาทาน คาว่า \"สิงของ\" หมายถึง สิ่งของที่มีเจ้าของ หรีอสิ่งไฝมี เจ้าของ แต่เป็นของสวนรวม เช่น ของสาธารณะหรีอทรัพย์สินของ ชาดิ ศาสนา พระมหากฟ้'!รีย์ เป็นต้น ทั้งที่เป็นสวิญญาณกทรัพย์ คือ ทรัพย์มีวิญญาณหรีออวิญญาณกทรีพย์ คือ ทรีพย์ที่ไฝมีวิญญาณ \"การถึอเอา\" หมายถึง การหยิบของนั้นมาเป็นของตัวเองโดย พลการ โดยที่เจ้าของเขาไฝไต้ให้ ไฝไต้อนุญาตให้ต้วยกาย เช่น พยัก หน้าให้ โบกมีอให้เป็นต้น ไฝไต้อนุญาตให้ต้วยวาจา เช่น บอกให้ เป็นต้นฺ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรีอต้วยอาการอย่างขโมยฺ เช่น ลัก ฉก ชืง วิ่งราว ต่ ดระบัด ปลอมแปลง ลักลอบ ยักยอกเขา เป็นต้น จะ ๒๑๙

www.kalyanamitra.org ทำ เองหรือใช้1ห้ผู้อื่นทำด้วยกาย หรือด้วยวาจา จดเป็นผิดเหมือนกัน ขึ๊นซื่อว่าการลักขโมยไม่ดืทั้งนั้น เพราะคนเราจะมืชีวิตอยู่ได้ ด้วยทรัพย์หรือปัจจัยพื้นฐานของการดำรงชีวิต ๔ ประการ คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค และที่อยู่อาศัย จุดมุ่งหมายของกรรมบถข้อนี้ เพื่อให้ทุกคนเคารพสิทธใน ทรัพย์สมบตของกันและกัน ให้รู้จักทำมาหากินเลื๊ยงชีวิตโดยสุจริต อทินนาทาน จะสำเร็จเป็นกรรมบถได้นั้น ด้องประกอบด้วย องค์ ๕ คือ ๑. ของนั้น่มืเจ้าของหวงแหน ๒. รู้ว่าเจ้าของหวงแหน ๓. มืจิตคิดจะลัก ๔. มีความพยายามในการลัก ๕. ได้ของนั้นมาด้วยความพยายามนั้น ท^'{/

www.kalyanamitra.org อทินนาทานนั้น มีโทษมาก เพราะเหตุ ๔ ประการุ คือ ๑. ของนั้นเป็นของประณีต หรือมีค่วามสำคัญ ๒. ของนั้นเป็นของบุคคลผู้มีคุณธรรม ๓. ผู้ลักมีความพยายามมาก ๔. กิเลสของผู้ลักแรงกล้า อทินนาทานที่ตรงคันข้าม ชื่อว่ามีโทษน้อย อานิสงส์ของการรักษากรรมบถฃ้อที่ ๒ , ๑. เป็นคนมีทรัพยมาก - ๒. ทรัพย์สมบตที่ยังไม่๓ดขึ้นก็จะเกิดขึ้น ทรัพย์สมบ้ตที่เกิค ขึ้นแล้วจะอยู่มั่นคง ๓. ทร้ฟฺย์สมบสิจะไม่เป็นอื่นด้วยคัยต่างๆ เซ่น ราชภัย โจรคัย อุทกภัย อัคคีภัย และพวกทายาทที่ไม่ถูกคัน เป็นด้น ๔. มีความเป็นอยู่อย่างสุข่สบาย. ๔. มีความแกล้วกล้าอาจหาญในที่ชุมชน ๖. เมื่อละโลกไปแล้วมีสุคติโลกสวรรคเป็นที่ไป โทษของอทินนาทาน ในสมัยพุทธกาล ในเมืองสาวตถีมีพราหมณีคนหนั้3ขื่อสีลวิมั3สนะ ถึงสรณะ ๓ และรักษาศีล ๔ รบราชการอยู่คับพระเจ้าโกศล พระราชา พร้อมด้วยข้าราชการน้อยใหญ่ต่างให้ความVฌถึอพราหมณีm เขาคิดว่าการที่คนเขานับถึอเรานี้ เขานับถืออะไร ชาติ โคตร สกุล ความรู้หรือศีลคัน่แน่ด้องการจะทดลอง วันหนึ่งเมื่อกลับจากที่. ทำ งานได้แอบหฺยิบเอาเงินของหลวงไปจำนวนหนึ่ง เจ้าหน้าที่การเงิน 10๑๑

www.kalyanamitra.org ไม่ว่าอะไร ว้นที่ ๒ ได้ทำอย่าง^อีก ก็!ม่มีใครว่าอะไร ว้นที่ ๓ จึงหยิบ เอาเงินไปกามือหนึ่3 เจ้าหน้าที่การเงินโกรธ ร้องตะโกนให้คนช่วยกันจ้บ ตัว เมื่อจับตัวได้แล้วก็ทุบตีคนละสองสามที แล้วพันธนาการไปกราบทูล ให้พระราชาร้บสั่ง์ลงอาญาหลวงแก่เขา พราหมณทราบชัดว่า ที่คนเขานมถือตนนั้นเพราะการรักษาศีล จึงได้กล่าวว่าเรื่องชาตีและซนชั้นเป็นเรื่องไร้สาระ ศีลนี่แหละสูงที่สุด บคคลขาดศีลเสียแล้ว วิชาความร้ก็ไม่มืประโยชน้อะไรเลย น'?ร' อกุศลกรรมบถ ข้อที่ ๓ กาเมสุมิจฉาจาร คำ ว่า กาม ในคำว่า กาเมสุมิจฉาจาร m ได้แก่ เมถุนสมาจาร ๒ อย่าง คือ ๑. สทารสันโดษ ความพอใจเฉพาะลู่ครองของตน ๒.ปรทารคมนะ การละเมิดลู่ครองคนอื่น ท่านห้ามล่วงละเมิดสามืภรรยาตลอดจนถึงบตรและธิดาของ

www.kalyanamitra.org บุคคลอื่น ห้ามเฉพาะชายหญิงบางประเภทเท่านัน เซ่น ชายหญิงทีมี ภรรยาสามีแล้ว ชายหญิงที่มีจารีตห้าม เซ่น นักบวช เป็นต้น เมื่อ ล่วงละเมีดชายหญิงเหล่านี้จัดเป็นกาเมสุมิจฉาจาร จุดมุงหมายของกรรมบถข้อนี้ เพื่อให้ทุกคนเคารพสิทธิในคู่ ครองหรีอคนที่เรารัก เพื่อป็องกันความแดกร้าวในหมู่มนุษย กาเมสุมิจฉาจาร จะสำเร็จเป็นกรรมบถได้นั้น ด้องประกอบด้วย องค๔คอ ๑. บุคคลที่ไม่ควรไปล่วงละเมิด ๒. จงใจจะเสพในบุคคลนั้น ๓. มีความพยายามในการเสพ ๔.ให้อวัยวะเพศถึงกัน ได้แก่ มรรค๓คือทวารหนัาทวารเบา และปาก กาเมสุมิจฉาจาร มิโทษมาก เพราะเหตุ ๔ ประการ คือ ๑. กระท่าในบุคคลผู้มีธุณธรรม ๒. เป็นการข่มขืนใจ ๓. มิความพยายามมาก ๔. มีกิเลสแรงกล้า กาเมสุมิจฉาจารที่ดรงกันข้าม ขือว่ามีโทษน้อย อานิสงส์ของการรักษากรรมบถ ฃอที่ ๓ ๑. มีความอาจหาญแกล้วกล้าในที่ชุมชน ๒. ครอบครัวอบอุ่นมีความสุข ๒๑๓

www.kalyanamitra.org ๓. ปราศจากศัตรูต่างๆ ๔. เป็นที่รักใคร่ของชนทั้งปวง ๔. ไม่เป็นที่รังเกียจสงสัยหรือห่วาดระแวงของบุคคลอื่น ๖. มีหน้าตาผ่องใส นอนกีเป็นสุข หสับก็เป็นสุข ตื่นก็เป็นสุข ๗. เมื่อละโลกไปแล้วมีสุคติโลกสวรรคเป็นที่ไป โทษของกาเมสุมีจฉาจาร ครังดึกดำบรรพ์ ได้มีชายหนุ่มชาวพาราณสีคนหนึ่งชื่อวา ธนุคคหบณฑิต เรืยนวิชากับอุาจารย์ทิคาปาโมกข์ที่เมีองศักกสิลา เขา เป็นชายหนุ่มหน้าตาดึ มีความประ'พฤติเรืยบร้อย เรียนเก่งเป็นที่รัก ใคร่ของอาจารย เมีอเรียนศิลปวิทยาจบแล้วจึงลาอาจารย์กสับบ้าน อาจารย์ได้ยักลูกสาวคนหนึ่งให้เป็%เภรรยา ในระหว่างทางได้เกิดการ ต่อสู้กับพวกโจรทีมาคอยดักปล้น ได้ฆ่าโจรตายไปหลายคนจนลูกคร ในมีอหมด จึงต่อสู้กับหัวหน้าโจรด้วยมีอเปล่า บอกให้ภรรยานำดาบ มาให้ แต่ภรรยากสับเกิดความรักใคร่ในดัวโจรที่ตนเพิ่งจะพบเห็นเดี๋ยว นั้นเอง จึงล่งดาบไปให้โจรฆ่าชายหนุ่มตาย โจรพานางไปถึงแม่นํ้าสายหนึ่ง ศิตว่าหญิงคนนี้ พบชายอื่น เข้าคงจะให้ฆ่าเราเหมีอนกับให้เราฆ่าสามีเธอ เราไม่ต้องการผู้หญิง คนนี้ จึงออกอุบายหลอกลวงเอาทรัพย์สินเงินทองของเธอจนหมดสิ้น แล้วก็จากไป โดยทีงคำพูดไว้กับเธอว่า แม่คนงาม เธอเอาสามื่ที่เคย เชยชิดกันมานานแลกกับฉันชื่งไม่ใช่สามีที่เคยเชยชิต่ วันหสังเธอ คงจะเอาฉันแลกกับชายอื่นอีก ฉันจะหนีเธอไปให้ไกลที่สุดเท่าที่จะ ไกลได้ หญิงสาวคนฉันไม่มีใครคบหาสมาคมด้วย เพราะประพฤติผด ศิลข้อที่ ๓ ๒๑(ร:

www.kalyanamitra.org กายกรรมเป็นไปในทวาร ๒ กรรม ๓ อยาง คือ ปาณาติบาต อทนนาทาน และ กาเมสุมิจฉาจาร เรียกว่า กายกรรม เพราะเป็นไปทางกายทวารโดย มาก บางครั้ง ปาณาติบาตและอทินนาทาน ก็เป็นไปทางวจีทวารบ้าง ติ'วอย่าง นาย ก. สั่งให้ นาย ข. ไปฆ่าคนหรีอไปลักทร้พย์ นาย่ ข. ทำ งานสำเร็จตามที่นาย ก. สั่3 การฆ่าคน หรีอการลักทร้พย์ของนาย ก. จัดเป็นกายกรรม แต่ทวาร จัดเป็นวจีทวาร ส่วนกาเมสุมิจฉาจาร จัด เป็นกายกรรม เพราะเป็นไปทางกายทวารอย่างเดียว ปาณาติบาต อทินนาทาน และกๆ.เมสุมิจฉาจาร ที่จัดเป็น กายกรรม่นั้น เพราะมีการกระทำด้วยกาย กรรมนั้นจีงจะสำเร็จดัง ดัวอย่างที่ยกมา ถ้าเพียงแต่การสั่3อย่างเดียวไม่มีคนลงมือทำจะสั่3ต่อๆ กันไปกี่คนก็ดาม การฆ่าหร็อการลักนั้นจะสำเร็จไม่ได้เลย ในการทำปาณาติบาต อทินนาทาน และกาเมสุมิจฉาจารนั้น จิตใจของผู้กระทำ ด้องมีอภิชฌา คือโลภะ พยาบาท่ คือโทสะ และ มิจฉาทิฏฐิ เภิดขึ้นด้วยดามสมควร กายกรรมนี้ เน้นดัวเจดนาคือความ จงใจเป็นสำคัญ ดังนั้น อภิชฌา พยาบาท และมิจฉาทิฏฐิ ในกายกรรม นี้ จีงจัดเป็นอกุศลกรรม ฝ่ายสนับสนุนเจตนา ไม่ได้จัดเป็นกรรมบถ ป้ญหาและเฉลยบทที่ ๒ ๑. กายกรรม หมายถึงอะไร? ก. การกระทำทางกาย ข. การกระทำทางคำพูด ค. การกระทำทางความคิด ง. การกระทำทุกวิถึทาง ๒. การฆ่าลัดว์ดัดรวิด เบียดเปียนร่งกันและกัน เป็นกรรมชนิดใด ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนก่รรม ง. ถูกทุกข้อ

www.kalyanamitra.org ๓. ข้อใด ไมใช่ปาณาติบาตที่เกุดขึ้นทางกายทวาร? ก. ใช้มีดฟันให้ตาย ข. ทำ กับดักให้ดกไปดาย ค.ใช้ปีนรงให้ดาย 'ง.สงให้คนอึ่นฆ่าให้ตาย ๔. คนประ๓ทใด ได้ชื่อว่าชั่วมากกว่า ? ก. ฆ่าสัตว์เอง ข. ชักชวนให้คนอื่นฆ่า ค. รนดีกับผู้ฆ่า ง. ทั้งฆ่าเอุง ทั้งชัก่ชวนคนอื่น ๔. สัต่ว์ชนิดใด ควรฆ่าทิ้ง? ' ก. สุนัขบ้า ข. ไก่เป็นหวัดนก ค. วัวบ้า ง. ไม่มีช้อถูก ๖. ฆ่าโดยอาการใด มีโทษมากที่สุด ? ก. ฆ่าสัตว์ป็องกันดัว ข. ฆ่าโดยไตร่ตรองไว้ก่อน ค. ฆ่าเพราะบันดาลโทสะ ง. ฆ่าเพราะป็องกันโรคติดต่อ ๗. \"โหดร้าย มีอไว ใจมากร้ก\" ตรงกับอกุศลกรรมบถหมวดใด ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ ๘. ข้อใด ไม่เป็นเหตุจูงใจให้ทำปาณาติบาต ? ก. บักษี . ข. บักษา ค. ปาณา ง. ปรานี ๙. ข้อใด ไม่ใช่องคแห่งปาณาติบาต ? ก. สัตว์มีชีวิต ข. รู้ว่าสัตว์มีชีวิต ค. พยายามฆ่า ง. รูวาสัตว์ตาย ๑๐. ข้อใด ไม่เป็นอารมณแห่งปาณาติบาต ? ก. เงิน ข. นก ค ปลา ง. ม้า ๑๑. บุคคลที่เบียดเบียนสัตว์ จะมีผลกรรมตรงกับข้อใด? ก. มีอุปสรรคมาก ข. เจ็บไข้ได้ป่วย ค. ชักหน้าไม่ถึงหลัง ง. มีอายสั้น ๒๑๖

www.kalyanamitra.org ๑๒. อทินนาทาน มีความหมายตามข้อใด ? ก. กฺารถือเอาสิ่งของทุเจ้าของทิ้ง ข. การถอเอาสิ่งของทุเจ้าของไมให้ ค. การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่หวง ง. การถือเอาสิ่งของที่เจ้าขฺองไม่สนใจ ๑๓. อทินนาทาน ถืงความเปีนกรรมบถเมื๋อใด ? ก. ของนั้นมีเจ้าของหวง ข. รู้ว่าของมีเจ้าของหวง ค. มีจิตคิดจะลัก ง. ลกมาได้ด้วยความพยายาม ๑๔.วัดถุอันเป็นที่ตงแห่งอทินนาทาน ตรงกับข้อใด? ก. มีเจ้าของ ข. เขาหวงแหน' ค. เขายังไม่ให้ ง. ถูกทุกข้อ ๑๔. การฉ้อโกงทรัพยัสินของชาติ จัดเป็นกรรมบถข้อใด ? ก. ปาณาติบาต ' ข. อทินนาทาน ค. กาเมสุมีจฉาจาร ง. มุสาวาท ๑๖. สั่งให้คนอื่นไปลักทร้พย์ เป็นกายกรรมเกดขึ้นทางทวารใด? , ก. กายทวาร ข. วจีทวาร คุ. มโนทวาร ง. ทั้ง ๓ ทวาร ๑๗. เมื่อความโลภเกิดขึ้น หากยับยั้งไม่ได้ จะทำให้คนเรากระทำ ความผิดใด ? ข. ผูกอาฆาต ก. คอรรัปชั่น ค. พยาบาท ง. เชอเรื่องผิต ๑๘.ลักทรัพย์ชนิดใดมีโทษมากที่สุด? ก. ของส่วนตัว ข. ของส่วนรวม ค. ของมีขนาดเล็ก ง. ของไหว้เจ้า ๑๙. ข้อใด ไม่ใช่วัตถุแห่งอทินนาทาน? . ก. อริยทรัพย์ ข. สิขสิทธิ้ ค. ทรัพย์แผ่นติน ง. ทรัพย์มีเจ้าของ ๒๑๙

www.kalyanamitra.org ๒๐.\"ทำนาบนหล้งคน\" ชื่อวาประพฤติผิดอกุศลกรรมบถข้อใด? ก. อภิชฌา ข. พยาบาท ค. มุสาวาท ง. อทินนาทาน ๒๑. การกระทำใดไม่เป็นอทินนาทาน? ก. ยึดทร้พย์พ่อค้ายาบ้า ข. บุกรุกพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ค. ปลูกบ้านพักในป่าสงวน ง. ทุจริตงบประมาณแผ่นดิน ๒๒.ความพลัดพรากจากของที่ชอบ เป็นผลของอกุศลกรรมบถใด? ก. ปาณาติบาต ข. อทินนาทาน ค. กาเมสุมิจฉาจาร ง. สั่มผัปปลาปะ ๒๓. ข้อใด เป็นกายกรรมที่เกิดทางวาจา ? ก. พูดเชิญชวน ข. พูดเกี้ยวหญิง ค. พูดหยาบคาย ง. สัง่ให้เขาลักทร้พ่ย ๒๔. หากทุกคนไม่งดเว้นจากอทินนาทาน ลังคมจะเป็นอย่างไร? ก. มีแต่ข่าวฆ่ากันตาย ข. มีของหายทุกวัน ค. เล่นการพนันทุกที่ ง. แทงลอดเตอรี่ทุกนัด ๒๔. ข้อใด เป็นความหมายของกาเมสุมิจฉาจาร? ก. การนอกใจลู่ครองของคน ข. การล่วงละเมิดลู่ครองของคนอื่น ค. การล่วงละเมิดในฐานะที่ไม่ควรละเมิด ง. ถูกทุกข้อ ๒๖. หากทุกคนไม่งดเว้นจากกาเมสุมิจฉาจาร ลังคมจะเป็นอย่างไร? ก..มีแต่คนเผลอใจ ข. มีแต่คน้ใฝ่ตํ่า ค. มีแต่คนอำพราง ง. ถูกทุกข้อ ๒๗.โรคชนิดใด มีกาเมสุมิจฉ่าจารเป็นสมุฏฐาน? ก. โรคเอดส์ ข. โรคไข้หวัดนก ค. โรคเรื้อน ง. โรคซาง ๒๑c;?

www.kalyanamitra.org ๒๘. ข้อใด เป็นอารมณ์แห่งกาเมสุมิจฉาจาร? ก. บุรุษ ข. สตรี ค. ซากศพ ง. ถูกทุกข้อ ๒๙. กาเมสุมิจฉาจาร เกิดขึ้นทางทวารใด ? ก. กายทวาร ข. วจีทวาร ค. มโนทวาร ง. ทั้ง ๓ ทวาร ๓๐.การประพฤติผิดในกามย่อมเป็นไปเพื่อเพิ่มอกุศลธรรมข้อใด ? ก. ราคะ ข. โทสะ ค. โมหะ ง. มา!เะ ๓๑. การประพฺฤติผิดในกาม เกิดขึ้นโดยการกระทาทางใด ? ก. ทางกาย ข. ทางวาจา ค. ทางใจ ง. ทั้ง ๓ ทาง ๓๒. ข้อใด เกิดทางกายทวารอย่างเดียว ? ก. สัมมาทิฏฐิ ข, มิจฉาทิฏฐิ ค. ก่าเมสุมิจฉาจาร ง. อทินนาทาน ๑. ก ๒. ก เฉลย •- . - ๖. ข ๗. ก ๑๑. ข ๑๒. ข ๓. ง ๔. ง ๔. ง ๑๖. ข ๑๗. ก ๘. ง ๙. ง ๑๐. ก ๒๑. ก ๒๒. ข ๑๓. ง ๑๔. ง ๑๔. ข ๒๖. ง ๒๗.ก ๑๙. ก ๒๐. ง ๓๑. ก ๓๒. ค ๑๘. ข ๒๔. ข ๒๔. ง ๒๓. ง ๒๙. ก ๒๘. ง ๓๐. ก ๒๑๙

www.kalyanamitra.org บทที่ ๓ อกุศลกรรมบถ ทางวาจา ๔ อกุศลกรรมบถข้อที่ ๔ มุสาวาท คำ ว่า \"การพูดเท็จ\" หมายถึง การกล่าวถ้อยคำอนไฝมีจริง ไม่เป็นจริง เพื่อหลอกลวงให้ผู้อื่นเข้าใจผิด ทำ ให้เสียประโยชน แม้การ ทนสาบาน การทำเล่ห์กระเทํห้ ทำ มารยา ทำ เลส เสริมความ อาความ เป็นต้น ก็จัดเป็นมุสาวาทเหมีอนกน กิริยาที่แสดงออกทางกาย เช่น สั่นศีรษะ โบกมีอ และเขียนหนังสีอิโกหก ก็จัดเป็นมุสาวาททั้งสิ้น กรรมบถต่างกันกับกรรม กรรมบถ หมายถึง กรรมที่ส่งผลใน ปฏิสนธิกาล เช่น ส่งผลให้ใปเกิดในนรก เกิดเป็นมนุษย์ เกิดในสวรรค เป็นต้น ส่วนกรรม หมายถึง กรรมที่โห้ผลในปจัตติกาล เช่น ส่งผลให้ เท็นรูป.ฟังเสียง สิ้มรส ที่ศีหรือใม่ดี เป็นต้น จุดมุ่งหมายของกรรมบถข้อนี้ เพื่อให้มนุษย์ทุกคนอยู่ร่วมกัน ในสังคมอย่างมีความจริงใจร่งกันและกัน มุสาวาท จะสัาเร็จ(แนกรรมบถไศ้]^ ต้องประกอบด้วยองค์ ๔ คือ ๑. เรื่องที่พูดเป็นเรื่องใม่จริง

www.kalyanamitra.org ๒. จงใจจะพูดให้ผิดไปจากความเป็นจริง ๓. พยายามพูดออกไป ๔. ผู้ฟังเข้าใจคำพูดนั้น ^-P# yv^rnun มุสาวาทมีโทษมาก เพราะเหตุ ๓ ประการ คือ ๑. ประโยชน์ที่ถูกทำลายมีมาก ๒. ผู้เสียประโยชน์เป็นผู้มีคุณมาก ๓. กิเลสของผู้กล่าวมุสาวาทมีกำลังแรงกล้า มุสาวาทที่ตรงกันข้าม ชื่อว่ามีโทษน้อย อานิสงส์ของการรักษากรรมบถ ฃ้อที่ ๔ ๑. มีความอาจหาญแกล้วกล้าในที่ชุมชน ๒. เป็นคนพดไพเราะอ่อนหวาน

www.kalyanamitra.org ๓. มีฟันขาวสะอาด ไม่มีโรคเกี่ยวทับฟันและปาก ๔. มีกลิ่นปากหอมคล้ายดอกอุบล ๔. มีบริวารที่เชื่อฟัง อยูในโอวาท ๖. เป็นที่น่าเคารพเชื่อถือฺของคนทั่วไป ๗. มีความทรงจำดี ไม่หลงลืม ๘. เมื่อละโลกไปแล้วมสุคติโลกสวรรค์เป็นที่ไป โทษของมุสาวาท ในอดีดกาลที่เมีองพาราณสี ไดีมีจักษุแพทย์คนหนึ่ง เที่ยว รักษาคนตามหมู่บ้าน ตำ บลต่างๆ ตอมาได้พบผู้หญิงคนหนึ่งกำลัง ทุกข์ทรมานด้วยโรคตาจนเกือบจะมองไม่เห็น หมอตรวจดูอาการแล้ว บอกว่าพอจะรักษาให้หายเป็นปก่ติได้ นางจึงตอบว่า ถ้าคุณหมอรักษา ติฉันให้หายเป็นปกติได้ ติฉัน่ทับลูกชายลูกสาวจะยอมเป็นทาสรับใช้ ไปตลอดชีวิต หมอจึงตกลงรักษาให้ ต่อมาไม่นานดวงดาของเธอก็ หายเป็นปกติ เธอกลัวว่าจะด้องเป็นทาสของหมอตามที่ให้ลัญญาไว้ เมื่อ หมอมาถามอาการจึงแกล้งพูดโกหกว่า ก่อนนี้ตวงตาของติฉันเจ็บ ปวดเพยงเลืกน้อย แต่พอหยอดยาของท่านแล้วกลับเจ็บปวดกว่าเติม หมอรู้ทันว่าผู้หญิงคนนี้หลอกลวงเรา เพราะด้องการจะไม่ให้คารักษา โกรธมากจึงปรุงยาขนานใหม่ให้ เมื่อนางใช้ยานี้นหย่อดตาแล้วดาทั้ง ๒ช้างได้บอดสนิท สตรีนั้นตาบอดเพราะกล่าวเห็จ ดังนี้แล อกุศลกรรมบถฃ้อที่ ๔ ปีสุณวาจา คำ ว่า \"การพูดล่อเลืยด\" หมายถึง เจตนาของบุคคลผู้มีจิต เศร้าหมองเอาคำพูดหรีอการกระทำของฝ่ายหนึ่งไปบอกอีกฝ่ายหนึ่ง

www.kalyanamitra.org โดยคำพูดหรือการกระทำนั้นไม่เป็นความจริง เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายเข้าใจ กันผิด หรือการพูดให้ร้ายลับหลัง เพื่อจุดประสงค์ ๒ ประการ คือ ๑. เพื่อต้องการให้คนอื่นมารักตน ๒. เพื่อต้องการทำลายคนอื่น การพูดให้ร้ายลับหลัง โดยมุ่งให้คนอื่นเกิดความแตกแยก เมื่อ คนอื่นแตกแยกกันแล้ว จัดเป็นปีสุณวาจา สำ เรืจเป็นกรรมบถ ถ้าไม่ เกิดความแตกแยกกันก็เป็นเพียงกรรมเท่านั้น จุดมุ่งหมายของกรรมบถข้อนี้ เพื่อให้ทุกคนในสังคมอยู่ร่วมกัน อย่างมีความรัก ความสามัคคื อย่ร่วมกันอย่างมีความจริงใจมีความสฃ ปีสณวาจา จะสำเรืจเป็นกรรมบถได้นั้น ด้องประกอบด้วยองค์ ๔ คือ ๑. คนอื่นที่พีงถูกทำลาย ๒. จิตคืดจะพดส่อเสียด

www.kalyanamitra.org ๓.พยายามจะพูดออกไป ๔. คนอื่นเข้าใจเนื้อความนั้น ปีสุณวาจา มีโพษมาก เพราะเหตุ ๓ ประการ คือ ๑. บุคคลผู้ถกทำลายให้แตกแยกกนนั้นเป็นผ้มีพระคุผมาก ๒. คนเหล่านั้นแดกแยกกน ๓. ผู้พูดมีกิเลลแรงกล้า ปีสุณวาจาที่ตรงกันข้าม ซื่อวามีโทษน้อย อานิสงส์ของการรักษากรรมบถ ฃ้อที่ ๔ ๑. มีความอาจหาญแกล้วกล้าในที่ชุมชน ๒. เป็นคนพูดไพเราะอ่อนหวาน ๓. มีฟันขาวสะอาดสวย ไมีมีโรคเกี่ยวกับฟันและปาก ๔. มีกลิ่นปากหอมคล้ายดอกอุบล ๔. มีบริวารที่เซื่อฟัง อยู่ในโอวาท ๖. เป็นที่น่าเคารพเซื่อถือของคนทั่วไป ๗. เป็นที่รักใคร่ของเทวดาและมนุษยทั่งหลาย ๘. เมื่อละโลกไปแล้วมีสุดติโลกสวรรคเป็นที่ไป โทษของป็สุณราจา ในกาลชองพระพุทธเจ้าพระนามว่ากัสสปะ มีพระมหาเถระ ๒ รูป รูปหนึ๋aมีพรรษา ๖๐ อีกรูปหนึ๋aมีพรรษๆ ๔๙ สนิทรัาmฒฺาก จำ พรรษา อยูในอาวาสแห่งหนึ๋aสมบูรณ์ด้วยลาภ. ต่อมามีพระธรรมกถืกรูปหนึ๋a มา ชออยู่ในอาวาสนั้นด้วยเพราะเห็นว่าเป็นวัดที่มีลาภสกการะมาก.อยู่ได้

www.kalyanamitra.org ไม่นานก็คิดขับไล่พระเถระ ๒ ๗นั้นจึงเข้าไปหาทีละรูปแล้ว พูดว่า เมื่อ วันกระผมมาที่นี่ พระเถระรูปนัน บอกผมว่า คุณเป็นคนดี จะคบหา สมาคมก็'บพระมหาเถระ ต้องพิจารณาให้ดีก่อน พูดเหมือนกับรู้ความลับ ความเสียหายของท่าน เสร็จแล้วก็เข้าไปหาอีกรูปหนึ่ง พูดอย่างเดียวกัน นั้น แรกๆ ทั้ง ๒ รูปไม่เชื่อ แต่นานไปเกิดบาดหมางกันแล้ว ในที่สุดก็ แตกกัน ต่างคนต่างออกจากวัด พระธรรมกถึกจึงได้ครองวัด*ฒั้แต่เพียง รูปเดียว เมื่อพระฮรรมกถึกนั้ใ4มรณภาพแล้ว ไปเกิดในนรก'ฒั้,อเวจีพ้น จากนรกนั้นแล้วไปเกิดเป็นเปรต ร่างกายเหมือนมนุษย์มีศีรษะเหมือน สุกรต้องเสวย'ทุกข้อยู่ที่เขาคิซฌกูฏ การพูดทำให้คนแตกสามัคคีกันเป็น 1 «./ ^ M บาปหน้ภ ด้งนึแล พ' ^&ไดํๆ1ททบ อกุศลกรรมบถข้อที่ ๖ ผรุสืวาจา คำ ว่า \"คำหยาบ\" หมายถึง คำ 'ฬดที่ผู้พูดมีใจประกอบด้วย โทสะ มีเจตนาพูดออกไปเพื่อให้ผู้'พิ'งเจ็บชำ'นํ้าใจ คำ พูดที่จัดว่าเป็น

www.kalyanamitra.org ผรุสวาจาหรือพนั้นให้ดที่เจตนาขaงผู้พูดเป็นสำคัญถ้าพูดมีเจตนาดี เช่น พ่อแม่ด่าว่าบุดรเพือต้องการสงสอนให้เป็นคนดี เป็นต้น ไม่จัด เป็นผรุสวาจา ตรงกันข้ามฤาพูดดีแด่มีเจตนาร้าย จัดเป็นผรุสวาจา ^ จุดมุ่งหมายของกุรรมบถข้อนี้ เพื่อให้ทุกคนเป็นผู้มีจิดใจ งดงามละเอียดอ่อนมีแด่คำพูดที่ไพเราะเพื่อสมานสามัคคี ผรุสวาจาที่จะสำเร็จเป็นกรรมบถได้นั้น ด้องประกอบด้วยองค์ ๓ คือ ๑. คนอื่นที่พึงถูกด่า ๒. จดคิดจะพูดคำหยาบ ๓. พูดคำหยาบออกไป ผรุสํวาจามีโทษมาก เพราะเหตุ ๓ ประการ คือ ๑. ผรุสวาจานั้น ถึงความเป็นกรรมบถ ๒. คนที่ถูกด่าเป็นคนมีคุณธรรมมาก ๓. มู้พูดมีกิเลสแรงกล้า ผรุสวาจาที่ตรงกันข้าม ข้อว่ามีโทษน้อย อานิสงส์ของการรกษากรรมบถ ข้อที่ ๖ ๑. มีความอาจหาญแกล้วกล้าในที่ชุมชน ๒. เป็นคนพูดไพเราะอ่อนหวาน ไต้ฟ้งแด่คำพูดที่ไพเราร; ๓ มีฟันขาวสะอาดสวย ไม่มีโรคเกี่ยวกับฟันและปาก ๔. มีกลิ่นปากหอมคล้ายดฺอกอุบลุ ๔. มีบรืวารที่เข้อฟัง อยูในโอวาท ๒๒๖

www.kalyanamitra.org ๖. มีผิวพรรณวรรณะผ่องใส ๗. เป็นทฺนาเคารพเร่อถือของคนทั่วไป ๘. เป็นที่รักใครขอํง่เพวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ๙. เมื่อละโลกไปแล้วมีสุคติโลกสวรรคเป็นที่ไป โทษซฮงผรสวาจา ในสมัยพุทธกาล พระราชกมารทรงพระนามว่าวิฑูฑภะ เป็น โอรสของพระเจ้าปเสนทิโกศลกับ่พระนางวาสภขัตติยา ชาวศากยะ เป็นพระญาติขององคสม์เด็จพระสัมมาส้มพุทธเจ้าเป็นพระธิดาของ พระเจ้ามหานามะกับนางกานล พระเจ้ามหานามะได้ถวายพระนางแก่ พระเจ้าปเสนติโกศลที่ส่งคนมาขอโดยประสงคจะเป็นพระญาติกับ พระสัมมาส้มพุทธเจ้า ขณะที่ยังทรงพระเยาว์พระเจ้าวิชุฑถะเหนพระกุมารอื่นๆ ได้ รับขํองขวัญจากสกุลของพระเจ้าตาจึงถามพระมารดาว่า แม่ไมีมี พระเจ้าตาพระเจ้ายายหรือ เมื่อพระมารดาตอบว่า มีสิ ลูกได้ถามกสับ ไปว่าทำไมพระเจ้าตาพระเจ้ายายจึงไม่ส่งของเล่นไหบาง คำ ถามน ทำให้พระมารดาหนักพระทัยที่สุดเพราะเจกมานะของพวกศากยะดี จึงตอบเลี่ยงไปว่า ท่านอยู่ไกลและไม่มีเวลา วิฑูฑภราชกุมารรบเร้าพระมารดาด้องการจะไปเยี่ยมสกุล พระเจ้าตาพระนางไม่สามารถขัดขืนได้ จึงส่งข่าวไปให้พระเจ้ามหานามะ ทราบ ในุวันที่วิฑูฑภราชกุมารไปถืงเมีอฺงกบิลพัสดุ พวกศากยะให้ พระกุมารที่มีอายุน้อยกว่าเสด็จออกประพาส่ป่าหมด วิฑฑภราช่กุมาร ต้องเป็นผู้ไหว้พวกศากยะฝ่วยเดียวจึงถามว่า เจ้าศากยะที่อายุน้อย กว่าไม่มีเลยหรือ พวกเจ้าศากยะตอบว่า มีจ๊ะพ่อ แต่ออกไปประพาส ป่ากันหมด วิฑูฑภราชกุมารเยี่ยมสกุลุพระเจ้าตาพอสมควรแก่เวลาจึง ลากสับ เตินไปได้ระยะหนึ่งมหาดเล็กคนหนึ่งลืมของไว้จึงกสับไปเอา ๒๒ey

www.kalyanamitra.org พบพวกศากยะกำลังเอานํ้านมล้างตั่งที่วิฑูฑภราชกุมารนั่ง ปากก็ด่า ว่าล้างเสนียดจัญไรที่ลูกนางทาสีนั่ง มหาดเล็กนำความนั้นมาทูล พระราชกุมาร พระราชกุมารโกรธจัด ตรัสว่า วันนี้พวกศากยะเอา นํ้านมล้างตงไปก่อนเถอะ ภายหน้าเมื่อเราได้ครองราชสมบ้ตจะเอา เลือดในลำคอของพวกนั้นล้างท้องพระโรงให้ได้ เมื่อวิฑูฑภราชกุมารได้ครองราชย์หลังจากพระเจ้าปเสนทิโกศล สวรรคตแล้ว จึงยกกองทัพมาฆ่าพวกศากยะจนหมดสิ้แ ไม่เว้นแม้กระทั่ง์ เด็กที่ยังดื่มนม สกุลของพวกเจ้าศากยะได้ถูกพระเจ้าวิฑูฑภะทำลายจน หมดสิ้นเพราะการกล่าวคำหยาบด่าว่าผู้อื่นด้วยจิตใจที่หยาบคาย ดังนั้น จึงไม่ควรพูดคำหยาบไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม tสิ^ ฬดเฬอเจอ อกุศลกรรมบถ ข้อที่ ๗ สืมฝัปปลาปะ คำ ว่า \"พูดเฟ้อเจ้อ\" หมายถึง เจตนาพูดถ้อยคำอันไม่มีประโยชน์ หรือไร้สาระให้คนอื่นฟัง เช่นพูดเรื่องดหนังดูละคร เรื่องไสยศาสตร์ เป็นต้น

www.kalyanamitra.org ความแดกตางระหว่าง มุสาวาทกับสัมผัปปลาปะ มุสาวาท ได้แก่ เจตนาอันเป็นเหตุพยายามทางกาย ท่างวาจา ของคนผู้^จะ หลอกลวงคนอื่น ฒุ่จะทำเรึ่องทึ๋1ม่จริงให้เป็นเรื่องจริง ส่วนสัมผัปปลาปะ ได้แก่ เจตนาอันเป็นเหตุกล่าวถ้อยคำอันไร้สาระ ไม่แสดงอรรถ ธรรม และวินัย เพอให้เข้าใจประโยซฟ้,นภพนี้และภพหน้า สัมผปปลาปะที่ประกอบด้วยเจตนาเป็นเหฺตุพยายามทางกาย ทางวาจา เพื่อแสดงเรื่องไร้สาระจนคนหลงเร่อว่าเป็นเรื่องจริงมีสาระ มีประโยชน้จัดเป็นกรรมบถ ส่วนดิรัจฉานกถา ผู้พูดด้วยความชอบใจ ย่อมเป็นเพียงกรรมไม่ถึงกรรมบถ หากพูดโดยอิงอาศัยอรรถ ธรรม หรือวินัย ก็เกิดประโยชนได้ จุดมุ่งหมายของกรรมบถข้อนี้ เพื่อให้ทุกคนเป็นผู้พูดแต่คำ จริง พูดแต่คำที่มีสาระ สัมผัปปลาปะ จะสำเร็จเป็นกรรมบถได้ ด้องประกอบด้วยองค์ ๒ คือ ๑. จิตคิดจะพูดเรื่องเฟ้อเจ้อ ๒. พูดเรื่องเช่นนั้นอฺอกไป สมฝัปปลาปะมีโทษมาก เพราะเหตุ ๓ ประการ คือ ๑. ผู้พูดมีอาเสวนะ(ความเสพคุ้น) มาก' ๒. คนอื่นเร่อว่าเป็นเรื่องจริง ๓. ผู้พูดมีกิเลสแรงกล้า สัมผัปปลาปะที่ดรงกันข้าม ร่อว่ามี[ทษน้อย ๒๒๙

www.kalyanamitra.org อานิสงส์ของการรักษากรรมบถ ข้อที่ ๗ ๑. มอวามอาจหาญแกล้วกล้าในที่ชุมชน ๒. ทำ ให้เป็นคนน่าเชื่อถือ ๓. มีฟันขาวสะอาดสวย ไม่มีโรคเกี่ยวกบ'ฝันและปาก ๔. มีกลิ่นปากหอมคล้ายดอกอุบล ๔. มีบริวารที่เชื่อฝัง อยูในโอวาท ๖. มีผิวพรรณวรรณะผ่องใส ๗. เป็นที่รักใคร่ของเทวดาและมนุษย์'ทั้งหลาย ๘.. เมื่อละโลกไปแล้วมีสุคติโลกสวรรคเป็นที่ใป โทษของส์มผัปปลาปะ ในสมัยดึกดำบรรพ์ มีเต่าช่าง'พูดตัวหนึ่ง ได้^มีดรกฺบหงส์ ๒ ตัวที่มักมาหากินในหนอง'นาที่เต่าอาศัยอยู่ เมื่อหงส์ทังสองมาที่หนอง นำ นันก็สนทนากับเต่าอย่างมีความสุข สมกับดำที่นักปราชญ์สอนไว้ ว่า จ์ะมีใครในโลกนี้ที่มีความสุขเท่ากับผู้มีมีดรสหายไว้สนท'นาปรับ 'ทุก'ข์ร่วมสุขชื่งกันและกัน เต่าได้'พูดกับหงส์ว่าสหายทั้ง ๒ นับว่าโชคดี มีปีกบินได้จึงไปหากินและไปเที่ยวต่างถิ่นได้ดามใจ'ชฺอบ ส่วน'ข้าพเจ้า กี่เดือนกี่ปีกิอยู่แต่ที่หนอง'นํ้าแห่งนี้ ไม่มีโอกาสได้ไปภูมีประเทศอื่นกัน สวยงามกับเขาเลยเพราะเป็นสัตว์เตินข้า หงส์ทัง ๒ สงสารเพื่อนจึงบอกว่าถ้าสหายต้องการจะไปหากิน กังหนอง'นํ้าอื่นและเที่ยวชมภูมีประเทศที่สวยงามละกิ ข้าพฺเจ้าทั้ง ๒ สามารถพาไปได้แต่กสัวว่าสหายจะอด'พูดไม่ได้ เต่าถามวิธี จึงบอกว่า ข้าพเจ้าทังสองจะคาบไม้ที่ปลายทั้งสองให้สหายคาบดรงกลางเท่านี้กิ สามารถพาสหายไป'ที่ไหนกิได้ แต่ในระหว่างเตินทางสหายต้องไม่พด ๒๓๐

www.kalyanamitra.org เด็ดขาด ถ้าพูดจะทำให้ตกลงผาถึงแก่ความตาย เต่ารับคำของหงส์ว่า จะทำตามนั้น หงส์ทั้งสองพๆเต่าปีนไปผ่านทุ่งนาแห่งหนึ่งร่งมีเด็กเลี้ยงวัว หลายคนกำลังจับกลุ่มเล่นอยู่ เด็กคนหนึ่งเห็นเชนนั้นจึงบอกเพื่อนว่า ดนั้นสิ หงส์ ๒ ตัวคาบปลายไม้พาเต่าปีนไป ข้าว่าเดี๋ยวกตกลงมาดาย พวกเราดามไปเก็บเต่าตายมาแกงกินกันเถอะ แล้วก็พากันวิ่งตามไป เต่าได้ยินตังนั้น อยากจะพูดกับเด็กให้สะใจว่า ไอ้เด็กโง่เอ๋ยพวกเอ็ง ไฝมีวั่นจะได้กินเนื้อข้าหรอก อ้าปากจะพูดจึงหลุดจากไม้หี่คาบตกลง มาทแผ่นดินจนกระดองแตกกระจายถึงแก่ความดาย การพูดไม่รู้จัก กาลเวลามีโทษอย่างนื้ วจีกรรมเป็นไปในทวาร๒ กรรม ๔ อย่าง มีมุสาวาทเป็นด้นนื้ บุคคลสามารถทำได้ ๒ ทวาร คือ ๑. ทางวจึทวาร เพราะโดยมากเป็นไปทาง่วาจา ๒. ทางกายทวาร เข้น การโบกมีอ ผ่งกคืรษะการเขียน หนั้งสึอหลอกลวงคนอื่น เป็นด้น ในขณะที่พูดเห็จ พูดล่อเสิยด พูดคำหยาบ และพูดเพอเจ้อนั้น อกุศลธรรม Gn อย่าง มีอภิชฌา พยาบาท และมีจฉ่าทิฏฐิ ย่อมเกิด ร่วมด้วยดามสมควรแต่ก็ไม่เรียกว่า วจีกรรม เพราะมุ่งเอาเจตนาเป็น ใหญ่ ตังพระพุทธพจน์ว่า \"เจดนาหํ ภิฦขเว กมุมํ วทามี ดูก่อพิกษุ ทั้งหลาย เรากล่าวเจตนาว่าเป็นกรรม\" และอกุศลธรรมทั้งฺ ๓ นั้น ก็ ไม่ชื่อว่า มโนกรรม เพราะละเมีดออกมาทางวาจา ตังนั้น อกุศลกรรม ทั้ง ๓ นั้น จึงเป็นเพียงตัวสนับสนนเจตนา

www.kalyanamitra.org ป๋ฌหาและเฉลยบทที่ ๓ ๑. วจีกรรมข้อใดเรียกว่ามุสาวาท ? ก. พูดเท็จ ข. พูดคำหยาบ ค์. พูดส่อิเสียด ง. พูดเพ้อเจ้อ ๒. มุสาวาทเช่นใด ไม่สำเร็จเป็นกรรมบถ ? ก. ผู้ฟ้งmใจ ข. ผู้ฟ้งไม่เข้าใจ ค. ผู้พ้งเสียประโยชน ง. ผู้ฟ้งเชื่อถือ ๓. การแสด'งธรรมว่าเป็นอธรรม ชื่อว่าประพฤติอกุศลกรรมบถใด? ก. อภิชฌา ข. มุสาวาท ค. สี'มผัปปลาปะ ง. ผรุสวาจา ๔. การพูดเพื่อหักประโยชน์ผู้อื่น แต่ตนได้ประโยชน์ ตรงกับข้อใด? ก. อภิชฌา ข. อนภิชฌา ค. มุสาวาท ง. ผรุสวาจา ๔. มุสาวาทเป็นวจีกรรม เพราะ ? ก. เกิดทางวจีทวารโดยมาก ข. เกิดทางวจีทวารอย่างเดียว ค. ไม่เกิดขึ้นทางกายทวาร ง. ไม่เกิดทางมโนทวาร ๖. เมื่อถูกถามกลับสั่นศีรษะปฏิเสธ จัดเป็นกรรมประเภทใด? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนกรรม ง. ทั้ง ๓>กรรม ๗. ข้อใด เป็นวจีกรรมที่เกิดทางกาย ? ก. พดท็เล่นทีจริง ข. พูดโทรศัพท์ . ค. ลันศีรษะปฏิเสธ ง. ดูละครทีวี ๘.การสั่นศีรษะปฏิเสธเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจผดจัดเป็นกรรมชนิดใด ? ก. กายกรรม เกิดทางวจีทวาร ข. วจีกรรม เกิดทางกายทวาร ๒๓๒

www.kalyanamitra.org ค. มโนกรรม เกิดทางกายทวาร ง. กายกรรม เกิดทางกายทวาร ๙. ข้อใด เป็นเพราะวิบากกรรมรเองมุสาวาทเมื่อชาติปางกิอน? ก. ถูกใส่ร้าย่ป็ายสี ข. ถูกโกหกหลอกลวง ค.ได้ยินแต่คำพูดสะเทือนใจ ง. มีแต่ความขัดแย้งกับคนอื่น ๑๐. พูดเท็จอยิางไร ซื่อวิามีโทษมาก? ก. พูดเรื่องสนุกสินาน ข. พูดให้เขาเข้าใจผิด ค. พูดเล่ารทานโกหก ง.'พูดหลอกลวงเด็กให้กลัว ๑๑. มุสาวาทข้อใด ลักว่าเป็นเพียงกรรม แต่ไฝถึงกับเป็นกรรมบถ ? ก. เห็นบอกว่าไมเท็น' ข. ได้ยินบอกว่าไม่ได้ยิน ค. รู้บอกว่าไม่รู้ - ง. พูดเรื่องเหลือเซื่อ ๑๒. ข้อใด ผู้โห้การเป็นพยานในศาลควรเว้น ไม่ควรกระทำ ? ก. รู้บอกว่ารู้ ข. ไม่รู้บอกว่าไม่รู้ ค. รู้บอกว่าไม่รู้ ง. เห็นบอกว่าเห็น ๑๓. พูดส่อเสียด หมายถึงข้อใด ? ก. พูดแซงผู้ใหญ่ ข. พูดให้แตกสามัคคี ค. พูดทะลุกลางปล้อง ง. พูดให้รำคาญ ๑๔. การพูดเอาด็ใส่ตัวเอาชั่วใส่ผู้อื่น เรียกว่าอะไร? ก. พูดเท็จ ข. พูดส่อเสียด ค. พูดคำหยาบ ง. พูดเพ้อเจ้อ ๑๔.ข้อใดไม่เป็นปีลุณวาจา? ก. พูดให้เพื่อนร้ฑตน ข. พูดให้เพื่อนเกสียดกัน ค. พูดทำลายความสามัคคี ง. พูดให้เพื่อนเลิกคบคนชั่ว ๑๖. ความตั้^จของคนพูดปีสุณวาจา เพื่อให้เกิดผลอย่างไร? ก. เพื่อหลอกลวง ข. เพื่อล้อเล่น ค. เพื่อให้,แตกแยก ง. เพื่อให้เจ็บใจ ๒๓๓

www.kalyanamitra.org ๑๗. การพูดยุแหย่เพื่อใหแตกความสามัค!?tนหมู่คณะ ตรงกับข้อใด? ก. ปีสุณวาจา ข. ผรุสวาจา ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. พยาบาท ๑๘. คำ พูดเซ่นไร ทำ ให้คนแดกความสามัคคีกันมากที่สุด? ก. พูดให้ร้ายผู้อื่น ข. พูดไร้สาระ ค. พูดให้แดกแยก ง. พูด่โกหก ๑๙. การพูดยุยงให้แตกความสามัคคีข้อใด มีโทษมากที่สุด? ก. ให้น้องไม่นับถือพ ข. ให้เด็กไม่เคารพครู ค. ให้คนไม่เข้าวัด ง. ให้คนขบถต่อชาติ ๒๐.คำว่า \"ยุแยงตะแคงT3\" หมายถืงคำพูดเซ่นไร? ก. คำ เห้จ ข. คำ ส่อเสียด ค. คำ หยาบ ง. คำ เพอเจ้อ - ๒๑. พูดคำหยาบ ตรงกับข้อใด ? ก. ปิสุณวาจา ข. ผรุสวาจา ค. ปียวาจา ' ง. มสาวาท ๒๒. ผรุสวาจา เกิดจากอกุศลมูลข้อใด? ก. โลภมูล-โทสมูล ข. โทสมูล-โมหฺมูล ค. โลภมูล-โมหมูล ง. โมหมูลอย่างเคียว ๒๓. ผรุสวาจาข้อใด เป็นกรรมบถ ? ก. พูดเหน็บให้เจ็บใจ ข. ฝนตกก็แซ่ง ค. ฝนแล้งกิต่า ง. นินทาชาวบ้าน ๒๔. คำ พูตใด เป็นสาเหตุให้พระเจ้าวิฑูฑภะต้องฆ่าพวกเจ้าศากยะ? ก. ปีสุณวาจา ข. มุสาวาท ค. สัมผัปปลาปะ ง. ผรฺสฺวาจา ๒๓or

www.kalyanamitra.org ๒๔.ด่าอย่างไรมีโทษมาก? ก. ด่าด่อหน้า ข. ด่าลับหลัง ค. ด่าฝาก ง. ด่าเพราะเมตตา ๒๖. ผรุสวาจาที่บุคคลประกอบในทเย่นใด มีโทษมาก? ก. ลับหู \" ข. ลับตา ค. ด่อหน้า ง. ลับหลัง ๒๗.ข้อใด ไม่จัดเป็นผรุสวาจาที่ถึงความเป็นกรรมบถ? ก. ด่าลูกเพื่อสั่งสอน ข. ด่าเพื่อนเพราะโมโห ค. ด่าน้าชอบเมาสุรา ง. ด่าลูกน้องที่สัเกียจ ๒๘. ข้ฮ่ใด ไมไย่ลักษณะของผรุสวาจา? ก. ด่า ข. พูดประชด ค. พูดแดกดัน ง. พูดเสียงดัง ๒๙. เจตนาเป็นเหตุกล่าวถ้อยคำหาประโยชน์มีได้ ตรงกับข้อใด ? ก. มุสาวาท ข. ปิสุณวาจา ค. ผรุสวาจา ง. ลัมผัปปลาปะ ๓๐. พูดคุยเรื่องละครทีวีในขณะฟ้งเทศน์ จัดเป็นวจีกรรมใด? ก. มุสาวาท ข. ปีสุณวาจา ค. ผฺรุสวาจา ง. ลัมผัปปลาปะ ๓๑. คนเราสามารถจะทำความดีทางวาจาได้อย่างไร ? ก. ไม่คิดทำร้ายผู้อื่น ข. ไม่อยากได้ของผ้อื่น ค. ไม่พูดให้ร้ายผู้อื่น ง. ไม่คิดปองร้ายผู้อืน ๓๒. พูดเรื่องเย่นไร เรียกว่าพูดเพ้อเจ้อ ? ก. เรื่องการเรียน ข. เรื่องออกกำลังกาย ค. เรื่องส่วนดัวคนดัง ง. เรื่องโรคคิดด่อร้ายแรง ๒๓๔

www.kalyanamitra.org ๓๓.\"คนนพูดหาสาระรได้\" ผู้กล่าวหมายเอาวจีทุจริตข้อใด ? ก. ปีสุณวาจา ข. มุสาวาท ค. สัมผัปปลาปะ ง. ผรุสวาจา ๓๔. คำ พูดใด ดรงกับคำว่า \"นํ้าท่วมทุ่งฝักบุ้งโหรงเหรง\"? ก. มสาวาท ข. ปิสณวาจา ค. ผรุสวาจา ง. สัมฝัปปลาปร ๑. ก ๒. ข เฉลย ๔. ค ๔. ก ๖. ก ๗. ค ๑๑. ง ๑๒. ค ๓. ข ๙. ข ๑๐.ข ๑๖. ค ๑๗. ก ๘. ข ๒๑. ข ๒๒. ข่ ๑๓. ข ๑๔. ข ๑๔. ง ๒๖. ค ๒๗. ก ๑๘. ค ๓๑. ค ๓๒. ค ๒๓. ก ๑๙. ง ^ ๒๐. ข ๒๘. ง' ๓๓. ค ๒๔. ง ' ๒๔. ก ๒๙. ง ๓๐. ง ๓๔. ง ๒๓๖

www.kalyanamitra.org บทที่ ๔ อกลกรรมฺบฺถ ทางใจ ๓ อกุศลกรรมบถฃ้อที่ ๘ อภิชัฌา คำ ว่า \"เจต่นๆเป็นเหกุละโมบ\" หมายถึง ความโลภอยากไ^น เมื่อเห็นสิ่งของๆผู้อื่นุแล้วเพ่งเล็งโด่ยน้อมเข้ามาหาตนว่า ทำ อย่างไร หนอของนี้จะพึงเป็นของเรา ชื่อว่า อภิชฌา. ที่ถึงความเป็นกรรมบถ แต่ถ้าเห็นสมบตของคนอื่นแล้ว ไม่คิดเอามาเป็นของตน เพึยงแต่ ยินดีว่าผู้ใข้สอยสมบดเช่นนี้มีบญหนอ เราควรได้ไข้สอยสักชั่วคราว หรือว่าเราควรได้รับของเช่นเดียวกันนี้ อย่างนี้เป็นเพึยงกรรมเท่านัน ไม่ถึงกรรมบถ สมกับคำของพระอรรถกถาจารย์ว่า แม้ความโลภจะ เกิดขึ้นในสมบสิฃองผู้อึ๋นฺถุยังไม่จัดเป็นกรรมบถ ดลอดเวลาที่ยังไม่น้อม เข้ามาเป็นของดนว่า ไฉนหนอของนี้พึงเป็นของเรา โลภะกับอภิชฌา ต่างกัน คือ โลภะ ความอยากได้ในทวงทุจริต แต่ยังไม่คิดดัด่สินใจจะ ลงมือกระทำ อภิชฌา ความอยากได้ในทางทุจริต ตดสินใจจะลงมือกระทำ จุดมุ่งหมายของกรรมบถข้อนี้ เพื่อให้ทุกคนยินดีแต่ของที่ตัว เองมือยู่ ถ้าไม่ใช่ของตัวเองไม่เอา ๒๓๙

www.kalyanamitra.org อภิชฌา จะสำเร็จเป็นกรรมบถได้ ต้องประกอบด้วยองค์ ๒ คือ ๑. สิ่งของ ของบุคคลอื่น ๒. การน้อมมาเพื่อเป็นของตน อภิชฌานั้นมีโทษมาก เพราะเหตุ ๓ ประการ คือ ๑. สิ่งของที่เพ่งเล็งมีค่ามาก ๒. เจ้าของมีคุณมาก ๓. ผ้เพ่งเล็งมีกิเลสแรงกล้า อานิสงส์ของการรักษากรรมบถ ข้อที่ ๘ ๑. มีความอาจหาญแกล้วกล้าในที่ชุมชน ๒. ทำ ให้เป็นคนน่าเชื่อถือ ๓. ถืงพร้อมด้วยลาภสักการะ ๔. ทำ ให้เกิดในตระกลสง

www.kalyanamitra.org ๔. มีบริวารที่เร่อฟ็ง ฮยูในโอวาท ๖. ได้ร้บการยกย่องสรรเสริญจากคนทั่วไป ๗. เป็นที่รักใคร่ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ๘. เมื่อละโลกไปแล้วมีสุคติโลกสวรรคเป็นที่ไป อารมณ์ภายนอกเป็นเหตุเกิดอฟิชฌา มื่เศรษฐีใหม่คนหนึ๋ง ได้รับทรัพย์มรดกหลังจากบฺดามารดา ถึงแก่กรรม ผู้รักษาเริอนคลังของเศรษฐีนั้นได้เป็ดห้องสำหร่บเก็บทรพย่ แจ้งจำนวนไห้ทราบว่า ทรัพย์ของบรรพบุรุษมีป่เป็นด้น มีจำ นวนเทานี้ ของบิดาท่านมีจำนวนเท่านี้ เศรษรูโหม่ดูทรัพย์เหล่านั้นแล้ว ถามว่า ทำ ไมบรรพบุรุษของเราจึงไม่นำเอาทรัพย์เหล่านี้ไปด้วย ผู้รักษาเรือน คลังตอบว่า เจ้านายไม่มีใครสามารถถึอเอาทรัพย์ไปปรโลกได้หรอก. ลัดว์ทั้3หลายพาเอาไปได้แต่บุญกบบาปที่ตนทำไว้เท่าm เศรษฐีใหม่คิดว่าบรรพบุรุษของเราสะสมทรัพย์สินเงินทองเอา ไว้มากมายมหาศาลที่สุดก็ทั้งเอาไว้ให้คนอื่น เพราะความโงแท้ๆสวน เราจะเอาทรัพย์สินเงินทองเหล่านั้นไปให้หมด จงสงให้สร้างคฤหาสํน หรูราคาแพง. สรั่างปะรำสำหรับรับประทานอาหาร เพึ่อประกาศความ รารวยให้ชาวเมืองได้เห็น การรับ่ประทานอาหารแต่ละมื้อมีคาให้จำอฺ มากมีสาวงามคอยปรนนี้บติขับกล่อม โดยเฉพาะในวันเพ็ญได้จ่าย ทรัพย์เป็นจำนวนมากเพื่อเป็นค่าอาหารจ้างคนไปประกาศให้ชาวเมือง มาดูการรับประทานอาหารของตน ประชำชนได้พาลันมาดูเป็นจำนวน มาก • ^ ในที่นั้นมีคนยากจน ๒ คน เป็นเพื่อนลัน คนหนึ่งอยูในเมื่อง คนหนึ่งอย่บ้านนอกมีอาชีพหาหืเนขาย พอเศรษฐีเปิดภาชนะบรรฺจุ อาหาร กสินของอาหารหอมฟ้งตลบไปทั้ว จนชาวบ้านนอกคนนั้นเกิด ๒๓๙

www.kalyanamitra.org ความอยากจะรับประทานอดใจไว้ไม่อยู่ เพราะตั้งแต่เกดมาอย่าว่าแต่ ได้รับประทานเลย แมแต่กลิ่นอย่างนึ้กใม่เคยได้รับ จึงบอกแก่เพื่อนว่า เพื่อนเอ๋ย เราอยากกินอาหารนนเหลือเกิน เพื่อนจึงตอบว่า อย่า ปรารถนาเลยเพื่อน เราทำงานไปตลอดชีวิดกิไม่มีโอกาสได้ลิ้มรส อาหารอย่างนี้ เขาขอร้องว่าเพื่อนเอ๋ย ถ้าไม่ได้กินอาหารนี้ต้องตายแน่ เมื่อไม่สามารถห้ามได้จึงตะโกนด้วยเสยงอนดังว่า นายคร้บผมไหว้ท่าน ขออาหารในถาดให้เพื่อนผมกินสักคำเถิด เศรษฐีตอบว่า ไม่ได้ จึงหัน มาถามเพื่อนว่าท่านได้ยินเศรษฐีพดไหม เขาตอบว่าได้ยินแล้ว แต่กิ ยังยืนยันว่าถ้าไม่ได้รับประทานอาหารนี้ด้องตายแน่ ท่านขอรับเพื่อน ของผมบอกว่าถ้าเขาไม่ได้อาหารชีวิตของเขาด้องตายแน่นอน เขาจึง บอกเศรษฐีอีกว่าโปรดให้ชีวิตแก่เขาเถิด ได้ร้บคำตอบว่าอาหารนี้ราคา แพงมากถ้าคนอื่นมาอ้างเหมือนเพื่อนของแก ฉันจะเอาที่ไหนมาให้ ถ้าเพื่อนของแกอยากกินอาหารจานนี้จริงๆ ด้องทำงานให้บ้านฉัน ๓ ปี เพื่อแลกข้าวจานเดียว เรื่องนี้แสดงให้เห็นว่า อภิชฌา ความเพ่งเล็งอยากได้รุนแรงนั้น เกิดขึ้นจากสิ่งล่อใจภายนอกกิได้ ชายบ้านนอกคนนั้นมีชีวิตอยู่ในโลก ด้วยความอดอยากมานานแล้ว เมื่อได้มาเห็นความหรูหราและได้กลิ่น อาหารดีๆขอุงเศรษฐีจึงเกิดความอยากได้รุนแรงถึงกับเอาชีวิตเข้าแลุก สมกับคำที่นักปราชญ์สอนไว้ว่า ระหว่างอารมณกับยาพิษ อารมณมี พิษร้ายแรงกว่ายาพิษ เพราะยาพิษด้องกินเข้าไปมันถึงจะฆ่าชีวิตได้ แต่อารมณแค่คิดถึงกิทำให้คนเราถึงดายได้ ดังนั้น คนเราจะทำอะไร กิตามควรคิดถึงจิตใจของคนอื่นบ้าง อย่าเอาทรัพย์สมบ้ตหรือสังขาร ร่างฺกายของเราไปอวดสาธารณชนจนคนอื่นเกิดความอยากได้อย่าง รุนแรงเป็นเหตุน่ากัยอันตรายมาล่ดัวเองได้ . ๒0:๐

www.kalyanamitra.org cjfminviin อกศลกรรมบถข้อที่ ๙ พยาบาท คำ ว่า \"เจตนาเป็นเหตุปองร้าย\" หมายถึง การคิดกระทำให้ผู้ อื่นประสบก'บความพินาศ การผูกใจเจ็บและคิดจะแก้แค้น ซื่อว่า พยาบาท ถ้าผูกใจเจ็บเฉยๆ ไม่คิดจะทำให้เขาฉิบหายไม่จ็'ดเป็น พยาบาท ความคิดปองร้ายของผู้มุ่งจะทำร้ายชีวิตของสัตว์อื่น ตั้งแต่มด และยุงไปจนถึงมนุษยว่า ขอให้สัตว์เหล่านี้จงพินาศ จงวิบัติ ทำ อย่างไรหนอสัตว์เหล่านี้พึงพินาศ พึงวิบติ ไม่พึงเจริญรุ่งเรือง ไม่พึงมี ชีวิตอยู่ได้นาน ดังนี้ จัดเป็นกรรมบถ ส่วนความโกรธที่ไม่คิดปองร้ายผู้อื่น เป็นเพึยงกรรมเท่านั้น สมกับคำพระอรรถกถาจารยว่า แม้ความโกรธที่มีสัตว์อื่นเป็นเหตุเกิด ขึ้นก็ไม่ล่วงกรรมบถตราบใดที่ยังไม่คิดปองร้ายเขา ว่าทำอย่างไรหนอ ผ้นี้จะพึงพินาศต่อไป

www.kalyanamitra.org จุดมุ่งหมายของกรรมบถข้อนี้ เพื่อต้องการให้ทุกคนรู้จักการ ให้อภัยรงกันและกันไมผูกโกรธให้รู้จักการมีเมตต่าจิต พยาบาท จะสำเร็จเป็นกรรมบถได้ ต้องประกอบด้วยองค์ ๒ คือ ๑. มีสํตว์อื่น ๒. คิดจะให้กัดวนั้นถึงความพินาศ พยาบาท มีโทษมาก เพราะเหตุ ๒ ประการ คือ . ๑. ผู้ที่ถูกปองร้ายมีคุณมาก ๒. ผู้ปองร้ายมกิเลสรุนแรง เกิดความพยาบาทเพราะความคิด ๑๐ ประการ ความพยาบาทย่อมเกิดเพราะความคิด ๑๐ ประการ คือ เพราะคิดว่า ๑. เขาได้ประพฤติสิงที่เป็นความพินาศแก่เรา ๒. เขากำกังประพฤติสิงที่เป็นความพินาศแก่เรา ๓. เขาจ๗ระพฤติสิงที่เป็นความพินาศแก่เรา ๔. เขาได้ม่ระพฤติiaที่รเแความพินาศแก่คน^พี่^อใจขอฺงเรฺา ๔. เขากำกังประพฤติสิงที่เป็นความพินาศแก่ค่นที่รักที่พอใจ ของเรา ๖. เขาจ๗ระพฤติสิงพี๋ป็นความพินาศแก่คนที่เกที่พอใจของเรา ๗. เขาได้บำเพ็ญประโยชน์แก่คนที่ไฝเป็นที่รักไฝเป็นที่พอใจ ของเรา ๘. เขากำกังบำเพ็ญประโยชน์แก่คนที่ไฝเป็นที่รักไฝเป็นที่ พอใจของเรา ๒(£๒

www.kalyanamitra.org ๙, เขาจะบาเพ็ญประโยชน์แก่คนที่ไฝเป็นที่รกไมเป็นที่พอใจ ของเรา ๑๐. บุคคลบางคนยอมโกรธโดยไฝมีเหตุผล โทษของความพยาบาท พระพุทธองค์ตร้ลไว้ว่า ผู้ประทุษร้ายต่อบุคคล^ฝคิดประทษร้าย ผู้ไฝมีความผิด ย่อมประสิบความทุกข์ ๑๐ ประการ ค์อ ๑. ด้องเจ็บปวดอย่างหนักยากร้กษๆ ๒. ทร้พยโภคาเสิอมถอยค่อยหดหาย ๓. อวัยวะแตกหักจากร่างกาย ๙.โรคฺร้ายเกาะเกี่ยวสิดเยียวยา ๙. เกิดโรคทางจิดค์ดพ็งซ่าน ๖. มีการอื้อฉาวฺถูกกล่าวหา ๗. อุปสิรรคมากมีเข้าบีฑา ๘. ญาติกาที่รกด้องจากไป ๙. ทร้พย์ตินย่อยยับอย่างนับพลัน ๑๐. บ้านเรือนถูกไฟไหม้ ไน ๑๐ ข้อ ไฝข้อหนึ๋งกิข้อไดฺเป็นต้องได้ประสิบพบแน่นอน ความพยาบาทปองร้าย เป็นเหตุนำทุกข์ภยันตรายมาฒู่นและคนอื่นดัง กล่าวํมา ฉะนั้นจึงควรมีเมตตากรุณารักใคร่ช่วยเหลือร่งกันและกันดี กว่าเพื่อให้โลกของเราอยู่ฑ่มกันอย่างสินติลุขและพึ่งพาอาศัยกินไต้ต่อไป อำ นัสงค์ของการรักษากรรมบถ ข้อที่ ๙ ๑. เป็นคนมีร่างกายสมบูรณ์งดงามสมส่วน ๒. เป็นคนมีความแกล้วกล้าอาจหาญ ๒(£๓

www.kalyanamitra.org ๓. เป็นฺคนมีกำลังมาก ๔. เป็นที่รักใคร่ของคนทั่วไป ๔. จะไม่ตายเพราะผู้อื่นพยายามทำร้าย ๖. เป็นคนมีบรัวารพวกพ้องมาก ๗. เป็นคนมีโรคน้อย ๘. เป็นคนมีอายุยืน ๙. ใจเป็นสมาธิได้เร็ว ๑๐. เมื่อละโลกไปแล้วมีสุคติโลกสวรรคเป็นที่ไป โทษของความพยาบาท มีเศรษฐีคนหนึ่ง เก็บเอาเด็กทารกที่มารดาเอาไปทิ้งไว!นกอง ขยะมาเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม เพราะเร่อโหราศาสตร์ว่า เด็กที่เกิดมา ช่วงระยะวันเดือนนั้นจะมีวาสนาดีได้เป็นเศรษฐี พอด็ภรรยาของเขาก็ จะคลอดในช่วงเวลานั้นด้วย ติดว่าถ้าภรรยาคลอดทารกออกมาเป็น หญิงก็จะใหแด้งงานกับเด็กคนนั้น ถ้าคลอดออกมาเป็นชายจึงติดจะ ฆ่าเด็กนั้น ดามความพยาบาทฃ้อที่ ๖ ว่า เขาจะประพฤติสิ่งที่เป็น ความพินาศแก่คนที่รักที่พอใจของเรา เศรษฐีพยายามฆ่าเด็กนั้นตั้งแด้ยังเป็นทารกแบเบาะจนถึงโด เป็นห'สุ่มถึง ๔ ครั้ง ครั้8ที่ ๑ เอาไปวางไว้ที่ประตูคอกโค ร่3มีโคหลายร้อยติวที๋จะเติน แออัดแยงกันออกจากคอกแล้วเหยียบเด็ก แต่ปรากฏว่าโคตัวจึาผู้ง่ไปยืน กันเด็กเอาไว้จนโคออกจากค่อ์กหมดทำให้เด็กรอดดายให้ครั้3'ฒั้, ครั้งที่ ๒ เอาไปวางไว้ที่ทางเกวียนเวลากลางคืนเพื่อให้หม่ เกวียนที่นำสินค้าไปขายหลายร้อยหลายพันเล่มทับเด็กดาย แต่โคท ลากเกวียนเล่มหน้าสุด เดินไปถึงที่นั้นได้สลัดแอกทิ้งไม่ยอมลาก ๒(ร:(รโ

www.kalyanamitra.org เกวียนตอไปเจ้าขอฺงเกวียนลงไปจัดการกับโคได้พบเด็กเข้าจึงนำไปคืน เศรษฐี คเรที่ en เอาเด็กไปทิ้งในป่าข้าผีดิบเพื่อให้สัตวีร้ายและอมนุษย์ ที่มาหากินในเวลากลางคืนทำร้ายเด็กแต่ก็ไฝมีสัตวีร้ายอะไรทำร้าย เด็กได้มีคนมาพบแล้วนำไปคนเศรษฐี ครั้งที่ ๔ นำ เอาเด็กไปโยนเหวแต่ปรากฏว่าเด็กตกไปค้างอยู่ บนยอตพุ่มไม้ร่งมีเถาวัลย์สอตประสานกันอย่างหนาแน่นจึงไฝเป็น อันตรายจนมีคนไปพบแล้วนำไปคืน!.ศรษฐี เศรษฐีพยายามฆ่าเด็กถึง ๔ ครั้ง แต่เด็กไฝตายอังมีซีวีตอยู่ ต่อมาจนเป็นห'พุ่ม เศรษฐีมองดูเด็ก'แนครั้งใตห'แาของเด็กนั้นเหมีอน กับหนามแทงตาแทงใจ ด้ง์พระ'พุทธพจ'น์ว่า อปฺป็เยหิ สมฺปโยโค 'ทุฤโข การได้ประสบกับบุคคลไฝเป็นที่รักเป็น'ทุกข้ สุตท้ายเศรษฐีจึงวางแผน ฆ่าด้วยการส่งเด็กไปอังบ้านของนายช่างหม้อเพื่อนของตนเอง เขียน ห'นังสือให้เด็กถึอไป มีข้อความว่าให้ฆ่าเด็กคนนี้แล้วเผาทิ้งเสียเพราะ เด็กไฝรู้ห'แงสีอจึงรบคำของปิตาเดินทางออกจากบ้า'นมุ่งห'น้าไปอังบ้าน ของนายช่างหม้อ บังเอิญไปพบกับบุตรชายแท้ๆของเศรษฐีกำสังเล่นอยู่ กับเพื่อนๆและฟายฺแ'พ้มาตลอต จึงรบเร้าให้พื่ชายเล่นแทนและขออาสา เอาจตหมายของฟ่อไปให้'ช่างหม้อแทน จึงถูกนายช่างหม้อฆ่าตาย นาย 'ช่างเผาทำลายหลักฐานตามคำสั่งของเศรษฐีแล้วส่งข่าวไปให้ทราบว่า งานที่สั่aให้ทำได้จัตการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครั้นตกเย็นเด็กห'พุ่มกับมา บ้าน พอเศรษฐีเห็นหน้าเ'ขาเท่านั้นก็รู้ทันที่ว่าเกิตอะไรขึ้น เสียใจอย่าง หนกถึงกับอาเจึยนออกมาเป็นเสือตและถึงแก่ความตายในที่สุต สมกับ ที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า \"ผู้ประ'ทุษร้ายต่อบุคคลผู้ไฝดิตประ'ทุษร้าย ผู้ ไฝมีความผิตย่อมประสบความทก'ข ๑๐ ประการ\"

www.kalyanamitra.org กrnvtuae) อกศลกรรมบถ ข้อที่ ๑๐ มิจฉาทิฎเ คำ ว่า \"เจตนาเป็นเหตุให้เห็นผิด\" หมายถึง ความเห็นผิด เพราะไม่มีการถือเอาตามความเป็นจรง คัดค้านข้อประพฤติปฎิบต ของลัดบุรุษทั้งหมด มิจฉาทิฏฐิ มี ๑๐ ประการ คือ ๑. การให้ทานไม่มีผล ๒. การเซ่นสรวงไม่มีผล(การยกย่องบูชาบุคคลที่ควรบูชา) ๓. การบูชาไม่มีผล (การสงเคราะห้กัน) ๔. ผลวิบากกรรมดีและกรรมชั่วไม่มี ๔. โลกนี้ไม่มี (ไม่มีที่มา) ๖. โลกหน้าไม่มี ๗. มารดาไม่มีคุณ ๘. บิดาไม่มีคุณ ๙. โอปปาติกลัดวิไม่มี(ผู้ที่เกิดแล้วโตในทันที)

www.kalyanamitra.org ๑๐. สมณพรำหมณผู้ปฐบติดี ปฏิบติชอบ รู้แจ้งเองแล้วแสดง โลกนี้และโลกหน้าได้แจ่มแจ้งไม่มี (พระอรหันต์ผู้หมดกิเลสแล้วไม่มี) นิยตมิจฉาทิฏฐ ๓ อย่าง ๑. นัดกิกฑิฎฐิ ความเห็นว่าผลกรรมไม่มี เซ่นเห็นว่า ผลของ กรรมดีกิรรมชั่วไม่มี โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี บิดามารดาไม่มีบุญคุณ ต่อมดรธิดา เป็นด้น ๒. อเหดุกทิฏเ ความเห็นว่าไม่มีเหตุ คือเหตุแหงความเศร้า หมอง ความบริสทธิ้ของสัตว์ทั้งหลายไม่มี สัตว์ทั้งหลายเศร้าหมอง เอง บริสุทรเอง ทุกข์เอง สุขเอง ไม่มีอำนาจ ไม่มีกำสัง ไม่มีความ เพียรอะไรที่จะสามารถทำให็สัตว์ทั้งหลายเศร้าหมองและบริสุทธี๋ได้ ดังนั้นอเหตุกทิฏเกคือความเห็นว่ากรรมไม่มีนันเอง ๓. อกิรยห็ฏเ ความเห็นว่าไม่เป็นอันทำ หมายความว่า เมื่อ คนทำบาป ฆ่าสัตว์ สักทรัพย เป็นด้น ก็ไม่จัดว่าเป็นการทำบาป เมื่อคนไห้ทาน รักษาศีล เป็นด้น ก็ไม่จัดว่าเป็นการทำบุญ ดังนั้น อmยทิฏเ ก็คือความเห็นว่ากรรมและผลของกรรมไม่มี นั้นเอ่ง มิจฉาทิฏเ ๓ อย่างนี้ อย่างใดอย่างหนึ่งล้วนปฏิเสธกรรมและ ผลของกรรมอย่างสิ้นเชิงจัดเป็นกรรมบถ ส่วนมิจฉาฑิฏฐนอกจากนี้ มี สักกายทิฏเ ๒๐ หรือทิฏฐิ ๖๒ เป็นด้น เป็นเพียงกรรมเท่านั้น มิจฉาทิฎ่เ จะสำเร็จน็!เนกรรมบถได้ ด้องประกอบด้วยุองค์ ๒ คือ ๑. เรื่องไม่จริง ๒. เรื่องไม่จริงนั้น ไม่เป็นไปดามที่มิจฉาทิฏฐิยึดถือ ๒(ร:๙

www.kalyanamitra.org มิจฉาทิฏฐินน มิtnmทก.เพราะเหตุ ๒ ประการ คือ ๑. เพราะมิอาเสานะ(ความเสพคุ้น) มาก ๒. เพราะเป็นนิยตมิจฉ่าทิฏฐ มโนกรรมเป็นไปในทวารผ อภิชฺฌา พยาบาท และมิจฉาทิฏฐ ทั้ง ๓ นี้ จัดเป็นมโนกรรม เพราะเป็นไปทางมโนทวารโดยมาก แม้ไม่มิการเคลื่อนไหวทางกาย ทางวาจา เพียงแต่คิดในใจก็สำเร็จเป็นกรรมบถได้ บางครั้ง อกุศลธรรมทั้ง ๓ นี้ ย่อมเภิดขึ้นทางกายทวารและ วจีทวาร เช่น บางคนมิใจละโมบอยากได้ของคนอื่น จีงยื่นมิอไปหยิบ ของนั้นมิใจโกรธแคนหยิบมิดหยิบไม้เพื่อทำร้ายเขาหรือมิความเหน ผิดไปไหว้กระบือ ๔ ขา เพื่อขอเลข เป็นด้น กรรมนั้นของเขาจัดเป็น มโนกรรม ส่วนทวารจัดเป็นกายทวาร ถามว่าทำไมจึงไม่จัคเป็น กายกรรม แก้ว่าเพราะดรงนี้ท่านฒุถึงอภิชฌา พยาบาทและมิจฉาทิฏฐ เป็นใหญ่ไม่ได้มุ่งเจดนาเป็นใหญ่ ถ้ามุ่งถึงเจตนาที่เป็นเหตุให้กระทำ ทางกายก็จัดเป็นกายกรรมได้ โทษของอกุศลกรรมบถ ๑๐ ' บุคคลผู้ปร่ะกอบคือประพฤคิหรือกระทำอกุศลกรรมบถ ๑๐ อย่างนี้ ย่อมตกนรก เหมิอนกับถูกจับเอาไปวางไว้ ด้งพระทุทธองค ดร้สไว้Iนปฐมนิรยสัคคสูตร ป้ฌจมปัณณาสก์ ทสกนิมาด อังคุตดรนิกาย ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ ย่อม ตกนรกเหมือนถูกจับเอาไปวางไว้ ธรรม ๑๐ ประการอะไรบ้าง คือ บคคลบางคนในโลกนี้

www.kalyanamitra.org ๑. เรนผู้มฑฆๆสัดจ์ มีมือเ!เอฺนเลือด คดนดฟ่ระหดประหาร ไฝมีความเมตตากรุณาต่อสัตว์ทงปวง ๒. มกเป็นผู้ลือเอาสิงของที่เจ้าของเขาไฝได้ให้ ไฝว์าของนั้น จะอยู่ไนมานขอ่งเขฺา หรือที่ไหนุๆกตาม: เป็นผู้ถือเอาสิงของนั้^ดฺว่ฃ่ จิตคิดขโมย ^ ๓. เป็นผู้มักประพฤสิผดในกาม จะเป็นผิดเพราะการนอกใจคู่ ครองขอ่งตน ผิดเพราะล่วงละเมิดคู่ครองของผู้อื่น หรือผิดเพราะล่วง ละเมิดต่อบุคคลที่ตนไฝมีสิทธึ๋ที่จะทำเช่นนั้นก็ตาม ๔. เป็นผู้มักกล่าวเก็จ คือตนไ:ฝรู้ษอกว่ารู้ ไฝเห็นบอกว่าเห็น หรือรู้บอกว่าไฝรู้ เห็นบอกว่าไฝเห็น เป็นผู้กล่าวเก็จทั้งๆที่รู้ เพราะ เหตุแฟงตน เพราะเหตุแห่งบุคคลอื่น หรือ เพราะเห็นแก่อมีสสินจ้าง ๔. เป็นผู้พูดทำลายค.วามแา;มัคคื ฟังจากฝ่ายนี้ไปบอกฝ่าย โน้นหรือฟังจากฝ่ายโน้นมาบอกฝ่ายนี้ เพื่อไห้เขาแตกสามัคคืกัน์หรือ เพื่อจะทำตนให้เป็นที่รักขอ.งฝ่ายไต่ฝ่ายหนึ่ง ชอบสร้างความแตกแยก หรือส่งเสรุมให้คนแตกแยก ชอุบตงพรรคตั้งพวก ๖. เป็นผู้พูดวาจาที่แผไปเผาผลาญหัวใจของผู้ฟั3 ฟ้นคำพูด บาดหู หยาบคาย เผ็ดร้อน กระทบกระเทียบเปรืยบเปรย ทำ ให้ผู้ฟัง เก็ดความโกรธและฟ้งช่าน ๗. เป็นผู้พูดทำลายความสุข และประโยซน้ที่สัตบุรุษทีงได้รับ คือ พูดคำที่ก่าจัดทางแห่งประโยชน์และความสุขนั้น ไมรูกาลเทศะ พูดปราศจิากอรรถ ธรรมหรือวินัย อยางใดอยางหนึ่ง รุ่งเป็นเครื่อง แสดงเหตุผลเพื่อให้เข้าใจประโยชน์ในโลกนี้และประโย่ชน์Iนโลกหน้า ๘. เป็นผู้มากไปด้วยความละโมบ จ้องหาทางเอาของคํนอื่น มาเป็นของตน ๙. เป็นผู้มีใจพยาบาท มีความคิดประทุษร้ายว่าขอสัตว์เหล่านี้ จงถูกฆ่า ถูกจองฺจำ จงหายสาบสูญ จงพินาศ จงอย่าอยูในโสกนี้ ๒(ร:๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook