Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563)

สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563)

Published by MBU SLC LIBRARY, 2020-12-14 07:59:17

Description: 16805-5464-PB

Search

Read the Text Version

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 93 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 เมือ่ มองในภาพรวมระดับความพงึ พอใจของผใู ชบ ณั ฑติ ของนกั ศึกษาประกาศนยี บัตรวชิ าชีพครปู ระจำป การศึกษา 2561 กอนทนี่ ักศกึ ษาจะเขาศกึ ษามีความพงึ พอใจในระดบั มาก และหลังสำเรจ็ การศึกษาซง่ึ สอดคลอ งกับชนมน ภิ า วรกวนิ (2560) ผูใชบ ณั ฑิตมีความพึงพอใจเพ่ิมขึน้ ในระดบั มากท่สี ดุ สอดคลองกับผลการวิจยั ของสงวนพงศ ชวนชม และชวลิต เกตกุ ระทมุ (2559) ทำใหส ถานศึกษาไดเ รยี นรูวา ไดม าในทางท่ถี กู ตองแลวในการท่ีจะจัดการเรียนการสอนตอบสนองบุคลากร สายวชิ าชีพครูใหเปน ครูโดยสมบูรณเ ปนครทู ่มี คี ณุ ภาพเปน ครมู ืออาชพี 6. ขอเสนอแนะ 6.1 ขอ เสนอแนะในการนำผลการวจิ ัยไปใช สถาบนั ที่เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพครู ควรนำผลการวิจัยไปใชเ พือ่ ปรับปรงุ และพฒั นา หลกั สตู รเพ่ือตอบสนองความตองการของผูใชบณั ฑติ 6.2 ขอ เสนอแนะในการวิจยั ครั้งตอ ไป 6.2.1 ควรขยายขอบเขตการวจิ ยั ในสวนพืน้ ท่ใี หกวางกวา ทีเ่ ปน อยู 6.2.2 ควรศึกษาเร่ืองความคาดหวงั ของผใู ชบ ัณฑิตถึงสงิ่ ทตี่ องการใหเกดิ ข้ึน หรือส่ิงทต่ี อ งการใหเ กิดการ พฒั นาโดยรบี ดว นของนกั ศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพครู 6.2.3 ควรศึกษาใหล ุมลึกถงึ องคป ระกอบและตวั บง ชที้ เี่ ปน จรงิ ในความตอ งการของผูใชบณั ฑติ 7. รายการอา งองิ ภาษาไทย ชนมน ภิ า วรกวิน. (2560). การประเมนิ หลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วชิ าชพี ครู มหาวิทยาลยั ราชพฤกษ. วารสารมนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ราชพฤกษ, 3(2), 80-89. บุญชม ศรสี ะอาด. (2546). การวจิ ยั เบ้อื งตน . (พิมพค รัง้ ท่ี 7 ฉบับปรับปรงุ ใหมเพ่ิมเตมิ ). กรุงเทพฯ: สวุ ีริยาสาสน. สงวนพงศ ชวนชม และ ชวลิต เกตุกระทุม. (2560). การประเมนิ หลักสตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑิตทางการสอน (หลักสตู ร ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2556) คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยั วงษช วลิตกลุ . การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลยั นครราชสมี า ครั้งที่ 4 ประจำป 2560. (น. 176-182). นครราชสมี า, ประเทศไทย. สำนักงานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา. (2562). คุรุสภารบั รองหลกั สตู รป.บณั ฑติ วชิ าชพี ครู 2561 จำนวน 58 แหง 59 หลกั สูตร. สืบคนจาก http://www.ksp.or.th/ksp2018/2019/01/1349/

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 94 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 การพฒั นาชุดกจิ กรรมการเรยี นรูตามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ บบวฏั จกั รการเรียนรู 5 ข้นั (5E) รายวชิ าสุขศึกษา เรอื่ ง การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของวัยรุน กลุมสาระการเรียนรู สุขศกึ ษาและพลศึกษา สำหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 Development of a Set of Learning Activities based on the 5-step Learning Cycle Process (5E) of Health Education Entitled the Growth and Adolescent Development for Health and Physical Education Learning Essence Group for Grade 7 Students วา ทีร่ อยตรธี งชยั หวลถงึ * ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดโพธิ์ สังกัดกองการศึกษาเทศบาลตำบลบางคลา กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย* Acting sub Lt. Thongchai Huanthung* Professional Level Teacher of Tedsaban 2 Watpho school Under the Division of Education of Bangkla District Municipality Department of Local Administration Ministry of Interior* Corresponding author E-mail: [email protected] (Received: January 1, 2020; Revised: April 6, 2020; Accepted: May 2, 2020) บทคัดยอ การศกึ ษาครั้งน้ีมีวตั ถปุ ระสงค 1) เพอื่ สรา งและหาประสิทธภิ าพของชุดกจิ กรรมการเรียนรตู ามกระบวนการสบื เสาะ หาความรแู บบวฏั จักรการเรยี นรู 5 ข้ัน (5E) รายวิชาสุขศกึ ษา เรือ่ ง การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของวัยรุน กลมุ สาระ การเรยี นรูสุขศกึ ษาและพลศึกษา สำหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 1 ใหม ีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ 80/80 2) เพือ่ เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียนกอนเรียนและหลงั เรยี น และ 3) เพื่อศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียน ทมี่ ีตอการจัดการเรียนรโู ดยใชช ุดกจิ กรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู บบวัฏจักรการเรยี นรู 5 ขัน้ (5E) กลมุ ตัวอยา งท่ีใชใ นการศึกษาครัง้ นี้เปน นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 1/1 ของโรงเรียนเทศบาล ๒ วัดโพธิ์ สังกดั เทศบาลตำบล บางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ท่ีกำลงั ศกึ ษาในภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา 2562 จำนวน 30 คน โดยการสุมอยางงา ย เคร่อื งมือ ทีใ่ ชในการศกึ ษา ไดแก 1) ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู บบวฏั จกั รการเรียนรู 5 ขน้ั (5E) จำนวน 6 ชดุ 2) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน เร่อื ง การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของวยั รุน จำนวน 30 ขอ และ 3) แบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี นทม่ี ีตอการจัดกิจกรรมการเรยี นรู จำนวน 10 ขอ แบบแผนการทดลองเปน แบบ One Group Pretest-Posttest Design วเิ คราะหขอมลู โดยใชค า สถติ ิ คอื คา เฉลีย่ (X̅) สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และ สถติ ิทดสอบทแี บบไมอ สิ ระตอกัน (T-test for Dependent Samples) ผลการวิจัยพบวา 1) ชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแบบวฏั จกั รการเรยี นรู 5 ขั้น (5E) รายวิชาสุขศกึ ษา เรอ่ื ง การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของวยั รุน กลุม สาระการเรียนรสู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา สำหรับนกั เรยี น ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 1 มีประสิทธภิ าพตามเกณฑม าตรฐาน 80/80 โดยมปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ 82.19/81.77 ซง่ึ สงู กวา เกณฑ 80/80 ทต่ี ้งั ไว 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาสุขศึกษาของนักเรียนหลังเรียนโดยใชชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูตามกระบวนการ สืบเสาะหาความรแู บบวฏั จักรการเรียนรู 5 ขั้น (5E) สูงกวากอ นเรยี นอยางมนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 และ 3) ความ

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 95 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 พึงพอใจของนกั เรยี นทีม่ ีตอการจัดกจิ กรรมการเรียนรโู ดยใชช ุดกจิ กรรมการเรยี นรูตามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแบบ วฏั จักรการเรยี นรู 5 ขนั้ (5E) โดยภาพรวมอยูในระดบั มากที่สดุ (X̅ = 4.87, S.D. = 0.31) คำสำคัญ: วัฏจกั รการสบื เสาะหาความรู 5 ขั้น (5E), การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวัยรนุ Abstract The objectives of this study were : 1) to generate and find out the efficiency of the set of learning activities based on the 5-step learning cycle process (5E) of Health Education course entitled Growth and Adolescent Development of Health and Physical Education Learning Essence group for the 7th grade students in order to enhance its efficiency following the 80/80 criteria; 2) to compare students’ learning achievement before and after learning by this set and 3) to survey students’ satisfaction towards learning management using this set. The participants were thirty 7th grade at Tedsaban 2 Watpho School at Bangkla District Municipality, Chachoengsao Province, in the first semester of Academic Year 2019. The participants were chosen by simple random sampling. Research instruments consisted of 1) six sets of learning activities based on the 5-step learning cycle process (5E); 2) the 30-item achievement test about Growth and Adolescent Development; and 3) the 10-item students’ satisfaction test towards learning management. This study used pretest-posttest design. The statistics used were mean (X̅), Standard Deviation (S.D.), and t-test for dependent samples. The results showed that 1) the sets of learning activities based on the 5-step learning cycle process (5E) of Health Education entitled Growth and Adolescent Development of Health and Physical Education Learning Essence Group for the 7th grade students had efficiency level at 82.19/81.77 which was higher than the criteria (80/80); 2) students’ learning achievement after learning by using the learning set-based activity on the 5-step learning cycle process (5E) was higher than those of before learning with statistical significance at .05; and 3) the overall result of students’ satisfaction towards learning management using the learning set-based activity on the 5-step learning cycle process (5E) was at the highest level (X̅ = 4.87, S.D.= 0.31). Keywords: 5-step Learning Cycle Process (5E), Development of Adolescent 1. ความเปน มาและความสำคัญของปญ หา “...การศกึ ษาเปนปจ จัยในการสรางและพฒั นาความรู ความคดิ ความประพฤติและคณุ ธรรมของบุคคล สงั คม และบา นเมอื งใดใหก ารศึกษาทด่ี ีแกเยาวชนไดอยางครบถว นพอเหมาะกันทุกๆ ดาน สังคมและบา นเมอื งนน้ั จะมีพลเมืองที่มี คุณภาพ สามารถธำรงรักษาความเจรญิ มง่ั คงของประเทศชาตไิ วแ ละพัฒนาใหก า วหนาตอ ไปไดตลอด...” พระบรมราโชวาท พระราชทานแกคณะครแู ละนกั เรยี น ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั เมือ่ วนั ท่ี 28 กรกฎาคม พุทธศกั ราช 2504 (อางถงึ ใน ทศิ นา แขมมณ,ี 2552) จากพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช พระองคทรงชใ้ี หเห็นวาการศกึ ษา เปน เคร่ืองมือสำคญั ในการสรา งคน สรา งสังคม และสรา งชาติ เปนกลไกหลกั ในการพฒั นากำลังคนใหม ีคุณภาพ สามารถ ดำรงชีวิตอยรู ว มกับบคุ คลอนื่ ในสงั คมไดอ ยางมีความสขุ ในกระแสการเปลย่ี นแปลงอยางรวดเร็วของโลกศตวรรษที่ 21

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 96 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 เนอื่ งจากการศกึ ษามบี ทบาทสำคญั ในการสรา งความไดเ ปรยี บของประเทศเพือ่ การแขง ขันและยืนหยดั ในเวทีโลกภายใตระบบ เศรษฐกิจและสงั คมท่เี ปนพลวตั ประเทศตา งๆ ทว่ั โลกจงึ ใหค วามสำคัญและทมุ เทกบั การพัฒนาการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทรพั ยากร มนษุ ย ของตนใหส ามารถกาวทนั การเปลยี่ นแปลงของระบบเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ ภูมิภาค และของโลก ควบคูก บั การธำรงรักษาอตั ลักษณข องประเทศ ในสวนของประเทศไทยไดใ หค วามสำคญั กับการศึกษา การพฒั นาศกั ยภาพและขีด ความสามารถของคนไทยใหมีทักษะ ความรูความสามารถ และสมรรถนะทส่ี อดคลอ งกบั ความตองการของตลาดแรงงานและ การพัฒนาประเทศ ภายใตแรงกดดันภายนอกจากกระแสโลกาภวิ ัฒน และแรงกดดนั ภายในประเทศ ท่ีเปนปญหาวิกฤติ ทปี่ ระเทศตองเผชิญ เพ่ือใหค นไทยมคี ุณภาพชีวิตท่ดี ี สังคมไทยเปน สงั คมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และประเทศสามารถกา วขาม กับดักประเทศทีม่ รี ายไดปานกลางไปสูประเทศท่ีพัฒนาแลว รองรบั การเปลย่ี นแปลงของโลกทง้ั ในปจ จบุ ันและอนาคต (สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560) โดยยดึ หลักการใหท กุ ภาคสวนของสงั คมเขา มามสี วนรว มในการกำหนดและ ตดั สินใจในกจิ กรรมสาธารณะทเ่ี กย่ี วขอ งกับตนเองและชมุ ชนทอ งถนิ่ การสนับสนุนใหส ังคมทกุ สว นและทกุ ระดบั ไดรบั การ พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ และการสรางสภาพแวดลอ มใหเ อ้อื ตอ ความสำเร็จ ในการปฏิบตั ิเชน นจี้ ะทำใหเ กดิ พลังชมุ ชนทอ งถิ่น ท่เี ขม แขง็ อันจะเปนรากฐานทม่ี น่ั คงในการพฒั นาประเทศอยา งมเี สถียรภาพและยง่ั ยืนตลอดไป (สำนกั งานเลขาธกิ ารสภา การศกึ ษา, 2553) การท่ีประเทศชาติจะพัฒนาไดอ ยา งยัง่ ยนื นัน้ การจัดการศกึ ษาเปน ปจ จัยที่สำคญั อยา งย่ิงซึ่งพระราชบญั ญัติ การศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ ขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 แนวการจดั การศึกษา มาตรา 22 ได กำหนดแนวทางการจัดการศกึ ษาวา “ตอ งยึดหลกั วา ผเู รียนทุกคนมคี วามสามารถเรยี นรูและพฒั นาตนเองได และถือวา ผเู รียน มคี วามสำคญั ทสี่ ุด กระบวนการจดั การศกึ ษา ตอ งสงเสรมิ ใหผ เู รยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและตามศักยภาพ” มาตรา 24 กระบวนการเรยี นรูตองจดั เนอื้ หาสาระและกจิ กรรมใหส อดคลองกบั ความสนใจ และความถนดั ของผูเรยี นโดยคำนึงถึง ความแตกตางระหวางบุคคล ฝก ทกั ษะกระบวนการคิด การจดั การ การเผชญิ สถานการณ และการประยุกตความรูมาใช เพอื่ ปองกันและแกป ญ หา จดั กิจกรรมใหผ เู รยี นไดเรยี นรูจ ากประสบการณจริงฝก การปฏบิ ัตใิ หท ำได คดิ เปน ทำเปน รกั การอาน และเกดิ การใฝร อู ยา งตอ เนอื่ ง ดงั น้นั กระทรวงศึกษาธกิ ารจงึ ไดกำหนดมาตรฐานการศึกษาข้ันพืน้ ฐานไว 4 ดาน โดยมมี าตรฐานดานคณุ ภาพผเู รียนที่สำคัญ คอื มาตรฐานท่ี 4 ผูเ รยี นมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห คดิ สังเคราะห มีวิจารณญาณ มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรางสรรค คดิ ไตรตรอง และมีวสิ ยั ทัศน และมาตรฐานท่ี 6 ผูเ รยี นมีทักษะในการแสวงหา ความรูดวยตนเอง รักการเรยี นรู และพฒั นาตนเองอยางตอเนื่อง ซงึ่ มาตรฐานเหลา นีต้ อ งอาศยั ผสู อนท่ีมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน ที่ 10 คอื ผสู อนมคี วามสามารถในการจัดการเรยี นการสอนอยางมีประสทิ ธิภาพ และเนนผูเรยี นเปน สำคัญ กิจกรรมที่ผสู อน ตองจัดใหผ เู รยี นไดฝ ก ฝน คือ การอาน การคดิ วิเคราะห และการเขยี น เพ่อื ใหผ เู รยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน (กระทรวง ศกึ ษาธิการ, 2552) หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มุง พัฒนาผเู รยี นใหม ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู โดยยดึ หลกั วา ผเู รยี นมคี วามสำคญั ทีส่ ดุ เชื่อวา ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได ยดึ ประโยชนทเ่ี กดิ กบั ผูเรียน กระบวนการจดั การเรยี นรตู อ งสง เสรมิ ใหผ ูเรียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ คำนึงถงึ ความแตกตาง ระหวางบคุ คลและพฒั นาการทางสมอง เนนใหความสำคัญทั้งความรู และคณุ ธรรม (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551) ซง่ึ การจัด การศกึ ษาตามแนวน้ี เปน การจดั ตามแนวคดิ การสรรคส รางความรู (Constructivism) ที่ไดรบั การยอมรับอยางแพรหลายวา มคี วามสอดคลองกับการจัดการเรยี นการสอนแบบผูเรยี นเปน ศนู ยกลาง แนวคิดนีม้ ีความเชือ่ วาความรูเปน สิ่งท่ีมนุษยส รางขึ้น ดวยตนเอง สามารถเปล่ยี นแปลงและพัฒนาใหง อกงามข้ึนไดเ ร่ือยๆ โดยอาศัยการพัฒนาโครงสรา งความรูภายในบคุ คล และ การรับรสู งิ่ ตางๆ รอบตวั ซึง่ เปน การจัดการใหผ เู รยี นสรางความรูใหมโดยผา นกระบวนการคดิ ดว ยตนเอง ทำใหผูเรียนไดเรยี นรู

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 97 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ดว ยการลงมอื ปฏบิ ัติ เกิดความเขา ใจ และสามารถนำความรไู ปบูรณาการใชใ นชวี ติ ประจำวนั และมคี ณุ สมบตั ติ รงกับเปา หมาย ของการจัดการศกึ ษาท่ตี องการใหผ เู รยี นเปน คนเกง คนดี และมคี วามสุขกายและใจ (ชนาธปิ พรกลุ , 2552) กลุม สาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา เปนกลมุ สาระการเรยี นรหู นึ่งใน 8 กลุมสาระตามหลักสูตรการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 และเปนสาระการเรยี นรูทีเ่ สรมิ สรางความเปน มนุษยทสี่ มบรู ณและศักยภาพพนื้ ฐานในการคิด การทำงาน และยังมคี วามสำคญั ยงิ่ ตอ การสง เสริมและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของผูเรียนโดยตรง เพราะครอบคลุมเรอื่ งสขุ ภาพ ท่เี ปน พน้ื ฐานจำเปนตอชวี ิตความเปน อยูของผูเรยี นแตละคน โดยมงุ พัฒนาพฤติกรรมของผูเ รียนท้งั ดา นสาระความรเู กีย่ วกบั สุขภาพทีจ่ ำเปน ทผี่ ูเรยี นตอ งรู ดานการสงเสริมเจตคตแิ ละคานิยมทีด่ ีมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค เชน ความรับผดิ ชอบ การมวี ินัยในตนเอง ความเคารพในสิทธขิ องผูอ ื่นและกฎกตกิ าของสงั คม (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551) การจดั กิจกรรมการเรียนรูในกลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษาของโรงเรียนเทศบาล ๒ วดั โพธ์ิ สังกัดเทศบาลตำบลบางคลา อำเภอบางคลา จงั หวัดฉะเชิงเทรา ซ่งึ เปน โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา พบวา ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 ทกุ ปการศึกษาตำ่ กวาเกณฑทีโ่ รงเรียนกำหนดจะเห็นไดจากปการศกึ ษา 2560 กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา มคี ะแนนเฉลยี่ 74.05 ตำ่ กวา เกณฑทโ่ี รงเรยี นกำหนด คือ รอ ยละ 80 จากการศกึ ษาขอมลู พบวา เนอื้ หาบางเรอ่ื งในรายวิชาสุขศกึ ษาตองจำและทำความเขา ใจการจัดการเรียนการสอนโดยใช การบรรยายเปนสวนใหญ นกั เรียนมคี วามสนใจตอ บทเรยี นสัน้ โดยเฉพาะอยางยง่ิ หลงั จากเรยี นไปได 20 นาที นกั เรยี นจะเรมิ่ คุยกัน ไมส นใจบทเรียนและมักตอบคำถามทา ยชัว่ โมงไมไ ด ซ่งึ สอดคลองกับหลักจติ วทิ ยาลักษณะพฒั นาการทางสตปิ ญ ญา ของเด็กอายรุ ะหวา ง 12-15 ป เด็กวัยนจี้ ะมคี วามสนใจชัว่ ระยะเวลาส้ัน แลว เดก็ จะหันไปสนใจในเร่ืองอ่นื (พรรณี ชทู ยั เจนจิต, 2545) จึงจำเปน ตอ งหาวธิ ที จ่ี ะชวยกระตนุ ใหผ ูเ รยี นเกดิ ความสนใจท่ีจะเรียนเนอ้ื หาดงั กลา ว และแกไ ขปญหาในเรอื่ งความ แตกตา งระหวางบุคคล เพอ่ื ใหผ เู รยี นสามารถเรยี นรูและทำความเขา ใจเนื้อหาดว ยตนเอง จากปญ หาดงั กลา ว ผูศึกษาในฐานะครูผสู อนรายวชิ าสขุ ศึกษา กลมุ สาระการเรียนรูสุขศกึ ษาและพลศึกษา จงึ พยายามหาแนวทางในการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคดิ วิเคราะหของนกั เรียนเพอื่ แกปญ หา ท่ีเกดิ ขน้ึ ดว ยวธิ ีการจดั การเรียนรแู บบใหมทตี่ างไปจากเดิม โดยไดศ กึ ษารูปแบบการจดั การเรยี นรจู ากเอกสารและงานวิจัย ทีเ่ กย่ี วขอ งทป่ี ระสบความสำเร็จ พบวา รูปแบบการจัดการเรยี นรตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู บบวัฏจักรการเรยี นรู 5 ขน้ั (5E) (Inquiry cycle) ของสถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ทย่ี ึดตามแนวทางของนกั การศกึ ษา กลมุ BSCS (Biological Science Curriculum Study) โดยเสนอขนั้ ตอนในการเรยี นการสอนเปน 5 ข้นั ตอน คือ ขนั้ สรา ง ความสนใจ (Engagement) ขน้ั สำรวจและคน หา (Exploration) ขั้นอธบิ ายและลงขอสรปุ (Explanation) ขนั้ ขยายความรู (Elaboration) และขั้นประเมิน (Evaluation) (สมบตั ิ กาญจนารักพงศ, 2549) โดยในแตล ะข้นั ตอนจะเปดโอกาสใหนักเรียน สะทอ นความเขา ใจและสง เสริมใหน ักเรียนเกดิ การคดิ โดยผานการตอบคำถาม การแสดงความคดิ เห็น มงุ เนน ใหน ักเรียน มีสว นรวมในการทำกจิ กรรม ลงมอื ปฏิบตั ดิ วยตนเอง และนำสิ่งทไ่ี ดเ รียนรไู ปประยุกตใ ชก บั สถานการณอ ่นื ๆ การจดั การเรยี นรแู บบกระบวนการสบื เสาะหาความรู เปน สำคญั ใหน ักเรยี นเปน ศูนยกลางของการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการเรยี นการสอน อยา งแทจ รงิ โดยวธิ ีการใหนกั เรียนศึกษาคน ควาหาความรูดวยตนเอง โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร โดยครทู ำหนาท่ี คลา ยผูชว ยคอยสนับสนุน ชีแ้ นะ ชวยเหลอื ตลอดจนแกป ญ หาท่ีอาจเกิดขนึ้ ระหวา งการเรยี นการสอน และนกั เรยี น ทำหนา ทค่ี ลา ยผูจัดการวางแผนการเรยี น มคี วามกระตือรอื รน ทจ่ี ะศึกษาหาความรโู ดยวิธกี ารเชนเดยี วกับการทำงานของ นกั วิทยาศาสตร (ภพ เลาหไพบลู ย, 2542; กระทรวงศึกษาธิการ, 2545) ซึ่งสอดคลอ งกบั Bruner (1969) ไดก ลา วถึง ประโยชนของรูปแบบนี้วาเปน การเรียนรูท น่ี ักเรียนคน พบดว ยตนเอง ซึ่งจะชว ยเพม่ิ แรงจูงใจภายในมากกวาการเรยี น แบบทอ งจำ ทำใหปญ ญาของนักเรยี นฉลาดย่งิ ข้นึ ทำใหนักเรยี นเปน นักสรางสรรค เปน ผทู ส่ี ามารถจดั ระเบียบสงิ่ ที่พบเหน็ ได

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 98 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 อยางเหมาะสม ฝก ฝนใหเ กดิ เทคนคิ ในการสืบเสาะหาความรดู วยตนเอง และชว ยใหนกั เรยี นสามารถแกปญหาไดอยา งมี ประสิทธภิ าพและการเรียนดวยวธิ ีนีจ้ ะชว ยใหน ักเรียนจดจำความรไู ดดกี วาการเรยี นดว ยวธิ ีอ่ืนสอดคลอ งกับสุคนธ สินธพานนท และคณะ (2545) ท่ไี ดก ลาวถึงประโยชนข องการจดั การเรยี นรูแบบสืบเสาะหาความรวู าเปนการสอนท่ชี ว ยพัฒนากระบวนการ คิดของผเู รยี น โดยการตั้งคำถามท่คี ิดวิเคราะห ใชเ หตผุ ลในการอธิบาย เปน คำถามท่ที ำใหเ กดิ การบรู ณาการความรเู ดมิ กบั ขอ มูลใหม ผเู รียนมีสว นรว มในกจิ กรรมการเรยี นการสอนตลอดเวลา สง เสรมิ ใหผ เู รยี นกลา แสดงออกเปน ผนู ำในการแกป ญ หา ผูเรยี นคนหาคำตอบดว ยตนเองและเกิดความคดิ รเิ รม่ิ สรางสรรคใ นการนำความรปู ระยุกตใ ชใ นสถานการณใ หม ฉะนน้ั กระบวนการสืบเสาะหาความรอู ันจะทำใหน ักเรียนเขาถงึ ความรคู วามจรงิ ไดด วยตนเอง และนักเรียนไดรับการกระตนุ ใหเกดิ การเรยี นรอู ยางมีความสุข การจัดกิจกรรมการเรยี นรทู ้ัง 5 ขั้น ครูเปน เพยี งผทู ำหนา ทคี่ อยชว ยเหลือ เอือ้ เฟอ และแบงปน ประสบการณ จัดสถานการณเรา ใหน ักเรียนไดค ดิ ต้ังคำถามและลงมอื ตรวจสอบ นอกจากน้ีครคู วรจดั กจิ กรรมการเรียนรใู ห เหมาะสมกบั ความรู ความสามารถบนพ้นื ฐานความสนใจ ความถนดั และความแตกตางระหวางบุคคล อนั ทจี่ ะทำใหก ารจดั การเรยี นรบู รรลสุ ูจดุ มงุ หมายของการเรยี นการสอนทีเ่ นนผเู รียนเปน สำคัญ พมิ พนั ธ เดชะคปุ ต และพเยาว ยนิ ดสี ุข (2548) กลา ววา การจดั การเรยี นรูแบบเสาะหาความรูส ามารถพัฒนาศกั ยภาพดานสติปญ ญา นักเรยี นไดพ ัฒนาความคดิ อยางเตม็ ที่ ไดศ ึกษาคนควาดว ยตนเอง จงึ มคี วามอยากรูอ ยูตลอดเวลา นกั เรียนไดม โี อกาสฝกความคดิ และฝกการกระทำ ไดเ รียนรูว ธิ กี าร จดั ระบบความคดิ และวิธเี สาะแสวงหาความรดู วยตนเอง ทำใหความรคู งทนและถายโยงความรูได คอื ทำใหส ามารถจดจำได นานและนำไปใชในสถานการณใหมได นกั เรยี นเปนศนู ยก ลางการจดั การเรยี นรู ทำใหบ รรยากาศในการเรยี นมชี วี ติ ชีวา สามารถเรียนรมู โนทัศนและหลักการทางวทิ ยาศาสตรไ ดเร็วขึน้ อีกทงั้ สงผลใหนกั เรียนมเี จตคติที่ดตี อการเรยี นวิชาสขุ ศกึ ษา ชวยใหน กั เรยี นเกิดความเชื่อมน่ั ไมว า จะทำการส่ิงใดๆ จะสำเรจ็ ดว ยตนเอง สามารถคิดและแกป ญ หาดว ยตนเองไมย อทอ ตออุปสรรค นกั เรียนไดป ระสบการณตรง ฝกทักษะการแกป ญหาและทกั ษะการใชเคร่อื งมือวทิ ยาศาสตรสามารถนำความรู ไปใชใ นชีวิตประจำวันได ชดุ กจิ กรรมเปน อกี แนวทางหนงึ่ ท่จี ะชว ยใหนกั เรยี นไดเ รียนรู เกิดทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร เพราะ ชดุ กิจกรรมทใ่ี ชในการเรยี นการสอนชวยเราความสนใจใหนกั เรียน ทำใหไ ดร ูจ ักการแสวงหาความรดู ว ยตนเองชวยแกปญ หา เรื่องความแตกตา งระหวางบุคคล เพราะชุดกิจกรรมสามารถชวยใหผ เู รยี นไดเ รียนรูตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ สรา งความพรอม และความมนั่ ใจใหแ กค รผู สู อนไดเตม็ ประสิทธภิ าพ (ประเสรฐิ สำเภารอด, 2552) ซงึ่ กฤษมันต วฒั นาณรงค (2554) กลา ววา ชดุ กิจกรรมทำใหก ารสอนแตล ะเนือ้ หามีความคงเสน คงวา (Consistency) เนื่องจากมขี ้ันตอนและ กระบวนการของการเรียนการสอนกำกับอยู ไมขึน้ อยกู ับสภาวะแวดลอมทางการเรยี นทงั้ ของผสู อนและผเู รียน เชน เปนอสิ ระ จากภาวะทางอารมณ บคุ ลกิ ภาพของผูส อนและภาวะขัดขอ งทางความพรอ มของผูเ รียน สามารถจดั เกบ็ เรยี กใช ปรบั ปรงุ แกไขไดงาย เนื่องจากมีการออกแบบไวเ ปนระบบและมสี วนประกอบท่ีแยกสวนไวอยา งเปนระบบเชนกัน เปนการประยุกตใ ช เทคโนโลยรี วมสมยั มาใชก ับการเรยี นการสอน เนอ่ื งจากการพฒั นาและออกแบบชดุ การสอนนัน้ จะสอดคลอ งกบั เทคโนโลยี การจดั เกบ็ ขอมูลและกระบวนการในการสื่อสารของผเู รียนและผสู อน สรางความพรอมและความมนั่ ใจแกผูสอน โดยเฉพาะ ผูสอนท่ีไมคอ ยมเี วลาในการเตรยี มการสอนลว งหนา เปน การแกป ญ หาความแตกตางระหวางบคุ คลและสงเสรมิ การศึกษา รายบคุ คลเน่อื งจากชดุ การสอนสามารถทำใหผเู รยี น เรียนไดตามความสามารถ ความถนดั และความสนใจตามเวลาและโอกาส ทเี่ อื้ออำนวยแกผเู รยี นซึง่ แตกตา งกัน ชวยขจดั ปญหาการขาดแคลนครู ชวยในการศึกษานอกระบบโรงเรยี น เพราะชดุ การสอน สามารถนำไปสอนนักเรยี นไดท กุ สถานท่แี ละทกุ เวลา ดงั รายงานการวจิ ยั ของบวรเทพ สังขแกว (2561) พบวา ชดุ กจิ กรรม การเรยี นรูโดยใชก ระบวนการสบื เสาะหาความรู (5E) รายวชิ าสขุ ศึกษา เรือ่ ง วัยรนุ วัยเสยี่ ง สำหรบั นกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษา ปท่ี 2 กลมุ สาระการเรยี นรสู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา มีประสทิ ธภิ าพ 80.60/80.12 ซึง่ เปน ไปตามเกณฑท ตี่ ัง้ ไว ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนกั เรยี นหลงั เรยี นชดุ กจิ กรรมการเรียนรโู ดยใชกระบวนการสบื เสาะหาความรู (5E) รายวชิ าสุขศกึ ษา

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 99 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 เรอ่ื ง วัยรนุ วัยเสย่ี ง สำหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา สูงกวากอนเรียน อยา งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดับ .01 และความพึงพอใจของนักเรียนทม่ี ตี อชุดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชก ระบวนการสบื เสาะหาความรู (5E) รายวชิ าสขุ ศกึ ษา เรอ่ื ง วยั รุน วัยเสยี่ ง สำหรับนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 2 กลมุ สาระการเรียนรู สขุ ศึกษาและพลศึกษา มคี วามพงึ พอใจโดยรวมอยูใ นระดับมากที่สดุ ดงั นน้ั ผูศึกษาจงึ ไดพ ัฒนาชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ บบวฏั จักรการเรยี นรู 5 ขนั้ (5E) รายวิชา สุขศึกษา เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรนุ เพ่ือใหน กั เรยี นเกดิ การเรยี นรตู ามวตั ถปุ ระสงคห ลังจาก ท่ีไดเ รยี นรู สามารถพัฒนาทกั ษะกระบวนการคดิ และการทำงานทางสมอง เกดิ การเรยี นรอู ยา งมีความสุขสง ผลใหนกั เรยี น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสงู ขึ้น 2. วัตถปุ ระสงคข องการวจิ ัย 2.1 เพอ่ื สรา งและหาประสทิ ธภิ าพของชุดกิจกรรมการเรียนรตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู บบวฏั จกั ร การเรยี นรู 5 ข้นั (5E) รายวิชาสขุ ศึกษา เรอ่ื ง การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของวัยรนุ กลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและ พลศึกษา สำหรับนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 ใหม ีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ 80/80 2.2 เพื่อเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรยี นกอ นเรยี นและหลังเรียนโดยใช ชดุ กิจกรรมการเรียนรู ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู บบวัฏจกั รการเรยี นรู 5 ขั้น (5E) รายวิชาสุขศกึ ษา เรอ่ื ง การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ ของวยั รุน กลุม สาระการเรยี นรสู ุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 1 2.3 เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนทีม่ ีตอ การจัดการเรียนรโู ดยใชชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการ สบื เสาะหาความรแู บบวฏั จกั รการเรยี นรู 5 ขนั้ (5E) รายวชิ าสขุ ศึกษา เร่ือง การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของวัยรุน กลุมสาระการเรียนรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา สำหรับนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 1 3. วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั 3.1 ประชากรและกลมุ ตัวอยาง 3.1.1 ประชากรทใ่ี ชใ นการศกึ ษาครงั้ นี้ คือ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 1 ของโรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดโพธ์ิ สังกดั เทศบาลตำบลบางคลา จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ทก่ี ำลงั ศึกษาในภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2562 จำนวน 2 หองเรยี น จำนวน 60 คน 3.1.2 กลุมตัวอยา งเปนนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 1/1 ของโรงเรียนเทศบาล ๒ วดั โพธ์ิ สงั กดั เทศบาลตำบล บางคลา จงั หวัดฉะเชิงเทรา ทีก่ ำลงั ศึกษาในภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2562 จำนวน 30 คน ซึ่งไดม าโดยวิธีการเลอื กแบบ การสมุ อยา งงาย (Simple Random Sampling) 3.2 เครือ่ งมือที่ใชในการศกึ ษา 3.2.1 เครอื่ งมือที่ใชในการจดั การเรยี นรู ไดแก แผนการจัดการเรียนรปู ระกอบชดุ กิจกรรมการเรียนรตู าม กระบวนการสืบเสาะหาความรูแ บบวัฏจกั รการเรยี นรู 5 ขั้น (5E) รายวชิ าสุขศึกษา เร่ือง การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของ วยั รุน กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา สำหรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 จำนวน 8 แผนการจดั การเรยี นรู 3.2.2 เคร่อื งมือทใ่ี ชใ นการเก็บรวบรวมขอ มูล ไดแก 3.2.2.1 ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู บบวฏั จักรการเรยี นรู 5 ข้ัน (5E) รายวชิ าสุขศึกษา เรื่อง การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวยั รนุ กลุมสาระการเรียนรสู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา สำหรบั นักเรียน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 จำนวน 6 ชุด

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 100 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 3.2.2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เร่อื ง การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของวัยรนุ ซ่งึ ใชวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามตัวช้ีวัดกลมุ สาระการเรยี นรสู ุขศึกษาและพลศึกษา สำหรบั นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 มลี ักษณะเปน แบบปรนัยชนิดเลอื กตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ขอ โดยมคี า ความยากงา ย (p) อยรู ะหวา ง 0.53 - 0.75 คา อำนาจจำแนก (r) อยรู ะหวา ง 0.33 - 0.77 และคา ความเช่อื ม่ัน (Reliability) โดยใชสูตร KR-20 ของคเู ดอรริชารด สนั (Kuder Richardson) (ประสาท เนอื งเฉลิม, 2556) ไดค ะแนนคา ความเชอ่ื มน่ั แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเทากบั 0.81 3.2.2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจทีม่ ีตอ การจัดการเรียนรโู ดยใชชุดกิจกรรมการเรยี นรูตาม กระบวนการสบื เสาะหาความรูแ บบวฏั จกั รการเรียนรู 5 ข้ัน (5E) รายวิชาสขุ ศกึ ษา เรอ่ื งการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ ของวัยรนุ กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา สำหรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 1 มีลกั ษณะเปนแบบมาตราสวน ประมาณคา 5 ระดบั จำนวน 10 ขอ 3.3 รปู แบบการศึกษา ในการศกึ ษาครง้ั นเี้ ปนการศึกษาเชิงกึ่งทดลอง มลี กั ษณะการทดลองแบบ One - Group Pretest-Posttest Design (มาเรยี ม นิลพนั ธ, 2553) 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ มลู 3.4.1 ใหน กั เรยี นกลมุ ตวั อยา งทำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เร่ือง การเจรญิ เติบโตและ พัฒนาการของวัยรุน จำนวน 30 ขอ กอ นการจดั การเรยี นรโู ดยใชช ุดกิจกรรมการเรยี นรูตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู แบบวัฏจักรการเรยี นรู 5 ขนั้ (5E) รายวิชาสุขศกึ ษา เร่ือง.การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวยั รนุ กลมุ สาระการเรยี นรู สขุ ศึกษาและพลศึกษา สำหรับนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 โดยใหน ักเรยี นใชเ วลาในการทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียน 30 นาที 3.4.2 แจงและทำความเขาใจกบั นกั เรียนกลมุ ตัวอยางถึงวธิ ีการจดั การเรยี นรู บทบาทของผูเรยี น จุดประสงค การเรยี นรู ตลอดจนวธิ กี ารวดั และประเมินผลการเรียนรใู นคร้งั น้ี 3.4.3 ดำเนินการสอนตามแผนการจดั การเรยี นรูโดยใชช ดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสืบเสาะหา ความรูแบบวัฏจักรการเรยี นรู 5 ขน้ั (5E) รายวิชาสขุ ศึกษา เร่ือง การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของวยั รนุ กลุมสาระ การเรยี นรูสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา สำหรับนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 1 เร่มิ จากชดุ กจิ กรรมการเรยี นรชู ดุ ท่ี 1 ถงึ ชดุ ที่ 6 ทีละชุดตามวนั เวลาและจำนวนช่วั โมงทีก่ ำหนดไว โดยใชร ะยะเวลาในการจัดการเรยี นรูทั้งหมด 19 สปั ดาห สปั ดาหล ะ 1 ช่วั โมง รวมเวลา 19 ช่วั โมง แลวบันทึกหลังการจดั การเรียนรดู วยตนเองทกุ แผนการจดั การเรยี นรู 3.4.4 หลังจากเสรจ็ ส้ินการจดั การเรียนรแู ลว ใหน ักเรยี นทดสอบหลงั เรียนดวยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนโดยใชแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นชดุ เดียวกนั กับกอนการจดั การเรยี นรโู ดยใชช ุดกิจกรรมการเรยี นรู ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู บบวัฏจักรการเรยี นรู 5 ขนั้ (5E) รายวชิ าสุขศกึ ษา เรือ่ ง การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ ของวัยรนุ กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา สำหรับนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 1 จำนวน 30 ขอ (สลับขอ ) 3.4.5 นำแบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรียนทีม่ ตี อการจดั การเรียนรโู ดยใชชุดกจิ กรรมการเรยี นรู ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู บบวฏั จักรการเรียนรู 5 ข้นั (5E) รายวชิ าสขุ ศึกษา เรอ่ื ง การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ ของวยั รุน กลุมสาระการเรยี นรสู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา สำหรับนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 จำนวน 10 ขอ มาใหนักเรยี น กลุม ตวั อยางทำ

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 101 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 3.4.6 นำคะแนนของนกั เรยี นที่ไดร ะหวางการทำกจิ กรรมในทกุ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู และคะแนนของนกั เรยี น ท่ีไดจ ากการทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นหลังเรยี น เรอื่ ง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของวยั รุน ของนักเรียน ทกุ คนมาวิเคราะหเ พ่อื หาประสทิ ธภิ าพของชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู บบวัฏจกั รการเรยี นรู 5 ข้นั (5E) รายวิชาสขุ ศกึ ษา เร่ือง การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวัยรนุ กลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 3.4.7 นำคะแนนทีไ่ ดจ ากการทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนกอ นเรยี นและหลงั เรยี นโดยใช ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแบบวฏั จกั รการเรียนรู 5 ขน้ั (5E) รายวชิ าสขุ ศึกษา เรือ่ ง การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของวัยรนุ กลมุ สาระการเรียนรสู ุขศกึ ษาและพลศึกษา สำหรับนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 1 ของนกั เรียนทกุ คนมาวิเคราะหเ พอื่ เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 3.4.8 นำผลที่ไดจากแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียนท่ตี อการจัดการเรยี นรูโดยใชช ุดกจิ กรรม การเรยี นรตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ บบวัฏจักรการเรยี นรู 5 ข้นั (5E) รายวชิ า สขุ ศกึ ษา เรอ่ื ง การเจรญิ เติบโตและ พฒั นาการของวยั รุน กลมุ สาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศกึ ษา สำหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 1 มาวเิ คราะหเพอื่ หา ระดบั ความพึงพอใจ 3.5 การวเิ คราะหข อมูล 3.5.1 หาประสิทธิภาพของชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูต ามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ บบวฏั จกั รการเรียนรู 5 ข้นั (5E) รายวชิ าสุขศึกษา เรอ่ื ง การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของวยั รุน กลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา สำหรบั นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 1ที่สรางข้นึ ตามเกณฑม าตรฐาน 80/80 โดยใชสูตร E1/E2 3.5.2 เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นกอ นเรยี นและหลังเรยี นโดยใชช ุดกิจกรรมการเรียนรตู าม กระบวนการสืบเสาะหาความรูแบบวัฏจักรการเรียนรู 5 ข้ัน (5E) รายวชิ าสขุ ศกึ ษา เร่ือง การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ ของวัยรนุ กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา สำหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 โดยใชค า เฉลี่ย (X̅) สว นเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) และสถิตทิ ดสอบทีแบบไมอิสระตอกัน (T-test for Dependent Samples) 3.5.3 สอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนท่มี ีตอ การจดั การเรยี นรโู ดยใชชดุ กิจกรรมการเรียนรตู าม กระบวนการสืบเสาะหาความรูแบบวฏั จกั รการเรยี นรู 5 ขนั้ (5E) รายวชิ าสขุ ศึกษา เรอ่ื ง การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ ของวยั รนุ กลุมสาระการเรยี นรสู ุขศกึ ษาและพลศึกษา สำหรบั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1โดยใชคา เฉลีย่ (X̅) สวนเบีย่ งเบน มาตรฐาน (S.D.) 4. ผลการวิจัย 4.1 ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู บบวฏั จักรการเรยี นรู 5 ขัน้ (5E) รายวิชาสุขศึกษา เร่ือง การเจริญเติบโตและพฒั นาการของวยั รนุ กลุมสาระการเรยี นรสู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา สำหรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษา ปท ี่ 1 มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑม าตรฐาน 80/80 โดยมปี ระสิทธิภาพเทากบั 82.19/81.77 ซ่ึงสูงกวา เกณฑ 80/80 ที่ตง้ั ไว 4.2 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรียนโดยใชช ดุ กจิ กรรมการเรยี นรูต ามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู บบวฏั จักรการเรยี นรู 5 ขัน้ (5E) รายวิชาสุขศึกษา เรอื่ ง การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของวยั รุน กลมุ สาระการเรยี นรูสขุ ศึกษา และพลศึกษา สำหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 1 สูงกวา กอนเรียนอยา งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 4.3 ความพงึ พอใจของนกั เรยี นท่มี ีตอ การจดั การเรยี นรโู ดยใชชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสบื เสาะ หาความรแู บบวฏั จกั รการเรยี นรู 5 ข้ัน (5E) รายวิชาสุขศกึ ษา เรื่อง การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของวยั รุน กลมุ สาระ การเรยี นรสู ุขศึกษาและพลศกึ ษา สำหรับนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 1 มีระดับความพึงพอใจโดยภาพรวมอยใู นระดับมากทสี่ ดุ (X̅ = 4.87, S.D. = 0.31)

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 102 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 5. สรปุ และอภปิ รายผล 5.1 ผลการสรางและหาประสิทธภิ าพของชุดกจิ กรรมการเรียนรูตามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแบบ วัฏจักรการเรียนรู 5 ข้นั (5E) รายวชิ าสขุ ศกึ ษา เร่ือง การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวยั รนุ กลมุ สาระการเรียนรสู ขุ ศึกษา และพลศึกษา สำหรับนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80/80 ทงั้ นเ้ี น่อื งจากผศู กึ ษาได ดำเนินการสรา งและพฒั นาอยา งเปน ระบบตามขัน้ ตอนโดยศกึ ษารวบรวมความรู ความเขาใจ เกยี่ วกับหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรยี นรสู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา เรือ่ ง การเจริญเติบโตและพฒั นา ของวยั รนุ วิเคราะหห ลักสูตร ศึกษาทฤษฎี การจดั การเรยี นรู หลกั จติ วทิ ยาพัฒนาการ สอบถามผรู ู ศกึ ษาหลกั การสราง ชุดกิจกรรมการเรยี นรู แลว จึงสรา งชดุ กิจกรรมการเรยี นรูต ามสคุ นธ สนิ ธพานนท (2553) คือ เลือกหวั ขอ กำหนดขอบเขตและ ประเดน็ สำหรบั เนอ้ื หา กำหนดเนอ้ื หาทจ่ี ะจดั ทำชุดการเรยี นการสอน โดยคำนึงถึงความรพู ื้นฐานของผูเรยี น เขยี นจุดประสงค ในการจัดการเรยี นการสอน การเขียนจุดประสงคควรเขยี นเปนลักษณะจดุ ประสงคเ ฉพาะหรือจดุ ประสงคเชิงพฤติกรรม สรางแบบทดสอบ จดั ทำชุดการเรยี นการสอน ประกอบดว ย บัตรคำสั่ง บตั รปฏิบตั ิการ และบตั รเฉลย (ถามี) บตั รเนอื้ หา บัตรฝกหัด และบตั รเฉลยบัตรฝกหัด บตั รทดสอบและบตั รเฉลยบัตรทดสอบ การรวบรวมและจัดทำสอ่ื การเรียนการสอน ซึง่ การสรา งชดุ กิจกรรมการเรยี นรเู ปนการเรียบเรียงเนือ้ หาจากงา ยไปหายากชวยทำใหผ ูเรียนเกดิ การเรยี นรไู ดเ รว็ ข้ึน จากนั้น นำชดุ กจิ กรรมการเรียนรผู า นการกล่ันกรองจากผเู ชี่ยวชาญจำนวน 5 ทา น และไดผ านการทดลองใชก บั นกั เรยี นครัง้ ท่ี 1 เปน การทดลองแบบหน่ึงตอ หนึง่ เพ่ือตรวจสอบความเหมาะสมของเน้ือหา ภาษา รูปภาพและเวลาเพอื่ นำไปแกไ ขปรบั ปรงุ และนำไปทดลองครง้ั ที่ 2 แบบกลมุ เล็ก เพ่ือตรวจสอบความชัดเจนของถอ ยคำ ความสมั พนั ธของเน้ือหาและระยะเวลาท่ใี ช ทดลอง แลว จงึ นำชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูต ามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ บบวฏั จักรการเรยี นรู 5 ขั้น (5E) รายวชิ า สขุ ศึกษา เร่ือง การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของวัยรุน มาปรับปรุงอีกครง้ั หน่งึ ซึ่งชดุ กจิ กรรมการเรียนรู ท้งั 6 ชดุ ทีผ่ ศู ึกษาไดส รา งและพัฒนาขน้ึ มคี ณุ ภาพและมีความเหมาะสมมากทสี่ ุดทจี่ ะนำไปใชก ับนกั เรยี นสอดคลองกบั ผลงานวิจยั ของ วริศรา ศรจี กั ร (2561) ไดศ ึกษาการพัฒนาชดุ กจิ กรรมการเรยี นรโู ดยใชการจัดการเรียนรูแ บบสบื เสาะหาความรู (5E) เรือ่ ง การเจริญเติบโตและเพศศกึ ษาของวยั รนุ สำหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 2 โรงเรียนสูงเนนิ อำเภอสูงเนิน จงั หวัด นครราชสมี า สงั กัดองคก ารบริหารสวนจังหวัดนครราชสีมา จากผลการสรา งและหาประสทิ ธิภาพของชุดกิจกรรมการเรยี นรู ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแบบวัฏจักรการเรียนรู 5 ขั้น (5E) รายวชิ าสุขศกึ ษา เร่ือง การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ ของวัยรุน กลุมสาระการเรยี นรสู ุขศึกษาและพลศึกษา สำหรบั นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 1 มีประสิทธภิ าพเทา กับ 82.19/81.77 แสดงวา ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู บบวฏั จักร การเรยี นรู 5 ขัน้ (5E) รายวชิ า สขุ ศึกษา เรื่อง การเจริญเติบโตและพฒั นาการของวัยรุน กลมุ สาระการเรยี นรูสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา สำหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 ทีผ่ ศู ึกษาสรา งข้นึ มีประสทิ ธิภาพเปน ไปตามเกณฑม าตรฐานท่ีกำหนดไวส อดคลองกบั ผลงานวจิ ยั ของ บวรเทพ สังขแ กว (2561)ไดศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรโู ดยใชก ระบวนการสืบเสาะหาความรู (5E) รายวิชาสุขศึกษา เรอื่ ง วัยรุน วัยเสยี่ ง สำหรับนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา2561 โรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม สงั กดั สำนักการศึกษาเทศบาลนครนครปฐม อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จำนวน 28 คน พบวา ชุดกจิ กรรมการเรียนรู โดยใชก ระบวนการสบื เสาะหาความรู (5E) รายวชิ าสขุ ศึกษา เรอื่ ง วยั รุน วยั เสย่ี ง สำหรับนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 มีประสิทธภิ าพตามเกณฑมาตรฐานที่กำหนด คอื (E1/E2) เทากบั 80.60/80.12 และสอดคลองกบั ผลงานวจิ ัยของ ชัยพัฒน อุทาโย (2560) ไดศ กึ ษาการพัฒนาชดุ การเรยี นรูกลุมสาระการเรยี นรูสุขศกึ ษาและพลศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 เร่ือง ชวี ิตปลอดภยั เขาใจภัยใกลต วั โรงเรยี นบา นขี้เหล็กโนนจาน ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศึกษา 2560 จำนวน 14 คน พบวา

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 103 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ชดุ การเรยี นรู เร่ือง ชีวติ ปลอดภัย เขาใจภยั ใกลต ัว สำหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 2 กลุม สาระการเรยี นรสู ุขศึกษาและ พลศกึ ษา มปี ระสิทธภิ าพ เทา กับ 84.89/83.89 ซึง่ เปนไปตามวัตถปุ ระสงคท ่ีต้ังไว นอกจากนยี้ งั สอดคลองกบั ผลงานวิจยั ของณฐั ชยั เรยี กจำรสั (2560) ไดพฒั นาชุดกิจกรรมการเรยี นรโู ดยใชกระบวนการแบบสืบเสาะหาความรู 5E กลุมสาระ การเรยี นรูสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา (สุขศึกษา) ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 โรงเรียนคอนสารวิทยาคม อำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภมู ิ สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 30 จำนวน 36 คน พบวา การพัฒนาแผนจดั การเรยี นรูก ารสอนแบบ สบื เสาะหาความรู 5E กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (สขุ ศึกษา) ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 1 หนวยท่ี 1 เร่อื ง การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย มีประสทิ ธภิ าพเทา กับ 85.54/86.54 ซึง่ สงู กวา เกณฑ 80/80 5.2 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนกั เรยี นจากทไี่ ดรบั การจดั การเรยี นรูโดยใชช ดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู าม กระบวนการสืบเสาะหาความรแู บบวฏั จกั รการเรียนรู 5 ข้ัน (5E) รายวิชาสขุ ศกึ ษา เรื่อง การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการ ของวัยรนุ กลุมสาระการเรยี นรสู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา สำหรับนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 1 จะเห็นวา นักเรียนท้งั หมด มีคะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกอนเรยี นเฉลีย่ 13.03 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2.92 และคะแนน หลังเรยี น 24.07 สว นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 1.74 จากการทดสอบพบวาคะแนนเฉลยี่ หลังเรียนของนกั เรยี นสูงกวา คะแนนเฉลย่ี กอ นเรียน อยางมีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .05 ทัง้ นี้เนือ่ งจากชดุ กิจกรรมการเรยี นรูตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู แบบวฏั จกั รการเรยี นรู 5 ขนั้ (5E) รายวิชาสุขศึกษา เรื่อง การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวัยรุน กลุมสาระการเรยี นรู สุขศึกษาและพลศกึ ษา สำหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 เปน ชุดกจิ กรรมการเรยี นรรู ปู แบบการจัดการเรยี นรตู าม กระบวนการสืบเสาะหาความรูแบบวัฏจักรการเรียนรู 5 ข้ัน (5E) ท่ีสรางข้นึ ตามโครงสรางของหลกั สตู ร โดยกำหนดเน้อื หาจาก งายไปหายาก และจากรปู ธรรมไปหานามธรรม ใชข อ ความหรือภาษาทนี่ กั เรียนเขา ใจงา ย สามารถดำเนินการตามบตั รกิจกรรม จนทำใหนกั เรียนเกดิ ความคดิ รวบยอด ในการทำบตั รกจิ กรรม นอกจากนี้ชุดกิจกรรมการเรียนรตู ามกระบวนการสบื เสาะหา ความรูแ บบวฏั จักรการเรยี นรู 5 ข้ัน (5E) รายวิชาสุขศกึ ษา เรื่อง การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวยั รุน เปนการฝกทักษะ กระบวนการทางความคิดท่ีผศู ึกษาสรา งขน้ึ ตามขน้ั ตอนและสอดคลอ งกบั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีขน้ั ตอนและแนวปฏิบตั ิกจิ กรรมตา งๆ เชน เดยี วกบั ทค่ี รผู สู อน เมอ่ื นักเรียนยงั ไมเ ขาใจกส็ ามารถกลบั ไปศกึ ษา เรียนรไู ดอ ีกจนสามารถทำใหนักเรยี นเกิดการเรียนรูม ผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าสุขศึกษา เรือ่ ง การเจริญเติบโตและ พัฒนาการของวยั รนุ สอดคลอ งกบั ผลงานวจิ ยั ของ เมตตา ใครค รวญ (2560) ไดศ ึกษาการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น สุขศึกษา เรอื่ ง อวัยวะภายในรา งกายที่สำคัญ โดยการจดั การเรียนรูดว ยกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ บบ 5E ของนกั เรียน ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 2 โรงเรยี นเซนตโ ยเซฟคอนเวนต จำนวน 51 คน พบวา นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสุขศกึ ษา เรอ่ื ง อวยั วะภายในรางกายทสี่ ำคญั หลงั การใชก ารจดั การเรียนรดู ว ยกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ บบ 5E สงู ขน้ึ มากกวา เกณฑท่ีกำหนดไว รอยละ 70 สอดคลองกบั ผลงานวิจยั ของ อมร ทองมลู (2560) ไดพัฒนาชุดกจิ กรรมการเรียนรตู าม กระบวนการสบื เสาะหาความรู (5E) กลุมสาระการเรยี นรสู ุขศึกษาและพลศึกษา ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 2 หนองบวั สงั กดั สำนกั การศกึ ษาเทศบาลนครอุบลราชธานี จำนวน 34 คน พบวา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี น หลังเรียนโดยใชชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู (5E) กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 1 คา เฉลยี่ คะแนนหลงั เรียนมีคามากกวาคาเฉลี่ยคะแนนกอนเรียนอยา งมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .01 และสอดคลองกบั ผลงานวิจัยของ อุรเคนทร คำฟก (2559) ไดศึกษารายงานการพฒั นาและผลการใชช ดุ กจิ กรรมการเรยี นรู โดยใชกระบวนการสบื เสาะความรู (5E) เรือ่ ง เพศศกึ ษา ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 5 โรงเรยี นรัฐราษฎรอ นสุ รณ จงั หวดั นครสวรรค ภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2559 จำนวน 28 คน พบวา ชุดกิจกรรมการเรยี นรโู ดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู (5E) เรือ่ ง เพศศึกษา มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นท่เี รียนดว ยชุดกิจกรรมการเรยี นรโู ดยใชก ระบวนการสบื เสาะความรู (5E) เรือ่ งเพศศกึ ษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 หลังเรียนสูงกวา กอนเรยี นอยา งมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01 นอกจากนี้

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 104 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ยงั สอดคลองกบั ผลงานวจิ ัยของ เสาวลกั ษณ หลาสิงห (2557) ไดศ ึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและเจตคติตอวิทยาศาสตร โดยใชก ารสอนแบบสืบเสาะหาความรู (5E) ดว ยสอื่ ประสม เรอ่ื ง ระบบประสาทและอวัยวะรบั ความรสู กึ สำหรบั นักเรียน ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 5 โรงเรยี นเบญจมราชรังสฤษฎิ์ อำเภอเมอื ง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา จำนวน 48 คน พบวา ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนวิชาชวี วทิ ยาของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 5 ท่ีไดร ับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู (5E) ดวยสอ่ื ประสม เรื่อง ระบบประสาทและอวยั วะรบั ความรสู ึก หลงั เรยี นสงู กวากอ นเรียนอยา งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดบั .05 5.3 ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนักเรียนท่มี ีตอการจัดการเรยี นรูโดยใชช ดุ กิจกรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการ สบื เสาะหาความรูแบบวฏั จักรการเรียนรู 5 ข้ัน (5E) รายวิชาสขุ ศึกษา เรอื่ งการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของวยั รนุ กลมุ สาระการเรียนรสู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา สำหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 โดยภาพรวมนักเรยี นมคี วามพงึ พอใจอยูใน ระดบั มากท่สี ดุ (X̅ = 4.87, S.D. = 0.31) ท้งั นเ้ี น่ืองจากชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ บบวฏั จกั ร การเรยี นรู 5 ข้ัน (5E) รายวชิ าสขุ ศกึ ษา เรื่อง การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของวยั รนุ เปนสอื่ ทีน่ กั เรียนสนใจ ทำใหนักเรียน กระตือรือรนอยากที่จะศึกษาและลงมอื ทำ ชวยใหนกั เรยี นไดเ รยี นรกู บั ผูอ ่นื และฝก การทำงานกลมุ ชวยสง เสรมิ ใหนักเรียน มปี ระสบการณก วางขวางและนำไปประยุกตใ ชใ นชวี ติ ประจำวันได ชวยใหน กั เรียนไดลงมอื ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมดวยตนเองทำให ไดร บั ประสบการณตรง ชว ยเปด โอกาสใหน ักเรียนไดแ ลกเปล่ียนเรียนรู ทำใหเ กิดการยอมรบั ความคิดเหน็ ของผูอืน่ มากขนึ้ ชวยใหนกั เรียนมีความรบั ผดิ ชอบในการเรยี นรูแ ละมวี นิ ยั ในตนเอง นอกจากนีช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรรู ายวิชาสุขศึกษา เรอ่ื ง การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวยั รุน โดยใชรูปแบบการจัดการเรียนรตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ บบวัฏจกั ร การเรยี นรู 5 ขนั้ (5E) ท่จี ัดทำข้นึ มลี ักษณะทส่ี วยงาม นาสนใจ เกดิ แรงจูงใจใฝเรียนรูจนเกดิ ทกั ษะดา นการคิด การแกป ญ หา และการส่อื สาร ตลอดจนสามารถเขาถึงขอ มูลไดงาย สามารถเรียนรไู ดทกุ ท่ี ทุกเวลา เนือ่ งจากชดุ กิจกรรมการเรยี นรนู ้ี มีชองทางการศึกษาผานระบบสแกน QR Code ซึ่งสอดคลองกับผลงานวิจัยของ สมโชค ศรีพล (2560) ไดพ ฒั นาผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนวิชาสุขศกึ ษา โดยใชช ุดกจิ กรรมการเรยี นรูแบบสบื เสาะหาความรู (5E) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 4 โรงเรียนวิเชยี รมาตุ จำนวน 41 คน พบวา นักเรยี นมคี วามพึงพอใจตอการเรียนรูโดยใชชุดกจิ กรรมการเรยี นรูแบบสืบเสาะหาความรู (5E) วิชา สุขศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 4 โดยรวมอยูในระดบั พึงพอใจมาก และสอดคลองกบั ผลงานวจิ ยั ของ จีราภรณ การดี (2556) ไดพัฒนาชดุ กจิ กรรมการเรยี นรโู ดยใชก ระบวนการเรยี นรแู บบสืบเสาะหาความรู 5E (Inquiry Cycle) เรือ่ ง การเจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการของมนุษย กลมุ สาระการเรยี นรูสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนบา นพรุดินนา สังกัด เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษากระบี่ จำนวน 23 คน พบวา ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรโู ดยใชกระบวนการเรียนรูแบบสืบเสาะ หาความรู 5E (Inquiry Cycle) เรอ่ื ง การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย กลมุ สาระการเรียนรสู ุขศึกษาและพลศึกษา ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 1 นักเรียนมคี วามพึงพอใจตอชดุ กิจกรรมการเรยี นรูโดยใชกระบวนการเรียนรูแบบสบื เสาะหาความรู 5E (Inquiry Cycle) เรื่อง การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนุษย กลมุ สาระการเรียนรสู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชน้ั มัธยมศกึ ษา ปท่ี 1 โดยรวมอยใู นระดบั พึงพอใจมากทสี่ ดุ นอกจากน้ียงั สอดคลอ งกบั ผลงานวิจยั ของ จารวุ รรณ ทพิ ยชาติ (2552) ไดศกึ ษา ผลการจัดการเรยี นรูแบบวฏั จักรการเรยี นรู 5 ข้ัน เรื่อง การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย กลมุ สาระการเรยี นรู สุขศกึ ษาและพลศกึ ษาชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 6 พบวา นักเรยี นมคี วามพึงพอใจตอการเรยี นแบบวฏั จักรการเรยี นรู 5 ข้ัน เร่ือง การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 6 โดยรวมมคี วามพงึ พอใจอยูในระดับมากทส่ี ดุ 6. ขอเสนอแนะ 6.1 ขอ เสนอแนะในการนำผลการวจิ ัยไปใช 6.1.1 ในการสรางชุดกิจกรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ บบวฏั จกั รการเรยี นรู 5 ขั้น (5E) รายวิชาสุขศกึ ษา เรอื่ ง การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวัยรนุ ควรศกึ ษาหลักการสรางใหล ะเอยี ดเพ่ือใหมีคุณภาพสามารถ สนองความแตกตา งระหวา งบคุ คลและวิธีการแกไ ขปญหาใหกับนักเรยี นเปน อยา งดี

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 105 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 6.1.2 ควรมีการดำเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู ามขน้ั ตอนหรอื กระบวนการท่กี ำหนดไวในแผนการจัด การเรยี นรูป ระกอบการใชชุดกิจกรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู บบวัฏจกั รการเรียนรู 5ขนั้ (5E) 6.1.3 ครูผูสอนควรมีการเสรมิ แรงและใหทราบผลการทำงานทันที จะเปน การสงเสรมิ ใหน ักเรียนมีความ กระตอื รอื รน และนำขอ บกพรอ งไปแกไขได 6.1.4 ประเมินผลการเรยี นรู ใหขอ มลู กบั นักเรยี น รวมทัง้ การใหค ำแนะนำในการปรับปรงุ ผลงาน พฤตกิ รรม การเรยี นรู รวมทงั้ แนวปฏบิ ตั ติ า งๆ เพือ่ ใหนักเรียนมคี ุณลักษณะอนั พึงประสงคตามความตองการของหลักสตู ร 6.2 ขอเสนอแนะในการวิจัยครัง้ ตอ ไป 6.2.1 ควรนำนวตั กรรมการสรา งและการใชชุดกิจกรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู บบ วฏั จักรการเรยี นรู 5 ขนั้ (5E) รายวิชาสขุ ศกึ ษา เร่อื ง การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของวัยรนุ โดยนำความรไู ปประยกุ ตใ ช กับเรื่องอน่ื หรือบรู ณาการกับกลมุ สาระการเรยี นรตู า งๆ เพือ่ ใหนักเรยี นเกดิ การเรยี นรอู ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ และมผี ลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นทส่ี งู ข้ึน 6.2.2 ควรเปรียบเทียบวธิ ีการสอนโดยใชช ดุ กิจกรรมการเรยี นรตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู บบ วัฏจักรการเรยี นรู 5 ข้นั (5E) รายวชิ าสุขศกึ ษา เร่อื ง การเจริญเติบโตและพฒั นาการของวัยรนุ รว มกบั วิธีการสอนรูปแบบอ่ืนๆ 7. รายการอางอิง ภาษาไทย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2545). การจัดการเรยี นรูกลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรต ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา ขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ: องคก ารรับสงสนิ คา และพสั ดภุ ณั ฑ. _______. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนมุ สหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย. _______. (2552). ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรกู ลมุ สาระการเรยี นรสู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพช ุมนมุ สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. กฤษมนั ต วฒั นาณรงค. (2554). นวตั กรรมและเทคโนโลยีเทคนคิ ศกึ ษา (พมิ พครั้งท่ี 2). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกลา พระนครเหนือ. จารวุ รรณ ทพิ ยชาติ. (2552). ผลการจดั การเรยี นรูแบบวฏั จักรการเรยี นรู 5 ขนั้ เรอื่ ง การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของ มนุษย กลุมสาระการเรยี นรูสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 6. (การศกึ ษาคน ควาอิสระปรญิ ญา การศึกษามหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, มหาสารคาม. จีราภรณ การด.ี (2556). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรโู ดยใชกระบวนการเรยี นรูแ บบสบื เสาะหาความรู 5E (Inquiry Cycle) เรื่อง การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย กลุมสาระการเรยี นรสู ุขศึกษาและพลศึกษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 1. สบื คนจาก http://banprudinna.ac.th/workteacher-detail-515. ชนาธปิ พรกลุ . (2552). การออกแบบการสอน การบรู ณาการ การอาน การคิดวเิ คราะห และการเขยี น (พมิ พครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพแ หงจุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั . ชัยพัฒน อุทาโย. (2560). การพัฒนาชดุ การเรยี นรู กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 2 เร่ือง ชวี ิตปลอดภยั เขาใจภัยใกลต ัว. สบื คนจาก http://www.krupunmai.com/3054/ ทศิ นา แขมมณ.ี (2552). รปู แบบการเรยี นการสอนทางเลือกทหี่ ลากหลาย. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 106 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ณฐั ชยั เรียกจำรสั . (2560). การพัฒนาชุดกจิ กรรมการเรียนรโู ดยใชก ระบวนการแบบสืบเสาะหาความรู (5E) กลมุ สาระ การเรยี นรสู ุขศึกษาและพลศกึ ษา (สขุ ศกึ ษา) ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 1. สบื คนจาก http://kroobannok.com/ board_view.php?b_id=157443&bcat_id=16 บวรเทพ สงั ขแกว . (2561). การพัฒนาชดุ กิจกรรมการเรียนรโู ดยใชก ระบวนการสบื เสาะหาความรู (5E) รายวิชาสขุ ศกึ ษา เรอ่ื ง วยั รุน วัยเส่ียง สำหรับนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 2. สบื คน จาก http://www.kroobannok.com/ board_view.php?b_id=162847 ประสาท เนอื งเฉลิม. (2556). วิจยั การเรียนการสอน (พิมพค รัง้ ที่ 2). กรงุ เทพฯ: วีพริน้ ท (1991). ประเสริฐ สำเภารอด. (2552). ชดุ การสอนโดยใชปญหาเปน ฐาน เรอ่ื ง การวิเคราะหข อมลู เบื้องตน ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3. (สารนิพนธก ารศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต). มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ, กรงุ เทพฯ. พรรณี ชทู ยั เจนจิต. (2545). จิตวิทยาการเรยี นการสอน. กรุงเทพฯ: เสริมสินพรเี พรสซสิ เทม็ . พมิ พันธ เดชะคุปต และ พเยาว ยนิ ดสี ขุ . (2548). วิธวี ทิ ยาศาสตรและวทิ ยาศาสตรท่วั ไป. กรงุ เทพฯ: พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ. ภพ เลาหไพบูลย. (2542). แนวการสอนวทิ ยาศาสตร (พิมพค รงั้ ที่ 3). กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . มาเรียม นลิ พนั ธ. (2553). วธิ วี จิ ัยทางการศึกษา (พมิ พคร้งั ที่ 5). นครปฐม: โรงพิมพม หาวทิ ยาลยั ศิลปากร. เมตตา ใครครวญ. (2560). การพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นสุขศกึ ษา เร่อื ง อวยั วะภายในรา งกายท่สี ำคัญ โดยการจดั การเรยี นรูดว ยกระบวนการสบื เสาะหาความรูแบบ 5E ของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 2. สบื คน จาก http://sjc.ac.th/sjc2014/index.php/2016-08-10-02-38-46 วริศรา ศรจี กั ร. (2561). การพฒั นาชดุ กจิ กรรมการเรยี นรโู ดยใชก ารจดั การเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู (5E) เรอ่ื ง การ เจริญเตบิ โตและเพศศึกษาของวัยรนุ . สบื คน จาก http://www.sungnoen.ac.th/research/0-waritsara.pdf. สุคนธ สนิ ธพานนท และคณะ. (2545). การจัดกระบวนการเรียนร:ู เนน ผเู รียนเปน สำคญั ตามหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน. กรุงเทพฯ: อักษรเจรญิ ทศั น. สุคนธ สนิ ธพานนท. (2553). นวัตกรรมการเรยี นการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน (พมิ พค ร้งั ที่ 4 ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพรน้ิ ติ้ง. สมบัติ กาญจนารักพงศ. (2549). เทคนคิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูแบบ 5E ทเ่ี นนพฒั นาทักษะการคิดขน้ั สงู : กลมุ สาระ การเรยี นรสู ุขศกึ ษาและพลศึกษา. กรุงเทพฯ: ธารอักษร. สมโชค ศรีพล. (2560). รายงานผลการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาสุขศึกษา โดยใชช ดุ กิจกรรมการเรยี นรูแบบ สืบเสาะหาความรู (5E) ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 4 โรงเรยี นวิเชยี รมาตุ. สืบคน จาก http://122.155.168.174/~ kroobannok/board_view.php?b_id=157503&bcat_id=16 สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2553). แผนการศกึ ษาแหง ชาติ ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554-2559. กรุงเทพฯ: พริกหวาน กราฟฟค . _______. (2560). แผนการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรงุ เทพฯ: พริกหวานกราฟฟค . เสาวลักษณ หลาสงิ ห. (2557). การศกึ ษาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นและเจตคตติ อ วิทยาศาสตร โดยใชการสอนแบบสบื เสาะ หาความรู (5E) ดว ยสื่อประสม เรอ่ื ง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรสู กึ สำหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 5. (วทิ ยานพิ นธก ารศกึ ษามหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลยั บรู พา, ชลบรุ ี. อมร ทองมูล. (2560). การพฒั นาชุดกิจกรรมการเรียนรตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู (5E) กลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษา และพลศึกษา ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 1. สบื คน จาก http://www.kroobannok.com/board_view.php? b_id=163430&bcat_id=16

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 107 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 อุรเคนทร คำฟก . (2559). รายงานการพฒั นาและผลการใชช ุดกิจกรรมการเรยี นรูโดยใชกระบวนการสืบเสาะความรู (5E) เรอ่ื ง เพศศกึ ษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5. สืบคนจาก http://data.bopp-obec.info/emis/news/news_view.php? ID_New=51876 ภาษาอังกฤษ Bruner, L. S. (1969). The Process of Education. Massachustte: Haward University.

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 108 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 การพฒั นาตัวบงช้สี มรรถนะทางวชิ าชพี ของครปู ฐมวัย สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า Development of Professional Competency Indicators for Early Childhood Teachers under Offices of Primary Education Service Areas in the Nakhon Ratchasima นยั นา พรหมดำ* และ ศิริพร สุวรรณรงั ษ*ี * อาจารย ดร., สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตรแ ละศิลปศาสตร วิทยาลัยนครราชสมี า* อาจารย, สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตรและศิลปศาสตร วทิ ยาลัยนครราชสีมา** Naiyana Promdam* and Siriphon Suwanrangsi** Lecturer Dr., Faculty of Education in Education Administration, Nakhonratchasima College* Lecturer, Faculty of Education in Education Early Childhood, Nakhonratchasima College** Corresponding author E-mail: [email protected] (Received: April 08, 2020; Revised: June 23, 2020; Accepted: June 27, 2020) บทคัดยอ การวิจัยครั้งนม้ี ีวตั ถปุ ระสงคเพ่ือ 1) พฒั นาตวั บงชี้สมรรถนะทางวชิ าชพี ของครปู ฐมวัย สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า 2) ทดสอบความสอดคลอ งของโมเดลโครงสรางสมรรถนะทางวชิ าชพี ของครูปฐมวยั สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา ทีผ่ วู ิจยั พัฒนาขึ้นกับขอมลู เชิงประจกั ษ กลุมตัวอยาง คอื ครู ปฐมวยั สังกดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 1-7 จำนวน 700 คน ไดมาโดยการสุมแบบหลาย ข้ันตอน (Multi-Stage Random Sampling) เครอ่ื งมือทใี่ ชใ นการวิจยั คือ แบบสอบถามแบบมาตรวดั ประเมนิ คา 5 ระดบั มีคา ดชั นีความสอดคลองระหวา ง 0.60–1.00 มคี า อำนาจจำแนกเทากบั 0.36–0.74 และคาความเทย่ี งทงั้ ฉบับเทา กับ 0.92 สถิติทีใ่ ชใ นการวิเคราะหขอ มูล คอื คา เฉล่ยี คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวเิ คราะหอ งคป ระกอบเชงิ ยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) ผลการวจิ ัยพบวา 1) ตวั บงช้ีสมรรถนะทางวิชาชพี ของครูปฐมวยั สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า ประกอบดว ย 3 องคป ระกอบหลกั 9 องคป ระกอบยอย 18 ตัวบง ชี้ จำแนกเปน การจดั การเรยี นรู จำนวน 6 ตวั บงชี้ การพฒั นาตนเอง จำนวน 6 ตัวบง ช้ี และคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี จำนวน 6 ตัวบง ช้ี 2) โมเดลโครงสรางสมรรถนะทางวิชาชีพของครูปฐมวยั สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า โดยมคี า ไค-สแควร (Chi-square) เทากบั 1.25 คาองศาอิสระ (df) เทา กบั 4 คา นัยสำคญั ทางสถิติ (P-value) เทากับ 0.869 คาดชั นี วดั ระดบั ความกลมกลืน (GFI) เทา กบั 0.98 คาดัชนีวัดระดับความสอดคลองที่ปรบั แกแลว (AGFI) เทากับ 0.99 และคา ความ คลาดเคล่ือนในการประมาณคา พารามเิ ตอร (RMSEA) เทา กับ 0.000 (Chi-square = 1.25 df =4 คา P = 0.869 คา GFI = 0.98 คา AGFI =0.99 คา RMSEA =0.000) คำสำคัญ: ตัวบงช้,ี สมรรถนะทางวชิ าชีพ, ครปู ฐมวยั

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 109 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 Abstract The purposes of this research were 1) to develop professional competency indicators for Early Childhood teachers under Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area Offices, 2) to examine the consistency of the model structure of professional competency indicators for Early Childhood teachers under Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area offices with empirical data. 700 Early Childhood teachers under Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area 1-7 participated in the study by multiple-stage random sampling. The instrument was a five-rating scale questionnaire with the index of item-objective congruence (IOC) ranged between 0.60 and 1.00. The power of discrimination was between 0.36–0.74 and the entire reliability coefficient was 0.92. The data were analyzed by mean, standard deviation, and confirmatory factor analysis. The results of the study revealed as follows; 1) the professional competency indicators for Early Childhood teachers under Nakhonratchasima Primary Education Service Area consisted of three main components, nine subcomponents, and 18 indicators. It was divided into six indicators for learning management, six indicators for self-development, and six indicators for moral and professional ethics ,2) the model structure of professional competency indicators for Early Childhood teachers under Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area Office had statistical values as follows: Chi-square = 1.25, degree of freedom (df) = 4, P-value = 0.869, goodness of fit index (GFI) = 0.98, adjusted goodness of fit index (AGFI) = 0.99, and root mean square error of approximation (RMSEA) = 0.000 Chi-square = 1.25, df = 4, P = 0.869, GFI = 0.98, AGFI = 0.99, RMSEA = 0.000. Keywords: Indicators, Professional competency, Early Childhood Teachers 1. ความเปนมาและความสำคญั ของปญหา ทา มกลางภาวะวกิ ฤตทางเศรษฐกจิ และศลี ธรรม คนไทยและสงั คมไทยเริม่ ตื่นตัวทจ่ี ะตดิ ตามความเปลย่ี นแปลง ของประเทศชาตอิ ยางใกลช ดิ เห็นไดจากมเี สยี งเรียกรอ งใหม กี ารปรับปรงุ คณุ ภาพของการศกึ ษามากข้ึน และเรง รบี ใหเ กดิ การ ปฏิรปู การเรยี นการสอนทั้งนั้น เพราะการจัดการเรยี นการสอนในปจ จบุ ันยังไมบรรลุเปาหมายทพ่ี ึงประสงคว ธิ กี ารสอนยงั ไม เนน กระบวนการใหผ ูเรียนไดพัฒนาในการ คิดวเิ คราะห การแสดงความคดิ เหน็ และการแสวงหาความรูดวยตนเอง นอกจากนี้ ยังขาดการเชอื่ มโยง ภมู ปิ ญญาทองถ่ินกบั เทคโนโลยที ่ที ันสมยั ครยู งั คงยึดมน่ั วา ตนเองเปน ผรู มู ากทีส่ ดุ ถูกท่ีสดุ และมีอํานาจ มากที่สุดในกระบวนการเรยี นรผู ูเรยี นมีหนาที่รบั และปรบั ตวั ใหสอดคลอ งกบั เน้ือหาความรแู ละวิธีการของครสู งผลทาํ ให กระบวนการเรยี นรเู ปน ทุกขอ ับเฉา เบอื่ หนา ยดงั นั้นผเู รียนจงึ เครียดและขาดความสขุ ในการศึกษาเลาเรยี น (ยนต ชมุ จิต, 2544) มเี อกสารและงานวจิ ยั จำนวนมากนำเสนอ ปญหาเก่ียวกับการพัฒนาวชิ าชพี ของครู ขอมูลจากสภาวะการศึกษาไทย ป 2559/2560 พบวา ครใู นปจจบุ นั ไมรักการอา นและการคนควาวจิ ัยเพ่อื พัฒนาตนเอง ทงั้ ในดานความรแู ละทักษะการสอน (สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2560) สอดคลองกบั ผลการวจิ ยั ของ เยาวมาลย วิเศษ (2558) ที่ไดท ำการวจิ ัย เรอื่ ง ปญ หาและความตองการพัฒนาของครปู ฐมวัย โรงเรยี นในสังกดั คณะนกั บวชในเขตอคั รสังฆมณฑล กรงุ เทพมหานคร พบวา การพัฒนาตนเองทคี่ รเู ลือกใชน อ ยทส่ี ดุ คือ วธิ ีการศกึ ษาดวยตนเอง ไดแ ก การใชบ ทเรยี นสำเรจ็ รูปการอา นหนังสอื การคน ควา จากอินเตอรเนต็ นอกจากน้ี สำนกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภายงั ไดจ ดั ทำประชาพจิ ารณเ รื่อง \"การศกึ ษามาตรฐานวิชาชพี ครู การศึกษาปฐมวัย\" ผรู ว มประชมุ ประกอบดวย ผบู ริหารสถานศกึ ษาทเ่ี ปด สอนระดับปฐมวยั ทั้งภาครฐั และเอกชน ครปู ฐมวยั

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 110 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ผูปกครอง ประชาชนและผทู ี่เกย่ี วของ พบวา ครปู ฐมวัยมีปญ หามาตรฐานวิชาชีพครปู ฐมวยั มอี ยูใ นระดบั มาก สว นประเด็น ปญหาไดสรปุ ไวด ังนี้ 1) ปญหาดา นการปฏบิ ัตงิ านของครูปฐมวยั พบวา ครขู าดความรูความเขา ใจและประสบการณ ขาดอุปกรณการสอนท่มี คี ุณภาพ ครไู มใ หค วามสำคัญและไมเ ขา ใจในธรรมชาตขิ องเดก็ ทำใหบ กพรองในการดแู ลและ เอาใจใสเ ด็ก และขาดมนษุ ยสมั พนั ธอ นั ดีกบั ผูป กครองและชุมชน 2) ปญหาการพัฒนาตนเอง พบวา ครูขาดความ กระตือรอื รนในการปรบั ปรงุ ตนเอง และไมไ ดร บั การอบรมใหม คี วามรูความเขาใจในวทิ ยาการใหม สง ผลใหค รูขาดทกั ษะ ในการพฒั นาอาชพี และพฒั นาตนเอง 3) ปญ หาดานจรรยาบรรณตอวชิ าชพี พบวา ครูไมยดึ มั่นจรรยาบรรณในวชิ าชีพครู คดิ ถึงแตป ระโยชนสวนตัว ขาดคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีการปฏบิ ตั ติ นท่ไี มเ หมาะสม ไมเ ปน แบบอยางทด่ี ีแกเ ดก็ ขาดความตั้งใจ ในการทำงาน ไมมีใจรักในวิชาชพี และไมม คี วามรกั และความอดทนในวชิ าชีพ (นิตธิ ร ปลวาสน, 2561) ขอ มลู เกย่ี วกบั สภาพครใู นสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า พบวา ครปู ฐมวัยสว นใหญไ มไ ด จบการศกึ ษาจากสาขาการศึกษาปฐมวัยมาโดยตรง นอกจากนีค้ รูจำนวนมากเม่อื ปฏบิ ตั งิ านครบกำหนด 5 ป จะมกี ารขอยาย กลบั ภมู ลิ ำเนาเดิม ทำใหโ รงเรยี นขาดครูท่เี ชย่ี วชาญทำใหต อ งมกี ารจดั อบรมกันอยางตอเนื่อง (ณิรดา เวชญาลักษณ, 2561) นอกจากนี้ ยงั พบวาสภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นประถมศึกษาในปจ จุบนั มีปญ หาและอุปสรรคอยูหลายประการ ซึ่ง ความแตกตางของขนาดโรงเรียนมผี ลตอ การปรับตวั ตอการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาปจจัยสว นหน่ึงมาจากงบประมาณ ทีไ่ มเพยี งพอตอ การพัฒนาใหท ดั เทยี มกบั โรงเรยี นรัฐบาลขนาดใหญ สธุ าทิพย มพี งษ (2560) ไดท ำการวจิ ัยเรื่อง สภาพและ ปญ หาการจัดการของโรงเรยี นประถมศกึ ษาขนาดเล็กในนครราชสมี า พบวา โรงเรียนขาดการดำเนนิ งานเกี่ยวกับการพัฒนา วิชาชพี ของครูอยูในระดบั มาก และยงั พบปญหาและอุปสรรคในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียนขนาดเล็กกวา เกดิ จากงบประมาณท่ไี มเพยี งพอเมอื่ เทียบกับโรงเรยี นรฐั บาลขนาดใหญ จากการศึกษางานวิจัยในประเทศไทย พบวา มีงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวของกบั การพัฒนาสมรรถนะทางวชิ าชพี ของครู ปฐมวัยอยเู ปนจำนวนไมม ากนกั ไดแ ก วนั เพ็ญ นนั ทะศรี (2556) ไดพัฒนาตัวบงช้ภี าวะผูนำทางวิชาการสำหรับครปู ฐมวยั สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ทกี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ นิติธร ปล วาสน (2561) ไดว เิ คราะหองคป ระกอบ และการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรูข องครูปฐมวยั และ กุญชภ ัสส พงษพานิชย (2561) ไดว ิเคราะหก ารวิเคราะห องคป ระกอบและตัวบง ชส้ี มรรถนะดา นการจดั การเรียนการสอนของครูผูสอนนกั เรียนระดบั ปฐมวัยท่ใี ชภ าษาไทยเปนภาษา ท่สี อง และซ่ึงงานวจิ ยั ดงั กลาวเปนการศึกษาสมรรถนะครทู ่มี คี วามเฉพาะเจาะจง โดยเนนไปทส่ี มรรถนะดานการสอนเพยี ง ดานใดดา นหนึง่ ผวู ิจยั จงึ มคี วามสนใจท่ีจะพฒั นาตัวบงชสี้ มรรถนะทางวิชาชพี ของครูปฐมวยั ซง่ึ เปน การศกึ ษาคนควา จากทฤษฎไี ปสกู ารสรางโมเดลความสัมพนั ธโ ครงสรา งที่ผวู ิจยั สามารถตรวจสอบความสอดคลองของโมเดลความสัมพนั ธ โครงสรา งตัวบง ชท้ี ่ีพัฒนาข้นึ จากทฤษฎแี ละงานวิจัยกบั ขอ มลู เชงิ ประจักษ และยงั มีผลประโยชนต อ โรงเรียน สำนักงาน เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาและหนวยงานทเี่ ก่ียวขอ งไปใชในการประเมนิ ผลการพัฒนาของครปู ฐมวัยไดอ กี แนวทางหนึง่ ดวย 2. วัตถุประสงคข องการวิจยั 2.1 เพอื่ พัฒนาตัวบงช้สี มรรถนะทางวชิ าชีพของครูปฐมวยั สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครราชสมี า 2.2 เพือ่ ทดสอบความสอดคลองของโมเดลโครงสรา งสมรรถนะทางวชิ าชีพของครูปฐมวัย สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ี การศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า ท่ีผวู ิจยั พัฒนาข้ึนกับขอมูลเชิงประจักษ 3. วธิ ีดำเนนิ การวิจยั 3.1 ประชากรและกลุม ตวั อยา ง 3.1.1 ประชากรทใ่ี ชใ นการวิจยั ไดแ ก ครปู ฐมวัย สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ทกี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า เขต 1-7

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 111 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 3.1.2 กลมุ ตวั อยา งทใี่ ชในการวิจยั ไดแ ก ครปู ฐมวยั สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า เขต 1-7 จำนวน 700 คน ไดมาโดยการสุม แบบหลายข้ันตอน (Multi-Stage Random Sampling) 3.2 เคร่ืองมือทีใ่ ชในการรวบรวมขอ มูล คือ แบบสอบถามทปี่ ระกอบไปดวย 3 องคประกอบหลกั 9 องคป ระกอบ ยอย 18 ตวั บงชี้ ทม่ี ีลกั ษณะเปน แบบประมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ มวี ิธีการพัฒนาเครื่องมอื ทใี ชในการวจิ ยั 1) สรางแบบสอบถามเกย่ี วกับตวั บง ชีส้ มรรถนะทางวิชาชีพของครูปฐมวยั การตรวจสอบคณุ ภาพแบบสอบถามทีใ่ ชในการวจิ ยั 2) ตรวจสอบความตรงเชงิ เนอ้ื หา (Content Validity) โดยผูเ ชยี่ วชาญ จำนวน 9 คน ไดค าความตรง (Index of Item – Objective Congruence: IOC) ระหวา ง 0.60 – 1.00 3) ทดลองกบั กลมุ ตัวอยาง จำนวน 50 คน เพ่อื วิเคราะหค า อำนาจ จำแนก (r) ไดค าอำนาจจำแนกเทา กับ 0.36-0.74 และวเิ คราะหหาคา ความเทยี่ ง (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยการหา คาสมั ประสิทธแิ์ อลฟา (Alpha Coefficient) ดวยวิธขี องครอนบาค (Cronbach) ไดคา ความเทีย่ งเทา กบั 0.92 3.3 การเกบ็ รวบรวมขอ มลู 3.3.1 ขอหนังสอื จากวทิ ยาลัยนครราชสมี า ไปถงึ สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาท่โี รงเรยี นต้งั อยู แลว ขอหนงั สอื จากผูอ ำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ไปยังโรงเรยี นที่เปน ตัวอยา ง เพอื่ ขอความรว มมอื และอำนวยความสะดวกในการเกบ็ ขอมูลจากครปู ฐมวัยที่เปน กลมุ ตวั อยาง จำนวน 700 คน 3.3.2 สง หนังสือและแบบสอบถามทางไปรษณยี  หรอื แอพพลิเคช่นั ไลนแบบสอบถาม หรือควิ อารโ คด แบบสอบถาม หรือ สงไปยงั กลมุ ตวั อยางโดยตรงและใหส งกลบั ภายใน 15 วนั แบบ Google Form 3.4 สถิติที่ใชในการวิเคราะหข อมลู การวจิ ยั คร้ังน้ี ผูวจิ ยั วเิ คราะหขอ มลู โดยใชโ ปรแกรมคอมพิวเตอรส ำเร็จรปู เพอื่ หาคาสถติ ติ า ง ๆ ดังน้ี 3.4.1 การวเิ คราะหข อมลู เบอื้ งตนของกลุมตัวอยาง โดยใชค วามถแ่ี ละรอ ยละ 3.4.2 การวเิ คราะหขอ มลู เก่ยี วกับความเหมาะสมของตวั บงชี้ โดยวเิ คราะหห าคาเฉลย่ี คาเบย่ี งเบนมาตรฐาน 3.4.3 การวเิ คราะหอ งคป ระกอบเชิงยนื ยนั (Confirmatory Factor Analysis) โดยการตรวจสอบความ กลมกลนื ของโมเดลการวจิ ยั กับขอ มลู เชงิ ประจกั ษ ผวู จิ ยั ใชค า สถติ ทิ จ่ี ะตรวจสอบดังนี้ 1) คาไค-สแควร (Chi-square statistics) โดยที χ2 ทีไ่ มม นี ยั สำคญั หรอื คา p-value สูงกวา 0.05 แสดงวาโมเดลมีความกลมกลนื 2) ดัชนวี ดั ระดบั ความกลมกลืน (Goodness-of-fit Index: GFI) โดยที GFI มคี าตงั้ แต 0.90-1.00 แสดงวาโมเดลมีความกลมกลืน 3) ดัชนวี ัด ความกลมกลืนที่ปรบั แลว (Adjusted Goodness- of fit Index: AGFI) โดยที AGFI มคี าต้งั แต 0.90-1.00 แสดงวา โมเดล มีความกลมกลืน 4) คา ความคลาดเคลอื่ นในการประมาณคาพารามเิ ตอร (Root Mean Square Error of Approximation: RMSEA) โดยท่ี RMSEA มคี า ต่ำกวา 0.05 และ 5) นำผลการวิเคราะหตรวจสอบความสอดคลองกลมกลนื ของโมเดล มาคัดเลือกตัวบง ช้ีท่ีแสดงวามีคา ความตรงเชงิ โครงสรา ง 3.4.4 นำผลการวเิ คราะหตรวจสอบความสอดคลอ งกลมกลนื ของโมเดลมาคัดเลือกตวั บงช้ที ี่แสดงวามคี า ความตรงเชิงโครงสรา งตามเกณฑด งั นี้ 1) เทากับหรอื มากกวา 0.7 สำหรับองคป ระกอบหลกั และองคประกอบยอย และ 2) เทากับหรือมากกวา 0.30 สำหรับตวั บง ช้ี (Jöreskog, Olsson, & Wallentin, 2016) 4. ผลการวจิ ัย จากการดำเนนิ การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาตวั บงชสี้ มรรถนะทางวชิ าชีพของครปู ฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา ผลการวิจยั สรุปไดด งั นี้ 4.1 ผลการพัฒนาตวั บง ชี้สมรรถนะทางวชิ าชีพของครูปฐมวัย สงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า ประกอบดวย 3 องคป ระกอบหลกั 9 องคป ระกอบยอ ย 18 ตัวบง ชี้ ดังตอไปนี้

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 112 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 4.1.1 องคประกอบหลกั ดา นการจดั การเรยี นรู มคี าเฉลี่ยความเหมาะสมอยูในระดบั มากทง้ั 3 องคป ระกอบยอ ย โดยเรียงลำดบั จากมากไปนอ ยดงั น้ี การบรหิ ารจัดการเรียนรู การประเมินพฒั นา และการประสาน ความรว มมอื กบั ผปู กครองและชุมชน ซงึ่ มีจำนวน 6 ตัวบง ชี้ มคี าเฉลยี่ ความเหมาะสมอยใู นระดบั มาก 4.1.2 องคป ระกอบหลกั ดา นการพัฒนาตนเอง คาเฉลี่ยความเหมาะสมอยูใ นระดับมากทั้ง 3 องคประกอบยอย โดยเรยี งลำดบั จากมากไปนอ ยดังนี้ การทำงานเปน ทีม การศึกษาหาความรู และการวจิ ยั ในชัน้ เรียน ซ่ึงมจี ำนวน 6 ตวั บง ช้ี มคี าเฉลี่ยความเหมาะสมอยใู นระดบั มาก 4.1.3 องคป ระกอบหลกั ดา นคุณธรรมจรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี คาเฉลีย่ ความเหมาะสมอยใู น ระดับมากทัง้ 3 องคป ระกอบยอ ย โดยเรยี งลำดับจากมากไปนอ ยดังน้ี ความรกั และศรัทธาในวิชาชพี การมวี ินยั และความ รับผิดชอบ และการประพฤตติ นเปน แบบอยางท่ีดี ซึ่งมจี ำนวน 6 ตวั บง ช้ี มคี าเฉลี่ยความเหมาะสมอยใู นระดับมาก 4.2 ผลการทดสอบความสอดคลองของโมเดลโครงสรา งสมรรถนะทางวชิ าชีพของครปู ฐมวัย สังกดั สำนักงานเขต พืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า กับขอมลู เชิงประจกั ษ สรปุ ตามขนั้ ตอนการวิเคราะห ไดด ังน้ี 4.2.1 ผลการตรวจสอบความสมั พนั ธของตัวแปร ผวู ิจยั ไดทำการวิเคราะหห าคา สมั พันธระหวางตวั แปรทใ่ี ช ในการศกึ ษาครงั้ น้ี ดวยคาสหสมั พนั ธข องเพียรส นั (Pearson,s Product Moment Correlation Coefficient) ประกอบดวย ตัวแปรสังเกต 18 ตัวแปร พบวาคา ความสมั พันธระหวางตัวแปรสังเกตไดท ้ังหมด 153 คู มคี า แตกตา งจากศนู ยอ ยางมี นัยสำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .01 ทกุ คโู ดยมคี าความสมั พันธเ ปน บวก และคา สัมประสิทธส์ิ หสมั พนั ธอ ยูระหวาง .204 ถงึ .715 ซึง่ คาสมั ประสทิ ธไ์ิ มควรเกนิ .80 จึงไมเ กดิ ภาวะรว มเชงิ เสน พหุ (Multicolleniarity) แสดงวา ตวั แปรสังเกตไดท กุ ตวั แปรของ องคป ระกอบและตัวบง ชส้ี มรรถนะทางวชิ าชีพของครูปฐมวยั สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี าน้ี มีความสมั พนั ธก ันและเปนไปในทศิ ทางเดียวกัน นอกจากนผี้ วู จิ ยั ทำการทดสอบคาสถติ ิ Bartlett,s Test of Sphericity เพื่อตรวจสอบเมทริกซส หสมั พนั ธข องตวั แปรสงั เกตไดเปนเมทริกซเอกลกั ษณห รือไม ผลพบวา คา χ2= 3091.943, df = 120, p = .000 ซ่งึ แตกตางจากศูนยอยางมีนัยสำคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั .01 รวมทง้ั ยงั สอดคลอ งกบั ผลการวเิ คราะห คา ดชั นี Kaiser- Meyer-Olkin (KMO) มคี า เทา กับ .942 โดยมคี ามากกวา .05 แสดงวาเมทริกซส หสมั พันธข องตวั แปรสังเกตไดไมเปน เมทรกิ ซ เอกลักษณแ ละมคี วามสมั พันธระหวา งตวั แปรมากพอทจี่ ะนำไปวิเคราะหอ งคประกอบเพอ่ื ตรวจสอบความตรงเชงิ โครงสรา งได 4.2.2 การวเิ คราะหองคประกอบเชงิ ยืนยันอันดับสองของโมเดลสมรรถนะทางวิชาชีพของครูปฐมวัย สังกัด สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสีมา เปนการพฒั นาจากสเกลองคป ระกอบสมรรถนะทางวชิ าชพี ของครู ปฐมวัย สงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสมี า ดว ยการวิเคราะหอ งคประกอบเชิงยืนยนั อันดบั ที่สอง กอนทำการวเิ คราะห ผูวจิ ยั ไดวเิ คราะหความสัมพนั ธร ะหวา งองคประกอบยอยทงั้ 9 องคประกอบ พบวา สหสัมพันธร ะหวาง ตัวบงช้ใี นแตละองคประกอบมีความสัมพนั ธกนั อยา งมีนยั สำคญั ทางสถิติทีระดบั .01 (p < .01) ทกุ องคประกอบ ดังน้ี ผลการวิเคราะหองคป ระกอบเชิงยืนยนั โมเดลการวิจยั ท่ีประกอบดว ย ซึ่งประกอบตวั บงชี้ 18 ตวั บง ชีแ้ ละ องคประกอบหลัก 3 องคป ระกอบ คอื การจัดการเรยี นรแู ละการพฒั นาตนเองและคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความสอดคลองกับขอมลู เชิงประจกั ษ โดยมไี ค-สแควร (Chi-Square: χ2) มีคา เทา กบั 1.25 ไมมนี ยั สำคญั คา df เทา กบั 4 เมอ่ื พิจารณา คา χ2/df มีคาเทากบั 0.315 ซ่ึงเปน ไปตามเกณฑ คอื ตำ่ กวา 2 นอกจากนย้ี ังพบวา คาดชั นวี ัดระดบั ความ กลมกลนื (GFI) มีคา เทา กับ 0.98 คา ดชั นีวัดระดับความกลมกลืนทปี่ รับแกแ ลว (AGFI) มีคา เทากับ 0.99 และคา ความ คลาดเคลือ่ นในการประมาณคา พารามิเตอร (RMSEA) เทา กบั 0.000 (Chi-square = 1.25 df = 4 คา P = 0.869 คา GFI = 0.98 คา AGFI = 0.99 คา RMSEA = 0.000) ดงั ตารางที่ 1 และภาพที่ 1

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 113 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ตารางที่1 ผลการวเิ คราะหอ งคประกอบเชงิ ยืนยนั ของโมเดลสมรรถนะทางวชิ าชีพของครูปฐมวัย สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ที่ การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา องคประกอบ สญั ลกั ษณ bsc SE t R2 1. การจัดการเรยี นรู LM 0.82 0.05 22.37 0.57 2. การพฒั นาตนเอง SD 0.87 0.08 23.57 0.62 3. คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ME 0.80 0.05 22.23 0.55 χ2=1.25, df=4, χ2/df = 0.312, P-value=0.86948, RMSEA=0.000, GFI = 0.98, AGFI = 0.99 0.72 LM1 0.68 LM2 LM 0.74 LM3 0.82 0.69 LM4 0.70 0.66 LM5 LM6 0.68 SD1 CPET SD 0.67 SD2 0.87 0.70 SD3 0.66 0.72 SD4 0.73 SD5 0.80 SD6 0.74 ME1 ME 0.71 ME2 0.69 ME3 0.68 ME4 0.70 0.71 ME5 ME6 χ2=1.25, df=4, χ2/df = 0.312, P-value=0.86948, RMSEA=0.000, GFI = 0.98, AGFI = 0.99 ภาพที่ 1 โมเดลสมรรถนะทางวชิ าชีพของครปู ฐมวัย สงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ประถมศกึ ษานครราชสีมา

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 114 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 5. สรปุ และอภิปรายผล 5.1 ผลการพัฒนาตวั บงชี้สมรรถนะทางวชิ าชพี ของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า พบวา ตัวบงช้ที ีผ่ วู จิ ยั ผวู ิจัยสรา งข้ึนตัวบง ชที้ ุกตวั มคี า เฉลีย่ ผา นเกณฑ คือคา เฉลยี่ เทา กับหรือมากกวา 3.00 เพอ่ื คดั สรรกำหนดไวใ นโมเดลความสมั พนั ธโ ครงสรา งแสดงใหเห็นวา องคประกอบท้ัง 3 องคป ระกอบการจัดการเรยี นรแู ละ การพัฒนาตนเองและคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี เปน องคประกอบทส่ี ำคญั ของสมรรถนะทางวิชาชพี ของครู ปฐมวัย รวมทัง้ สอดคลอ งกับแนวคดิ หลกั การ ทฤษฎีทางวิชาการสำหรับครปู ฐมวยั ซึ่งสอดคลองกับกรอบแนวคิดในการวจิ ยั และสมมตฐิ านการวจิ ัย และงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วของกบั สมรรถนะทางวชิ าชพี ของครปู ฐมวัย รวมถงึ ผวู ิจัยไดด ำเนินการหลาย ข้ันตอนเพอ่ื ใหไดตัวบง ชีท้ ่เี ก่ยี วกบั สมรรถนะทางวิชาชีพของครูปฐมวยั เชน จากการสมั ภาษณผ ทู รงคณุ วุฒิ และศึกษาโรงเรียน ดีเดน แลว นำขอ มลู มาราง ตวั บงชสี้ รา งแบบสอบถามเพือ่ หาคณุ ภาพตวั บง ชสี้ มรรถนะทางวิชาชพี ของครปู ฐมวัย สังกดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานคราชสมี าถงึ ผเู ชีย่ วชาญ สอดคลอ งกบั ผลการวิจัยของวนั เพญ็ นนั ทะศรี (2556) อาภารตั น ราชพัฒน (2554) และมนสั พร เติมประยรู (2562) ท่ีพัฒนาตัวบงชี้ตามขั้นตอนดงั กลา ว 5.2 ผลการวเิ คราะหโมเดลตัวบง ชสี้ มรรถนะทางวิชาชพี ของครูปฐมวัย สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ประถมศึกษานครราชสมี า พบวา โมเดลตัวบงช้ที ่ผี วู จิ ยั สรางข้นึ มคี วามสอดคลอ งกับขอ มูลเชิงประจกั ษและมีนัยสำคญั ทางสถิติ ทุกคา ดังรายละเอียดตอไปน้ี 5.2.1 ผลการวเิ คราะหองคประกอบเชงิ ยนื ยันอันดับทีส่ องของตวั บงชส้ี มรรถนะทางวิชาชพี ของครปู ฐมวยั สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา พบวา ทัง้ 3 องคป ระกอบเปน องคประกอบท่ีสำคญั ของ สมรรถนะทางวชิ าชีพของครูปฐมวยั สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี าไดเ นอ่ื งจากเปน องคป ระกอบทีม่ ีความตรงเชิงโครงสรา ง โดยการพัฒนาตนเอง (SD) มีน้ำหนกั องคประกอบเทากับ 0.87 การจดั การเรียนรู (LM) มีน้ำหนักองคประกอบเทากบั 0.82 และคุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี (ME) มนี ำ้ หนกั องคป ระกอบเทากบั 0.80 ตามลำดบั แสดงใหเหน็ วากลมุ ตัวอยางซึง่ เปน ครปู ฐมวัยไดใหความสำคญั กับองคประกอบการการพัฒนาตนเองเปน อันดับแรก ท้งั น้อี าจเปน เพราะครจู ะเปน บคุ คลแหงการเรียนรูจ ำเปน อยา งยง่ิ ท่ีครตู อ งมีการพัฒนาตนเองเปน อันดบั แรกซง่ึ สอดคลองกับ ประภาพรรณ เอ่ียมสุภาษติ (2545) และพรรณวิภา เสาเวียง (2549) กลาววาการพฒั นาตนเองของครปู ฐมวัย จงึ เปน สิ่งที่สำคญั เปนอยา งยิ่งเพราะครูปฐมวยั คอื ครคู นแรกของเดก็ เมอื่ เขายา งกาวเขามาสรู ั่วโรงเรียนในครง้ั แรกของชวี ติ ครูจะตองพฒั นาตนเองใหเ ปนผทู มี่ คี วามรคู วามสามารถ มวี ธิ ีการสอนที่จะจูงใจเดก็ ในระดับปฐมวัยมาโรงเรยี นอยางมีความสขุ คุณลักษณะของครปู ฐมวยั น้ันคณุ ลักษณะในทุก ๆ ดา น ไมว า จะเปน ดา นการสอน ดา นบุคลิกภาพ ดา นมนุษยสัมพันธ ดานพัฒนาตนเอง ดานคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และดานความมเี จตคตทิ ดี่ ีตอวชิ าชีพน้ัน เปน คณุ สมบตั ทิ ่ีพงึ ประสงคและจำเปน อยางยง่ิ ในครปู ฐมวัย โดยเฉพาะการมีเจตคตติ อ วิชาชีพครูปฐมวัย ถา ครมู ีเจตคตทิ ไ่ี มด ตี อวิชาชพี ของตนเองแลว ยอ มไมป ระสบ ผลสำเรจ็ ในการทำงานและคุณภาพของเดก็ ปฐมวยั กจ็ ะไมบ ังเกดิ ผลนอกจากนี้ สมคดิ ขนุ ทองนุม (2533 อา งถงึ ใน จิรวรรณ กาละดี, 2544) ไดใ หแ นวคดิ ในการพฒั นาตนเองไว 3 ดาน คอื 1) ดา นความรู 2) ดา นเทคนคิ และ 3) ดา นคณุ ลกั ษณะกับ เจตคติ และสอดคลอ งกบั สำนักงานเลขานกุ ารคุรสุ ภา (2532 อางถึงใน พรรณวภิ า เสาเวยี ง, 2549) ในทำนองเดียวกนั ครูปฐมวยั จำเปน อยางย่งิ ทจี่ ะตอ งเปนผทู ีม่ สี มรรถนะทางวิชาชีพของครูปฐมวยั ดา นการจดั การเรยี นรปู ฐมวัย โดยสถานศึกษา นำผลการดำเนินงานรวมท้ัง ปญ หาขอเสนอแนะตาง ๆ มาใชเปน ขอ มลู พน้ื ฐานในการวางแผนปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ บริหาร จดั การหลกั สตู ร และดำเนนิ การปรบั ปรงุ พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาใหม ปี ระสิทธภิ าพซึง่ สอดคลองกบั ไตรนาถ ศรจี ันทร (2548) และสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (2551) อกี ท้งั สมรรถนะครู สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. 2553 ทีไ่ ดพ ูดถึงสมรรถนะประจำสายงาน (Functional Competency) ในสมรรถนะท่ี 1 เรอ่ื ง ของการบริหารหลกั สตู รและการจดั การเรยี นรู (Curriculum and Learning Management) วา เปน ความสามารถของครู

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 115 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ในการสรางและพฒั นาหลักสตู ร การออกแบบการเรยี นรูอยา งสอดคลอ งและเปน ระบบ จดั การเรยี นรทู เี่ นน ผูเรยี นเปนสำคญั ใชแ ละพฒั นาสอื่ นวัตกรรมเทคโนโลยี และการวดั ประเมนิ ผลการเรยี นรู เพอื่ พัฒนาผูเรยี นอยางมีประสทิ ธภิ าพและเกิด ประสทิ ธผิ ลสูงสุดผลจากการทคี่ รปู ฐมวยั มสี มรรถนะทางวชิ าชีพทางดานการพัฒนาตนเองและดา นการจัดการเรยี นรปู ฐมวยั สง่ิ สุดทา ยคอื การสง ผลตอการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยท่ีทำใหเด็กปฐมวัยมพี ฒั นาการทั้ง 4 ดา น คือสง เสริมพัฒนาการดา นรา งกาย สงเสรมิ พัฒนาการดานอารมณส งเสริมพฒั นาการดานสงั คม และสง เสริมพฒั นาการดา นสตปิ ญ ญา ซงึ่ สอดคลองกบั รตั พิ ร ภาธรธวุ านนท (2552) ที่ไดท ำการประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาระดับปฐมวัยเพ่ือสง เสรมิ พัฒนาการของเดก็ ท้งั 4 ดา น ทีเ่ หมาะสมกับวัยสุดทา ยคอื การตดิ ตามความกา วหนา ของเดก็ ปฐมวัยใหม กี ารพัฒนาท่ีดีข้นึ 5.2.2 ตวั บงชีส้ มรรถนะทางวิชาชพี ของครปู ฐมวัย สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า ท้งั 3 องคประกอบหลัก 9 องคประกอบยอย 18 ตัวบง ช้ี ที่ไดจ ากการวิจัยในครัง้ นี้พบวา ตวั บงช้ที ้งั 18 ตัวบงชี้ มคี า เฉลย่ี อยใู นระดบั มากข้นึ ไป จงึ สามารถเปนตวั บงชส้ี มรรถนะทางวชิ าชีพของครูปฐมวยั ได ซ่งึ สอดคลอ งกับผลการวิเคราะห องคป ระกอบเชงิ ยนื ยันตวั บงช้ี พบวา ตัวบงช้ที ั้ง 18 ตัวบงช้ี มคี าน้ำหนกั องคป ระกอบ (Factors Loading) เกนิ .30 และ มนี ยั สำคญั ทางสถิติ แสดงใหเหน็ วา เปน ตวั บง ชอี้ งคประกอบยอ ยทสี่ ามารถวดั องคป ระกอบหลกั ได เนอื่ งจากตัวแปรมคี วาม คลาดเคล่อื นนอย โดยพจิ ารณาจากผลการวิเคราะหใ นสวนของสมั ประสทิ ธิก์ ารพยากรณ (R2) (สภุ มาส อังศโุ ชต,ิ สมถวลิ วจิ ติ รวรรณา, และรัชนีกูล ภญิ โญภานุวฒั น, 2551) มีความสอดคลอ งกับแนวคิดทฤษฎแี ละงานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ ง (กญุ ชภัสส พงษพ านิชย, 2561) 6. ขอ เสนอแนะ 6.1 ขอเสนอแนะในการวิจยั ครง้ั ตอ ไป 6.1.1 ควรมีการศกึ ษาเปรยี บเทยี บความไมแปรเปลีย่ นขององคป ระกอบและตวั บง ชีส้ มรรถนะทางวิชาชพี ของครปู ฐมวัยในสงั กัดอน่ื 6.1.2 ควรมีการศกึ ษาการพฒั นาสมรรถนะทางวชิ าชพี ของครปู ฐมวยั ตามองคประกอบและตัวบง ช้ี สมรรถนะทางวชิ าชีพของครูปฐมวัย 7. รายการอา งองิ ภาษาไทย กญุ ชภ สั ส พงษพานิชย. (2561). การวิเคราะหอ งคป ระกอบและตัวบง ชสี้ มรรถนะดา นการจดั การเรยี นการสอน ของครูผสู อนนักเรียนระดับปฐมวยั ทีใ่ ชภาษาไทยเปน ภาษาที่สอง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา, 13(1), 1–12. จริ วรรณ กาละดี. (2544). คุณลกั ษณะของครูปฐมวัยทพ่ี ึงประสงคต ามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (วทิ ยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ ). มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, นนทบรุ .ี ณริ ดา เวชญาลักษณ. (2561). แนวปฏิบตั กิ ารบริหารจดั การช้ันเรยี นของครปู ฐมวัยตามแนวหอ งเรียนคณุ ภาพโรงเรยี น ขนาดเลก็ ท่ีจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัย สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 2. วารสารบัณฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร, 16(73), 23–30. ไตรนาถ ศรจี นั ทร. (2548). การบรหิ ารจดั การหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศึกษาในเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา ประจวบครี ีขันธ (วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ,ี เพชรบรุ ี นิตธิ ร ปล วาสน. (2561). การวเิ คราะหองคประกอบและการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรูข องครปู ฐมวัย. วารสารวชิ าการ ศึกษาศาสตร, 19(1), 82-98. ประภาพรรณ เอย่ี มสุภาษติ . (2545). ชดุ ฝกอบรมครู: ประมวลสาระ. กรงุ เทพฯ: สำนกั งานปฏริ ูปการศึกษา.

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 116 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 พรรณวภิ า เสาเวยี ง. (2549). ปจ จัยท่สี ัมพนั ธก ับประสทิ ธภิ าพการสอนของครปู ฐมวัย สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ การศกึ ษา ศรษี ะเกษ (วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, มหาสารคาม. มนัสพร เติมประยรู . (2562). การพัฒนาตวั บง ชีส้ มรรถนะการปฏบิ ตั งิ านของครูผูดแู ลเด็กเล็กในศนู ยพ ัฒนาเด็กเล็ก จงั หวดั ราชบุรี (วิทยานิพนธว ิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ ). มหาวทิ ยาลัยบูรพา, ชลบุรี. ยนต ชุม จิต. (2544). การศกึ ษาและความเปน ครไู ทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. เยาวมาลย วเิ ศษ. (2558). ปญหาและความตองการพฒั นาของครปู ฐมวัยโรงเรยี นในสงั กัดคณะบวชในเขตอคั รสงั ฆมลฑล กรงุ เทพมหานคร (ปรญิ ญานพิ นธก ารศกึ ษามหาบณั ฑติ ). มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรงุ เทพฯ. รัตพิ ร ภาธรธุวานนท. (2552). การประเมินการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา มหาสารคาม เขต 1 (วทิ ยานพิ นธป รญิ ญาปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ ). มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน , ขอนแกน . วนั เพ็ญ นนั ทะศรี. (2556). การพฒั นาตัวบง ช้ีภาวะผูน ำทางวชิ าการสำหรับครูปฐมวยั สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื . วารสารวิชาการและวจิ ัยสังคมศาสตร, 8(23), 31–46. สธุ าทพิ ย มีพงษ. (2560). สภาพและปญหาการจดั การของโรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเล็กในนครราชสมี า. วารสารชมุ ชนวจิ ยั , 12(1), 204–213. สุภมาส องั ศุโชต,ิ สมถวิล วิจิตรวรรณา, และรัชนกี ลู ภิญโญภานวุ ัฒน. (2551). สถติ ิการวเิ คราะหส ำหรบั การวิจัย ทางสงั คมศาสตร: เทคนิคการใชโ ปรแกรม LISREL. กรงุ เทพฯ: มสิ ชัน่ มเี ดีย. สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). คมู ือการประเมินสมรรถนะคร.ู กรงุ เทพฯ: กระทรวงศกึ ษาธิการ. สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาชาติ (พ.ศ. 2560-2579). กรงุ เทพฯ: พริกหวานกราฟค . อาภารัตน ราชพฒั น. (2554). การพัฒนาตวั บง ชี้ภาวะผูน ำของครูในสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน (วิทยานิพนธปรญิ ญาปรัชญา ดษุ ฎีบัณฑิต). มหาวทิ ยาลัยขอนแกน , ขอนแกน . ภาษาอังกฤษ Jöreskog, Karl. G., Olsson, Ulf. H., & Wallentin Fan, Y. (2016). Multivariate analysis with LISREL. Berlin, Germany: Spinger.

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 117 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 การศกึ ษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเศรษฐศาสตรและความสามารถในการคดิ วิเคราะห ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 5 ดวยการจดั การเรยี นรูโดยใชปญหาเปน ฐาน The Study of Economics Learning Achievement and Analytical Thinking Ability of Grade 5 Students Using Problem-based Learning จรยิ า กลาหาญ* ไพศาล หวงั พานชิ ** และ สงวนพงศ ชวนชม*** นกั ศึกษาหลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยั วงษช วลิตกลุ * รองศาสตราจารย ดร., คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยวงษชวลติ กุล** ผชู ว ยศาสตราจารย ดร., คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยวงษช วลติ กุล*** Jariya Klaharn* Paisal Wangpanich** and Sanguanpong Chuanchom*** Graduate Student of Master Degree Program in Curriculum and instruction, Faculty of Education, Vongchavalitkul University* Associate Professor Dr., Faculty of Education, Vongchavalitkul University** Assistant Professor Dr., Faculty of Education, Vongchavalitkul University*** Corresponding author E-mail: [email protected] (Received: July 31, 2019; Revised: August 9, 2019; Accepted: September 1, 2019) บทคัดยอ การวจิ ัยครง้ั น้มี ีวตั ถุประสงคเ พอื่ 1) เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนเศรษฐศาสตรกอนเรียนและหลังเรียน ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 5 ดว ยการจดั การเรยี นรูโ ดยใชป ญ หาเปน ฐาน 2) เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เศรษฐศาสตรห ลังเรียนของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปท ี่ 5 ดวยการจัดการเรียนรูโ ดยใชปญหาเปน ฐาน เทียบกับเกณฑ รอยละ 70 และ 3) ศกึ ษาความสามารถในการคดิ วิเคราะหข องนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 หลังเรียนดวยการจดั การเรียนรู โดยใชป ญ หาเปน ฐาน เทยี บกบั เกณฑรอ ยละ 60 กลมุ ตัวอยางที่ใชในการวจิ ยั คือ นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที่ 5 โรงเรียน บา นโคกกระเบื้องสามคั คี อำเภอบานเหลอื่ ม จังหวดั นครราชสมี า ปการศกึ ษา 2561 จำนวน 20 คน โดยใชว ธิ ีการสุม แบบแบงกลุม เคร่อื งมอื ที่ใชใ นการวจิ ัยประกอบดวย 1) แผนการจดั การเรยี นรสู าระเศรษฐศาสตร 2) แบบวัดผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนเศรษฐศาสตร และ 3) แบบวัดความสามารถในการคดิ วิเคราะห โดยมคี าความสอดคลอง (IOC) อยรู ะหวาง 0.60 - 1.00 และคาเชอ่ื ม่ันของขอสอบอยทู ่ี 0.848 และ 0.932 วเิ คราะหขอมลู โดยใชค า สถิติ ไดแก คาเฉลี่ย (X̅) รอยละ สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบคาที (t-test for dependent และ One Sample t-test) ผลการวจิ ยั พบวา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเศรษฐศาสตรของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 5 หลงั เรยี นดว ยการ จดั การเรยี นรูโดยใชปญหาเปน ฐาน สงู กวา กอ นเรียนอยา งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 2) ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน เศรษฐศาสตรข องนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 5 หลงั เรยี นดว ยการจดั การเรียนรโู ดยใชปญหาเปน ฐาน สูงกวาเกณฑร อยละ 70 อยางมนี ยั สำคัญทางสถติ ิที่ระดบั .05 และ 3) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะหของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 5 หลงั เรียนดวยการจัดการเรยี นรโู ดยใชปญหาเปน ฐาน สูงกวา เกณฑร อ ยละ 60 อยา งมีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 คำสำคัญ: ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน, ความสามารถในการคดิ วิเคราะห, การจัดการเรยี นรูโดยใชปญ หาเปนฐาน, การเรียนรเู ศรษฐศาสตร

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 118 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 Abstract The purposes of this research were to 1) compare the learning achievements in Economics of Grade 5 students before and after using the problem-based learning 2) compare the learning achievement in Economics of Grade 5 students after using problem-based learning with the 70 percent judgment criterion and 3) study Grade 5 students’ analytical-thinking ability after using the problem-based learning with the 60 percent judgment criterion. The participants were 20 Grade 5 students studying at Ban Kokkrabuangsamukkee School, Ban Luam District, Nakhon Ratchasima during the Academic Year 2018. The research tools were 1) the lesson plan based on the problem-based learning, 2) the achievement test in Economics, and 3) the analytical-thinking test. The data were analyzed by mean (X̅), percentage, standard deviation (SD) and t-test (t-test for dependent and t-test for one sample). The research findings were as follows: 1) the students’ learning achievement after using the problem-based learning was higher than before using the problem-based learning with statistical significance at .05, 2) the students’ learning achievement after using the problem-based learning was higher than the 70 percent judgment criterion with statistical significance at .05, and 3) the students’ analytical thinking ability after using the problem-based learning was higher than the 60 percent judgment criterion with statistical significance at .05 Keywords: Achievement, Analytical Thinking, Problem-based Learning, Economic Learning 1. ความเปนมาและความสำคัญของปญหา สถานการณในโลกยคุ ปจจบุ นั เตม็ ไปดวยการเปล่ียนแปลงอยตู ลอดเวลา มีสารสนเทศและวิทยาการตา ง ๆ เกิดขึน้ อยางมากมาย ประเทศตาง ๆ ในโลกสามารถตดิ ตอสอื่ สารถึงกันไดอ ยางรวดเรว็ เฉพาะอยา งยิง่ เร่ืองการสานสมั พันธ ทางเศรษฐกิจ ซึ่งกอใหเกดิ การพฒั นาทางเทคโนโลยีทล่ี ำ้ สมัยเผยแพรระหวางประเทศ ความเปนอยขู องมนุษยมีความ สะดวกสบายมากข้ึน ประชากรเพมิ่ มากข้ึน แตการเปลย่ี นแปลงดงั กลา วกลบั สงผลกระทบตอทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ มบนโลก อยางรนุ แรงดวยเชน กัน ไมว า จะเปน ปญ หาปาไมถ กู ทำลาย การอพยพยายถน่ิ ที่อยู หรือปญ หามลพิษตา ง ๆ ทั้งนี้ปญ หา ลวนเกิดจากการตอบสนองความตอ งการของมนษุ ยอ ยา งไมมีท่ีสิน้ สดุ อีกท้ังการขับเคลอ่ื นบนพลังของเทคโนโลยีท่ีมคี วาม รวดเร็ว ทำใหส ภาพแวดลอมรอบตวั เราเปลย่ี นแปลงไปในทิศทางท่คี าดเดาไดย าก ดังนนั้ การพัฒนาบคุ คลตองมงุ ใหม ที ักษะ และทศั นคตทิ ส่ี อดรบั กบั เทคโนโลยีของสังคมในอนาคต (วริ ไท สนั ตปิ ระภพ, 2560) ผคู นบนโลกจำเปน ตอ งมีการคดิ อยา ง เทา ทนั ตอ การเปล่ยี นแปลงท่ีเกดิ ขน้ึ เพือ่ ทจ่ี ะปรับตัวเพ่ือความอยูรอด ฉะนนั้ เรื่องของการศึกษา การพฒั นาเด็กซึ่งจะเตบิ โต เปน ผูใ หญในวันขางหนา จงึ จำเปน ตองพฒั นาทักษะทางดา นการคดิ ใหมากย่งิ ขึน้ ในการพฒั นาเด็กไทยทางดานการคิดนั้น ไดร ับการกำหนดไวในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ท่ีมุงเนน ใหนักเรียนเกดิ สมรรถนะทส่ี ำคัญ 5 ประการ และหน่ึงในน้นั คือความสามารถในการคิด โดยได ระบวุ าความสามารถในการคดิ เปน ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห การคิดสังเคราะห การคดิ อยางสรางสรรค การคิดอยางมี วจิ ารณญาณ และการคดิ เปน ระบบ เพ่อื นำไปสกู ารสรางองคค วามรหู รอื สารสนเทศเพื่อการตดั สินใจเก่ยี วกับตนเองและสังคม ไดอ ยา งเหมาะสม (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551) โดยเฉพาะการวเิ คราะหจ งึ เปนสมรรถนะทสี่ ำคญั และจำเปน อยา งย่ิง

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 119 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ตอ การศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 เพราะจะชว ยสง เสรมิ ใหนกั เรยี นมคี วามฉลาดทางสติปญ ญา ความสามารถแกปญหา การประเมนิ การตัดสินใจ และสรปุ ขอ มูลตา ง ๆ ที่รับรไู ดอ ยา งสมเหตุสมผลอันเปนพื้นฐานการคดิ ในมติ ิอนื่ ๆ (รัตนา สุขศร,ี 2551) ในขณะเดยี วกนั สาระเศรษฐศาสตรซ ่งึ เปนสว นหนึ่งของกลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม มีเปาหมายใหนักเรยี นตองเรยี นรูเพ่อื ใหเ ขาใจและสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรในการผลติ และการบริโภคใชทรัพยากร ท่ีมีอยจู ำกดั ไดอยางมปี ระสิทธภิ าพและคมุ คา รวมถงึ เขาใจหลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่อื การดำรงชีวติ อยางมีดุลยภาพ อีกทง้ั เขา ใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ในสงั คมโลก (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551) เพอื่ ที่นักเรยี นนนั้ จะสามารถ ดำรงชวี ิตอยทู ามกลางปญหาความไมส มดลุ ระหวา งปรมิ าณของทรพั ยากรทีม่ ีอยอู ยา งจำกัดบนพื้นฐานความตอ งการทไ่ี มจ ำกัด ของมนษุ ย เพ่อื ท่จี ะรูจกั วิธจี ดั การที่ดที ่ีสดุ ในการนำทรพั ยากรมาใชใหเ กดิ ประสิทธิภาพสงู สดุ แตจ ากสภาพการศกึ ษาในปจจบุ นั พบวา ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ข้ันพนื้ ฐานชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6 ในกลุมสาระสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร นักเรยี นสวนใหญย ังมคี ะแนนเฉลี่ยต่ำกวาเกณฑ รอ ยละ 50 แสดงใหเ หน็ ถึงปญ หาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเศรษฐศาสตรวา ยงั ตอ งพัฒนาใหส ูงข้ึน อกี ทงั้ ยังพบปญหาเร่อื ง สมรรถนะดานความสามารถในการคดิ วเิ คราะหของนักเรียนยงั อยูในระดบั ควรปรบั ปรงุ และจากรายงานผลการศกึ ษา ของโรงเรียนบา นโคกกระเบ้อื งสามคั คี จงั หวดั นครราชสีมา (2560) ไดกลา วถงึ ส่งิ ที่ตองพัฒนาดา นคุณภาพผูเรยี น ประเด็นผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน มอี ยู 3 ประการ ไดแก ประการทหี่ นึง่ นกั เรยี นยงั ขาดการคดิ วิเคราะหเพอื่ เช่ือมโยง เหตุการณตา ง ๆ รอบตัว ขาดการใชหลักการเหตแุ ละผล การคิดพิจารณาไตรต รองอยา งรอบคอบและถ่ถี ว น ในการรเู ทา ทัน การเปลยี่ นแปลงทก่ี ำลังเกดิ ข้นึ ในสงั คมปจจุบนั ประการทส่ี อง นักเรียนไมเขาใจเนื้อหา ไมส ามารถสรปุ ความคิดรวบยอดได สงผลใหนักเรียนขาดแรงจงู ใจในการเรยี น ประการทสี่ าม การจัดการเรยี นการสอนยังขาดกระบวนการจัดการเรยี นรู ที่เหมาะสมกับนกั เรียน ขาดการจดั กิจกรรมการเรยี นรูท่ีใหม ๆ นกั เรียนไมคอยใหความสนใจ กอใหเกดิ ความเบือ่ หนาย ในการเรยี น ซ่งึ ผลจากรายงานดงั กลาวแสดงถงึ ผลการเรียนของนักเรยี นโรงเรียนบา นโคกกระเบือ้ งสามคั คยี งั ตำ่ กวา เกณฑ ทส่ี ถานศกึ ษากำหนดไว คอื รอ ยละ 70 และมีผลการคดิ วิเคราะหท ต่ี ำ่ กวาเกณฑร อยละ 60 ตามทีส่ ถานศกึ ษาไดก ำหนด การจัดการเรยี นรโู ดยใชปญ หาเปน ฐานเปน รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนท่ีจะสงเสรมิ ใหนกั เรียนมที กั ษะในการ คดิ วิเคราะหดขี ้ึนและสง ผลใหนักเรียนมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนที่สงู ขึน้ เปน การเรยี นรูทผี่ เู รยี นไดศกึ ษาเรียนรูดว ยตนเอง อยา งแทจ ริง ผานการกระตุน ความอยากรูจากสถานการณป ญ หาทส่ี ามารถเชอ่ื มโยงเขากบั ชวี ติ จริงได ดังทสี่ ำนักงานเลขาธกิ าร สภาการศกึ ษา (2550) ไดกลาวถงึ ลักษณะเดน ของการจดั การเรียนจากการใชปญ หาเปนฐานวา เปนการสบื คน ขอ มลู เพือ่ ศึกษา หาเหตผุ ลใหเ ขาใจถึงสาเหตุ ผลของปญหาและวธิ ีการแกไ ข ผเู รยี นสามารถตัดสินใจและแสดงความคดิ เหน็ หาขอสรุปอยางมี เหตผุ ลรวมกัน จนสามารถตกผลึกเปน ความรดู ว ยตนเองและนำไปเชอ่ื มโยงกบั สถานการณจรงิ ที่ใกลเ คยี ง ซ่งึ สอดคลอ งกับ ผลการวจิ ัยของ กนก จันทรา (2557) ทกี่ ลา ววา การจัดกจิ กรรมการเรียนรโู ดยใชป ญหาเปนฐาน เปนการเรยี นทใี่ ชปญหา ในชีวติ จรงิ เปนบริบทใหน ักเรยี นไดเ รยี นรูและสรางองคความรผู า นการทำงานทน่ี ักเรยี นมคี วามเขาใจในกระบวนการ การแกป ญ หา เกดิ การคดิ วิเคราะห การแกป ญ หา และการคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ ตลอดจนสามารถพฒั นาทักษะการเรยี นรู ทำใหม ปี ฏสิ มั พนั ธท่ีดี สามารถทำงานเปน กลมุ และสอื่ สารกับผูอ ่นื ไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ กอ ใหผเู รียนเกดิ การเรียนรู อยางคงทน เปน การเรยี นท่มี ีชวี ติ ชวี า จงู ใจใหนักเรยี นอยากเรียนรมู ากขึ้น และชวยสง เสรมิ ความรว มมอื ในการทำงาน รว มกัน (ไพศาล สวุ รรณนอย, 2558) อันเปน พ้ืนฐานของการพัฒนาศกั ยภาพของนกั เรยี น

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 120 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 จากเหตผุ ลท่กี ลา วมาขา งตนนี้ ผวู จิ ยั จงึ สนใจทจ่ี ะนำการจัดการเรยี นรูโดยใชป ญ หาเปน ฐานมาใชเ พือ่ พฒั นา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเศรษฐศาสตรแ ละความสามารถในการคิดวเิ คราะหส ำหรับนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปท ี่ 5 โรงเรียน บา นโคกกระเบอื้ งสามัคคี ใหผ านเกณฑตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด เพราะการจัดการเรยี นรูโดยใชป ญหาเปน ฐาน เปนการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีเปดโอกาสใหน กั เรียนไดล งมอื เรยี นรดู วยตนเองเปนหลกั สามารถท่จี ะสรา งองคค วามรู ผา นการตัง้ คำถาม ศึกษาคนควา วเิ คราะหข อ มลู ที่เก่ียวเนื่องกับสถานการณจ ริงในปจ จุบนั เกดิ กระบวนการพฒั นาการคดิ ทง้ั คิดวเิ คราะหและคดิ อยา งมเี หตผุ ล และสามารถเกิดทักษะการเรียนรอู ยา งย่ังยืนได อนั จะสง ผลใหผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เศรษฐศาสตรแ ละความสามารถในการคดิ วเิ คราะหข องนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 5 ของโรงเรยี นบา นโคกกระเบอื้ งใหส ูงขน้ึ 2. วัตถปุ ระสงคของการวิจยั 2.1 เพอ่ื เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเศรษฐศาสตรกอ นเรยี นและหลงั เรยี นของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา ปท ี่ 5 ดวยการจัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน 2.2 เพือ่ เปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเศรษฐศาสตรห ลงั เรยี นของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 5 ดวยการ จดั การเรียนรโู ดยใชปญหาเปนฐานเทียบกบั เกณฑรอยละ 70 2.3 เพอ่ื ศกึ ษาความสามารถในการคิดวิเคราะหข องนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 5 หลงั เรียนดว ยการจัดการเรยี นรู โดยใชป ญหาเปน ฐาน เทียบกับเกณฑรอ ยละ 60 3. วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย 3.1 ประชากรและกลุม ตัวอยา ง 3.1.1 ประชากร คือ นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ปก ารศึกษา 2561 จำนวน 8 หอง ในศูนยเครอื ขาย พัฒนาคุณภาพการศึกษาบา นเหลอ่ื ม 1 สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 6 3.1.2 กลุมตวั อยาง คอื นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 5 ปก ารศึกษา 2561 โรงเรยี นบา นโคกกระเบื้อง สามคั คี อำเภอบานเหลอ่ื ม จังหวดั นครราชสีมา สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 6 จำนวน 1 หองเรียน จำนวนนักเรยี น 20 คน การกำหนดกลมุ ตวั อยา ง ใชว ิธกี ารสุมแบบแบง กลุม (Cluster Random Sampling) โดยแตล ะกลมุ คละความสามารถ เกง กลาง และออ น แลว ทำการสมุ จับสลากมา 1 หองเรยี น จากทงั้ หมด 8 หองเรยี น 3.2 เครอื่ งมือทใ่ี ชใ นการวิจยั 3.2.1 แผนการจดั การเรียนรูโดยใชป ญ หาเปน ฐาน รายวชิ า ส15101 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 หนว ยการเรยี นรเู ศรษฐศาสตรน า รู ใชเ วลาในการทดลอง รวม 12 ชวั่ โมง นำแผนการจดั การเรียนรโู ดยใชปญหาเปนฐานทสี่ รางขน้ึ ผลการพิจารณาความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรโู ดยรวม มคี วามเหมาะสมมากทส่ี ุด โดยมคี า เฉล่ียเทากบั 4.57 3.2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเศรษฐศาสตร แบบปรนัยชนิด 4 ตวั เลอื ก จำนวน 30 ขอ ผเู ชย่ี วชาญประเมนิ ความสอดคลอ งระหวางแบบทดสอบกับตัวช้ีวดั ผลปรากฏวา คา ดชั นีความสอดคลอง (Index of item objective congruence: IOC) ของขอ สอบอยูระหวาง 0.60 ถงึ 1.00 คา ความยากงาย (p) อยรู ะหวา ง 0.25 ถึง 0.69 และ คาอำนาจจำแนก (r) อยูร ะหวาง 0.25 ถึง 0.75 จากนนั้ วิเคราะหห าคา ความเชื่อมน่ั ของขอสอบท้งั ฉบับเทา กบั 0.848 3.2.3 แบบวดั ความสามารถในการคดิ วิเคราะห แบบปรนัยชนดิ 4 ตัวเลอื ก จำนวน 20 ขอ ผูเช่ียวชาญ ประเมินความสอดคลองระหวา งแบบทดสอบกับลักษณะของการคดิ วเิ คราะห ผลปรากฏวา คา ดชั นคี วามสอดคลอ ง (IOC) ของขอสอบอยรู ะหวา ง 0.60 ถึง 1.00 คา ความยากงา ย (p) อยรู ะหวา ง 0.25 ถึง 0.75 และคา อำนาจจำแนก (r) อยรู ะหวาง 0.25 ถึง 0.88 จากน้ันวิเคราะหหาคาความเชือ่ มั่นของขอ สอบท้ังฉบับเทา กับ 0.932

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 121 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 3.3 การดำเนินการทดลอง 3.3.1 การทดสอบกอนเรยี น (Pretest) โดยใชแ บบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเศรษฐศาสตร ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 5 3.3.2 การจดั การเรียนรโู ดยใชป ญ หาเปนฐานตามแผนการจัดการเรยี นรู ใชเ วลาจำนวน 12 ช่วั โมง 3.3.3 การทดสอบหลงั เรยี น (Posttest) ทันทหี ลงั การสอนสิ้นสุดลง โดยใชแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นเศรษฐศาสตร และแบบวัดความสามารถในการคดิ วิเคราะห ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 3.4 การวเิ คราะหขอ มลู และสถติ ทิ ีใ่ ช 3.4.1 นำคะแนนทไี่ ดจากการทดสอบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นเศรษฐศาสตร ฉบับกอ นเรียนและหลงั เรยี น จากการจัดการเรยี นรโู ดยใชป ญหาเปนฐาน มาวเิ คราะหห าคารอ ยละ คา เฉลยี่ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบคาที (t-test for dependent) ดวยโปรแกรมสำเรจ็ รูปทางสถติ ิ 3.4.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นเศรษฐศาสตร หลงั เรียนดว ยการจดั การเรยี นรโู ดยใช ปญหาเปนฐาน กบั เกณฑร อ ยละ 70 โดยใชสถิติ One Sample t-test 3.4.3 นำคะแนนท่ไี ดจ ากการวดั ความสามารถในการคดิ วิเคราะห หลังเรยี นดวยการจดั การเรียนรโู ดยใช ปญหาเปนฐาน มาวเิ คราะหห าคารอ ยละ คา เฉลย่ี สวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และเปรยี บเทยี บกับเกณฑร อ ยละ 60 โดยใชส ถติ ิ One Sample t-test 4. ผลการวจิ ัย 4.1 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเศรษฐศาสตรข องนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 หลังเรยี นดวยการจดั การเรยี นรู โดยใชปญ หาเปนฐาน สูงกวา กอนเรียนอยา งมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 ดังผลทแี่ สดงในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 แสดงการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเศรษฐศาสตรกอ นเรียนและหลังเรียน ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษา ปที่ 5 ดวยการจดั การเรยี นรโู ดยใชปญ หาเปน ฐาน การทดสอบ n คะแนนเต็ม X̅ S.D. t P กอนเรยี น 20 30 15.40 3.86 15.104* .000 หลังเรยี น 20 30 22.94 2.76 * มนี ัยสำคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .05 จากตารางท่ี 1 พบวา ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเศรษฐศาสตรข องนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที่ 5 ดวยการ จดั การเรยี นรูโ ดยใชปญหาเปนฐาน คะแนนกอ นเรียนมคี า เฉล่ีย 15.40 และคะแนนหลังเรยี นมคี า เฉลย่ี 22.95 ซ่ึงคะแนน หลังเรยี นสูงกวา กอนเรยี นอยา งมนี ัยสำคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั .05 4.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเศรษฐศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 5 หลังเรยี นดวยการจัดการเรยี นรู โดยใชปญหาเปน ฐาน สูงกวาเกณฑรอ ยละ 70 อยา งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05 ดังผลท่ีแสดงในตารางท่ี 2

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 122 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ตารางท่ี 2 แสดงการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนเศรษฐศาสตรห ลังเรียนของนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 ดวยการ จดั การเรียนรโู ดยใชป ญหาเปน ฐานเทียบกบั เกณฑรอยละ 70 การทดสอบ n คะแนนเต็ม เกณฑ X̅ คดิ เปนรอยละ S.D. t P รอ ยละ หลังเรยี น 20 30 70 22.95 76.50 2.76 3.157* .005 * มีนยั สำคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั .05 จากตารางที่ 2 พบวา ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเศรษฐศาสตรห ลังเรยี นของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 5 ดวยการจดั การเรยี นรูโดยใชป ญหาเปนฐาน นักเรยี นมีคะแนนเฉลยี่ หลงั เรียนเทา กับ 22.95 คิดเปน รอ ยละ 76.50 ซ่งึ สูงกวา เกณฑ รอยละ 70 อยา งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05 4.3 ความสามารถในการคิดวิเคราะหข องนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 หลังเรียนดว ยการจัดการเรยี นรโู ดยใช ปญหาเปน ฐาน สงู กวาเกณฑร อ ยละ 60 อยา งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05 ดังผลทีแ่ สดงในตารางท่ี 3 ตารางท่ี 3 แสดงการศึกษาความสามารถในการคดิ วเิ คราะหของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 5 หลังเรยี นดว ยการจดั การเรียนรโู ดยใชป ญหาเปนฐาน เปรียบเทยี บกบั เกณฑรอยละ 60 การทดสอบ n คะแนน เกณฑ X̅ คิดเปน S.D. t P เตม็ รอ ยละ รอยละ ความสามารถ 20 20 60 13.85 69.25 2.76 3.000* .004 ในการคดิ วเิ คราะห * มนี ัยสำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 จากตารางที่ 3 พบวา ความสามารถในการคดิ วเิ คราะหข องนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 5 ดว ยการจดั การเรยี นรู โดยใชป ญ หาเปน ฐาน นกั เรยี นมีคะแนนเฉลย่ี หลังเรียนเทา กับ 13.85 คิดเปน รอ ยละ 69.25 ซงึ่ สูงกวา เกณฑร อยละ 60 อยางมี นยั สำคญั ทางสถิติทร่ี ะดบั .05 5. สรปุ และอภปิ รายผล 5.1 ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเศรษฐศาสตรก อนเรยี นและหลังเรยี นของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษา ปที่ 5 ดว ยการจัดการเรียนรูโดยใชป ญหาเปนฐาน นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนหลงั เรียนสูงกวา กอ นเรียนอยา งมี นยั สำคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ .05 โดยกลมุ ตัวอยา งทศ่ี กึ ษานักเรยี นมคี ะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นเศรษฐศาสตรก อ นเรียน มีคา เฉลยี่ 15.40 และคะแนนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนเศรษฐศาสตรห ลงั เรยี นมคี าเฉล่ีย 22.95 ทง้ั นีเ้ นอ่ื งจากการจดั การเรยี นรู โดยใชปญหาเปน ฐานเปนการจดั การเรยี นการสอนทพี่ ฒั นานักเรียนไดอ ยางเตม็ ศกั ยภาพ เปน การฝก ฝนทักษะการเรยี นรู ดวยตนเอง โดยเรมิ่ ตงั้ แตกระบวนการตง้ั ประเด็นคำถามท่สี งสยั จากการเผชญิ สถานการณท ีใ่ กลเ คยี งกบั สภาพปญ หาจริง ทคี่ รนู ำมาเปน ส่อื เพื่อกระตุนใหเ กดิ ความสนใจในบทเรยี นทศ่ี กึ ษา เมือ่ นกั เรียนเกดิ ขอคำถามแลว กต็ อ งลงมือทำการศึกษา

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 123 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ปญ หานั้น และดำเนนิ การคนควา ถึงขอ มลู ตาง ๆ ท่ีจะเปนตวั ชวยใหส ามารถคลีค่ ลายปญ หาได โดยทีน่ กั เรียนจะไดพ บเจอ ขอมูลท่มี คี วามสัมพนั ธเก่ียวของกบั บทเรียนในระหวางการสบื คน ทำใหน ักเรียนจำเปน จะตอ งรูจักการวเิ คราะหเ พอ่ื ใหไ ดม า ซ่งึ ขอ มูลท่ีถกู ตอง และการสงั เคราะหค วามรอู ันจะนำมาสูก ารสรุปเพอ่ื หาคำตอบทน่ี ักเรยี นสงสยั ถือเปน การสรางองคค วามรู อยางมรี ะบบ ทำใหนกั เรียนมคี วามรูความเขาใจอยางถองแท สอดคลอ งกบั สุริยา ฟองเกดิ (2560) ท่ไี ดก ลา วถึงการจดั การเรยี นรโู ดยใชป ญ หาเปนฐานวา เปนการสรา งใหนกั เรยี นตอ งการศึกษาคน ควา เพื่อนำไปสกู ารหาคำตอบ เพราะนักเรยี น จะมกี ารแสวงหาความรใู หม ๆ รูจ กั การวิเคราะห สงั เคราะหขอมูล จนสรปุ องคค วามรูท่ไี ดแ ลว นำมาเสนอผลงานดว ยความ เขา ใจ เปนเหตใุ หผ เู รียนเกดิ องคความรทู ี่คงทน สง ผลตอ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นทสี่ ูงขึ้น และยังสอดคลองกบั งานวจิ ยั ของ อภชิ ยั เหลา พเิ ดช (2556) ฤดีรตั น แปง หอม (2559) และ รัชนี เกษศิริ (2560) ที่ไดศ กึ ษาการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธท์ิ าง การเรยี นโดยใชรปู แบบการจดั การเรียนรูแบบปญ หาเปน ฐานในวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ซึง่ พบวานักเรยี น ทไ่ี ดรบั การจดั การเรียนรูแบบปญ หาเปนฐาน มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นหลงั เรยี นสูงกวากอ นเรยี นอยา งมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ่ี ระดับ .05 5.2 ผลการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเศรษฐศาสตรหลังเรยี นของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 ดว ยการจดั การเรียนรโู ดยใชปญหาเปนฐานเทยี บกบั เกณฑร อยละ 70 พบวา นักเรยี นมคี ะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน เศรษฐศาสตรเ ฉลย่ี หลังเรยี นเทา กบั 22.95 คิดเปน รอ ยละ 76.50 สูงกวาเกณฑรอยละ 70 อยา งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 เนอื่ งดวยการจัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐานเปน วธิ ีการทที่ ำใหผูเรยี นไดพ ฒั นาศักยภาพการเรยี นรู มสี วนรวมในการ แสวงหาขอมูลสง่ิ ตา ง ๆ ดวยตัวของนักเรยี นเอง เพ่อื เชื่อมโยงเน้อื หาในบทเรียนสเู หตกุ ารณใ นชวี ติ ประจำวนั ไดม ีปฏสิ ัมพนั ธ กับเพ่อื น ๆ และรว มกนั ระดมความคิดแลกเปลยี่ นเรยี นรูจากการอภปิ รายขอ มูลท่ีนักเรยี นแตละคนไดไ ปศึกษาทำใหนกั เรียน มคี วามเขา ใจในบทเรยี นอยา งคงทน (สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2550) จึงสงผลใหผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของ นักเรียนสูงขึ้นและผานเกณฑร อยละ 70 ตามทกี่ ำหนด สอดคลอ งกับงานวิจยั ของกนกวรรณ ศรนี รจันทร (2555) ที่ไดศกึ ษา เรือ่ ง การพฒั นากิจกรรมการเรียนรูแบบใชป ญ หาเปนฐาน รายวิชา สังคมศกึ ษา ส22101 หนวยการเรยี นรู เรื่อง เศรษฐกจิ พอเพียงกบั การผลติ สินคา และบรกิ าร สำหรบั นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 2/1 พบวา กจิ กรรมการจดั การเรยี นรแู บบใชปญหา เปน ฐานเปน การจดั กิจกรรมท่ใี หน กั เรยี นไดม สี ว นรว มในการจดั การเรียนรู นักเรยี นไดใชการคิดวเิ คราะห รูจกั สือ่ สารและสรปุ องคค วามรดู ว ยตนเอง จนทำใหนกั เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นผา นเกณฑร อยละ 70 5.3 ผลการศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะหข องนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 หลังเรียนดวยการ จัดการเรยี นรูโดยใชป ญ หาเปนฐาน เปรยี บเทยี บกบั เกณฑรอ ยละ 60 พบวา นกั เรยี นมคี ะแนนความสามารถในการ คิดวเิ คราะหเ ฉล่ยี หลงั เรยี นเทา กับ 13.85 คดิ เปน รอยละ 69.25 ซ่งึ สงู กวาเกณฑร อ ยละ 60 อยางมีนัยสำคญั ทางสถติ ิ ท่รี ะดบั .05 เนอื่ งจากการจดั การเรยี นรูโดยใชปญหาเปน ฐานเปน กระบวนการทม่ี ีขนั้ ตอนในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูท่ใี ห นกั เรยี นไดฝ ก การคดิ วเิ คราะห สงั เคราะห สรุปและเช่ือมโยงอยางสมำ่ เสมอ นกั เรียนจะไดพ ัฒนาการคิดอยา งเปน ลำดบั ข้นั ตอนจนเกิดเปน ความคลองแคลว และเม่อื เจอสถานการณทต่ี องการคำตอบ นกั เรียนสามารถคดิ วเิ คราะหเ ช่ือมโยง ถงึ หลักการ ความสมั พนั ธ และความสำคญั ประกอบการตดั สนิ ใจเลอื กในสงิ่ ที่มคี วามเหมาะสมได ผา นการฝกการคดิ จำแนก การคดิ เปรยี บเทยี บ และการคดิ ไตรต รอง จากกิจกรรมการจดั การเรียนรโู ดยใชปญ หาเปนฐาน ทำใหผ ลการพัฒนา ความสามารถในการคดิ วิเคราะหของนักเรยี นผา นเกณฑร อยละ 60 บรรลผุ ลตามทต่ี ง้ั ไว ดงั ท่ี ประกายมาศ ทองหมืน่ (2554) ไดใ ชร ปู แบบการเรยี นรโู ดยใชป ญหาเปนฐานในการจดั การเรียนการสอน เพื่อกระตนุ การคิดวเิ คราะหใ นการอานของนกั เรยี น และนอ งนาง ปรอื งาม (2554) ไดใชกิจกรรมการเรียนรแู บบใชปญ หาเปนฐานกระตุนใหนกั เรยี นกระตอื รือรน ในการศึกษา

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 124 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 คนควา เพื่อตองการแกปญหาจากโจทยป ญ หาจนทำใหนักเรียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหถึงสถานการณปญ หา สาเหตุ คะแนนความสามารถในการคดิ วเิ คราะห รายวชิ าเคมี เร่ืองกรด-เบส สูงกวารอยละ 70 ของคะแนนเตม็ มีคะแนนเฉล่ยี 31.88 สว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 4.52 6. ขอ เสนอแนะ 6.1 ขอ เสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช 6.1.1 การจดั การเรียนรโู ดยใชปญหาเปน ฐานชวยพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสาระเศรษฐศาสตรไ ด ดงั น้ัน จึงควรดำเนินการจดั กจิ กรรมนีอ้ ยา งตอ เนอื่ งในสาระอ่ืน ๆ ในรายวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 6.1.2 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูในชวงระยะแรก ๆ ครคู วรมกี ารอธบิ ายข้นั ตอนการทำกจิ กรรมใหชดั เจน และดำเนนิ ไปอยา งชา ๆ ใหค ำแนะนำจนนกั เรยี นเกิดความเขา ใจ 6.1.3 ครผู ูน ำไปใชค วรศกึ ษารายละเอยี ดของแตล ะกิจกรรมแตอ ยา งละเอยี ด เพ่อื สามารถนำไปใชได อยา งมปี ระสิทธภิ าพ 6.2 ขอเสนอแนะในการวจิ ยั ครง้ั ตอ ไป 6.2.1 ควรมีการศึกษาวจิ ยั การจัดการเรยี นรโู ดยใชป ญ หาเปนฐานเพอื่ พฒั นาดา นความรหู รอื ทกั ษะอื่น ๆ 6.2.2 ควรมกี ารศึกษาวจิ ยั การจัดการเรยี นรูโดยใชป ญ หาเปน ฐานรวมกับการเรยี นรูแบบอืน่ ทีม่ ี ความเหมาะสม เพือ่ ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ แกผเู รียน 8. รายการอา งองิ ภาษาไทย กนก จนั ทรา. (2557). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรสู งั คมศึกษาโดยใชป ญ หาเปนฐานท่ีมีตอ ความสามารถในการแกปญ หา และความรบั ผดิ ชอบตอ สังคมของนกั เรียนมัธยมศกึ ษาปท ี่ 5. วารสารอิเลก็ ทรอนิกสท างการศกึ ษา, 9(1), 42-55. กนกวรรณ ศรนี รจันทร. (2555). การพฒั นากิจกรรมการเรยี นรูแบบใชป ญหาเปน ฐานรายวิชา สงั คมศกึ ษา ส 22101 หนวยการเรยี นรู เรอ่ื ง เศรษฐกิจพอเพียงกบั การผลติ สินคาและบริการ สำหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 2/1 (วิทยานิพนธปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลยั ขอนแกน, ขอนแกน . กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พครุ สุ ภา ลาดพรา ว. นอ งนาง ปรอื งาม. (2554). การพัฒนาความสามารถในการคดิ วเิ คราะหและผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน รายวชิ าเคมี เรื่อง กรด-เบส ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรแู บบใชป ญหาเปน ฐาน (วทิ ยานิพนธ ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแกน , ขอนแกน . ประกายมาศ ทองหมน่ื . (2554). การใชร ูปแบบการเรยี นรูโดยใชปญหาเปน ฐานเพอื่ กระตนุ การคิดวเิ คราะหในการอาน. (วทิ ยานพิ นธป รญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ ). มหาวิทยาลยั เชยี งใหม, เชียงใหม. ไพศาล สวุ รรณนอ ย. (2558). เอกสารประกอบการสมั มนาโครงการพัฒนารปู แบบการเรียนการสอนโดยใชปญ หาเปนฐาน การเรยี นร.ู ขอนแกน : มหาวิทยาลยั ขอนแกน. รัชนี เกษศริ .ิ (2560). ผลการจัดการเรยี นรแู บบปญ หาเปนฐานวชิ าสงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรมทส่ี ง ผลตอ ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคด า นใฝเรยี นรขู องนักเรยี นระดับชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 5 โรงเรียน ศึกษานารวี ทิ ยา (วทิ ยานพิ นธปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ ). มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง, กรุงเทพฯ.

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 125 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 รตั นา สขุ ศร.ี (2551). ผลการใชกิจกรรมการเรียนรูแบบหมวกหกใบที่มีตอ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนและความสามารถในการ คิดวเิ คราะหของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร (การศกึ ษาคนควาอสิ ระปรญิ ญา การศึกษามหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, มหาสารคาม. โรงเรียนบานโคกกระเบอ้ื งสามคั ค.ี (2560). หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา นโคกกระเบือ้ งสามคั คี พทุ ธศักราช 2561. นครราชสมี า: โรงเรยี นบา นโคกกระเบ้ืองสามัคค.ี ฤดีรัตน แปงหอม. (2559). การสรา งชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูโดยใชปญ หาเปนฐาน เร่ือง ปรากฏการณท างภูมศิ าสตรส ำหรับ นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 4. (วทิ ยานิพนธก ารศึกษามหาบณั ฑติ ). มหาวทิ ยาวทิ ยาลยั บูรพา, ชลบรุ ี. วิรไท สันตปิ ระภพ. (2560). “เศรษฐกจิ การเงนิ ไทยทามกลางความทาทายในยคุ 4.0”. ในงานสมั มนา เรอื่ ง มองหาอนาคต ยคุ 4.0. กรงุ เทพฯ: สภาธรุ กิจไทย-จีน. สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2550). การจดั การเรยี นรโู ดยใชปญ หาเปนฐาน. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พชุมนมุ สหกรณ การเกษตรแหง ประเทศไทย จำกดั . สุรยิ า ฟองเกิด. (2560). สรปุ ความรกู ารจดั การเรียนการสอนแบบ PBL. สืบคน จาก http://164.115.41.60/knowledge/ ?p=509. อภชิ ยั เหลาพิเดช. (2556). การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นและความสามารถในการคดิ แกป ญหาอยางสรางสรรค เรอ่ื ง ปญหาทางสังคมของไทย ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 6 ดวยการจัดการเรียนรโู ดยใชป ญ หาเปน ฐาน (วิทยานพิ นธปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ ). มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, นครปฐม.

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 126 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรูผ าน Facebook โดยใชปญหาเปน ฐาน เร่ือง การออกแบบและ พัฒนาอินโฟกราฟก ของนักศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยั วงษชวลิตกุล The Development of Facebook Learning Activity Plan Using Problem-based Learning on Design and Infographic Development of Students Studying in the Graduate Diploma Program in Teacher Profession Faculty of Educational, Vongchavalitkul University ประภัสสร กองทอง* อาจารย คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกลุ * Prapassorn Kongtong* Lecturer, Faculty of Education, Vongchavalitkul University* Corresponding author E-mail: [email protected] (Received: September 9, 2020 ; Revised: September 14, 2020 ; Accepted: September 23, 2020) บทคัดยอ การวิจยั ครง้ั นม้ี วี ตั ถุประสงค 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใชปญ หาเปนฐาน และ 2) เพ่อื ประเมนิ ผลทักษะการออกแบบอนิ โฟกราฟก กลมุ ตัวอยางในการวจิ ยั คอื นักศึกษาหลักสตู รประกาศนียบตั รบัณฑติ วชิ าชพี ครู คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั วงษชวลิตกลุ ท่ลี งทะเบยี นในรายวิชา นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศึกษา 2562 จำนวน 30 คน ไดม าดวยวธิ ีการสมุ แบบกลุม (Cluster sampling) เครื่องมอื ท่ใี ชในการวจิ ัย ไดแก 1) แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใชปญหาเปน ฐาน มีความเหมาะสมอยใู นระดบั มากทส่ี ุด (X̅ = 4.64, S.D. = 0.35) และ 2) แบบประเมนิ ผลทักษะการออกแบบอินโฟกราฟก ลักษณะแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ โดยตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือไดค าความเทีย่ งตรงอยทู ่ี 1.00 มีคา ความเช่อื มนั่ เทากับ 0.87 สถิติท่ใี ชว ิเคราะห ขอมลู ไดแก รอ ยละ คา เฉลย่ี สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบวา 1) ผลการพัฒนาแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใชป ญหาเปน ฐาน อยใู นระดบั เหมาะสมมากทส่ี ดุ (X̅ = 4.64, S.D. = 0.34) และ 2) นกั ศกึ ษาที่เรยี นดวยกจิ กรรมการเรียนรูผ า น Facebook โดยใชปญ หา เปน ฐาน มีทกั ษะการออกแบบอนิ โฟกราฟก อยูในระดบั มาก (X̅ = 4.22, S.D. = 0.40) คำสำคัญ: แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรผู า น Facebook, การเรยี นรูโ ดยใชป ญ หาเปนฐาน, ทักษะการออกแบบอนิ โฟกราฟก Abstract The purposes of this research were: 1) to develop the Facebook learning activity plan using problem-based learning, and 2) to evaluate the students’ Infographic design skills. The respondents in this research were 30 students of Graduate Diploma Program in Teacher Profession, Faculty of Education at Vongchavalitkul University, chosen by cluster random sampling method. The instruments were

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 127 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 1) the facebook learning activity plan using problem-based learning with the highest level of suitability (X̅ = 4.64, S.D. = 0.35); and 2) the 5-rating assessment of infographic design skills with the validity of 1.00, and reliability of 0.87, respectively. The statistics used in this research were percentage, mean and standard deviation. The results revealed as follows: 1) the Facebook learning activity plan using problem- based learning was appropriate in highest level (X̅ = 4.64, S.D. = 0.34); and 2) the students who learned through Facebook learning activities using problem-based learning had Infographic design skills in high level (X̅ = 4.22, S.D. = 0.40). Keywords: Learning activities through Facebook plan, Problem-based learning, Infographic design skills 1. ความเปนมาและความสำคญั ของปญหา การแพรร ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019: COVID-19) ทำใหเกิดการ ปรับตัวเปน วิถชี วี ติ แบบใหม (New Normal) โดยเฉพาะสถาบนั ทางการศึกษาท่ไี มส ามารถจดั การเรยี นการสอนแบบปกตไิ ด จงึ จำเปนตองใชร ปู แบบการเรียนการสอนแบบออนไลน เพื่อใหก ารเรยี นรเู กิดความตอ เนือ่ ง (วทิ ยา วาโย, อภิรดี เจรญิ นุกูล, ฉตั รสดุ า กานกายนั ต, และ จรรยา คนใหญ, 2563) และดวยความเจริญกา วหนา อยา งรวดเรว็ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสารมบี ทบาททสี่ ำคัญในฐานะการเปน เครอื่ งมือในการพฒั นาประเทศ พัฒนาการศกึ ษาและพฒั นากระบวนการจดั การ เรียนรูใหม ปี ระสิทธิภาพทีด่ ยี ิ่งขึน้ ผเู รยี นสามารถเกดิ การเรยี นรูไดอยางรวดเร็วมปี ระสทิ ธภิ าพสูงกวาการเรยี นรูท ี่ไมใช เทคโนโลยี เกดิ แรงจูงใจในการเรียนรู และประหยดั เวลา ท้ังนใ้ี นการจดั การเรียนรดู วยเทคโนโลยีและสอ่ื สังคมออนไลนนั้น ผูสอนและผเู รียนสามารถใชการตดิ ตอสื่อสารผา นระบบเครือขายอนิ เทอรเน็ต เสาะแสวงหาความรไู ดท ุกท่ที ุกเวลา เพ่อื การ เรยี นรตู ลอดชีวิตและทำในเกดิ องคค วามรูใ หม (ปณ ฑิตา อนิ ทรรกั ษา, 2562) การจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลนเ ปนวิธีการถา ยทอดเน้อื หา รปู ภาพ วดิ โี อ การใชส อื่ หลายๆ ประเภท รว มกบั การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ดว ยอปุ กรณอเิ ล็กทรอนกิ สผ านระบบเครอื ขายอนิ เทอรเ นต็ โดยขอมลู เหลานี้ จะถูกสง ไปยงั ผเู รยี นผาน Web Browser และแอปพลิเคชนั่ ทนี่ ยิ มใชใ นการจดั การเรยี นการสอนออนไลนด วยส่อื สงั คม ออนไลนใ นปจ จุบนั เชน Facebook, Twitter, Youtube, Zoom, Line, Google Classroom, Google meeting, Microsoft Team เปนตน (รัชดากร พลภักด,ี 2563) จากการสำรวจพฤตกิ รรมการใชส ่ือสงั คมออนไลนข องคนไทย ในป พ.ศ. 2561 ของสำนักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส (องคการมหาชน) ในบรรดาแอปพลเิ คชนั่ ทงั้ หมดทีก่ ลาวมา แอปพลิเคชน่ั ท่ีคนรุนใหมใ ชในชวี ติ ประจำวันสงู สดุ และยังคงเปน สอ่ื สังคมออนไลนย อดนยิ มที่ครองใจคนไทยมา 3 ปซ อน คอื Facebook, Twitter, Instagram (รอ ยละ 93.6) (สำนักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส (องคก ารมหาชน), 2562) ในการจัดการเรียนการสอนดวย Facebook เปน หนง่ึ ในเครอื่ งมือทางระบบเครอื ขา ยสังคมออนไลนทีไ่ ดรบั ความนิยมสูง เนือ่ งจากสามารถใชเปนเครอื่ งมือในการตดิ ตอ สอื่ สารไดทั้งในแบบประสานเวลาและแบบไมป ระสานเวลา นอกจากน้ี ทิพรตั น สิทธิวงศ (2558) ไดศกึ ษาความคิดเหน็ ของนกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี ในรายวชิ า การออกแบบและผลติ สอ่ื กราฟกเพอื่ การศึกษา ทม่ี ตี อการใช Facebook ในการจัดการเรยี นการสอน พบวา มคี วามพึงพอใจในการเรยี นอยใู นระดับ มาก (X̅ = 4.00, S.D. = 0.53) ในดานการติดตอ สือ่ สารระหวางผเู รยี นกบั ผสู อนทำใหเ กดิ ความใกลชิด รองลงมาคือ ทำให นกั ศึกษามีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ รวมกับเพอื่ น สามารถนำขอเสนอแนะเกีย่ วกบั งานผาน Facebook ไปใชใ นการ ปรับปรงุ ผลงานของตนเองใหด ีขนึ้ นอกจากนี้ยงั ชว ยลดเวลาในการนำเสนอผลงาน ใชเปน พ้นื ท่ีสำหรับการสงงาน สงไฟลภ าพ ไดอ กี ดว ย สอดคลองกบั Wang, Woo, Quek, Yang, and Liu (2012) ไดใช Group Facebook ในการจดั การเรยี นการสอน

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 128 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 โดยใชประกาศขา วสารตางๆ การแบง ปนทรัพยากรรว มกนั การจดั ทำบทเรียนรายสัปดาห และการอภิปรายออนไลนกับผสู อน ผลการวจิ ัยพบวา ผเู รียนมีความพงึ พอใจในระบบการทำงานของ Facebook ท่สี ามารถดำเนินงานและทำกจิ กรรมตา งๆ กบั เพือ่ นไดง า ย อยา งไรก็ตามถงึ แมว า ผสู อนและผเู รียนจะไดร บั ประโยชนจ ากการใชงาน Facebook แตผ ูสอนก็ตอ งออกแบบและ พัฒนากจิ กรรมการเรยี นรผู า น Facebook ใหมคี วามนา สนใจ กระตนุ การเรยี นรใู หเกดิ ข้ึนกบั ผเู รยี น โดยการสรางนวัตกรรม ทางการศึกษาประเภทวธิ กี ารจดั การเรยี นการสอนภายใตกรอบแนวคดิ ศตวรรษท่ี 21 และการจดั การเรียนรโู ดยเนน ผูเรยี น เปน สำคญั หนึง่ ในวธิ ีการจัดการเรยี นการสอนน้นั คอื การจัดการเรยี นรโู ดยใชป ญหาเปน ฐาน (Problem-based Learning) การเรยี นรโู ดยใชป ญหาเปน ฐาน (Problem-based Learning: PBL) เปน กระบวนการเรียนรดู วยการใชป ญหาเปน จุดเรม่ิ ตนของกระบวนการเรยี นรแู ละเปนตัวกระตุนในการพฒั นาทกั ษะการแกปญหาดวยเหตผุ ล และการสืบคน ขอ มลู ที่ตองการดว ยวธิ กี ารตางๆ จากแหลงขอมูลสารสนเทศท่หี ลากหลาย โดยสรางความรูจ ากแกปญ หาหรือสถานการณทกี่ ำลัง เผชิญอยูอยา งมีความหมายตอผเู รยี น (Borrows ฿ Tamblyn, 1980; สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2550) ประโยชนข องการจดั การเรียนการสอนโดยใชปญหาเปน ฐานตามที่ Walton and Matthews (1989) ไดอ ธบิ ายไววา การจัดการเรยี นการสอนโดยใชปญหาเปนฐาน จะชว ยใหผเู รียนสามารถปรบั ตวั ไดด ีขึน้ แตก ารเปลย่ี นแปลงอยา งรวดเรว็ ในเร่ืองขอ มลู ขาวสารในโลกปจ จุบนั สง เสรมิ การสะสมการเรยี นรแู ละการรกั ษาขอ มลู ใหมไ วไดด ี ชวยใหผ เู รยี นเกิดการตดั สินใจ แบบองคร วม หรือแบบสหวชิ า นอกจากนย้ี งั ทำใหผูเรยี นเกิดการเรยี นรวู ธิ ีการแกปญ หา ไดร บั ความรใู หมจากการศกึ ษาคน ควา ดว ยการวิเคราะหแ ละแกป ญ หาที่เรยี น รูจ กั การตดั สินใจ การพฒั นาความคิดใหมๆ เพราะการเรยี นการสอนโดยใชปญ หา เปนฐานเนน การเรยี นรูแ บบมสี วนรวมในภายกลุม ซ่ึงทำใหผ เู รียนไดพ ฒั นาบุคลกิ ภาพที่เปนตัวเอง มีความคิดรเิ รมิ่ คดิ เปน มีความมัน่ ใจ กลา ท่ีจะเผชิญปญหาและใชห ลักการแกปญหาอยา งมีเหตผุ ล รวมทัง้ เปนการฝก ฝนนสิ ยั การศึกษาคนควา ดว ยสภาพปญ หาการแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 และความเจรญิ กาวหนา ของเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สารที่กลาวมาขางตน ผวู ิจัยจึงนำมาออกแบบและพัฒนากจิ กรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใช ปญหาเปนฐาน ในรายวิชา นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา เรอื่ ง การออกแบบและพัฒนาอินโฟกราฟก ของนักศกึ ษา หลักสตู รประกาศนียบตั รบณั ฑติ ทางการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยวงษช วลิตกลุ เพ่อื เปนแนวทางปฏบิ ตั ิในการใช สื่อสงั คมออนไลนด ว ย Facebook ในการจดั การเรยี นการสอนท่จี ะชว ยตอบสนองการเรยี นรบู นความแตกตางของผูเรยี น ชวยเสรมิ สรา งบรรยากาศในการเรียนรูท ี่ดโี ดยเนนผเู รยี นเปนศนู ยกลาง เปด โอกาสใหผ เู รยี นแลกเปลยี่ นเรียนรรู วมกัน จนประสบความสำเรจ็ ตามจุดมุงหมายของในการเรียนของทุกคน 2. วัตถุประสงคข องการวิจยั 2.1 เพือ่ พฒั นาแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรผู าน Facebook โดยใชปญ หาเปนฐาน เร่อื ง การออกแบบและ พัฒนาอินโฟกราฟก สำหรบั นกั ศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วิชาชีพครู 2.2 เพือ่ ประเมนิ ผลทกั ษะการออกแบบอินโฟกราฟกของนกั ศกึ ษาหลักสตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วชิ าชพี ครู 3. วธิ ดี ำเนินการวิจยั 3.1 กลุม ตวั อยางท่ีใชใ นการวิจัย คือ นักศึกษาหลกั สตู รประกาศนียบตั รบณั ฑิตวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั วงษช วลิตกุล ท่ีลงทะเบียนในรายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศกึ ษา 2562 จำนวน 30 คน ไดมาดว ยวิธีการสมุ แบบกลุม (Cluster Sampling) 3.2 เครอ่ื งมือทใี่ ชในการวิจยั 3.2.1 แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรผู าน Facebook โดยใชปญ หาเปนฐาน เรอื่ ง การออกแบบและพฒั นา อนิ โฟกราฟก สำหรบั นกั ศกึ ษาหลกั สูตรประกาศนยี บัตรบณั ฑติ วชิ าชีพครู รวมเวลาทงั้ สิ้น 12 ชัว่ โมง

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 129 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 3.2.2 แบบประเมินผลทกั ษะการออกแบบอินโฟกราฟก มีลักษณะเปนแบบสอบถามชนดิ มาตราสว น ประมาณคา (Rating scale) 5 ระดับ (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2553) มเี กณฑการประเมนิ ดังน้ี 5 หมายถึง มที ักษะการออกแบบอนิ โฟกราฟก อยูในระดบั มากทีส่ ดุ 4 หมายถึง มที กั ษะการออกแบบอินโฟกราฟกอยูในระดบั มาก 3 หมายถงึ มที กั ษะการออกแบบอินโฟกราฟกอยูในระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง มที กั ษะการออกแบบอินโฟกราฟกอยูในระดบั นอย 1 หมายถงึ มีทกั ษะการออกแบบอินโฟกราฟกอยูใ นระดบั นอ ยทสี่ ดุ 3.3 การสรางและหาคณุ ภาพเครื่องมอื วจิ ัย 3.3.1 แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใชปญ หาเปน ฐาน 3.3.1.1 ศึกษาตำรา เอกสาร และงานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ งกับการจัดกจิ กรรมการเรยี นรผู าน Facebook โดยใช ปญหาเปนฐาน และเน้ือหาการออกแบบและพัฒนาอนิ โฟกราฟก 3.3.1.2 สรา งแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใชป ญหาเปน ฐาน เรือ่ ง การออกแบบและ พัฒนาอินโฟกราฟก โดยสงั เคราะหม าจากแนวคดิ ของ Borrows and Tamblyn (1980), มัณฑรา ธรรมบุศย (2545) และ สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา (2550) ดงั แสดงในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 แสดงกระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรผู าน Facebook โดยใชปญ หาเปน ฐาน กระบวนการจดั กจิ กรรม การเรยี นรผู า น Facebook บทบาทอาจารย บทบาทนักศกึ ษา โดยใชป ญหาเปน ฐาน ขน้ั ท่ี 1 กำหนดปญ หา - นำเสนอโจทยปญ หาเพอื่ การออกแบบและ - ศึกษาปญ หาทีพ่ บและตอบปญ หาทพี่ บ พฒั นาอนิ โฟกราฟก เร่อื ง การปอ งกนั โควิด-19 จากโจทยปญ หาลงใตโ พสต Facebook ลงใน Facebook Group Group - ศกึ ษารปู แบบสอ่ื การเรยี นการสอน แบบอนิ โฟกราฟก ขนั้ ท่ี 2 ทำความเขา ใจ - ต้งั ประเดน็ คำถามเพอ่ื นำไปสกู ารหาสาเหตุ - ระดมสมองหาสาเหตขุ องปญ หา ปญ หา ของปญ หา - ตั้งคำถามในประเด็นท่ีอยากรู - ยกตวั อยางภาพอินโฟกราฟก และสาธติ วธิ ีการ - อธิบายสาเหตขุ องปญหาลงใตโ พสต ออกแบบและพัฒนาอินโฟกราฟกดว ย Facebook Group แอปพลิเคช่นั Canva ผาน Clip ทีโ่ พสต - ศึกษา Clip วิธีการออกแบบและ ลงใน Facebook Group พัฒนาอนิ โฟกราฟกดวยแอปพลเิ คชั่น Canva ขน้ั ท่ี 3 ดำเนนิ การศึกษา - จดั หาแหลง ขอมลู เพื่อใหน ักศกึ ษาคน หาขอ มูล - คนหาขอมูล รปู ภาพ และสญั ลกั ษณ คนควา รปู ภาพ และสญั ลกั ษณ โดยอยใู นประเด็นของ จากแหลงการเรยี นรู จากโพสต สาเหตปุ ญหา เพอื่ นำมาประกอบในการสราง แหลง ขอมูลใน Facebook Group อินโฟกราฟก แลว โพสตล งใน Facebook Group

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 130 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ตารางท่ี 1 (ตอ) บทบาทอาจารย บทบาทนกั ศกึ ษา กระบวนการจัดกจิ กรรม การเรยี นรผู าน Facebook - คอยสังเกตพฤตกิ รรมจากการโพสต - นำขอ มลู ท่ไี ดมาสังเคราะหค วามรู โดยใชป ญ หาเปน ฐาน ขอคำถาม การสง ช้นิ งาน และคอยใหความ โดยการรา งอนิ โฟกราฟกแบบลงใน ชว ยเหลือเมอื่ นักศึกษาเกิดความไมเ ขาใจ กระดาษ ข้นั ท่ี 4 สงั เคราะหค วามรู ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม - นักศกึ ษาสามารถแลกเปลี่ยนความคดิ - กำหนดระยะเวลาในการดูความคบื หนา กบั อาจารยไ ด ขนั้ ที่ 5 สรุปและประเมินคา ของการออกแบบและพัฒนาอินโฟกราฟก - สงตามระยะเวลาที่กำหนด ของคำตอบ - ตรวจสอบและใหขอ เสนอแนะ - แกไ ขตามขอเสนอแนะ การออกแบบอินโฟกราฟก ผานโพสตใน - สรางอินโฟกราฟก ดวยแอปพลิเคชั่น ขนั้ ที่ 6 นำเสนอและ Facebook Group และ Inbox Facebook Canva ประเมนิ ผลงาน - ใหนกั ศกึ ษานำเสนออนิ โฟกราฟก ผาน - นักศึกษานำเสนออนิ โฟกราฟก ผา น Facebook Group และใหเพอ่ื นรว มกัน Facebook Group และรวมกันแสดง แสดงความคดิ เห็น ความคิดเหน็ ในชน้ิ ผลงานของเพอ่ื น - ประเมินผลทกั ษะการออกแบบอนิ โฟ กราฟก - สรุปและแจง ผลการออกแบบอินโฟกราฟก ใหน กั ศกึ ษาทราบผาน Facebook Group 3.3.1.3 นำแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใชป ญ หาเปน ฐาน เรอ่ื ง การออกแบบและ พฒั นาอินโฟกราฟก เสนอตอผูเ ชย่ี วชาญ จำนวน 5 คน เพอ่ื ตรวจคุณภาพของแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู ไดคา ความ เหมาะสม อยูใ นระดบั มากทส่ี ดุ (X̅ = 4.64, S.D. = 0.35) 3.3.2 แบบประเมนิ ทกั ษะการออกแบบอนิ โฟกราฟก 3.3.2.1 ศกึ ษาตำรา เอกสาร และงานวิจัย ทเ่ี กี่ยวของกบั แบบประเมนิ ชนดิ มาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) โดยกำหนดคาคะแนนเปน 5 ระดับ คือ มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอย และนอ ยท่ีสดุ 3.3.2.2 นำประเมินทกั ษะการออกแบบอินโฟกราฟกเสนอตอผเู ชีย่ วชาญเพ่ือพิจารณาความเหมาะสม ของขอความ และความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยใชส ตู ร IOC (Index of Item–Objective Congruence) เพ่อื ทำการคดั เลือกขอคำถามท่มี คี า ความสอดคลองระหวา งขอ สอบกบั จุดประสงคก ารเรียนรูต้งั แต 0.50 ขนึ้ ไป โดยไดค าความ สอดคลอ งอยูท่ี 1.00 จำนวน 6 ขอ ไดแ ก 1) เนือ้ หาสาระสำคญั ของขอมลู ถูกตอ ง เขา ใจงาย 2) ขนาดและสสี นั ของตวั อกั ษร อานงา ย 3) การจัดวางองคประกอบ 4) ความสอดคลองของเนือ้ หากับภาพ สัญลักษณ 5) สสี นั ในการออกแบบ และ 6) ความคดิ สรา งสรรค 3.3.2.3 นำแบบประเมนิ ทกั ษะการออกแบบอนิ โฟกราฟก มาหาความเชอื่ มน่ั ทั้งฉบับ ดวยสมั ประสทิ ธิ์ แอลฟา (Alpha Coefficient) (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2553) ผลจากการวเิ คราะหไ ดแ บบประเมนิ มคี าความเชื่อมน่ั เทา กบั 0.87

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 131 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 3.4 การดำเนนิ การทดลองและจดั เกบ็ ขอมลู ผูวิจัยดำเนนิ การจดั กิจกรรมการเรียนรผู า น Facebook โดยใชป ญ หาเปนฐาน มีกระบวนการดังนี้ 3.4.1 ขั้นเตรียม เปน ข้ันทผี่ ูสอนทำขอ ตกลงรว มกับนกั ศึกษาเกยี่ วกับกิจกรรมการเรียนรผู า น Facebook โดยใชป ญ หาเปนฐาน เรอื่ ง การออกแบบและพฒั นาอนิ โฟกราฟก สำหรบั นักศึกษาหลกั สตู รประกาศนบี ตั รวิชาชพี ครู 3.4.2 ข้ันสอน เปนข้ันทผ่ี สู อนจดั กจิ กรรมการผา น Facebook โดยใชปญ หาเปนฐาน เร่อื ง การออกแบบ และพัฒนาอนิ โฟกราฟก สำหรบั นกั ศึกษาหลักสตู รประกาศนบี ตั รวชิ าชพี ครู ไดแ ก 1) กำหนดปญหา 2) ทำความเขา ใจปญหา 3) ดำเนินการศกึ ษาคนควา 4) สงั เคราะหค วามรู 5) สรุปและประเมนิ คา ของคำตอบ และ 6) นำเสนอและประเมินผลงาน 3.4.3 ขนั้ สรปุ เปน ขั้นทผี่ สู อนสรุปกจิ กรรมการเรยี นรูและประเมินทกั ษะการออกแบบอนิ โฟกราฟก ของนกั ศึกษาหลักสูตรประกาศนยี บัตรบณั ฑติ ทางการสอน โดยใชแ บบประเมินทักษะการออกแบบอนิ โฟกราฟก และบันทกึ ผล การประเมนิ ไวสำหรับการวเิ คราะหข อ มลู 3.5 การวิเคราะหข อมูล 3.5.1 วเิ คราะหค ณุ ภาพของแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรผู า น Facebook โดยใชป ญ หาเปน ฐาน หาคา เฉลี่ย สว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน แปลระดบั ความหมาย โดยใชเกณฑของบญุ ชม ศรสี ะอาด (2553) ดังนี้ 4.51-5.00 หมายถงึ มีความเหมาะสมอยูในระดับมากทส่ี ดุ 3.51-4.50 หมายถึง มคี วามเหมาะสมอยใู นระดบั มาก 2.51-3.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมอยใู นระดบั ปลางกลาง 1.51-2.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมอยใู นระดับนอย 1.00-1.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมอยูในระดับนอยที่สุด 3.5.2 วิเคราะหทักษะการออกแบบอินโฟกราฟกของนักศกึ ษานกั ศกึ ษาหลักสตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วชิ าชีพครู คณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยวงษช วลติ กลุ ที่เรียนดว ยแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใช ปญ หาเปน ฐาน เร่ือง การออกแบบและพัฒนาอินโฟกราฟก โดยหาคา เฉล่ยี สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน แปลระดบั ความหมาย โดยใชเกณฑของ บุญชม ศรสี ะอาด (2553) ดังนี้ 4.51-5.00 หมายถงึ มที ักษะการออกแบบอนิ โฟกราฟกอยใู นระดบั มากทส่ี ดุ 3.51-4.50 หมายถงึ มที ักษะการออกแบบอินโฟกราฟกอยูใ นระดบั มาก 2.51-3.50 หมายถึง มที กั ษะการออกแบบอนิ โฟกราฟกอยใู นระดบั ปลางกลาง 1.51-2.50 หมายถงึ มที ักษะการออกแบบอินโฟกราฟก อยูใ นระดบั นอย 1.00-1.50 หมายถึง มที กั ษะการออกแบบอินโฟกราฟกอยใู นระดบั นอ ยทสี่ ุด 4. ผลการวิจัย 4.1 ผลการพัฒนาแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใชปญหาเปนฐาน เรอื่ ง การออกแบบและ พัฒนาอนิ โฟกราฟก สำหรับหลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ครู คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยวงษช วลิตกุล โดยผูเชีย่ วชาญ จำนวน 5 คน ไดแก ผเู ชย่ี วชาญดา นเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ดานหลักสูตรและการสอน และดา นวดั และประเมินผล ดังตารางที่ 2

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 132 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ตารางที่ 2 แสดงคาเฉลี่ย สว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน แผนการจดั การกจิ กรรมการเรียนรผู าน Facebook โดยใชป ญหาเปน ฐาน เรื่อง การออกแบบและพฒั นาอนิ โฟกราฟก สำหรบั หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั วงษชวลิตกลุ รายการประเมนิ X̅ S.D. ระดบั ความ เหมาะสม 1. ดา นเนอ้ื หาสาระการเรยี นรู 1.1 เนอ้ื หาสาระการเรยี นรมู คี วามสอดคลอ งกับคำอธบิ ายรายวิชา 4.60 0.55 มากทส่ี ดุ 1.2 เนือ้ หาสาระการเรียนรสู อดคลอ งกบั จุดประสงคการเรยี นรู 4.80 0.45 มากทสี่ ดุ 1.3 เน้อื หาสาระการเรียนรมู กี ารเรยี งลำดบั จากงายไปยากเหมาะสมกับผูเ รียน 4.60 0.55 มากที่สดุ รวมเฉลีย่ 4.67 0.47 มากที่สดุ 2. ดานจดุ ประสงคก ารเรยี นรู 2.1 จุดประสงคก ารเรียนรูครอบคลุมดา นความรู ทกั ษะ และเจตคติ 4.80 0.45 มากที่สดุ 2.2 จุดประสงคการเรยี นรรู ะบพุ ฤตกิ รรมการเรยี นรสู ามารถวัดและประเมินผลได 4.60 0.55 มากที่สดุ อยา งชัดเจน 2.3 จดุ ประสงคก ารเรยี นรคู รอบคลมุ เนอ้ื หาสาระการเรยี นรู 4.80 0.45 มากทสี่ ดุ รวมเฉลย่ี 4.73 0.28 มากที่สุด 3. ดานกระบวนการเรยี นรู 3.1 กระบวนการเรยี นรูและกจิ กรรมเหมาะสมกับเนื้อหาสาระการเรยี นรู 4.40 0.55 มาก 3.2 กจิ กรรมการเรียนรสู อดคลอ งกับจุดประสงคการเรยี นรู 4.60 0.55 มากที่สดุ 3.3 กจิ กรรมการเรียนรูม ลี ำดบั ขนั้ ตอนการจดั การเรียนรูทช่ี ดั เจนตามแนวทางการ 4.60 0.55 มากท่ีสุด จดั การเรยี นรูโดยใชปญหาเปนฐาน 3.4 เวลาทใ่ี ชเ หมาะสมกบั กจิ กรรมการเรยี นรแู ละเหมาะสมกับผูเ รยี น 4.20 0.45 มาก รวมเฉลย่ี 4.45 0.41 มาก 4. ดา นส่ือและแหลง การเรียนรู 4.1 สอดคลอ งกับกจิ กรรมการเรียนรู 4.60 0.55 มากที่สดุ 4.2 เหมาะสมกับวัย ความสนใจ และความสามารถของผูเ รียน 4.80 0.45 มากท่สี ดุ 4.3 เรา ความสนใจของผเู รยี น 4.60 0.55 มากทส่ี ดุ 4.4 ผเู รียนใชงานงาย 4.80 0.45 มากทส่ี ุด รวมเฉลี่ย 4.70 0.41 มากทส่ี ดุ 5. ดา นการวดั และประเมนิ ผล 5.1 เครือ่ งมอื วัดผลสามรถวดั ไดตรงกบั จดุ ประสงคก ารเรียนรู 4.60 0.55 มากทส่ี ุด 5.2 มเี กณฑก ารประเมินผลทีช่ ดั เจน ถกู ตอง 4.80 0.45 มากทส่ี ุด รวมเฉล่ีย 4.70 0.45 มากทส่ี ุด เฉล่ยี รวมทกุ ดาน 4.64 0.34 มากท่สี ุด

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 133 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 จากตารางท่ี 2 แสดงผลการพฒั นาแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใชป ญ หาเปน ฐาน เรือ่ ง การออกแบบและพฒั นาอนิ โฟกราฟก สำหรบั หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยั วงษช วลติ กุล โดยผเู ช่ียวชาญ จำนวน 5 คน ไดแก ผเู ช่ยี วชาญดานเทคโนโลยีการศกึ ษา ดานหลกั สตู รและการสอน และดา น วดั และประเมินผล โดยภาพรวมอยูใ นระดับมากท่ีสุด (X̅ = 4.64, S.D. = 0.34) เม่อื พจิ ารณาเปน รายดาน โดยเรียงลำดบั คา เฉลี่ยจากมากไปนอ ย พบวา 1) ดานจดุ ประสงคการเรยี นรู อยใู นระดบั มากทีส่ ดุ (X̅ = 4.73, S.D. = 0.28) 2) ดานสอื่ และ แหลง การเรียนรู อยูในระดับมากท่ีสดุ (X̅ = 4.70, S.D. = 0.41) 3) ดา นการวัดและประเมินผล อยใู นระดบั มากทีส่ ุด (X̅ = 4.70, S.D. = 0.45) 4) ดานเนอื้ หาสาระการเรียนรู อยใู นระดับมากที่สดุ (X̅ = 4.67, S.D. = 0.47) และ 5) ดา น กระบวนการจดั การเรยี นรู อยูใ นระดับมาก (X̅ = 4.45, S.D. = 0.41) เมื่อพิจารณารายขอในดา นจดุ ประสงคการเรียนรู โดยเรยี งลำดับคาเฉลยี่ จากมากไปนอย พบวา 1) จดุ ประสงค การเรยี นรคู รอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติ และ จดุ ประสงคการเรียนรคู รอบคลมุ เนือ้ หาสาระการเรยี นรู อยใู นระดบั มากที่สุด (X̅ = 4.80, S.D. = 0.45) และ 3) จดุ ประสงคก ารเรียนรูร ะบพุ ฤตกิ รรมการเรยี นรสู ามารถวัดและประเมนิ ผลได อยางชัดเจน อยูในระดับมากที่สดุ (X̅ = 4.60, S.D. = 0.55) เมอื่ พจิ ารณารายขอ ในดานการวดั และประเมนิ ผล โดยเรียงลำดับคา เฉลย่ี จากมากไปนอย พบวา 1) เกณฑ การประเมนิ ผลที่ชดั เจน ถูกตอ ง (X̅ = 4.80, S.D. = 0.45) และ 2) เครื่องมือวัดผลสามรถวดั ไดตรงกับจดุ ประสงคการเรยี นรู อยใู นระดับมากที่สุด (X̅ = 4.60, S.D. = 0.55) เมอ่ื พิจารณารายขอในดานสือ่ และแหลง การเรียนรู โดยเรียงลำดบั คา เฉลย่ี จากมากไปนอ ย พบวา 1) เหมาะสม กับวยั ความสนใจ และความสามารถของผูเรยี น และ 2) ผูเรียนใชง านงาย อยใู นระดับมากท่ีสดุ (X̅ = 4.80, S.D. = 0.45) 3) สอดคลอ งกบั กจิ กรรมการเรยี นรู และ 4) เราความสนใจของผเู รียน อยใู นระดับมากทส่ี ุด (X̅ = 4.60, S.D. = 0.55) เม่อื พิจารณารายขอ ในดานเนอื้ หาสาระการเรยี นรู โดยเรยี งลำดบั คา เฉลย่ี จากมากไปนอย พบวา 1) เนือ้ หาสาระ การเรยี นรูสอดคลองกบั จดุ ประสงคก ารเรยี นรู อยใู นระดับมากทส่ี ุด (X̅ = 4.80, S.D. = 0.45) 2) เนอื้ หาสาระการเรียนรู มีความสอดคลอ งกบั คำอธิบายรายวชิ า และ 3) เนอื้ หาสาระการเรยี นรมู กี ารเรยี งลำดับจากงายไปยากเหมาะสมกบั ผเู รยี น อยใู นระดับมากที่สุด (X̅ = 4.60, S.D. = 0.55) เมือ่ พิจารณารายขอในดานกระบวนการเรยี นรู โดยเรยี งลำดบั คา เฉลยี่ จากมากไปนอ ย พบวา 1) กิจกรรม การเรยี นรสู อดคลองกบั จดุ ประสงคการเรยี นรู และ 2) กจิ กรรมการเรียนรูม ลี ำดับข้ันตอนการจดั การเรียนรูท ่ีชัดเจน ตามแนวทางการจดั การเรยี นรโู ดยใชป ญหาเปนฐาน อยใู นระดับมากที่สดุ (X̅ = 4.60, S.D. = 0.55) 3) กระบวนการเรียนรู และกจิ กรรมเหมาะสมกบั เนอ้ื หาสาระการเรียนรู อยูในระดับมาก (X̅ = 4.40, S.D. = 0.55) และ 4) เวลาท่ใี ชเ หมาะสมกบั กิจกรรมการเรยี นรแู ละเหมาะสมกบั ผเู รยี น อยูในระดับมาก (X̅ = 4.20, S.D. = 0.45) 4.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะการออกแบบอนิ โฟกราฟก ของนักศกึ ษาหลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพครู คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั วงษชวลิตกลุ ท่เี รียนดว ยกิจกรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใชป ญหาเปน ฐาน ดังตารางท่ี 3

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 134 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ตารางท่ี 3 แสดงคา เฉลยี่ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากการประเมินทักษะการออกแบบอนิ โฟกราฟก ของนักศกึ ษาหลักสูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ครู คณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั วงษชวลิตกลุ ท่เี รยี นดวยกิจกรรมการเรยี นรู ผาน Facebook โดยใชปญหาเปน ฐาน รายการประเมนิ X̅ S.D. ระดบั ความ เหมาะสม 1. เนอื้ หาสาระสำคญั ของขอ มูลถกู ตอง เขาใจงา ย 4.57 0.50 มากทส่ี ดุ 2. ขนาดและสีสันของตวั อกั ษร อา นงา ย 4.03 0.49 มาก 3. การจดั วางองคป ระกอบ 4.00 0.45 มาก 4. ความสอดคลอ งของเนือ้ หากบั ภาพ สัญลักษณ 4.57 0.57 มากท่ีสุด 5. สีสันในการออกแบบ 4.13 0.43 มาก 6. ความคดิ สรางสรรค 4.00 0.64 มาก เฉลยี่ รวม 4.22 0.40 มาก จากตารางที่ 3 แสดงผลจากการประเมนิ ทักษะการออกแบบอินโฟกราฟก ของนกั ศกึ ษาหลักสูตรประกาศนยี บัตร วิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยวงษชวลติ กลุ ทเี่ รยี นดวยกจิ กรรมการเรยี นรูผา น Facebook โดยใชป ญหาเปนฐาน โดยภาพรวมอยใู นระดบั มาก (X̅ = 4.22, S.D. = 0.40) เมื่อพิจารณาเปนรายดา น โดยเรยี งลำดบั คาเฉลย่ี จากมากไปนอย พบวา 1) เน้ือหาสาระสำคัญของขอ มูลถกู ตอ ง เขา ใจงาย อยใู นระดบั มากที่สดุ (X̅ = 4.57, S.D. = 0.50) 2) ความสอดคลอ ง ของเนื้อหากับภาพ สัญลักษณ อยใู นระดับมากทสี่ ดุ (X̅ = 4.57, S.D. = 0.57) 3) สีสันในการออกแบบ อยูใ นระดับมาก (X̅ = 4.13, S.D. = 0.43) 4) ขนาดและสสี ันของตวั อกั ษร อานงาย อยใู นระดบั มาก (X̅ = 4.03, S.D. = 0.49) 5) การจดั วาง องคประกอบ อยใู นระดบั มาก (X̅ = 4.00, S.D. = 0.45) และ 6) ความคิดสรางสรรค (X̅ = 4.00, S.D. = 0.64) โดยปรากฎ ผลงานการออกแบบอนิ โฟกราฟกดงั ภาพที่ 1 ภาพที่ 1 ผลงานการออกแบบอินโฟกราฟก ตานโควิด-19 ของนกั ศึกษาหลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ครู คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั วงษชวลิตกุล

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 135 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 5. สรุปและอภิปรายผล 5.1 ผลการพฒั นาแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรผู าน Facebook โดยใชปญ หาเปน ฐาน สำหรบั นักศกึ ษา หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ครู คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยั วงษช วลติ กุล อยูในระดบั เหมาะสมมากที่สดุ (X̅ = 4.64, S.D. = 0.34) จากการดำเนนิ การพัฒนาแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรตู ามหลกั การออกแบบและพฒั นาดวย ADDIE Model ดังน้ี ข้ันตอนท่ี 1 วิเคราะห (Analysis) คุณสมบตั ขิ องกลุมตัวอยา ง เนือ้ หาคำอธิบายรายวชิ า และศกึ ษาตำรา เอกสาร งานวิจัย เกี่ยวกับการจดั กิจกรรมการเรยี นรผู า น Facebook โดยใชป ญหาเปน ฐาน ผูวจิ ัยนำแนวคดิ ของ Borrows and Tamblyn (1980), มณั ฑรา ธรรมบุศย (2545), และ สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550) มาสงั เคราะหกระบวนการ จัดการเรียนการสอน สรุปได 6 ข้นั ตอน ประกอบดว ย 1) กำหนดปญ หา 2) ทำความเขาใจปญ หา 3) ดำเนนิ การศึกษาคน ควา 4) สงั เคราะหความรู 5) สรปุ และประเมนิ คาของคำตอบ และ 6) นำเสนอและประเมนิ ผลงาน ขัน้ ตอนที่ 2 การออกแบบ (Design) โดยการนำเนอ้ื หาคำอธบิ ายรายวิชามากำหนดจดุ ประสงคก ารเรยี นรูใ หครอบคลมุ ดา นความรู ทักษะ และเจตคติ สามารถวัดและประเมินผลไดอ ยา งชดั เจน ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรมู ีลำดับข้นั ตอนการจัดการเรยี นรทู ช่ี ดั เจนตามแนว ทางการจดั การเรียนรูโดยใชปญ หาเปน ฐาน ใบความรู ใบงาน และเกณฑใหคะแนน ในรปู แบบแผนการจัดการเรยี นรู (มคอ.3) ข้ันตอนท่ี 3 การพัฒนา (Development) นำขอมูลรายละเอยี ดท่ีไดอ อกแบบมาพฒั นาโดยนำสื่อการเรียนการสอน Upload ผา น Facebook ตามข้นั ตอนการจัดการเรยี นรูโดยใชป ญหาเปนฐานตามแผนการจัดการเรยี นรู (มคอ.3) จากน้นั นำแผนการ จัดการเรียนรูน้ไี ปตรวจสอบความถูกตอ งเหมาะสมโดยผเู ช่ียวชาญ จำนวน 5 คน ประกอบดวย ดานหลักสตู รและการสอน จำนวน 2 คน ดานเทคโนโลยีการศกึ ษาและคอมพิวเตอร จำนวน 2 คน และดานการวดั และประเมนิ ผล จำนวน 1 คน ซง่ึ ผล การประเมนิ แผนการจดั การเรียนรู มีคา เฉลยี่ 4.64 แสดงวา มคอ.3 มเี หมาะสมอยูในระดับมากทีส่ ดุ สามารถนำไปใชในการ จดั การเรียนการสอนได ข้นั ตอนท่ี 4 การนำไปใช (Implementation) เปน ขน้ั ตอนการนำแผนการจัดการเรยี นรูไปใชในการ จัดการเรียนการสอน และจากการสงั เกตพฤตกิ รรมของผูเรียนระหวา งทำกจิ กรรม พบวา ผเู รียนสามารถเขา ศึกษาเน้อื หา บทเรียนผา น Facebook ไดงาย เนอื่ งจากผูเรียนใช Facebook ในชวี ิตประจำวนั อยแู ลว และ Facebook เปน เคร่อื งมอื ทาง ระบบเครอื ขายสงั คมออนไลนท เี่ นน ในการเรอ่ื งการตดิ ตอสือ่ สารในรปู แบบประสานเวลาและไมป ระสานเวลา สามารถนำเสนอ เนอ้ื หาในรปู แบบสอื่ มัลตมิ เี ดยี ได อกี ท้ังยงั สามารถสง ผลงานและแสดงความคดิ เหน็ ในรูปแบบทน่ี าสนใจ มีระบบการแจง เตือน ตลอดเวลาที่มกี ารแจงขอ มลู ขาวสาร ทำใหผ ูเรยี นไมพลาดขา วสารตา ง ๆ ในการเรยี นรู นอกจากนผี้ ูว ิจยั ไดนำรูปแบบการ เรยี นรโู ดยใชปญ หาเปนฐานมาเปน จุดเรมิ่ ตนของการเรยี นรู ซึ่งชวยกระตนุ ความสนใจในการเรยี นรูของผูเรียนไดเปนอยา งดี และการจัดการเรยี นการสอนผาน Facebook โดยใชปญหาเปน ฐาน ผูเรียนสามารถสบื จากแหลง ขอ มูลท่หี ลากหลายบนเวบ็ แลวนำขอมูลเหลา นไ้ี ปสังเคราะหแ ละอภปิ รายรว มกนั ตามรูปแบบการปฏสิ มั พันธท างการเรียนแบบผเู รยี นกบั บทเรยี น และ ผเู รยี นกบั ผเู รยี นและผสู อน ซึ่งเปน การเปดโอกาสใหผ ูเรยี นสามารถสือ่ สารกบั สอ่ื การเรยี นประเภทตา ง ๆ ไดแ ก สือ่ บคุ คล ส่อื บทเรยี น ทไ่ี ดร บั การออกแบบและพฒั นามาโดยเฉพาะ ซึ่งมีผลทำใหเกดิ ความกระตือรอื รนในการเรยี นมากขน้ึ (สรกฤช มณวี รรณ, 2550) โดยมีการปฏสิ ัมพันธท างการเรียนแบบผูเรยี นกบั ผเู รียนและผสู อน ไดใหผ เู รยี นใชเครอ่ื งมอื สอื่ สารผาน Inbox Facebook แบบประสานเวลา สวนการปฏิสมั พันธแบบไมป ระสานเวลาดว ย Webboard ทีผ่ เู รยี นสามารถฝาก ขอ ความในกรณีที่ไมม ผี ูเรยี นและผูสอนออนไลนผ า นทาง Facebook ทำใหผูเรียนรสู กึ อุนใจเมื่อตอ งการความชว ยเหลอื เกิด การเรยี นรูอยา งตอ เนื่อง ไมทอแทร ะหวา งการเรยี นรู และผเู รียนรสู กึ สามารถเขาถึงผูสอนไดม ากขน้ึ และอยากท่ีจะเรยี นรแู ละ สบื คนหาคำตอบไดด วยตนเอง แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นอยตู ลอดเวลา สอดคลอ งกับแนวคิดของ ใจทพิ ย ณ สงขลา (2561) ได อธิบายเกย่ี วกบั ส่ือสงั คมออนไลนวา สือ่ สงั คมออนไลนเ ปนอีกชอ งทางในการส่อื สารทผ่ี สู อนหรือผเู รียนสามารถถา ยทอดเนื้อหา สาระและความรไู ปถงึ ผคู นจำนวนมากไดด ว ยตนเอง ยังอำนวยใหมกี ารโตต อบปฏสิ ัมพนั ธไดตามความประสงคของผทู ำการ ถายทอดสาระเนอ้ื หา มกี ารส่ือสารทีเ่ ปนไดทัง้ สาระเนอ้ื หาหรือการสือ่ สารท่ีไมเ ปนทางการ มีลักษณะการรวมตวั เปนชมุ ชน

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 136 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 การเรยี นรหู รือเครือขายทางสังคมนน่ั เอง และ ขนั้ ตอนท่ี 5 การประเมินผล (Evaluation) หลงั จากทจ่ี ดั การเรยี นการสอน เรยี บรอ ย ผวู ิจยั ไดด ำเนนิ การทดสอบความรู ทักษะ และเจตคติ โดยในการประเมินผลในคร้ังน้ี คือ การประเมนิ ผลทักษะ การออกแบบอนิ โฟกราฟก ในรายวชิ า นวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ของนกั ศกึ ษาหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพครู ซ่ึงจะอภิปรายผลในหวั ขอถดั ไป 5.2 นักศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี ครู คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั วงษชวลิตกลุ ท่เี รยี นดว ย กจิ กรรมการเรยี นรผู าน Facebook โดยใชป ญ หาเปนฐาน เร่ือง การออกแบบอนิ โฟกราฟก มีทักษะการออกแบบอินโฟกราฟก อยูในระดับมาก (X̅ = 4.22, S.D. = 0.40) เม่ือพจิ ารณาเปน รายดาน โดยเรียงลำดับคา เฉล่ยี จากมากไปนอย พบวา 1) เน้ือหา สาระสำคญั ของขอมูลถูกตอง เขาใจงา ย อยูในระดับมากทสี่ ุด (X̅ = 4.57, S.D. = 0.50) เนือ่ งจากผสู อนและผเู รียนไดร ว มกัน ระดมสมองและอภปิ รายเก่ยี วกับการกำหนดปญ หาและทำความเขา ใจปญหาใหต รงกบั โจทยท ี่ไดร บั มอบหมาย ซึ่งเปน ขนั้ ตอน ในการเรียนรูโ ดยใชปญหาฐาน เพอื่ หาขอสรุปและตรวจสอบในการออกแบบเน้ือหาสาระสำคัญใหมคี วามถกู ตอ ง และ ยอยเนอื้ หาใหอ ยใู นรูปแบบของอนิ โฟกราฟก ซึง่ เปนส่ือทด่ี ูแลวเขา ใจงายในเวลารวดเรว็ และชัดเจน สามารถสอื่ ใหผ ูชมเขาใจ ความหมายของขอ มูลทงั้ หมดโดยไมจ ำเปน ตองมผี นู ำเสนอมาชว ยขยายความเขา ใจ (นำ้ มนต เรืองฤทธิ์, 2560) 2) ความ สอดคลองของเน้อื หากบั ภาพ สัญลักษณ อยใู นระดบั มากทส่ี ดุ (X̅ = 4.57, S.D. = 0.57) เนื่องจากในขั้นดำเนนิ การสบื คน ขอ มูล ผสู อนไดม กี ารจดั เตรียมแหลงขอมลู ที่ตรงกบั โจทยป ญหาท่ีตอ งแกไข การสาธิตออกแบบอินโฟกราฟกใหผเู รยี นไดศึกษา ในรปู แบบท่ีหลากหลาย ตามแนวคิดของ สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา (2550) ทอ่ี ธบิ ายบทบาทของผูสอนในการจัดการ เรยี นรโู ดยใชป ญหาเปนฐานไววา ผูส อนตองอำนวยความสะดวก จดั หา ประสานงาน วสั ดุ เอกสาร ส่อื เทคโนโลยี ใหผเู รียน และตองคอยใหความชว ยเหลอื เปน กำลงั ใจทด่ี เี มอ่ื ผูเ รยี นเกดิ ปญ หาระหวางทำกจิ กรรม 3) สสี ันในการออกแบบ อยใู นระดบั มาก (X̅ = 4.13, S.D. = 0.43) จากการประเมนิ ผลงานอินโฟกราฟกประเดน็ น้ี พบวา นกั ศกึ ษาบางสว นยังไมมปี ระสบการณ ในงานออกแบบกราฟก ทำใหการใชสเี พอื่ การออกแบบกราฟก ยงั ตองแกไ ข เนอ่ื งจากการใชสเี ยอะเกนิ ไปจะใหผ อู า นสอ่ื อินโฟกราฟก เกดิ อาการตาลาย พรามัว ขัดแยง สอดคลองกบั เดวดิ ดบั เนอร (2558) ไดอ ธิบายเก่ยี วกบั การเลือกใชสที สี่ ง ผล ตอ อารมณ ความรสู ึกวา สมี ีความเปนเอกลกั ษณ เปนภาษาท่ซี ับซอ น และมีความสามารถในการเปลยี่ นความหมายของตัวเอง การเลือกสีในการออกแบบตองคำนึงถึงความตัดกนั และความกลมกลืนกนั ของสี และผลกระทบท่ีอาจจะเกิดขึน้ ตอ ความชัดเจน ในการพมิ พ นอกจากน้ยี งั สามารถสรางอารมณของงานออกแบบไดโ ดยการใชจ ิตวิทยาดานสี แตน ักออกแบบจะตอ งม่ันใจวาได เลอื กสที ส่ี อื่ ถงึ ขอความไดอยา งถูกตองและเหมาะสมเพอื่ ใหผ ชู มสามารถเขาถึงสงิ่ ทน่ี ักออกแบบตอ งการจะส่อื ออกไป 4) ขนาด และสสี ันของตัวอกั ษร อา นงา ย อยูในระดับมาก (X̅ = 4.03, S.D. = 0.49) จากการประเมินผลงานอนิ โฟกราฟกประเดน็ น้ี พบวา นกั ศกึ ษาบางสว นยงั เลอื กขนาดและสสี นั ของตัวอกั ษรไมส ัมพนั ธก บั สพี น้ื หลัง เชน พ้ืนหลงั สเี ขม ตัวอักษรก็สีเขม ดว ย จึงทำใหม องเหน็ ตวั อกั ษรไมช ดั เจน อา นยาก หรอื สีท่ีสดเกนิ ไปจะทำใหอ า นไดไ มนาน ผอู า นจะเกดิ อาการปวดตา 5) การจดั วางองคป ระกอบ อยูใ นระดับมาก (X̅ = 4.00, S.D. = 0.45) จากการประเมินผลการจดั วางองคป ระกอบตามรปู แบบ Layout ของอนิ โฟกราฟก พบวา นักศึกษาเลือกรปู แบบ Layout ของอินโฟกราฟก ไดอยา งเหมาะสม แตการจดั วางองคป ระกอบ ของนกั ศึกษาบางสว นยงั ไมสมดลุ กบั พ้ืนทท่ี ีใ่ หใ นการออกแบบ โดยเดวิด ดับเนอร (2558) ไดอ ธิบายเกีย่ วกับพน้ื ท่ีในการจัด องคประกอบไววา การเวนพื้นทวี่ า งสามารถสรา งความเครยี ดและความผอนคลายได ในบางครง้ั เราอาจเปดพ้ืนท่ีวา งนน้ั ไวเพ่ือ กระตนุ ใหเหน็ ความซับซอ น เคลือ่ นไหว และสมั ผสั ความรสู กึ ท่ไี ดร ับจากงานออกแบบ และ 6) ความคิดสรา งสรรค อยูใ นระดับ มาก (X̅ = 4.00, S.D. = 0.64) จากการประเมินผลทักษะการออกแบบอนิ โฟกราฟกในดา นความคดิ สรา งสรรค แสดงใหเ ห็นวา การจัดกิจกรรมการเรียนรผู า น Facebook โดยใชป ญหาเปน ฐานเปน ตวั กระตนุ ในการพฒั นาทกั ษะการแกป ญ หา

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 137 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 ความคิดสรา งสรรค ดว ยเหตุผล และการสืบคน ขอมลู ทตี่ อ งการดว ยวธิ กี ารตางๆ โดยสรางความรจู ากแกป ญหาหรือ สถานการณทก่ี ำลังเผชิญอยอู ยา งมีความหมายตอผเู รยี นเปน การส่งั สมประสบการณจากการสังเคราะหค วามรู สรปุ และ ประเมนิ คาคำตอบ เกดิ การถา ยทอดความคิดออกมา สอดคลอ งกบั แนวคิดของ Torrance (1995) ที่อธบิ ายเก่ียวกบั ความหมายของความคิดสรางสรรค เปนกระบวนการที่บุคคลไวตอปญ หา ขอบกพรอง ชอ งวา งในดา นความรู สิ่งท่ขี าดหายไป หรอื ไมป ระสานกนั และไวตอการแยกแยะ ไวตอการคนหาวิธีการแกไขปญ หา จนในท่สี ุดสามารถนำเอาผลทไ่ี ดไ ปแสดงให ปรากฏแกผ อู น่ื ได 6. ขอ เสนอแนะ 6.1 ขอ เสนอแนะในการนำผลการวิจยั ไปใช 6.1.1 จากผลการวิจยั จะเหน็ วาการพัฒนากจิ กรรมการเรียนรผู า น Facebook โดยใชป ญหาเปนฐาน มผี ลดี ตอทักษะการออกแบบนวัตกรรมและส่ือการเรียนการสอน ดังนนั้ ผสู อนควรส่ังสมประสบการณก ารเรยี นรูดวยการนำเสนอ สถานการณเพื่อนำไปสกู ารแกป ญ หา จะทำใหผเู รยี นมมี ุมมองท่ีหลากหลายเพื่อนำไปใชในชีวติ ประจำวัน 6.1.2 กอนจะนำกจิ กรรมการเรยี นรผู าน Facebook โดยใชปญ หาเปน ฐาน ไปใชในการจดั การเรยี นการสอน ผสู อนควรระบุบทบาทหนา ท่ีของตนเองและของผูเรียนใหชัดเจน และเหมาะสมกบั ระยะเวลาในการจดั การเรยี นการสอน 6.2 ขอเสนอแนะในการวจิ ยั ครง้ั ตอ ไป ควรศกึ ษางานวิจัยท่นี ำสอื่ สงั คมออนไลนร ปู แบบอ่ืนๆ เพือ่ สงเสรมิ ทกั ษะท่จี ำเปนในศตวรรษที่ 21 เชน ทักษะการสื่อสาร ทกั ษะการทำงานเปนทีม หรอื ทกั ษะการออกแบบและพฒั นานวัตกรรม เปน ตน 7. รายการอางองิ ภาษาไทย ใจทิพย ณ สงขลา. (2561). การออกแบบการเรยี นแนวดจิ ิทัล. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พแ หงจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย. ทพิ รตั น สทิ ธวิ งศ. (2558). การศกึ ษาความคิดเหน็ ของนิสิตท่มี ตี อ การใช Facebook ในการเรยี นการสอน รายวิชา การออกแบบและผลติ ส่อื กราฟก เพอ่ื การศกึ ษา สำหรบั นิสิตระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยแี ละส่ือสาร การศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั นเรศวร. วารสารศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั นเรศวร, 17(3), 82-88. ดับเนอร, เดวดิ . (2558). เปล่ยี นจนิ ตนาการสงู านออกแบบ: ทฤษฎพี ้ืนฐาน หลักการออกแบบ และ workshop สำหรบั งานกราฟก. [Graphic design school: The principles and practice of graphic design] (จตุ ิพงศ ภสู มุ าศ และ สวุ สิ า แซอง่ึ , ผแู ปล). นนทบรุ :ี ไอดซี ี พรเี มยี ร. บุญชม ศรสี ะอาด. (2553). การวิจัยเบ้ืองตน (พิมพค รั้งท่ี 8 ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม). กรุงเทพฯ: สวุ รี ิยาสาสน . ปณ ฑติ า อินทรรักษา. (2562). การจดั การเรยี นรูด ว ยสอ่ื สังคมออนไลน. วารสารศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยนเรศวร, 21(4), 357-365. รชั ดากร พลภกั ดี. (2563). การใชสือ่ สงั คมออนไลนในการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ COVID 19. วารสารครศุ าสตร อุตสาหกรรม, 19(1), 1-5. มัณฑรา ธรรมบศุ ย. (2545). การพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรูโดยใช PBL (Problem-based Learning). วารสารวชิ าการ, 5(2), 11-17. น้ำมนต เรืองฤทธ.์ิ (2560). อินโฟกราฟก กบั การออกแบบส่อื การสอน. วารสารศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, 15(2), 29-40.

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 138 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 วทิ ยา วาโย, อภริ ดี เจรญิ นุกลู , ฉตั รสดุ า กานกายันต, และ จรรยา คนใหญ. (2563). การเรยี นการสอนแบบออนไลนภ ายใต สถานการณแพรระบาดของไวรัส COVID-19 : แนวคดิ และการประยกุ ตใ ชก ารจัดการเรยี นการสอน. วารสาร ศนู ยอนามัยท่ี 9, 14(34), 285-297. สรกฤช มณีวรรณ. (2550). การศึกษาความสามารถในการแกป ญ หาการเรยี นจากแบบปฏิสมั พันธท างการเรียนรู ตางกันและผูเรยี นทีม่ ีแบบการเรยี นทตี่ า งกันผา นเครือขา ยคอมพิวเตอร. (วิทยานิพนธปริญญาการศึกษาดษุ ฎี บณั ฑิต). มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ, กรงุ เทพฯ. สำนักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส (องคการมหาชน). (2562). รายงานผลการสำรวจพฤตกิ รรมผใู ชอ นิ เทอรเนต็ ในประเทศไทย ป 2561. กรงุ เทพฯ: กระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม. สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2550). การจดั การเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐาน. กรงุ เทพฯ: สำนกั งานเลขาธิการ สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. ภาษาอังกฤษ Barrows, H.S. & Tamblyn, R.M. (1980). Problem-based learning: an approach to medical education. New York: Springer Publishing. Torrance, E. P. (1995). Insight about creativity: Question, reject, ridiculed, ignored. Educational Psychology Review, 7, 313-316. Walton, H.J. & Matthews, M.B. (1989). Essentials of problem-based learning. Medical Education, 23(6), 542-558. doi: https://doi.org/10.1111/j.1365-2923.1989.tb01581.x Wang, Q., Woo, L.H., Quek, C.L., Yang, Y., & Liu, M. (2012). Using the facebook group as learning management system: An exploratory study. British Journal of Educational Technology, 43(3), 428-438. doi: 10.1111/j.1467-8535.2011.01995.x

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 139 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 การบรหิ ารงานตามหลกั ธรรมาภบิ าลของผูบริหารสถานศกึ ษา สงั กดั สำนกั งาน เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาชัยภมู ิ เขต 3 ตามการรบั รูของครผู สู อน Good Governance Management of School Administrators under Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 3 as Perceived by Teachers ปาลิดา ธนะกลุ ภาคนิ * จำเริญรตั น จิตตจริ จรรย* * และ วรสทิ ธ์ิ รัตนวราหะ*** นักศกึ ษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลัยวงษชวลติ กลุ * รองศาสตราจารย ดร., คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยวงษชวลติ กลุ ** อาจารย ดร., คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยั วงษชวลิตกลุ *** Palida Thanakunphakhin* Chamroenrat Chitchirachan** and Worasit Rattanavaraha*** Graduate Student of Master Degree Program in Education Administration, Vongchavalitkul University* Associate Professor DR., Faculty of Education, Vongchavalitkul University** Lecturer DR., Faculty of Education, Vongchavalitkul University*** Corresponding author E-mail: [email protected] (Received: October 6, 2019; Revised: November 27, 2019; Accepted: January 1, 2020) บทคดั ยอ การวจิ ยั ครงั้ นีม้ วี ตั ถปุ ระสงคเพ่ือ 1) ศกึ ษาระดับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยภมู ิ เขต 3 ตามการรับรขู องครผู สู อน และ 2) เปรยี บเทียบการบริหารงาน ตามหลกั ธรรมาภิบาลของผูบรหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 3 ตามการรบั รู ของครผู ูส อน โดยจำแนกขอ มลู พน้ื ฐานของครูประกอบดว ย วุฒิการศึกษา ประสบการณในการปฏบิ ตั ิงาน และขนาด สถานศกึ ษา กลุมตัวอยางไดแ ก ครูผสู อน จำนวน 308 คน สถานศกึ ษากลมุ ตวั อยา ง จำนวน 127 แหง โดยการสมุ แบบ หลายขน้ั ตอน เคร่อื งมอื ท่ใี ชในการเก็บรวบรวมขอ มลู เปน แบบสอบถามเกยี่ วกบั การบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภบิ าล ลักษณะแบบมาตราสว นประมาณคา 5 ระดบั โดยตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื ไดค าความเทย่ี งตรงระหวาง 0.60 ถงึ 1.00 และคาความเชอ่ื มั่นของแบบสอบถามท่ี 0.95 วเิ คราะหขอมลู โดยโปรแกรมคอมพวิ เตอรส ำเร็จรูปหาคา รอ ยละ คา เฉล่ีย และสวนเบยี่ งเบนมาตรฐาน เปรยี บเทยี บความคดิ เห็นกลมุ ตัวอยางใช t-test, F-test และพบความแตกตางของคาเฉลีย่ การเปรยี บเทยี บวิธกี ารของเชฟเฟ (Scheffé’s Method) ผลการวจิ ัยพบวา 1) การรบั รูของครูผสู อนตอการบริหารงานตามหลกั ธรรมาภบิ าลของผบู รหิ ารสถานศึกษา สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ เขต 3 โดยรวมทกุ ดานอยูใ นระดับมาก เรยี งลำดับคา เฉลีย่ จากมากไปนอ ย 3 ลำดับแรก คือดา นหลกั ประสิทธผิ ล รองลงมาคอื ดานหลักประสิทธภิ าพ และดา นหลกั ภาระรบั ผิดชอบตามลำดบั ดานทม่ี ี คาเฉล่ยี มากลำดับสดุ ทา ยคอื ดา นหลกั การกระจายอำนาจ และ 2) ครผู สู อนท่มี วี ฒุ กิ ารศกึ ษาทีต่ า งกัน มกี ารรับรูสภาพ การบริหารโดยใชหลักธรรมาภบิ าลของผบู รหิ ารสถานศึกษา ภาพรวมไมแตกตา งกัน ครผู สู อนที่มปี ระสบการณการปฏบิ ตั ิงาน และขนาดสถานศกึ ษาท่ีตา งกนั โดยรวมแตกตางกันอยา งมนี ยั สำคญั ทางสถิติท่รี ะดบั 0.05 คำสำคญั : หลกั ธรรมาภิบาล

สกิ ขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 140 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 Abstract The purposes of this research were to 1) determine the level of good governance management of school administrators under Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 3 as perceived by teachers; and 2) compare good governance management of school administrators under Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 3 as perceived by teachers in relation to their educational qualifications, experiences and sizes of school. The samples were 308 teachers from 127 schools. The instrument used in collecting data was a set of five-rating-scale questionnaire on good governance management with the validity between 0.60 to 1.00, and the reliability of 0.95. The statistics employed to analyze the data were percentage, mean and standard deviation. Comparison of teachers’ perception was verified by t-test, F-test. Differences of means were compared by Scheffé’s method. The findings were as follows: 1) the teachers’ perception on good governance management of school administrators under Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 3 was at a high level. The aspect with highest level was the Effectiveness, followed by the Efficiency, and Responsibility. Decentralization had the lowest level; and 2) the teachers with different educational qualifications perceived that good governance management of school administrators was not different but the overall of the perception of teachers in terms of experiences and sizes of schools was different at a statistically significant level of 0.05. Keywords: Good Governance 1. ความเปน มาและความสำคญั ของปญหา ทามกลางกระแสโลกาภิวตั นท่ยี งั คงความรุนแรง ดเู หมือนวาการศึกษาของประเทศไทยยงั คงมปี ญ หาท่ีแทบ จะหมดทางแกไ ข และยงั คงทวีความรุนแรงมากขน้ึ ไมวาจะเปน ปญ หาดานคณุ ภาพการศกึ ษา ซง่ึ จะตกตำ่ ลงเรือ่ ย ๆ เห็นไดจ ากผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนทวี่ ดั จากการสอบ (Ordinary National Educational Test : O-NET) มตี วั เลขการสอบ เกือบในทกุ กลุมวชิ าและทกุ ระดับช้ันมคี ะแนนไมถ ึงคร่งึ ของคะแนนเต็ม ในดา นการพฒั นาคณุ ลกั ษณะของผูเรียน กเ็ หน็ ไดจ าก พฤตกิ รรมของผเู รียนทแี่ สดงออก ไมวาจะเปน ความไรร ะเบยี บวนิ ัย ความรับผิดชอบ และทักษะอนื่ ๆ ในการดำรงชวี ติ ท่ี สะทอ นใหเ หน็ ทางสอื่ มวลชน แมจ ะเปน สว นนอยแตก ็พอมองใหเหน็ คุณภาพการศึกษาไดเปนอยางดี สำหรับดา นโครงสรา ง การบริหารก็ยิง่ จะเห็นวา เปนปญ หาแทบจะไมม ีทางแกเ ลยทีเดียวไมวา จะเปน ความไมสมดุลและสอดคลองเชื่อมโยงกนั ของ โครงสรางองคกรหลกั ในสว นกลาง ความไมส อดคลองกับระบบบริหารของประเทศ ของระบบบรหิ ารของเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา สภาพเหลา นี้ทำใหก ารบริหารการศึกษาไมม ีประสิทธิภาพเทา ทีค่ วรและนำไปสปู ญ หาการขาดคณุ ภาพการศกึ ษานน้ั เอง (จักรพรรดิ วะทา, 2556) การบริหารจดั การของสถานศึกษาซ่ึงมีหนาท่ีใหบรกิ ารการศกึ ษาแกป ระชาชนและ เปนสถานศกึ ษาของรฐั จงึ ตอ ง นำหลักการวา ดว ยการบรหิ ารกจิ การบานเมอื งและสงั คมทด่ี ี ซ่งึ เรยี กโดยท่ัวไปวา “ธรรมาภิบาล” มาบรู ณาการในการบริหาร และจดั การศกึ ษาเพ่อื เสรมิ สรา งความเขมแขง็ ใหกับสถานศกึ ษาในฐานะทเ่ี ปนนิตบิ ุคคล ไดแ ก หลักนติ ิธรรม หลกั คณุ ธรรม หลักความโปรง ใส หลกั การมสี ว นรว ม หลกั ความรบั ผิดชอบ และหลกั ความคุมคา (สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขน้ั พื้นฐาน, 2550) และ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ไดท บทวนและวเิ คราะห หลกั ธรรมาภิบาลของการ บรหิ ารกจิ การบานเมอื งท่ดี ีของสถาบันตา งๆ ในระดบั สากลรว มกับกฎหมายและระเบยี บทเ่ี ก่ียวของของประเทศไทย พบวา

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 141 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 มี 10 องคประกอบหลักทส่ี ำคญั เหมาะสม สำหรับนำมากำหนดเปน เกณฑใ นการประเมนิ การจัดระดบั การกำกบั ดูแลองคก าร ภาครฐั และเพือ่ ใหมคี วามงา ยตอความเขาใจ สะดวกตอการจดจำและการนำไปปฏบิ ตั ิ รวมท้ังมีความเหมาะสมและ สอดคลอ ง กับสภาพบรบิ ทของประเทศไทย ซึง่ ประกอบดว ยหลกั ประสิทธผิ ลหลกั ประสิทธภิ าพ หลกั การตอบสนองหลกั ภาระรับผดิ ชอบ หลกั ความโปรง ใสหลกั การมีสว นรว มหลกั การกระจายอำนาจ หลักนติ ิธรรมหลกั ความเสมอภาคและหลักมุงเนนฉนั ทามติ (สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ, 2552) ผบู ริหารสถานศึกษาในฐานะทีเ่ ปน ผมู อี ำนาจหนา ที่ในการบริหารสถานศึกษาซง่ึ เปนนิตบิ ุคคลทใ่ี หบ รรลุจดุ มุงหมาย ในการบรหิ ารทมี่ ีความคลอ งตวั รวดเร็ว สอดคลองกบั ความตองการของผูเรียน ชมุ ชน ทอ งถ่ินและประเทศชาติ รวมทัง้ เปนผมู ี อำนาจในการตัดสินใจในการดำเนนิ กจิ การสถานศึกษา ซึ่งตอ งยดึ หลกั คณุ ธรรมหลักนิติธรรมในการปฏบิ ตั งิ านเพือ่ ใหผูร วมงาน เชือ่ ถอื และยอมรบั จากการท่รี ัฐกำหนดใหม ีมาตรฐานดา นคณุ ธรรมจริยธรรมของขา ราชการมกี ารปรบั เปล่ยี นภารกิจวธิ ีการ บริหารงานภาครัฐใหม ปี ระสทิ ธิภาพจะตอ งยดึ หลักธรรมาภบิ าลมาเปนแนวทางในการดำเนนิ งานเพอื่ ใหทัง้ ภาครฐั ภาคธุรกิจ เอกชนและประชาชนสามารถอยรู ว มกนั อยางมคี วามสขุ เพอื่ ใหเ กิดการพัฒนาคนใหม ีคณุ ภาพและสรางความพงึ พอใจ ใหก บั ประชาชนการบรหิ ารงานมปี ระสิทธภิ าพมคี วามเปน ธรรมโปรง ใสสามารถตรวจสอบไดซ งึ่ จะสง ผลตอ การดำเนนิ งาน ขวัญกำลังใจของผูรว มงานทง้ั ยังเปน การเสรมิ สรา งความเขมแข็งใหกบั สถานศกึ ษาดังนนั้ ผบู ริหารสถานศกึ ษาจำเปนตอ ง จัดระบบบริหารงานบรหิ ารของสถานศกึ ษาใหม ปี ระสิทธภิ าพโดยยดึ หลักเกณฑแ ละวิธกี ารบริหารกจิ การบานเมอื งทดี่ ี หรือ หลกั ธรรมาภบิ าล (Good Governance) เปนเครอ่ื งมอื ในการนำวสิ ัยทศั นและนโยบายไปสกู ารปฏบิ ตั ิ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2556) ท้ังนกี้ ารท่ีจะนำนโยบายการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าลมาใชในสถานศึกษานน้ั หากครผู สู อนมี สว นรว มรับรตู อการบริหารงานของผูบ รหิ ารสถานศกึ ษาจะชวยสรางความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ของผูมสี ว นรวมหรอื ผมู ีสวนเก่ียวขอ งรวมกันพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาเปนไปในทศิ ทางเดียวกันคุณภาพการศึกษาก็พฒั นาขึ้นในที่สดุ ดังน้นั ผวู ิจัย ในฐานะที่เปนครผู ูสอนในสถานศกึ ษาสงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยภูมเิ ขต 3 จงึ สนใจทีจ่ ะศกึ ษาการ รบั รขู องครตู อการบริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาลของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ชัยภมู ิ เขต 3 สำหรับใชเปนขอ มลู สารสนเทศและจะเปน ประโยชนต อ ผบู ริหารสถานศกึ ษาและหนว ยงานที่เกี่ยวของในการ วางแผนพฒั นาและปรับปรุงการประยุกตใ ชห ลักการบริหารกิจการบา นเมืองท่ีดใี นสถานศึกษา โดยเฉพาะหลกั การบรหิ าร แบบมสี วนรว มอันจะสง ผลตอ การพัฒนาคณุ ภาพของผเู รียนใหเปนคนดีมีความรแู ละสามารถดำรงชีวติ อยูในสงั คมไดอยา ง มีความสุขตอ ไป 2. วตั ถุประสงคของการวิจัย 2.1 เพอ่ื ศกึ ษาระดับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยภมู ิ เขต 3 ตามการรับรขู องครูผสู อน 2.2 เพ่อื เปรยี บเทียบการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผูบรหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 3 ตามการรับรขู องครูผสู อน โดยจำแนกตามขอ มลู พ้ืนฐานของครู ประกอบดว ย วฒุ กิ ารศกึ ษา ประสบการณใ นการปฏบิ ัติงาน และขนาดสถานศกึ ษา 3. วิธีดำเนนิ การวิจัย 3.1 ประชากรและกลมุ ตวั อยาง 3.1.1 ประชากรทีใ่ ชใ นการวิจัยครงั้ น้ี ไดแก ครูผสู อนในสถานศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาชยั ภูมิเขต 3 ปการศกึ ษา 2561 จำนวนสถานศึกษา 192 แหง โดยมคี รูผสู อนจำนวน 2,057 คน

สิกขา วารสารศกึ ษาศาสตร์ ปี ที่ 7 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563) 142 Sikkha Journal of Education Vol. 7 No 2 (2563) : July-December 2020 3.1.2 กลุม ตัวอยา งทีใ่ ชใ นการวจิ ยั คร้งั น้ี คือ ครผู สู อนในสถานศึกษา สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา ประถมศึกษาชยั ภมู ิเขต 3 กำหนดขนาดของกลมุ ตัวอยาง โดยการสมุ แบบหลายขน้ั ตอน (Multi-stage sampling) (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2547) แลวกำหนดกลมุ ตัวอยางตามตารางของเครจซีแ่ ละมอรแ กนทรี่ ะดบั ความคลาดเคลอื่ นรอยละ 5 (Krejcie and Morgan, 1970 อางถงึ ใน ไพศาล หวังพานิช, 2555) ไดก ลมุ ตวั อยา งสถานศึกษา จำนวน 127 แหง และ กลมุ ตัวอยางครูผสู อนจำนวน 322 คน 3.2 ตัวแปรที่ใชในการวิจยั 3.2.1 ตวั แปรอิสระ ไดแ ก ขอ มลู พนื้ ฐานของครูผูสอน ประกอบดวย 3.2.1.1 วุฒิการศกึ ษา 3.2.1.2 ประสบการณใ นการปฏบิ ตั ิงาน 3.2.1.3 ขนาดสถานศกึ ษา 3.2.2 ตัวแปรตาม ไดแก การบรหิ ารงานตามหลกั ธรรมาภบิ าลของผบู ริหารสถานศกึ ษา สังกดั สำนกั งานเขต พื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยภมู ิ เขต 3 ประกอบดว ย 10 ดา น ไดด งั นี้ 3.2.2.1 ดานหลักประสิทธผิ ล 3.2.2.2 ดา นหลกั ประสทิ ธิภาพ 3.2.2.3 ดานหลกั การตอบสนอง 3.2.2.4 ดานหลักภาระรับผดิ ชอบ 3.2.2.5 ดา นหลักความโปรงใส 3.2.2.6 ดา นหลกั การมสี วนรว ม 3.2.2.7 ดา นหลกั การกระจายอำนาจ 3.2.2.8 ดานหลักนติ ิธรรม 3.2.2.9 ดา นหลกั ความเสมอภาค 3.2.2.10 ดา นหลกั มงุ เนนฉันทามติ 3.3 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ผวู ิจัยไดศ ึกษาเอกสารการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภบิ าลของผบู รหิ ารสถานศกึ ษาของสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ พ.ศ. 2555 โดยมหี ลกั การพืน้ ฐานสำคญั 10 ประการ ดงั น้ี 1) หลกั ประสิทธผิ ล 2) หลัก ประสิทธภิ าพ 3) หลักการตอบสนอง 4) หลักภาระรบั ผดิ ชอบ 5) หลักความโปรงใส 6) หลักการมสี ว นรว ม 7) หลกั การ กระจายอำนาจ 8) หลักนติ ธิ รรม 9) หลกั ความเสมอภาค และ 10) หลกั มงุ เนน ฉนั ทามติ (สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นา ระบบราชการ, 2552) และไดศ ึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวจิ ยั ท่เี กยี่ วขอ งกับการประยุกตใชหลกั ธรรมาภิบาลในการบริการ บริหารสถานศกึ ษาผูว ิจยั จึงนำมาจัดทำเปน กรอบแนวคดิ การวิจยั ได ดังภาพที่ 1