Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2565)

วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2565)

Published by MBU SLC LIBRARY, 2022-03-03 07:33:36

Description: 17191-5936-PB

Search

Read the Text Version

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั Mahamakut Buddhist University ปที ี่ 1 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – กมุ ภาพนั ธ์ 2565) Vol 1 No.1 (January-February 2022) P-ISSN : 2773-9139 (Print) E-ISSN : 2773-9147 (Online) -*******************************************-  วัตถปุ ระสงค์ วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นวารสารวิชาการ มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการศึกษาค้นคว้า และเพ่ือเผยแพร่บทความวิจัยและบทความ วชิ าการแก่นักวจิ ัย นักวิชาการ คณาจารย์ นสิ ิตนักศึกษา และคณะครู ในมิติทางด้านรฐั ศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองการปกครอง ความสัมพันธร์ ะหวางประเทศ นโยบายสาธารณะ สังคมวทิ ยาและมนุษยวทิ ยา รวมท้ังสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บทความ ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ อย่างน้อย 2 ท่าน เปิดรับ บทความท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยรับพิจารณาตีพิมพ์ต้นฉบับของบุคคลทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลยั ผลงานท่ีส่งมาจะต้องไม่เคยตีพมิ พ์หรอื อยู่ระหว่างการพิจารณาจาก ผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ือตีพิมพ์ในวารสารอื่น ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอ บทความวิชาการหรือบทความวิจัยเพ่ือตีพิมพ์ในวารสาร อย่างเคร่งครัด รวมท้ังระบบการ อ้างอิงต้องเป็นไปตามหลักเกณฑข์ องวารสาร ทศั นะและข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน บทความนั้น มใิ ช่ความคดิ ของคณะผู้จดั ทำ และไม่ถอื เป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกอง บรรณาธิการ ท้งั น้กี องบรรณาธกิ ารไม่สงวนลิขสทิ ธิใ์ นการคดั ลอก แตใ่ ห้อา้ งอิงแสดงที่มา กำหนดออกวารสารปลี ะ 6 ฉบับ เป็นราย 2 เดอื น ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม - กุมภาพนั ธ์ ฉบับที่ 2 เดอื น มีนาคม - เมษายน ฉบบั ท่ี 3 เดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ฉบับท่ี 4 เดือนกรกฎาคม – สงิ หาคม ฉบับท่ี 5 เดือนกนั ยายน – ตลุ าคม

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กมุ ภาพันธ์ 2565) | ช ฉบับท่ี 6 เดอื น พฤศจิกายน – ธนั วาคม  เจ้าของ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 248 หมู่ที่ 1 ถนนศาลายา - นครชัยศรี ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทร 02-444-6000 ต่อ 1147 E-mail : [email protected]  ทีป่ รกึ ษา พระเทพวัชรเมธี, ผศ.ดร. มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย พระเทพศากยวงศ์บณั ฑติ , ดร. มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พระมงคลธรรมวธิ าน, ผศ.ดร. มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย พระมหามฆวินทร์ ปรุ ิสุตฺตโม, ผศ.ดร. มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย พระมหาฉัตรชัย สฉุ ตฺตชโย, ผศ.ดร. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั พระครูวินัยธรสุรยิ า สุรโิ ย, ดร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั  บรรณาธิการบรหิ าร พระครูปลัดสุวัฑฒนพรหมจริยคณุ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั  หัวหน้ากองบรรณาธิการ ดร.กญั จริ า วิจิตรวชั รารักษ์ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย  กองบรรณาธกิ าร ศาสตราจารย์ ดร. บุณทัน ดอกไธสง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ซ | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) ศาสตราจารย์ ดร. ธรี ภทั ร์ เสรรี ังสรรค์ มหาวทิ ยาลยั รังสิต รองศาสตราจารย์ ดร.สญั ญา เคณาภมู ิ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ ดร.ธโสธร ตู้ทองคำ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช ผ้ชู ่วยศาสตรจารย์ ดร. วินจิ ผาเจริญ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ดร.สมพงษ์ เกษานชุ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ ดร.ประภาส แก้วเกตพุ งษ์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น พระปลดั สมชาย ปโยโค, ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั พระมหาจำนงค์ ผมไผ, ดร. มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ดร.ธรี ์ดนยั กัปโก มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ดร.ภษู ิต ปุลนั รัมย์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ดร.วุฒพิ งษ์ บัวชอ้ ย มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุกจิ ชัยมุสิก มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย รองศาสตราจารย์ ประจวบ ประเสริฐสังข์ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ดร.เกษฎา ผาทอง มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย พระครธู รรมคตุ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั

วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั ปีท่ี 2 ฉบับท่ี 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2565) | ฌ พระมหาณรงค์ศกั ดิ์ วริ ิยธโร,ดร. มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั  ผชู้ ่วยกองบรรณาธิการ ดร.นภารัตน์ กิตฺติรัตนมงคล มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย นางสาวณัฐฐา แจง้ อักษร มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั  ฝ่ายประสานงานและจดั การ ดร.เกษฎา ผาทอง โทร.09-08537866, Line ID: Ketsada11 e-mail: [email protected] พระครธู รรมคุต โทร.09-35549591, Line ID: 0935549591 e-mail: [email protected] นางสาวอธชิ า เอยี่ มวลิ ัย โทร.0969703934 Line ID: ati22ticha Email : [email protected]  ฝา่ ยกฎหมาย นายชัยวทิ ย์ ฤทธพิ ิชัยวัฒน์ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง  พสิ จู น์อักษร รศ.ดร.ปราณตี มว่ งนวล มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สมเด็จเจา้ พระยา อาจารย์ ธนะชยั สามล มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ญ | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022)  ออกแบบปก นายสุรยิ าทศิ โพธ์ปิ ระสทิ ธิ์ นกั วิชาการอิสระ  จดั รปู เลม่ นายสมศักด์ิ พะปะเสน โรงเรยี นพระเทพบณั ฑิตวิทยานสุ รณ์ จังหวดั หนองคาย  พมิ พท์ ่ี ศูนย์เรียนรกู้ ารผลิตและจัดการธรุ กจิ สง่ิ พิมพด์ จิ ิตอล มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ใน พระบรมราชถู ัมภ์ เลขที่ 1 หมู่ 20 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหน่งึ อำเภอคลองหลวง จังหวัด ปทมุ ธานี 13180 โทรศพั ท์ 0 2529 0574 7, 0 2909 1633 www.vru.ac.th



บทบรรณาธกิ าร วารสารฉบับน้ีเปน็ ฉบับแรก ประจำปีพทุ ธศักราช 2565 บทความที่ไดร้ ับการคัดเลือกให้ เผยแพรใ่ นวารสารฉบับนี้ เน้ือหาสาระของบทความยังคงเนื้อหาสาระท่ีหลากหลาย มีจำนวน บทความท้ังหมด จำนวน 5 เร่ือง เป็นบทความวิจัยทั้งหมด วารสารกำลังพัฒนาปรับปรุง รูปแบบและประเด็นหลักเพื่อเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพวารสารในฐานข้อมูล TCI เพื่อรองรับการประเมินจากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index- TCI) และเพื่อให้คุณภาพของบทความเป็นไปตามเงื่อนไข และกติกาสากล จึงเปิดโอกาสให้ นักวิชาการ นักวิจัยและนักศึกษาระดับบัณฑิต ได้เผยแพร่บทความทางวิชาการหรือบทความ วิจัย ซ่ึงกองบรรณาธิการได้ดำเนินการตามกระบวนการเชิงหลักการเผยแพร่บทความตาม เกณฑส์ ำนักงานคณะกรรมการอดุ มศกึ ษาทุกประการ กองบรรณาธิการวารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั ขอขอบคุณทา่ น ผเู้ ขยี น ทา่ นสมาชิกและท่านผู้อ่านทใี่ ห้ความสนใจและไว้วางใจวารสารของเราเป็นอย่างดีตลอด มาและหวังเป็นอย่างย่ิงว่าบทความที่ได้เลือกสรรมาตีพิมพ์มีประโยชน์ต่อผู้อ่านทุกท่าน บรรณาธิการขอขอบพระคุณท่านผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านท่ีได้ให้ความกรุณาอ่านและแนะนำการ ปรบั แกบ้ ทความวิจัยให้มีคณุ ภาพทางวชิ าการยิง่ ขนึ้ สุดท้ายน้ีกองบรรณาธิการหวังอย่างยิ่งว่าเน้ือหาในวารสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้อ่านบ้างตามสมควร หากผู้อ่านจะมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงวารสารนี้ให้สมบูรณ์ยิ่งข้ึน กองบรรณาธกิ ารขอน้อมรบั ไวด้ ้วยความยินดียิ่ง พระครูปลัดสุวัฑฒนพรหมจรยิ คุณ บรรณาธิการ

สารบัญ (ก) (ฎ) บรรณาธิการ (ฏ) บทบรรณาธิการ สารบญั 1 บทความวจิ ยั : Research Article 10 การประยกุ ต์หลักพุทธธรรมทเ่ี ก่ียวข้องกับความรกั เพื่อสร้างความรักสามัคคขี อง ชาวบ้านหนองยางคำ ตำบลกองนาง อำเภอท่าบ่อ จังหวดั หนองคาย 20 AN APPLICATION OF THE BUDDHADHAMMA PRINCIPLE RELATED TO THE LOVE 29 AND UNITY OF PEOPLE IN NONGYANGKAM VILLAGE, KONGNANG SUB-DISTRICT, TA BO DISTRICT, NONGKHAI PROVINCE 38 พระมหาเอกชัย ญาณเมธี (ศรสี นั ต)์ , บญุ สง่ สินธุน์ อก และ สมเดช นามเกตุ การประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการบริหารงานของพระสังฆาธิการในเขต การปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จงั หวดั หนองบัวลำภู APPLICATION OF SIX STATES OF CONCILIATION (SARANIYADHAMMA) WITH ADMINISTRATION OF ECCLESIASTICAL ADMINISTRATIVE MONKS IN THE ECCLESIASTICAL ADMINISTRATIVE REGION OF NA KLANG DISTRICT, NONG BUALAMPHU PROVINCE พระมหาปรเมศร์ จรณธมฺโม (หอมไกล), ภาสกร ดอกจนั ทร์ และปดิษฐ์ คำดีนนท์ ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสังคหวัตถุ 4 กับประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั ขอนแกน่ A RELATIONSHIPS BETWEEN THE FOUR SANGAHAVATTHU WITH EFFICIENCY OF PERSONEL MANAGEMENT OF KHONKAEN PROVINCE ADMINISTRATIVE ORGANIZATION ตรัยณภรทั เสาวรา, ปชาบดี แย้มสุนทร และ ชาญชยั ฮวดศรี ศกึ ษาภาวะผู้นำตามหลกั สัปปุริสธรรมของพระสังฆาธกิ ารในเขตอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู SAPPURISADHAMMA-BASED LEADERSHIP OF ECCLESIASTICAL AUTHORITATIVE IN NA KLANG DISTRICT, NONG BUALAMPHU PROVINCE พระมหาประยรู เขมจาโร, ปดิษฐ์ คำดี และ พระนทิ ัศน์ ธีรปญฺโญ การนำหลักอิทธิบาท 4 ไปใช้ในการปกครองบริหารงานของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอนากลาง จงั หวัดหนองบวั ลำภู APPLICATION OF THE PATH OF ACCOMPLISHMENT (IDDHIPADA) WITH ADMINISTRATION OF SUBDISTRICT CHIEFS AND VILLAGE HEADMEN IN NAKLANG DISTRICT, NONG BUA LAMPHU PROVINCE

ฏ | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) พระมหาวนั เพญ็ สารโท (ทมุ ซะ), ภาสกร ดอกจนั ทร์ และ พระนิทัศน์ ธรี ปญฺโญ 47 คำแนะนำสำหรับผเู้ ขียน

บทความวจิ ัย การประยกุ ต์หลกั พทุ ธธรรมทีเ่ กยี่ วข้องกับความรักเพอ่ื สร้างความรัก สามคั คีของชาวบา้ นหนองยางคำ ตำบลกองนาง อำเภอท่าบอ่ จังหวดั หนองคาย* AN APPLICATION OF THE BUDDHADHAMMA PRINCIPLE RELATED TO THE LOVE AND UNITY OF PEOPLE IN NONGYANGKAM VILLAGE, KONGNANG SUB-DISTRICT, TA BO DISTRICT, NONGKHAI PROVINCE พระมหาเอกชัย ญาณเมธี (ศรีสันต์) Phramaha Ekkachai (Srisan) บุญส่ง สินธนุ์ อก Boonsong Sinthnok สมเดช นามเกตุ Somdet Namket มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand E-mail: [email protected] บทคัดย่อ การวิจัยน้ี มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่อื ศึกษาหลักธรรมเกย่ี วกบั ความรักในพระพุทธศาสนา เถรวาท 2) เพ่ือศึกษา “ความรัก” ในพระพุทธศาสนาเถรวาทของชาวบ้านหนองยางคำ 3) เพ่อื ประยุกต์ใชห้ ลักธรรมท่ีเกยี่ วขอ้ งกับความรักเพ่ือสร้างความรักสามคั คีของชาวบ้านหนอง ยางคำ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเก็บรวบรวมจากเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลกึ จำนวน 25 รปู /คน แล้วนำขอ้ มลู ที่ไดม้ าวเิ คราะห์ด้วยการวเิ คราะห์เชิงพรรณนาตามหลกั อุปนัยวิธี ผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษาหลักธรรมเก่ียวกับความรักในพระพุทธศาสนาเถรวาท คือ โดยเฉพาะศีล 5 ทำให้เกิดผลเชิงประจักษ์ว่าชุมชนได้ดำเนินชีวิตมีขนบธรรมเนียม ประเพณี มาทำความประพฤติท่ีดีงาม โดยหลักธรรมของเบญจศีล หลักธรรมในทิศท้ัง 6 ใน ฐานะที่เป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาความรักผู้อ่ืน ด้านเมตตา การที่ชุมชนค้นพบหลักธรรม ยังความเจริญ มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นพลังเข้มแข้งและมั่นคงต่อไป 2) “ความรัก” ใน พระพุทธศาสนาเถรวาทของชาวบ้าน คือ เป็นการพัฒนาตนเองทางจติ ใจสุจรติ ธรรม เพราะเม่ือ ชาวบ้านมีความรักให้กับ บุคคลอื่นย่อมทำให้จิตใจเบิกบานโดยเจตนาว่าจะไม่ละเมิดความ ประมาทและไม่ทำลายสุขภาพ 3) การประยุกต์ใช้หลกั ธรรมท่เี กี่ยวข้องกับความรกั สำหรับสรา้ ง * Received 2 December 2021; Revised 20 December 2021; Accepted 20 January 2022

2 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) ความรักสามัคคีของชาวบ้าน คือ มีความยากอยู่ที่การสร้างความเชื่อมั่นและม่ันใจของคนใน ชมุ ชนและสำคัญท่ีการสร้างความเป็นธรรมไร้อคติ ตามหลักธรรมพรหมวิหาร 4 ซึ่งสอดคล้อง กับการศึกษาท้องถ่ินเชิงพหุลักษณ์ ธรรมชาติ และธรรมดาของผู้คน มีการประยุกต์หลักธรรม เกดิ ความรกั ท่ปี ระกอบดว้ ยปญั ญา สร้างความรัก สามัคคี มีจติ ใจงาม เกิดสขุ ทย่ี ง่ั ยืนสืบไป คำสำคัญ: การประยุกต์, พทุ ธธรรม, ความรักสามคั คี Abstract The purposes of this research were; 1) to study the principle of Dhamma related to the love in Theravada Buddhism 2) to study the love” in the dimension of Theravada Buddhism of people in Nongyangkam Village, and 3) to apply the Dhamma principle related to the love for creating the love and unity of people in Nongnakam Village. This research was the qualitative research by collected from document and 25 in-depth interviews / person, the data were analyzed by descriptive analysis according to the inductive method. The results of research were found that 1) the study of the principles of love in Theravada Buddhism, especially the five precepts, resulted in empirical results that the community lived, had traditions and traditions to do good behavior. By the principles of Benjasin Principles in the six directions as a tool in the development of love for others in compassion, the discovery of the principles of the community, to prosperity, morality and ethics 2) “Love” in Theravada Buddhism for the villagers is the development of one's mind, honesty and morality. Because when the villagers are in love with Other people will surely delight their minds with the intention that they will not violate carelessness and not destroy their health. 3) the application of principles related to love for building love and unity among the villagers is that it is difficult to build the confidence and confidence of the people in the community and the importance of the creation of fairness without prejudice. According to the Brahma Vihara principle, which is consistent with the local, plural, natural and ordinary study of people. The principles are applied To create a love that consists of wisdom, creates love, unity, has a beautiful mind, creates lasting happiness. Keywords: Application, Buddhadhamma Principle, the love and Unity

วารสารรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย ปที ี่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กมุ ภาพันธ์ 2565) | 3 บทนำ “ความรัก” เป็นคำท่ียากเกินกว่าที่เราจะให้คำนิยามได้ เพราะความรักน้ันทำให้ เกิดแรงบันดาลใจและเป็นพลังให้เกิดทั้งแง่ลบและแง่บวก ความรักเป็นพลังที่อยู่ภายในจิตใจ ของมนุษย์ สัตว์ ความรักยังมีบทบาทสำคัญในชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมากจนมีผสู้ ร้าง ทัชมาฮาล สุสานหินออ่ นเป็นสถาปัตยกรรมแห่งความรักท่ีสวยทสี่ ุดในโลก ถูกสร้างขึ้นโดย จักรพรรดิชาห์ ชหานชรี ์ เพื่อเปน็ อนุสรณ์แหง่ ความรกั ทีพ่ ระองคม์ ตี ่อ อรชมุ นั ท์ พานุ เพคุม ธิดาของรฐั มนตรีที่ เสียชวี ติ ลงเมอ่ื คลอดบตุ รคนท่ี 14 ทำใหพ้ ระจักรพรรดชิ าหโ์ ศกเศร้าถึงสองทศวรรษ จากตวั อย่างดังกล่าวจะเห็นได้ว่า ในการดำรงชีวิตอยู่ของมนุษย์ความรักนน้ั มพี ลงั มาก ซ่ึงจะแสดงออกมาได้ท้ังทางลบและทางบวก ในทางพระพุทธศาสนาน้ันความรักกับ พระพุทธศาสนาเป็นสิง่ ที่แยกกันไม่ออกระหว่างพระพุทธศาสนากบั พุทธศาสนิกชน ความรักใน พระพุทธศาสนาเป็นความรักระดับสากล (Universal love) คือรักสรรพสัตว์ ทำเพื่อสังคม ส่วนรวม บุคคลสำคญั ทแ่ี สดงถึงความรักมีหลายท่าน เช่น ติช นัท ฮันห์ องค์ทะไล ลามะ และ พระเขมธัมโม (Khemadhammo) ชาวพุทธประเทศอังกฤษ องค์กรพุทธมองเห็นความสำคัญ ของความรักระดับสากลและมีการเคล่ือนไหว โดยมีการประชุมพระพุทธศาสนาโลกที่ นิวซีแลนด์(Global Conference on Buddhism) ครั้งที่ 6 ที่ผ่านมา (5-7 ธันวาคม 2551) ภ าย ใต้ 9 หั ว ข้ อ ใน ก าร ป ร ะ ชุ ม แ ส ด งถึ ง ค ว าม รัก ร ะ ดั บ ส าก ล อ ย่ างชั ด เจ น คื อ 1. ศรัทธา ความเชือ่ ความรู้ 2. ยุติสงคราม สรา้ งสนั ติ 3. สถานภาพสตรใี นพระพุทธศาสนา 4. ความตาย ความเกดิ ความมีชวี ิต 5.ข้อคิดสงิ่ แวดล้อมเศรษฐศาสตร์ 6. ความตืน่ รู้ท้ังทบี่ ้านและ ท่ที ำงาน 7. สมาธิ 8. พระพทุ ธศาสนาในยุคดจิ ิตอล 9. การกำหนดอนาคต ลกั ษณะการประชุม ของชาวพุทธโลกนี้ให้ความสำคัญกับประเด็นทีเป็นความสนใจของสังคมโลก เช่น ประเด็น ส่ิงแวดล้อมสังคมโลกท่ีเปล่ียนไปอย่างรวดเร็วซ่ึงก่อให้เกิดปัญหาระยะยาวแก่มวลมนุษยชาติ โดยเชิญองค์ทะไลลามะ เข้าร่วมประชุมด้วย อาจกล่าวได้ว่าหัวข้อในการประชุมอยู่ในกรอบ ของความรักทัง้ ส้ิน ดังน้ัน รากฐานของการอยรู่ ่วมกันของมวลมนุษยชาติย่อมข้ึนอยูก่ ับ ความ เสมอภาค ความยุติธรรมความสงบสุขซ่ึงเป็นประเด็นกว้างๆ ท่ีสังคมโลกกลับมาตระหนักถึง ปัญหาท่ีเกิดขึ้น มิใช่เพียงศาสนาพุทธเท่าน้ันที่เห็นความสำคัญของความรักระดับสากลนี้ทุก ศาสนาก็กำลังเคลื่อนไหว แต่ท่ีเห็นชัดเจนคือพระพุทธศาสนาโดยองค์ทะไลลามะ ไมว่ ่าท่านจะ เดนิ ทางไปที่ใดก็มสี อ่ื มวลชนและผู้คนให้ความสนใจเพราะท่านมักไมก่ ลา่ วถึงปัญหาของตน แต่ กลับกลา่ วถึงสันติภาพโลกรวมไปถึงพระสงฆช์ าวพุทธอ่ืนๆอีกหลายท่านท้ังในประเทศไทย และ ต่างประเทศ เช่น ท่านพุทธทาส พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) พระไพศาล วิสาโล พระ พะยอม กลั ยาโณ พระธรรมาจารย์ติช นทั ฮันห์ ความรักในทางพระพุทธศาสนามีการอนุวัตรตามความเป็นไปในสังคมมนุษย์ ซึ่งเป็น ความรักแบบสากล (Universal love) คือ ความเมตตา ความปรารถนาดี ความเห็นอกเห็นใจ

4 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) เปน็ ความรักทหี่ วงั ดี ปรารถนาดีต่อบุคคลอ่ืนอย่างจริงใจ มองทุกคนเป็นเพือ่ น และไม่ตอ้ งการ ส่ิงตอบแทน (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต), 2548) ซึ่งเป็นความรักท่เี สมอในสรรพสตั ว์ ทั้งหลาย ดังพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสว่าวรรณะท้ัง 4 คือ กษัตริย์ แพศย์ พราหมณ์ ศูทร เมื่อออกบวชยอมท้ิงสกุลเดิมมาเป็นศากยบุตร (ตระกูลของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า) เปรียบ เหมือนมหาสมุทรที่มีแม่นำ้ สายเลก็ ๆ ไหลมารวมกนั เช่น คงคา ยมุนา อจิรวดี สรภู มหี ไหลลง สู่มหาสมุทรท้ังส้ิน ดังนั้นไม่ว่าวรรณะใดเม่ือออกบวชมารวมกันย่อมเรียกว่าสมณะเช้ือสาย ศากยบุต จากคำตรัสของพระสัมมาพุทธเจ้าดังกล่าวจะเห็นได้ว่าพระพุทธศาสนามีความรัก ให้กับทุกคนไม่เลือกชนชั้นและมีความเสมอภาค นอกจากน้ียังสอดคล้องกับสังคมอีกด้วยการ นำหลักท่ีเกยี่ วกับความรักมาใช้ในการพัฒนาร่วมกันอย่างมีระเบียบ เกอ้ื กูลกันถ้อยทีถอ้ ยอาศัย กัน ไม่แบ่งแยกเอารัดเอาเปรียบกัน โดยเริ่มจากสิ่งที่อยู่ใกล้ ๆ ตัวก่อน เช่นธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม เพราะธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องรีบเร่งและรวมพลังกัน จดั การ เพราะเป็นส่ิงที่ใกล้ชิดกับชีวิตมนษุ ย์ ไม่วา่ จะเป็นสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ ภเู ขา แม่น้ำหรือส่ิงแวดล้อมทมี่ นุษย์สรา้ งขน้ึ เชน่ ชุมชนอาคารฯลฯ พระวัลโปละราหุล (Walpola Rahula) ซ่ึงเป็นพระภิกษุนักวิชาการและนักกิจกรรม สังคมชาวศรีลังกาได้กล่าวอ้างถงึ พระพทุ ธศาสนาว่า “พระพุทธศาสนาเกิดข้นึ ในอนิ เดียในฐานะ เปน็ พลังทางจติ วิญญาณทตี่ ่อต้านความอยตุ ิธรรมทางสังคม ต่อต้านพิธีกรรม ประเพณี และการ บวงสรวงสิ่งลึกลับเหนือธรรมชาติ ยกเลิกระบบวรรณะ และส่งเสริมความเสมอภาคของมนุษย์ (Walpola Rahula, 1978) อันเป็นมูลเหตุของการเกื้อกูลกนั ในสงั คมเป็นการจุดประกายความ รกั ขึ้นในสังคมศรีลังกา ณ ขณะน้ัน ท่านพุทธทาสมแี นวคิดเกี่ยวกับความรกั สากล (Universal Love) คือ “ศีลธรรม” ก็คือความรักสากล คือไม่เห็นแก่ตัวหรือไม่ทำอะไรเพื่อตัวกู ซ่ึงเป็น สาเหตุของการแก่งแย่ง แขง่ ขันเบียดเบียนซึ่งกันและกันถ้าหากจะมตี ัวกูกข็ อให้เป็นตวั เดียวกัน ท้ังโลก ทงั้ จกั รวาล หรอื เอกภพ คอื มีความรักที่เสมอกนั ย่อมถอื วา่ เป็นความรกั สากล (พทุ ธทาส , 2540) และในปัจจุบันยังมีขบวนการชาวพุทธเพื่อสังคมในธิเบต ที่นำโดยองค์ทะไล ลามะ ผนู้ ำรฐั บาลผลดั ถ่ินของธเิ บตที่พยายามต่อสเู่ พ่ือเอกราชของธิเบตบนฐานของอหงิ สธรรม (non- violence) แ ล ะ เป็ น ผู้ เส น อ แ น ว คิ ด เ ร่ื อ ง ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ร ะ ดั บ ส า ก ล (Universalresponsibility) บนฐานของจติ ใจท่มี งุ่ หวังประโยชน์สุขเพือ่ ผ้อู ื่น (altruistic mind) จากประเด็นปัญหาดังกล่าวท่ีเกิดขึ้นในเรื่องของความรัก ความรักจึงเป็นส่ิงสำคัญขั้น พืน้ ฐานท่ีกักเก็บอยู่ในจติ ใจต้ังแต่วัยเด็ก และสามารถพัฒนาข้ึนมาเป็นความรักท่ีสมบูรณ์แบบ ได้เพราะการอยู่ร่วมกันในครอบครัว ในกลุ่มสังคมเล็ก และกลุ่มสังคมใหญ่ย่อมมีการพ่ึงพา อาศัยเก้อื กูลกัน การทำส่ิงหน่ึงย่อมไปกระทบอีกส่ิงหนึ่งเสมอ ทำให้มนษุ ย์ควรตระหนกั ว่า การ ที่เราจะทำส่ิงใดส่ิงหน่ึงส่งผลกระทบท่ีเป็นไปในทิศทางที่ทำให้อ่ืนเดือดร้อนหรือไม่ เกิดความ ทกุ ขก์ ับการกระทำของเราหรือไม่ เราควรมีความรักให้กนั และกัน ช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2565) | 5 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพือ่ ศึกษาหลักธรรมเก่ยี วกบั ความรกั ในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2. เพอื่ ศกึ ษา “ความรกั ” ในพระพุทธศาสนาเถรวาทของชาวบา้ นหนองยางคำ ตำบล กองนาง อำเภอท่าบ่อ จังหวดั หนองคาย 3. เพ่ือประยุกต์ใช้หลักธรรมท่ีเก่ียวข้องกับความรักเพื่อสร้างความรักสามัคคีของ ชาวบ้านหนองยางคำ ตำบลกองนาง อำเภอท่าบ่อ จงั หวดั หนองคาย วธิ ีดำเนินการศกึ ษา ในการดำเนนิ การวิจัยเร่ือง การประยุกต์หลงั พุทธธรรมที่เกี่ยวข้องกบั ความรกั เพ่อื สร้าง ความรักสามัคคีของชาวบ้านหนองยางคำ ตำบลกองนาง อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย ครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ใน การศกึ ษาครงั้ น้ี จํานวน 25 รปู /คน ประกอบด้วย 1) พระสงฆ์ จาํ นวน 5 รปู 2) ชุมชนทั่วไป/ หนุ่ม,สาว จํานวน 5 คน 3) นักวิชาการ/คุณครู จํานวน 5 คน 4) ผู้นำชุมชน จํานวน 5 คน 5) อสม. จํานวน 5 คน วิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก การสัมภาษณ์ตาม วัตถุประสงค์ การสังเกตการณ์ การจดบันทึก โดยการเสนอข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์ ด้วยการ ตคี วาม การแปรความ และการจัดหมวดหมู่ตามวัตถุประสงค์แล้ววิเคราะห์ข้อมลู ที่ได้ดว้ ยการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณาวิธี ตามหลักการของอุปนัยวิธี โดยยดึ วัตถุประสงค์ของการวิจัยเป็น แนววเิ คราะห์ ผลการวจิ ัย จากผลการวจิ ยั สรุปผลการศึกษาได้ ดังน้ี 1. หลักธรรมเก่ียวกับความรกั ในพระพุทธศาสนาเถรวาท การศกึ ษาค้นหาหลกั ธรรมเกี่ยวกับความรักในพทุ ธศาสนาเถรวาทของคนในชมุ ชนบา้ น หนองยาง ตำบลกองนาง อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย เปน็ ความโดดเด่นทมี่ ีเส้นทางแห่ง ประวัติศาสตร์หลายร้อยปีของความเป็นมาของความเจริญรุ่งเรืองในทางพุทธศาสนา การ ประยุกต์หลักพุทธรรมท่ีเก่ียวข้องกบั ความรักเพ่ือสร้างความรักสามัคคี โดยเฉพาะการได้มีคน เข้ามาตง้ั ถ่ินฐานเกิดความรักในพระพทุ ธศาสนาโดยใช้หลัก ศีล 5 ปฏบิ ตั ิอยา่ งจริงจังและจริงใจ ย่อมทำให้เกิดผลเชิงประจักษ์ว่าชุมชนได้ดำเนินชีวิตมีขนบธรรมเนียม ประเพณี มาทำความ ประพฤตทิ ดี่ งี าม โดยหลักธรรมของเบญจศลี คอื 1. เว้นจากปาณาติบาต คือ การเวน้ จากการฆา่ การสังหาร ไมป่ ระทษุ สลาย 2. เว้นจากอทินนาทาน คือ ละเว้นจากการลักขโมย เบียดบังแย่งชิง ในการ ประทุษรา้ ย

6 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) 3. เว้นจากกาเมสุมิจฉาจาร คือ ละเวน้ การประพฤตผิ ิดในกาม 4. เวน้ มสุ าวาท คือ ละเว้นการพดู เท็จ โกหกหลอกลวง ไมป่ ระทุษรา้ ยเขา 5. เว้นจากสรุ าเมรยั คอื ไม่เสพเครอื่ งดื่มของมึนมา ส่งิ เสพตดิ นอกเหนือจาก หลักธรรม เบญจศีลหล่อหลอมความรักแล้วยังมีหลักธรรมในทิศทั้ง 6 ในฐานะท่ีเป็นเคร่ืองมือ ในการพัฒนาความรักผู้อ่ืน ด้านเมตตาแต่ถึงอย่างไรก็ดีการอยู่ ร่วมกันของคนในชุมชนที่มีจำนวนเพ่ิมมากข้ึนและเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การท่ี ชมุ ชนค้นพบหลักธรรม ยงั ความเจรญิ มีคณุ ธรรมจริยธรรม เปน็ พลังเข้มแข้งและมั่นคงตอ่ ไป 2. “ความรัก” ในพระพุทธศาสนาเถรวาทของชาวบ้านหนองยางคำ ตำบลกอง นาง อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย ความรกั ของชาวบา้ นหนองยาง ตำบลกองนาง อำเภอทา่ บอ่ จังหวัดหนองคาย เป็น การพฒั นาตนเองทางจิตใจสุจริตธรรม เพราะเมื่อชาวบ้านมคี วามรักให้กบั บุคคลอ่ืนย่อมทำให้ จติ ใจเบิกบานโดยเจตนาว่าจะไม่ละเมิดความประมาทและไม่ทำลายสุขภาพตนเอง นอกจาก พฒั นาทางรา่ งกายแลว้ ยังต้องพัฒนาทางจติ ควบค่กู ันไป กามสงั วร เป็นหลักยดึ เหน่ียวจติ ใจไม่ ควรละเมิดไม่แย่งชิงคู่ครองของคนอ่ืน การยึดเอาหลักธรรมสัจจะ โดยการเจตนาไม่โกหก หลอกลวงเป็นการสร้างความเชื่อมัน่ ตอ่ ครอบครัวและสังคม การยึดหลักธรรมมีสติ โดยระลึก ในเจตนา ไมด่ ่ืมสรุ าเมรัยเครอ่ื งดองของเมา และสิง่ เสพติด แนวทางการปฏบิ ัติมาดงั กลา่ วเป็น เพียงกระพ้ีธรรม ต้องสร้างความเป็น เปลือก กระพ้ี สู่ความเป็นแก่นสารแก่ชุมชน คือการ สร้างความรักที่นำไปสู่การเกดิ คุณงามความดี มีความรกั สามัคคี มีจิตใจงาม เกิดสุขยัง่ ยืน ตามหลักพทุ ธธรรมทเ่ี ชอื่ โดยปญั ญาอย่างแท้จรงิ 3. การประยุกต์ใช้หลักธรรมท่ีเกี่ยวข้องกับความรักเพ่ือสร้างความรักสามัคคีของ ชาวบา้ นหนองยางคำ ตำบลกองนาง อำเภอท่าบอ่ จงั หวดั หนองคาย การศึกษาเพ่ือประยุกต์ใช้หลักธรรมท่ีเก่ียวข้องกับความรักเพื่อสร้างความรักสามัคคี ของชาวบ้านหนองยางคำ ตำบลกองนาง อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย พบว่ามคี วามยาก อยู่ที่การสร้างความเช่ือม่ันและมั่นใจของคนในชุมชนและสำคัญท่ีการสร้างความเป็นธรรมไร้ อคติ ตามหลักธรรมพรหมวิหาร มีเมตตาอัปปมัญญา ความรักทม่ี ีความปรารถนาดีคิดเกื้อกูล แก่สัตว์ท้ังหลาย จิตใจนุ่มนวลอ่อนโยนปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข ชุมชนต้องพ่ึงผู้นำทางพุทธ ศาสนาเป็นหลักเพราะ เชื่อบุญ กรรม เป็นหลักเดิมในจิตใจคน การประยุกต์หลักธรรม พรหมวหิ ารธรรม ในพรหมวหิ าร 4 คอื เมตตาความรักหมายชว่ ยเหลอื กรุณา คือ คดิ ช่วยใหพ้ น้ ทุกข์ มทุ ิตา คอื ยินดใี นเม่ือผอู้ นื่ มีความสุข อเุ บกขา คือ วางใจเป็นกลางโดยใชป้ ญั หาพจิ ารณา

วารสารรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2565) | 7 ซง่ึ สอดคล้องกับการศึกษาท้องถ่ินเชิงพหุลักษณ์ ธรรมชาติ และธรรมดาของผู้คน มี การประยุกต์หลักธรรม เกิดความรักท่ีประกอบด้วยปัญญา สร้างความรัก สามัคคี มีจิตใจ งาม เกิดสุขทยี่ ่งั ยนื สบื ไป อภิปรายผล การศกึ ษาวิจัย เรอ่ื ง การประยุกต์หลักธรรมท่เี กี่ยวข้องกบั ความรกั เพอื่ สร้างความรัก ความสามัคคีของชาวบ้านหนองยางคำ ตำบลกองนาง อำเภอทา่ บ่อ จังหวัดหนองคาย มขี ้อ ค้นพบท่ีสำคัญ จงึ นำมาอภิปราย สำหรับหลกั ธรรมท่ีเกี่ยวกับความรักในพระพุทธศาสนาเถร วาท มีอยู่ 3 ระดับ คือ (1) หลักธรรมท่ีใช้กับความรักตนเอง เป็นหลักธรรมท่ีใช้กับบุคคลและ เหมาะกับการงานท่ัวๆ ไป เพ่ือเป็นประโยชน์แก่บุคคลน้ันๆ พร้อมทั้งยังความเจริญมาให้ใน ปัจจุบัน ไดแ้ ก่ ศีล 5 เบญจธรรม (2) หลักธรรมทีใ่ ช้กบั ความรกั ผ้อู ื่น เป็นหลกั ธรรมท่ีเหมาะกับ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลตา่ ง ๆ เช่น มารดาบิดากับบุตรธิดา สามีกับภรรยาหรือคู่รัก เพื่อน กับเพื่อน ครูอาจารย์กับศิษย์ได้แก่ ทิศ 6 (3) หลักธรรมท่ีใช้กับความรักแบบเมตตา สามารถ พัฒนาเมตตาให้เป็นเมตตาอัปปมัญญา เป็นหลักธรรมที่เป็นอัปปมัญญา 4 คือธรรมเคร่ืองอยู่ อย่างประเสริฐและปฏิบัติต่อสรรพสัตว์ทั้งหลายโดยชอบไม่มีขอบเขต ได้แก่ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา แนวคิดพ้ืนฐานของความรัก ซึ่งสอดคล้องกับเอกสารของ พระพรหมคุณา ภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) (2549) จัดว่าเป็นนามธรรมจับต้องไม่ได้ แต่มนุษยส์ ามารถรับรู้ ถึงความ รักได้ด้วยโดยออกมาในรูปของความคิด ความพอใจ ความซาบซึ้งใจ ฯลฯ ความหมาย ของ ความรักได้จากคำเหล่าน้ีคือ 1. เสน่หา (สิเนหะ) เป็นความรักที่เกิดจากตัณหา เป็นการสนอง ความต้องการของตนเอง และแยกไดเ้ ป็นทิฏฐิเสน่หา คือความรักที่เกิดจากการเห็นผิด 2. เป มะ หมายถึง เป็นความรักแบบอกุศลท่ีเป็นความรักที่เป็นกลางๆ เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า “เคหะ สิตเปมะ” เป็นความรักท่ีเป็นความพอใจเก่ียวเน่ืองกัน เช่น พี่รักน้อง 3. เมตตา เป็นความ ปรารถนาดี อนุเคราะห์ เอื้อเฟ้ือ เผื่อแผ่ ความไมป่ องร้ายกันและกัน ซงึ่ สอดคลอ้ งกับงานวจิ ัย ของ พระมหาอำนาจ เขมปญฺโญ (ยอดทอง) (2546) 4. เมตตาอัปปมัญญา เป็นความรักท่ี ไม่มขี อบเขต และไม่มปี ระมาณ ไม่จำกัด มีจติ แผไ่ ปทั้งมนษุ ยแ์ ละสตั ว์ ความสำคัญของความรัก มที ้ังในแง่ความกตญั ญูกตเวทีความเป็นกัลยาณมติ ร การรักษาธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ความ รักในทางพระพทุ ธศาสนาสามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ระดบั คอื (1) ความรักตนเอง เป็นความรกั แบบสเิ นหะ ท่เี จือดว้ ยตณั หา อันประกอบไปด้วยคุณ คือเป็นความสุขขั้นต่ำของมนุษย์ (อัสสาทะ) เป็นความสุขสบายทางร่างกาย (สุขเวทนา) เป็น ความสุขใจ ชื่นฉ่ำใจ สบายใจ (โสมนัส เวทนา) ส่วนโทษคือเป็นความสุขท่ีเจือด้วยความทุกข์ และก่อให้เกิดอคติได้ (2) ความรักผู้อื่น จัดเป็นความรักแบบเปมะ เกิดจากเหตุปัจจัย 2 ประการ คือ ด้วย การอยู่ร่วมกันในชาติปางก่อน และด้วยการเกื้อกูลกันในชาติปัจจุบัน สามารถแบ่งได้เป็น 3

8 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) อย่างคอื 1. ความรกั ระหวา่ งพ่อแม่ และลูก 2. ความรักระหวา่ งสามีภรรยา 3. ความรกั ระหวา่ ง เพ่อื น (3) ความรักแบบเมตตา เป็นความรักที่อยากให้ผู้อื่นมีความสุข และสามารถพัฒนา ความรักแบบเมตตาให้เป็นเป็นความ รักแบบเมตตาอัปปมัญญา คือความรักที่แผ่ไปสู่มนุษย์ และสัตว์ทั้งหมายด้วยความสม่ำเสมอกัน โดยไม่มีประมาณ ไม่จำกัดขอบเขต หลักศีล 5 ใน ฐานะที่เป็นเครื่องมือในการพัฒนาตนเอง ศีลเป็นส่ิงทแ่ี สดงถึงความรักในตนเอง ศีล 5 เป็นศีล ข้นั พ้ืนฐานท่ีนำมาใชในสังคม ถือเป็นการพฒั นาท้ังกาย วาจา และใจ จะเห็นได้วาผปู้ ระพฤติใน ศลี 5 เปน็ สังคมของกัลยาณชน โดยมเี มตตา สัมมาชีพ กามสงั วร สจั จะ และสติ เปน็ การพฒั นา ตนเอง การนำหลัก “ทิศ 6” ในฐานะท่ีเป็นเครื่องมือในการพัฒนาตนเอง เป็นหลักธรรมท่ีใช พัฒนาตนเองโดยใชหลกั “เมตตา” โดยแบงเป็นการบำรุง และ อนุเคราะห์กันและกันระหว่าง ความรกั ระหว่างพ่อแม่และลูก สามกี ับภรรยาและบุตร ระหว่าง เพือ่ นกับเพ่ือน ครูบาอาจารย กับลูกศิษย์ ศาสนิกชนกับพระสงฆหรือสมณพราหมณ์ บ่าวไพรกับ เจานาย ทุกคนควรระลึก เสมอวาทุกคนท่ีเกิดมาในโลกต่างก็เป็นมนุษย์เหมือนกัน เราควรวาง ทาทีใหเหมาะกับบุคคล ต่างๆ เปน็ การใหความรักและวางตนอยา่ งมศี ีลธรรม และจริยธรรมอันดี งามตอทศิ ทั้ง 6 การ ใชหลัก “เมตตา” ในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการพฒั นาตนเอง พัฒนาจาก “เมตตา เป็นเมตตา อปั ปมญั ญา” ได้ โดยใชพรหมวิหาร 4 พัฒนาเพราะ เป็นหลกั ธรรมที่เป็นความรักท่ีแท้จริงเป็น ความรักอันยิ่งใหญ่ แผ่ไปไม่มีประมาณ ไม่มีขอบเขต ไม่จํากัด ไม่เลือกเพศ วัย เช้ือชาติโดย สมำ่ เสมอกนั เปน็ ความปรารถนาดอี ยากให้ผู้อ่นื มี ความสุขแกสรรพสัตว (พระมหาสมจนิ ต์ วัน จนั ทร์, 2548) ข้อเสนอแนะ เนื่องจากงานวิจัยนอ้ี ยู่ในวงจำกัดโดยเปน็ การศึกษาวจิ ัยเรื่อง “การประยุกต์หลกั พุทธ ธรรมท่เี กี่ยวข้องกับความรกั เพอื่ สร้างความรักสามัคคขี องชาวบ้านหนองยางคำ ตำบลกองนาง อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย” ผู้ทำงานวิจัยมองว่ามีประเด็นสำคัญท่ีน่าสนใจในการนำมา ศกึ ษาวจิ ัย เพ่มิ เติมเพือ่ ใหเ้ กิดความรคู้ วามเขา้ ใจมากขนึ้ จงึ ขอเสนอแนะเปน็ ประเด็นการศึกษา ดงั นี้ 1. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย 1.1 รัฐบาลควรมีนโยบายสนับสนุนโดยการนำหลักธรรมเกี่ยวกับความรักมาใช้ใน การบริหารบา้ นเมอื งเพื่อประโยชน์สขุ แกร่ าษฎร 2. ข้อเสนอแนะในการนำผลวจิ ัยไปใช้ 2.1 ควรนำหลักธรรมเกี่ยวกับความรักไปใช้กับบุคคลโดยปฏิบัติอย่างจริงจัง และ สามารถปรับใชไ้ ด้ทกุ สถานการณใ์ นชวี ิตจรงิ เพื่อความสขุ ของตนเองอยา่ งแทจ้ รงิ

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2565) | 9 2.2 ควรนำหลักธรรมไปใช้กับสังคมโดยเน้นความรักท่มี ีต่อกันในสังคมอยา่ ง แท้จริง จึงจะสามารถแก้ปัญหาในสงั คมได้ 3. ขอ้ เสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป 3.1 ศึกษาวิเคราะห์ความรักในพระพุทธศาสนาเถรวาทกับขบวนการชาวพุทธยุค ใหม่ 3.2 ศึกษาวิเคราะห์ความรักในพระพุทธศาสนาเถรวาทกับความรักของชาวพุทธ ประเทศไทยท่ีมตี อ่ ความรักกบั ชาวต่างชาติตา่ งศาสนา เอกสารอา้ งอิง พระมหาสมจินต์ วันจันทร์. (2548). ฉันเข้าใจสรรพสิ่งเพราะฉันรัก. กรุงเทพมหานคร : สำนกั พิมพ์กัลปพฤกษ.์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โต). (2548). วิวาหแ์ ทต้ อ้ งแผ่ขยายความสุข. กรุงเทพมหานคร : บริษทั เอส อาร์พรนิ้ ต้งิ แมสโปรดัก๊ ส์ จำกัด ________ . (2549). ครองรัก ครองเรือน ครองธรรม. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สุภา จำกดั . พระมหาอำนาจ เขมปญฺโญ (ยอดทอง). (2546). การศึกษาเปรียบเทียบปรชั ญาเถรวาทและ งานเขียนซิมโพเซี่ยม (Symposium) ของเพลโต. ใน วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร มหาบัณฑติ . มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. พทุ ธทาส. (2540). พทุ ธิกจริยธรรม. กรงุ เทพมหานคร : การพิมพ์พระนคร. Walpola Rahula. (1978). Zen and Taming of the Bull to words the Definition of Buddhism thought. London : Gordon Fraser.

บทความวจิ ัย การประยกุ ตใ์ ชห้ ลักสาราณยี ธรรมในการบริหารงานของพระสังฆาธกิ าร ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จงั หวดั หนองบัวลำภู* APPLICATION OF SIX STATES OF CONCILIATION (SARANIYADHAMMA) WITH ADMINISTRATION OF ECCLESIASTICAL ADMINISTRATIVE MONKS IN THE ECCLESIASTICAL ADMINISTRATIVE REGION OF NA KLANG DISTRICT, NONG BUALAMPHU PROVINCE พระมหาปรเมศร์ จรณธมโฺ ม (หอมไกล) Phramaha Paramet Caranadhammo (Homkai) ภาสกร ดอกจนั ทร์ Pasakorn Dokchan ปดษิ ฐ์ คำดีนนท์ Padit Kumdee มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย Mahamakut Buddhist University, Thailand Email: [email protected] บทคดั ยอ่ บทความวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมใน การบริหารงานของพระสังฆาธิการในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัด หนองบวั ลำภู 2) เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมของพระสงฆ์ ท่มี ีตอ่ การประยกุ ตใ์ ช้หลักสา ราณียธรรมในการบรหิ ารงานของพระสังฆาธิการ ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะทีม่ ีต่อการประยุกต์ใช้หลกั สาราณียธรรมในการบริหารงานของพระสงั ฆาธิการ ใน เขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู 4)เพ่ือศึกษาข้อเสนอแนะ แนวทางในการประยุกตใ์ ช้หลักสาราณียธรรมในการบริหารงานของพระสงั ฆาธิการ ในเขตการ ปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู ดำเนินการวิจัยแบบผสม เก็บ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 196 รูป และการสัมภาษณ์เชิงลึก กบั ผู้ให้ขอ้ มูลสำคัญ จำนวน 5 รปู ผลการวิจัยพบว่า 1) การประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการบริหารงานของพระ สงั ฆาธิการในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู โดยรวมทุกด้าน อยู่ในระดับมาก 2) การทดสอบสมมติฐานมีทั้งแตกต่างกันและไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการ * Received 13 December 2021; Revised 20 January 2022; Accepted 1 February 2022

วารสารรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม-กมุ ภาพันธ์ 2565) | 11 พัฒนา คอื พระสังฆาธิการควรส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้พระสงฆแ์ ละสามเณรได้มโี อกาสพัฒนา ความรู้ความสามารถในการทำงาน เพราะส่ิงเหล่านี้จะเป็นกลไกในการขับเคลอื่ นงานพุทธพระ ศาสนา คำสำคญั : การประยุกต์, หลกั สาราณียธรรม, การบริหาร, การปกครองคณะสงฆ์ Abstract The objectives of the research were 1) to study application of six states of conciliation (Saraniya-dhamma) with administration of ecclesiastical administrative monks in the ecclesiastical administrative region of Na Klang District, NongbuaLamphu Province, 2) to compare behavior of monks, classified by personal factors, on administration of ecclesiastical administrative monks in the ecclesiastical administrative region of Na Klang District, NongbuaLamphu Province, 3) to study problems, obstacles and recommendations on administration of ecclesiastical administrative monks in the ecclesiastical administrative region of Na Klang District, NongbuaLamphu Province, and 4) to study recommendations on administration of ecclesiastical administrative monks in the ecclesiastical administrative region of Na Klang District, NongbuaLamphu Province. This study was a mixed method research. Data were collected using 196 questionnaires and in-depth interviews with 5 key informants. The research results were as follows. 1) The application of six states of conciliation (Saraniya-dhamma) with administration of ecclesiastical administrative monks in the ecclesiastical administrative region of Na Klang district, NongbuaLamphu province, was found to be overall at a high level. 2) Hypothesis testing is both different and not different. 3) The ecclesiastical administrative monks should support and promote monks and novices to have an opportunity to develop knowledge and competency on working, this will be a mechanism to drive Buddhism. Keywords: Application, Saraniyadhamma, Administrative, Administrative Monks

12 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) บทนำ การบริหารงานคณะสงฆ์ ถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญ เพราะถ้ามีระบบบริหารท่ีดี พระพทุ ธศาสนากจ็ ะมคี วามเจรญิ มน่ั คง การบรหิ ารที่ดนี ้นั จะตอ้ งมีรูปแบบวิธีการจัดการหรอื มี แนวคิดที่ดี ซ่งึ ขึ้นอยู่กบั การแบ่งงาน มอบอำนาจ กระจายงาน ให้ผูอ้ ยู่ฝา่ ยบริหารระดับต่าง ๆ รับผิดชอบตามความรู้ความสามารถของตน และพัฒนาการในด้านต่าง ๆ เพราะการบริหาร คณะสงฆ์ปัจจุบันนี้ มีอำนาจรัฐและจารีตประเพณีเข้ามาเกี่ยวข้อง เม่ือมีอธิกรณ์เกิดขึ้น ต้อง อาศัยพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์เป็นเกณฑ์ในการจัดระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ การบริหาร คณะสงฆ์จึงถอื ว่าเป็นหวั ใจหลัก ในงานบริหารจัดการกิจการของคณะสงฆ์ ไมว่ ่าจะเปน็ ด้านการ ปกครอง การศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่ การสาธารณูปการ และการสาธารณ สงเคราะห์ให้ดำเนินไปตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎมหาเถรสมาคม มติ ข้อบังคับหรือ ระเบียบมหาเถรสมาคม และพระบญั ชาสมเด็จพระสงั ฆราช (กรมการศาสนา, 2540) งานการปกครองคณะสงฆ์ เป็นองค์กรหน่ึงที่สามารถช่วยพัฒนาคณะสงฆ์ให้มีความ เจริญรุ่งเรือง ในปัจจุบันมีหน่วยงานที่เรียกว่า “องค์กร” อยู่มาก ท้ังในภาครัฐและเอกชนแม้ การปกครองคณะสงฆ์ ก็มีผู้นิยมใช้คำว่า “องค์กร” เช่นเดียวกัน ท้ังที่บทบัญญัติว่าด้วยการ คณะสงฆไ์ ม่ปรากฏคำน้ีอยู่เลย แต่เม่ือว่าโดยลักษณะการปกครองหรือการดำเนินกิจการคณะ สงฆ์แล้ว ย่อมจัดเป็นองค์กรได้ เพราะการปกครองคณะสงฆ์นั้นโดยรูปแบบมี สมเด็จ พระสงั ฆราช ทรงดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ทรงบัญชาการคณะสงฆ์ทุกคณะ และมี หน่วยบัญชาการคณะสงฆ์ หรือศูนย์รวมอำนาจการปกครองคณะสงฆ์คอื มหาเถรสมาคม เป็น สถาบันปกครองคณะสงฆ์สูงสุด จากนั้นมีหน่วยงานย่อยลดหล่ันกันตามสายงาน ท้ังใน ส่วนกลางส่วนภูมิภาค ทกุ หน่วยงานมีความสัมพันธ์กัน และโยงเข้าสู่ผู้บญั ชาการคณะสงฆ์ คือ องค์สกลมหาสงั ฆปรณิ ายกทง้ั สน้ิ จึงขอเรยี กวา่ “องคก์ รปกครองคณะสงฆ์” พระสังฆาธิการนั้น มีหน้าที่ในการปกครองและบริหารกจิ การคณะสงฆ์ให้เป็นไปด้วย ความเรียบรอ้ ย เป็นเง่ือนไขสำคัญที่จะบ่งช้ีความสำเร็จ ในการส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ให้ยั่งยืนถาวรสืบต่อไป ดังคำกล่าวท่ีว่า พระพุทธศาสนาจะเจริญรุ่งเรืองถาวรสืบต่อไปก็ต้อง อาศยั พระสงั ฆาธิการเป็นสำคัญ เนื่องจากพระสังฆาธิการเป็นผู้ใกล้ชิดประชาชนโดยเฉพาะพระ สงั ฆาธิการระดับเจ้าอาวาส ซง่ึ เปน็ ทเ่ี คารพเลอ่ื มใสศรทั ธาของประชาชน และมบี ทบาทโดยตรง ตอ่ การบรหิ ารกิจการคณะสงฆ์ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2540) วัดและพระสงฆม์ ีบทบาทสำคญั ต่อประชาชนและสงั คมมาต้ังแตต่ ้น ไม่วา่ จะเป็นแหล่ง ให้การศึกษา การอาชีพ การรักษาโรค การพิจารณาตัดสินความ การให้คำแนะนำสั่งสอนและ ปรึกษา สร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ และเป็นสถานทพ่ี ักผ่อนหย่อนใจ รวมทัง้ การทำกิจกรรม อ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องที่รวมอยู่ในวัด ต่อมาบทบาทดังกล่าวได้ลดน้อยถอยลงตามสภาพทางด้าน เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง มีการแบ่งความรับผิดชอบกิจกรรมบางอย่าง ท่ีวดั เคยมีบทบาท ออกไป เช่น การศึกษา การรักษาพยาบาล เปน็ ต้นประกอบกับวิถีชีวติ ของประชาชน ท่ีรับเอา

วารสารรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 1 (มกราคม-กมุ ภาพันธ์ 2565) | 13 อารยธรรมทางตะวันตกเขา้ มามากข้ึน ตลอดจนความจำเปน็ ในการประกอบอาชีพ ทำใหบ้ ุคคล ที่เคยเข้ามาร่วมในกิจกรรมต่าง ๆภายในวัดลดลงไปด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างวัด (พระสงฆ์) กับประชาชนก็ห่างกัน ขาดความร่วมมือในการทำนุบำรุงดูแลรักษาวัดและกิจการใน พระพุทธศาสนาเท่าที่ควร ทำให้โอกาสของประชาชนท่ีจะได้ศึกษาเรยี นรู้หลักธรรมน้อยลงไป มีผลให้คุณธรรมจริยธรรมในสังคมเส่ือมลงอีกท้ังยังมีวัดหลายแห่งได้มุ่งเน้นการพัฒนาในด้าน วัตถุ มีการก่อสร้างท่ีใหญ่โตสวยงาม ใช้งบประมาณจำนวนมากจนเกินความจำเป็น ไม่ สอดคล้องกับสภาพชุมชน เศรษฐกิจและการใช้งาน เกิดการทำลายสภาพแวดล้อมของวัด มุ่ง หารายไดเ้ ข้าวดั มากเกนิ ไป ตลอดจนพระสงฆ์กไ็ ม่สนใจท่จี ะศกึ ษาเลา่ เรยี นหลกั ธรรม แล้วนำไป เผยแผแ่ ก่ประชาชน ทำใหเ้ กดิ วิกฤตศิ รัทธาในหมู่ประชาชนต่อพระสงฆใ์ นพระพุทธศาสนา ดังน้ัน ผู้วิจัยได้มองเห็นหลกั ธรรมอยู่หลายประการท่ีจะสามารถนำมาประยุกต์ใช้แก่ หมู่คณะได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักสาราณียธรรม 6 เป็นธรรมที่ระลึกถึงกัน อันจะนำมาซึ่ง ความสุขความสันติความมั่นคง และความเจริญก้าวหน้าทั้งหลายทั้งปวง เป็นหลักธรรมที่ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารงานของพระสังฆาธิการในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภูเพ่ือให้ได้แนวทางการบริหารกิจการคณะสงฆ์โดยมีหลัก พุทธธรรมเป็นพ้ืนฐานอันจะเป็นประโยชน์ต่อการบรกิ ารหารและการปกครองคณะสงฆ์อีกทั้ง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาทั้งใจเขตพ้ืนที่การวิจัยและเขตอื่นๆ ให้มีประสิทธภิ าพ ย่งิ ขนึ้ วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาการประยุกต์ใชห้ ลักสาราณียธรรมในการบริหารงานของพระสังฆาธิการ ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบวั ลำภู 2. เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมของพระสงฆ์ท่ีมีต่อการประยุกต์ใชห้ ลักสาราณีย ธรรมในการบรหิ ารงานของพระสังฆาธกิ ารในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จงั หวัด หนองบวั ลำภูโดยจำแนกตามปจั จัยส่วนบคุ คล 3. เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะท่ีมีต่อการประยุกต์ใช้หลักสาราณีย ธรรมในการบริหารงานของพระสังฆาธกิ ารในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัด หนองบวั ลำภู 4. เพ่ือศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางในการประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการ บริหารงานของพระสังฆาธิการในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัด หนองบวั ลำภู

14 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) วิธีดำเนินการวจิ ยั ประชากรทีแ่ ละกลมุ่ ตัวอย่าง ประชากร ประชากรทีใ่ ช้ในการวจิ ัยครัง้ น้ี ได้แก่ พระสงฆ์ในการเขตปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จงั หวัดหนองบัวลำภู จำนวน 384 รปู กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ พระสงฆ์ในการเขตปกครอง คณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จงั หวดั หนองบัวลำภู จำนวน 196 รปู (กลั ยา วานชิ ย์บญั ชา, 2548) เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) และการวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research) โดยใช้การสมั ภาษณ์เชิงลึก (In- DepthInterview) กับผู้ให้ขอ้ มูลสำคัญ (Key Informants) โดยมีขน้ั ตอนดังน้ี 1. ศึกษาแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการ บริหารงานของพระสังฆาธิการในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัด หนองบัวลำภู จากเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. กำหนดกรอบแนวคิดในการวจิ ัย และสรุปเปน็ คำนยิ ามศัพทใ์ นการวจิ ัย 3. สร้างแบบสอบถามและแบบสมั ภาษณ์จากกรอบเนื้อหาในคำนิยามศัพท์ที่ใช้ในการ วจิ ยั 4. นำแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ท่ีสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว นำเสนอให้ ผเู้ ชยี่ วชาญ ทำการตรวจความเท่ียงตรงเชิงเน้อื หา 5. เม่ือผู้เชี่ยวชาญตรวจเรียบร้อยแล้ว จึงนำไปทดลองใช้กับหน่วยการวัดท่ีมิใช่ ประชากรในการวิจยั แลว้ นำมาหาค่าความเชือ่ มน่ั 6. หากพบว่า แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์มีความเชื่อมั่นแล้ว จึงนำไปทดลองใช้ จรงิ กับกล่มุ ตวั อยา่ งเปา้ หมายตอ่ ไป การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักทางวิชาการ เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องจากน้ัน นำมากำหนดกรอบแนวคิดท่ีใช้ในการวิจัย กำหนดนิยามและเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการสร้าง แบบสอบถาม 2. การหาความแม่นตรง (Validity) โดยนำแบบสอบถามท่ีผ้ศู ึกษาได้สร้างข้ึนไปเสนอ คณะกรรมการที่ปรึกษาผเู้ ชย่ี วชาญ เพ่ือทำการตรวจสอบความถูกต้องเชิงเนือ้ หาของคำถามใน

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กมุ ภาพนั ธ์ 2565) | 15 แต่ละข้อว่าตรงตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาคร้ังน้ีหรือไม่ และนำมาแก้ไขปรับปรุงเพื่อ ดำเนินการข้ันต่อไป 3. การทดสอบความเช่ือม่ัน (Reliability) ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามไปทำการทดสอบ ก่อนเก็บข้อมูลจริง (Try Out) กับกลุ่มตัวอย่างท่ีมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มท่ีจะศึกษา จำนวน 30 คน จากนนั้ นำแบบสอบถามทไี่ ด้มาวิเคราะห์เพ่ือหาความเชื่อม่ัน (Reliability) ดว้ ย วิธีการหาค่าความสอดคล้องภายใน (Internal Consistency Method) โดยการหาค่า สัมประสิทธ์ิคอนบาคอัลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficients) ผลการทดสอบพบว่า แบบสอบถามด้านความคาดหวัง มีค่าความเช่ือมั่น เท่ากับ 0.879 แบบสอบถามด้านความพึง พอใจ มคี า่ ความเช่ือมน่ั เทา่ กบั 0.820 ซง่ึ อยใู่ นเกณฑ์ท่ยี อมรบั ได้ การวเิ คราะห์ข้อมูล 1. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู แบบสอบถาม ผวู้ จิ ยั ดำเนนิ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพ่ือการวิจยั ทางสังคมศาสตร์ สถติ ทิ ี่ใชว้ ิเคราะหข์ ้อมลู มดี งั น้ี 1.1 ใช้สถิตจิ ำนวน (Frequency) และร้อยละ (Percentage) อธบิ ายปัจจยั ส่วนบุคคล ของผตู้ อบแบบสอบถาม วิเคราะหโ์ ดยการนำเสนอเป็นตารางประกอบการบรรยายผล 1.2 ใช้สถิตวิ เิ คราะหโ์ ดยการหาค่าเฉลี่ย (x )̅ ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ใช้ อธิบายการประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั สาราณียธรรมในการบริหารงานของพระสงั ฆาธกิ ารในเขตการ ปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จงั หวัดหนองบัวลำภู นำเสนอในรปู ตารางประกอบคำ บรรยาย 1.3 การทดสอบสถติ ิทดสอบสมมตฐิ านความแปรปรวนทางเดยี ว (One way ANOVA) โดยใช้สถิติทดสอบเอฟ (F-test) เมื่อพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยราย คดู่ ้วยวิธกี ารของเชฟเฟ่ (Scheffe') 2. การวเิ คราะห์ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis Technique) ประกอบบริบท และประมวลผลเข้าด้วยกัน รวมทั้งใช้ แนวคิดจากเอกสารและผลงานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้องมาสนบั สนุนในการวิเคราะหเ์ พ่ือให้เหน็ ภาพรวม ผลการวจิ ยั 1) การประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการบริหารงานของพระสังฆาธิการในเขต การปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าคะแนนเฉลี่ยการประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการบริหารงานของพระ

16 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) สังฆาธิการจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านเมตตาวจีกรรม ด้านทิฏฐิสามัญญตา ด้านเมตตา มโนกรรม ดา้ นเมตตากายกรรม ด้านสาธารณโภคี ดา้ นสีลสามัญญตา ตามลำดบั 2) พระสงฆท์ ี่มีอายุต่างกันมคี วามคิดเห็นต่อพฤติกรรมการประยุกต์ใชห้ ลักสาราณีย ธรรมในการบริหารงานของพระสังฆาธกิ ารในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จงั หวัด หนองบวั ลำภูโดยรวมไม่แตกต่างกัน จงึ ปฏิเสธสมมตฐิ าน พระสงฆ์ที่มีพรรษาต่างกันมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมการประยุกต์ใช้หลักสา ราณียธรรมในการบริหารงานของพระสังฆาธิการในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จงั หวัดหนองบัวลำภโู ดยรวมไม่แตกต่างกัน จึงปฏเิ สธสมมติฐาน พ ร ะ สง ฆ์ ท่ี มี วุ ฒิ ก าร ศึ ก ษ าสามั ญ ต่ างกั น มี คว าม คิ ด เห็ น ต่ อ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก าร ประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการบริหารงานของพระสังฆาธิการในเขตการปกครองคณะ สงฆ์ อำเภอนากลาง จงั หวดั หนองบวั ลำภโู ดยรวมไม่แตกตา่ งกนั จึงปฏเิ สธสมมติฐาน พระสงฆ์ท่ีมีวุฒิการศึกษานักธรรมต่างกันมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมการ ประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการบริหารงานของพระสังฆาธิการในเขตการปกครองคณะ สงฆ์ อำเภอนากลาง จงั หวัดหนองบัวลำภูโดยรวมแตกต่างกนั จงึ ยอมรบั สมมตฐิ านทต่ี ้ังไว้ พระสงฆท์ ี่มวี ฒุ ิการศกึ ษาบาลตี ่างกนั มีความคิดเห็นตอ่ พฤติกรรมการประยุกตใ์ ช้ หลักสาราณียธรรมในการบรหิ ารงานของพระสังฆาธกิ ารในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนา กลาง จังหวดั หนองบวั ลำภูโดยรวมไมแ่ ตกต่างกนั จึงปฏิเสธสมมตฐิ าน 3) พระสังฆาธกิ ารควรสง่ เสริมและสนับสนุนให้พระสงฆแ์ ละสามเณรไดม้ ีโอกาสพัฒนา ความรู้ความสามารถในการทำงาน เพือ่ ช่วยส่งเสริมให้เกิดการบริหารงานท่ีรวดเรว็ และพัฒนา ให้กา้ วไกลตลอดถึงการจัดการศึกษาสงเคราะหใ์ ห้ทง้ั บรรพชติ และคฤหัสถ์ไดอ้ ย่างทว่ั ถึงเพราะ สง่ิ เหล่าน้จี ะเป็นกลไกในการขับเคลื่อนศาสนธรรมผา่ นมิติทางศาสนา อภิปรายผล จากผลการวิจัยเรอื่ ง“การประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการบริหารงานของพระ สังฆาธิการในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู” ผู้วิจัยพบ ประเด็นของผลการวิจัยท่ีสามารถนำมาเสนอเพื่อทำการอภิปรายและประกอบแนวคิดทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ งดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ปีที่ 2 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม-กมุ ภาพนั ธ์ 2565) | 17 1. การเปรียบเทียบพฤติกรรมของพระสงฆ์ที่มีตอ่ การประยกุ ต์ใช้หลักสาราณียธรรม ในการบริหารงานของพระสังฆาธิการ ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัด หนองบัวลำภู พบว่า การประยุกต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการบริหารงานของพระสังฆาธิการในเขตการ ปกครองคณะสงฆ์ อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดย เรียงลำดับค่าคะแนนเฉล่ียการประยุกตใ์ ช้หลักสาราณยี ธรรมในการบริหารงานของพระสังฆาธิ การจากมากไปหาน้อย ดังน้ี ด้านเมตตาวจีกรรม ด้านทิฏฐิสามัญญตา ด้านเมตตามโนกรรม ด้านเมตตากายกรรม ด้านสาธารณโภคี ด้านสีลสามัญญตา ซ่ึงสอดคล้องกับ พระครูนนท วีรวัฒน์ วีรธมฺโม (พระครูนนทวีรวัฒน์ (มีนุสสรณ์, 2553) ได้วิจัยเร่ือง “การบริหารงาน เทศบาลตำบลตามหลักสาราณียธรรม 6 : ศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลตำบลปลายบาง อำเภอ บางกรวย จังนนทบุรี”ผลการวิจัยพบว่า เทศบาลตำบลปลายบาง ได้บริหารงานตามหลักสา ราณยี ธรรมท้ัง 6 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายละเอยี ดแต่ละดา้ นพบว่า มีการบริหารงานตามหลักสาราณียธรรม 6 อยู่ในระดับมากทุกด้าน และมีข้อเสนอแนะว่า เจ้าหน้าที่ไม่ควรเลือกปฏิบัติในการให้บริการแก่ผู้มาใช้บริการ กล่าววาจาสุภาพต่อผู้มาใช้ บริการ และตอ้ นรับด้วยไมตรจี ิตที่ยิม้ แย้มแจ่มใส บริการด้วยความเต็มใจ มีความซ่ือสัตยส์ ุจริต ยอมรับฟงั ความคิดเห็นของประชาชน อีกท้ังยังสอดคล้องกับ นาวาเอก นพพล บงกชกาญจน์ (2554) ได้วจิ ัยเร่ือง “การปฏิบตั ิงานตามหลักสาราณียธรรมของบุคลากรศุนย์ซ่อมอากาศยาน กองบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ” ผลวิจัยพบว่า การปฏิบัติงานตามหลักสาราณียธรรมของ บคุ ลากร ทั้ง 6 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาในแต่ละดา้ น พบว่าอยู่ใน ระดับมากทุกด้าน และมีข้อเสนอแนะว่า บุคลากรศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ ควรสร้างจิตสำนึกโดยให้เห็นถึงการอยู่ร่วมกันในสังคมท่ีต้องพึ่งพาอาศัยกัน ส่งเสริมให้มีการเคารพซ่ึงกันและกัน ท้ังต่อหน้าและลับหลัง หากมีข้อผิดพลาดในการทำงาน ควรแนะนำผู้กระทำผดิ ให้ปรับปรงุ ในสิ่งทถ่ี กู ตอ้ งและเปน็ ประโยชน์แกผ่ ้ปู ฏิบัติงานตลอดถึงการ สร้างจิตสำนึกในการทำงานร่วมกันที่ถือว่าเป็นผลงานของทุกคน ส่งเสริมการปฏิบัติให้ถูกต้อง ตามระเบยี บวินัยอยู่เสมอ และรับฟังการแสดงความคดิ เห็นของทุกคน ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย

18 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) 1.1 พระสังฆาธิการควรส่งเสริมและสนับสนุนให้พระสงฆ์และสามเณรได้มีโอกาส พัฒนาความรู้ความสามารถในการทำงาน เพ่อื ช่วยส่งเสริมให้เกิดการบรหิ ารงานที่รวดเร็วและ พัฒนาใหก้ า้ วไกล 1.2 ควรนำหลักสาราณียธรรมมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติหน้าท่ี และบูรณาการใช้ อย่างจริงจัง เพ่ือจะได้ทำให้เกิดความสามัคคีปรองดองกันความมีน้ำใจเอื้อเฟ้ือต่อกันในพุทธ บรษิ ัทท้งั 4 1.3 ควรมีมาตรการส่งเสริมการปฏิบัติงานเชิงรุกให้กับพระสงฆ์และสามเณรได้มี โอกาสศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึนกว่าเดิม เพ่ือนำองค์ความรู้มาใช้ในการพัฒนาองค์กรสงฆ์และ เทศนาอบรมประชาชนให้เกิดองค์ความร้ทู ี่หลากหลาย 2. ขอ้ เสนอแนะเชงิ ปฏิบัติ 2.1 ควรนำผลการศึกษานี้ไปปรับปรุงข้อมูลในการวางแผนการการบริหารงานของ พระสังฆาธิการตามหลักสาราณียธรรมให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตรงตามลักษณะ งาน 2.2 พระสังฆาธิการควรจัดใหม้ ีการฝกึ อบรมพระสงฆ์และสามเณรรวมถงึ พระสังฆาธิ การเอง เช่น ศกึ ษาดูงานท้ังในประเทศและต่างประเทศ เพ่ือการพัฒนาความร้คู วามสามารถมี วิสัยทัศน์ และประสบการณ์ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ทีก่ ารทำงานทีด่ ี 2.3 ควรนำหลักพุทธธรรมทางพระพุทธศาสนาอื่นๆ เช่น หลักสังคหวัตถุ 4 อิทธิ บาท 4 หลักอปริหานิยธรรม 7 มาประยุกต์ใช้ควบคู่ไปกับการบริหารงานของพระสังฆาธิการ อนั จะทำให้เกิดการพฒั นาบรู ณาการร่วมกบั หลักธรรมท่หี ลากหลาย 3. ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจยั ครัง้ ต่อไป 3.1 ในการวิจัยครั้งต่อไปควรศึกษาจากกลุ่มประชากร หรือกลุ่มตัวอย่างโดยรวม เชน่ ศึกษาปัจจัยทม่ี ผี ลต่อการประยกุ ต์ใช้หลักสาราณียธรรมในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ของพระสังฆาธิ การในเขตอำเภอนากลาง จังหวดั หนองบัวลำภู 3.2 ในการวิจัยครงั้ ตอ่ ไปควรศึกษาผลสัมฤทธห์ิ ลังจากการนำหลกั สาราณยี ธรรมมา ประยกุ ต์ใชใ้ นการบริหารงานของพระสังฆาธิการในอำเภอนากลาง จงั หวดั หนองบวั ลำภู 3.3 ในการวจิ ยั ครัง้ ตอ่ ไปควรนำผลการวจิ ยั ทไี่ ด้ไปประยกุ ตใ์ นองคก์ ร หน่วยงานภาคี เครือข่ายทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 3.4 ในการวจิ ัยครั้งต่อไปควรศึกษาทศั นคติของพระสังฆาธกิ าร เกี่ยวกับการนำหลัก พุทธธรรมมาประยุกตใ์ ชใ้ นการบริหารกจิ การคณะสงฆ์ เอกสารอา้ งอิง กรมการศาสนา. (2540). ค่มู อื พระสังฆาธกิ ารวา่ ด้วยการคณะสงฆ์และการพระศาสนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์การศาสนา.

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม-กมุ ภาพนั ธ์ 2565) | 19 กระทรวงศึกษาธิการ. (2540). รัฐธรรมนูญ แห่งอาณ าจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา. กัลยา วานิชย์บัญชา. (2548). สถิติสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาสถิติ คณะ พาณชิ ยศาสตร์และบญั ชี จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . พระครูนนทวีรวฒั น์ (มีนุสสรณ์). (2553). การบริหารงานเทศบาลตำบลตามหลกั สาราณียธรรม 6 :ศึกษาเฉพาะกรณีเทศบาลตำบลปลายบาง อำเภอบางกรวย จังนนทบุรี. ใน วทิ ยานพิ นธ์พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต. มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. นาวาเอก นพพล บงกชกาญจน.์ (2554). การปฏิบัติงานตามหลกั สาราณยี ธรรมของบุคลากร ศนู ย์ซ่อมอากาศยาน กองบนิ ทหารเรือ กองเรือยทุ ธการ. ใน วิทยานิพนธ์พทุ ธศาสตร มหาบัณฑติ . มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย.

บทความวิจยั ความสมั พันธร์ ะหวา่ งหลกั สังคหวตั ถุ 4 กับประสทิ ธภิ าพการบริหารงาน บุคคลขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ขอนแก่น* A RELATIONSHIPS BETWEEN THE FOUR SANGAHAVATTHU WITH EFFICIENCY OF PERSONEL MANAGEMENT OF KHONKAEN PROVINCE ADMINISTRATIVE ORGANIZATION ตรัยณภรทั เสาวรา Thainapat Sawara ปชาบดี แย้มสนุ ทร Phatcharee Chamnansil ชาญชยั ฮวดศรี Chancha Huadsri มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand. Email: [email protected] บทคัดย่อ การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพ่ือศึกษาการปฏิบัติตนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของ ผู้บริหาร 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบรหิ ารงานบุคคล 3) เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง หลักสังคหวัตถุ 4 กับประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล 4) เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนา ประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ 4 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บ รวบรวมข้อมูลโดยใชเ้ ครอ่ื งมือการวิจัย คือ แบบสอบถาม กับกลุ่มตัวอย่าง 231 ฉบับ สถิตทิ ี่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ แบบเพียรส์ นั ผลการวิจัยพบว่า 1) การปฏิบัติตนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหาร โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก พิจารณารายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2) ประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล โดยรวมอยู่ในระดับมาก พิจารณารายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน 3) ผลการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติตนตามหลักสังคหวัตถุ 4 กับประสิทธิภาพการบริหารงาน บุคคล พบว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 จึงเป็นไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว้ โดยรวมมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ในระดับสูงมาก (r=0.82) 4) แนวทางการพัฒนา ประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ขอนแก่น ควรกำหนดนโยบายส่งเสริมให้บุคลากรนำหลักสังคหวัตถุ 4 มาใช้ในการบริหารงาน * Received 10 November 2021; Revised 18 December 2021; Accepted 5 January 2022

วารสารรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2565) | 21 และการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ควบคู่ไปกับการนำ หลักนิติธรรม จริยธรรมมากำหนดใช้ เป็น กฎ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ท่ีถูกตอ้ ง ชัดเจนและเป็นธรรม เพอ่ื ใหเ้ ป็นทย่ี อมรับของประชาชน คำสำคญั : หลักสังคหวัตถุ 4, ประสทิ ธิภาพการบริหารงานบคุ คล, องค์การบริหารส่วนจังหวดั ขอนแกน่ Abstract The objective of this research aims : 1) to study a behave according to the four Sangahavatthu of executive 2) to study the efficiency of personel management 3) to study the relationship between four Sangahavatthu and effective personnel management 4) to study the development of effective personnel management by four Sangahavatthu, a quantitative research. Data were collected using a questionnaire with a sample of 231. The statistics used were Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation and Pearson's Product Moment Correlation Coefficient. The results showed that 1) A behave according to the four Sangahavatthu of executive, overall high level, Considering the high level in all aspects. 2) Effective Personnel Management, overall high level, Considering the high level in all aspects. 3) The analysis of the relationship between behave according to the four Sangahavatthu and effective personnel management, overall the are correlation coefficient is very high (r = 0.82). Then according to the hypothesis. 4) The development of effective personnel management according four Sangahavatthu of the Khon Kaen Province administrative organization. Policymakers should encourage personel to bring four Sangahavatthu objects used in the management and operation system. Coupled with the Legal State, the ethical mount is a rules, regulations valid clear and fair for to be accepted of the people. Keywords: Four Sangahavatthu, Efficiency of Personel Management, Khon Kaen Province Administrative Organization.

22 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) บทนำ องค์การบริหารส่วนจังหวดั (อบจ.) ถือเป็นรูปแบบการปกครองท้องถิ่นรปู แบบหน่ึง ของประเทศไทยมีภารกิจครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่และหลากหลาย ทั้งได้กําหนดอํานาจใน การออกคําส่ังต่างๆ ด้านการบริหารงานบุคคล ได้แก่ การออกคําส่ังเก่ียวกับการบรรจุแต่งต้ัง การยา้ ย การโอน การรับโอน การเลื่อนระดบั การเลอ่ื นข้ันเงินเดือน การสอบสวน การลงโทษ ทางวินัย การให้ออกจากราชการการ อุทธรณ์ และการร้องทุกข์ หรือการอื่นใดท่ีเกี่ยวกับการ บริหารงานบุคคล หลักการนี้จะเป็นเรื่องที่ประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีโอกาสใน การคัดเลือกบุคลากรของตนก็ตาม แต่ในทางกลับกันก็ได้ส่งผลกระทบหลายประการต่อการ ปฏิบัติงานของบุคลากรขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเนื่องจากในการปฏิบัติงานมีปัจจัย หลายอย่างเข้ามาเกี่ยวข้อง เพื่อกระตุ้นให้แต่ละบุคคลใช้ความรู้ความสามารถให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในทอ้ งถนิ่ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และบรรลเุ ป้าหมายขององค์กร การบริหารงานบุคลากร เป็นเรื่องของการการจัดสรรทรัพยากรบุคคล การพัฒนา บุคลากร การบำรุงรักษาบุคลากรและการให้บุคลากรพ้นจากงาน กระบวนการพัฒนาความรู้ และสร้างขวญั กำลังใจแกบ่ ุคลากรในองค์การ ให้สามารถดำเนินงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพและ บรรลุเป้าหมายขององค์การ จึงเป็นเร่ืองท่ีสำคัญและยุ่งยาก ทั้งนี้เพราะตามหลักทั่วไป แม้ว่า จะมีงบประมาณอย่างเพียงพอ มีการจัดองค์การ และการบริหารงานที่ดีมีอุปกรณ์และวัสดุ พร้อม ถ้าผู้ปฏิบัติงานไม่ดี ไม่มีความรู้ความสามารถ ขาดความซื่อสัตย์สุจริต และไม่ ประพฤตอิ ยู่ในระเบียบวินยั อนั ดแี ล้วกเ็ ปน็ การยากที่การบริหารงานจะบรรลผุ ลสมตามความมุ่ง หมาย การบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น เป็นการได้มาซ่ึงการ พัฒนา การบำรุงดูแลรักษาบุคลากร ในตำแหน่งต่างๆ ปัญหาที่เกิดข้ึนมีการเรียกร้อง ผลประโยชน์ในการแต่งตั้งบรรจุ พิจารณาความดีความชอบ การโยกย้าย บางหน่วยงานมี บุคลากรมากเกินความจำเป็น บางแห่งมีบุคลากรไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน บุคลากรมี ความรู้ความสามารถไม่เหมาะสมกับตำแหน่ง มีการใช้ระบบอุปถัมภ์ในการพิจารณาความดี ความชอบ โดยไม่คำนึงถงึ หลกั ความสามารถของบุคลากร ทำให้บุคลากรขาดขวญั กำลงั ใจการ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ การบริหารงานบุคคลท้องถิ่นในปัจจุบันมีปัญหาในการบริหารงาน เนื่องจากอำนาจในการบริหารงานบุคคล อยู่ท่ีผู้บริหารท้องถ่ินซึ่งมาจากการเมือง เข้ามา ครอบงำการปฏิบัตหิ นา้ ท่ีของเจ้าหนา้ ท่ีผปู้ ฏบิ ัติข้าราชการประจำ มอี ำนาจในการให้คณุ ให้โทษ ถ้าใช้ในทางถูกต้องก็ดี แต่ข้อเท็จจริงผู้บริหารท้องถ่ินใช้เป็นเคร่ืองมือในการแสวงหา ผลประโยชน์แก่ตนเองและพวกพ้อง ขาดระบบคุณธรรม ไมม่ ีการถ่วงดุลในการใช้อำนาจการ

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม-กุมภาพนั ธ์ 2565) | 23 บริหารงานบคุ คล องค์กรท้องถ่ินเกิดการทุจริตประพฤติมิชอบ ในการบริหารงานบุคคล การ บรรจุ แต่งตั้ง โอน ย้าย เลื่อนขั้นเงินเดือน เลื่อนระดับ การ ลงโทษทางวินัยเป็นของ ผู้บริหารท้องถ่ินซึ่งมาจากการเมืองท้องถ่ิน ซึ่งเป็นปัญหาของข้าราชการประจำ เพราะการใช้ อำนาจที่ผ่านมาผู้บริหารท้องถิ่นเป็นผู้ใช้อำนาจแต่เพียงผู้เดียว ไม่มีระบบถ่วงดุลและขาด ระบบคุณธรรม ในการใชอ้ ำนาจดงั กล่าว (ประหยัด หงสท์ องคำ, 2548) ในพระพุทธศาสนามีหลักธรรมที่สามารถส่งเสรมิ สนับสนนุ ได้หลายประการที่จะชว่ ย เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล โดยเฉพาะหลักสังคหวัตถุ ๔ คือ ทาน ปิยวาจา อัตถ จริยา และสมานัตตตา ซ่ึงเป็นหลักธรรมจะท่ีทำให้คนเราอยู่กันด้วยความรัก อยู่กันด้วยความ ปรารถนาดีและผูกน้ำใจต่อกันไว้ได้ (พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), 2543) เพราะการ บริหารงานบุคคลน้ันมีส่วนสำคัญในการผลักดันองค์กรให้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและเป็น ระบบ เนื่องจากการบริหารงานบุคคลเป็นงานที่จะต้องแทรกอยู่ในทุกกิจกรรมขององค์กร และ เป็น หลักประ กัน ว่าทุกกิจกรรมขององค์กรจะ สามารถดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ สง่ ผลให้การดำเนินงานต่างๆ ขององค์กรเกดิ ประสิทธิภาพสูงสุดโดยใช้ทรัพยากรไดอ้ ยา่ งคุ้มค่า ทุกองค์กรท่ีประสบผลสำเร็จจะต้องสามารถทำให้ทุกคนในองค์กรมุ่งมั่นทำงานได้อย่างเต็มที่ และสามารถปรับเปล่ียนองค์กรให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมได้อย่างราบรื่นโดยจำเป็นต้อง อาศยั หลักกระบวนการบริหารงานบคุ คลขององค์กรนน้ั ดังนั้นผู้วิจัยมีความสนใจศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างหลักสังคหวัตถุ ๔ กับ ประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น ซึ่งการนำ หลักสังคหวัตถุ 4 มาบูรณาการใช้ในการบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ขอนแก่น โดยอัธยาศัยความสามารถและคุณธรรม (เกษฎา ผาทอง, 2549) ให้มีสอดคล้องกับ หลักการบริหารงานบุคคลท่ีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินกำหนดไว้หรือไม่ ข้อมูลที่ได้จาก การศึกษาสามารถเสนอผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องได้กำหนดเป็นนโยบายในการบริหารงาน บคุ คล รวมถึงการกำหนดแนวทางในการแก้ไขปญั หาในการพฒั นาประสิทธภิ าพการบริหารงาน บคุ คลขององค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดขอนแก่นตอ่ ไป วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพื่อศึกษาการปฏิบัติตนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารองค์การบริหารส่วน จงั หวัดขอนแก่น 2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ขอนแก่น

24 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) 3. เพอื่ ศึกษาความสมั พันธร์ ะหว่างหลักสังคหวัตถุ 4 กับประสิทธิภาพการบริหารงาน บุคคลขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดขอนแกน่ 4. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลขององค์การ บรหิ ารสว่ นจงั หวัดขอนแก่น ตามหลักสังคหวัตถุ 4 วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั งานวิจัยเรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสังคหวัตถุ 4 กับประสิทธิภาพการ บริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น” ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยเปน็ การวจิ ยั เชิงสำรวจ (Survey Research) การศึกษาเอกสาร วิชาการและจากงานวิจัยต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการปฏิบัติตนตามหลักสังคหวัตถุ 4 กับ ประสทิ ธิภาพการบริหารานบุคคลขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดขอนแก่น โดยมขี น้ั ตอนดงั นี้ 1. ศึกษาแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตนตามหลักสังคหวัตถุ 4 กับ ประสิทธิภาพการบริหารานบุคคลขององค์การบริหารส่วนจังหวดั ขอนแก่น จากเอกสาร ตำรา และงานวิจัยท่เี กีย่ วข้อง 2. กำหนดกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั และสรปุ เปน็ คำนิยามศัพทใ์ นการวจิ ัย 3. สร้างแบบสอบถามจากกรอบเน้ือหาในคำนิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย โดยแบ่ง แบบสอบถามออกเป็น 4 ตอน 4. นำแบบสอบถามที่สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว นำเสนอให้ผู้เช่ียวชาญ ทำการตรวจ ความเท่ยี งตรงเชงิ เนอ้ื หา 5. เมื่อผู้เช่ียวชาญตรวจเรียบร้อยแล้ว จึงนำไปทดลองใช้กับหน่วยการวัดท่ีมิใช่ ประชากรในการวจิ ัย แลว้ นำมาหาคา่ ความเชือ่ มั่น 5. หากพบว่า แบบสอบถามมีความเชื่อม่ันแล้ว จึงนำไปทดลองใช้จริงกับกลุ่ม ตวั อยา่ งเปา้ หมายตอ่ ไป 6. การวเิ คราะหข์ ้อมูล ผู้ วิ จั ย ด ำ เนิ น ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล โด ย ใช้ โป ร แ ก ร ม ส ำ เร็ จ รู ป เพื่ อ ก า ร วิ จั ย ท า ง สงั คมศาสตร์ สถติ ทิ ใี่ ช้วเิ คราะห์ข้อมลู มีดังนี้ 6.1 ใช้สถิติจำนวน (Frequency) และร้อยละ (Percentage) อธิบายปัจจัยส่วน บคุ คลของผ้ตู อบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยการนำเสนอเปน็ ตารางประกอบการบรรยายผล 6.2 ใช้สถิติวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ( X ) ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) อธิบายข้อมูลความสัมพันธร์ ะหว่างหลักสังคหวตั ถุ 4 กับประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารานบุคคลของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแกน่ นำเสนอในรปู ตารางประกอบคำบรรยาย

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม-กมุ ภาพันธ์ 2565) | 25 6.3 การวัดค่าตัวแปร ประกอบด้วย การปฏิบัติตนตามหลักสังคหวัตถุ 4 โดย คำตอบเป็นแบบประเมินค่า (Rating Scale) สร้างคำตอบตามแนวของลิเคิร์ท (Likert) มี คำตอบใหเ้ ลอื ก 5 ระดบั 6.4 การวดั ค่าตัวแปร ประกอบด้วย ประสิทธิภาพการบริหารานบคุ คลขององค์การ บริหารสว่ นจงั หวัดขอนแก่น โดยคำตอบเป็นแบบประเมินคา่ (Rating Scale) สรา้ งคำตอบตาม แนวของลิเคริ ์ท (Likert) มคี ำตอบให้เลือก 5 ระดบั 6.5 การวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพัน ธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation Coefficient) หรอื ค่า r เพื่อทดสอบความสมั พันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปรที่สนใจ และ การพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ด้วยการ วิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression Analysis) เพ่ือความสัมพันธ์ระหว่างหลักสังคหวัตถุ 4 กับประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล ขององคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั ขอนแกน่ ผลการวิจยั จากผลการวิจัยเรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสังคหวัตถุ 4 กับประสิทธิภาพ การบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น” ผู้วิจัยพบประเด็นของ ผลการวิจยั ที่สามารถนำมาเสนอเพ่อื ทำการสรปุ ผลการวิจัย ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 1. การปฏิบัติตนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัด ขอนแกน่ การปฏิบัติบัติตนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น โดยรวม อยู่ในระดับมาก (  = 4.09) เมอ่ื พิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ อยูใ่ นระดับมากทุกด้าน โด ย เรียงค่ าเฉ ลี่ย จาก ม าก ไป น้ อ ย ได้ แก่ ด้าน ท าน (  = 4 .1 4 ) ด้ าน ปิ ย วาจ า (  = 4.11) ดา้ นสมานตั ตตา (  = 4.08) และด้านอัตถจริยา (  =4.05) ตามลำดบั 2. ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารงานบุคคลขององคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดขอนแก่น ประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลของผ้บู ริหารองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั ขอนแก่น โดยรวม อยู่ในระดับมาก (  = 4.01) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุก ด้าน โดยเรียงค่าเฉล่ียจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการให้รางวัลและด้านการธำรงรักษาและ ป้องกัน ( = 4.07) ดา้ นการพฒั นา (  = 4.02) ด้านการจดั หา (  =3.87) 3. ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสังคหวัตถุ 4 กบั ประสิทธิภาพการบรหิ ารงานบุคคล ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดขอนแกน่ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสังคหวัตถุ 4 กับประสิทธิภาพการ บรหิ ารงานบุคคลขององค์การบริหารสว่ นจงั หวดั ขอนแก่น โดยวิเคราะหค์ วามสมั พันธ์ระหวา่ ง หลักสังคหวัตถุ 4 กับประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนจังหวัด

26 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) ขอนแก่น ด้วยสถิติสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) โดยรวมอย่ใู นระดบั สงู และระดบั สูงมาก อภิปรายผล จากผลการวิจัยเร่ือง “ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสังคหวัตถุ 4 กับประสิทธิภาพการ บริหารงานบคุ คลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น” ผู้วิจัยพบประเด็นของผลการวจิ ยั ท่ี สามารถนำมาเสนอเพ่ือทำการอภิปรายและประกอบแนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้ 1. การปฏบิ ัติตนตามหลกั สงั คหวัตถุ 4 พบวา่ การปฏิบัติตนตามหลกั สังคหวัตถุ 4 ของผ้บู ริหารองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด ขอนแก่น โดยรวม อยู่ในระดับมาก (  = 4.09) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ อยูใ่ นระดับ มากทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกข้อ แสดงให้เห็นว่า ผู้บริหารใน ฐานะท่ีเป็นผู้บังคับบัญชาได้จัดใหมีการบรรจุบุคคลตรงตามสาขาวิชาที่สําเรจ็ การศึกษามา อีก ทั้งมีการสื่อสารดวยวาจาที่ไพเราะอ่อนหวานชวนฟง มีการใชคําพูดที่นุมนวลสละสลวย ใน เวลาที่ช้ีแจงนโยบายในเรื่องตาง ๆ แกบุคลากรดวยความจรงิ ใจ ทำตนเสมอต้นเสมอปลายกับ ผู้ใต้บังคับบัญชาทุกคน รวมถึงปฏิบัติตนเปนแบบอย่าง ในการรักษาระเบียบวินัยให้กับ ผู้ใต้บังคับบัญชา ซ่ึงสอดคล้องกับ ปัณณธร เธียรชัยพฤกษ์ (2542) ซ่ึงได้วิจัยเร่ือง การ ประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 เพ่ือสร้างความผูกพันต่อองค์การ : กรณีศึกษาโรงพยาบาล กรุงเทพผลการวิจัยพบว่า การประยุกต์ใช้หลักสงั คหวัตถุ 4 เพื่อสร้างความผูกพันต่อองค์การ ของพนักงานโรงพยาบาลกรุงเทพ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าระดับคะแนนการเห็นด้วยเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านปิยวาจา ด้าน สมานัตตตา ด้านทาน และดา้ นอัตถจรยิ าอยใู่ นระดบั มากทั้งหมด ตามลำดบั ผลการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านหลักสังคหวัตถุ 4 ของพนักงานโรงพยาบาลกรุงเทพกับความ ผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวก โดยมีค่าสหสัมพันธ์อยู่ในระดับสูง 2 ด้าน คือ ด้านปยิ วาจา และสมานัตตตา และ อยู่ในระดับปานกลาง คอื ดา้ นทาน และอัตถจริยา 2. ประสิทธิภาพการบรหิ ารงานบุคคล พบว่า ประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัด ขอนแก่น โดยรวม อยู่ในระดับมาก (  = 4.01) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับ มากทุกข้อ แสดงให้เห็นว่า ผ้บู ริหารมีการจ่ายค่าตอบแทนด้วยผลประโยชน์ต่างๆ สมเหตุสมผล และเพียงพอในระดับความสามารถ สร้างความสมดุลของทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าให้คงอยู่กับ องค์การอย่างต่อเนื่องทั้งในระยะยาว เพื่อให้พนักงานส่วนท้องถิ่นได้รับความเป็นธรรมจาก องคก์ าร มีโอกาสก้าวหน้า สามารถพัฒนาสถานภาพการดำรงชวี ิตให้ดีข้นึ อีกทัง้ มีกระบวนการ

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 1 (มกราคม-กุมภาพนั ธ์ 2565) | 27 เพ่ิมศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของพนักงานท้องถ่ิน โดยใช้วิธีการฝึกอบรมและพัฒนาใน รูปแบบต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับโครงสรา้ งองคก์ าร ซ่งึ สอดคล้องกับ สุคนธรัตน เถาสุวรรณ (2550) ทไ่ี ดทาํ การศึกษาเรอื่ ง “ประสิทธภิ าพการปฏิบัตงิ านของข้าราชการ ลูกจางประจําและ พนักงานจางขององคการบริหารสวนตําบล” ผลการวิจัยพบวา ระดับความคิดเห็นประสิทธิภาพ ในการปฏิบัตงิ าน ของขาราชการ ลูกจางประจาํ และพนักงานจาง ขององคการบรหิ ารสวนจังหวัด สมุทรปราการ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เพื่อพิจารณาเปนรายดาน พบว่ามีความ กระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานสําเร็จไดตามเปาหมาย ทันกับเวลาในสถานการณท่ี บบี บังคบั และผลการทาํ งานขององคการมีประสิทธิภาพสงู อยูในระดับสงู 3. ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสังคหวัตถุ 4 กับประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล ขององคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดขอนแกน่ พบว่า มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์โดยรวมอยู่ในระดับสูงมาก (r=0.02) เม่ือพิจารณาเป็น รายด้าน พบว่า มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ในระดับสูง 2 ด้าน คือ ด้านทาน มีค่า สัมประสิทธส์ิ หสมั พันธ์ (r=0.74) ด้านปิยวาจา มีคา่ สัมประสทิ ธ์สิ หสมั พันธ์ (r=0.73) และมคี ่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ในระดับสูงมาก 2 ด้าน คือ ด้านอัตถจริยา มีค่าสัมประสิทธ์ิ สหสมั พันธ์ (r=0.82) และดา้ นสมานตั ตตา มคี า่ สัมประสิทธิส์ หสัมพนั ธ์ (r=0.81) ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย 1.1 องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั ขอนแก่นใช้หลกั สงั คหวัตถุ 4 ในการบรหิ ารงานและ พัฒนาองคก์ รใหเ้ ปน็ ระบบ 1.2 เพื่อให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด ขอนแก่นควรท่ีจะนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา หรือหลักคุณธรรมจริยธรรม มาใช้ในการ บริหารงาน 1.3 องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ขอนแก่นควรท่ีจะมีนโยบายส่งเสริมสนับสนนุ ให้ บุคลากร นำหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา มาใช้ควบคูก่ ับการปฏบิ ัติงาน 2. ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏบิ ัติ 2.1 ควรให้ความสำคัญ กับการใช้หลักนิติธรรมในการบริหารงาน เพื่อให้การ บริหารงานเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับท่ีถูกต้องเป็นธรรมและเปน็ ประโยชน์ต่อ ส่วนรวม 2.2 ควรออกกฎ ระเบียบทีช่ ดั เจนมาใช้ในการบริหารงานและสง่ เสรมิ ให้บุคลากร และประชาชน เคารพต่อกฎระเบยี บนนั้ เพือ่ สรา้ งความเป็นธรรมในการใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน

28 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) 2.3 ต้องการให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่นใช้ความเที่ยงธรรม ใช้ความ ยุตธิ รรม ในการบริหารงานมากขน้ึ และเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการ บริหารงาน 3. ขอ้ เสนอแนะสำหรับการวจิ ยั ครงั้ ต่อไป 3.1 ในการวิจัยคร้ังต่อไปควรเปลี่ยนกลุ่มประชากรจากบุคคลากรจากองค์การ บรหิ ารสว่ นจงั หวดั ขอนแกน่ ไปเปน็ ประชาชนในจังหวดั ขอนแก่น เพอื่ เปรียบเทยี บความคิดเห็น ให้กว้างมากย่ิงขึ้น จะได้เห็นถึงความสำคัญของหลักสังคหวัตถุ 4 ท่ีมีต่อประสิทธิภาพการ บริหารงานบุคคลเพื่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนาให้กว้างขวางและให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขนึ้ 3.2 ในการวิจัยครั้งต่อไปควรใช้หลักพุทธรรมอ่ืนที่เก่ียวข้องกับการบริหารงาน บคุ คล เช่น กุศลกรรมบถ 10 สาราณียธรรม พรหมวหิ าร 4 สังคหวัตถุ 4 เป็นต้น เพื่อส่งเสริม ใหเ้ จ้ามหี ลักในการปฏบิ ตั ิตนและปฏิบตั ิงานได้ดยี ่ิงขนึ้ 3.3 ในการวิจัยครั้งตอ่ ไปควรนำผลการวิจยั ท่ีไดไ้ ปประยุกต์ในองค์กร หน่วยงาน ภาคเี ครือข่ายท่ีเกยี่ วข้อง 3.4 ในการวิจัยคร้ังต่อไปควรศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างหลักพุทธรรมกับ หลกั การบริหารงานและปฏบิ ัติงานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปจั จบุ ัน เอกสารอา้ งองิ เกษฎา ผาทอง. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาประชาธิปไตยและกระบวนการประชาธิปไตย ภายใต้กระบวนทัศน์หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา. วารสารธรรมทรรศน์. 16(2), 268- 269. พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโฺ ต). (2543). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้ง ที่ 9). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . ประหยัด หงส์ทองคำ. (2548). เอกสารการสอน ชุดวิชาการบริหารท้องถิ่น. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. ปัณณธร เทียนชัยพฤกษ์. (2552). การประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 เพื่อสร้างความผูกพันต่อ องค์การ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลกรุงเทพ. ใน วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลยั . สุคนธรัตน์ เถาสุวรรณ์. (2550). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของข้าราชการ ลูกจ้างประจํา และพนักงานจ้างขององค์การบริหารส่วนตําบล. ใน วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร มหาบณั ฑติ . สาขาการปกครองทอ้ งถ่ิน มหาวิทยาลัยขอนแกน่ .

บทความวจิ ัย ศึกษาภาวะผนู้ ำตามหลักสปั ปุริสธรรมของพระสังฆาธกิ ารในเขตอำเภอ นากลาง จงั หวดั หนองบวั ลำภู* SAPPURISADHAMMA-BASED LEADERSHIP OF ECCLESIASTICAL AUTHORITATIVE IN NA KLANG DISTRICT, NONG BUALAMPHU PROVINCE พระมหาประยรู เขมจาโร Phramaha Prayoon Kemmajaro ปดษิ ฐ์ คำดี Padit Khamdee พระนิทัศน์ ธรี ปญฺโญ Phra Nithus Thirapanyo มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย Mahamakut Buddhist University, Thailand Email: [email protected] บทคัดยอ่ บทความวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของ พระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู 2) เพื่อเปรยี บเทียบภาวะผู้นำตาม หลักสัปปุรสิ ธรรมของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบวั ลำภู 3) เพื่อศึกษา ขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกับภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสงั ฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวดั หนองบัวลำภู ดำเนินการวิจัยแบบผสม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่ม ตัวอย่างท่ีเป็นพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู จำนวน 150 รปู และการสัมภาษณ์เชงิ ลึก กบั ผใู้ หข้ ้อมลู สำคญั จำนวน 5 รูป ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิการในเขต อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภูโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก 2) ผลการทดสอบ สมมตฐิ านทกุ ดา้ นไม่แตกต่างกัน จงึ ปฏิเสธสมมติฐาน 3) แนวทางการพัฒนา คือ ภาวะผูน้ ำตาม หลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู คือ พระ สังฆาธิการควรเอาพระศาสนารอดโดยเฉพาะยุคปัจจุบนั นี้ถือว่าเป็นเรื่องใหญ่ มีการแทรกแซง ผ่านต่างศาสนาเป็นผู้กำหนดทิศทางที่ควรจะเป็นให้ศาสนาพุทธ ถ้าเรานำหลักการปฏิบัติตน ตามหลกั สปั ปรุ สิ ธรรมมาใชใ้ นการคณะสงฆ์ใหม้ ากๆ จะทำใหว้ ัดและศาสนาพุทธเจริญรงุ่ เรอื ง คำสำคญั : ภาวะผูน้ ำ, หลักสปั ปรุ สิ ธรรมของพระสังฆาธิการ * Received 3 November 2020; Revised 15 December 2020; Accepted 7 January 2021

30 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) Abstract The objectives of the research were 1) to study Sappurisadhamma- based leadership of ecclesiastical authoritative in Na Klang District, Nong Bualamphu Province, 2) to compare behavior of leadership to Sappurisadhamma-based of ecclesiastical authoritative in Na Klang District, Nong Bualamphu Province, 3) to study recommendations on administration of Sappurisadhamma-based leadership of ecclesiastical authoritative in Na Klang District, Nong Bualamphu Province. This study was a mixed method research. Data were collected using Sampling 196, and in-depth interviews with 5 key informants. The research results were as follows. 1) Sappurisadhamma-based leadership of ecclesiastical authoritative in Na Klang District, Nong Bualamphu Province, was found to be overall at a high level. 2) Hypothesis tests were not different. So reject the hypothesis. 3) The development of Sappurisadhamma- based leadership of ecclesiastical authoritative in Na Klang District, Nong Bualamphu Province is the sangha should take the religion survive, especially today is considered a big deal. There is an interference through different religions as to the direction that should be given to Buddhism. If we apply the principle of austerities to the church. Will make temples and Buddhist prosperity. Keywords: Leadership, Administration, Sappurisadhamma of Ecclesiastical บทนำ ปัจจบุ ันเป็นทยี่ อมรับกันแล้ววา่ ในการบริหารงานขององค์การน้ันผู้นาํ (Leader) เป็น ปัจจัยทสี่ าํ คัญอย่างยิง่ ประการหนึ่งต่อความสําเร็จขององคก์ ารนั้นๆ ทั้งนเ้ี พราะผู้นาํ มภี าระหนา ที่และความรับผิดชอบโดยตรง ที่จะต้องทําการวางแผน สั่งการ ดูแลและควบคุมให้บุคลากร ขององค์การสามารถปฏิบัติงานต่างๆ ให้ประสบความสําเร็จ ปัญหาที่เป็นที่สนใจของ นกั วชิ าการและบุคคลท่ัวไปอยู่ตรงท่ีวา่ ผูน้ ําจะต้องทําอยา่ งไรหรือมีวิธีการนําอย่างไร จึงทําให้ ผใู้ ต้บงั คับบัญชาหรือผู้ตาม เกิดความผูกพันกับงานแล้ว ทุมเทความสามารถและพยายามที่จะ ทําให้งานสําเร็จด้วยความเต็มใจในการปฏิบัติงานให้สําเร็จอย่างมีประสิทธิภาพตามเป้าหมาย และวตั ถุประสงคข์ ององคก์ าร (วิโรจน์ สารรัตนะ, 2545) ภาวะผู้นําหรือความเป็นผู้นํา (leadership) นั้น เป็นกระบวนการที่ผู้บริหารจะให้ มี อิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้อื่น ปัจจัยที่สําคัญยิ่งอย่างหน่ึงแห่งความสําเร็จของการทําหน้าท่ี

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม-กมุ ภาพันธ์ 2565) | 31 ผนู้ ํา คือ การเปน็ ผู้ประกอบด้วยคณุ สมบัตทิ ี่เหมาะสม มีความสามารถในการปรับเปลี่ยนความ ตอ้ งการของคน ซึ่งความต้องการเป็นตัวกําหนดเป้าหมายและทิศทางในการตดั สินใจ ถ้าเปลยี่ น ความต้องการของคนได้ ก็เปล่ียนตัวของคนนั้นได้ ผู้นําที่ดีจะช่วยให้คนพัฒนาความต้องการ ของตน ทัง้ ในการปรับเปลีย่ นทศั นคตขิ องบุคคลใหม้ คี วามตอ้ งการทีถ่ ูกตอ้ งดงี ามและใหห้ มู่ชนมี การประสานความร่วมมือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพราะการพัฒนาความต้องการเป็นการ พัฒนาความสุขของคน เพราะความสุข เกิดจากการสนองความต้องการ ถ้าหากเปลี่ยนความ ตอ้ งการได้ ก็เปลีย่ นวิธีการหาความสุขของเขาได้ด้วย เมอื่ ทําอะไรตรงกับความต้องการ ก็ทาํ ให้ เขาสมใจและมีความสุขคนก็จะรวมมือทําอย่างเป็นไปเองโดยประสานกลมกลืนและเต็มใจจะ หาทางทําให้สําเร็จ จึงพร้อมที่จะทําและทําได้ง่าย แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าผู้นํากระทําการที่ ฝืนความต้องการของคน ทงั้ สองฝายก็จะไม่มคี วามสขุ และส่งิ ท่ที าํ ก็ยากจะสําเร็จ นักบรหิ ารตอ้ งรู้จักความเดน่ และความด้อยของตนเอง การรคู้ วามเดน่ กเ็ พื่อการทํางาน ทเ่ี หมาะสมกบั ความสามารถของตน ตามปกตนิ ักบริหารมักมองเห็นความผิดพลาดของลูกน้อง ไดง้ า่ ย แตม่ องข้ามความผิดพลาดของตน ดังพุทธพจน์ว่า “ความผดิ พลาดของคนอ่ืนเห็นไดง้ า่ ย แต่ความผิดพลาดของตนเองน้ันเห็นได้ยาก” เม่ือนักบริหารทํางานผิดพลาดลูกน้อง ไม่กล้า บอกหรอื แนะนํา ดังน้นั นักบริหารต้องหัดมองตนและตักเตือนตนเอง สมดังพุทธพจน์ว่า “อตฺต นา โจทยตฺตานํ จงเตอื นตนดว้ ยตน” เชน่ ถา้ นักบริหารส่งั การหลายๆ คร้ังแตล่ ูกนอ้ ง ไมเ่ ข้าใจ นักบริหารก็อย่าตําหนิลูกนองว่าโง่เง่า เพราะบางทีเราเองอาจสั่งการไม่ชัดเจนก็เป็นได้ ดัง ภาษิตอทุ านธรรมท่ีว่า “ถ้าพูดไปเขาไมร่ ้อู ยา่ ข่เู ขา วา่ โง่เงา่ งมเงอะเซอะหนักหนา ตวั ของเราทาํ ไมไมโ่ กรธา ว่าพูดจาให้เขาไมเ่ ขาใจ” การทีน่ ักบรหิ ารมองไมเ่ ห็นความผดิ พลาดของตนนั้นเป็นเรือ่ งธรรมดา เพราะวันหนึง่ ๆ ดวงตาของเรามีไว้สําหรับมองด้านนอกมันไม่ได้มองตัวเราเองเวลาคนอ่ืนทําผิดพลาด เราจะ มองเห็นทันที แต่เวลาตัวเราทําผดิ พลาดเองกลับมองไม่เห็น ดังน้ัน เพ่อื สาํ รวจตนเองนักบริหาร ต้องหัดมองด้านในคือ เจริญวิปัสสนาเป็นการมองดานในน่ันเอง วิปัสสนากรรมฐานเน้นเร่ือง การเจริญสติ พิจารณากาย เวทนา จิตและธรรมหรือความดีความชั่วในใจของเราเอง” พระไตรปิฎกได้กล่าวถึงคุณสมบัติของ “ผู้นํา” ดังมีคาถาพุทธศาสนสุภาษิตแสดงความได้ว่า “เมอ่ื ฝูงโควายขามน้ำ ถ้าโคจ่าฝูงไปคด โคหมดท้ังฝงู นัน้ ก็ไปคดตามกัน เพราะมผี ้นู าํ ไปคิด ฉัน ใด ในหมู่มนุษยก็ฉันน้ัน บุคคลผู้ใด ไดรับสมมติให้เป็นใหญ่หากบุคคลผู้น้ันมีความประพฤติไม่ เป็นธรรม หมู่ประชาชนนอกนั้นกจ็ ะประพฤติซ้ำเสียหาย แว่นแคว้นทั้งหมดก็จะยากเข็ญ หาก ผปู้ กครองเปน็ ผู้ไร้ธรรม” “เมื่อฝูงโควายขามน้ำ ถา้ โคจาฝูงไปตรง โคหมดทง้ั ฝงู นน้ั ก็ไปตรงตาม กัน เพราะมีผู้นําที่ไปตรง ฉันใด ในหมู่มนุษย์ ก็ฉันนั้น บุคคลผู้ใดได้รับสมมติให้เป็นใหญ่ หาก บุคคล ผู้นั้นประพฤติชอบธรรม หมู่ประชาชนนอกนั้นกจ็ ะพลอยดาํ เนินตาม ท้งั แวนแควนกจ็ ะ อย่เู ปน็ สขุ หากผ้ปู กครองตงั้ อยูใ่ นธรรม”

32 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) พุทธพจน์น้ี แสดงให้เห็นถึงความสําคัญของผู้นําท่ีมีต่อความอยู่รอด และสวัสดิภาพ เพ่ือให้การพัฒนาองค์การและการดําเนินชีวิตของกลุ่มบุคคลในสังคมมีความย่ังยืน และสันติ สงบสขุ ของสังคมและประเทศชาติ โดยผู้นาํ จะต้องมคี ุณธรรมและจริยธรรมท่ีดีหากผู้นําขาดซ่ึง คณุ ธรรมและจริยธรรมแล้ว ย่อมทําให้ผูน้ นั้ ขาดความชอบธรรมในการทาํ หน้าทใี่ นองคก์ ารนต้ั ่อ ไป ท้ังนี้เนื่องจากคุณธรรมและจริยธรรม ถือเป็นคุณสมบัติที่สาํ คัญของผู้นํา ที่ทําให้ได้รบั การ ยอมรบั ความเช่อื ถือตลอดจนการนบั ถือจากบุคคลตา่ งๆ ท้ังในองค์การและสังคมทัว่ ๆ ไป การขาดคุณธรรมและจริยธรรมของผู้นาํ ย่อมทาํ ใหผ้ นู้ ําไม่เป็นที่ยอมรับตอ่ บคุ คลทวั่ ไป ซ่ึงยอมส่งผลกระทบต่อหลกั การบริหารงานและภาพลักษณข์ ององค์การ ดงั น้ัน ผวู้ ิจัยจึงมคี วามสนใจในการทจี่ ะศกึ ษาภาวะผนู้ ำตามหลกั สัปปุริสธรรมของพระ สังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู มีอยู่ 7 ประการ ได้แก่ ภาวะผู้นำ ด้านธัมมญั ญุตา เป็นผู้ทีร่ ู้หลักยดึ หลกั การ ภาวะผนู้ ำด้านอัตถญั ญตุ า เป็นผทู้ ีร่ จู้ ักผล ภาวะผู้นำ ด้านอตั ตัญญตุ า เปน็ ผู้ทรี่ ู้จกั ตนอยู่เสมอ ภาวะผู้นำด้านมตั ตญั ญตุ า ท่เี ป็นผทู้ ีร่ จู้ ักประมาณ รจู้ ัก ความพอดี ภาวะผู้นำด้านกาลัญญุตา เป็นผู้ที่มีความสามารถในการบริหารเวลาอย่างมี ประสิทธิภาพ ภาวะผู้นำด้านปริสัญญุตา เป็นผู้ท่ีร้จู ักชุมชน และสังคม และภาวะผู้นำปุคคลป โรปรัญญุตา เป็นผู้ทร่ี ู้จกั บุคคล เพอ่ื สามารถนำความรู้เกีย่ วกับภาวะของผู้นำน้ันมาประยกุ ต์ใช้ ในสงั คมไทยปจั จุบนั และเป็นบรรทัดฐานในการกำหนดคณุ สมบตั ิของผู้นำทีด่ ใี นอนาคตได้ วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู 2. เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนา กลาง จงั หวัดหนองบัวลำภู 3. เพอื่ ศึกษาข้อเสนอแนะเก่ยี วกบั ภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิการใน เขตอำเภอนากลาง จงั หวดั หนองบัวลำภู วิธีดำเนนิ การวิจยั ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากร (Population) ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ พระสังฆาธิการ ใน เขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบวั ลำภู จำนวน 256 รปู กลุ่มตวั อย่าง (Sampling) กลมุ่ ตัวอย่างที่ใชใ้ นการวจิ ัยคร้ังนี้ ไดแ้ ก่ พระสังฆาธกิ าร ในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอนากลาง จงั หวดั หนองบวั ลำภู จำนวน 150 รูป

วารสารรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย ปีที่ 2 ฉบับท่ี 1 (มกราคม-กมุ ภาพันธ์ 2565) | 33 เคร่อื งมอื เก็บรวบรวมขอ้ มูล เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้การสัมภาษณ์ เชิงลกึ (In-DepthInterview) กบั ผใู้ ห้ขอ้ มูลสำคญั (Key Informants) โดยมีขนั้ ตอนดังน้ี 1. ศึกษาแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิ การในเขตอำเภอนากลาง จงั หวัดหนองบวั ลำภู จากเอกสาร ตำรา และงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้อง 2. กำหนดกรอบแนวคดิ ในการวิจัย และสรุปเป็นคำนิยามศพั ท์ในการวจิ ัย 3. สร้างแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์จากกรอบเน้ือหาในคำนยิ ามศัพท์ท่ีใชใ้ นการ วิจัย 4. นำแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ท่ีสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว นำเสนอให้ ผูเ้ ช่ียวชาญ ทำการตรวจความเท่ียงตรงเชงิ เน้อื หา 5. เม่ือผู้เชี่ยวชาญตรวจเรียบร้อยแล้ว จึงนำไปทดลองใช้กับหน่วยการวัดที่มิใช่ ประชากรในการวิจยั แลว้ นำมาหาค่าความเชอ่ื มัน่ 6. หากพบวา่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์มีความเช่ือม่ันแล้ว จึงนำไปทดลองใช้ จริงกบั กลมุ่ ตวั อย่างเปา้ หมายตอ่ ไป การวิเคราะห์ข้อมลู 1. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู แบบสอบถาม ผูว้ ิจยั ดำเนินการวิเคราะหข์ อ้ มูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพือ่ การวจิ ยั ทางสงั คมศาสตร์ สถิติที่ใช้วเิ คราะห์ขอ้ มลู มีดงั นี้ 1.1 ใช้สถิติจำนวน (Frequency) และร้อยละ (Percentage) อธิบายปัจจัยส่วนบุคคล ของผูต้ อบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยการนำเสนอเปน็ ตารางประกอบการบรรยายผล 1.2 ใช้สถติ ิวิเคราะหโ์ ดยการหาคา่ เฉล่ีย (x )̅ ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ใช้ อธิบายภาวะผนู้ ำตามหลักสัปปรุ ิสธรรมของพระสังฆาธกิ ารในเขตอำเภอนากลาง จังหวัด หนองบวั ลำภู นำเสนอในรูปตารางประกอบคำบรรยาย 1.3 การทดสอบสถิติทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) โดยใช้สถิติทดสอบเอฟ (F-test) เมื่อพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างของคา่ เฉล่ยี รายคดู่ ้วย วิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe') 2. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis Technique) ประกอบบริบท และประมวลผลเข้าด้วยกัน รวมทั้งใช้แนวคิดจากเอกสารและ ผลงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วขอ้ งมาสนับสนนุ ในการวเิ คราะหเ์ พอ่ื ให้เหน็ ภาพรวม

34 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) ผลการวิจัย 1) ภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวัด หนองบัวลำภูโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าคะแนนเฉล่ียภาวะผู้นำตาม หลกั สัปปรุ ิสธรรมของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภูจากมากไปหา น้อย ดังนี้ ด้านอัตถัญุตา ด้านปริสัญุตา ด้านอัตตัญุตา ด้านธัมมัญุตา ปุคคลปโรปรัญุตา ด้าน มัตตญั ุตา และ ด้านกาลัญตุ า ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมตฐิ านภาวะผ้นู ำตามหลักสัปปุรสิ ธรรมของพระสังฆาธิการในเขต อำเภอนากลาง จงั หวัดหนองบวั ลำภู จำแนกตามปัจจยั ส่วนบคุ คล พระสังฆาธิการที่มีพรรษาต่างกัน มีภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิ การในเขตอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู แตกต่างกัน โดยรวมไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธ สมมติฐาน พระสังฆาธิการท่ีมีตำแหน่งพระสังฆาธิการต่างกัน มีภาวะผู้นำตามหลักสัปปุรสิ ธรรม ของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู โดยรวมไม่แตกต่างกัน จึง ปฏเิ สธสมมติฐาน พระสังฆาธิการท่ีมีวุฒิการศึกษาทางธรรมต่างกัน มีภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม ของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู โดยรวมไม่แตกต่างกัน จึง ปฏิเสธสมมติฐาน พระสังฆาธิการท่ีมีวุฒิการศึกษาแผนกบาลีต่างกัน มีภาวะผู้นำตามหลักสปั ปุริสธรรม ของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู โดยรวมไม่แตกต่างกัน จึง ปฏิเสธสมมติฐาน พระสังฆาธกิ ารท่มี ีประสบการณ์การปฏบิ ัติหน้าที่ต่างกัน มีภาวะผนู้ ำตามหลักสัปปุริส ธรรมของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จงั หวดั หนองบัวลำภู โดยรวมไม่แตกต่างกัน จึง ปฏเิ สธสมมตฐิ าน 3) ข้อเสนอแนะเก่ียวกับภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิการในเขต อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู คือ พระสังฆาธิการควรเอาพระศาสนารอดโดยเฉพาะยุค ปัจจุบันนี้ถอื ว่าเปน็ เรื่องใหญ่ มีการแทรกแซงผา่ นต่างศาสนาเป็นผู้กำหนดทิศทางท่คี วรจะเป็น ใหศ้ าสนาพุทธ ถ้าเรานำหลกั การปฏบิ ตั ิตนตามหลักสัปปรุ สิ สมาใช้ในการคณะสงฆใ์ ห้มากๆ จะ ทำใหว้ ัดและศาสนาพทุ ธเจริญร่งุ เรอื ง

วารสารรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย ปีที่ 2 ฉบับท่ี 1 (มกราคม-กุมภาพนั ธ์ 2565) | 35 อภิปรายผล จากผลการวิจัยเรื่อง “ภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนา กลาง จังหวัดหนองบัวลำภู” ผู้วิจัยพบประเด็นของผลการวิจัยท่ีสามารถนำมาเสนอเพ่ือทำการ อภิปรายและประกอบแนวคดิ ทฤษฎีและผลงานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้องดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. การเปรียบเทียบระดับภาวะผู้นำตามหลักสปั ปุริสธรรมของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอ นากลาง จงั หวัดหนองบวั ลำภู โดยพจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบว่า ภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวัด หนองบัวลำภโู ดยรวมทกุ ด้านอยใู่ นระดับมาก โดยเรยี งลำดับค่าคะแนนเฉลย่ี ภาวะผู้นำตามหลักสัปปุ ริสธรรมของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอนากลาง จังหวดั หนองบัวลำภูจากมากไปหานอ้ ย ดังนี้ ด้าน อัตถัญุตา ด้านปริสัญุตา ด้านอัตตัญุตา ด้านธัมมัญุตา ปุคคลปโรปรัญุตา ด้านมัตตัญุตา และ ด้าน กาลัญุตา ซึ่งสอดคล้องกับ อรนุช โขพิมพ์ (2556) ได้ ทำการวิจัยเรื่องน้ีมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา ภาวะผู้นำของผู้บริหารตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา จังหวัดขอนแก่น ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำของผู้บริหารตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของ ผ้บู รหิ ารโรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวดั ขอนแก่น ในภาพรวมมคี วามคดิ เหน็ อยู่ ในระดับมาก ในรายด้านพบว่าทุกด้านมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านอัตถัญญุตา ด้านปริสัญญุตา ด้านกาลัญญุตา ด้านปุคคลปโรปรัญญุตา ด้านมัตตัญญุตา ด้านธัมมัญญุตา และ ด้านอตั ตญั ญุตา การเปรียบเทียบภาวะผนู้ ำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บรหิ ารโรงเรยี นพระ ปริยัติธรรมแผนกสามัญ จังหวัดขอนแก่นตามความคิดเห็นของบุคลากร โดยจำแนกตามสถานภาพ และประสบการณ์ พบว่า มีระดับความคิดเห็นในภาพรวมและรายด้านทุกด้านมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 จึงสอดคล้องกับสมมติฐานที่ต้ังไว้ แนวทางส่งเสริมภาวะผู้นำตาม หลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ จังหวดั ขอนแก่น ผู้บริหาร ควรนำหลักสัปปุริสธรรม 7 มาประยุกต์ใช้ในการบริหารโรงเรียนและส่งเสริมให้มีการปฏิบัติท่ีเป็น รูปธรรม เพื่อท่ีจะทำให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในองค์กรการศึกษายิ่งข้ึน อีกทั้งยัง สอดคล้องกับ พระครูอุทยั กิจพิพัฒน์ (วิรตั สุกอินทร์, 2554) ได้ศึกษาภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการ จงั หวัดอุทัยธานีตามหลักสัปปุริสธรรม 7 การวิจัยฉบับน้ีมีวัตถุประสงค์ (1)เพ่ือศึกษาภาวะผู้นำของ พระสังฆาธิการจังหวัดอุทัยธานีตามหลักสัปปุริสธรรม 7 (2) เพ่ือเปรียบเทียบภาวะผู้นำของพระ สังฆาธิการจังหวัดอุทัยธานีตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เพ่ือ เสนอแนะแนวทางการเป็นผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 งานวิจัยน้ีเป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลมุ่ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยไดแ้ ก่ พระสังฆาธิการในจังหวัดอุทัยธานี จำนวน 170 รูป ซึง่ ใช้วธิ ีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) เคร่ืองมือท่ีใช้เป็นแบบสอบถาม มี ลกั ษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการและมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับและแบบสอบถามปลายเปิด ซ่ึงผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง โดยมีค่าความเช่ือมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .9784 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม สำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ สถิติท่ีใช้ได้แก่ ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วน

36 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) เบ่ียงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบโดยการทดสอบสมมติฐานโดยการทดสอบค่าที (t-test) และค่าเอฟ (F-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว(One-way ANOVA) และทดสอบความแตกต่างของ ค่าเฉลยี่ เปน็ รายคู่ด้วยวธิ ผี ลต่างนยั สำคัญน้อยท่สี ุด (Least Significant Difference : LSD) ผลการศกึ ษาวิจยั ภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการจังหวัดอุทัยธานีตามหลักสัปปุริสธรรมโดย รวมอยู่ในระดับมาก และเม่ือพจิ ารณาเปน็ รายด้านโดยเรียงจากมากไปหาน้อยตามค่าเฉล่ยี สรุปได้ คอื ดา้ นปริสัญญุตา ดา้ นอัตตัญญุตา ดา้ นอัตถัญญุตา ดา้ นปุคคลปโรปรัญญุตา ด้านธมั มัญญุตา ด้านมัตตัญญุตา และด้านกาลัญญุตา การเปรียบเทียบภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการจังหวัด อุทัยธานี ตามหลักสัปปุริสธรรม โดยรวมปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว้ทั้งหมด กล่าวคือ พรรษา ตำแหน่ง การศึกษานักธรรม การศึกษาบาลี ประสบการณ์การปฏิบัติงาน แนวทางในการพัฒนา ภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรมของพระสังฆาธิการจังหวัดอุทัยธานี คือ พระสังฆาธิการควรนำ หลักสัปปุริสธรรมทั้ง 7 มาประยุกต์ใช้ในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ และส่งเสรมิ ให้มีการปฏิบัติท่ี เป็นรูปธรรม จะทำให้การบริหารกิจการคณะสงฆ์จังหวัดอุทัยธานี เกิดเอกภาพและประสิทธิภาพ ยง่ิ ขึ้น ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย 1.1 ให้พระสงั ฆาธกิ ารมีลักษณะเปน็ มติ รภาพกบั ทกุ คน เปน็ ผู้ท่ีสามารถเข้าใกล้ชดิ ได้ 1.2 ใหพ้ ระสังฆาธิการมคี วามเชือ่ มน่ั และใหค้ วามไวว้ างใจผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชาอยา่ ง เต็มที่ 1.3 ให้พระสังฆาธกิ ารตั้งเป้าหมายที่ท้าทายสำหรบั ผใู้ ต้บังคับบญั ชา เน้น ความสำคัญไปท่ีความเป็นเลศิ ในการปฏิบัติงานและปรับปรงุ งานอย่างตอ่ เนือ่ ง 2. ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏบิ ตั ิ 2.1 ควรกำหนดเปา้ หมายและแนวทางในการปฏบิ ตั เิ รียกรอ้ งใหผ้ ู้ใตบ้ งั คับบญั ชา ปฏบิ ัตติ ามกฏเกณฑแ์ ละระเบียบต่างๆ 2.2 ควรมุง่ เนน้ การเปน็ ผนู้ ำที่ใหค้ วามสำคญั กับการบรหิ ารงานทางการคณะสงฆ์ให้ ครอบคลมุ ท้งั 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ การปกครอง การศาสนศกึ ษา การเผยแผ่ การสาธารณูปการ การศึกษาสงเคราะหแ์ ละการสาธารณสงเคราะห์ ซง่ึ จะเป็นผลดีต่อปฏิบัติตนและสร้างศรัทธา ให้แกพ่ ทุ ธบริษัททง้ั 4 2.3 ควรควรเปดิ โอกาสให้ผู้ใตบ้ ังคับบัญชาไดแ้ สดงความคิดเห็นและมีสว่ นในการ รว่ มแกไ้ ขปัญหาอย่างเตม็ ความสามารถ

วารสารรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม-กมุ ภาพนั ธ์ 2565) | 37 3. ข้อเสนอแนะสำหรบั การวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป 3.1 ในการวจิ ยั คร้งั ต่อไปควรใชห้ ลกั พุทธรรมอ่ืนทเี่ กีย่ วข้องกบั ภาวะของพระ สังฆาธกิ าร เชน่ กศุ ลกรรมบถ 10 สาราณียธรรม พรหมวหิ าร 4 สงั คหวตั ถุ 4 เปน็ ต้น เพอ่ื สง่ เสริมใหเ้ จา้ มีหลักในการปฏิบตั ิตนและปฏิบตั งิ านไดด้ ียงิ่ ขึน้ 3.2 ในการวจิ ยั ครงั้ ต่อไปควรศกึ ษาความสัมพันธ์ระหวา่ งหลักพุทธรรมกับหลกั การ ปฏิบัติตนและปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสถานการณป์ จั จุบนั 3.3 ในการวจิ ยั ครง้ั ต่อไปควรนำผลการวจิ ยั ท่ีไดไ้ ปประยุกต์ในองค์กร หนว่ ยงาน ภาคเี ครอื ข่ายท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ภายใต้โครงการ บ้าน วดั โรงเรยี น (บ ว ร) เพอ่ื จะไดพ้ จิ ารณา ผลสมั ฤทธภิ์ าวะผ้นู ำของพระสงั ฆาธิการตามหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา เอกสารอ้างองิ วิโรจน์ สารรัตนะ. (2545). การบริหาร หลักการ ทฤษฎี ประเด็นทางการศึกษาและบท วเิ คราะห์องค์การศึกษาไทย. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 3). กรุงเทพมหานคร: พมิ พพ์ สิ ทุ ธ.์ อรนุช โขพิมพ์. (2556). ภาวะผู้นำของผู้บริหารตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บริหารโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดขอนแก่น. ใน ปริญญาพุทธศาสตร มหาบณั ฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . พระครูอุทัยกิจพิพัฒน์ (วิรัต สุกอินทร์). (2554). การศึกษาภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการ จังหวัดอุทัยธานีตามหลักสัปปุริสธรรม 7. ใน วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั .

บทความวิจยั การนำหลกั อิทธบิ าท 4 ไปใชใ้ นการปกครองบรหิ ารงานของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อำเภอนากลาง จังหวดั หนองบวั ลำภู* APPLICATION OF THE PATH OF ACCOMPLISHMENT (IDDHIPADA) WITH ADMINISTRATION OF SUBDISTRICT CHIEFS AND VILLAGE HEADMEN IN NAKLANG DISTRICT, NONG BUA LAMPHU PROVINCE พระมหาวนั เพญ็ สารโท (ทมุ ซะ) Phramaha Wanpen Sarato (Thumsa) ภาสกร ดอกจันทร์ Pasakorn Dokchan พระนิทศั น์ ธีรปญฺโญ Phra Nithus Thirapanyo มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั Mahamakut Buddhist University, Thailand Email: [email protected] บทคัดย่อ บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการนำหลักอิทธิบาท 4 ไปใช้ในการ ปกครองการบริหารงานของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู 2) เพ่ือ เปรียบเทียบการนำหลักอิทธิบาท 4 ไปใช้ในการปกครองบริหารงานของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู จำแนกตามสถานภาพส่วนบุคคล 3) เพ่ือศึกษาปัญหา อุปสรรคที่มีต่อการนำหลักอิทธิบาท 4 ไปใช้ในการปกครองบริหารงานของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู 4) เพ่ือศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางในการนำหลัก อิทธิบาท 4 ไปใช้ในการปกครองบริหารงานของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอนากลาง จังหวัด หนองบัวลำภู ดำเนนิ การวิจยั แบบผสม เก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยใช้แบบสอบถามกับกล่มุ ตัวอยา่ ง ท่ีเป็นประชากรในเขต อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู จำนวน 398 คน และการ สัมภาษณเ์ ชิงลึก กบั ผู้ใหข้ อ้ มลู สำคญั จำนวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) การนำหลักอิทธิบาท 4ไปใช้ในการปกครองบริหารงานของ กำนันผูใ้ หญ่บ้าน อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบวั ลำภูโดยรวมทุกด้านปฏบิ ัติอยูใ่ นระดับมาก 2) การทดสอบสมมตฐิ านด้านเพศ ด้านอายุ ไม่แตกต่างกนั จงึ ปฏิเสธสมมติฐาน ส่วนดา้ นระดับ การศกึ ษา, อาชีพ, รายได้, แตกตา่ งกนั จึงยอมรับสมมติฐาน 3) แนวทางการพัฒนา คอื การนำ * Received 6 November 2021; Revised 14 December 2021; Accepted 8 February 2022

วารสารรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย ปที ่ี 2 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2565) | 39 หลกั อทิ ธิบาท 4 ไปใช้ในการปกครองบริหารงานของกำนันผ้ใู หญบ่ ้าน อำเภอนากลาง จังหวัด หนองบวั ลำภู และหน่วยงานอื่นๆ ให้เกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ คำสำคัญ : หลกั อิทธบิ าท 4, การปกครองบรหิ ารงานของกำนนั ผู้ใหญบ่ า้ น Abstract The objectives of the research were were 1) to the study implementation of the Iddhipada principle (Four Bases of Success) to administration of Tambon chiefs and village headmen, Na Klang District, Nongbua Lamphu Province, 2) to compare implementation of the Iddhipada principle (Four Bases of Success) to administration of Tambon chiefs and village headmen, Na Klang district, Nongbua Lamphu Province, classified by gender, age, educational level, occupation and income, 3) to study obstacles and problems of implementation of the Iddhipada Principle (Four Bases of Success) to the administration of Tambon chiefs and village headmen, Na Klang district, Nongbua Lamphu Province, and 4) to study recommendations and problem solutions of implementation of the Iddhipada principle (Four Bases of Success) to the administration of Tambon chiefs and village headmen, Na Klang District, Nongbua Lamphu Province. This study was a mixed method research. Data were collected using Sampling 398, questionnaires and in-depth interviews with 5 key informants. The research results were as follows. 1) Implementation of the Iddhipada principle to the administration of Tambon chiefs and village headmen, Na Klang district, NongbuaLamphu province, was found to be overall at a high level in all aspects. 2) Hypothesis tests genders, age not different, so reject the hypothesis. The part educational levels, occupations, levels of income different, so accept the hypothesis. 3) The recommendations of people on implementation of the Iddhipada principle to the administration of Tambon chiefs and village headmen, Na Klang district, NongbuaLamphu province, and other agencies high performance. Keywords : Iddhipada; Administration, Chiefs and Village Headmen

40 | Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University Vol.2 No.1 (January-February 2022) บทนำ การปกครองของประเทศไทย นับต้ังแต่อดีตเริ่มจากการก่อตั้งราชอาณาจักรสยาม ขึ้นมา จนถึงปัจจุบัน สิ่งที่เกิดขึ้นมาพร้อมกันน้ัน คือ ระบบการเมืองการปกครอง โดยแต่เดิม น้นั การปกครองในระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งมีองค์พระมหากษตั ริยเ์ ปน็ ผู้มอี ำนาจสูงสุด ในประเทศ โดยมีการแจกจ่ายพระราชอำนาจไปยังข้าราชการของพระองค์ต่อ ๆ กันไป ตามลำดับ และบุคลากรที่นับเป็นข้าราชการท่ีใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุดก็คือ กำนันและ ผู้ใหญ่บ้าน จนกระท่ังสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระวิริยะ อุตสาหะรวบรวมหัวเมืองต่างๆ ซึ่งมีเจ้าเมืองปกครองเรียกว่า “ระบบกินเมือง” เข้ามารวม อำนาจไว้ที่พระองค์ เป็นรูปแบบที่เรียกว่า “การรวมอำนาจการปกครอง” (Centralization) และถอื เปน็ รฐั ชาติ (Nation State) (ชาญชยั จิตรเหล่าอาพร, 2552) จะเหน็ ได้ว่า การใช้อำนาจหนา้ ที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้านในบางกรณีเป็นการใช้อำนาจท่ี ได้รับแบ่งมาจากส่วนกลางมาสู่ส่วนภูมิภาค ในฐานะนักปกครองอย่างเต็มท่ี แต่อีกด้าน หาก พิจารณาจะเห็นได้ว่า กำนันและผู้ใหญ่บ้านก็ปฏิบัติหน้าที่ในส่วนการปกครองส่วนท้องท่ีด้วย เช่นกัน ด้วยเหตุนี้ สถานภาพกำนันและผู้ใหญ่บ้านจึงอยู่ในลักษณะของ “ข้าราชการ” แต่ถือ เป็นข้าราชการพิเศษของรัฐ คือ “กึ่งข้าราชการการเมืองและกึ่งข้าราชการประจำ” ที่กล่าว เช่นน้ี เป็นเพราะกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มาจากการเลือกต้ังของประชาชนในท้องท่ีคล้ายคลึงกับ สมาชิกสภาในระดับต่างๆ แต่อีกด้าน ก็มีความเป็นข้าราชการประจำเนื่องจากหน่วยการ ปกครองท้องถิ่นในระบบการบริหารราชการส่วนภูมิภาค อันหมายถึง กระทรวงมหาดไทย ถือ วา่ ทง้ั กำนนั และผ้ใู หญ่บ้านเปน็ ตวั แทนของรฐั ระดับลา่ งท่ีรัฐส่งไปดแู ลประชาชน อำนาจหน้าที่และบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในปัจจุบัน เป็นผู้มีบทบาทสำคัญใน การบริหารประเทศ ซ่ึงหากเปรียบเทียบ ย่อมเปรียบได้ว่า หน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้านมิได้ แตกต่างจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากนัก เมื่อวิเคราะห์ย้อนกลับไปจะเห็นได้ว่า อำนาจ ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน มิได้ลดน้อยลงแต่อย่างใด นับแต่ พ.ศ. 2457 มาจนปัจจุบัน แต่กลับทวี มากขึ้นตามลำดับ ซึ่งเหตุปัจจัยต้นๆ ก็เน่ืองมาจากกฎหมายท่ีเปิดช่องให้กับกำนันผู้ใหญ่บ้าน เป็นสมาชิกขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ เสมอ โดยเฉพาะอย่างย่ิงองค์การบรหิ ารส่วนตำบล และสภาตำบล เป็นตน้ จึงนับเป็นปัญหาสำคัญประการหน่งึ การทำงานและบทบาทของกำนัน ผูใ้ หญบ่ ้าน ซ่งึ มสี ภาวะซ้ำซอ้ นกนั อยใู่ นบุคลากรคนเดียว เมื่อพิจารณาตามเหตุผลข้างต้น ทำให้เห็นได้ว่า กำนันผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้มีหน้าท่ีในการ ปกครองหมู่บ้านอันเป็นหน่วยการปกครองแบบกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น เป็นรากฐานสำคัญ ของการปกครองระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะนำหลักอิทธิบาท ประกอบด้วย หลักธรรม 4 ประการถือเป็นคำสอนท่ีเน้นให้การปฏิบัติงานอยู่บนฐานแห่ง ความสำเร็จตามประสงค์ เป็นหลักคำสอนท่ีเน้นความสำเร็จของงานเป็นท่ีต้ังท่ีจะช่วยเพิ่ม ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลของงาน ความหมายอกี นัยหนึง่ ของ หลักอิทธบิ าท 4 คอื คุณธรรม

วารสารรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2565) | 41 ให้ถึงความสำเร็จ, คุณธรรมท่ีนำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย ประกอบด้วย 1) ฉันทะ ความพอใจ คือ ต้องการที่จะทำใฝ่ใจรักที่จะทำส่ิงนัน้ อยู่เสมอและปรารถนาจะทำให้ได้ผลดียิ่ง ๆ ข้ึนไป 2) วริ ิยะ ความเพยี ร คือ ขยันหมัน่ ประกอบส่ิงน้ันดว้ ยความพยายาม เขม้ แข็ง อดทน เอาธุระ ไม่ท้อถอย 3) จิตตะ ความคิดมุ่งม่ัน คอื ต้ังจติ รับรใู้ นส่ิงทท่ี ำและทำส่ิงนั้นด้วยความคิด เอาจิตฝักใฝ่ไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่านเล่ือนลอย อุทิศตัวอุทิศใจให้แก่สิ่งที่ทำ 4) วิมังสา ความ ไตร่ตรอง หรือ ทดลอง คือหมั่นใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ครวญ ตรวจตรา หาเหตุผล และ ตรวจสอบข้อยิ่งหย่อนในส่ิงที่ทำนั้นมีการวางแผน วัดผล คิดค้น วิธีแก้ไขปรับปรุง หากนำคำ สอนของหลักอิทธิบาท 4 มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและชีวิตการทำงานก็จะทำให้การ ดำเนนิ งานมปี ระสิทธภิ าพอย่างยั่งยนื จากสภาพดังกล่าว บทบาทหน้าที่ในการนำหลักอิทธิบาท 4 ไปใช้ในการการปกครอง บริหารงาน ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู คือแรงจูงใจให้ผู้วิจัย ทำการศึกษาการปกครองบริหารงานตามหลักอิทธิบาท 4 ซึ่งเป็นคุณธรรมท่ีส่งเสริมให้กำนัน ผู้ใหญ่บ้านบริหารงานอยา่ งมีประสิทธิภาพและบรรลผุ ลท่ีมุ่งหมายได้แก่ ด้านฉันทะ ความพอใจ เพ่ือสง่ เสริมใหก้ ำนันผใู้ หญ่บา้ นไดม้ ีการวางแผนงาน ความต้องการท่จี ะทำใฝ่ใจที่จะทำสิง่ น้นั อยู่ เสมอและปรารถนาจะทำให้ได้ผลดีย่ิงๆ ขึ้นไป ด้านวิริยะ ความเพียร เพื่อส่งเสริมให้กำนัน ผ้ใู หญบ่ ้านได้มกี ารดำเนนิ งานตามแผนงาน ดว้ ยความพยายาม เขม้ แขง็ อดทน ไม่ท้อถอย ด้าน จิตตะ ความคิดมุ่งไปเพื่อส่งเสริมให้กำนนั ผู้ใหญ่บ้านไดม้ ีการตรวจสอบแผนงานเอาจิตฝักใสใ่ น การดำเนินงานท่ีได้วางไว้ ไม่ฟุ้งซ่านเล่ือนลอยไป ด้านวิมังสา ความไตร่ตรอง เพ่ือส่งเสริมให้ กำนันผู้ใหญ่บ้านหม่ันพิจารณาใคร่ครวญ ตรวจตรา หาเหตุผล และตรวจสอบ ข้อยิ่งหย่อนใน การบริหารงานท่ีรบั ผิดชอบ มีการวางแผน วัดผล และคิดค้นวิธีการแก้ไขปรับปรุงข้อผิดพลาด ของงานอย่างสม่ำเสมอ การศึกษาแนวทางการใช้อิทธิบาท 4 มาประยุกต์ใช้ในการปกครอง บริหารงานของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบวั ลำภู ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืนสืบไป วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพ่ือศึกษาการนำหลักอิทธิบาท 4 ไปใช้ในการปกครองการบริหารงานของกำนัน ผูใ้ หญ่บ้าน อำเภอนากลาง จงั หวดั หนองบวั ลำภู 2. เพ่ือเปรียบเทียบการนำหลักอิทธบิ าท 4 ไปใช้ในการปกครองบรหิ ารงานของกำนัน ผใู้ หญ่บา้ น อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู จำแนกตามสถานภาพส่วนบคุ คล 3. เพ่ือศึกษาปัญหาอุปสรรคท่ีมีต่อการนำหลักอิทธิบาท 4 ไปใช้ในการปกครอง บรหิ ารงานของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอนากลาง จงั หวดั หนองบัวลำภู 4. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะ แนวทางในการนำหลักอิทธิบาท 4 ไปใช้ในการปกครอง บริหารงานของกำนนั ผใู้ หญบ่ ้าน อำเภอนากลาง จงั หวดั หนองบัวลำภู