Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเตรียมสอบ ธรรมศึกษาชั้นเอก

คู่มือเตรียมสอบ ธรรมศึกษาชั้นเอก

Published by MBU SLC LIBRARY, 2021-10-15 03:41:08

Description: นักธรรมเอก

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org ๑๐. เป็นยู้มีความเห็นผด มีทศนะฑึ่วิปริตั ว่าการให้ทานไม่มี ผล การบูชาไม่มีผล การเซ่นสรวงไม่มีผล ผลวิบากกรรมดีและ กรรมชั่วไม่มี โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี มารดาไม่มีคุณ บิดาไม่มีคุณ โอปปาดิกสัดวิไมมี สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบิตดี ปฏิบิตชอบ รู้แจ้งเอง แล้ว แสดงโลกนี้และโลกหน้าได้แจ่มแจ้งไม่มี ดก่อนภกษุทั้งหลาย บุศคลผู้ประก์อบด้วยธรรม ๑๐ ปรร;การ เหล่านี้ย่อ่มดกนรกเหมือนถูกจับเอาไปวางไว้ ป๋ฌหาและเฉลยบทที่ ๔ ๑. ข้อใด จัดเป็นมโนกรรมล้วน? ก. อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ข. อภิชฌา มิจฉาทิฏเ สัมผัปปลาปะ ค; พูดเท็จ พูดล่อเสียด พูดคำหยาบ ง. ฆาสัดวิ สักทรัพย์ ประพฤดิผิดในกาม ๒. ความรู้สีกเช่นไร เป็นอาการแห่งอภิชฌา? ก. ยกยอกของเขา ข. ทะเยอทะยาน ค. อยากได้โดยทุจริต ง. กระวนกระวาย ๓. อภิชฌาที่สำเร็จเป็นกรรมบถ มีลักษณะเช่นไร? ก. อยากได้เป็นของตน ข. อยากได้ชั่วคราว ค. อยากได้อยางเขา ง. อยากได้อย่างนี้น ๔. ที่เรียกว่าอภิชณานั้น คือข้อใด ? ก. เจตนาเป็นเหตละโมบ ข. เจตนาเป็นเหตุคิดร้าย ค. เจตนาเป็นเหตุงมงาย ง. เจตนาเป็นเหตุปองร้าย ๔.กร่รมบถใด เกิดขึ้นเพราะความโลภอย่างเดียว? ก. อนภิชฌา ข; พยาบาท ค. อภิชฌา ง. มิจฉาท็ฏเ ๒๔๐

www.kalyanamitra.org ๖. ข้อใด เป็นอารมณ์คือเหตุจูงใจให้เกิดอภิชฌา ? ก. มนุษย์ ข. สัตว ค. สมบสิคนอื่น ง. ถูกทุกข้อ ๗.โลภอยากได้ของเขา เป็นกรรมชนิดใด ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ ๘. เฟงเล็งอยากได้ของผ้อื่นด้วยอำนาจโลภะ ตรงกับข้อ่ใด ? ก. อนภิชฌา ข. อภิชฌา ค. มิจฉาทิฏเ ง. พยาบาท ๙. ข้อใด เป็นทั้งอกุศลกรรมบถและอกุศลมูล? ก. อภิชฺฌา ข. ปาณาติบาต ค. ผฺรุสวาจา ง.มิจฉาทิฏเ ๑๐. ความโลภอยากได้ของบุคคลเกิดขึ้นในขณะใด จัดเป็นอภิชฌา? ก. กำ สังเห็น ข. เห็นแล้ว ค..ยังไม่เห็น ง,ทุกขณะ ๑๑. สิ่งที่จิดเข้าไปยึดติดแล้วเป็นเหตุให้เกิดอภิชฌา ตรงกับข้อใด? ก. ลาภ ยศ ขฺ. เสื่อมลาภ ค. เสื่อมยศ ง. ถูกนินทา ๑๒. อภิชณา เป็นมูลเหตุให้บุคคลประพฤติผิดเรื่องใด? ก. ฆ่าสัตว์ ข. สักทรัพย์ ค. เห็นผิด ง. ปองร้าย ๑๓. ปกติของจิตเป็นธรรมชาติใสสะอาด แตกลายสภาพเป็นความโลภ เพราะมีอะไรเข้าไปอิงอาศัย ? ก. โลภะ ข. โทสะ ค. โมหะ ง. ถกทกข้อ ๒&:๑

www.kalyanamitra.org ๑๔.ข้อใดจ้ดเป็นมโนกรรมฝ่ายอกุศล '? ก. อยากได้ของเขา ข. ประทุษร้ายเขา ค. หลอกลวงฺเขา ง. ผิดลูกเมียเขา ๑๔. อกุศลกรรมบถใด เกิดขึ้นด้วยอำนาจของความโกรธ? ก. มุสาวาท ข. อภิชฌา . ค พยาบาท ง. มีจฉาทิฏเ. ๑๖.\"ฝากไว้ก่อนเถอะ เดี๋ยวค่อยเหนดีกุน\"พูดด้วยอารมณเซ่นไร? ก. แค้นใจ ข. เสยใจฺ ค. น้อยใจ ง. เศร้าใจ ๑๗. บุคคลมีจิตประกอบดี๋วยโทสะ ย่อมมีพฤติกรรมเซ่นไร? ก. ฟ้งซ่าน ข. มักใจร้อน ค.ยิมแย้ม ง.หลงๆลืมๆ ๑๘.โทสะเป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อนในชาติหน้า ตรงกบข้อใด่ ? ก.ตนเองเดือดร้อน ข. โลกเร้าร้อน้ ค. ขาด่สันติภาพ ง. เกิดในอบ่าย ๑๙. การทำร้ายผูบริสุทธิ้ ย่อมได้รับผลกรรมอย่างไร? ก. เจ็บป่วยอย่างหนัก ข; ของรักสูญหาย ค. ความร้ายเข้าบีฑา ง. ถกทุกข้อ ๒๐. คำ ว่า ■\"ปากปราศรัย.นํ้าใจเข้อดคอ\" เป็นอาการแหงอะไร? ก. อภิชฌา ข. มัจฉาทิฏเ ค. พยาบาท ง. มุสาวาจา ๒๑.ติดปองร้ายในข้อใด ไม่จัดเป็นพยาบาท ? กุ. คน ข. สัตว้ ค. สิงของ ง. ถูกทุกข้อ - ๒๒. เมึ่อโทสะเกิดขึ้น หากระงับไม่ได้ จะทำให้คนเราทำความผิดใด? ก. ทำ ร้ายกัน ข. สักขโมยกัน 'ค. นอกใจกัน ง. เชื่อในสิ่งผิด

www.kalyanamitra.org ๒๓. ความชั่วทางใจ เป็นเหตุให้เกิดความทุกขตรงกับข้อใด? ก. การลักทรัพย ข. การพูดเท็จ ค. การนอกใจสามี ง. การปองร้าย ๒๔. ความโกรธใด เป็นพยาบาทที่ถึงกรรมบถ? ก. โกรธว่าเขาด่าตน . ข.โกรธว่าเขาทำร้ายตน ค. โกรธว่าเขาโกงตน ง. โกรธแล้วคิดแช่งให้เขาดาย ๒๕.คนที่มีเมตตากรุณาจะเว้นห่างจากอกุศลธรรมใด? a อภิชฌา ข. พยาบาท ค. มิจฉาท็ฏ} ง- ถูกทกข้อ ๒๖. ตาด่อดา ฟันด่อฟั'น เป็นพฤติกรรมที่เกิดขนจากข้อใด? ก. อภิชฌา ข. พยาบาท ค. มิจฉาทิฏเ ง. อพยาบาท ๒๗. ข้อใด จัดเป็นมิจฉาท็ฏเ? ข เจตนาเป็นเหตุเพ่งเล็ง ก. เจตนาเป็นเหตุเห็นผิด ง. เจตนาเป็นเหตุปองร้าย' ค. เจตนาเป็นเหตุเสียสละ ๒๘. ข้อใด เป็นมโนกร่^รมอย่างเคิยว ?: ก. ปาณาติบาต ข. มิจฉาท็ฏ่เ ค. อท็นนาทาน ง. กาเมสุมิจฉาจาร ๒๙. อะไรเป็นเหตุให้คนเราไฝเชั่อบุญไม่เชั่อบาป ? ก. มิจฉาสติ ข. มิจฉาท็ฏฐ fi. มิจฉาสมาธิ ง. มิจฉาวาจา ๓๐. อกุศลกรรมบถใด ให้ผลหนักและรุนแรงกว่ากรรมอื่น? ก. ปาณาติบาต ข. มุสาวาท ค. มิจฉาท็ฏ่เ ง. พยาบาท ๒๕๓

www.kalyanamitra.org ๓๑.\"ทำสิได้สีมี^หน'' ผู้พูดมีความคิดเหนเช่นใด? ก.ไม่เชือผลกรรม ข. ไม่ปฏิเสธกรรม ค. ไม่คัดค้านกรรม ง. ไม่ทำบา'ปกรรม ๓๒.\"เห็นกงจ'กรเป็นดอกบัว\" มีความหมายดรงคับฺข้อใด ? ก. อภิชฌา ข. พยาบาท ค. มิจฉาทิฏฐ ง. ถูกทุกข้อ ๓๓. อกุศลกรรมบถข้อใด ท่านกล่าวว่ามีโทษมากที่สุด? ก. อภิชฌา ข. พยาบาท ค. มิจฉาทิฏเ ง. มุสาวาท ๓๔. มิจฉาทิฏเ เป็นกรรมเกิดขึ้นทางทวารใด ? ก. กายทวาร ข. วจีทวาร ค..มโนทวาร ง. ทั้ง ๓ ทวาร ๓๙.ผู้ทำบาปประเภทใดต้องตกนรก ? ก. ทำ บาปเอง ข. ชักชวนคนอื่นให็ทำบาป ค. ยินดีกับคนทำบาป ง.ตกนรกทั้ง๓ ประเภท .๓๖! เห็นว่า \"ฆ่าพระไม่บาป\" เป็นมิจฉาทิฏเอะไร? ก. นัดถิกทิฏ่เ ข.อเหตุกทิฏฐิ ค. อภิริยทิฏฐ ง. อุจเฉททิฏฐ ๓๗. ควฺามเห็นของใคร จัดเป็นมิจฉาทฏเ? ก. ดำ เห็นว่ายาบ้าทำใหฺขยัน ข. แดงเห็นว่าเรียนไปก็ไร้ค่า ค. ขาวเห็นว่าการพนันรวยเร็ว ง. เหลืองเห็นว่าโกหกครูไม่บาป ๓๘. ข้อใด เข้าช่ายมิจฉาทิฏเ? ก^ไม่เข้อประเพณ ข. ไม่เข้อฟังครู ค. ไม่เข้อดำรา ง. ไม่เชื่อศีลธรรม ๒dtr(C

www.kalyanamitra.org เฉลย ๑. ก ๒. ค ๓. ก ๔. ก ๔. ค ง ๙. ก ๑0. ก ๗. ค ๘. ขฺ ๑๔. n ๑๔. f\\ ๑๑. ก ๑๙. ง ๒อ. f\\ ๑๖. ก ๑๒. ข ๑๓. ก ๒๔. ง ๒๔. *21 ๒๑. ๑๗. ข ๑๘. ง ๒๙. *21 ๓อ. f) ๒๖. ข ๓๔. ง ๓๔. ง ๓๑. ก ๒๒. n ๒๓. ง ๓๖. ค ๒๗. n ๒๘. *21 ๓๒. ค s ๓๓. ค ๓๗. ง ๓๘. ง ๒๔๔

www.kalyanamitra.org บทที่๔ กุศลกรรมบถ ๑๐ กุศลกรรมบถ ๑๐ ๑. ปาณาสิปาตา เวรมณี เวนจากทำชีวิตสัตว1ห้ตกล่วง ๒. อทินนาทานา เวรมณี เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของ ไม่ได้!ห้ด้วยอาการแห่งขโมย ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี เว้นจากประพฤติผิดในกาม พั้เ ๓ นี้ จัดเป็นกายกรรม เพราะเป็นไปทางกายทวารโดยมาก ๔. มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากการพูดเท็จ ๔.ปีสุณาย วาจาย เวรมณี เว้นจากพูดล่อเสียด ๖. ผรุสาย วาจาย เวรมณี เว้นจากพูดคำหยาบ ๗. สัมฝัปปลาปา เวรมณี เว้นจากพูดเพ้อเจ้อ ทั้ง ๔ นี้ จัดเป็นวจีกรรมเพราะเป็นไปทางวจีทวารโดยมาก ๘. อนภิชฌา ไม่โลภอยากได้ของเขา ๙. อพยาปาท ไม่พยาบาทปองร้ายเขา ๑๐. สัมมมาทิฏเ เท็นชอบดามคลองธรรม ทั้3 ๓ นี้ จัดเป็นมโนกรร่ม เพราะเป็นไปทางมโนทวารโดยมาก ๒^

www.kalyanamitra.org l/^'eK/T/cO? กศลกรรมบถ แปลได้ ๒ น้ย ๑. แปลว่า ทางเกิดแห่งกุศลกรรมที่ส่งผลในปฏิสนธิกาลได้ ๒. แปลว่า กุศลกรรมที่เป็นเหตุเกิดในสุคติภูมิ และความสุข ในสุคติภูมินั้น กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ ทรงแสดงไวIนพระสูตรมากมาย เฉพาะในองคุตดรนกาย มีอยู่หลายสูตร มีซื่อเรียกต่างๆ กันไป ดังนี้ ในสาธุสูตร เรียกว่า สาธุธรรม(ธรรมดี) ในอริยธรรมสูตร เรียกว่า อริยธรรม(ธรรมของอารยชน) ไนกุศลสูตร เรียกว่า กุศลธรรม(ธรรมที่ทำลายความชั่ว) ในอรรถสูตร เรียกว่า อรรถธรรม(ธรรมที่มีประโยชน์) ไนสาสวสูตร เรียกว่า อนาสวธรรม (ธรรมที่ไม่มีกิเลส) ในวัซชสูตร เรียกว่า อนวัชชธรรม(ธรรมที่ไม่มีโทษ) ในตปนียสูตร เรียกว่า อตปนียธรรม(ธรรมที่สร้างความร่มเย็น) ในอาจยคามีสูตร เรียกว่า อปจยคามีธรรม (ธรรมที่ก่อให้เกิด ความทุกข์)

www.kalyanamitra.org ธรรมจริยาและสจ่ริยา ในสาเลยยกสูตร ป๋ญจมวรรค แห่งมูลปัณณาสก์ ทรงเรียกว่า ธรรมจรียสมจริยา ธรรมจริยา แปลว่า การประพฤตที่เป็นธรรม สมจริยา แปลว่า การประพฤติกรรมที่ดูกต้อง ทรงแสดงผลดีที่จะพงไต้ริบ จากการประพฤติธรรม และการ ประพฤติกรรมที่ถูกต้องนี้ว่า ใครปรารถนาอะไร จะเป็นมนุษย์สมป๋ติ สวรรค์สมบต พรหมสมปัต มรรค ผล และนิพพาน ล้วนสำเร็จ สมประสงค์ทั้งสิ้น ดังข้อความในสาเล่ยยกสูตรว่า ดูก่อนพราหมณและ คฤหบ่ดีทั้งหลาย ลัตวบางพวกในโลกนี้ หลังจาก่ตายจากโลกนี้แล้ว ย่อมบังเกิดในสุคติโลกสวรรค์ เพราะเหตุแห่งธรรมจริยาและสมจริยา ดูก่อนพราหมณและคฤหบดีทั้งหลาย ธรรมจริยาและสมจริยา ทาง กายม ผ ทางวาจามี ๔ ทางใจมี ๓ ธรรมจริยาและสมจริยา ทางกายมี ๓ คือ ๑. บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมเป็นผู้ละการยังลัตวมีข้วิตให้ตก ล่วงไป เว้นขาดจากการยังลัตวมีชีวิตให้ตก.ล่วงไป เป็นผู้มีท่อนไม้และ ดัสตรายันวางแล้วมีความละอายประกอบด้วยความเอ็นดู เป็นผู้เกื้อกูล อนุเคราะห้ลัตว้ทุกจำพวก ๒. เป็นผู้ละอทินนาทาน เว้นขาดจากอทินนาทาน ขึ้นชีอว่า ทรัพย์ของผู้อื่นจะอยู่ในบ้านหรืออยู่ในป่าก็ตามย่อมเป็นผู้ไม่ถือเอา ทริพย์นั้นที่เจ้าของเขาไม่ไต้ให้ด้วยจิตคิดขโมย '๓. เป็นผู้ละกาเมสุมิจฉาจารเว้นขาดจากกาเมสุมิจฉาจาร ดูก่อนพราหมณและคฤหบดีทั้งหลายํ ธรรมจริยาและสมจริยาทางกาย มี ๓ ดังนี้แล ๒dtc?

www.kalyanamitra.org ธรรมจริยาและสมจริยาทางวาจามี ๔ คือ ๑. บุคคลในโลกนี้ เป็นผู้ละมุสาวาท เว้นขาดจากมุสาวาท ไปในสภาก็ดี ในบริฟ้ๆก็ดี ในท่ามกลางหมู่ญาติก็คื ในท่ามกลางเสนา ก็ดี ในท่ามกลางแห่งราชตระกูลก็ดี ถูกเขาอ้างเป็นพยาน ฟ้าถามว่า แนะฟ่อชาย ท่านจงมา ท่านรู้อยางไร จงเบิกอย่างนั้น บุคคลนั้นเมื่อ ไม่เก็บอกว่า ข้าพเจ้าไม่รู้หรือเอยู่ก็บอกว่า ข้าพเจ้ารู้ เมื่อไม่เห็นก็ บอกว่า ข้าพเจ้าไม่เห็นหรือเห็นก็บอกว่า ข้าพเจ้าเห็น ย่อมไม่กล่าว เห็จทงที่รู้ เพราะเหตุแห่งตน เพราะเหตุแห่งคนอื่น หรือเพราะเหตุ แห่งอามิสสินจ้าง ๒. เป็นผู้ละคำล่อเสียด เว้นขาตจากกล่าวล่อเสียต ฟังข้างนี้ แล้วไม่ไปบอกข้างโน้น เพื่อทำลายคนหมู่นี้หรือฟังจากข้างโน้นแล้วไม่ มาบอกคนหมู่นี้เพื่อท่าลายคนหมู่โน้น เป็นผู้สมานคนทั้งหลายที่แตก กันแล้วหรือสนับสนุนหมู่คนที่สามัคคีกันอยู่แล้ว เป็นผู้มิความชื่นชม ยินดีในหมู่คนผู้สามัคคีก็น เป็นผู้กล่าววาจาที่ท่าให้คนสามัคคีณุ้เ ๓. เป็นผู้ละคำหยาบ เว้นขาตจากการกล่าวคำหยาบ เป็นผ้ กล่าววาจาไม่มิโทษ เสนาะtสต เป็นที่รักจับใจ เป็นคำสุภาพ เป็นที ชอบใจ พอใจของคนจำนวนมาก ๔. ฟ้นผู้ละการกล่าวเพ้อเจ้อ เว้นขาดจากการกล่าวเพ้อเจ้อ พูดในเวลาที่ควรพูด พูดคำจริง พูดอิงอรรถ อิงธรรม อิงวิฒั มิหลักฐาน มิที่อ้างอิง ไม่พูดมาก พูดแต่คำที่มิประโยชน้ ดูก่อนพราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย ธรรมจริยาและสมจริยา ทางวาจามิ ๔ อย่างนี้แล ธรรมจริยาและสมจริยา ทางใจมี ๓ อย่าง คือ ๑. บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มากไปด้วยความไม่เฟ่งเล็ง ๒&โ๙

www.kalyanamitra.org ไม่ละโมบอยากได้ทรัพย์ของผู้อื่นมาเป็นของตน ๒. เป็นผู้มีใจไม่พยาบาท ไม่คิดร้ายตอผู้อื่นคิดแต่ในทางที่ดีว่า ขอสัตว่ทั้งหลายจงมีความสุขอยู่รอดปลอดภัยเถิด ๓. เป็นผู้มีความเห็นชอบ มีความเห็นไม่วิปริตว่าทานที่ให้แล้ว มีผล การเซ่นสรวงบูชามีผล ผลวิบากของกรรมดีและกรรมชั่วมีจริง โลกmlจริง โลกหน้ามีจริง มารดามีบุญคุณ บิดามีบุญคุณ โอปปาติกะมี จริง สมณพราหมณ์ผู้รู้แจ้งโลกนี้และโลกหน้ามีจริง ดูก่อนพราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย ธรรมจริยาและสมจริยา ทางใจมี ๓ อย่างนี้แล อานิสงส์ของการประพฤติธรรม ดูก่อนพราหมณ์และคฤหบดีทั้aหลาย สัตว์บางพวกในโลกนี้หลัง จากตายไปแล้วย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เพราะการประพฤติธรรมและ การประพฤติกรรมอันชอบเหล่านี้แล ทอ6ไr^u

www.kalyanamitra.org ลูก่อนพราหมณ์และคฤหบดีใ^หลาย ถ้าบุคคลผู้ประพฤติธรรม และประพฤติกรรมอันชอบพึงหวังว่าหลังจากที่เราตายแล้ว ๑. พึงเกิดเป็นกช้ตริย์มหาศาล ๒. พราหมณ์มหาศาล ๓. เทวดาพั้เจาตุมหาราช ๔. เทวดาชั้แดาวดีงส์ ๔. เทวดาชั้แยามา ๖. เทวดาmตุสิด ๗. เทวดาชั้แนิมมานรดี ๘. เทวดาmเปรนิมมิดวสวัสดี ๙. พรหมชั้นพรหมปารลัชชา ๑๐. พรหมชั้นปุโรหิตา ๑๑. พรหมmมหาพรหมา ๑๒. พรหมชั้นปริตดาภา ๑๓. พรหมmเอัปปมาณาภา ๑๙. พรหมชั้นอาภัสสรา ๑๔.พรหมชั้นปริดดสุภา ๑๖. พรหมผั้เอัปปมาณสุภา ๑๗. พรหมชั้นสุภกิณหา ๑๘.พรหมmอลัญญีพรหม . ๑๙. พรหมmเวหิ'ปผลา ๒๐. พรหมพั้เอริหา ๒๑. พรหมชั้นอสัปปา ๒๒.พรหมชั้นสุทัสสา ๒๓.พรหมmเสุทสดี ๒๔.พรหมชั้นอกนิฏฐา ๒๖๑

www.kalyanamitra.org ๒๔. อรูปพรหมชั้แอากิาสานัญจายตนะ ๒๖. อรูปพรหมชั้นวิญญาณผจายดนะ ๒๗. อรูปพรหมชั้นอากิญจ้ญญายตนะ ๒๘. อรูปพรหมmนวสัญญานาสัญญายตนะ การบรรลุเจโตวิมุตติและป๋ญญๆวิมุตติในชาติป๋จจุบัน ทั้งหมด นึ๊ย่อมเป็นไปได้ ถามว่าเพราะเหตุไร ตอบว่าเพราะบุคคลนั้นเป็นผู้ ประพฤติธรรมและเป็นผู้ประพฤตกรรมอันชอบ พระสูตรนี้แสดงว่า บุคคลผู้ปฏิบัติตามกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ จะปรารถนามนุษย์สมบติ สวรรคสมบตและนิพ;พานสมบต ก็ตามล้วนสมประสงค์ทั้งนั้น มนุษย์สมบด ทรงแสดงด้วยค์าว่า ถึงความเป็นผู้อยู่ร่วมกับ กษ้ตริย์มหาศาลและพราหมณ์มหาศาล สวรรค์สมบด ทรงแสดงด้วยค์าว่า ถึงความเป็นผู้อยู่ร่วมกับ เทวดาซนจาตุมหาราชจนถึงอรูปพรหม^เนวสัญญานๆสัญญายตนะ นิพพานสมบด ทรงแสดงด้วยคำว่า การบรรลุเจโตวิมุตติและ บัญญาวิมุตติ กุศลกรรมบถ ๑๐ ทำ ให้ได้มนุษย์สุมบด สวรรคสมบด และนิพพานสมบด กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ จัดว่าเป็นศีล บุคคลผู้รักษาศีล กระทำให้บริสุทธึ๋บริบูรณ์ ย่อมได้อานิสงส ดังนี้ ๑. สิเลน สุค่ตึ ยนติ คนทั้งหลายไปสู่สุคติได้เพราะศีล ๒. สิเลน โภคสมฺปท่า คนทั้งหลายถึงพร้อมด้วยโภคทรัพย์ เพราะศีล ๓.'สิเลนนิพฺพุตึยนุติ คนทั้งหลายบรรลุนิพพานได้เพราะศีล lobis)

www.kalyanamitra.org ศีลเป็นเหตุให้ได้ไปสู่สุคตินัน หมายถึง ให้ได้เกดเป็นมนุษย เกิดในสวรรค์ ๖ เพราะผลของกุศลธรรมบถโดยตรง และพรหมโลก ๒๐ ชั้น เพราะผลของกุศลกรรมบถ ๑๐ โดยเป็นอุปนิสัยปัจจัย คือ ปัจจัยที่สนิบสนุน ศีลเป็นเหตุให้ได้โภคทรัพย์นั้น หมายถึงบุคคลผู้ประกอบ อาชีพต้องมีความน่าเชื่อถือสำหรับบุคคลที่มาติดต่อทำธุรกิจด้วย เมื่อมีความน่าเชื่อถือการทำธุรกิจก็ง่าย ทรัพย์สมบตก็เกิด บุคคลทีน่า เชื่อถือก็คือบุคคลผู้มีคืล ส่วนศีลเป็นเหตุให้บรรลุพระนิพพานนัน หมายถึง ทรงแสดง ศีลโดยความเป็นอุปนิสัยแห่งการบรรลุพระอรหัตตผล ๒ ประเภท คือ เจโตวิมตติและปัญญาวิมุตติ

www.kalyanamitra.org อุปนิสัยมี ๓ อย่าง ๑. ทานูปนิสัย อุปนิสัยคือทาน การเสียสละ คนผู้มีอุปนิสัยนี้ ย่อมกำจัดความโลภหรือทาความโลภให้เบาบางไ ๒. สี^นิสัย อุปนิสัยคือศีล การเว้นจากเบียดเบียนสัตวอื่น คนผู้มีอุปนิสัยน ย่อมไม่มีการเบียดเบียนสัตว้อื่น ๓. ภาวนูปนิสัย อุปนิสัยคือภาวนา การสั่งสมความดี คนผู้มี อุปนิสัยนี้ ย่อมเพียรพยายาม เพื่อทำความดีให้สูงยิ่งๆขึ้นไป กุศลกรรมบถ ๑๐ นี้ จัดเป็นศีล ดังนั้น จึงเป็นสีลูปนิสัย. ที่ จะช่วยสนับสนุนให้ได้บรรลุสมาธิป๋ญญาและวิมุตดี ตามพระบาลีว่า สีลปริภาวิโต สมาธิ มหปฺผโล โหดี มหานิสีโส แปลว่า สมาธิที่ถูกปม ด้วยศีล ย่อมมีผลมาก่ มีอานิสงส์มาก อธิบายว่า บุคคลผู้มีศีลบรลุทธิ เมื่อบำเพีญฺสมาธิ ย่อมสามารถทำฌานให้เกิดได้ง่าย ค^ได้ฌานแล้ว ตายไป ย่อมเกิดเป็นพรหม อย่างนี้ ช่อว่ากุศลกรรมบถ เป็นเหตุให้ได้ ไปเกิดในพรหมโลก ส่วนผู้ได้ฌานบาง.ท่าน ทำ ฌานให้เป็นบาทแหงการเจรืญ วิบี'สสนา ย่อมรู้แจ้งเห็นจริงได้ง่าย ตามพระบาลีว่า สมาธิปริภาวิตา ปฌฺฌา มหปฺผลาโหดีมหานิสํสา แปลว่า .บีญญาที่ถูกบ่มด้วยสมาธิ ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก จิตของบุคคลผู้มีบีญญารู้แจ้งเห็นจริง ย่อมหลุดพ้นจากกิเลส ที่ป็ปวงตามพระบาลีว่า ปฌฌาปเกาวิตํ จิตฺส์ สมมเทว อาสเวห็ วิมุจฺจดี เสยุยถีทํ กามาสวา ภวาสวา อวิชฺชาสวา แปลว่า จิตที่ถูกอบรมด้วย ^ญา.ย่อมหลุดพ้นจากกามาสX ภวาสวะ อวิชชาสวะ โดยซอฺบอย่างนี้ ซื่อว่ากรรมบถ เป็นเหตุให้1ด้บรรลุเจโตวิมุตดีและบี'ญญาวิมุตติ สีลูปนิสัย คือ กุศลกรรมบถ ๑๐ เป็นเหตุให้บุคคลได้บรรลุ ฌาน มรรค ผล และนิพพาน ดังพรรณนามาฉะนี้ เปรืยบได้ดับส่วน ๒๖(ร:

www.kalyanamitra.org ของต้นไม้ สีลูปนิสัยเป็นเสมือนรากไม้ สฺมาธเป็นเสมือนลาต้น ปัญญาเป็นเสมือนกิ่งก้านและใบ วิมุตติความหลุดพ้นเป็นเสมือนดอก และผลของต้นไม้ ศีลคือกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ ทำ ให้ผู้ปฏิปัติไต้มนุษย์สมปัติ สวรรค์สมปัติ และนิพพานสมปัติ ตาม^ตอนต้ง์ไต้อธิบายมานี้ อธิบายกุศลกรรมบถ ๑๐ โดยอาการ ๔ ๑.โดยธรรม คือ โดยสภาวธรรม กุศลกรรมบถ๗คือ ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี ๒. อทินนาทานา เวรมณี ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี ๔. มุสาวาทา เวรุมณี ๔.ปีสุณาย วาจาย เวรมณี ๖. ผรุสาย วาจาย เวรมณี ๗. สัมฝัปปลาปา เวรมณี แม้มืซื่อต่างกันก็จริง แต่เมื่อว่าโดยสภาวธรรม ไต้แก่ เจตนา หรือวิรัติ หมายความว่า ถ้าไฝตั้งใจจะงดเว้นหรือไม่มืการงดเว้น กรรมบถทั้ง ๗ นี้ ย่อมสำเร็จไม่ไต้เลย มโนกรรม ๓ คือ อนภิชฌา โดยสภาวธรรม ไต้แก่ อโลภะ อพยาบาท โดยสภาวธรรม ไต้แก่อโทสะ สัมมาทิฏเ โดยสภาวธรรม ไต้แก่อโมหะ ที่ประกอบต้วยเจตนา ๒.โดยโกฏฐาสะ คือ โดยส่วนแห่งธรรมต่าง ๆ กศลกรรมบถ ๗ คือ กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ เป็นกรรมบถ ๒๖๔

www.kalyanamitra.org อยางเดียว ไม่เป็นรากเหง้าของกุศลเหล่าอื่น ส่วนมโนกรรม ๓ อยาง dA a/ « ^ rti fly' rti V- เป็นกุศลมูลนันเอง ๓. โดยอารมณ์ คือ สิ่งทื่ใจเข้าไปยึดแล้ว เป็นเหตุให้งดเว้น จากอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ พระอรรถกถาจารยึ อธิบายว่า อารมณ์แห่งอกุศลกรรมบถ ๑๐ นั่นแหละ เป็นอารมณ์แห่งกุศลกรรมบ่ถทั้ง ๑๐ ประการ'เปรียบ เหมือนนํ้าที่สามารถทำให้เรีอลอยก็ได้ทำให้จมลงก็ได้ ๔.โดยเวทนา คือ ความรู้สึกเป็นสุข เป็นทุกข์ และเฉยๆ พระอรรถกถาจารย อธิบายว่า ในขณะทำกุศล ทุกขเวทนา คือ ความเสียใจความไม่สบายใจย่อมไม่มื เพราะฉะนั้นในขณะประพฤติกุศล กรรมบถจึงมีเพียงเวทนา ๒ คือ สุขททนาและอุเบกขาเวทนา ๔. โดยมูล คือ โดยกุศลมูล ๓ อย่าง ได้แก' อโลภมูล ๑ อโทสมูล ๑ อโมหมูล ๑ กุศลกรรมบถ ๗ คือ กายกรรม ๓ วจีกรร่ม ๔ ทีบุคคล ประพฤติด้วยปัญญามีมูล ๓ คือ อโลภมูล อโทสมูล อโมหมูล ที ประพฤติโดยขาดปัญญามีมูล ๒ คือ อโลภมูล อโทสมูล อนภิชฌาที่ประพฤติด้วยปั'ญญา มีมูล ๒ คือ อโทสมูล อโมหมูล ที่ประพฤติโดยขาดปัญญามีมูลเดียว คือ อโทสมูล อพยาบาทที่ประพฤติด้วยปัญญา มีมูล ๒ คือ อโลภมูล อโมหมูล ที่ประพฤติโดยขาดปัญญามีมูลเดียว คือ อโลภมูล สัมมาทีฏฐิ มีมูล ๒ คือ อโลภมูล อโทสมูล ๒๖๖

www.kalyanamitra.org เสัV{วน^ อานิสงส์ของกุศลกรรมบถ ๑๐ กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ พระพุทธองคตรัสไว้ในจุนทสูตร ทสกนิบาต อังคุตตรนิกายว่า ดก่อนจุนทะ ความสะอาดทางกายม ๓ ทางวาจามี ๔ ทางใจมี ๓ ดูก่อนจุนทะความสะอาดทางกาย ๓ อย่าง มีอะไรบ้าง ดูก่อน จุนทะบุคคลบางคนในโลกนี้ ๑. เป็นผู้ละปาณาติบาต เว้นขาดจากปาณาติบาต วางท่อนไม้ วางศัสตรา มีความสะอาดใจ มีความเอ็นดู มีความเมตตากรุณาต่อ สัตว์ทุกหมู่เหล่า ๒. เป็นผู้ละอทินนาทาน เว้นขาดจากอทินนาทาน ไม่ถือเอา สิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยจิตอันเป็นขโมย ไม่ว่าของนั้นจะอยู่ใน บ้านของเขาอยู่ในป่าหรือที่ไหนๆ กตาม ๓. เป็นผู้ละกาเมสุมีจฉาจาร เว้นขาดจากกาเมสุมิจฉาจาร ดูก่อนจุนทะ ความสะอาดทางวาจา ๔ อย่าง มีอะไรบ้าง ดู ก่อนจนทะบดคลบางคนในโลกนี้

www.kalyanamitra.org ๑, เป็นผู้ละมุสาวาท เว้นขาดจากมุสาวาท อยูในสภา อยู่ใน บริษัท อยู่ในท่ามกลางหมู่ญาต อยู่ในท่ามกลางเสนาหรืออยู่ใน ท่ามกลางราชสำนักก็ตามถูกเขาอ้างเป็นพยานซักถามว่า พ่อชายผู้ เจริญ พ่อเอย่างไร จงเบิกความอย่างนั้น ผู้นั้นเมื่อไม่เก็บอกว่าไมเ หรือเมื่อเก็บอกว่าเ เมื่อไม่เห็นก็บอกว่าไม่เห็น หรือเมื่อเห็นก็บอกว่า เห็นจะไม่เป็นผู้กล่าวมุสาวาททั้งที่เตัวเพราะเหตุแท่งตนเพราะเหตุ แท่งผู้อื่นหรือเพราะเหตุแท่งอามิสสินจ้าง ๒, เป็นผู้ละวาจาล่อเสิยด เว้นขาตจากวาจาล่อเสืยต ฟ้งฝ่ายนี้ แล้วไม่ไปบอกฝ่ายโน้นเพื่อทำลายคนฝ่ายนี้หรือฟังฝ่ายโน้นแล้ว ไม่ มาบอกฝ่ายนี้เพื่อทำลายคนฝ่ายโน้น เป็นผู้สมานคนที่แตกสามัคคี และสนับสนุนคนที่สามัคคีกันอยู่ ชื่นชมยินดีคนที่สามัคคีกันพูตแต่ วาจาที่สร้างความสามัคคี ๓, เป็นผู้ละวาจาหยาบ เว้นขาตจากวาจาหยาบ เป็นผู้พูตแต่ วาจาอันไม่มีโทษเสนาะโสตเป็นที่รักนี้งใจ เป็นคำพูตของผู้ดี เป็นที่รัก และชอบใจของคนทั้วไป ๔, เป็นผู้ละคำเพ้อเจ้อ เว้นขาตจากคำเพ้อเจ้อ เป็นผู้พูตถูก กาลเวลา พูตแต่คำจริง พูตอิงอรรถ พูตอิงวินัย พูตถ้อยคำมีหลักฐาน มีที่อ้างอิงมีที่สุต ประกอบด้วยประโยชน้โตยสมควรแก่เวลา ดูก่อนจุนทะความสะอาตทางใจ ๓ อย่าง มีอฺะไรบ้าง ดูก่อน จุนทะบุคคลบางคนในโลกนี้ ๑, เป็นผู้!ม่มากไปด้วยความเพ่งเล็ง ไม่เพ่งเล็งคีตเอาของผู้อื่น มาเป็นของตนว่าทำอย่างไรหนอทรัพย์ของผู้อื่นนั้นจะพึงเป็นของเรา ๒, เป็นผู้มีใจไม่พยาบาท มีใจไม่คีตประทุษร้ายผู้อื่นว่า ขอ่.สฺตว้ เหล่านี้จงอย่าจอฺงเวรกัน อย่าเปียตเบียนกัน\"อย่ามีความทุกฃ จงมีแต่ ความสุขอยู่รอตปลอตภัยเถิต ๓, เป็นผู้มีความเห็นชอบ มีทัศนะอันไม่วิปริตว่า ทานที่ให้แล้ว ๒๖CJ

www.kalyanamitra.org มีผล การเซ่นสรวงมีผล(การสงเคราะหกัน) การบูชามีผล(การยกย่อง บูชาบุคคลที่ควรบูชา) ผลวิบากของกรรมดีและกรรมชั่วมีจริง โลกนี้มี จริง(มีที่มา) โลกหน้ามีจริง มารดาบิดามีบุญคุณต่อบุตรธิดาจริง โอปปาดิกสัตวิมีจริง(สัตว์ที่เกดแล้วโตในหันที) สมณพราหมณผู้ ประพฤดิดีปฏิบิดิชอบ รู้แจ้งประจักษทั้งโลกนี้และโลกหน้าแล้วสงสอน ผู้อื่นมีจริง (พระอรหันต์ผู้หมดกิเลสแล้วมีจริง) ดูก่อนจุนทะ กุศลกรรมบถมี ๑๐ ประการ ดังนี้แล ดูก่อนจุนทะ บคคฺลผู้ประกอบด้วยกุศลกรรมบถ ๑๐ ปฺระการเหล่านี้ ลุกขึ้นจาก ทีนอนแต่เช้าตรู่จะจับต้องแผ่นดิน โคมัยสด หญ้าอันเขียวขจี หรือไฝ จับต้องกิตามจะประนมไหว้พระอาทีตย์หรือไฝกิตาม จะลงอาบนํ้าเช้า เย็นหรือไฝกิตามจะบูชาไฟหรือไฝบูชาไฟกิตาม ย่อมเป็นผู้สะอาต อย่างแท้จริง ข้อนั้นเป็นเพราะเหตุไร ดูก่อนจุนทะ เพฺราะกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ เป็น พฤติกรรมอันสะอาดและเป็นเครื่องสร้างพฤดิกรรมอันสะอาด ดูก่อน จุนทะเทวคดิหรือสคดิอื่นใดบรรดามีย่อมปรากฏ เพราะเหตุแห่งการ ประกอบทศลกรรมบถ ๑๐ ประการเหล่านี้แล ภาคผนวก การแสดงเรื่องกรรมบถในที่นี้ ไต้นำข้อความในพระไตรปีฎก อรรถกถา ฎีกามาเรืยบเรืยง ดังนั้น เพื่อให้เกิดความเช้าใจง่ายัแก่ผู้ ศึกษาควรทร่าบความหมายของคำเหล่านี้ คือ ๑. กุศล หมายถึง สิงที่ทำลายความชั่3 ๒. อกุศลหมายถึง สิงที่ทำลายคว้ามดี ๓.กรรม หมายถึง ความตั้งใจทำ พูด คิด ๔. กรรมบถ หมายถึง ทางเกิดแห่งกรรมหรือกรรมที่เป็นเหตุ ๒๖๔

www.kalyanamitra.org เกิดในสคสิภูมิ ทุคติภูมิ และค!ามสุข ความทุกฃ1นภมิเหล่า'นั้น ๕. maกรรมบถ หมายถึง ไฑงเกิดแหงกรร่มทีทาลายค่วามฃํ่ท ๖.อกุศลกรรมบถ หมายถึง ทางเกิด่แห่งกรรมที่ทำลายความดี ๗. กายกรรม หมายถึง กรรมที่ทำทางกาย ๘.วจีกรรม หมายถึง กรรมที่ทำทางวาจา ๙. มโนกรรม หมายถึง กรรมที่ทำทางใจ มี อภิชฌา เป็นต้น ๑©. กายทวาร หมายถึง กายที่เป็นทางเกิดของกรรม ๑๑. วจีทวาร หมายถึง วาจาที่เป็นทางเกิดของกรรม ๑๒. มโนทวาร หมายถึง ใจที่เป็นทางเกิดของกรรม ไต้แก่ ชวนจีดมีายกศลและอกศล ป๋ญหาและเฉลยบทที่ ๔ ๑. กุศลกรรมบถ มีความหมายตรงกิ'บข้อใด ? ก. ทางแห่งความดี ข. ทางไปทุคติ . ค. ทางแห่งกรรม ง. ทางก้าวหน้า ๒. ผลแห่งกรรมดทบุคคลพงเดรบไนชาตหน้า ดรงกบขอใด ? ก. มนษย์สรรเสริญ ข. เทวดาสรรเสริญ ค. ตายแล้วไปสุคติ ง. ตายแล้วไปทุคติ ๓.\"ริกสุฃฺหวังสบาย อย่าลืมสร้างทางกุศล\" ทางกุศลคือข้อใด ? ก. กุศลมูล ข. อกุศลมูล ค. กุศลกรรมบถ ง. อกุศลกรรมบถ ๔. ข้อใด เป็นทางนำไปสู่สุคติที่ทุกคนต่างปรารถนา ? ก. กุศลมูล ข. อกุศลมูล ค. กุศลกรรมบถ ง. อกุศลกรรมบถ ๒๙๐

www.kalyanamitra.org ๕. พระพุทธศาสนา แสดงการประพฤติธรรมทางกายไว้กี่ประการ? กํ. ๔ ประการ ข. ๔ ประการ ค. ๓ ประการ ง. ๒ ประการ ๖. ผู้มีเมตตาต่อสัตว้ทั้งปวง วางท่อนไม้ วางศัสตรา หมายถึงใคร? ก. ผู้ละปาณาติบาต ข. ผู้ละอทินนาทาน ค. ผูละอพรหมจฺรรย ง. ผู้ละมุสาวาท' ๗. ความดทางกาย เป็นเหตุให้เกิตความสุข ตรงกับข้อใต? ก. การไฝฆ่าสัตว้ ข. การไม่พูตโกหก ค. การไม่โลภอยากได้ ง. การไม่ปองราย ๘. คนมีอุปนิสัยไม่ชอบทำรายใคร มีคณธรรมใตเต่นชัต? ก. เมตตาสงสาร ข. คนพาลพฺคบ ค. คบแต่บัณฑิต ง. มีจตใจเผื่อแผ่ ๙. กุศลกรรมบถข้อใด จะสำเร็จได้ด้องมีเจตนา ? ก. ไม่ฆ่าสัต่ว้ศัตชีวิต ข. ไม่วิปร็ค่ฝ็ตธรรม ค.ไม่อยากได้ของเข่า ง. ไม่เมีาปองร้ายผู้อื่น ๑๐. สักษณะแห่งการพูตดีมีประโยชน ตรงกับข้อไต ? ก่. ประสานคน ข. ประสานรอยร้าว ค. ประสานประโยชน ง. ถูกทุกข้อ ๑๑. คำ พูดในข้อใด ตรงกับสำนวนว่า \"นํ้าร้อนปลาเป็น\"? ก. พูดเพราะ แต่มุ่งร้าย ข. พูดไม่เพราะ แต่หวังดี ค. พูดเพราะและหวังดี ง. พูดไม่เพราะและมุ่งร้าย ๑๒. ต่าใคร จึงสำเร็จเป็นกรรมบถ ? ก. คนหูหนวก ข. เพื่อนร่วมชาติ ค. เทวดาฟ้าติน ง. เพื่อนต่างภาษา ๑๓. \"พูดอย่างมะนาวไฝมีนา\" ประพฤติผิดกุศลกรรมบถข้อใด ? ก. เว้นขาดจากมุสาวาท ข. เว้นขาดจากปีสุณวาจา ค. เว้นขาดจากผรุสวาจา - ง. เว้นขาดจากสัมฝัปปลาปร ๒๙๑

www.kalyanamitra.org ๑๔. พูดแต่คำมีประโยชน์ ซื่อว่าประพฤติกุศลกรรมบถข้อใด? ก. เว้นขาดจากมุสาวาท ข. เว้นขาดจากปีสุณวาจา ค. เว้นขาดจากผรุสวาจา ง. เว้นขาดจากสัมผัปปลาปะ ๑๔. ได้ยินเสียงพระสวดมนตแล้วมีจิตเบิกบาน เป็นกรรมอะไร ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค.มโนกรรม\" ง.ถูกทุกข้อ ๑๖. ข้อใด จัดเป็นมโนกรรมฝ่ายกุศล ? ก. อยากฆ่าคน ข. อยากโกหก ค. อยากทำบุญ ง. อยากฉ้อฉล ๑๗. ความบริสุทธิ๋ทางใจ มี ๓ อย่าง ยกเว้นข้อใด ? ก. อภิชฌา - ข. อนภิชฌา ค. อพยาบาท ง. สัมมาทิฏฐิ ๑๘. คนเราสามารถกระทำความดีทางใจได้อย่างไร ? ก. ไมโลภอยากได้ของเขา ข. ไม่พยาบาทปองร้ายเขา ค.ไม่เห็นผิดคลองธรรม ง. ถูกทุกข้อ ๑๙. บุคคลมีจิดประกอบด้วยเมตตา พูดว่า \"ขอเหล่าสัตว์ จงเป็นสุข\" จัดเป็นมโนกรรม เภิดขึ้นทางทวารใด ? ก. กายทวาร ข. วจีทวาร ค. มโนทวาร ง. ทุกทวาร ๒๐. บุคคลมีจิตใจปราศจากอภิชฌา ย่อมมีสักษณะเช่นไร? ก. ไม่โลภ ข. ไม่โกรธ ค. ไม่หลง . ง. ไม่ถือตัว ๒๑. การไม่ติดโลภอยากได้ของใคร หมายถึงข้อใด.? ก. อโลภะ ข. อโทสะ ค. อโมหะ ง. อโกธะ ๒๙๒

www.kalyanamitra.org ๒๒. คิดให้ผู้อื่นประสบความพิ^าศ ตรงทับข้อใด? ก. อภิชฌฺา ข. อนภิชฌา ค. พยาบาท ~ ง. อพยาบาท ๒๓. คนมีอุปนิสัยชอบเสิยสละ สามารถกำจัดอะไรได้? ก. ความไม่รู้ ข. ความโกรธ ค. ความหลง ง. ความโลภ ๒๔.ข้อใดจัดเป็นกุศลกรรมบถ ? ก. อนภิชฌา . ข. พยาบาท ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. อทินนาทาน ๒๔. คณธรรมใด มีคุณูปการช่วยให้คนเราปราศจากความพยาบาท ? ก. เมตดา ข. กรุณา คุ. มุทิตา ง. อุเบกขา ๒๖. ผู้ไม่คิดผูกอาฆาตว่า เขาได้ทำร้ายเรา เพราะมีธรรมข้อใด ? ก. อโลภะ ข. อภิชฌา ค. อพยาบาท ง. อนภิชฌา ๒๗.\"เวรย่อมระงับด้วยการไฝจองเวร\" ตรงทับข้อใด ? ก. พรหมจรรย์ ข. อพิชฌา ค. สัมมาทิฏเ ง. อพยาบาท ๒๘. อพยาบาท การไฝคิดร้ายทำลายทัน จะเภิดขึ้นได้อย่างไร? ท. ถือพวก ข. ถือเพื่อน ค. ถือสถาบัน ง. ถือธรรม ๒๙. เห็นว่าทานที่ให้แล้วมีผลจริง ตรงทับข้อใด ? ก. สัมมาทิฏฐ ข. นัดถืกทิฏเ ค. อเหดุกทิฏฐิ ง. อภิริยทิฏฐ ๒6/๓

www.kalyanamitra.org ๓๐. เห็นว่า \"ทำดุไดสื ทำ ซวไดั^\" ข้อใดถูกต้อง? กฺ. สัมมาทิฏฐิ ข. สัมมาสังกัปปะ ค. สัมมาอาชีวะ ง. สัมมาวายามะ ๓๑. ความเชื่อเช่นไร เป็นสัมมาทิฏฐิ? ก. เชื่อว่าพรหมลิขิต' ข. เชื่อว่าฟ้าดินลิขิต ค. เชื่อว่ากรรมลิขิต ง. เชื่อถือเรื่องมงคล ๓๒. ความไฝอาฆาตมาตราย จัตเป็นธรรมจริยาและสมจริยาทางไต ? ก. ทางกาย ข. ทางวาจา ค. ทางใจ ง. ถูกทุกข้อ ๓๓. การละกาเมสุมิจฉาจาร จัตเป็นธรรมจํริยาและสมจริยาทางใต ? ก. ทางกาย ข. ทางวาจา ค. ทางใจ ง. ถูกทุกข้อ ๓๔. วางท่อนไม้ วางศัสตรา มีเมตตาจิตต่อกัน ตรงกับข้อไต ? ก. ละปาณาติบาต ข. ละอทินนาทาน ค. ละกาเมสุมิจฉาจาร ง. ละมุสาวาท ๓๔. อะไรเป็นเหตุให้กษตริย์ พราท่มณ แพศย์ ศูทร เสมอกันใน สวรรคmไตรทิพย์? ก. การศึกษาธรรม ข. การประพฤติธรรม ค. ความยุติธรรม ง. การสนทนาธรรม ๓๖. ผู้ประพฤติกุศลกรรมบถประเภทไต ไต้ทงทรัพย์สมบติและบริวาร สมบติ ? ก. ประพฤติกุศลกรรมบถเอง ข. ชักชวนให้ค่นอึ่นประพฤติ ค. ทั้งประพฤติเอง ทั้งชักชวนคนอื่น ง. ทั้งไม่ประพฤติเอง ทั้งไม่ชักชวนคนอื่น ๒๙(£

www.kalyanamitra.org ๓๗. ผู้ปรารถนามรรค ผลนิพพานควรประพฤติเซ่นไร? ก. เข้าป่าหนีหน้ามนุษย์ . ข. สละทรัพย์สินทั้งหมด ค. ประพฤติกุคลกรรมบถ ง. รับประทานแต่ผักผลไม้ ๓๘. การได้เกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาล จัดเป็นสมป๋ติใด? ก. มนุษย์สมป๋ติ ข. สวรรคสมป๋ติ ค. ทรัพย์สมบติ ง. นิพพานสมบติ ๓๙. ศีลเป็นเหตุให้ได้ไปสู่สุคติ หมายถึงให้ได้เกิดเป็นอะไร? ก. มนุษย์ ข. เทวดา ค. พรหม ง.ถูกทุกข้อ ๔๐. คนมีอุปนิสัยชอบแบ่งป่น เสียสละ คอยให้ความซ่วยเหลือผู้อื่น ด้วยจิตใจดีงาม ต่รงกับข้อใด? ก่. ทานูปนิสัย ข. สีลูปนิสัย ค. ภาวนูปนิสัย ง. ถูกทุกข้อ ๔๑. กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ สงเคราะห้เข้าในสิกขาข้อใด? ก. ศีล ข. สุมาธิ ค. ป่ญญา ง. ถูกทุกข้อ ๔๒. ทานุปนิสัย เป็นธรรมกำจัดอะไร? ภ. ความโลภ ข. ความโกรธ ค. คุวามหลง ง. ความเบียดเบียน ๔๓.สีลูปนิสัยเป็นธรรมกำจัดอะไร? ก. ความโลภ ข. ความโกรธ ค. ความหลง ง. ความเบียดเบียน ๔๔. ภ่าวนูปนิสัย เป็นธรรมกำจัดอะไร? ก. ความโลภ ข. ความโกรธ ^ ค. ความหลง ง. ความเบียดเบียน ๒6/๔

www.kalyanamitra.org ๔๕. การบำเพ็ญทาน ศีล ภาวนา ช่วยบรรเทาอะไรให้เบาบาง่ลง? ถ. เลภะ ข. เทสะ ค. โมหะ ง. ถูกทุกข้อ ๔๖.ความรู้สิกสบายใจขณะระลึกถึงพระรัตนต่รัย เรียกว่าอะไร? ก. ทุกขเวทนา ข. โสมนัสสเวทนา ค. โทมนัสสเวทนา ง. อุเบกขาเวทนา ๔๗. รากเหง้าแห่งการทำความดี เรียกว่าอะไร ? ก. กุศลมูล ข. กุศลกรรม ค. กุศลจิต ง. กุศลเจตนา ๔๘.ความรู้ลึกอิ่มใจในขณะทำบุญดีกบาตร จัดเป็นเวทนาใด? ก. สุขเวทนา ข. ทุกขเวทนา - ค. โสมนัสสเวทนา ง. อุเบกขาเวทนา ๔๙. บุคคลมีจิตถูกโมหะครอบงำ ย่อมมีพฤติกรรมเช่นไร? ก. เห็นแก่ไดี ข. ลักขโมย ค. เชื่องมงาย ง. ก่อวิวาท ๔๐.คนที่เชื่อว่าโลกหน้าไม่มีจริงเพราะถูกอะไรครอบงำ ? ก. โลภะ ข. โทสะ ค. โมหะ ง. ราคะ ๔๑.ข้อใด เป็นทางแห่งความสะอาดกายวาจาใจ ? ก. บูชาไฟ ข.ไหว้พระอาทิตย ค. ไม่ผิดกุศลกรรมบถ ง. งดเว้นอบายมุข ๔๒. เพื่อพัฒนาชีวิตของตนให้พ้นป๋ญหา ควรปฏิบ้ติตามข้อ่ใด? ก. บูชาราหู ข. ทำ พิธีตัดกรรม ค. ทำ พิธีเสฺริมดวงชะตา . ง. ไม่ประพฤติอกุศลกรรมบถ ๒๙๖

www.kalyanamitra.org ๔๓. ผลของการกระทำความดี ความชว ตรงกับข้อใด ? ก. กิเลส ข. กรรม ค. วิบาก ง. ถูกทุกข้อ ๕๔. เพราะเหตุไร สัตวโลกจึงต้องเป็นไปตามกรรม? ก. เพราะเป็นอนิจจัง ข. เพราะทุกคนมีทุกข์ ค. เพราะขัดขืนไม่ไต้ ง. เพราะต้องเกิดอีก ๔๔.รักสุขหวังสบาย อย่าลืมสร้างทางกุศล สอนเกี่ยวกับเรื่องใด? ก. ไม่ทำความชั่ว ข. ทำ แต่ความดี ง. ถูกทุกข้อ ค. ทำ จิตให้ผ่องใส ๑. ก ๒. ค เฉลย - ๔. ค ๖. ก ๗. ก ๑๐. ง ๑๑. ข ๑๒. ข ๓. ค ๔. ค ๑๔. ค ๑๖. ค ๑๗. ก ๘. ก ๙. ก ๒๐. ก ๒๑. ก ๒๒. ค ๑๓. ค ๑๔. ง ๒๔. ก ๒๖. ค ๒๗. ง . ๑๘. ง ๑๙. ข ๓๐. ก ๓๑. ค ๓๒.'ค ๒๓.ง ๒๔. ก ๓๔. ข ๓๖. ค ๓๗. ค ๒๘.ง ๒๙. ก ๔๐. ก ๔๑. ก ๔๒. ก ๓๓. ก ๓๔. ก ๔๔. ง ๔๖. ข ๔๗. ก ๓๘. ก ๓๙. ง ๔๐. ค ๔๑. ค ๔๒. ง ๔๓. ง ๔๔. ค ๔๔. ง ๔๘. ค ๔๙. ค ๔๓. ค ๔๔. ค ๒6/๙

www.kalyanamitra.org วิชาธรรมวิจารณ์ ๒e/c?

www.kalyanamitra.org บทที่ ๑ นิพพิทาและปฏิปทาแฟงนิพพิทา ธรรมวิจารณ์ส่วนปรมัตถปฏิปทา ท่านยกข้อธรรมที่เป็นกระทู้ตั้งไว้ ๖ ประการ.คือ ๑. นิพพิทา ความหน่าย ๒. วิราคะ ความสิ้นกำหนัด ๓.วิมุตติ ความหลุดพ้น ๔. วิสุทธิ ความหมดจด ๔. สันติ ความสงบ ๖. นิพพาน ๑. นิพพิทา ความหน่าย นิพพิทา คือความเบื่อหน่ายสังขารว่าเป็นทุกข์ เมื่อเกิดความ เบื่อหน่ายแล้วก็คลายความกำหนัดยินดีในสังขารทั้งปวง โดยเห็นตาม ความเป็นจริงว่า สังขารเป็นของไม่เที่ยงเป็นทุกข์ เป็น่ของไม่ใช่ตัวคน ไม่น่ายึดมั่นถือมั่น เป็นความเบื่อหน่ายที่ประกอบด้วยป๋'ญญา จิตจึง หลุดพ้นจากกิเลส สะอาดบริสทธิ้ มีความสงบเย็น เข้าถืงพระนิพพาน ๒6/๙

www.kalyanamitra.org ส่วนความเบื่อหน่ายเป็นครั้งคราวในสิ่งที่เราไม่ชอบใจด้วย อำ นาจกิเลส เช่น นักเรียนเบื่อหน่ายไม่อยากไปเรียนหนังสือ ภรรยา เบื่อหน่ายหิฒเจ้าซู้ฃองสามี คนป่วยเบื่ออาหาร เป็นต้นไม่^เป็นนิพพทา อุทเทศข้อที่ ๑(หวข้อเรื่อง) จิตฺตํ ราชรดูปมํ เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ นตฺถิ สงฺโค วิชานตํ. ยตฺถ พาลา วิสืทนฺติ อันคระการดุจราชรถ แต่ผู้รู้หาข้องอยู่ไม่. สูทั้งหลายฺจงฺมาดูโลกนี้ ที่พวกคนเขลาหมกอยู่ โลกในบาลี ๒ อย่าง ๑. โลกโดยตรง ได้แก่ แผ่นดินเป็นที่อาศัยอยู่ของหมู่สัตว์ เรียฺกว่าโอกาสโลก โลกคือแผ่นดิน ๒. โลกโตยอ้อม ได้แก่ หมู่สัตว์ผ้อาศัยอยู่บนโลก เรียกว่า ข ขิ สัตวโลก โลกคือหมู่สัตว๙์ สภาพของโลก โลกคือชุมชนมนุษย มีลักษณะเป็น ๓ คือ ๑. สิ่งอันให้โทษโดยส่วนเดียว เปรียบด้วยยาพิษ . ๒. สิ่งอันอาจให้โทษในเมื่อเกิน่พอดี เปรียบด้วยของมึนเมา ๓. สิ่งอันเป็นประโยชนั เปรียบด้วยอาหารและยารักษาโรค แตใข้1นทางผิดก็อาจให้โทษได้ _ ๒070

www.kalyanamitra.org พุทธประสงค์ของการดูโลก สมเด็จพระบรมศาสดาตรัสชักซวนหมูชนให้มาดโลกอันวิจิตร ตระการตา อันเปรียบด้วยราชรถโบราณที่ประดับด้วยเครื่องอลังการ อย่างสวยสดงดงามด้วยทรงมุ่งหมาย ๒ ประการ ๑. มิใช่เพื่อให้หลงขื่นชมอยูในสิ่งของอันสวยงามที่อยู่บนโลกนี้ ๒. เพื่อปลุกใจหมู่ชนให้เห็นซึ้งลงไปถึงคุณประโยชน์ และมิใช่ ประโยชน์ของสิ่งนั้นๆ โลกที่คนเขลาหมกอยู่ ๓ อย่าง ๑. ย่อมเพลิดเพลินในสิ่งอันให้โทษ ๒. ย่อมหลงละเลิงจนเกินพอดี ในสิ่งอันอาจให้โทษ ๓. ย่อมติดในสิ่งที่เป็นประโยชน์

www.kalyanamitra.org บัณฑิตไฝข้อง ๒ อย่าง ๑.ไฝพัวพันในสิ่งอันล่อใจ มีรูป เสียง กสิ่น รส สัมผัส ๒.ใจย่อมเป็นอิสระจากรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส อุฑเฑสขุ้อที่ ๒ เย จิตุตํ สฌฺฌเมสฺสนติ โมกขนฺติ มารพนฺธนา. ผู้ใดจักระวังจิต ผู้นั้นย่อมพ้นจากบ่วงแห่งมาร. การสำรวมจิต พู่ดสำรวมจิต คือ ไม่ปล่อยใหจิตเพลิตเพลินหลงพัวพันในสิ่ง อันล่อใจเหล่านั้น ผู้นั้นย่อมหลุตพ้นจากบ่วงแห่งมารด้วยการสำรวม จิต ๓ ประการ คือ ๑. สำ รวมอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มิให้ความ ยินดีครอบงำในเมื่อเห็นรูป พังเสียง ตมกลิ่น ลิ้มรส ถูกด้องสัมผัสอัน น่าปรารถนาเป็นด้น ๒. มนสิการกัมมัฏฐาน อันเป็นปฏิบักษ์ต่อกามฉันทะ คือ อสุภะ กายคตาสติ และมรณ'สสติ ๓. เจรีญวิบัสสนา คือ.พิจารณาสังขารแยกออกเป็นขันธ์ ให้ เห็นตามสภาพ่ความเป็นจริงว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ไม่ควรยึตมั่นถือมั่นในสังขาร มารและปวงแห่งมาร ๒ ๑. มาร คือ กิเลสกาม ที่งได้แก่ ตัณหา ความทะยานอยาก ราคะ ความกำหนัต อรติ ความไม่ยินดีเป็นด้น กิเลสกามนี้ได้ชื่อว่า ๒c?๒

www.kalyanamitra.org เป็นมาร เพราะเป็นโทษล้างผลาญคุณความดีและทำให้เสียคน ๒. บ่วงแฟงมาร คือ วัตถุกาม ได้แก่ รูป- เสียง กลิ่น รล โผฏฐัพพะ อันเป็นที่น่าชอบใจที่จัดว่าเป็นบ่วงแห่งมาร เพราะเป็น อารมณ์เครื่องผูกใจให้ติดอยู่ในอารมณ์อันน่าใคร่ iU ปฏิปทาแห่งนิพพิทา ยทา ปฌฺฌาย ปสฺสติ อุทเทส เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา. สพฺเพ สงุขารา อนิจฺจาติ ยทา ปฌฺฌาย ปสุสติ อถ นิพุพินุทติ ทุกฺเข สพฺเพ ลงฺขารา ทุกฺขาติ เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา. อถ นิพฺพินุทติ ทุกฺเข ยทา ปฌฺฌาย ปสฺสติ สพฺเพ รมุมา อนดุดาติ อถ นิพฺพินฺทติ ทุกุเข เอส มคฺโค วิสูทฺธิยา.

www.kalyanamitra.org เมื่อใดเห็นด้วยปัญญาว่าสังขารทั้งหลายทั้งปวงไฝเที่ยง เมื่อ นั้น■ย่อมหน่ายในทุกข์ นั้นทางแหงวิสุทฺธิ. เมื่อใดเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์ เมื่อนั้นย่อมหน่ายในทุกข์ นั้นทาง แห่งวิสุทธ. . เมื่อใดเห็นด้วยปัญญาว่าธรรมทั้งหลายทั้งปวงเป็นอนัต่ตา เมื่อนั้นย่อมหน่ายในทุกข์ นั้นทางแห่งวิสุทธิ. อธิบายคำว่าสังขาร คำ ว่า สังขาร ในบาลีข้างด้นนั้น ได้แก่ขันธ ๙ คือ รูป เวทนฺา สัญญา .สังขาร วิญญาณ อันได้ชื่อว่าเบญจขันธ และมีสักษณะเสมอ เหมีอนอันเป็น ๓ คือ ๑. อนึจจตา ความเป็นของไฝเที่ยง ๒. ทุกฃตา ความเป็นทุกข์ ๓. อนัตตตา ความเป็นของไฝใช่ตัวตน อนิจจตา อนิจจตา ความไฝเที่ยงแห่งสังขาร ย่อมกำหนดรู้ได้ด้วย อาการ ๓ อย่าง คือ ๑. ในทางที่เห็นได้ง่าย มีความเกิดขึ้นในเบื้องด้น มีความ แปรปรวนไปในท่ามกลาง และมีความแตกสลายไปในเบื้องปลาย ๒. ในทางที่ละเอียดกว่านั้น่ ย่อมกำหนดรู!ด้ด้วยความแปรไป ในระหว่างเกิดและตับ ในเบื้องด้นแปรมาในฝ่าย่เจริญ แต่นั้นหยุด เจริญแต่ขยายตัว แต่นั้นสังขารทรุดโทรมลงไปจนปรากฏ ๓. ในทางที่ละเอียดที่สุด ย่อมกำหนดเห็นความแปรปรวน แห่งสังขารซวขณะหนึ่งๆคือ้ไฝคงที่อยู่นานเพียงระยะกาลนิดเดียวก แปรแล้ว ๒Coczr

www.kalyanamitra.org ทุกขดา ทุกฃตา ความเป็นทุกขแห่งสังขาร สภาวะที่สังขารทั้งปวงทน ได้ยาก ไม่สามารถดำรงอยู่เหมือนเดิมได้ ย่อมกำหนดเห็นด้วย ลักษณะแห่งทุกข์ ๑๐ ประการ คือ ๑. สภาวทุกขั ๒. ปกิณณกทุกข์ ๓. นิพัทธทุกข์ ๔. พยาธิทุกข์ ๔. สันดาปทุกข์ ๖. วิปากทุกข์ ๗. สหคตทุกข์ ๘. อาหารปริเยฏฐิทุกข์ ๙. วิวาทมูลกทุกข์ ๑๐. ทุกขขันธ์หรือทุกข์รวบยอด อธิบายลักษณะแห่งทกข์ ๑๐ ประการ ). สภาวทกข์ หรือทกข์ประจำสังขาร มือย่ด้วยกันทกคนไม่มื

www.kalyanamitra.org ข้อยทเว้น คือ ชาติ ความเกิด ชฺรา ความแก่ มรณะ ความตาย ๒. ปกิณณกทุกข์' หรือทุกข์จร มีมาเป็นครั้งคราว คือ โสกะ ความเศร้าโศก ปริเทวะ ความรํ่าไร ทุกชะ ความทุกข์กาย โทมนัส ความทุกข์ใจ อุปายาส ความคบแค้นใจ ๓. รฟ็ทธทุกข์ คือทุฤข์เนืองนิตย์ หรือทุกข์เป็นประจำ ได้แก่ ความหนาว ร้อน หิว กระหาย ปวดอุจจาระ ปวดป๋สสาวะ ๔. พยาธทุกข์ หรือทุกขเวทนา ทุกข์เพราะคว่ามเจ็บไข้มีประเภท ตางๆ ตามสมุฏฐาน คืออวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่ทาหน้าที่โดย ปกติ ๔. สืนตาปทุกข์ ทุกข์คือความร้อน^หรือทุกร่^น ได้แก่ ความ กระวนกระวายใจ เพราะถูกไฟคือกิเลสมีราคะ โทสะและโมหะแผดเผา ๖. วัปากทุกข์ หรือทุกข์เพราะผลกรรม ได้แก่ วิปปฏิสาร คือ ความร้อนใจทีเกิดในปัจจุบันทันตาเห็น จากการได้ร้บโทษตามความผิด ของบ้านเมีอง ความฉิบหาย ความตกยากลำบากในการดำเนินชีวิต หรือทุกข์หลังจากความตาย คือตกนรก เป็นด้น ๗. สหคดทุกข์ ทุกข์ไปด้วยกันหรือทุกข์กำกับกัน ได้แก่ทุกข์ อันเนืองมาจากผลแห่งความลำเรืจในชีวิต คือมีลาภก็เสื่อมลาภ มียศ ก็เสื่อมยศ มีสรรเสรืญก็มีนินทา มีสุขก็มีทุกข์เป็นของมาคู่กัน ๘. อาหารปรืเยฏฐทุกข์ คือทุกข์ในการทำมาหากิน ได้แก่ อาชีวทุกข์ คือทุกข์เนื่องด้วยการเลี้ยงชีวิต .๙. วิวาทยูลกทุกข์ คือทุกข์มีวิวาทเป็นมูล ได้แก่ความไม่โปร่งใจ ความกลัวแพ้ ความหวาดหวั่นมีเนื่องมาจากทะเลาะกันก็ดี เคดกันก็ดี รบกันก็ดี ๑๐. ทุกฃข์นธ์ หรือทุกข์รวบยอด หมายเอาทุกข์ที่เกิดจากการ ยึดมั่นถือมั่นในฃันธ ๔ ๒05๖

www.kalyanamitra.org อนัตตตา อนัตตดา ความเป็นอนัตตา คือความเป็นของไมใช่ตัวตนแห่ง สังขาร พึงกำหนดรูใด้ด้วยอาการ ๕ คือ ๑. ด้วยไม่อยูในอำนาจ คือไม่อยูในบงคบบัญชาของใคร ใครก็ บังคับบัญชาไม่ได้ ๒. ด้วยแย้งต่ออัตตา คือเป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับความเป็นตัวตน ๓. ด้วยความเป็นสภาพหาเจ้าของมิไต้ คือไม่มีใครเป็นเจ้าของ ที่แท้จริง ๔. ด้วยความเป็นสภาพสูญ คือว่างหรือหายไป เมื่อพิจารณา แยกออกเป็นส่วนๆหาสภาวะที่แท้จริงไม่มี - ๔. ด้วยความเป็นสภาวธรรมเป็นไปตามเหตุบัจจัย คือเป็น เพึยงสภาวธรรมอย่างหนึ่ง เมื่อเกิดขึ้นก็เพราะเหตุ ตับไปก็เพราะ ความตับแห่งเหตุ อนัจจลักษณะ ย่อมได้ในสังขาร ๒ คือ อุปาทินนกสังขาร สังขารที่มีใจครอง และอนุปาทินนกสังขาร สังขารที่ไม่มีใจครอง ทุกฃลักษณะ ย่อมได้เฉพาะอุปาทินนกสังขาร สังขารที่มีใจ ครองอย่างเดียว เพราะเป็นเจตสิกธรรม อนัตตลักษณะ ย่อมได้ทั้งในสังขาร และในวิสังขาร (วิสังขาร คือธรรมอันมิใช่สังขารที่ท่านหมายเอานัพพาน) คำ ว่า \"ธรรมทั้งหลายทั้งปวงเป็นอนัตตา\" ในบาลีอุทเทสที่ แสดงปฏิปทาแห่งนัพพานนั้น หมายเอาสังขารก็ได้ วิสังขารก็ได้ สัจจะ ๒ การพิจารณาเห็นสังขารเป็นอนัตตา ด้องประกอบด้วย โยนั[สมนสิการ คือพิจารณาโดยแยบคายถึงจะเห็นสัจจะทั้3 ๒ ประการ tocsc/

www.kalyanamitra.org คือ ๑. สมมติสัจจะ จริงโดยสมมติ เช่นสังขาร^'mาเนิดชายสมมติ ว่าเป็นปิตา หญิงสมมติว่าเป็นมารดาเป็นต้น ๒. ปรมตถสัจจะ จริงโดยปรมตถ์ เช่นคน สัตว่ สิ่งของเป็นต้น เป็นสิ่งที่ปรุงแตงขึ้นจากธาตุ ๔ เมื่อแยกออกเป็นส่วนๆ แล้ว ความ เป็นคน สัตว์ สิ่งของก็ไม่มี สิ่งที่ป็ดบังไตรลักษณ์ ๑. สันตติ คือความสืบต่อเนื่องกันไปโตยไม่ขาดสาย เมื่อสิ่ง หนื่งหมดไปก็มีสิ่งใหม่เกิดขึ้นมาแทน ปีดบังอนิจจง ๒. บริหาร คือการเคลื่อนไหวอิริยาบถหรือการบริหารร่างกาย ปีดบังทุกข์ ๓.'มนสัญญา คือการกำหนดร่างกายว่าเป็นตัวตน เป็นก้อน เป็นต้น ปีดบังอนิดตา ข้อควรจำ นิพพิทา หมายเอาความหน่ายไนทุกข์ที่เกิดขึ้นต้วยการไข้ โยนิโสมนสิการ พิจารณาเห็นโลกอยางแท้จริงไม่ติดอยู่ไนกิเลสกาม่ และวัตถุกามเป็นกิริยาที่เป็นไปเพื่อพ้นทุกข์ เรืยกว่า นิพพิทา ถา หน่ายจ่ากสิ่งหนื่งแล้วไปติดอยู่ไนอีกสิ่งหนื่งอย่าง่นี้ไม่เรียกว่า นิพพิทา แต่เรียกว่า ถีนะ ท้อแท้ ความหน่ายไนทุกข์ร่งเกิดด้วยบัญญา เรียกว่า นิพพิทาญาณ ซึ่งจัดเป็นปฏิปทาแห่งวิสุทธิ ๒c;<M

www.kalyanamitra.org ปัญหาและเฉลยบทที่ ๑ ๑. คำว่า \"โลก\"ในบาลีว่า \"เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ\" หมายถึงข้อใด ? ก. แผ่นดินและหมูสิตว่ ข. แผ่นดินและจักรวาล ค. แผ่นดิน นํ้า อากาศ ง. หมู่มนุษยและสัตว์ ๒. คำ ว่า \"จงมาดูโลฺกนี้\" พระองคตรัสไว้เพื่อพระประสงค์ใด? ก. เพื่อให้เพลีดเพลีน ข. เพื่อมิให้หลงชม ค. เพื่อให้สลดใจ ง. เพื่อให้เห็นโลก ๓. ทำ อย่างไร จึงจะไม่ถูกเรีย่กว่า \"พวกคนเขลา\"? ก. ต้องรู้ทันโลก ข. ต้องรู้โลกตามเป็นจริง ค. ต้องรู้โลกธรรม ง. ต้องรู้คดีโลกคดีธรรม k คำ ว่า \"พวกคนเขลา\" หมายถึงบุคคลในข้อใด? ก. คนอันธพาล ข. คนสมองไม่ดี ค. ค์นเลียสดิ ง. คนผู้ไร้วิจารณญาณ ๔. คำ ว่า \"พวกผ้ร้\" หมายถึงใคร ? ก. ผู้รู้โลกธรรม ข. ผู้รู้โลกตามเป็นจริง. ค. ผู้รู้คำ ของความงาม ง. ผู้รู้ทันเหตุการณ์ ๖. คำ ว่า \"หาข้องอย่ไม่\" มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก.ไม่พัวพันในสิ่งล่อใจ ข.ไม่เกี่ยวข้องกับใคร ๆ ค. ไม่ให้ความสนใจโลก ง. ไม่ปรารถนาเกิดในโลก ๗. นักศึกษาควรมองโลก โดยเปรียบเทียบกับอะไร ? ก. ยาพิษ ข. ของมีนเมา ค. อาหารและยา ง. ถูกทุกข้อ ๘.ในเรื่องนิพพิทา อาการเชนไร เรียกว่า สำ รวมจิต ? ก. ปีดใจไม่รีบอารมณ์ ข. ปีดตาหูไม่ดูไม่พัง ค. มนสิการกุมมฏฐาน ง. ทำ ใจมิให้ขัดเคือง ๒C?๙

www.kalyanamitra.org ๙. กิเลสกาม คือเจตสิกอนเศร้าห^อง ได้ร่อว่า มาร เพราะเหตุไร? ก. เพราะเป็นเครื่องผูกใจ ข. เพราะเป็นคุณเศร้าหมอง ค. เพราะล่อใจให้หลงระเริง ง. เพราะล้างผลาญคุณความดี ๑๐. วัตถุกามเป็นอารมณ์เครื่องผูกใจให้ติดอยู่ เรียกว่าอะไร? ก. ขันธมาร ข. บ่วงมาร ค. มาร ง. มัจจุมาร ๑๑.โดยศรง ท่านจัดอะไรเป็นมาร? ก. กิเลสกาม. ข. วัดถุกาม ค. กามกิเลส ง. กามตัณหา ๑๒. คนเช่นไร ควรสงเคราะห์เข้าในคำว่า \"มาร\"? ก. คนเป็นศัตรูกิน ข. คนขัดขวางการท่าดี ค. คนอันธพาล ง. คนโกหกหลอกลวง ๑๓.โทษล้างผลาญคุณความดีและท่าให้เสียคน เรียกว่าอะไร? ก. มาร ข. บ่วงมาร ค. เสนามาร ง. มัจจุมาร ๑๔. คำ ว่า บ่วงแห่งมาร หมายถึงข้อใด ? ก. กิเลสกาม ข. วัดถุกาม ค.กามฉันห์ . ง.กามตัณหา ๑๔. ทำ อย่างไร จึงจะพ้นจากบ่วงแห่งมาร ? ก. สำ รวมอินทรีย ข. มนสิการอัมมัฏฐาน ค. เจริญวิปัสสนา ง. ถูกทุกข้อ ๑๖. ข้อใด มึใช่อาการสำรวมจิตตามหลกของนิพพิทา ? ก. สำ รวมอินทรีย์ ๖ ข. พิจารณฺาปัจจัย ๔ ค. มนสิการอัมมัฏฐาน ง. เจริญวิปัสสนา .๒๙๐

www.kalyanamitra.org ๑๗. ปฏิป๋ติอย่างไรจึง่จะตัดบ่วงแห่งมารได้ เป็นสมุจเฉทปหาน? ก. สำ รวมอินทรีย ข. มนสิการกัมมัฏฐาน ค. เจรีญวิป๋สสนา ง. เข้าฌานสมาบติ ๑๘. การเห็นสังขารทั้งปวงเป็นทุกข้แล้วเบื่อหน่าย เรียกว่าอะไร? ก. วิราคะ ~. ข. นิพพิทา ค. วิมุตติ ง. นิพพาน ๑๙. นิพพิทานั้นเกิดขึ้นด้วยอะไรจึงเป็น่นิพพิทาญาณ? ก. เกิดด้วยมัญัญา ข. เกิดด้วยฌาน ค. เกิดด้วยวิสุทธิ ง. เกิดด้วยสมาธิ ๒๐. คำ ว่า \"สังขาร\" ในปฏิปทาแห่งนิพพิทา หมายถึงอะไร? ก. สภาพที่ปรุงแต่งจึด ข. ป๋ฌจขันธิ ค. อินทรีย ง. อายตนะ ๒๑. ความเบื่อหน่ายเกิดจากปัญญานั้น ได้แก่เบื่อหน่ายอะไร? ก. เบื่อหน่ายทั้วไป ข. เบื่อหน่ายสังขาร ค. เบื่อหน่ายมัญจขันธ ง: เบื่อหน่ายภพชาติ ๒๒. เมื่อจิตเบื่อหน่าย ย่อมเกิดอะไรขึ้น? ก. ความไม่พิงซ่าน . ข. ความไม่หลง ค. ความสิ้นกิเลส ง. ความสิ้นกำหนัด ๒๓. เบื่อหน่ายอะไร จัดเป็นนิพพิท่า ? ก. เบื่อหน่ายสังขาร ข. เบื่อฺหน่ายการงาน ค. เบื่อหน่ายการเรียน ง. เบื่อหน่ายสังคม ๒๔. คนและสัตว์ จัดเป็นสังขารประเภทไต ? ก. วิสังขาร ข. ปุญญาภิสังขาร ค. อุปาทิน่นกสังขาร ง. อนปาทินนกสังขาร ๒๙๑

www.kalyanamitra.org ๒๔. การพิจารณาสังขารในขอใด ไมใช่ปฏิปทาแห่งนิพพิทา ? ก. ไม่เที่ยง ข. เป็นทุกข r ค. ไม่แย้งอดตา ง. ไม่อยูในอำนาจ ๒๖. ข้อใด ไม่จัดเป็นสังขารในเรื่องนิพพิทา ? ก. อารมณ์ ข. นิพพาน ค. ร่างกาย ง. วิญญาณ ๒๗. เผื่อรู้ว่า \"สังขารเป็นไปตามเหตุป๋จจัย\" พึงปฏิบ้ติอย่างไร? ก. มสุขทุกเผื่อ ข. มีอคติทุกเผื่อ ค. มีสติทุกเผื่อ ง. วางเฉยทุกเผื่อ ๒๘. ข้อใดช่วยบรรเทาความเศร้าโศกเสียใจได้ ? ก. ตั้งสติปล่อยวาง ข. ร้องไห้ดัง ๆ ค. ไปเที่ยวพิกผ่อน ง. พึงพระเทศนิ ๒๙. ข้อใด เป็นสมมติสัจจะ ? ข. สังขารเป็นทุกข้ ก. สังขารไม่เที่ยง ค. ธรรมเป็นอนัตตา ง. มารดาบิดา ๓๐. ความขาดแห่งสันตติ ทำ ให้เห็นอะไร ?• ก. ความไม่เที่ยง ข. ความทุกข์ ค. ความแก่ s ง. ความตาย ๓๑. อนิจจสักษณะ ไม่ปรากฏในข้อใด ? ก. ร่างกาย ข. จิตใจ ค. ด้นไม้ ง. นิพพาน ๓๒. อนิจจตา มีสักษณะเช่นไร ? . - ก. เกิดแล้วเสื่อมไป ข. ทนอย่ไม่ได้ ค. ไม่อยูในอำนาจ ง. หาเจ้าของมีได้ ๓๓. ความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปแห่งสังขาร เป็นลักษณะแห่งอะไร? ก. อนิจจสักษณะ ข่. ทุกขสักษณะ ค. อนัดดสักษณะ ง. สปปุริสสักษณะ ๒6^

www.kalyanamitra.org ๓๔. ข้อใด เป็นความหมายของทุกขฺ ? ก. สภาพที่เบียดเบียนสัตว ข. สภาพอันป๋จจัยปรุงแต่ง ค. สภาพไม่มีความยั่งยืนง. ถูกทุกข้อ ๓๔. ความหนาว ร้อน หิว กระหาย จัดเป็นทุกข์ข้อใดฺ ? ก. สภาวทุกข์ ข. นิพทธทุกข์ _ ค. วิปากทุกข์ ง. พยาธิทุกข์' ๓๖. อวัยวะไม่ทำหน้าที่ตามปกติจนเกิดความทุกข์ เป็นทุกข์ข้อใด? ก. สภาวทุกข์ ข. นิพัทธทุกข์ ค. วิปากทุกข์ ง. พยาธิทุกข์ ๓๗. \"พูดโดยไม่ติด พ่นพิษใส่คนอื่น\" จัดเป็นทุกข์ข้อใด ?■ ก. สหคดทุกข์ ข. วิวาทมูลกทุกข์ ค. พยาธิทุกข์ ง. นิพัทธทุกข์ ๓๘.วิปากทุกข์ หมายถึงทุกข์ข้อใด ? ก. ทุกข์เพราะเสวยผลกรรม ข. ทุกข์เพราะวิวาทกัน ค. ทุกข์เพราะเศรษฐกิจ ง. ทุกข์เพราะเจ็บป่วย ๓๙. สันดาปทุกข์ ทุกข์เพราะใจร้อนรน เกิดจากอะไร? ก. อารมณเครียด ข. ความผิดหวัง ค. ราคะเป็นต้นแผดเผา ง. วิตกจรีตแผดเผา ๔๐. ข้อใด เป็นสภาวทุกข์? ก. เกิด แก่ เจ็บ ตาย ข. ร้อน หิว กระหาย ค. โรค กัย ไข้หวัด ง. ยากจน อดอยาก ๔๑. ทุกข์ทั้งหมดรวมเรียกว่า ทุกขขันธ์ เกิดขึ้นเพราะสาเหตุใด? ก. ขาดสติ ข. ขาดป๋'ญญา ค. ความยืดมั่น > ง. ความเห็นแก่ตัว ๒๙๓

www.kalyanamitra.org ๔๒. ทุกขเพราะหาเงินไม่พอH จัด่เป็นทุกขอะไร? ก. สภาวทุกข์ ข. นิพทธทุกข์ ค. วิปากทุกข์ ง. อาหารปริเยฏเทุกข์ ๔๓. ทุกข์ไปด้วยกัน หรือทุกข์กากั่บกัน อนได้ร่อว่าสหคตทุกข์ตรงกับ ข้อใด ? ก. ขันธ ๕ ข. อายต^เะ ๑๒ ค.อคติ๔ ง.โลกธรรม๘ ๔๔.ปกิณณกทุกข์ได้แกข้อใด? - ก. เศร้าโศกเสืยใจ ข. หนาวร้อน ค. เจ็บไข้ได้ป่วย ง. หิวกระหาย ๔๔. มองไม่เหินทุกข์ เพราะมีอะไรปิดบังไว้? ก. สันดติ ข. อิริยาบถ ค. ฆนสัญญา . ง. สุขเวทนา ๔๖.ความไม่อยู่ในอำนาจจัดเป็นอาการของอะไร ? ก. อนิจจตา ข. ทุกขต่า ค. อนัดดดา ง. สามัญญดา ๔๗. คำ ว่า \"อนัตตา\" กล่าวหมายเอาข้อใด ? . ก. ธรรมทั้งปวง ข. สังขารทั้งปวง ค: เวทนาทั้งปวง ง. ทุกข์ทั้งปวง ๔๘. เหินว่า \"นนมึใช่เรา นั่นมีใช่ของเรา\" จัด่เป็นอนัดดาในข้อใด ? ก. ไม่อยู่ในอำนาจ ข. แย้งต่ออัดดา ค. หาเจ้าของมิได้ ง. เป็นสภาพสูญ ๔๙. เพราะถูกอฺะไรปิดบังไว้ จึงไม่เหินสังขารเป็นอนัดดา ? ก. อิริยาบถ ' ข. สันดติ ค. อนิจจสัญญา ง. ฆนสัญญา ๒๙(ร:

www.kalyanamitra.org ๑. ก ๒. ข เฉลย ๔. ง ๔. ข ๖. ก ๗. ง ๙. ง ๑๐.ข ๑๑. ก ๑๒. ข ๓. ข ๑๔. ข ๑๔. ง ๑๖. ข ๑๗. ค ๘. ค ๑๙. ก ๒๐. ข ๒๑. ด ๒๒. ง ๑๓. ก ๒๔. ค ๒๔. ค ๒๖. ข ๒๗. ค ๑๘. ข ๒๙. ง ๓๐. ก ๓๑. ง. ๓๒. ก ๒๓. ก ๓๔. ง ๓๔. ข ๓๖. ง ๓๗. ข ๒๘. ก ๓๙. ค ๔๐. ก ๔๑. ค 0แ๒. ง ๔๔. ก ๔๔. ข ๔๖. ค ๔๗. ก ๓60. 0 ๔๙. ง ๓๘. ก ๔๓. ง ๔๘. ค ๒๙ร:

www.kalyanamitra.org บทที่ ๒ วิราคะ วิมุตติ วิสุทธิ สนติ นิพพาน ๒. วิราคะ ความสินกำหนัด ๑. นิพฺพินุทํ วิรชฺชติ. เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมสิ้นกำหนัด. ๒. วิราโค เสฏฺโ^ ธมุมานํ. วิราคะเป็นสิ่งประเสริฐ แห่งธรรมทั้งหลาย. ๓. สุขา วิราคตา โลเก กามานํ สมติฤกโม. วิราคะ คือความก้าวล่วงเสียด้วยดีซฺงกามทั้งหลาย เป็นสุขในโลก. ไวพจน์แห่งวิราคะ ในบาลีอัคคัปปสาทสูตร จตุกกนิบาต องคุตต่รนิกาย แสตง วิราคะว่า เป็นยอตแห่งธรรมทั้งปวง ทั้งที่เป็นสี'งขตธรรม คือธรรมที่ ป๋จจัยปรุงแต่ง และอสี'งขตธรรม คือธรรมที่ปั'จจัยไม่ปรุงแต่ง แลวแจก เป็นไวพจน์ คือคำสำหรับใช้เรียกแทนกันแห่งวิราคะ มี ๘ คำ คือ .๒6^๖

www.kalyanamitra.org ๑. มทนิมมทโน ธรรมยังความเมาให้สร่าง ๒. ปิปาสวินโย ความนำเสียซี่งความระหาย ๓. อาลยสมุคฆาโต ความถอนขึ้นด้วยดีซึ่งอาลัย ๔. วัฏฏยัจเฉโท ความเข้าไปตัดเสียซึ่งวัฏฏะ ๔. ตัณหหักกขขโโย ความสิ้นแห่งตัณหา ๖. วิราโค ความสิ้นกำห'แด ๗. นัํโรโธฮ ความตับ ๘. นิัพพพาานนัังง ธรรมชาติหาเครื่องเสียบแทงมิได้ วิราคะ ได้แก่ ความสิ้นกำหนัดปราศจากเสน่หา ฟอกจิตจาก นํ้าย้อม คือกิเลสกาม

www.kalyanamitra.org อธิบายไวพจนแห่งวิราคะ ๑/ มฑนิมมทโน ได้แก่ ธรรมอันยังความเมาให้สร่าง คำ วา ความเมา ห้มายเอาความเมาในอารมณ์ อันยั่วยวนให้เกิดความเมา มี ๑๑ ประการ คือ ๓.อิสริยะ ๑.สมป๋ติแห่งชาติ ๒. สกุล ๔. บริวาร ๔. ลาภ ๖. ยศ ๗. สรรเสริญ ๘. ศ'^ ๘- เยาว์วัย ๑๐. ความไม่มีโรค ๑๑. ชีวิต ๒. ปีปาสวินโย ได้แก่ ความนำออกเสิยชีงความกระหาย หมายเอาความกระวนกระวายเพราะความอยาก เปรียบด้วยอาการ กระหายนํ้า ๓. อาลยสมคฆาโต ได้แก่ ความถอนเสีย คือระงับเสียซึ่ง ความก่ระวนกระว่ายนนับเป็นวิราคะด้วย คำ ว่า อาลัย หมายเอาความ ติดพน ความห่วงใยในปิยารมณ์ การถอนขึ้นด้วยคีซึ่งอาลัยนน พราก จิตออกเสียจากปียารมณ์นน ก็นับเป็นวิราคะด้วย ๔. วัฏฏป๋จเนโท ได้แก่ กำ รเข้าไปฅดเสียซึ่งวัฏฏะ เฉพาะคำ ว่า วัฏฏะ ห่านหมายเอาความเวียนว่ายดายเกิด เวียนอันไปไม่รู้จักจบ สิ้น มี ๓ อย่าง คือ ๑. กิเลสวัฏฏะ วนคือกิเลส ๒. อัมมวัฏฏะ วนคือกรรม ๓.วิปากวัฏฏะ วนคือวิบาก กิเลสย่อมเป็นปัจจัยให้กระทำกรรม กรรมย่อมอำนวยวิบาก ดีหรีอชั่ว เสวยวิบากเข้า กิเลสย่อมเกิดขึ้นอีก เวียนอันไปจนกว่า อริยมรรคจะตัดให้ขาดลง วัฏฏะนั้นจึงชื่อว่าขาดสาย ความเข้าไปตัด เสียซึ่งวัฏฏะอย่างนี้นับเป็นวิราคะด้วย ๒๙07

www.kalyanamitra.org ๔. ตณหกฃโย ได้แก่ ความปราศจากตัณหา คือความทะยาน อยาก ร่งมีลักษณะ ๓ อย่า คือ ๑. กามตัณหา ความอยากในกามารมณ์ ๒. ภวตัณหา ความอย่ากในภพ ๓. วิภวตัณฺหา ความอยากเพื่อพ้นจากภพ เรื่องของตัณหาที่กล่าวมานี้ ท่านอาจารย์บางพวกอธิบายกัน ไว้หลายนัยต่างๆกัน ในขุททกวัตถุวิภังค์แห่งวิภังค์ปกรณ์แก้ไว้ว่า ภวตัณหา ได้แก่ ราคะที่สหฺรคตด้วยภวทิฏฐ วิภวตัณหา ได้แก่ ราคะ ที่สหรคตด้วย อุจเฉททิฏเ ๖. วิราคะ ได้แก่ ความลิ้นกำหนัดปราศจากเสน่หา ฟอกจิตให้ หมดจดจากนํ้าย้อม คือกิเลส • ๗. นัโรธ ได้แก่ ความตับ อันเป็นกิริยาสามัญ หมายเอาตับ แห่งธรรมมีเหตุเป็นแดนเกิด ได้ในคำเหล่านี้ว่า ๑. เดสฌจ โย นิโรโธ จ. พระตถาคต ตรัสความตับแห่งธรรมเหล่านั้นด้วย , ๒. ยงฺกิญจิ สมุทยธมฺมํ สพุพนดํ นิโรธธมมํ. สิ่งใดมีความเกิดขึ้นเป็นธ์รรมดา สิ่งนั้นทั้งปวงมี ความตับเป็นธรรมดา ๓. เอวเมดสุส เกวลสฺส ทุกขฤขนธสฺส นิโรโธ โหติ. ความตับแห่งกองทุกข์ลิ้นเธิงนั้นย่อมมีด้วยอย่างนี้ ๘. นิพพาน ได้แก่ธรรมชาติหาเครื่องเสียดแทงมิได้ ในที่นี้ ห่านนับเป็นอย่างเดียวกันกับวิราคะ วิราคะจัดเป็นอริยมรรคและอริยผล ๑. วิราคะที่มาในลำตับแห่งนิพพิทา จัดเป็นอริยมรรค เชนใน ๒๙๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook