Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารหาดใหญ่วิชาการ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2564

วารสารหาดใหญ่วิชาการ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2564

Published by MBU SLC LIBRARY, 2021-07-07 02:29:39

Description: 16887-5639-PB (1)

Search

Read the Text Version

ความยดื หยนุ่ ทางจิตใจและกลวธิ กี ารจัดการของวยั รนุ่ 45 กรรณกิ าร์ พันทอง และคณะ ไดร้ บั การตรวจสอบความเทย่ี งตรงโดยพจิ ารณาจากขอ้ คำ� ถามในการสมั ภาษณ์ โดยผเู้ ชย่ี วชาญ 3 ทา่ น พบวา่ ข้อคำ� ถามมคี วามครอบคลมุ เน้ือหาและเหมาะสมตามโครงสรา้ ง การวเิ คราะห์ข้อมูล การวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยนำ� ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสมั ภาษณม์ าวเิ คราะหแ์ ละสรปุ เนอ้ื หา (Content Analysis) ตามประเด็นที่ก�ำหนดในแบบสัมภาษณ์โดยการจัดหมวดหมู่ของเน้ือหาตามลักษณะของ ความยืดหยุ่นทางจิตใจและกลวิธีการจัดการ และตรวจสอบความถูกต้องด้วยการฟังเสียงบันทึกจาก การสมั ภาษณ์เพื่อให้ข้อมูลทถี่ ูกตอ้ งท่สี ดุ ระยะที่ 2 การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชงิ ยนื ยนั ของความยดื หยนุ่ ทางจติ ใจและกลวธิ กี ารจดั การ ของวัยรุ่นที่ถูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ ด�ำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนทง้ั เพศชายและเพศหญงิ ที่มีอายุ 15-19 ปี ก�ำลังศกึ ษาอยใู่ นระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6 ท่ี กำ� ลงั ศกึ ษาในโรงเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา สงั กดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 8 จงั หวดั กาญจนบรุ ี โดยท�ำการสมุ่ เลือกโรงเรยี น จากทง้ั หมด 29 โรงเรยี น ดว้ ยวธิ กี ารจบั สลาก จากนนั้ ในแต่ละ โรงเรยี นทำ� การแบง่ นกั เรยี นออกเปน็ 3 ชน้ั ภมู ติ ามระดบั การศกึ ษา (มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ประกอบดว้ ย มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ปีท่ี 5 และปีที่ 6) แล้วด�ำเนินการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) ส่มุ เลือกนักเรยี นโดยคละแผนการเรียน มีเกณฑก์ ารคัดเลือกกลุม่ ตวั อย่างเขา้ ในการศกึ ษา คือ เป็นนักเรยี นท้ังเพศชายและเพศหญิงทีม่ อี ายุ 15-19 ปี ก�ำลังศึกษาอย่ใู นระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 โดยเกบ็ ข้อมูลนกั เรยี นทุกคนที่เข้าเรียนและสมคั รใจเขา้ ร่วมการวจิ ยั จ�ำนวน 300 คน การกำ� หนด ขนาดตวั อย่างของการวิเคราะหอ์ งค์ประกอบตอ้ งมีจำ� นวนไม่ต�ำ่ กว่า 100 คน (Hair, Black, Babin, & Anderson, 2010) และควรมอี ตั ราส่วนระหว่างกลมุ่ ตัวอยา่ งต่อตวั แปร 5 เทา่ ถึง 20 เท่าของตัวแปร ทส่ี งั เกตได้ (Ding, Velicer, & Harlow, 1995) เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการวิจยั เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของความยืดหยุ่นทางจิตใจและกลวิธี การจดั การของวยั รนุ่ ทถี่ กู รงั แกผา่ นโลกไซเบอร์ คอื แบบวดั ความยดื หยนุ่ ทางจติ ใจและกลวธิ กี ารจดั การ ซง่ึ ผวู้ จิ ยั ไดพ้ ฒั นาขน้ึ ตามแนวคดิ ของ Grotberg (1995) แนวคดิ พลงั สขุ ภาพจติ RQ ของ Department of Mental Health (2012) และแนวคดิ ของ Lazarus and Folkman (1984) โดยมขี อ้ คำ� ถาม จำ� นวน 65 ขอ้ ไดร้ บั การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื จากผเู้ ช่ยี วชาญ จ�ำนวน 3 ท่าน มคี า่ IOC อยู่ระหวา่ ง 0.67-1.00 โดยผู้วิจัยน�ำแบบวัดมาหาค่าความเช่ือม่ัน (Reliability) โดยใช้วิธีหาค่าสัมประสิทธิ์ (Cronbach Alpha Coefficient) กับนักเรียนทงั้ เพศชายและเพศหญงิ ที่มีอายุ 15-19 ปี ก�ำลงั ศกึ ษา อยู่ในระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4-6 ท่ีไมใ่ ชก่ ลุ่มตัวอยา่ ง จ�ำนวน 50 คน พบว่ามคี า่ ความเชื่อมน่ั เท่ากบั 0.867 และ 0.817 ตามลำ� ดบั และปรบั ความเหมาะสมของขอ้ ค�ำถามเหลอื จำ� นวนขอ้ ค�ำถาม 46 ข้อ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยนำ� ขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าตรวจสอบความเทย่ี งตรงเชงิ โครงสรา้ งขององคป์ ระกอบ จำ� นวน 5 องคป์ ระกอบ โดยใชโ้ ปรแกรม LISREL 8.72 ด้วยการพิจารณาความสอดคล้องของโมเดล

วารสารหาดใหญ่วิชาการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 46 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 ตามทฤษฎกี บั ข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ โดยพจิ ารณาคา่ สถติ คิ ่าไค-สแควร์ (Chi-Square) ค่าองศาอิสระ (df) ความนา่ จะเปน็ เปน็ (p) คา่ ดชั นวี ดั ระดบั ความกลมกลนื (GFI) คา่ ดชั นวี ดั ระดบั ความกลมกลนื ทปี่ รบั แกแ้ ลว้ (AGFI) ค่าดชั นีรากของก�ำลังสองเฉลี่ยของเศษ (RMR) และค่ารากท่สี องของค่าเฉลีย่ ก�ำลังสองของการ ประมาณคา่ (RMSEA) และหาค่านำ�้ หนกั องค์ประกอบของทัง้ 5 องคป์ ระกอบ ผลการวจิ ยั ผลการวจิ ยั ระยะท่ี 1 การศกึ ษาลกั ษณะความยดื หยนุ่ ทางจติ ใจและกลวธิ กี ารจดั การของวยั รนุ่ ท่ถี ูกรังแกผา่ นโลกไซเบอร์ ตารางที่ 1 ผลการสมั ภาษณเ์ ก่ยี วกบั ลกั ษณะความยืดหยนุ่ ทางจิตใจและกลวธิ ีการจัดการของวัยรนุ่ ท่ี ถกู รงั แกผา่ นโลกไซเบอร์ ตามองคป์ ระกอบของความยดื หยนุ่ ทางจติ ใจและกลวธิ กี ารจดั การ ประเดน็ Quotation ลกั ษณะการถูกรังแกผา่ น “ถูกล้อเลียนและถูกว่ากล่าวกระทบจนท�ำให้อับอายโพสข้อความลง โลกไซเบอร์ (5)* Facebook แล้วก็มีเพื่อนคนอ่ืนเข้ามาคอมเม้นท์ล้อเลียน ใช้ถ้อยค�ำ ไมเ่ หมาะสม พอมาท่ีโรงเรยี นก็ตามมามปี ญั หามาวา่ กันอีก” ความยืดหยนุ่ ทางจิตใจ “ด้วยบุคลิกของตัวเองที่ชอบปล่อยผ่าน เผชิญกับมัน พยายามไม่สนใจไม่ ความสามารถในการรตู้ วั คดิ ถึงมนั แต่กใ็ ช้ความเขม้ แขง็ ของตัวเองมากเหมอื นกนั ” I am (7)* “พอเกิดเร่อื งก็พยายามมองบวก” ความสามารถในการปรับตัว “หนูยินดแี ละเตม็ ใจมาก ถา้ มใี ครคอยรบั ฟังหรอื มาแสดงความเห็นเพ่ือชว่ ย I have (5)* หนกู บั เรอื่ งทเี่ กดิ ขึ้น” ความสามารถในการฟน้ื ตัว “เพื่อนจะชว่ ยเราได้เยอะคะ่ เขาจะรบั ฟงั แลว้ จะแนะนำ� เราในทางทีด่ ีค่ะ” I can (9)* “ถ้าหนูมีอะไรหนกู จ็ ะคุยกับเพื่อนค่ะแลว้ ก็แม่ แมร่ แู้ ล้วแม่กจ็ ะไปเล่าใหพ้ ่อ กลวธิ ีการจดั การ ฟังแล้วกม็ ีพ”่ี การมุ่งจดั การกบั ปัญหา “มองปญั หากอ่ นครับ แต่ถา้ เปน็ ปญั หาท่ผี มก่อ ผมจะมองทตี่ ัวเองก่อน ว่า Problem Focused (3)* ผมผดิ จรงิ หรือเปล่า แลว้ ผมเป็นคนท่ี ถ้าผมคิดว่ามนั ไมใ่ ช่ มันไมถ่ ูก ผมก็จะ กลา้ เถียงกลบั ครับ”

ความยดื หย่นุ ทางจติ ใจและกลวธิ กี ารจัดการของวยั รุ่น 47 กรรณกิ าร์ พันทอง และคณะ ตารางที่ 1 (ต่อ) ประเดน็ Quotation การมงุ่ จดั การกบั อารมณ์ “หนูมีวิธีการก�ำจัดกับอารมณ์ของหนูตอนน้ันคือชวนเพื่อนคุย แต่ถ้าโกรธ Emotion Focused (6)* สุด ๆ ก็จะนงั่ เงียบก่อนคะ่ ” “หนจู ะแกท้ คี่ วามรสู้ กึ และอารมณข์ องตวั เองกอ่ นแลว้ กไ็ ปฟงั เพลง เลน่ เกมส”์ *จำ� นวนผใู้ หข้ อ้ มลู หลกั ทก่ี ลา่ วถงึ ประเดน็ /องคป์ ระกอบทม่ี แี นวทางเดยี วกนั สอดคลอ้ งกนั ของความยดื หยนุ่ ทางจติ ใจ และกลวธิ ีการจดั การ จากตารางที่ 1 พบว่า ลักษณะการถูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ เป็นการถูกล้อเลียน ว่ากล่าว กระทบ ท�ำให้อบั อาย และสว่ นใหญ่เกิดขน้ึ ในโปรแกรม Facebook จึงมีการเขา้ มาคอมเม้นท์ล้อเลียน จากเพื่อนทอี่ ยูใ่ นโปรแกรม Facebook นด้ี ้วย และยังพบวา่ ลักษณะความยดื หยนุ่ ทางจติ ใจของวัยรนุ่ ทถ่ี กู รงั แกผา่ นโลกไซเบอรเ์ ปน็ ความสามารถของวยั รนุ่ ในการยดื หยนุ่ ทางจติ ใจ เมอื่ ตอ้ งประสบกบั การ ถูกรังแกผา่ นโลกไซเบอร์ โดยมจี ติ ใจท่ีเขม้ แขง็ ไมจ่ มอยกู่ ับความทกุ ข์ มคี วามอดทนตอ่ ปญั หาอุปสรรค สามารถผ่านพ้นกบั สภาวการณท์ ่เี ปลยี่ นแปลง และกลับคืนสู่การด�ำเนินชีวิตตามปกตไิ ด้ ประกอบดว้ ย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านความสามารถในการรู้ตวั เปน็ ความสามารถท่ีมีอยภู่ ายในตัวบุคคล เป็น ลกั ษณะบคุ ลกิ ภาพทเี่ ขม้ แขง็ ของบคุ คล และความเชอ่ื ภายในตวั ของบคุ คล เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารเขา้ ใจตนเอง มากยงิ่ ขนึ้ เชน่ ผใู้ หข้ อ้ มลู กลา่ วถงึ บคุ ลกิ ภาพของตนเองในการใชค้ วามเขม้ แขง็ ของตนเองเมอ่ื ตอ้ งเผชญิ กบั ปญั หา เปน็ ตน้ 2) ดา้ นความสามารถในการปรบั ตวั เปน็ ความสามารถในการยอมรบั แหลง่ สนบั สนนุ ภายนอกและยอมรบั การสนบั สนนุ ทางสงั คมโดยเกดิ ความไวใ้ จ เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหม้ คี วามแขง็ แกรง่ ในชวี ติ ซึ่งผู้ให้ข้อมูลกล่าวถึงความยินดีและความเต็มใจท่ีให้บุคคลอื่นมารับฟังให้ข้อเสนอแนะ เป็นต้น และ 3) ด้านความสามารถในการฟื้นตัว เป็นความสามารถในการหาแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือได้ในยามที่ ตอ้ งการ ใชท้ กั ษะสงั คมและสมั พนั ธภาพระหวา่ งบคุ คลเพอื่ ชว่ ยใหก้ ลบั มาสสู่ ภาวะปกตไิ ด้ โดยในดา้ นน้ี ผใู้ ห้ขอ้ มูลกล่าวถึงการหาแหลง่ สนับสนนุ เชน่ แม่ พี่ เพอ่ื น ในการเขา้ มาชว่ ยรบั ฟงั และแนะน�ำ เปน็ ต้น สว่ นลกั ษณะของกลวธิ กี ารจดั การของวยั รนุ่ ทถี่ กู รงั แกผา่ นโลกไซเบอรน์ น้ั เปน็ ความสามารถในการหา วธิ กี ารทบี่ คุ คลเลอื กตอบสนองเมอื่ ตอ้ งเผชญิ กบั การถกู รงั แกผา่ นโลกไซเบอร์ ทำ� ใหเ้ กดิ ความเปลย่ี นแปลง ทางด้านความคิด อารมณ์ ตลอดจนพฤติกรรมทแ่ี สดงออกมาในวิธีการต่าง ๆ เพอ่ื รบั มือกบั ปญั หาและ ความกดดนั ทเี่ กดิ ขน้ึ ณ ขณะนน้ั ประกอบดว้ ย 2 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นการมงุ่ จดั การกบั ปญั หา เปน็ กลวธิ กี ารจดั การทว่ี ยั รนุ่ ใชใ้ นการตอบสนองตอ่ การถกู รงั แกผา่ นโลกไซเบอรท์ เี่ กดิ ขนึ้ โดยใชศ้ กั ยภาพ ทักษะของตนเอง เพ่อื ม่งุ เนน้ แกไ้ ขจดั การกับปญั หาสถานการณใ์ หด้ ขี ึ้น ตามที่ผูใ้ หข้ ้อมูลกล่าววา่ ตน มองทป่ี ญั หา มองทต่ี นเองกอ่ น จงึ มน่ั ใจในการจดั การกบั ปญั หาตอ่ ไป เปน็ ตน้ และ 2) ดา้ นการมงุ่ จดั การ กับอารมณ์ เป็นกลวิธีการจัดการที่วัยรุ่นใช้ในการตอบสนองต่อการถูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ที่เกิดข้ึน โดยการปรบั สภาวะอารมณห์ รอื ความรสู้ กึ ของตนเองเพอ่ื ใชใ้ นการแกป้ ญั หาซงึ่ สง่ ผลตอ่ จติ ใจ ซงึ่ ดา้ นนี้

วารสารหาดใหญ่วชิ าการ 19(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2564 48 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 ผู้ให้ข้อมูลเน้นการควบคุมท่ีอารมณ์และความรู้สึกของตนเองด้วยวิธีการน่ังเงียบ และฟังเพลงก่อน มากกว่าที่จะเน้นการจดั การทป่ี ัญหาในทนั ที จากผลการสัมภาษณ์เชิงลึกและท�ำการสังเคราะห์ ท�ำให้ได้ข้อค�ำถามในองค์ประกอบของ ความยืดหยุ่นทางจติ ใจและกลวิธีการจดั การของวัยรนุ่ ทถ่ี ูกรงั แกผ่านโลกไซเบอร์ แสดงดงั ตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 ขอ้ คำ� ถามในองคป์ ระกอบของความยดื หยนุ่ ทางจติ ใจและกลวิธีการจัดการของวัยรุ่นท่ีถูก รังแกผ่านโลกไซเบอร์ ประเดน็ ขอ้ ค�ำถาม ความยดื หยุน่ ทางจิตใจ “ฉนั คดิ เสมอว่าชวี ิตฉนั กไ็ มไ่ ด้เลวร้ายไปทงั้ หมด แมฉ้ นั จะถกู คกุ คาม ความสามารถในการรู้ตวั ผา่ นโลกไซเบอรไ์ มว่ า่ จะดว้ ยวธิ ีการใด I am ความสามารถในการปรบั ตัว “ฉันยินดีท่ใี ห้ครแู นะแนวเขา้ มาช่วยเหลือเม่อื เกดิ ปัญหา” I have ความสามารถในการฟืน้ ตวั “ฉนั กลา้ พดู คยุ เรอื่ งราวทฉ่ี นั ถกู ลอ้ เลยี นบนโลกไซเบอรใ์ หก้ บั คนทฉี่ นั I can สนิทรบั ฟงั ” กลวิธกี ารจัดการ “ฉนั พยายามทจี่ ะคน้ หาสาเหตแุ ละทำ� ความเขา้ ใจกบั ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ ” การม่งุ จัดการกับปญั หา Problem Focused การม่งุ จดั การกบั อารมณ์ “ถ้าฉันควบคุมอารมณ์ความรู้สึกของตนเองได้ การแก้ปัญหาต่าง ๆ Emotion Focused จะผ่านไปได”้ จากตารางที่ 2 พบวา่ ในแตล่ ะองค์ประกอบของความยืดหยุน่ ทางจติ ใจและกลวิธีการจดั การ ของวัยรุ่นท่ีถูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ ผู้วิจัยค้นพบข้อค�ำถามที่ได้จากการสังเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ โดยความยืดหยนุ่ ทางจิตใจของวัยรุ่นท่ถี กู รังแกผา่ นโลกไซเบอร์ ประกอบดว้ ย 3 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ 1) ด้านความสามารถในการรตู้ วั มจี �ำนวน 10 ขอ้ คำ� ถาม 2) ด้านความสามารถในการปรับตัว มีจ�ำนวน 10 ขอ้ คำ� ถาม และ 3) ดา้ นความสามารถในการฟน้ื ตวั มจี ำ� นวน 10 ขอ้ คำ� ถาม สว่ นกลวธิ กี ารจดั การ ของวยั รนุ่ ทถ่ี ูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ ประกอบดว้ ย 2 องค์ประกอบ คือ 1) ด้านการมุ่งจัดการกับปญั หา มจี ำ� นวน 8 ข้อคำ� ถาม และ 2) ด้านการมุ่งจดั การกับอารมณ์ มีจำ� นวน 8 ข้อค�ำถาม ผลการวิจัยระยะที่ 2 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของความยืดหยุ่นทางจิตใจและ กลวธิ กี ารจดั การของวยั รุ่นทถ่ี ูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ ผลการตรวจสอบความตรงเชงิ ภาวะสนั นษิ ฐานองคป์ ระกอบของความยดื หยนุ่ ทางอารมณข์ อง วยั รนุ่ ทถ่ี กู รงั แกผา่ นโลกไซเบอร์ แบง่ ออกเปน็ 3 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1) องคป์ ระกอบดา้ นความสามารถ

ความยืดหย่นุ ทางจติ ใจและกลวธิ กี ารจดั การของวัยร่นุ 49 กรรณกิ าร์ พันทอง และคณะ ในการรู้ตัว (I am) ประกอบไปด้วย 10 ข้อค�ำถาม 2) องค์ประกอบด้านความสามารถในการปรับตัว (I have) ประกอบไปด้วย 10 ข้อค�ำถาม และ 3) องค์ประกอบดา้ นความสามารถในการฟน้ื ตัว (I can) ประกอบไปดว้ ย 10 ขอ้ คำ� ถาม ซงึ่ โมเดลมคี วามสอดคลอ้ งกลมกลนื กบั ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษแ์ ละเชอื่ มโยง ไดต้ ามแนวคดิ ของ Grotberg (1995) และแนวคิดพลงั สขุ ภาพจิต RQ ของ Department of Mental Health (2012) โดยมรี ายละเอียด ดังนี้ องคป์ ระกอบดา้ นความสามารถในการรตู้ วั (I am) พบวา่ มคี า่ ไค-สแควร์ (Chi-Square) เทา่ กบั 23.742 คา่ องศาอสิ ระ (df) เท่ากบั 17 ความน่าจะเป็นเปน็ (p) เท่ากับ 0.127 ดชั นีวดั ระดบั ความ กลมกลืน (GFI) เท่ากับ 0.984 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.949 ค่าดัชนีรากของกำ� ลงั สองเฉลีย่ ของเศษ (RMR) เท่ากับ 0.065 และคา่ รากทส่ี องของคา่ เฉลย่ี กำ� ลังสอง ของการประมาณค่า (RMSEA) เทา่ กับ 0.036 และเมอื่ พิจารณาคา่ น�้ำหนกั องคป์ ระกอบในรปู คะแนน มาตรฐาน ( β ) พบวา่ นำ้� หนกั องคป์ ระกอบของขอ้ คำ� ถามท่ี 1-10 มขี นาดเทา่ กบั 0.641, 0.708, 0.717, 0.550, 0.615, 0.676, 0.426, 0.415, 0.148 และ 0.427 ตามลำ� ดับ รปู ที่ 1 ผลการตรวจสอบความตรงเชิงภาวะสันนิษฐานของดา้ นความสามารถในการรตู้ วั (I am) องคป์ ระกอบดา้ นความสามารถในการปรับตวั (I have) พบว่า มีคา่ ไค-สแควร์ (Chi-Square) เทา่ กับ 23.356 ค่าองศาอสิ ระ (df) เทา่ กับ 17 ความน่าจะเปน็ เปน็ (p) เทา่ กับ 0.138 ดชั นวี ดั ระดบั ความกลมกลนื (GFI) เทา่ กบั 0.985 คา่ ดชั นวี ดั ระดบั ความกลมกลนื ทปี่ รบั แกแ้ ลว้ (AGFI) เทา่ กบั 0.950 ค่าดัชนีรากของกำ� ลังสองเฉล่ียของเศษ (RMR) เทา่ กับ 0.047 และคา่ รากทสี่ องของค่าเฉลี่ยกำ� ลังสอง ของการประมาณค่า (RMSEA) เทา่ กับ 0.035 และเม่อื พิจารณาคา่ น�ำ้ หนักองค์ประกอบในรปู คะแนน มาตรฐาน ( β ) พบวา่ นำ�้ หนกั องคป์ ระกอบของขอ้ คำ� ถามที่ 1-10 มขี นาดเทา่ กบั 0.428, 0.539, 0.682, 0.760, 0.659, 0.769, 0.759, 0.700, 0.498 และ 0.471 ตามลำ� ดบั

วารสารหาดใหญ่วชิ าการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 50 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 รูปที่ 2 ผลการตรวจสอบความตรงเชิงภาวะสันนิษฐานขององค์ประกอบด้านความสามารถในการ ปรบั ตวั (I have) องค์ประกอบด้านความสามารถในการฟ้ืนตวั (I can) พบว่า มคี า่ ไค-สแควร์ (Chi-Square) เท่ากบั 14.442 คา่ องศาอิสระ (df) เท่ากบั 19 ความนา่ จะเป็นเปน็ (p) เท่ากับ 0.757 ดัชนวี ดั ระดบั ความกลมกลนื (GFI) เทา่ กบั 0.990 คา่ ดชั นวี ดั ระดบั ความกลมกลนื ทป่ี รบั แกแ้ ลว้ (AGFI) เทา่ กบั 0.972 ค่าดชั นรี ากของก�ำลงั สองเฉลยี่ ของเศษ (RMR) เทา่ กบั 0.039 และคา่ รากทส่ี องของค่าเฉลีย่ ก�ำลงั สอง ของการประมาณค่า (RMSEA) เท่ากบั 0.000 และเมอื่ พิจารณาค่านำ้� หนักองค์ประกอบในรูปคะแนน มาตรฐาน ( β ) พบวา่ นำ�้ หนกั องคป์ ระกอบของขอ้ คำ� ถามที่ 1-10 มขี นาดเทา่ กบั 0.557, 0.581, 0.656, 0.626, 0.430, 0.654, 0.512, 0.617, 0.642 และ 0.597 ตามล�ำดบั รปู ท่ี 3 ผลการตรวจสอบความตรงเชงิ ภาวะสนั นษิ ฐานขององคป์ ระกอบดา้ นความสามารถในการฟน้ื ตวั (I can)

ความยดื หยุน่ ทางจติ ใจและกลวธิ ีการจัดการของวัยรนุ่ 51 กรรณิการ์ พนั ทอง และคณะ ผลการตรวจสอบความตรงเชงิ ภาวะสนั นษิ ฐานองคป์ ระกอบของกลวธิ กี ารจดั การของวยั รนุ่ ที่ ถกู รงั แกผ่านโลกไซเบอร์ แบง่ ออกเปน็ 2 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ 1) องคป์ ระกอบดา้ นการมงุ่ จดั การกับ ปญั หา ประกอบไปดว้ ย 8 ขอ้ คำ� ถาม และ 2) องคป์ ระกอบดา้ นการมงุ่ จดั การกบั อารมณ์ ประกอบไปดว้ ย 8 ขอ้ คำ� ถาม ซง่ึ โมเดลมคี วามสอดคลอ้ งกลมกลนื กบั ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษแ์ ละเชอ่ื มโยงไดต้ ามแนวคดิ ของ Lazarus and Folkman (1984) โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี องคป์ ระกอบดา้ นการมงุ่ จดั การกบั ปญั หา พบวา่ มคี า่ ไค-สแควร์ (Chi-Square) เทา่ กบั 2.185 ค่าองศาอิสระ (df) เทา่ กับ 2 ความน่าจะเปน็ เป็น (p) เทา่ กบั 0.335 ดชั นวี ัดระดับความกลมกลืน (GFI) เท่ากบั 0.998 ค่าดชั นวี ดั ระดบั ความกลมกลืนทป่ี รบั แก้แล้ว (AGFI) เท่ากบั 0.967 ค่าดัชนีรากของ ก�ำลังสองเฉล่ียของเศษ (RMR) เท่ากับ 0.011 และค่ารากท่ีสองของค่าเฉล่ียก�ำลังสองของการ ประมาณค่า (RMSEA) เทา่ กบั 0.018 และเมอื่ พจิ ารณาคา่ นำ�้ หนกั องคป์ ระกอบในรปู คะแนนมาตรฐาน ( β ) พบวา่ น้�ำหนักองค์ประกอบของข้อคำ� ถามท่ี 1-8 มขี นาดเทา่ กับ 0.569, 0.615, 0.678, 0.747, 0.704, 0.763, 0.761 และ 0.821 ตามล�ำดบั รูปที่ 4 ผลการตรวจสอบความตรงเชิงภาวะสันนิษฐานขององค์ประกอบดา้ นการมุ่งจัดการกับปญั หา องค์ประกอบด้านการมุ่งจัดการกับอารมณ์ พบว่า มีค่า ไค-สแควร์ (Chi-Square) เท่ากับ 5.235 คา่ องศาอสิ ระ (df) เทา่ กบั 9 ความนา่ จะเปน็ เปน็ (p) เทา่ กบั 0.813 ดชั นวี ดั ระดบั ความกลมกลนื (GFI) เท่ากับ 0.996 คา่ ดัชนวี ดั ระดับความกลมกลนื ที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เทา่ กบั 0.983 คา่ ดชั นรี าก ของก�ำลังสองเฉล่ียของเศษ (RMR) เท่ากับ 0.022 และค่ารากที่สองของค่าเฉล่ียก�ำลังสองของการ ประมาณคา่ (RMSEA) เทา่ กบั 0.000 และเมอื่ พจิ ารณาคา่ นำ้� หนกั องคป์ ระกอบในรปู คะแนนมาตรฐาน ( β ) พบวา่ น้ำ� หนักองค์ประกอบของขอ้ ค�ำถามท่ี 1-8 มขี นาดเทา่ กับ 0.510, 0.594, 0.570, 0.702, 0.694, 0.559, 0.552 และ 0.593 ตามลำ� ดบั

วารสารหาดใหญ่วชิ าการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 52 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 รูปที่ 5 ผลการตรวจสอบความตรงเชงิ ภาวะสันนษิ ฐานขององคป์ ระกอบดา้ นการม่งุ จัดการกบั อารมณ์ อภปิ รายผล 1. ผลจากการศกึ ษาลกั ษณะความยืดหยุ่นทางจติ ใจและกลวิธีการจดั การของวยั รนุ่ ทถ่ี กู รังแก ผา่ นโลกไซเบอร์ พบว่า ลกั ษณะของการถูกรงั แกผ่านโลกไซเบอร์ของกล่มุ ผใู้ หข้ อ้ มลู ถูกรงั แกดว้ ยการ ถูกล้อเลียน ถกู ว่ากลา่ วกระทบจนท�ำใหอ้ ับอาย โดยการโพสขอ้ ความลงในเว็บไซต์ Facebook โดยมี เพอ่ื นและบคุ คลอน่ื เขา้ มาคอมเมน้ ทด์ ว้ ยการใชถ้ อ้ ยคำ� ทไ่ี มเ่ หมาะสม บางรายเกดิ ปญั หาตามมาเมอ่ื ตอ้ ง มาพบกนั ในสถานศกึ ษา ซง่ึ การโพสขอ้ ความลงเวบ็ ไซตด์ งั กลา่ ว เปน็ เวบ็ ไซตก์ ลมุ่ ประเภทสรา้ งเครอื ขา่ ย ทางสงั คม (Community) (Malisuwan, 2010) ซ่งึ สามารถตดิ ตอ่ ได้แม้ว่าบคุ คลนั้นจะไมเ่ คยรจู้ ักกัน กอปรกับช่วงวัยของกลุ่มผู้ให้ข้อมูลมีพัฒนาการทางอารมณ์ท่ีมักจะมีการแสดงออกทางอารมณ์ อยา่ งเปดิ เผย มคี วามรสู้ กึ ทคี่ อ่ นขา้ งรนุ แรง และแปรปรวนงา่ ย อาจทำ� ใหย้ ง่ิ มปี ฏกิ ริ ยิ าการแสดงออกและ การตอบโตท้ ร่ี นุ แรงขนึ้ ผลกระทบดงั กลา่ วสรา้ งความทกุ ขใ์ จ ความตงึ เครยี ดของอารมณ์ ซง่ึ การกระทำ� ในลักษณะดังกล่าวเรียกว่า การกล่ันแกล้งรังแกผ่านโลกไซเบอร์ โดยเป็นการข่มเหงรังแกกันผ่าน อินเทอร์เน็ตทั้งในคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ และช่องทางเทคโนโลยีการสื่อสารต่าง ๆ ท�ำร้ายกัน โดยท่ีต้ังใจและไม่ได้ต้ังใจ และพบว่า มีวัยรุ่นจำ� นวนไมน่ ้อยท่ีใช้พืน้ ท่ไี ซเบอร์เป็นสอ่ื กลางในการสร้าง ความเสียหายต่อผู้อ่ืน (Tokunaga, 2010) โดยการรังแกผ่านโลกไซเบอร์น้ันสามารถเกิดขึ้นได้หลาย ช่องทางและหลายรูปแบบ สอดคล้องกับ Goodno (2007) ได้ศึกษาความแตกต่างของการรังแก โดยท่ัวไปกบั การรงั แกผา่ นโลกไซเบอรว์ า่ การถกู คกุ คามทางอนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ การคมุ คามทมี่ คี วามรนุ แรง และสามารถสร้างความเสียหายได้ ไม่ว่าจะเพศใด สถานท่ีใดก็สามารถตกเป็นเหย่ือหรือกลายเป็น ผู้คุกคามได้เท่า ๆ กัน หลีกหนีไดย้ าก ไม่มพี ้ืนทป่ี ลอดภยั โดยอาศัยเพียงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เทา่ นั้น ดังท่ี Pokpong and Muksikkapong (2010) กล่าวถงึ การรังแกกนั บนโลกไซเบอร์ เป็นการ นนิ ทาหรอื ดา่ ทอ การสง่ ขอ้ ความกอ่ กวน การนำ� เอาขอ้ มลู ทท่ี ำ� ใหผ้ อู้ นื่ เสอื่ มเสยี ไปเผยแพร่ การนำ� ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ความลบั ของผอู้ นื่ ไปเปดิ เผย การแอบอา้ งชอ่ื ผอู้ นื่ ไปใหร้ า้ ย การลอ้ เลยี น ขม่ ขหู่ รอื คกุ คาม การลบ หรอื บลอ็ กผู้อ่นื ออกจากกลมุ่ และการสรา้ งขา่ วลอื หรอื การท�ำใหเ้ กิดกระแสต่อต้าน ซง่ึ เปน็ พฤติกรรม

ความยืดหย่นุ ทางจติ ใจและกลวธิ กี ารจัดการของวัยรุ่น 53 กรรณิการ์ พนั ทอง และคณะ ทกี่ ระทำ� โดยผา่ นมอื ถอื คอมพวิ เตอร์ หรอื เวบ็ ไซต์ โดยมผี ลกระทบทางอารมณ์ และจติ ใจตอ่ ผถู้ กู กระทำ� นอกจากนั้น ยังพบว่ากลุ่มผู้ให้ข้อมูลซึ่งเป็นผู้ที่ถูกกระท�ำจากการถูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ ได้รับผลกระทบทางจติ ใจและเกดิ ความเปลย่ี นแปลงทางอารมณ์ มอี ารมณท์ ไี่ มพ่ งึ ประสงค์ เกดิ อารมณ์ ความรู้สึกโกรธ เสียใจ วิตกกังวล ย่ิงถ้าปัญหาไม่ได้รับการแก้ไขส่งผลให้เกิดความทุกข์ใจตามมา จะ น�ำมาซ่งึ ผลเสยี ต่อสุขภาวะทางจติ และกาย สง่ ผลกระทบต่อการใชช้ วี ิตประจ�ำวนั ได้ (Bourne, 2010) แตถ่ ้าบุคคลนั้นสามารถมองปญั หาไดก้ วา้ งขน้ึ และด้วยบุคลกิ ของผใู้ ห้ขอ้ มลู ที่สามารถเผชิญกับเรอื่ งท่ี เกดิ ขนึ้ และใชค้ วามเขม้ แข็งของตนเอง อกี ทั้งพยายามเปลยี่ นทศั นคติ ปรบั มมุ มองใหเ้ ปน็ มมุ บวกว่าตน มีโอกาสทีจ่ ะประสบกบั ปัญหาเช่นน้ีได้ จงึ ทำ� ใหส้ ามารถรักษาสมดลุ ของตนเองท�ำให้เกิดความยดื หยุน่ ทางจติ ใจ ถอื เป็นความสามารถของบคุ คลในการร้ตู วั (I am) กล่าวคอื เปน็ ความสามารถที่มีอยภู่ ายใน ตัวบคุ คล เป็นลกั ษณะบุคลกิ ภาพท่เี ขม้ แข็งของบุคคล ประกอบด้วยความรู้สึก ทศั นคติ และความเช่ือ ภายในตวั ของบุคคล การยอมรบั สงิ่ ที่เกดิ ข้ึนตามความเป็นจรงิ เพ่อื น�ำไปสู่การเขา้ ใจตนเองมากยิง่ ขึ้น นอกจากนัน้ การท่บี คุ คลไดร้ บั รู้วา่ ตนเองมคี วามสำ� คัญ มีคา่ มีความหมาย เปน็ สว่ นหนึง่ ของครอบครวั กลุม่ หรือสงั คมทแ่ี วดล้อมตนเองอยู่ ยอมรบั การสนับสนุนและชว่ ยเหลอื จากแหลง่ สนบั สนนุ ภายนอก เกิดความยินดีและเต็มใจท่ีมีบุคคลอ่ืนที่อยู่ในโลกไซเบอร์จากกลุ่มเครือข่ายทางสังคมท่ีตนเองเข้าร่วม มาแสดงความเห็นเพ่ือช่วยเหลือกับเรื่องท่ีเกิดขึ้น ซ่ึงถือว่าเป็นความสามารถในการปรับตัว (I have) สามารถในการยอมรับแหล่งสนับสนุนภายนอกโดยเกิดความไว้ใจและยอมรับการสนับสนุนทางสังคม เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหม้ คี วามแขง็ แกรง่ ในชวี ติ กลา่ วไดว้ า่ เปน็ พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการเกยี่ วขอ้ งกบั ปฏสิ มั พนั ธ์ ของปจั จยั ดงั กลา่ วกบั การมแี หลง่ สนบั สนนุ และทรพั ยากรภายนอกรอบ ๆ ตวั (Grotberg, 1995) อกี ทงั้ เม่ือเหตุการณ์ท่ีก่อให้เกิดความเครียดหรือวิตกกังวลก็สามารถขอความช่วยเหลือจากบุคคลใกล้ชิด ในครอบครัว โรงเรียน หรือการมีสัมพันธภาพทางบวกในกลุ่มเพ่ือน (Positive Peer Relations) (Waaktaar, Chrisite, Borge, & Torgersen, 2004) กจ็ ะทำ� ใหบ้ คุ คลนนั้ มคี วามหวงั เปน็ ความสามารถ ในการฟน้ื ตวั (I can) ของบคุ คลในการหาแหลง่ สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื ไดใ้ นยามทต่ี อ้ งการ เปน็ ทกั ษะสงั คม และสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ใช้ในการจัดการกับปัญหาเพื่อช่วยใช้ในการเผชิญกับสถานการณ์ที่ เกิดข้ึนได้อย่างเข็มแข็ง หรือเม่ือประสบกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีกระทบใจรุนแรงก็ยังสามารถปรับตัว ปรบั ใจกลบั คืนสูส่ ภาพเดิมได้อยา่ งรวดเร็ว (Department of Mental Health, 2012) ในสว่ นของลกั ษณะของกลวธิ จี ดั การ เปน็ วธิ กี ารทบ่ี คุ คลเลอื กตอบสนองเมอ่ื ตอ้ งเผชญิ กบั การ ถูกรงั แกผา่ นโลกไซเบอรท์ ่เี กิดขนึ้ ซ่ึงการจัดการกับตนเองตอ่ สถานการณ์ ณ ขณะน้ัน โดยพยายามให้ ส่ิงที่มาคุกคามนั้นหมดลงหรือลดอันตรายลง แก้ไขส่ิงท่ีมาคุกคามน้ันให้เป็นไปในทางที่ดีข้ึน ซึ่งกลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลมที งั้ บคุ คลทเ่ี นน้ มงุ่ จดั การกบั ปญั หากอ่ นทจ่ี ะใชอ้ ารมณแ์ ละความรสู้ กึ มาตดั สนิ สถานการณ์ นน้ั ๆ การมงุ่ จดั การกบั ปญั หา คอื กลวธิ กี ารจดั การทว่ี ยั รนุ่ ใชใ้ นการตอบสนองตอ่ สถานการณก์ ารถกู รงั แก ผ่านโลกไซเบอร์ที่เกิดขึ้นโดยใช้กระบวนการทางความคิด ศักยภาพของตนเองในการคิดวางแผน ไตรต่ รองเพ่อื ใชใ้ นการปรบั ตัวหรือการแกไ้ ขจดั การใหป้ ญั หาหรอื สถานการณ์นัน้ ๆ ให้ดีขนึ้ ซงึ่ พบว่า เปน็ วธิ ที นี่ ยิ มใชเ้ ปน็ กลยทุ ธท์ เ่ี นน้ เขา้ สภู่ ายในตนแทนการมงุ่ แกไ้ ขสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งเดยี ว (Ignatgavicius

วารสารหาดใหญว่ ิชาการ 19(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2564 54 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 & Bayne, 1991) เปน็ การมุ่งจัดการกบั สาเหตุของปัญหาที่ก่อให้เกิดทุกข์โดยตรง มกี ารนยิ ามปญั หา สรา้ งทางเลอื ก ประเมนิ ทางเลอื ก ทำ� การเลอื ก ลงมอื ดำ� เนนิ การตามทเี่ ลอื ก สว่ นกลมุ่ ผใู้ หข้ อ้ มลู บางราย เน้นมุ่งจัดการกับอารมณ์ก่อน เป็นการเผชิญปัญหาท่ีเน้นอารมณ์ โดยการเปลี่ยนแปลงอารมณ์หรือ ความรู้สึกก่อนท่ีจะแก้ที่สาเหตุของปัญหาท่ีแท้จริง การมุ่งจัดการกับอารมณ์ ถือว่าเป็นกระบวนการ รคู้ ดิ ทม่ี งุ่ บรรเทาทกุ ขท์ างอารมณ์ การแสวงหาการสนบั สนนุ ทางอารมณ์ เชน่ การนงั่ เงยี บระงบั อารมณ์ ก่อนจัดการอารมณ์ของตนเอง โดยการไปฟังเพลงหรือเล่นเกมส์ เป็นต้น ซึ่งอาจน�ำไปสู่การประเมิน ทางการรู้คิดใหม่ ดังท่ี (Stoltz, 1997) ได้กลา่ วว่า การจัดการดังกล่าวเปน็ กลไกท่บี ุคคลใช้เพอื่ รักษา ภาวะสมดุลทางจิตใจ มีการใช้กระบวนการทางจิตใจในการลดความตึงเครียดเมื่อต้องพบกับปัญหาที่ ทา้ ทาย 2. ผลจากการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชงิ ยนื ยนั ของความยดื หยนุ่ ทางจติ ใจและกลวธิ กี ารจดั การ ของวยั รนุ่ ทถี่ กู รงั แกผา่ นโลกไซเบอร์ จากผลการประเมนิ ความสอดคลอ้ งกลมกลนื ของโมเดลกบั ขอ้ มลู เชิงประจักษ์ โดยการตรวจสอบความตรงเชิงภาวะสันนิษฐานของแบบวัดความยืดหยุ่นทางจิตใจและ กลวิธีการจัดการ ซึ่งความยืดหยุ่นทางอารมณ์ของวัยรุ่นที่ถูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ ด้านความสามารถในการร้ตู ัว วดั ไดจ้ าก 10 ขอ้ ค�ำถาม ด้านความสามารถในการ ปรับตวั วดั ได้จาก 10 ข้อค�ำถาม และดา้ นความสามารถในการฟื้นตวั วดั ได้จาก 10 ขอ้ ค�ำถาม เมือ่ พิจารณามีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์พบว่า สมมติฐานของโมเดลการวัดมีความ สอดคล้องกลมกลนื กบั ขอ้ มูลเชิงประจักษ์ ผวู้ จิ ัยจงึ เห็นควรคงจำ� นวนข้อค�ำถามทัง้ 30 ข้อ ซงึ่ ผลการ ทดสอบดงั กลา่ วแสดงว่าข้อค�ำถามท่ีผู้วิจัยได้ท�ำการสังเคราะห์จากผลการสัมภาษณ์เชิงลึกตามบริบท ของงานวิจัยนี้สามารถเชอ่ื มโยงได้ตามแนวคิดของ Grotberg (1995) และแนวคดิ พลงั สขุ ภาพจติ RQ ของ Department of Mental Health (2012) และกลวธิ กี ารจดั การของวยั รนุ่ ทถี่ กู รงั แกผา่ นโลกไซเบอร์ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านการมุ่งจัดการกับปัญหา วัดได้จาก 8 ข้อค�ำถาม และ 2) ด้านการมุ่งจัดการกับอารมณ์ วัดได้จาก 8 ข้อค�ำถาม เม่ือพิจารณาความสอดคล้องกลมกลืนกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์พบว่าสมมติฐานของโมเดลการวัดมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผวู้ จิ ยั จงึ เหน็ ควรคงจำ� นวนขอ้ คำ� ถามทงั้ 16 ขอ้ ซงึ่ ผลการทดสอบดงั กลา่ วแสดงวา่ ขอ้ คำ� ถามทผี่ วู้ จิ ยั ได้ ทำ� การสงั เคราะหจ์ ากผลการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ ตามบรบิ ทของงานวจิ ยั นส้ี ามารถเชอ่ื มโยงไดต้ ามแนวคดิ ของ Lazarus and Folkman (1984) เชน่ กนั นอกจากนเ้ี มอื่ พจิ ารณาขอ้ คำ� ถามจากทงั้ 5 องคป์ ระกอบ จ�ำนวนข้อค�ำถามทั้งสิ้น 46 ข้อ มีความหมายไปในทางบวก จึงอาจกล่าวได้ว่าข้อค�ำถามเหล่าน้ีเป็น ปัจจัยสนับสนุนให้กลุ่มตัวอย่างเกิดความตระหนักและความเชื่อว่าตนเองมีสมรรถนะทางร่างกายและ สมรรถนะทางดา้ นจติ ใจและอารมณใ์ นการเผชญิ กบั การถกู รงั แกผา่ นโลกไซเบอร์ และเปน็ การสนบั สนนุ ใหก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งมคี วามคดิ เหน็ สว่ นบคุ คลในการกระทำ� บางอยา่ งในสงิ่ ทถี่ กู ตอ้ ง หรอื อาจใชข้ อ้ คำ� ถามท่ี เปน็ แบบอยา่ งทเ่ี หมาะสมกบั ชว่ งวยั มาเปน็ ตวั กระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความรบั รแู้ ละรสู้ กึ อยากจะแสดงความคดิ ความรสู้ ึกและพฤติกรรมเช่นน้นั สอดคล้องกับ Gilligan (2000) กล่าวถงึ การสร้างเสรมิ ความยดื หยนุ่ ทางจิตใจและกลวิธีการจัดการกับความเครียดในเด็กและเยาวชน ว่าควรมีการส่งเสริมปัจจัยภายใน

ความยืดหย่นุ ทางจิตใจและกลวธิ กี ารจัดการของวยั ร่นุ 55 กรรณกิ าร์ พนั ทอง และคณะ เปน็ การเรยี นรแู้ ละฝกึ ทกั ษะ เชน่ การมองทางบวกตอ่ ตนเอง มมุ มองหรอื วธิ กี ารจดั การกบั ความเครยี ด เมือ่ เผชิญปญั หา เปน็ ต้น ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลวจิ ัยไปใช้ 1. ผลจากการวิจัยน้ีสามารถน�ำไปพัฒนาเป็นแบบวัดความยืดหยุ่นทางจิตใจและกลวิธีการ จัดการของวัยรุ่นที่ถูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์ เพ่ือน�ำไปใช้ในการวัดระดับความยืดหยุ่นทางจิตใจและ กลวธิ ีการจดั การของวยั รนุ่ ได้ 2. ผลจากการวจิ ยั นส้ี ามารถนำ� ใชเ้ ปน็ แนวทางในการรปู แบบการจดั กจิ กรรมหรอื การใหค้ ำ� ปรกึ ษา เพื่อเสริมสร้างความยืดหยุ่นทางจิตใจและกลวิธีการจัดการของวัยรุ่นท่ีถูกรังแกผ่านโลกไซเบอร์หรือ ปอ้ งกนั ให้กบั วัยรุ่นในสถานศึกษาได้ อีกท้งั วัยรนุ่ ไดม้ ีแนวทางในการสร้างเสริมและป้องกนั ผลกระทบ ทอ่ี าจจะเกิดขนึ้ กับตวั เองทั้งทางดา้ นจติ ใจและร่างกายได้ ข้อเสนอแนะในการวิจัยคร้ังต่อไป 1. การวิจัยน้ีมีมุ่งเน้นศึกษากับกลุ่มตัวอย่างเฉพาะนักเรียนวัยรุ่นท่ีมีอายุ 15-19 ปี เท่านั้น ดงั นน้ั ควรมกี ารศกึ ษาเพอื่ ขยายผลการวจิ ยั กบั ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ งในชว่ งอายทุ แ่ี ตกตา่ งกนั เพอื่ ศกึ ษาวา่ ลกั ษณะและองคป์ ระกอบของความยดื หยนุ่ ทางจติ ใจและกลวธิ กี ารจดั การของวยั รนุ่ ทถ่ี กู รงั แก ผ่านโลกไซเบอร์มีความแตกต่างกันหรือไม่ เช่น การศึกษากับกลุ่มนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับนกั ศกึ ษาในระดบั อุดมศกึ ษา เปน็ ต้น 2. การวจิ ยั ครงั้ ตอ่ ไปอาจมกี ารตรวจสอบความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษก์ บั กลมุ่ นกั เรยี น มัธยมศึกษาตอนปลายท่ีอยู่ในสังกัดอื่น เช่น โรงเรียนสังกัดคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โรงเรยี นสาธติ ในจงั หวดั ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ เพอื่ ยนื ยนั องคป์ ระกอบจากขอ้ มลู ทแี่ ตกตา่ งกนั และสามารถนำ� ขอ้ สรปุ ภาพรวมในบรบิ ทของประเทศไทยเพอ่ื เปน็ แนวทางในการสรา้ งเสรมิ และปอ้ งกนั ผลกระทบจาก การรังแกกันผา่ นโลกไซเบอร์ได้ กิตติกรรมประกาศ การวิจัยในครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนการวิจัยแผนงานเสริมสร้างศักยภาพและพัฒนานักวิจัย รนุ่ ใหมต่ ามทศิ ทางยทุ ธศาสตรก์ ารวจิ ยั และนวตั กรรม: ประเภทบณั ฑติ ศกึ ษา จากสำ� นกั งานคณะกรรมการ วจิ ยั แหง่ ชาติ ประจำ� ปี 2562 ผวู้ จิ ยั จงึ ขอขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสงู และขอขอบพระคณุ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา ปริญญานิพนธ์ท้ัง 3 ท่าน และขอขอบพระคุณผู้มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและตรวจสอบคุณภาพ เครื่องมือทุกท่านมา ณ โอกาสน้ี

วารสารหาดใหญ่วชิ าการ 19(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2564 56 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 เอกสารอ้างอิง Amaraphibal, A., Rujipak, T., & Payakkakom, A. (2013). A model explaining violent behavior among youth: A case study of middle school students in bangkok. International Journal of Asian Social Science, 3(3), 703-726. Bourne, E. J. (2010). The anxiety and phobia workbook (5th ed.). CA: New Harbinger. Campbell, M., Spears, B., Slee, P., Butler, D., & Kift, S. (2012). Victims’ perceptions of traditional and cyberbullying, and the psychosocial correlates of their victimisation. Emotional & Behavioural Difficulties, 17(3/4), 389-401. Cassmeyer, V. L., Mitchell, P. H., & Betrus, P. A. (1995). Stress, stressor, and stress managetment, In W. J. Phipps, V. L. Cassneeyer, T. K. Sands, M. K. Lehman (Eds.), Medical-surgical nursing: Concepts & Clinecal practice (5th ed., pp. 162-183). Missouri: Mosby Year Book. Connor, K. M., & Davidson, J. R. T. (2003). Development of a new resilience scale: The Connor-Davidson resilience scale (CD-RISC). Depression and Anxiety, 18(2), 76- 82. Creswell, J. W. (2015). A concise introduction to mixed methods research. Thousand Oaks, CA: Sage Publications. Department of Mental Health. (2012). The manual of resilience quotient for local mass media. Nonthaburi: Sankid. [in Thai] Ding, L., Velicer, W. F., & Harlow, L. L. (1995). Effects of estimation methods, number of indicators per factor and improper solutions on structural equation modeling fit indices. Structural Equation Modeling, 2(2), 119-143. Englander, E. K. (2011). MARC freshman study 2011: Bullying, cyberbullying, risk factors and reporting. Retrieved from http://vc.bridgew.edu/cgi/viewcontent. cgi?article=1000&context=marc_reports Gilligan, R. (2000). Adversity, resilience and young people: The protective value of positive school and spare time experiences. Children & Society, 14(1), 37-47. Goodno, N. H. (2007). Cyberstalking, a new crime: Evaluating the effectiveness of current state and federal Laws. Missouri Law Review, 72(1), 125-197. Grotberg E. H. (1995). A guide to promoting resilience in children: Strengthening the human spirit. Netherlands: The Bernard van Leer Foundation. Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). New York: Pearson. Ignatgavicius, D. D., & Bayne, V. M. (1991). Medical-surgical nursing. Philadelphia: W. B. Saunders.

ความยดื หย่นุ ทางจิตใจและกลวธิ ีการจัดการของวยั รนุ่ 57 กรรณกิ าร์ พันทอง และคณะ Lazarus, R. S., & Folkman, S. (1984). Stress appraisal and coping. New York: Springer. Malisuwan, S. (2010). Social networking. Retrieved from https://phatrsa.blogspot. com/2010/09/social-networking.html [in Thai] Muksikkaphan, W., Pokpong, S., Songsiri, N., & Surat, P. (2009). Behaviors of cyberbullying in youth in Bangkok. Bangkok: The Wisdom Society for Public Opinion Research of Thailand. [in Thai] O’Brien, N., & Moules, T. (2010). The impact of cyber-bullying on young people’s mental health. Retrieved from http://www.ncb.org.uk/media/111007/cyberbullying_ report.pdf Perren, S., Corcoran, L., Cowie, H., Dehue, F., Garcia, D., Guckin, C. M., Sevcikova, A., Tsatsou, P., & Vollink, T. (2012). Tacking cyberbullying: Review of empirical evidence regarding successful responses by students, parents, and schools. International Journal of Conflict and Violence, 6(2), 283-293. Pokpong, S., & Muksikkapong, W. (2010). Factors for influencing attitudes and behaviors in physical violence and cyberbullying in youth. Bangkok: Mahidol University. [in Thai] Smith, P. K., Mahdavi, J., Carvalho, M., Fisher, S., Russell, S., & Tippett, N. (2008). Cyberbullying: Its nature and impact in secondary school pupils. Journal of Child Psychology and Psychiatry, 49(4), 376-385. Stoltz, P. G. (1997). Adversity quotient: Turning obstacles into opportunities. New York: Johy Wiley & Sons. The National Statistic Office. (2016). Using information and communication technology in the household. Retrieved from http://service.nso.go.th/nso/web/statseries/ statseries22.html [in Thai] The National Statistic Office. (2018). The 1st quater-2018 information and communication technology survey on household. Retrieved from http://www.nso.go.th/ sites/2014/Pages/Survey/InformationTechnology/Technology on Household. aspx [in Thai] Tokunaga, R. S. (2010). Following you home from school: A critical review and synthesis of research on cyberbullying victimization. Computers in Human Behavior, 26(3), 277-287. Waaktaar, T., Christie, H. J., Borge, A. I. H., & Torgersen, S. (2004). Building youths resilience within a psychiatric outpatient setting: Result from a pilot clinical intervention project. Psychological Reports, 94(1), 363-370. Wang, J., Nansel, T. R., & Iannotti, R. J. (2011). Cyber and traditional bullying: Differential association with depression. Journal of Adolescent Health, 48(4), 415-417.



บทควา มวจิ ัย แนวทางการพฒั นาวถิ กี ารผลติ ของชมุ ชนตำ� บลแมส่ ลองนอก อำ� เภอแมฟ่ า้ หลวง จงั หวดั เชยี งราย DSaelvoenlgoNpmokeSnutbA-Dpipstrroicatc,hMeaseoFfaChoLmumanugnDitisytrPicrot,dCuhciatinognRoafi PthroevMinacee ณัฐธิดา จมุ ปา1*, เพญ็ พกั ตร์ ไชยนุรกั ษ์2, ทิพย์วลั ย์ ศรพี รม2, และ สภุ าพร คำ� เตจา3 Natthida Chumpa1*, Penpak Chainurak2, Thippawan Sriprom2, and Supaporn Kamtaeja3 Abstract This paper is qualitative research. It aims to find development approaches of community production for consumption and sale. The researchers collected primary data from farmers, handicraftsmen, hotel owners, community leaders, government agency representatives, and travelers. There were 95 participants. Data were collected using a semi-structured questionnaire, focus group discussions, and a participatory workshop, and analyzed by analytic induction. Classified into three domains, the results reveal that: In the agricultural production domain, Mae Salong Nok farmers cultivated rice, corn, vegetables, 1คณะวิทยาการจัดการ, 2สถาบันวิจัยและพัฒนา, 3คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ต.บ้านดู่ อ.เมือง จ.เชยี งราย 57100 1faculty of Management Science, 2Research and Development Institute, 3Faculty of Industrial Technology, Chiang Rai Rajabhat University, Ban doo Sub District, Muang District, Chiang Rai Province 57100 *ผ้ใู ห้การตดิ ตอ่ (Corresponding e-mail: [email protected]) รับบทความวันที่ 3 มนี าคม 2563 แกไ้ ขวันท่ี 24 ตุลาคม 2563 รับลงตพี มิ พ์วันที่ 6 พฤศจิกายน 2563 Hatyai Academic Journal 19(1): 59-72

วารสารหาดใหญว่ ิชาการ 19(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2564 60 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 tea, coffee, and some fruits. The problems found were depleted soil, a low price of community products, inadequate income, and immigration of youth. The suggested solutions are reducing expenses, increasing family income, and that some farmers should have a second career. In the handicraft production domain, the production has been traditional production which resulted in low-quality handicraft products. Markets and target groups of the customers were limited. Besides, Mae Salong Nok handicraftsmen lacked knowledge for marketing, capital, and management analysis. The suggested solution is producing creative craft products from community capital that differentiate from other crafts in the normal market. Finally, in the tourism management domain, people in the community lacked public relations skills and knowledge to advertise their products. The solution for this is to give knowledge about media production to the people in the community. The media production can promote the products and other services to tourists more easily, bringing more extra income in the community and strengthening its economic growth. Keywords: Development Approach, Community Production บทคัดยอ่ งานวิจัยนเ้ี ป็นงานวจิ ยั เชิงคุณภาพ มุง่ วเิ คราะหแ์ ละหาแนวทางในการพัฒนาวิถกี ารผลติ สำ� หรบั บรโิ ภคและจำ� หนา่ ยของชมุ ชน เกบ็ ขอ้ มลู จากผผู้ ลติ ดา้ นการเกษตร หตั ถกรรม การทอ่ งเทยี่ ว ผนู้ �ำชมุ ชน และตวั แทนหนว่ ยงานภาครฐั จ�ำนวน 95 คน โดยใช้แบบสัมภาษณก์ ่ึงโครงสร้าง การ สนทนากลุ่ม การประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ และพฒั นาศกั ยภาพวถิ กี ารผลติ ดา้ นการเกษตร หตั ถกรรมและการจดั การทอ่ งเทย่ี ว วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยการสรุปอปุ นัย เพื่อหาค�ำตอบอธบิ ายตามวัตถุประสงค์ ผลการวิจัยพบวา่ วิถกี ารผลติ ดา้ นการเกษตร ม่งุ ผลติ เพอื่ บริโภคและจ�ำหน่าย ได้แก่ การ เพาะปลกู ข้าว ข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ พืชผัก ชา กาแฟ และผลไม้เมืองหนาว ปัญหาทีพ่ บ คอื ท่ดี นิ เส่ือมสภาพ ผลผลิตตกต�่ำ รายได้ไม่เพียงพอ และอพยพย้ายถ่ิน แนวทางการพัฒนา คือ การลด ค่าใช้จ่าย การเพ่มิ รายได้ และการมีอาชีพเสรมิ วิถกี ารผลติ ดา้ นหัตถกรรม ชมุ ชนมีการผลิตตาม วิถีดั้งเดิม สินค้าไม่ได้คุณภาพ มีตลาดและกลุ่มเป้าหมายแคบ ขาดความรู้ในการวิเคราะห์ตลาด ตน้ ทนุ และการบรหิ ารจดั การ แนวทางการพฒั นา คอื สรา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑจ์ ากทนุ ชมุ ชนทม่ี รี ปู แบบ แตกต่างกันเพ่ือตอบสนองความต้องการของลูกค้า ด้านการจัดการท่องเที่ยว ชุมชนขาดความรู้ ในการผลิตส่อื ประชาสัมพนั ธ์ แนวทางการพัฒนา คือ พัฒนาสอ่ื โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพอ่ื ให้ นกั ท่องเทีย่ วเข้าถงึ สนิ ค้าและบรกิ ารอย่างสะดวก เกดิ รายไดแ้ ละเสริมสร้างเศรษฐกิจชมุ ชน คำ� สำ� คัญ: แนวทางการพฒั นา วิถีการผลิตของชุมชน

แนวทางการพฒั นาวถิ ีการผลติ ของชมุ ชน 61 ณัฐธิดา จมุ ปา และคณะ บทน�ำ ชมุ ชนตำ� บลแมส่ ลองนอก อำ� เภอแมฟ่ ้าหลวง จังหวัดเชียงราย เปน็ ชุมชนบนพืน้ ทสี่ งู ทม่ี ีการ รวมตัวของชุมชนหลากหลายวัฒนธรรมมกี ลมุ่ ชาติพันธุ์ 8 กลมุ่ ด้วยกัน ได้แก่ จนี อาข่า ลาหู่ อิ้วเมีย่ น ไทใหญ่ ลีซอ ลัวะ และชาวไทยพ้ืนราบ กระจายใน 13 หมู่บ้าน วิถีการผลิตของชุมชนขึ้นอยู่กับ ภมู ปิ ระเทศเปน็ ทต่ี ง้ั ชมุ ชนจดั ระบบการเพาะปลกู ของตนใหเ้ หมาะกบั ลกั ษณะทางธรรมชาตขิ องพนื้ ที่ และปริมาณของแหล่งน�้ำธรรมชาติ โดยพยายามใช้พ้ืนท่ีทุกลักษณะให้ได้ประโยชน์สูงสุด ดังนั้น คนในชุมชนจงึ ประกอบอาชพี เกษตรกรรมเปน็ หลกั โดยปลกู ขา้ วไรแ่ ละพชื ผกั ผลไม้ หาของปา่ เพอ่ื การ เล้ียงชีพ และปลูกพืชเศรษฐกิจเพื่อจ�ำหน่าย ได้แก่ ข้าวโพด ชา กาแฟ ผลไม้เมืองหนาว นอกจากน้ี ยังมีอาชพี เสรมิ คอื การรบั จา้ งทวั่ ไป จำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน หาของปา่ ขาย และการสรา้ งรายไดจ้ าก การทอ่ งเทย่ี วโดยการทำ� โฮมสเตย์ ปญั หาสำ� คญั ของคนในชมุ ชนทพ่ี บ คอื ปญั หาดา้ นทด่ี นิ ทำ� กนิ ปญั หา การผลิต กล่าวคือ ผลผลิตไม่เพียงพอกับการบริโภค ผลผลิตตกต�่ำ ไม่มีตลาดรองรับผลผลิต ขาด เงินทุนหมุนเวียน น้�ำเพ่ือการเกษตรไม่พอใช้ ว่างงาน อาชีพไม่มั่นคง รายได้ไม่เพียงพอและยากจน Chumpa (2019); Mae Salong Nok Subdistric Admisistrative Organization (2019) ขณะทคี่ นในชมุ ชนขาดการวเิ คราะหท์ บทวนสถานการณว์ ถิ กี ารผลติ ของตนเองวา่ ในแตล่ ะปมี ี ตน้ ทนุ เทา่ ไร มปี ญั หาอปุ สรรคอะไรในการผลติ และยงั ขาดความรทู้ างเทคโนโลยหี รอื นวตั กรรมมาพฒั นา วิถีการผลิต ดังนั้น แนวทางการพัฒนาวิถีการผลิตของชุมชนควรเร่ิมจากการวิเคราะห์ศักยภาพและ การผลิต ทุนท่ีใช้ในการผลิต ปัญหาอุปสรรคในการผลิตว่ามีจุดอ่อนใดบ้างท่ีต้องมีการพัฒนา และมี จุดแข็งอะไรบ้างท่ีจะน�ำมาใช้หรือพัฒนาให้เกิดรายได้ให้กับชุมชน เม่ือได้ศักยภาพและจุดอ่อนหรือ ช่องว่างทเ่ี กดิ จากการผลติ แลว้ กเ็ ขา้ สกู่ ระบวนการคน้ หา เลอื กสรร และหาแนวทางการพฒั นาวถิ กี ารผลติ โดยการพฒั นาผลติ ภณั ฑร์ ปู แบบใหมท่ ผี่ ลติ ขน้ึ ในเชงิ พาณชิ ยท์ เ่ี กดิ จากการใชเ้ ทคโนโลยแี ละองคค์ วามรู้ ในการปรบั ปรงุ พฒั นาและสรา้ งสรรค์ การเปลยี่ นแปลงหรอื ปรบั ปรงุ วธิ กี ารผลติ สนิ คา้ หรอื บรกิ ารในรปู แบบ ทแี่ ตกตา่ งจากเดมิ โดยนำ� เทคโนโลยแี ละองคค์ วามรมู้ าทำ� ใหส้ นิ คา้ และบรกิ ารมมี ลู คา่ เชงิ พาณชิ ยส์ ลู่ กู คา้ และตลาดการแขง่ ขนั (Ministry of Industry, 2019) เพอื่ ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในครวั เรอื น และพฒั นาวถิ กี ารผลติ ของชมุ ชน เพ่อื สรา้ งมลู ค่านำ� ไปสกู่ ารสรา้ งรากฐานของชุมชนใหแ้ ขง็ แกรง่ และสามารถพ่งึ ตนเองได้ วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ วเิ คราะหว์ ถิ กี ารผลติ ของชมุ ชน ตำ� บลแมส่ ลองนอก อำ� เภอแมฟ่ า้ หลวง จงั หวดั เชยี งราย 2. เพื่อหาแนวทางในการพฒั นาวถิ ีการผลิตของชมุ ชน ต�ำบลแม่สลองนอก อำ� เภอแมฟ่ า้ หลวง จังหวดั เชียงราย การทบทวนวรรณกรรม แนวคดิ เศรษฐกิจชุมชน Techaatik (2002) เสนอแนวคิดเศรษฐกจิ ชมุ ชนว่าเปน็ พ้นื ฐานการรองรบั เศรษฐกิจเป็นแกน คำ�้ จนุ สงั คมไทยและวฒั นธรรมไทยในลกั ษณะของเศรษฐกจิ พอเพยี งหรอื เศรษฐกจิ พง่ึ ตนเอง โดยมหี ลกั

วารสารหาดใหญว่ ิชาการ 19(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2564 62 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนว่า เศรษฐกิจชุมชนเป็นกิจกรรมเศรษฐกิจท้ังภาคเกษตรกรรม ภาค อตุ สาหกรรม และภาคบรกิ าร ทคี่ นในชมุ ชนทอ้ งถน่ิ มสี ว่ นรว่ มคดิ รว่ มทำ� รว่ มรบั ผลประโยชนแ์ ละรว่ ม เปน็ เจา้ ของ โดยการพฒั นาจากฐานศกั ยภาพของทอ้ งถนิ่ หรอื ทนุ ในชมุ ชน เปา้ หมายสำ� คญั ของรปู แบบ การพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชน คอื เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพตง้ั แตร่ ะดบั บคุ คล ครอบครวั และชมุ ชน โดยใชก้ จิ กรรม เศรษฐกิจสรา้ งกระบวนการเรยี นรู้ ซึ่งจะท�ำให้ชุมชนพ่ึงตนเองได้ มงุ่ เน้นการผลิตพชื ผลใหเ้ พียงพอกบั ความตอ้ งการบริโภคในครวั เรือนกอ่ น เม่ือเหลือพอจากการบริโภคจงึ ผลติ เพือ่ การค้า ผลผลติ ส่วนเกนิ ทอี่ อกสตู่ ลาดกจ็ ะเปน็ กำ� ไรของเกษตรกร หลกั สำ� คญั คอื การลดคา่ ใชจ้ า่ ย โดยการสรา้ งสง่ิ อปุ โภคบรโิ ภค ในท่ีดินของตนเอง เช่น ข้าว น�้ำ ปลา ไก่ ไม้ผล พืชผัก ฯลฯ ประการท่ีสอง ให้ความส�ำคัญกับการ รวมกลุ่มของชาวบา้ น ทั้งน้ี องคก์ รชุมชนจะเปน็ ผู้ด�ำเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ให้หลากหลาย ครอบคลมุ ท้ังการเกษตรแบบผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรปู อาหาร การท�ำธรุ กิจคา้ ขาย และการ ทอ่ งเทย่ี วระดบั ชมุ ชน ฯลฯ เมื่อองคก์ รชุมชนเข็มแขง็ เกษตรกรในชุมชนกจ็ ะไดร้ ับการดแู ลใหม้ ีรายได้ เพ่มิ ขน้ึ และไดร้ บั การแก้ไขปญั หาในทุก ๆ ด้าน เศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศกจ็ ะสามารถเติบโตได้ อยา่ งมเี สถียรภาพ แนวทางการพฒั นาเศรษฐกิจชมุ ชน Singthanasarn (2017) ไดเ้ สนอแนวทางในการพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชนวา่ การพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชนควรมกี ารลดรายจา่ ย และสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชน กลา่ วคอื หากรายจา่ ยของครวั เรอื นลดลงกจ็ ะ ทำ� ใหค้ นในชมุ ชนมเี งนิ เหลอื เกบ็ มากขนึ้ ดงั ที่ Techaatik (2001) ไดน้ ำ� เสนอวา่ ตอ้ งเสรมิ สรา้ งกจิ กรรม ที่ลดรายจ่ายให้ชุมชน ซ่ึงเป็นแนวทางในการพัฒนาความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนได้ เพราะเมื่อ รายจ่ายลดลง รายได้ไม่เพิ่มข้ึนก็จะท�ำให้ครอบครัวมีเงินเหลือในการน�ำไปใช้จ่ายมากข้ึน ท�ำให้ไม่ต้อง กังวลในการหาเงนิ และมเี วลาในการเขา้ ไปทำ� กจิ กรรมรว่ มในระดบั ชมุ ชน ชว่ ยกนั คน้ หาปญั หา และหา แนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกันซ่ึงจะท�ำให้ชุมชนเข้มแข็งขึ้น นอกจากนี้ การพัฒนาอาชีพโดยใช้ นวัตกรรมใหม่หรือการใช้วัตถุดิบท่ีมีอยู่และหาได้ง่ายภายในชุมชนในการผลิตจะท�ำให้ต้นทุนการผลิต ลดลงและท�ำให้มีการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน คนในชุมชนไม่ต้องกังวลเร่ืองการผลิตและเงินลงทุน ซ่ึง จะทำ� ใหร้ ะดบั ของความสขุ ในการดำ� รงชวี ติ เพมิ่ ขนึ้ และ Chaikaew (2017) ไดน้ ำ� เสนอแนวทางในการ เพม่ิ ศกั ยภาพการผลติ และการตลาดผลผลติ เหด็ ของกลมุ่ ธรุ กจิ ชมุ ชนรวมใจพอเพยี ง ตำ� บลชอ่ แล อำ� เภอ แม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ว่าควรมีการเพิ่มผลผลิตเห็ดให้มีความโดดเด่นด้านรูปร่างที่สวยงามและมี คณุ ภาพ มนี ำ�้ หนกั ดี ผลผลติ ตอ่ กอ้ นเพม่ิ ขนึ้ การพฒั นาดา้ นการตลาด การจดั ทำ� ตน้ แบบโลโกผ้ ลติ ภณั ฑ์ การกำ� หนดราคา การเพ่มิ โอกาสทางการตลาด การสง่ เสริมการขาย การจดั ท�ำเสอ้ื ประจ�ำกลมุ่ สำ� หรบั ประชาสัมพันธ์ให้ผู้มาศึกษาดูงาน ณ ท่ีท�ำการของกลุ่ม ตลอดจนการพัฒนาสมาชิกกลุ่มในการเป็น วทิ ยากรให้ความรเู้ ครอื ข่ายกลุ่มอาชีพอน่ื ๆ ซ่งึ เป็นการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรในการบรหิ ารจดั การ กลุ่มใหเ้ กิดความเขม้ แขง็ ตอ่ ไป Watcharakiettisak (2016) ไดเ้ สนอแนวทางการสร้างความเข้มแขง็ ให้เศรษฐกจิ ชมุ ชนดา้ น หตั ถกรรมและกลมุ่ อาชพี ตา่ ง ๆ ของชมุ ชนอย่างเป็นรูปธรรม สง่ เสริมการพฒั นาและจัดตัง้ กลุ่มอาชีพ

แนวทางการพฒั นาวิถีการผลติ ของชมุ ชน 63 ณัฐธดิ า จมุ ปา และคณะ การจดั หาทนุ ของกลมุ่ อาชพี ตามความเหมาะสมเพอ่ื ใหช้ มุ ชนเกดิ รายไดท้ มี่ าจากทนุ ชมุ ชนอยา่ งแทจ้ รงิ มีการน�ำความรู้และนวัตกรรมต่าง ๆ มาเพ่ิมศักยภาพการผลิตสินค้าท่ีเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนรวมถึง การส่งเสริมช่องทางการจดั จ�ำหน่ายใหม่ ๆ เพ่ือรองรับกับการเปล่ยี นแปลงในยคุ เศรษฐกจิ ดิจทิ ัล Poungprayong and Chantaranamchoo (2013) ได้เสนอแนวทางการพัฒนาวิสาหกิจ ชมุ ชนกล่มุ การแปรรปู และผลติ ภัณฑ์ จงั หวัดสมุทรสงคราม โดยมแี นวทางการพัฒนาวสิ าหกิจชมุ ชนที่ แตกตา่ งกนั และพบวา่ ปจั จยั การสนบั สนนุ จากภายนอก ปจั จยั ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และปจั จยั การบรหิ าร องคก์ ร สามารถทำ� นายแนวทางการพฒั นาวสิ าหกจิ ชมุ ชนรว่ มกนั ได้ แนวทางในการพฒั นา คอื ควรสรา้ ง ผลติ ภณั ฑใ์ หม้ คี วามแตกตา่ ง สรา้ งการเรยี นรใู้ หค้ นในชมุ ชน และเปน็ แหลง่ เรยี นรใู้ หค้ นนอกชมุ ชน แลว้ นำ� มาพฒั นาและประยกุ ตใ์ ชก้ บั กลมุ่ ของตน พฒั นาชอ่ งทางขอ้ มลู ขา่ วสาร โดยการจดั กจิ กรรมเชอ่ื มโยง เพื่อแลกเปลีย่ นเรียนร้ขู อ้ มูลระหว่างกล่มุ Pongnirundorn, Buatham, and Yodsuwan (2016) ไดเ้ สนอแนวทางในการพฒั นาศกั ยภาพ การจดั การท่องเท่ยี วอ�ำเภอวังน้�ำเขยี ว จงั หวัดนครราชสีมา แบบมสี ่วนร่วม 6 ดา้ น โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั การจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู ดา้ นทรพั ยากรทอ่ งเทยี่ ว ระเบยี บขอ้ บงั คบั การเขา้ ถงึ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ปา้ ยบอกทาง ใหถ้ กู ตอ้ งและตดิ ตงั้ เปน็ ระยะ สงิ่ อำ� นวยความสะดวกทค่ี รอบคลมุ และทวั่ ถงึ จดั ระบบรกั ษาความปลอดภยั การศึกษาขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของ ชมุ ชน การจดั ตงั้ คณะกรรมการบรหิ ารจดั การทอ่ งเทย่ี ว รวมทงั้ การกำ� หนดแนวปฏบิ ตั ิ และการตดิ ตาม ประเมนิ ผลการด�ำเนนิ การต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วกบั การบรหิ ารจดั การทอ่ งเทีย่ วในพ้ืนที่ Thungsakul (2013) ให้ข้อเสนอแนวทางทางการพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเท่ียว โดยมี การใหค้ วามรูค้ วามเขา้ ใจในการจัดการท่องเทีย่ วชมุ ชน พัฒนาบุคลากรรองรับการท่องเท่ยี ว เชน่ การ ตอ้ นรับ การนำ� เทย่ี ว การจัดสิ่งอำ� นวยความสะดวก อาหาร การแสดง การจดั กจิ กรรมการท่องเท่ียว เสน้ ทาง รปู แบบ กจิ กรรมทางวฒั นธรรม รวมถงึ การประชาสมั พนั ธร์ ปู แบบใหม่ ๆ เพอื่ ใหเ้ กดิ การบรหิ าร จัดการการท่องเท่ียวอย่างมีส่วนร่วมอนั จะน�ำไปสคู่ วามยงั่ ยนื ในการพัฒนา กรอบแนวคิดการวจิ ัย การวเิ คราะห์วถิ กี ารผลติ ของชุมชน การจัดอบรมเชงิ ปฏิบัติการ - ด้านการเกษตร ด้านหัตถกรรม เพือ่ ให้ความรู้และพัฒนาศกั ยภาพวิถีการผลิต ด้านการจดั การทอ่ งเท่ียว - ปัญหาและอุปสรรค ดา้ นการเกษตร หัตถกรรม และการจัดการท่องเทย่ี ว แนวทางการการพฒั นา วถิ กี ารผลิตของชมุ ชน รูปที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัยแนวทางการพัฒนาวิถีการผลิตของชุมชนต�ำบลแม่สลองนอก อ�ำเภอ แมฟ่ ้าหลวง จังหวดั เชียงราย

วารสารหาดใหญว่ ิชาการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 64 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 วธิ ีการวจิ ัย งานวจิ ัยนี้เป็นงานวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บรวบรวมขอ้ มูล ดังนี้ 1) ใช้ แบบสัมภาษณ์ก่ึงโครงสร้าง (Semi-Structured Questionnaire) เพ่ือสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผผู้ ลติ ดา้ นการเกษตร หตั ถกรรม และการทอ่ งเทยี่ วของชมุ ชนในตำ� บลแมส่ ลองนอก จำ� นวน 13 หมบู่ า้ น รวม 65 คน คดั เลอื กผใู้ หข้ อ้ มลู แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) 2) การสนทนา กลุ่ม (Focus Group Discussion) กับผ้ผู ลิต 3 กล่มุ คอื ผผู้ ลติ ด้านการเกษตร หัตถกรรม และด้าน การทอ่ งเทย่ี ว ผนู้ ำ� ชมุ ชน และตวั แทนหนว่ ยงานภาครฐั จำ� นวน 30 คน เลอื กผใู้ หข้ อ้ มลู ซง่ึ เปน็ บคุ คลสำ� คญั (Key Informant) และมีผลต่อการพัฒนาวิถีการผลิตในชุมชน 3) การประชุมเชิงปฏิบัติการแบบ มีส่วนร่วมเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาวถิ ีการผลิตของชุมชน และ 4) การจดั อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารเพื่อ ใหค้ วามรู้และพฒั นาศักยภาพวิถีการผลติ ด้านการเกษตร หตั ถกรรม และการจัดการท่องเที่ยว กลมุ่ เป้าหมาย ชุมชนตำ� บลแม่สลองนอก มปี ระชากร 4,812 ครัวเรือน รวม 19,017 คน เปน็ ชาย 9,870 คน หญิง 9,147 คน ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปน็ หลัก รอ้ ยละ 76.53 รองลงมา คือ ประกอบอาชีพดา้ น ทอ่ งเทยี่ ว รอ้ ยละ 18.08 และดา้ นหัตถกรรม รอ้ ยละ 5.39 ตามลำ� ดบั ผผู้ ลิตดา้ นการเกษตร หตั ถกรรม และการท่องเท่ยี วของชุมชนในต�ำบลแม่สลองนอก จ�ำนวน 13 หม่บู า้ น ท่ีมีวิถีการผลิตส�ำหรับบรโิ ภคและจำ� หนา่ ยด้านการเกษตร หตั ถกรรม และการท่องเท่ียว จำ� นวน 95 คน ประกอบดว้ ยผู้ผลิตด้านการเกษตร 54 คน ผผู้ ลติ ดา้ นหตั ถกรรม 13 คน ผผู้ ลิตด้าน การทอ่ งเทย่ี ว 22 คน ผู้น�ำชมุ ชนและตวั แทนหน่วยงานภาครฐั 6 คน ดงั นี้ ผู้ใหข้ อ้ มลู หลัก 1. ผู้ผลิตด้านการเกษตร 42 คน หัตถกรรม 10 คน และการท่องเท่ียว 13 คน ของชุมชน ในพ้ืนที่ศึกษา รวม 65 คน เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลวถิ กี ารผลิตของชมุ ชน 2. ตวั แทนผู้ผลติ ผู้ประกอบการดา้ นการเกษตร 12 คน หัตถกรรม 3 คน การท่องเท่ียว 9 คน ผู้นำ� ชุมชน 4 คน และหน่วยงานภาครฐั 2 คน รวม 30 คน เพ่ือวเิ คราะหป์ ญั หาอปุ สรรคในการผลติ และความตอ้ งการในการพัฒนา ตลอดจนหาแนวทางในการพฒั นาวถิ ีการผลติ ของชมุ ชน เครอ่ื งมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1. แบบสมั ภาษณก์ ่ึงโครงสรา้ ง เพ่อื เก็บข้อมูลวิถีการผลิต ซึง่ ประกอบดว้ ย ศักยภาพการผลิต สำ� หรับบรโิ ภคและจำ� หน่าย ทกั ษะหรือองค์ความรทู้ ่ใี ช้ จุดเดน่ จดุ ดอ้ ย ปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ 2. การสนทนากลุม่ เพ่อื วิเคราะหป์ ัญหา อปุ สรรค ชอ่ งว่างของกระบวนการผลิต และความ ต้องการในการพฒั นา 3. การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว่ นรว่ มเพอ่ื หาแนวทางในการพฒั นาวถิ กี ารผลติ ของชมุ ชน ดา้ นการเกษตร หตั ถกรรม และการจัดการทอ่ งเที่ยว 4. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ การเสริมสร้างทักษะ และพัฒนาศักยภาพ วิถีการผลิตดา้ นการเกษตร หัตถกรรม และการจดั การทอ่ งเทย่ี ว

แนวทางการพฒั นาวถิ กี ารผลิตของชมุ ชน 65 ณัฐธดิ า จมุ ปา และคณะ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผวู้ ิจัยมีการรวบรวม ดังน้ี 1. เกบ็ รวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงานวิจยั ที่เกยี่ วข้อง (Documentary Research) 2. เกบ็ รวบรวมข้อมลู ภาคสนาม โดยใชแ้ บบสัมภาษณ์กึ่งโครงสรา้ ง การสนทนากลมุ่ และการ ประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน โดยผู้วิจัยและผู้ช่วยนักวิจัยที่ผ่านการปฐมนิเทศเป็น ผู้เก็บรวบรวมข้อมลู ณ แหล่งขอ้ มลู และตรวจเชค็ ขอ้ มลู ใหส้ มบรู ณด์ ้วยตนเอง 3. น�ำแบบสัมภาษณ์มาตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับข้อมูลจาก การสนทนากลมุ่ เพื่อนำ� ไปวิเคราะหข์ อ้ มลู ต่อไป โดยก่อนการวิเคราะห์ข้อมลู ผวู้ ิจยั ได้ตรวจสอบขอ้ มลู แบบสามเส้า (Triangulation) 4. เม่ือนกั วจิ ัยวิเคราะห์ขอ้ มลู เสรจ็ เรียบร้อย ได้ขอ้ มูลทง้ั หมดกลบั ไปตรวจสอบกับชมุ ชนโดย การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการแบบมสี ว่ นรว่ มก่อนน�ำมาเขยี นรายงานการวจิ ยั การวิเคราะหข์ อ้ มลู ผวู้ ิจยั วเิ คราะห์ขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากการใช้แบบสมั ภาษณก์ งึ่ โครงสรา้ ง การสนทนากลุม่ การประชุม เชงิ ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยการวิเคราะห์สรุปอปุ นัย (Analytic Induction) เพ่ือหาคำ� ตอบอธิบายตามวตั ถุประสงค์ ผลการวิจัย 1. วิถกี ารผลติ ของชุมชน วถิ กี ารผลติ ของชมุ ชน จำ� แนกตามลกั ษณะการผลติ แบง่ ออกเปน็ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นเกษตรกรรม ด้านหัตถกรรม และดา้ นการท่องเทีย่ ว และปญั หาทเ่ี กิดจากวถิ ีการผลติ แตล่ ะดา้ น ดังน้ี 1.1 วถิ ีการผลิตของชมุ ชนด้านการเกษตร ชุมชนต�ำบลแม่สลองนอก เป็นชุมชนท่ีมีวิถีการผลิตด้านการเกษตรเป็นแหล่งผลิตอาหาร ของคนในชมุ ชนและเปน็ แหลง่ สรา้ งรายไดอ้ นั ดบั หนง่ึ ของอำ� เภอ ทำ� การผลติ โดยใชแ้ รงงานคนเปน็ หลกั มีการพึ่งพาเทคโนโลยีภาคเกษตรน้อย ใช้องค์ความรู้จากบรรพบุรุษเป็นพื้นฐานในการเพาะปลูก ดูแลรักษา และเกบ็ เกยี่ วผลผลติ ดว้ ยสภาพภมู ปิ ระเทศของพนื้ ทไ่ี ร่ ทสี่ วน ทำ� ใหก้ ารขนสง่ เปน็ ไปอยา่ ง ยากลำ� บาก และมกี ารใช้สารเคมีในการทำ� การเกษตร พืชท่มี กี ารผลติ เพือ่ บริโภคในครัวเรอื นมากท่ีสุด คอื ขา้ ว และมีการปลกู ข้าวโพดเพือ่ เลย้ี งสัตว์ เมอ่ื เหลือจะนำ� ออกจำ� หนา่ ย สว่ นพชื ทผี่ ลติ เพอื่ จ�ำหน่าย มากทส่ี ดุ ในตำ� บลแมส่ ลองนอก คอื ชา รองลงมา คอื กาแฟ และผลไมเ้ มอื งหนาว ไดแ้ ก่ เชอร่ี อะโวคาโด พลับ พลัม บ๊วย แมคคาเดเมีย ตามลำ� ดับ ปญั หาทพ่ี บในวถิ กี ารผลติ ดา้ นการเกษตร จากการศกึ ษาขอ้ มลู ภาคสนามในชมุ ชน พบวา่ ไม่มีทดี่ นิ ในการท�ำกิน ร้อยละ 23.47 และในส่วนท่มี ีที่ดนิ ท�ำกนิ ส่วนใหญไ่ ม่มีเอกสารสิทธิ์ แต่ได้รบั การอนญุ าตให้สามารถท�ำกนิ บนทดี่ ินของตนเอง โดยไม่ใหข้ ยายหรือเปดิ พน้ื ทีใ่ หม่ เม่อื ท�ำการเกษตร ในพน้ื ทเี่ ดิมเปน็ ระยะเวลานานส่งผลใหด้ นิ เสอื่ มสภาพได้ผลผลติ นอ้ ย จงึ มีการใชป้ ยุ๋ ยา และสารกำ� จัด ศัตรูพืช ซึ่งเป็นตน้ ทนุ ที่สูงและต้องกยู้ มื มาจากกองทุนหมูบ่ า้ น เกิดเปน็ ภาระหน้สี ิน และมตี ้นทนุ ด้าน

วารสารหาดใหญ่วิชาการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 66 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 การขนส่งที่เปน็ ค่าจา้ งในการขนสง่ ผลผลติ ไปจำ� หนา่ ยยงั แหล่งรับซอื้ 1.2 วถิ กี ารผลติ ของชมุ ชนด้านหตั ถกรรม จากการศึกษาข้อมลู ภาคสนาม พบว่า ตำ� บลแม่สลองนอกมหี มบู่ ้านทอ่ งเที่ยวจำ� นวน 10 หมู่บ้าน มีนักท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและต่างประเทศเดินทางเข้ามาเที่ยวในชุมชนจ�ำนวนมาก ท�ำให้มี หมบู่ า้ นทม่ี วี ถิ กี ารผลติ ดา้ นหตั ถกรรมรองรบั การทอ่ งเทยี่ ว จำ� นวน 5 หมบู่ า้ น เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ างวฒั นธรรม ท่ีผลิตขน้ึ ในชมุ ชน เชน่ การนำ� ลวดลายผา้ ปกั และผา้ ทอของกลมุ่ ชาตพิ นั ธต์ุ า่ ง ๆ มาตดั เยบ็ ดว้ ยมอื และ เคร่ืองจักรขนาดเล็กที่ใช้ในครัวเรือน ท�ำให้การก�ำหนดราคาผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเองมีราคาสูง ประมาณ 200-10,000 บาท โดยผลติ ภัณฑ์ทีผ่ ลติ ไดแ้ ก่ ย่าม เส้อื ชุดชาตพิ นั ธุ์ สว่ นการรบั ซอ้ื ผลิตภัณฑ์จาก ภายนอกชุมชนมาจ�ำหน่ายมีราคาที่ถูกกว่า ประมาณ 40-500 บาท ได้แก่ พวงกุญแจ ก�ำไล สายถัก รัดข้อมือ แหวน สรอ้ ยคอ ของทีร่ ะลึก เป็นต้น ซงึ่ เป็นการสรา้ งรายไดใ้ นอตั ราสว่ นร้อยละ 5.39 ของ วิถกี ารผลิตของชมุ ชน ส่วนใหญ่วางขายตามโรงแรมทพี่ ัก ร้านค้าชุมชน และในชมุ ชนท่ีมีนักท่องเที่ยว เข้าถึง ปญั หาทพ่ี บในวถิ กี ารผลติ ดา้ นหตั ถกรรม คอื ชมุ ชนขาดผลติ ภณั ฑท์ ม่ี เี อกลกั ษณโ์ ดดเดน่ สนิ คา้ หตั ถกรรมทชี่ มุ ชนผลติ ขน้ึ เปน็ แบบวถิ ดี ง้ั เดมิ มปี ญั หาดา้ นคณุ ภาพ ขาดความประณตี ไมม่ รี ปู แบบ ทห่ี ลากหลาย มีตลาดและกลมุ่ ลูกคา้ แคบ และกอ่ ให้เกดิ รายไดน้ อ้ ย ขาดสถานทส่ี ำ� หรบั จำ� หน่ายสินคา้ ที่แน่นอน ขาดความรู้ในการวิเคราะห์ตลาดสินค้า การวางเป้าหมายในการผลิต การวิเคราะห์ต้นทุน การผลิตและการบริหารจัดการกลุ่ม ชุมชนควรน�ำนวัตกรรมสมัยใหม่มาพัฒนา จัดระบบ สร้าง ผลิตภัณฑ์ใหม่ทีม่ ีมลู ค่า เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของตลาด 1.3 การจดั การทอ่ งเทย่ี ว ความได้เปรียบในยุทธศาสตร์เชิงพ้ืนที่ของต�ำบลแม่สลองนอกท่ีมีสภาพภูมิประเทศและ ภมู อิ ากาศ วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม และประวตั ศิ าสตร์ ทท่ี ำ� ใหช้ มุ ชนเปน็ จดุ หมายปลายทางของนกั ทอ่ งเทย่ี ว ใหต้ ดั สนิ ใจเดนิ ทางเขา้ มาทอ่ งเทย่ี วในชมุ ชนอยา่ งสมำ�่ เสมอจนกลายเปน็ สถานทที่ อ่ งเทยี่ วทส่ี ำ� คญั ของ จังหวัดเชียงราย มีหม่บู า้ นท่องเทีย่ วจ�ำนวน 10 หมบู่ ้าน มที ุนทางวฒั นธรรมและทุนธรรมชาตจิ นท�ำให้ เกดิ ธรุ กจิ ตา่ ง ๆ โดยคนในชมุ ชนเปน็ ผบู้ รหิ ารจดั การทง้ั หมดเพอื่ รองรบั นกั ทอ่ งเทยี่ ว อาทิ โรงแรมทพ่ี กั รสี อรท์ โฮมสเตย์ และท่ีพกั แบบกางเตน็ ท์ จ�ำนวนกวา่ 30 แห่ง ร้านอาหาร รา้ นกาแฟและเบเกอร่ี จ�ำนวน 36 แหง่ รา้ นคา้ ของที่ระลึกและสินค้าเกษตร จำ� นวน 65 แห่ง ไร่ชา จ�ำนวน 5 แหง่ รวมทงั้ มี สงิ่ อำ� นวยความสะดวก ไดแ้ ก่ ธนาคาร ร้านสะดวกซอ้ื และตลาดสดของชุมชนเพอ่ื รองรบั การมาเยอื น ของนักทอ่ งเท่ียว ปญั หาทพี่ บในการจดั การท่องเทย่ี ว คือ จากการทช่ี มุ ชนเปน็ ชมุ ชนท่องเท่ยี ว แตข่ าดการ บรหิ ารจดั การทเี่ หมาะสม ขาดสารสนเทศในการจดั บรกิ ารทอ่ งเทย่ี ว ขาดการประชาสัมพนั ธน์ ำ� เสนอ สินค้าและบริการเพ่ือให้นักท่องเที่ยวได้รู้จักและเข้าถึง รวมทั้งขาดประสบการณ์และวิธีการในการ ค�ำนวณต้นทุนในการจัดบริการต่าง ๆ โดยมีมุมมองและความเข้าใจที่แตกต่างกันระหว่างชุมชนและ นักท่องเที่ยว ประกอบกับสภาพภมู อิ ากาศที่ไมเ่ อ้ือต่อการท่องเท่ียว จากปกตเิ ท่ียวไดต้ ลอดทง้ั ปลี ดลง

แนวทางการพัฒนาวิถกี ารผลิตของชุมชน 67 ณัฐธิดา จมุ ปา และคณะ เหลือเพียงปลี ะ 4-5 เดือน เฉพาะชว่ งฤดูหนาว ทำ� ใหช้ มุ ชนประสบปัญหาความไม่แน่นอนของจ�ำนวน นกั ทอ่ งเทยี่ ว ซงึ่ สง่ ผลใหช้ มุ ชนมรี ายไดไ้ มแ่ นน่ อน จากการศกึ ษาขอ้ มลู การทอ่ งเทย่ี วในชมุ ชนยงั พบวา่ ชุมชนขาดความรู้ในการผลิตส่ือประชาสัมพันธ์ ขาดฐานข้อมูลโรงแรมที่พัก เส้นทางการท่องเที่ยว สื่อประชาสัมพันธ์และศนู ยบ์ รกิ ารนกั ทอ่ งเทย่ี วทเ่ี ปน็ สงิ่ อำ� นวยความสะดวกเพอื่ ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วสามารถ เข้าถงึ และนำ� ไปสู่การใช้บรกิ ารท้ังก่อนตดั สินใจเดินทางเขา้ มาทอ่ งเที่ยวและหลงั การเขา้ มาทอ่ งเท่ียว 2. แนวทางการพัฒนาวิถกี ารผลิตของชมุ ชน ผูว้ จิ ยั จดั เวทสี นทนากลมุ่ กับผ้มู บี ทบาทสำ� คญั ในกระบวนการผลติ ทง้ั สามด้าน ซง่ึ เปน็ ตวั แทน ผผู้ ลติ ดา้ นการเกษตร หตั ถกรรม การทอ่ งเทยี่ ว ผนู้ ำ� ชมุ ชน และตวั แทนหนว่ ยงานภาครฐั จำ� นวน 30 คน เพื่อวิเคราะห์จดุ อ่อน ช่องวา่ ง และปญั หาอปุ สรรคในวิถกี ารผลิต และความตอ้ งการในการพฒั นาเพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารจดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ใหค้ วามรู้ การเสรมิ สรา้ งทกั ษะ และพฒั นาศกั ยภาพวถิ กี ารผลติ ด้านการเกษตร หัตถกรรม และการจัดการท่องเทยี่ ว ดงั นี้ 2.1 ด้านการเกษตร แนวทางการพัฒนาวิถีการผลิตด้านการเกษตร คือ การเปล่ียนแปลงระบบการผลิตเพ่ือ บรโิ ภคในครัวเรือน เน่ืองจากชมุ ชนมีทรพั ยากรการผลิต มที ่ีดินสำ� หรบั ประกอบอาชีพ ใช้องค์ความรู้ จากบรรพบรุ ษุ เปน็ พนื้ ฐานในการเพาะปลกู ดแู ลรกั ษา และเกบ็ เกย่ี วผลผลติ พน้ื ทใ่ี นการทำ� การเพาะปลกู เปน็ พน้ื ทเี่ ดมิ ทม่ี กี ารเพาะปลกู มาเปน็ เวลานานหลายปี ทำ� ใหด้ นิ เสอื่ มสภาพ ผา่ นการใชป้ ยุ๋ และสารเคมี มานาน จงึ มกี ารอบรมใหค้ วามรใู้ นการผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี บ์ ำ� รงุ ดนิ และใหค้ วามรขู้ องโทษจากการใชส้ ารเคมี ทเ่ี กนิ ขนาด และเปน็ การลดตน้ ทนุ ในการผลติ นอกจากน้ี คนในชมุ ชนมคี วามพยายามในการลดคา่ ใชจ้ า่ ย โดยการหาของปา่ เปน็ อาหาร ปลกู ผกั พน้ื บา้ นและเลย้ี งสตั วไ์ วป้ ระกอบพธิ กี รรมและเปน็ อาหาร มคี วาม ขยนั ขันแขง็ และปรบั ตัวด้านการผลิตโดยการปลกู พืชหลายชนิดเพื่อกระจายความเส่ียง ม่งุ เน้นการลด รายจ่ายในครัวเรือนและเพิ่มรายได้ โดยการปลูกผักปลอดภัยเพ่ือบริโภคและจ�ำหน่ายเป็นการสร้าง อาชพี เสรมิ โดยการอบรมการพฒั นาวถิ กี ารผลติ ของชมุ ชนดา้ นการเกษตร “เทคนคิ และวธิ กี ารปลกู ผกั ปลอดภยั เพอ่ื ลดรายจา่ ยในครวั เรอื น เสรมิ สรา้ งเศรษฐกจิ ชมุ ชน” เพราะหากเศรษฐกจิ ระดบั ครวั เรอื นดี ชมุ ชนกไ็ มต่ อ้ งกงั วลกบั ปญั หาของตนเอง จะมพี ลงั ในการรว่ มคดิ รว่ มทำ� และรว่ มพฒั นาชมุ ชนตอ่ ไปได้ 2.2 ดา้ นหตั ถกรรม แนวทางการพฒั นาวถิ กี ารผลติ ดา้ นหตั ถกรรม คอื การพฒั นาผลติ ภณั ฑจ์ ากตน้ ทนุ องคค์ วามรู้ วิถีชีวิตและทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย มุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตให้เกิด ผลิตภัณฑ์ใหม่ เกิดการรื้อฟื้นและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้เป็นสินค้าทางวัฒนธรรม เพื่อจ�ำหน่ายและ หารายได้โดยกลุ่มสตรแี ละผสู้ งู อายุ เช่น ผ้าปักกลมุ่ ชาติพันธอุ์ ว้ิ เมี่ยน ลาหู่ อาขา่ และลีซู ทสี่ ามารถ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ สนิ คา้ ทห่ี ลากหลายจำ� หนา่ ยแกน่ กั ทอ่ งเทย่ี ว โดยการอบรมเพม่ิ ศกั ยภาพหตั ถกรรมชมุ ชน “นวตั กรรมการพฒั นาผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถนิ่ กระเปา๋ ผา้ ทำ� มอื ” และการกำ� หนดกลมุ่ ลกู คา้ เปา้ หมายทชี่ ดั เจน สรา้ งผลติ ภณั ฑท์ เ่ี หมาะสมตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ เพอ่ื ใหก้ ลมุ่ และชมุ ชนเกดิ แนวคดิ ในการ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปแบบแตกต่างไปจากเดิม รวมถึงการขยายตลาดเป้าหมายให้กว้างเพื่อให้

วารสารหาดใหญ่วชิ าการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 68 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 สินคา้ ของกลุ่มและชุมชนสามารถเป็นอาชีพเสรมิ รองรับปัญหาการว่างงาน และสรา้ งรายได้ให้ชมุ ชน ต่อไป 2.3 ดา้ นการจัดการท่องเที่ยว แนวทางการพัฒนาด้านการจัดการท่องเท่ียว คือ การบริหารจัดการการท่องเที่ยวให้มี สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบวงจร ให้นักท่องเทีย่ วรูจ้ กั และเข้าถึงการบรกิ ารไดอ้ ย่างงา่ ยและเหมาะสม กบั คา่ ใชจ้ า่ ยซงึ่ จะทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจระหวา่ งนกั ทอ่ งเทยี่ วกบั ชมุ ชน โดยการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของ ผปู้ ระกอบการใหส้ ามารถนำ� เสนอสนิ คา้ และบรกิ ารผา่ นสอ่ื เทคโนโลยดี ว้ ยการอบรมพฒั นาวถิ กี ารผลติ ของชุมชน “เทคนิคการถ่ายคลิปวิดีโอด้วยสมาร์ทโฟนและเทคนิคการตัดต่อด้วยแอปพลิเคชัน Kine Master” เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ระกอบการในชมุ ชนสามารถนำ� เสนอสนิ คา้ และบรกิ าร การประชาสมั พนั ธส์ ถานท่ี ทอ่ งเทยี่ ว โรงแรมทีพ่ กั ร้านคา้ ร้านอาหาร และสินคา้ ของที่ระลึกจากผลิตภัณฑ์ชุมชนผา่ นเทคโนโลยี สมยั ใหม่ อนั เปน็ การประชาสมั พนั ธใ์ หน้ กั ทอ่ งเทย่ี วรจู้ กั และเขา้ ถงึ ไดม้ ากขน้ึ ซง่ึ เปน็ การอำ� นวยความสะดวก ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วสามารถเขา้ ถงึ สนิ คา้ และบรกิ ารไดอ้ ยา่ งสะดวกและชมุ ชนเกดิ รายไดเ้ ปน็ แนวทางในการ เสรมิ สรา้ งเศรษฐกจิ ของชุมชนใหเ้ กดิ ความม่งั ค่ังและย่งั ยืนต่อไป อภิปรายผล 1. วถิ กี ารผลติ ของชมุ ชน วิถีการผลิตด้านการเกษตร ชุมชนต�ำบลแม่สลองนอกเป็นชุมชนเกษตรกรรมท่ีผลิตโดยใช้ แรงงานคนเปน็ หลกั พชื ทม่ี กี ารผลติ มากทสี่ ดุ คอื ขา้ วและขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ โดยปลกู ขา้ วไรเ่ พอ่ื บรโิ ภค ในครวั เรอื นและปลกู ขา้ วโพดเพอื่ เลย้ี งสตั ว์ เหลอื กน็ ำ� ออกจำ� หนา่ ย พชื ทผ่ี ลติ เพอ่ื จำ� หนา่ ยมากทสี่ ดุ คอื ชา กาแฟ และผลไม้เมอื งหนาว ไดแ้ ก่ เชอร่ี อะโวคาโด พลบั พลมั บว๊ ย แมคคาเดเมยี ประสบปัญหา ทด่ี นิ ทำ� กนิ ดนิ เสื่อมสภาพ หนีส้ นิ ต้นทนุ สงู รายได้ไมเ่ พียงพอตอ่ การเลย้ี งชพี การวา่ งงาน และการ อพยพย้ายแรงงานเข้าสู่เมือง ท�ำให้ผู้ผลิตต้องแบกรับภาระต้นทุนและเกิดภาระหนี้สินเรื้อรัง ผู้ผลิต หลายคนมีความพยายามในการลดค่าใชจ้ ่ายในครัวเรือนโดยการเลอื กผลติ เพือ่ การบริโภคในครวั เรอื น เช่น การปลูกข้าวไร่ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ผักพื้นบ้าน ส�ำหรับบริโภคและใช้ในการประกอบพิธีกรรม ตามความเช่ือของท้องถ่ิน โดยลดการใช้จ่ายเพ่ือซื้อจากตลาดข้างนอกให้มากที่สุด มีความสอดคล้อง กับงานของ Techaatik (2002) ทก่ี ลา่ วถงึ การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนว่า มุ่งเนน้ การผลิตใหเ้ พยี งพอ กบั ความตอ้ งการบรโิ ภคในครวั เรือนเมอ่ื เหลอื จากการบรโิ ภคจงึ ผลิตเพื่อการจ�ำหน่าย หลักส�ำคัญ คือ การลดคา่ ใชจ้ า่ ยโดยการสรา้ งสงิ่ อปุ โภคบรโิ ภคในทด่ี นิ ของตนเอง เชน่ ขา้ ว นำ้� ปลา ไก่ ไมผ้ ล พชื ผกั ฯลฯ ซึ่งเป็นการสร้างความมั่นคงด้านอาหารให้กับสถาบันครอบครัว และสถาบันชุมชน นอกจากนี้ ยังมี ความสอดคล้องกบั งานของ Singthanasarn (2017) ทีเ่ สนอว่า การพัฒนาเศรษฐกิจชมุ ชนนน้ั ตอ้ งให้ ชุมชนลดรายจา่ ยและสรา้ งรายได้ เพราะเชอ่ื วา่ หากรายจา่ ยของครวั เรอื นลดลงจะทำ� ใหม้ เี งนิ เหลอื เกบ็ มากขนึ้ ดงั ท่ี Techaatik (2001) กล่าววา่ การลดรายจา่ ยของครวั เรอื นและชุมชนเปน็ แนวทางในการ พฒั นาความเขม้ แขง็ ของเศรษฐกจิ ชมุ ชน แมว้ า่ รายไดไ้ มเ่ พมิ่ ขนึ้ กท็ ำ� ใหค้ รอบครวั มเี งนิ เหลอื เกบ็ เพอื่ นำ�

แนวทางการพฒั นาวถิ กี ารผลติ ของชุมชน 69 ณฐั ธดิ า จุมปา และคณะ ไปใชจ้ า่ ยมากขนึ้ ทำ� ใหไ้ มต่ อ้ งกงั วลกบั การหารายไดแ้ ละมเี วลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมกบั ชมุ ชน รว่ มคดิ รว่ มทำ� และร่วมแกป้ ญั หาของชุมชนกท็ ำ� ใหช้ มุ ชนเกิดความเข้มแข็งได้ วิถีการผลิตด้านหัตถกรรม ชุมชนมีต้นทุนที่เป็นองค์ความรู้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมนั่นคือ ทรพั ยากรทางวฒั นธรรมผา้ ปกั และผา้ ทอทสี่ ามารถนำ� มาผลติ เปน็ สนิ คา้ ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนมากมาย อาทิ กระเปา๋ ยา่ ม เสอ้ื สตรี พวงกญุ แจ และชดุ เครอ่ื งแตง่ กาย ฯลฯ โดยมกี ารผลติ ตามวถิ ดี ง้ั เดมิ มกั ลอกเลยี น แบบกัน รูปแบบผลิตภัณฑ์ที่น�ำมาจ�ำหน่ายมีรูปแบบซ้�ำ ๆ ไม่มีมาตรฐาน ตลาดจ�ำหน่ายสินค้าแคบ และรายไดน้ อ้ ย วถิ กี ารผลติ ดา้ นหตั ถกรรมมบี ทบาทสำ� คญั ในการเสรมิ สรา้ งเศรษฐกจิ ใหค้ รอบครวั และ ชมุ ชน หากสามารถกำ� หนดตลาดเปา้ หมายของผลติ ภณั ฑใ์ หช้ ดั เจน เพอ่ื ใหต้ อบสนองความตอ้ งการของ นักท่องเที่ยวหรือผู้บริโภคได้ อีกท้ัง ผู้ผลิตด้านหัตถกรรมจ�ำเป็นต้องเสริมสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ โดยใชอ้ งคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาพฒั นากระบวนการผลิตทัง้ หว่ งโซ่ของผลติ ภณั ฑ์ อนั จะ นำ� มาซงึ่ สนิ คา้ ทางวฒั นธรรมทมี่ เี อกลกั ษณเ์ ปน็ ของชมุ ชน เพอ่ื จำ� หนา่ ยใหก้ บั นกั ทอ่ งเทยี่ วและผบู้ รโิ ภค ทเ่ี ดนิ ทางเขา้ มาถงึ ชมุ ชนกจ็ ะเปน็ การเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกจิ ครอบครวั และชมุ ชนตอ่ ไป สอดคล้องกับงานของ Watcharakiettisak (2016) ท่ีเสนอแนวทางการสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิจชุมชน โดยมงุ่ เนน้ ทกี่ ารพฒั นาหตั ถกรรมชมุ ชนและกลมุ่ อาชพี เพอื่ หารายไดจ้ นุ เจอื ครอบครวั การน�ำองค์ความรู้และทรัพยากรชุมชนมาสร้างสินค้า และผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมจ�ำหน่ายผ่าน ช่องทางการตลาดรูปแบบใหม่ที่เป็นกรอบการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในมิติใหม่ที่เกิดจากการเรียนรู้ ผา่ นวทิ ยาการและนวตั กรรม เพอ่ื ใหช้ มุ ชนไมย่ ำ่� อยกู่ บั ทพ่ี รอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลงในยคุ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั การจัดการทอ่ งเทีย่ ว พบวา่ ตำ� บลแม่สลองนอกเป็นชมุ ชนทอ่ งเที่ยวทางวฒั นธรรม เป็นแหล่ง ปลูกชาคณุ ภาพเยยี่ มและมีชือ่ เสยี ง รวมถงึ มีสภาพอากาศที่หนาวเย็นไดส้ มั ผสั วถิ ชี วี ิตและวฒั นธรรมที่ งดงาม แตช่ มุ ชนขาดสารสนเทศในการจดั บรกิ ารทอ่ งเทยี่ ว การประชาสมั พนั ธน์ ำ� เสนอสนิ คา้ และบรกิ าร เพอ่ื ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วไดร้ จู้ กั และเขา้ ถงึ จงึ ทำ� ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วมกี ารใชจ้ า่ ยเงนิ ในตำ� บลนอ้ ย เนอื่ งจากขาด ฐานขอ้ มลู ทพี่ ัก สินคา้ บรกิ าร กจิ กรรมการทอ่ งเที่ยว และส่ิงอ�ำนวยความสะดวกตา่ ง ๆ สอดคลอ้ งกับ งานของ Pongnirundorn et al. (2016) ที่กล่าวว่าแหล่งท่องเที่ยวควรมีฐานข้อมูลและสิ่งอ�ำนวย- ความสะดวกอยา่ งเพยี งพอ ไดแ้ ก่ ทพ่ี กั แรม รา้ นอาหาร ธรุ กจิ นำ� เทย่ี วตลอดจนการเขา้ ถงึ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ได้อย่างรวดเร็วและสะดวก ท้ังนี้ ยังมีความสอดคล้องกับงานของ Thungsakul (2013) ท่ีได้ศึกษา ศกั ยภาพการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ววฒั นธรรมกลมุ่ ชาตพิ นั ธไ์ุ ทแสก บา้ นบะหวา้ ตำ� บลทา่ เรอื อำ� เภอนาหวา้ จงั หวดั นครพนม และเสนอวา่ ชมุ ชนตอ้ งมกี ารเตรยี มความพรอ้ มและไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพดา้ นการ บรหิ ารจดั การการทอ่ งเทยี่ ว ฐานขอ้ มลู ทพ่ี กั รา้ นคา้ รา้ นอาหาร เสน้ ทาง กจิ กรรมทางวฒั นธรรม รวมถงึ การน�ำเที่ยว อาหาร การแสดง และการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวโดยการจัดการอย่างมีส่วนร่วมกับ ผู้เกี่ยวข้องในทอ้ งถน่ิ เพอื่ ให้สามารถจดั การทอ่ งเท่ียวไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื 2. แนวทางการพฒั นาวิถีการผลติ ของชุมชน แนวทางการพฒั นาวถิ กี ารผลติ ดา้ นการเกษตร คอื การเปลย่ี นแปลงระบบการผลติ เพอ่ื บรโิ ภค ในครวั เรอื น ผลิตปยุ๋ อินทรยี เ์ พือ่ ลดต้นทุน มงุ่ เนน้ การลดรายจา่ ยและเพิ่มรายได้ โดยปลูกผักปลอดภยั

วารสารหาดใหญว่ ิชาการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 70 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 เพื่อบริโภคและการสร้างอาชีพเสริม รองรับปัญหาการว่างงานเพราะหากเศรษฐกิจระดับครัวเรือนดี ชมุ ชนกไ็ มต่ อ้ งกงั วลกบั ปญั หาของตนเอง จะมพี ลงั ในการรว่ มคดิ รว่ มทำ� และรว่ มพฒั นาชมุ ชนตอ่ ไปได้ แนวทางการพัฒนาวิถีการผลิตด้านหัตถกรรม คือ มุ่งเน้นการเปล่ียนแปลงรูปแบบการผลิตให้เกิด ผลิตภัณฑใ์ หม่ โดยการอบรมเพือ่ พัฒนาผลิตภณั ฑ์ใหมแ่ ละก�ำหนดกลมุ่ ลูกค้าเปา้ หมายท่ชี ัดเจน สร้าง ผลิตภัณฑ์ท่ีเหมาะสมตอบสนองความต้องการของลูกค้ารวมถึงการขยายตลาดเป้าหมายให้กว้างเพ่ือ ให้สินค้าของกลุ่มและชุมชนสามารถเป็นอาชีพเสริมและสร้างรายได้ให้ชุมชนต่อไป และแนวทางการ จดั การดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว คอื การบรหิ ารจดั การการทอ่ งเทยี่ วใหเ้ หมาะสม โดยการอบรมเพม่ิ ศกั ยภาพ ของผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวเรื่อง “เทคนิคการถ่ายคลิปวิดีโอด้วยสมาร์ทโฟนและเทคนิค การตัดต่อด้วยแอปพลิเคชัน Kine Master” เพอื่ น�ำเสนอสนิ คา้ และบริการ เช่น โรงแรมทพี่ กั รา้ นค้า ร้านอาหาร สินค้าของท่ีระลึกและสถานท่ีท่องเทยี่ วอนั เป็นการประชาสมั พันธ์และนำ� เสนอส่ิงอ�ำนวย- ความสะดวกทม่ี ใี หน้ กั ทอ่ งเทยี่ วรจู้ กั และเขา้ ถงึ ไดม้ ากขน้ึ ชมุ ชนเกดิ รายไดเ้ ปน็ แนวทางในการเสรมิ สรา้ ง เศรษฐกจิ ของชุมชนใหเ้ กดิ ความมัง่ คง่ั และยั่งยนื ตอ่ ไป มีความสอดคล้องกับงานของ Poungprayong and Chantaranamchoo (2013) ทเี่ สนอแนวทางการพฒั นาวสิ าหกจิ ชมุ ชนของกลมุ่ แปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ ชมุ ชนจงั หวดั สมทุ รสงคราม โดยการสรา้ งผลติ ภณั ฑใ์ หมท่ มี่ คี วามแตกตา่ ง พฒั นาชอ่ งทางการจดั จำ� หนา่ ย และเพมิ่ ศกั ยภาพการผลติ และการตลาดของกลมุ่ เพอื่ ใหส้ ามารถแขง่ ขนั ไดโ้ ดยใชอ้ งคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ ๆ สอดคล้องกับงานของ Chaikaew (2017) ที่เสนอแนวทางการเพ่ิมศกั ยภาพของ ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนโดยการสรา้ งความโดดเดน่ ในผลติ ภณั ฑ์ การเพมิ่ ผลผลติ การพฒั นารปู แบบบรรจภุ ณั ฑ์ การเพม่ิ ช่องทางการตลาด การส่งเสริมการตลาด การบรหิ ารจัดการกลมุ่ รวมถงึ การพัฒนาศกั ยภาพ ของสมาชิกกลุ่มเพ่ือให้สามารถบริหารจัดการกลุ่มให้ด�ำรงอยู่ได้และเป็นแหล่งการสร้างรายได้และ อาชีพเสริม ใหเ้ ศรษฐกจิ ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ภายใต้กระแสการเปล่ียนแปลงในยุคปจั จุบัน ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการน�ำผลการศกึ ษาวิจยั ไปใช้ 1. ชมุ ชนควรนำ� แนวทางการพฒั นามาปรบั ใชใ้ นการลดตน้ ทนุ วถิ กี ารผลติ ดา้ นการเกษตร การ วเิ คราะหต์ น้ ทนุ การผลติ การลดรายจา่ ยในครวั เรอื น และสรา้ งความมนั่ คงดา้ นอาหารใหก้ บั ครอบครวั ใหเ้ กดิ การสร้างกระบวนการเรยี นรู้ เพ่อื ใหช้ มุ ชนเกดิ การพฒั นาอย่างเปน็ ระบบและย่งั ยนื ต่อไป 2. ชุมชนมีศักยภาพในการผลิตท่ีหลากหลายและสามารถต่อยอดการพัฒนาวิถีการผลิตด้าน หตั ถกรรมให้เกดิ รายได้ ควรทบทวนและนำ� วิทยาการความร้แู ละนวัตกรรมใหม่มาพัฒนาให้เกิดมลู ค่า จากตน้ ทุนทีเ่ ปน็ องคค์ วามรทู้ รัพยากรทางวฒั นธรรม และวิถีชวี ิตของชมุ ชน 3. ชมุ ชนควรนำ� ผลการวจิ ยั ไปทบทวนการจดั การทอ่ งเทยี่ วของชมุ ชนใหเ้ กดิ การบรหิ ารจดั การ ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการแลกเปล่ียนประสบการณ์ร่วมกับเครือข่ายการบริหารจัดการท่องเท่ียว โดยชมุ ชน

แนวทางการพฒั นาวิถีการผลติ ของชมุ ชน 71 ณัฐธิดา จุมปา และคณะ 4. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพ้ืนท่ี เช่น องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่สลองนอกและ ส�ำนักงานเกษตรอำ� เภอแม่ฟ้าหลวง ควรน�ำฐานขอ้ มูลผลการวิจัยไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนใหเ้ กดิ ความมง่ั ค่ังและยง่ั ยนื ตอ่ ไป ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาวจิ ัยคร้ังตอ่ ไป 1. ควรศกึ ษาและพฒั นาศกั ยภาพการบรหิ ารจดั การสนิ คา้ เกษตรของเกษตรกรตำ� บลแมส่ ลอง นอก อำ� เภอแมฟ่ า้ หลวง จงั หวดั เชยี งราย เนอื่ งจากชมุ ชนมอี าชพี หลกั คอื เกษตรกรรม มผี ลผลติ ทง้ั พชื ไร่ พืชสวนและพืชผัก โดยมุ่งการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการต้ังแต่ต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ จนผลผลิตทางการเกษตรของเกษตรกรไปถงึ ผู้บรโิ ภคอย่างมีประสิทธภิ าพ 2. ควรศึกษาแนวทางการเสริมสร้างและพัฒนาแผนการตลาดสินค้าเกษตรของเกษตรกรใน พื้นทตี่ �ำบลแม่สลองนอก เอกสารอ้างอิง Chaikaew, A. (2017). Increasing the potentialities of production and marketing management of mushroom products of ruamjaiphopeang community business group at cholae sub-district, Mae Taeng district, Chiang Mai province. Ph.D. in Social Sciences Journal, 7(1), 35-40. [in Thai] Chumpa, N. (2019). The driving of the tourism management based on the social capital of ethnic communities in Maesalong-Nok sub district, Mafahluang district Chiang Rai province (Research report). Chiang Rai: Chiang Rai Rajabhat University. [in Thai] Mae Salong Nok Subdistric Administrative Organization. (2019). Mae Salong Nok sub district development plan. Chiang Rai: Mae Salong Nok Administrative Organization. [in Thai] Ministry of Industry. (2019). Type of innovation. Retrieved from http://library.dip.go.th/ Industrial%20Innovation/www/inno1-06.html [in Thai] Pongnirundorn, S., Buatham, O., & Yodsuwan, C. (2016). Guidelines for effective development in tourism management of Wang Nam Khiao district, Nakhon Ratchasima province. MBA-KKU Journal, 9(1), 252-253. [in Thai] Poungprayong, K., & Chantaranamchoo, N. (2013). The development approach of small and micro community enterprise processing and product group Samutsongkram province. Silpakorn Educational Research Journal, 5(1), 108-120. [in Thai] Singthanasarn, P. (2017). Factors affecting the community economic development in area Mae-Wong tambon, Mae-Wong district, Nakhon Sawan province. Ph.D. in Social Sciences Journal, 7(1), 32-45. [in Thai]

วารสารหาดใหญว่ ชิ าการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 72 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 Techaatik, S. (2001). The summary of the report on the synthesis of the strength of the sub-district community: Case of Nongjangyai sub district, Buayai district, Nakhon Ratchasima province. Khon kaen: Khon Kaen University. [in Thai] __________. (2002). Research for community strengthening. The document of academic seminar on local community economic research: Northern Thailand (Research report). Phitsanulok: Naresuan University. [in Thai] Thungsakul, N. (2013). A study on potential for Tai-Sak ethnic tourism development at Ban Bha-wa, Tha-Ruea district, amphur Na-wa, Nakhonphanom province (Research report). Khon Kaen: Khon Kaen University. [in Thai] Watcharakiettisak, T. (2016). Community economic strengthening by developing community enterprise group at tambon Polsongkram administration organization, Nonsung district, Nakhonratchasima province. Journal of Business Administration The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand Vongchavalitkul University, 5(1), 52-53. [in Thai]

บทควา มวิจัย รูปแบบของปจั จัยควบคุมสขุ ภาวะทางการเงินของผูม้ รี ายได้ในภาคตะวันออก เฉียงเหนอื ของประเทศไทย iAnMNoodrtehleoafsFteacrntoTrshCaiolanntrdolling the Financial Well-being of Earners อธิต ทิวะศะศิธร1์ *, นราทิพย์ ชตุ วิ งศ1์ , บุษยา วงษ์ชวลิตกุล2, และ พทิ ยา ผ่อนกลาง1 Atit Tiwasasit1*, Naratip Chutivong1, Bussaya Vongchavalitku2, and Pittaya Ponklang1 Abstract This research examines the influence of personal factors regarding financial status, socialization, financial literacy, financial self-efficacy, and financial behavior on financial well-being and studies the causal relationship between factors that control the financial well-being of the earners. The application of two-stage sampling obtained a cluster of 506 income earners who are income earners registered in the social security registration system of the Northeastern region. The data were analyzed using structural equation modeling. The results show that financial behavior has a direct impact on financial well-being. Other indirect influential factors on financial well-being, with respective levels of significance, 1คณะบริหารธุรกจิ มหาวทิ ยาลยั วงษ์ชวลติ กุล ต.บา้ นเกาะ อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000, 2หลักสตู รบรหิ ารธุรกิจ มหาบัณฑติ วิทยาลยั เซาธ์อีสทบ์ างกอก แขวงบางนา เขตบางนา กรงุ เทพมหานคร 10260 1Faculty of Business Administration, Vongchavalitkul University, Bankow Sub-district, Mueang District, Nakornratchasima Province 30000, 2Master of Business Administration Program, Southeast Bangkok College, Bangna Sub-district, Bangna District, Bangkok 10260 *ผู้ใหก้ ารติดต่อ (Corresponding e-mail: [email protected]) รบั บทความวันท่ี 18 มนี าคม 2563 แกไ้ ขวันท่ี 20 กรกฎาคม 2563 รบั ลงตีพมิ พว์ ันที่ 23 กรกฎาคม 2563 Hatyai Academic Journal 19(1): 73-92

วารสารหาดใหญ่วชิ าการ 19(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2564 74 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 include financial behavior, financial literacy, and socialization. It is further revealed that financial literacy and financial self-efficacy have a significant direct impact on financial behavior. The model of factors controlling the financial well-being of the income earners fits with the empirical data. The results suggest that financial literacy and financial self-efficacy can provide desirable financial behavior which can lead to good financial well-being. Therefore, the government and private sectors should support and promote financial literacy to help income earners to have good financial well-being. The promotion is to help to build a financial habit of saving, investing, and ensuring financial risk among the earners including channels to access the financial knowledge with ease and accuracy. Keywords: Financial Well-Being, Financial Behavior, Financial Literacy, Financial Self-Efficacy บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาอิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงิน การขัดเกลาทางสังคม ความรอบรู้ทางการเงิน การรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงิน และ พฤติกรรมทางการเงิน ท่ีมีต่อสุขภาวะทางการเงิน และหารูปแบบความสัมพันธ์ของปัจจัยควบคุม สุขภาวะทางการเงนิ ของผูม้ รี ายได้ ใช้วิธีการส่มุ ตวั อย่าง 2 ขั้นตอน ไดก้ ลมุ่ ตัวอย่างผู้มรี ายไดท้ ี่อยใู่ น ระบบประกนั สงั คมในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย จำ� นวน 506 คน และทำ� การวเิ คราะห์ ข้อมลู ใชว้ ิธีการวเิ คราะห์สมการโครงสร้าง จากการวจิ ยั พบวา่ พฤตกิ รรมทางการเงนิ มีอิทธพิ ลทางตรง ต่อสุขภาวะทางการเงิน สว่ นปัจจยั อ่นื ๆ มีอทิ ธพิ ลทางอ้อมตอ่ สุขภาวะทางการเงนิ โดยทพ่ี ฤติกรรม ทางการเงนิ มอี ิทธพิ ลตอ่ สุขภาวะทางการเงินมากท่ีสุด รองลงมา คอื ความรอบรทู้ างการเงิน และการ ขัดเกลาทางสังคม นอกจากนี้ ยังพบว่าความรอบรู้ทางการเงินและการรับรู้ความสามารถของตนเอง ทางการเงนิ มอี ทิ ธพิ ลอยา่ งมากตอ่ พฤตกิ รรมทางการเงนิ อกี ดว้ ย และรปู แบบของปจั จยั ควบคมุ สขุ ภาวะ ทางการเงินของผู้มีรายได้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ จึงมี ขอ้ แนะนำ� วา่ การมพี ฤตกิ รรมทางการเงนิ ทด่ี จี ะทำ� ใหม้ สี ขุ ภาวะทางการเงนิ ทดี่ ี และพฤตกิ รรมทางการเงนิ ท่ีดีมีผลมาจากความรอบรู้ทางการเงิน รวมทั้งการรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงิน ดังน้ัน ภาครัฐและภาคเอกชนควรส่งเสริมความรอบรู้ทางด้านการเงิน เพ่ือช่วยให้ผู้มีรายได้มีสุขภาวะ ทางการเงินท่ีดี สรา้ งนสิ ยั การออมการลงทนุ และการประกนั ความเสยี่ งทางการเงนิ ของกลมุ่ ผมู้ รี ายได้ เพมิ่ ขน้ึ รวมทัง้ มีช่องทางให้ผู้มรี ายได้เขา้ ถงึ ความร้ทู างการเงนิ ได้โดยงา่ ยและถูกต้อง ค�ำส�ำคัญ: สุขภาวะทางการเงิน พฤติกรรมทางการเงิน ความรอบรู้ทางการเงิน การรับรู้ ความสามารถของตนเองทางการเงนิ

ปัจจัยควบคุมสขุ ภาวะทางการเงินของผมู้ ีรายได้ 75 อธติ ทวิ ะศะศิธร์ และคณะ บทน�ำ ในอดตี ประชาชนชาวไทยมีอาชพี หลัก คือ เกษตรกรรมและมวี ิถชี วี ติ ที่เรียบงา่ ยไม่ยงุ่ ยาก แต่ หลังจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเข้ามามีบทบาทในภาคการผลิต โดยเฉพาะภาคเกษตรกรรม ผนวกกบั นโยบายการพฒั นาเศรษฐกจิ แหง่ ชาตทิ มี่ งุ่ เนน้ ภาคอตุ สาหกรรมมากขน้ึ ทำ� ใหบ้ รบิ ทของสงั คม เปลยี่ นแปลงไป การเกษตรกรรมมิไดเ้ ป็นแหลง่ รายไดห้ ลกั ของครัวเรือนส่วนใหญ่อีกตอ่ ไป (Potisita, 2012) การเปลย่ี นแปลงสงั คมการเกษตรสสู่ งั คมอตุ สาหกรรมการผลติ และการบรกิ ารทำ� ใหว้ ถิ ชี วี ติ ของ ประชาชนชาวไทยเปล่ียนแปลงไป จากเดิมท่ีเคยประกอบอาชีพการเกษตรอยู่ในภูมิล�ำเนาของตน ประชาชนวยั ทำ� งานกลบั ไหลสภู่ าคอตุ สาหกรรม ภาคการบรกิ าร และเขา้ มาทำ� งานในเมอื งใหญม่ ากขนึ้ (Noonin & Phuangprayong, 2018) การเปลีย่ นแปลงเหล่าน้สี ง่ ผลตอ่ ประชาชน ทำ� ให้ต้องรจู้ กั การ จดั การเกย่ี วกบั การเงนิ ของตนเพอ่ื ใหเ้ พยี งพอกบั ความจำ� เปน็ และความตอ้ งการในการดำ� เนนิ ชวี ติ ของ ตนเองและครอบครวั นบั ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2557 การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของประเทศมกี ารชะลอตวั ประกอบกับค่าครองชีพทสี่ ูงขน้ึ และอัตราการวา่ งงานซ่ึงคอ่ นข้างทรงตัวและมแี นวโนม้ เพมิ่ ขึน้ (Bank of Thailand, 2017) ปญั หาทางเศรษฐกจิ เหล่านจ้ี ะส่งผลกระทบโดยตรงกบั รายรับและรายจ่ายของ ประชาชนทท่ี ำ� งานในทกุ ภาคสว่ น ซงึ่ ทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาในการบรหิ ารจดั การทางการเงนิ และอาจเกดิ ผลเสยี ตอ่ การมสี ุขภาวะทางการเงนิ ทั้งในปจั จุบันและอนาคตของผทู้ ท่ี �ำงานเพื่อหารายไดใ้ นประเทศไทย ปัญหาด้านการจัดการทางการเงินในระดับบุคคลของประเทศไทยนั้นมีมาอย่างยาวนาน ประชาชนส่วนใหญ่ยังคงขาดความเข้าใจในการจัดการการเงินส่วนบุคคล มีการใช้จ่ายหรือก่อหนี้สิน เกินตัว ขาดวินัยทางการเงิน รวมท้ังไม่มีความสามารถเพียงพอในการจัดการทางเลือกทางการเงินได้ อย่างมเี หตผุ ลและเกิดอรรถประโยชนส์ ูงสดุ (The Committees of The Nation Reform Steering Assembly, 2016) อีกท้ัง คนไทยโดยเฉล่ียมีความรู้ทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ต่�ำและยังไม่เพียงพอต่อ การนำ� ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถบรหิ ารจดั การทางการเงนิ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (Bank of Thailand, 2014) จากผลการส�ำรวจทักษะทางการเงินของไทยครั้งล่าสุดโดยธนาคารแห่ง- ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2559 แม้จะพบว่าประชาชนมีความรู้ทางด้านการเงินสูงขึ้นจากการส�ำรวจ ครง้ั ทผี่ า่ นมา แตย่ งั อยใู่ นระดบั คอ่ นขา้ งตำ่� อกี ทง้ั ขาดการตง้ั เปา้ หมายระยะยาวและการดแู ลบรหิ ารเงนิ ของตนเองอยา่ งใกลช้ ดิ (Bank of Thailand, 2017) นอกจากนี้ จากขอ้ มลู สถติ ขิ องสำ� นกั งานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ พบว่ารายไดเ้ ฉลยี่ ของครัวเรือนในปี พ.ศ. 2562 เพม่ิ ขน้ึ เปน็ 26,946 บาทต่อเดือน จาก 26,915 บาทต่อเดือน ในชว่ งเวลาเดียวกันในปี พ.ศ. 2558 แต่การเพมิ่ ขึน้ ของสดั สว่ นคนจน หนค้ี รวั เรอื นเพอ่ื การอปุ โภคบรโิ ภค มคี า่ เพมิ่ ขนึ้ ทำ� ใหค้ วามกา้ วหนา้ ดา้ นรายไดล้ ดลง โดยในปี พ.ศ. 2562 ครวั เรอื นทมี่ หี นส้ี นิ มสี ดั สว่ น รอ้ ยละ 36.56 ของครวั เรอื นทง้ั หมด เพม่ิ จากรอ้ ยละ 34.46 ในปี พ.ศ. 2558 (Office of the National Economic and Social Development Council, 2018) ประกอบกับการเข้าถึงแหล่งเงินกู้ยืมได้ง่ายข้ึน ท�ำให้คนไทยมีภาระหนี้สินส่วนบุคคลและใน ระดับครัวเรือนเพ่ิมข้ึนแม้จะมีปริมาณการออมที่เพ่ิมขึ้นก็ตาม ช้ีให้เห็นถึงปัญหาด้านพฤติกรรม ทางการเงินของประชาชนชาวไทยในดา้ นการใชจ้ า่ ยและการวางแผนทางการเงนิ และอาจสง่ ผลตอ่ ไป

วารสารหาดใหญว่ ิชาการ 19(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2564 76 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 ถงึ ปญั หาด้านสขุ ภาวะทางการเงินในระยะยาวอีกด้วย จากปญั หาทางเศรษฐกจิ ในภาพรวม ทำ� ใหก้ ารศกึ ษาเกยี่ วกบั พฤตกิ รรมทางการเงนิ สว่ นบคุ คล ได้รับความสนใจจากนักวิจัยมากข้ึน และการศึกษาเก่ียวกับสุขภาวะทางการเงินของบุคคลนั้นยังมี อยบู่ า้ ง เชน่ Brounen, Koedijk, and Pownall (2016) ไดศ้ กึ ษาพบวา่ อทิ ธพิ ลของการรบั รคู้ วามสามารถ ทางการเงนิ ของตนเองและพฤตกิ รรมดา้ นการออมมผี ลตอ่ ความเพยี งพอในการออมเพอื่ การเกษยี ณอายุ และ Farrell, Fry, and Risse (2016) ได้ศึกษาพบวา่ ลกั ษณะทางประชากรศาสตร์และสงั คม และ การรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงินมีผลต่อรูปแบบการออมและการลงทุนของสตรีชาว ออสเตรเลยี สว่ นในประเทศไทย Nusith, Rachapradit, Jampachisri, and Adereksombat (2014) ไดศ้ กึ ษาพบวา่ พฤตกิ รรมการออมเปน็ ปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ความเพยี งพอจากการออมเพอ่ื เตรยี มเกษยี ณ ของคนท�ำงานทัง้ ภาครัฐบาลและเอกชนในประเทศไทย และธนาคารแหง่ ประเทศไทยไดส้ ำ� รวจทกั ษะ ทางการเงินของประชาชนชาวไทย พบว่าประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีคะแนนเฉล่ียด้าน ความรู้และทักษะทางการเงินต�่ำท่ีสุด (Bank of Thailand, 2017) เห็นได้ว่า ส่วนใหญ่นักวิจัยด้าน การเงินส่วนบุคคลนิยมศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการออมและการลงทุนของบุคคลและความพึงพอใจ ต่อผลท่ีเกิดจากการออมของบุคคล ซึ่งการออมและการลงทุนน้ันเป็นเพียงส่วนหน่ึงของการวางแผน การเงินส่วนบุคคล และความพึงพอใจในปริมาณเงินออมเป็นเพียงปัจจัยหนึ่งที่แสดงถึงสุขภาวะ ทางการเงิน ในวิจัยคร้ังน้ีคณะผู้วิจัยจึงศึกษาถึงปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อสุขภาวะการเงินส่วนบุคคลแบบ องคร์ วม โดยทบทวนแนวคดิ ทฤษฎที เี่ กย่ี วขอ้ งกบั ปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ สขุ ภาวะทางการเงนิ ของผมู้ รี ายได้ ซง่ึ ประกอบด้วย ความรอบรู้ทางด้านการเงนิ การมีพฤติกรรมและแนวคิดเก่ยี วกับการจัดการการเงนิ การก�ำหนดเป้าหมายและการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายน้ัน และเพ่ือให้เกิดความเข้าใจถึงรูปแบบ ของอิทธพิ ลของปจั จัยต่าง ๆ ทสี่ ่งผลตอ่ สขุ ภาวะทางการเงินของบคุ คลได้ชดั เจนยิ่งข้นึ จงึ จำ� เปน็ ต้อง ทำ� การศกึ ษาเรอ่ื งรปู แบบของปจั จยั ควบคมุ สขุ ภาวะทางการเงนิ ของผมู้ รี ายได้ โดยคณะผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษา ขอ้ มลู จากผมู้ รี ายไดซ้ ง่ึ เปน็ ผปู้ ระกนั ตนในระบบประกนั สงั คมตามมาตราท่ี 33 ของสำ� นกั งานประกนั สงั คม และการวิจัยครั้งน้ีได้ท�ำการวิจัยในพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซ่ึงเป็นภูมิภาคท่ี ประชาชนมผี ลคะแนนจากการส�ำรวจทกั ษะทางการเงินนอ้ ยกวา่ ภูมิภาคอื่น ๆ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ศกึ ษาอิทธิพลของปจั จยั สว่ นบุคคลดา้ นสถานะทางการเงิน ปจั จัยด้านการขัดเกลาทาง สังคม ความรอบรู้ทางการเงิน การรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงิน พฤติกรรมทางการเงิน ท่ีมีผลต่อสขุ ภาวะทางการเงินของผมู้ รี ายไดใ้ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของประเทศไทย 2. เพ่ือพัฒนาแบบจ�ำลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยควบคุมสุขภาวะทางการเงินของ ผมู้ ีรายได้ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย กรอบแนวคิด การวิจัยเรื่องรูปแบบของปัจจัยควบคุมสุขภาวะทางการเงินครั้งน้ี ผู้วิจัยได้ท�ำการทบทวน วรรณกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งจากหนงั สอื ตำ� รา บทความวชิ าการ และงานวจิ ยั ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ

ปัจจยั ควบคุมสุขภาวะทางการเงินของผู้มีรายได้ 77 อธติ ทิวะศะศิธร์ และคณะ เพ่ือให้ทราบถึงแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และมีอิทธิพลต่อสุขภาวะทางการเงิน ของบคุ คล โดยจากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ข้อมูลสว่ นบุคคลท้ังดา้ นการขดั เกลาทางสงั คมและ เศรษฐกิจมักถูกน�ำมาใช้เป็นตัวเหตุในการศึกษาด้านพฤติกรรมทางการเงินและสุขภาวะทางการเงิน ปัจจัยด้านความรอบรู้ทางการเงิน ปัจจัยด้านการเงินเชิงจิตวิทยา และปัจจัยพฤติกรรมทางการเงิน ด้านต่าง ๆ ของบุคคลถูกน�ำมาใช้ในการศึกษาเพ่ืออธิบายถึงสุขภาวะทางการเงินของบุคคล โดยการ วจิ ัยคร้งั น้ีได้กำ� หนดนยิ ามตวั แปรไว้ ดงั น้ี ปจั จยั สว่ นบคุ คลดา้ นสถานะทางการเงนิ (Personal Financial Status) หมายถงึ ความแตกตา่ ง ของบคุ คลเกย่ี วกบั ฐานะทางการเงิน ซึ่งการวจิ ยั คร้ังนพี้ ิจารณาจาก รายได้ ค่าใช้จา่ ย และภาระหนี้สนิ ของแต่ละบคุ คลเป็นการแสดงถงึ ความแตกต่างของสถานะทางการเงนิ ของแตล่ ะบุคคล ซ่งึ พฒั นาจาก แนวคิดของ Asebedo (2016) การขดั เกลาทางสงั คม (Socialization) คอื การอบรมปลกู ฝงั ตงั้ แตว่ ยั เดก็ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ทศั นคติ ความรู้ ความเช่ือ และพฤติกรรม ซ่ึงท�ำให้เกิดทักษะและความเข้าใจทางการเงิน (Gutter, 2000) การขัดเกลาทางสังคมเกิดจากการได้รับความรู้จากการอบรมหรือการศึกษา การปรึกษาครอบครัว ผู้ใกล้ชิดหรอื ผมู้ คี วามรู้ รวมถงึ การเปดิ รบั ขอ้ มลู ขา่ วสารจากแหลง่ ขอ้ มลู หรอื สอื่ ตา่ ง ๆ ทง้ั เปน็ ทางการ และไม่เป็นทางการ ความรอบรู้ทางการเงิน (Financial Literacy) การวิจัยครั้งน้ีได้ประยุกต์จากแนวคิดของ Huston (2010) และ Xiao, Ford, and Kim (2011) โดยความรอบร้ทู างการเงนิ ประกอบดว้ ย ความ รอบร้เู ชิงปรนยั (Objective Financial Literacy) ซ่ึงเป็นการวัดความรูท้ างการเงนิ และการน�ำความรู้ ทางการเงินไปประยุกต์ใช้ และการวัดความรอบรู้ทางการเงินเชิงอัตนัย (Subjective Financial Literacy) ซึง่ เป็นการวัดความมน่ั ใจในความรทู้ างการเงนิ ของตนเอง การรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงิน (Financial Self-efficacy) การวิจัยครั้งนี้ ไดป้ ระยกุ ตจ์ ากแนวคดิ ของ Lown (2011) โดยใหค้ วามหมายวา่ เปน็ การควบคมุ ตนเองทางดา้ นการเงนิ และการรับรู้ความสามารถท่ีแท้จริงในการจัดการทางการเงินของตนเองท่ีจะช่วยให้บุคคลสามารถ จดั การทางการเงินในดา้ นต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ พฤติกรรมทางการเงิน (Financial Behavior) คือ การกระท�ำของบุคคลท่ีตอบสนองต่อ สถานการณ์ทางการเงินในปัจจุบันและการวางแผนเพื่อรองรับสถานการณ์ในอนาคต โดยเกิดจาก ความรู้และความเข้าใจทางการเงิน ความเช่ือม่ันและทัศนคติที่มีต่อสถานการณ์ทางการเงินน้ัน ซ่ึง การวิจัยคร้ังนเี้ ปน็ การศกึ ษาพฤตกิ รรมทางการเงนิ ใน 4 ด้าน คือ ด้านการจัดการเงนิ สด ด้านการออม และลงทุน ด้านการจัดการหน้ีสินส่วนบุคคล และด้านการประกันชีวิต โดยประยุกต์จากแนวคิดของ Dew and Xiao (2011) สขุ ภาวะทางการเงนิ (Financial Wellbeing) พฒั นาขนึ้ จากแนวคดิ ของ Kempson, Finney, and Poppe (2017) โดยสุขภาวะทางการเงิน คือ การที่บุคคลสามารถผ่านสถานการณ์ทางการเงิน ในแต่ละวันไปได้ รสู้ กึ มน่ั ใจในฐานะทางการเงนิ ทง้ั ในปจั จบุ นั และในอนาคต ทำ� ใหส้ ามารถเลอื กใชช้ วี ติ

วารสารหาดใหญว่ ิชาการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 78 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 ได้อย่างมคี วามสุข การวดั และประเมินสุขภาวะทางการเงนิ ของบุคคลจึงตอ้ งวัดทงั้ ด้านความพึงพอใจ ในสถานการณท์ างการเงนิ ของบคุ คล และความเพยี งพอของจำ� นวนเงนิ ทม่ี สี ำ� หรบั ปจั จบุ นั และอนาคต การวิจยั ครั้งน้ี คณะผวู้ จิ ยั ได้ทำ� การทบทวนวรรณกรรมและศึกษาทฤษฎที เี่ กีย่ วข้อง น�ำมาซง่ึ การกำ� หนดขอ้ สมมตฐิ านเก่ยี วกบั ปจั จัยควบคมุ สขุ ภาวะทางการเงินของผมู้ ีรายได้ ดงั น้ี สมมติฐานท่ี 1 ปัจจัยส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงินมีอิทธิพลทางตรงต่อความรอบรู้ ทางการเงิน สมมติฐานท่ี 2 ปัจจัยส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงินมีอิทธิพลทางตรงต่อการรับรู้ความ สามารถของตนเองทางการเงิน สมมตฐิ านที่ 3 ปจั จัยการขดั เกลาทางสงั คมมีอิทธิพลทางตรงต่อความรอบรทู้ างการเงนิ สมมติฐานท่ี 4 ปัจจัยการขัดเกลาทางสังคมมีอิทธิพลทางตรงต่อการรับรู้ความสามารถของ ตนเองทางการเงิน สมมติฐานท่ี 5 ความรอบรทู้ างการเงินมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤตกิ รรมทางการเงิน สมมติฐานที่ 6 การรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงินมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรม ทางการเงิน สมมตฐิ านท่ี 7 พฤตกิ รรมทางการเงินมีอิทธิพลทางตรงตอ่ สุขภาวะทางการเงิน การวิจัยครั้งน้ีได้น�ำแนวคิดของ Kempson et al. (2017) มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา กรอบแนวคิด โดยก�ำหนดให้ปัจจัยส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงินและการขัดเกลาทางสังคมเป็น ตัวแปรแฝงภายนอก และความรอบรูท้ างการเงนิ การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงินซึ่งเป็น แนวคดิ ดา้ นการเงนิ เชงิ จติ วทิ ยา พฤตกิ รรมทางการเงนิ และสขุ ภาวะทางการเงนิ เปน็ ตวั แปรแฝงภายใน ปัจจัยส่วนบคุ คล H1 ด้านสถานะทาง การเงนิ H2 ความรอบรู้ H5 ทางการเงนิ พฤตกิ รรมทาง การรับรู้ความสามารถ การเงนิ สขุ ภาวะทาง ของตนเองทางการเงนิ การเงนิ H6 H4 H7 H3 การขดั เกลาทาง สงั คม รูปท่ี1 รูปแบบของปัจจัยควบคุมสุขภาวะทางการเงินของผู้มีรายได้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศไทย

ปัจจยั ควบคมุ สุขภาวะทางการเงนิ ของผูม้ รี ายได้ 79 อธติ ทวิ ะศะศิธร์ และคณะ วิธกี ารวิจัย ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ประชากรในการวจิ ยั ครง้ั นี้ คอื ผมู้ รี ายไดซ้ งึ่ เปน็ ผปู้ ระกนั ตนในระบบประกนั สงั คมตามมาตรา 33 (ภาคบังคับ) ของส�ำนักงานประกันสังคมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย จากข้อมูล ปี พ.ศ. 2560 มีจำ� นวน 924,693 คน (Ministry of Labor, 2017) คณะผู้วิจยั เลือกกล่มุ ตัวอยา่ งโดย ใชผ้ ู้มีรายได้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ�ำนวน 506 คน ก�ำหนดจากเกณฑ์ส�ำหรับการเลือกตัวอย่าง ในการวเิ คราะหโ์ มเดลสมการโครงสรา้ ง (SEM) คอื ขนาดของตวั อยา่ งจะเทา่ กบั 10-20 เทา่ ของตวั แปร สังเกตได้ (Schumacker & Lomax, 2010) โดยการวิจัยครัง้ น้มี ตี วั แปรทส่ี ังเกตได้ 22 ตัวแปร จึงควร มกี ลมุ่ ตวั อยา่ ง 440 คน และเพอื่ ใหเ้ ปน็ ตวั แทนทด่ี จี งึ ไดเ้ พมิ่ กลมุ่ ตวั อยา่ งอกี รอ้ ยละ 10-15 (Hair, Black, Babin, & Anderson, 2014) รวมเป็น 506 คน ผู้วิจัยท�ำการสุ่มแบบสองขั้นตอน (Two-stage- sampling) โดยขน้ั ที่ 1 ท�ำการสุม่ พ้ืนที่โดยการสุม่ แบบอาศยั ความนา่ จะเป็นเพอื่ เลอื กพื้นท่ีศกึ ษา 8 จังหวัด จากจังหวดั ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวดั โดยการจับฉลาก ขัน้ ท่ี 2 เปน็ การแบ่ง จ�ำนวนตัวอย่างโดยเทียบสัดส่วนจากประชากรผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมตามมาตรา 33 (ภาคบังคับ) ของสำ� นกั งานประกันสงั คมในจังหวดั ที่เปน็ พน้ื ท่เี กบ็ ข้อมลู เพอื่ ให้ได้กลมุ่ ตวั อยา่ งจ�ำนวน 506 ตวั อยา่ ง และทำ� การสมุ่ ตวั อยา่ งอยา่ งงา่ ย (Simple Random Sampling) เพอ่ื เลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ ง ผู้มีรายได้ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 แสดงจำ� นวนกลุม่ ตวั อยา่ งผูม้ รี ายได้แยกตามจังหวัด จงั หวัด จำ� นวนผูป้ ระกนั ตนท้ังหมด รอ้ ยละ จ�ำนวนตวั อยา่ ง นครราชสีมา 266,465 43.10 213 ชัยภมู ิ 30,599 5.00 26 ขอนแก่น 138,404 22.40 114 สุรินทร์ 41,839 6.76 35 บรุ รี มั ย์ 46,037 7.45 38 มหาสารคาม 31,237 5.05 27 ร้อยเอด็ 35,959 5.82 30 กาฬสนิ ธ์ุ 27,312 4.42 23 รวม 617,852 100.00 506

วารสารหาดใหญ่วชิ าการ 19(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2564 80 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 การสร้างแบบสอบถาม เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบวดั ความรู้ ซงึ่ ผู้วิจยั ไดพ้ ฒั นาขึน้ จากการ ทบทวนวรรณกรรมและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้อง โดยแบบสอบถามแบ่งเป็น 6 สว่ น ประกอบดว้ ย ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผู้ตอบคำ� ถามแบบเลอื กตอบ ส่วนที่ 2-6 เปน็ แบบสอบถามวดั ตัวแปรแฝงภายในและ ตวั แปรแฝงภายนอก จำ� นวน 6 ตวั แปร คอื สถานะทางการเงนิ สว่ นบคุ คล การขดั เกลาทางสงั คม ความ รอบร้ทู างการเงิน การรบั รู้ความสามารถของตนเองทางการเงนิ พฤตกิ รรมทางการเงนิ และสขุ ภาวะ ทางการเงนิ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงิน ปรับปรุงเครื่องมือมาจากแนวคิดของ Asebedo (2016) และ Kempson et al. (2017) โดยสอบถามถงึ รายไดเ้ ฉลย่ี ต่อเดอื น ค่าใชจ้ า่ ยเฉลยี่ ต่อเดอื น และหนี้สินเฉลี่ยต่อเดือน ในช่วงปี พ.ศ. 2560-2561 แบบวัดท่ีใช้เป็นแบบสอบถามแบบมีตัวเลือก โดยเลือกค�ำตอบทีต่ รงกบั ความเป็นจริงมากทีส่ ดุ ตวั อย่างค�ำถาม ข้อ 1. ท่านมีรายได้เฉลย่ี ต่อเดอื นประมาณเดือนละเท่าใด การขัดเกลาทางสังคม ปรบั ปรงุ เครือ่ งมอื มาจากแนวคิดของ Fluellen (2013) และ Xiao and Porto (2017) โดยวดั จากการไดร้ บั การอบรมหรอื การศกึ ษาทางดา้ นการเงนิ การไดร้ บั คำ� แนะนำ� หรอื การปรกึ ษาดา้ นการเงนิ จากบคุ คลตา่ ง ๆ และการรบั ขอ้ มลู ขา่ วสารทางการเงนิ รปู แบบการวดั แบบ ค�ำถามเดี่ยว มาตรวัด 5 ระดับ ต้ังแต่ “บ่อยที่สุด” จนถึง “น้อยท่ีสุด” มีค่าคะแนนระหว่าง 5 ถึง 1 ผู้ท่ีมีคะแนนสูง แสดงว่าเป็นผ้ทู ่ีไดร้ ับการขัดเกลาทางสงั คมมาก ดงั ตวั อยา่ งค�ำถาม ขอ้ 1. ทา่ นเคยได้รับค�ำแนะน�ำปรึกษาจากบุคคลในครอบครวั เชน่ พอ่ แม่ คูส่ มรส เมื่อตอ้ ง เผชญิ กบั สถานการณท์ างการเงนิ เชน่ การกยู้ มื การลงทนุ การประกนั ชวี ติ หรอื การวางแผนทางการเงนิ บอ่ ยหรือไม่ ความรอบรู้ทางการเงิน ในการวจิ ัยครง้ั นีว้ ัดความรอบรู้จะวัดใน 2 ลักษณะ คอื ความรอบรู้ ทางการเงินเชิงปรนัย (Objective Financial Literacy) และความรอบรู้ทางการเงินเชิงอัตนัย (Subjective Financial Literacy) โดยความรอบรู้ทางการเงินเชิงปรนัยเป็นการวัดความรอบรู้ ซ่ึงเกิดจากความร้แู ละการประยุกตใ์ ช้ความร้ทู างการเงนิ ใน 4 ด้าน คอื 1) ความรพู้ ้ืนฐานทางการเงิน 2) การกยู้ มื และการจำ� นอง 3) การออมและลงทนุ 4) การปอ้ งกนั ความเสย่ี งทางการเงนิ โดยใชแ้ บบวดั ความรทู้ างการเงนิ ทงั้ 4 ดา้ น โดยพฒั นาเครอื่ งมอื จากแนวคดิ ของ Huston, 2010 และ Rooij, Lusardi, and Alessie (2012) ดงั ตัวอยา่ งคำ� ถาม ข้อ 1. ความมง่ั คงั่ สุทธขิ องบคุ คลวดั ไดจ้ ากขอ้ ใด (วดั ความรพู้ ื้นฐานทางการเงิน) ก. สนิ ทรัพย์รวม ข. สินทรัพย์รวม บวกด้วย หน้สี ิน ค. สนิ ทรพั ยร์ วม ลบดว้ ย หนสี้ นิ ขอ้ 2. ถ้าสนิ ทรพั ย์ของคุณเพมิ่ ขึ้น 5,000 บาท และหน้ีสนิ ของคณุ เพิม่ ขนึ้ 3,000 บาท ความ มัง่ ค่งั สทุ ธขิ องคณุ จะเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร (วัดการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้พืน้ ฐานทางการเงิน) ก. เพ่ิมข้ึน 2,000 บาท ข. เพ่มิ ขึน้ 8,000 บาท ค. เพ่ิมข้ึน 3,000 บาท

ปจั จัยควบคุมสุขภาวะทางการเงินของผูม้ รี ายได้ 81 อธิต ทวิ ะศะศิธร์ และคณะ ส่วนการวัดความรอบรู้ทางการเงินเชิงอัตนัยเป็นการวัดความเช่ือม่ันในความรู้และทักษะ ทางการเงินท่ีบุคคลมี ใช้รูปแบบการวัดแบบค�ำถามเด่ียว โดยถามถึงความมั่นใจในความรู้และทักษะ ทางการเงนิ ดา้ นต่าง ๆ ทงั้ 4 ด้าน เป็นคำ� ถามมาตรวัด 5 ระดบั โดย 5 หมายถงึ “มากที่สดุ ” และ 1 หมายถึง “นอ้ ยที่สดุ ” ดังตวั อย่างคำ� ถาม ขอ้ 1. จากแบบวดั ความรพู้ น้ื ฐานดา้ นการเงนิ ทา่ นมคี วามเชอื่ มน่ั ในความรพู้ นื้ ฐานดา้ นการเงนิ ในระดับใด การรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงิน ได้พัฒนาข้อค�ำถามจากแนวคิดของ Lown (2011) เพ่ือวัดความเชื่อม่ันในตนเองต่อความสามารถในการท�ำกิจกรรมด้านการเงิน เป็นค�ำถาม มาตรวัด 5 ระดับ โดย 5 หมายถึง “มากทีส่ ดุ ” และ 1 หมายถึง “นอ้ ยที่สุด” ดังตวั อย่างค�ำถาม ข้อ 1. ทา่ นมีความเชอ่ื มั่นวา่ จะสามารถท�ำตามเป้าหมายทางการเงนิ ของทา่ นไดใ้ นระดบั ใด ขอ้ 2. ท่านมคี วามเช่อื ม่ันวา่ จะสามารถจ่ายคนื เงินก้ตู ามเง่ือนไขสัญญาได้ในระดับใด พฤตกิ รรมทางการเงนิ เปน็ การวดั ระดบั พฤตกิ รรมทางการเงนิ สว่ นบคุ คล 4 ดา้ น คอื 1) พฤตกิ รรม ด้านการออมและการลงทุน 2) พฤติกรรมการบริหารเงินสด 3) พฤติกรรมการจัดการหนี้สิน และ 4) พฤติกรรมการปอ้ งกนั ความเสย่ี งทางการเงนิ โดยปรบั ปรงุ จากแนวคดิ ของ Dew and Xiao (2011) เปน็ ค�ำถามมาตรวัด 5 ระดับ โดย 5 หมายถึง “ปฏิบตั ิมากทสี่ ดุ ” และ 1 หมายถงึ “ปฏบิ ตั ินอ้ ยที่สุด” ดงั ตัวอย่างค�ำถาม ข้อ 1. ทา่ นเกบ็ ออมเงนิ สว่ นหนึง่ ไว้ส�ำหรับการเกดิ เหตกุ ารณ์ฉุกเฉนิ โดยสม�่ำเสมอ ข้อ 2. ทา่ นเปรียบเทยี บราคาสินคา้ กอ่ นซื้อสินค้านนั้ ๆ เปน็ ประจำ� สุขภาวะทางการเงิน เป็นการวัดสถานะทางการเงินของผู้บริโภคและครอบครัวท่ีเพียงพอ จะท�ำให้การด�ำเนินชีวิตมีความสุขท้ังในปัจจุบันและในอนาคต โดยพัฒนาเครื่องมือการวัดสุขภาวะ ทางการเงินจากแนวคดิ ของ Kempson et al. (2017) ซงึ่ วัด 3 ประเด็น คอื ประเดน็ ที่ 1 ความวิตก- กงั วลเกยี่ วกบั สถานการณท์ างการเงนิ ในปจั จุบนั และอนาคต เปน็ ค�ำถามแบบมาตรวัด 5 ระดับ โดย 5 หมายถงึ “เกดิ ขน้ึ มากทส่ี ดุ ” และ 1 หมายถงึ “เกดิ ขน้ึ นอ้ ยทส่ี ดุ ” ประเดน็ ที่ 2 ความมนั่ คงทางการเงนิ ของบคุ คล เปน็ คำ� ถามแบบมาตรวัดระดับความพึงพอใจ โดย 5 หมายถงึ “พึงพอใจมากทส่ี ดุ ” และ 1 หมายถงึ “พงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ ” ประเดน็ ที่ 3 การเตรยี มความพรอ้ มทางการเงนิ ในดา้ นการสะสมเงนิ ออม เปน็ คำ� ถามแบบมาตรวัด 5 ระดับ โดย 5 หมายถงึ “มากที่สดุ ” และ 1 หมายถงึ “นอ้ ยท่ีสดุ ” คณะผู้วจิ ัยไดต้ รวจสอบคุณภาพด้านความเท่ยี งตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยสง่ ให้ ผู้เช่ียวชาญเพ่ือตรวจสอบความถูกต้องและครอบคลุมของเน้ือหา จากน้ันน�ำผลท่ีได้ไปค�ำนวณหาค่า ดัชนีความสอดคล้อง (Item Objective Congruence Index: IOC) โดยขอ้ คำ� ถามทุกขอ้ มีคา่ ดัชนี ความสอดคลอ้ งอยรู่ ะหว่าง 0.60 - 1.00 จากนน้ั ทำ� การทดลองเก็บขอ้ มลู (Try Out) จำ� นวน 50 ชดุ โดยสอบถามจากผมู้ รี ายไดใ้ นระบบประกนั สงั คมนอกเขตภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และทดสอบหาคา่ ความเช่ือมั่น (Reliability) หรอื ความสอดคลอ้ งภายใน ดว้ ยสัมประสิทธแิ์ อลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) กำ� หนดนยั สำ� คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั 0.05 พบวา่ มคี า่ อยรู่ ะหวา่ ง 0.71 - 0.95

วารสารหาดใหญ่วิชาการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 82 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 ซง่ึ มคี า่ สงู กวา่ 0.70 จงึ ถอื วา่ มคี วามเชอ่ื ถอื ได้ (Wanichbancha, 2014) จงึ ไดน้ ำ� มาใชใ้ นการเกบ็ รวบรวม ข้อมูลต่อไป การรวบรวมข้อมูล คณะผวู้ จิ ยั ไดเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากผมู้ รี ายไดซ้ งึ่ เปน็ ผปู้ ระกนั ตนในระบบประกนั สงั คมมาตรา 33 ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื โดยการเกบ็ ขอ้ มลู จาก 8 จงั หวดั ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื โดยการสมุ่ ประกอบดว้ ย จงั หวดั นครราชสมี า ชยั ภมู ิ บรุ รี มั ย์ ขอนแกน่ สรุ นิ ทร์ มหาสารคาม รอ้ ยเอด็ และกาฬสนิ ธ์ุ โดยคณะผู้วิจัยได้ท�ำการเก็บแบบสอบถามด้วยตนเอง และส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ จ�ำนวน แบบสอบถามทไี่ ดร้ บั กลบั ทง้ั สนิ้ 506 ชดุ หลงั จากไดร้ บั แบบสอบถามกลบั คณะผวู้ จิ ยั ไดท้ ำ� การตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของขอ้ มลู จากนนั้ ลงรหสั และท�ำการบันทกึ ขอ้ มลู ตามล�ำดบั การวิเคราะห์ขอ้ มลู การวเิ คราะหโ์ ดยใชส้ ถติ เิ ชงิ พรรณนา เพอ่ื อธบิ ายลกั ษณะของขอ้ มลู ทว่ั ไป และปจั จยั สว่ นบคุ คล ดา้ นสถานะทางการเงนิ โดยใชค้ า่ รอ้ ยละ (Percentage) สว่ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ระดบั ปจั จยั การขดั เกลา ทางสงั คม ความรอบรดู้ า้ นการเงนิ การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ พฤตกิ รรมทางการเงนิ และสขุ ภาวะทางการเงนิ ใช้คา่ เฉล่ยี ( X ) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะหค์ ุณภาพ ของเครอื่ งมอื ในการวดั ตวั แปรแฝงใชส้ ถติ ขิ องบารท์ เลท (Bartlett’s Test of Sphericity) หากคา่ สถติ ิ ของบาร์ทเลทมีนัยส�ำคัญทางสถิติแสดงว่าเมทริกซ์สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ไม่เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ และดชั นไี กเซอร-์ ไมเยอร-์ ออลคนิ (Kaiser-Meyer-Olkin: KMO) มคี า่ อยรู่ ะหวา่ ง 0.50 - 1.00 แสดงวา่ ข้อมูลเหมาะสมที่จะท�ำการวิเคราะห์องค์ประกอบ การตรวจสอบตัวแปรว่ามีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) พิจารณาจากความเบ้ (Skewness) มีค่าไม่เกิน 3.00 และค่าความโด่ง (Kurtosis) มีค่าไม่เกิน 7.00 การหาทิศทางและขนาดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเพ่ือใช้เป็นข้อมูล พื้นฐานในการวิเคราะห์รูปแบบปัจจัยควบคุมสุขภาวะทางการเงินโดยการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สนั (Pearson’s Product-Moment Correlation Coefficient) และใช้เทคนิค วเิ คราะห์โมเดลสมการโครงสรา้ ง (Structural Equation Model: SEM) เพ่ือวิเคราะห์รูปแบบของ ปัจจัยควบคุมสุขภาวะทางการเงินของผู้มีรายได้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงก�ำหนดให้ปัจจัย ส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงิน และการขัดเกลาทางสังคม เป็นตัวแปรแฝงภายนอก ปัจจัยด้าน ความรอบรู้ทางการเงิน การรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงิน พฤติกรรมทางการเงิน และ สขุ ภาวะทางการเงนิ เปน็ ตวั แปรแฝงภายใน และมตี วั แปรสงั เกตไดท้ งั้ หมด 22 ตวั แปร โดยประมาณคา่ พารามเิ ตอรด์ ว้ ยวธิ แี มกซมิ มั ไลคล์ ฮิ ดู้ (Maximum Likelihood Estimate: MLE) และตรวจสอบความ กลมกลืนของโมเดลการวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Model Fit) และตรวจสอบความตรงของค่า พารามิเตอร์แต่ละตัวในโมเดลสมการโครงสร้าง (Wanichbancha, 2014) และท�ำการปรับตัวแบบ (Model Adjustment) ในกรณีท่ีตัวแบบไม่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยท�ำบนพ้ืนฐานของ ทฤษฎีและงานวิจัยเป็นหลัก การด�ำเนินการ คือ พิจารณาจากรายงานดัชนีปรับแก้ (Modification Index: MI) โดยพิจารณาจากค่า MI สูงสุด และจะหยุดปรับตัวแบบเม่ือพบว่าค่าดัชนีตรวจสอบ

ปจั จัยควบคมุ สุขภาวะทางการเงนิ ของผมู้ ีรายได้ 83 อธติ ทวิ ะศะศธิ ร์ และคณะ ความกลมกลืนเป็นไปตามเกณฑ์ สดั สว่ นของคา่ ไคสแคว์ตอ่ องศาอิสระ ต้องไม่เกิน 3.00 CFI สงู กว่า 0.92 GFI สูงกว่า 0.95 AGFI สงู กวา่ 0.90 RMR ต่ำ� กวา่ 0.08 และ RMSEA ตำ�่ กว่า 0.07 (Hair, Black, Babin, & Anderson, 2014) ผลการวิจยั ขอ้ มลู ทวั่ ไปของกลมุ่ ตวั อยา่ งพบวา่ สว่ นใหญเ่ ปน็ เพศหญงิ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 67.2 อายอุ ยรู่ ะหวา่ ง 20 - 29 ปี คิดเป็นร้อยละ 34.80 แต่งงานหรือมีครอบครัวแล้ว คิดเป็นร้อยละ 48.60 ส่วนใหญ่จบ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 41.60 และทำ� งานอยใู่ นโรงงานอตุ สาหกรรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42.40 ปัจจยั ส่วนบคุ คลด้านสถานะทางการเงนิ (Pfs) กลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่ รายได้เดอื นละ 10,001 - 20,000 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 48.40 รายได้ครัวเรือนเดอื นละ 15,001 - 25,000 บาท คดิ เป็นร้อยละ 29.50 รายจ่ายต่อเดือน เดือนละ 10,001 - 20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 46.30 ส่วนใหญ่มีหนี้สิน ตอ่ เดอื นตำ�่ กวา่ 10,000 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 49.60 และการขดั เกลาทางสงั คม (Soc) ซง่ึ ประกอบดว้ ย ระดบั การขัดเกลาทางสงั คมดา้ นการเปิดรบั ขอ้ มูลข่าวสารอย่ใู นระดับมาก ด้านการรับความรู้จากการ อบรมสัมมนาหรือการศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง และด้านการรับค�ำแนะน�ำปรึกษาจากบุคคลอ่ืน อยใู่ นระดบั ปานกลาง ระดบั ความรอบรทู้ างการเงนิ (Flt) ซงึ่ ประกอบดว้ ย ระดบั ความรอบรทู้ างการเงนิ เชิงปรนัย (Oflt) อยูใ่ นระดบั มาก ระดบั ความรอบรทู้ างการเงินเชิงอตั นัย (Sflt) อยู่ในระดับปานกลาง ระดบั การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ (Fse) โดยรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง ระดบั พฤตกิ รรม ทางการเงิน (Fbv) โดยรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง และสุขภาวะทางการเงนิ (Fwb) โดยรวมอยใู่ นระดับ ปานกลาง ผลการวิเคราะห์สหสัมพนั ธร์ ะหว่างตัวแปรสงั เกตไดจ้ ำ� นวน 22 ตวั แปร เมอ่ื พจิ ารณาคา่ สถติ ิ ของบารท์ เลท พบว่ามีค่านยั ส�ำคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั 0.01 และเม่ือพจิ ารณาคา่ KMO พบวา่ มคี า่ 0.89 แสดงว่าข้อมูลชุดน้ีสามารถน�ำไปวิเคราะห์องค์ประกอบ และมีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ของตัวแปร สูงสุดคอื 0.72 ผวู้ ิจัยจงึ ไดใ้ ช้เทคนคิ วิเคราะหโ์ มเดลสมการโครงสร้าง (SEM) เพอ่ื วเิ คราะหร์ ปู แบบของ ปัจจัยควบคมุ สุขภาวะทางการเงินของผู้มรี ายได้ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอ่ ไป การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเชงิ ยืนยัน ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผู้วิจัยท�ำการวิเคราะห์แบบจ�ำลอง 6 ตัวแปรแฝง ตามทไี่ ดก้ ำ� หนดไวใ้ นการวจิ ยั ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1) ปจั จยั สว่ นบคุ คลดา้ นสถานะทางการเงนิ 2) การขดั เกลา ทางสังคม 3) ความรอบรู้ทางการเงิน 4) การรบั รูค้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ 5) พฤตกิ รรม ทางการเงนิ และ 6) สขุ ภาวะทางการเงนิ โดยผลการตรวจสอบความสอดคลอ้ งกลมกลนื ของแบบจำ� ลอง การวดั 6 องค์ประกอบกับขอ้ มลู เชิงประจักษ์ พบว่าไมส่ อดคลอ้ ง โดย ค่า χ 2 = 660.19 ค่า df = 164 คา่ χ 2 /df= 4.03 CFI = 0.93 GFI = 0.90 RMR = 0.05 RMSEA = 0.07 จึงไดท้ �ำการปรบั โมเดล ตามดัชนีการปรับเปลี่ยน (MI) พบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยค่า

วารสารหาดใหญว่ ชิ าการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 84 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 χ 2 = 391.53 ค่า df = 145 คา่ χ 2 /df= 2.70 CFI = 0.96 GFI = 0.96 RMR = 0.04 RMSEA = 0.05 ดังนั้น ผู้วจิ ยั จึงวเิ คราะหแ์ บบจ�ำลองสมการโครงสรา้ งในขัน้ ตอนตอ่ ไป การวเิ คราะหแ์ บบจ�ำลองสมการโครงสร้าง ผลการวเิ คราะหแ์ บบจำ� ลองสมการโครงสรา้ งปจั จยั ควบคมุ สขุ ภาวะทางการเงนิ ของผมู้ รี ายได้ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยศึกษาอิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงิน ปจั จยั ดา้ นการขดั เกลาทางสงั คม ความรอบรทู้ างการเงนิ การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ พฤติกรรมทางการเงิน ที่มีต่อสุขภาวะทางการเงินของผู้มีรายได้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศไทย ดงั แสดงในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 แสดงอทิ ธพิ ลรวม อทิ ธพิ ลทางตรง อทิ ธพิ ลทางออ้ มของตวั แปรแฝงภายนอกและตวั แปรแฝง ภายใน ปัจจัยผล ปัจจยั สาเหตุ Flt Fse Fbv Fwb DE IE TE DE IE TE DE IE TE DE IE TE 1. Pfs 0.22 - 0.22 0.18 - 0.18 - 0.23 0.23 - 0.21 0.21 *** *** ** ** *** *** *** *** 2. Soc 0.67 - 0.67 0.50 - 0.50 - 0.65 0.65 - 0.61 0.61 *** *** *** *** *** *** *** *** 3. Flt - - - - - - 0.57 - 0.57 - 0.53 0.53 *** *** *** *** 4. Fse - - - - - - 0.55 - 0.55 - 0.52 0.52 *** *** *** *** 5. Fbv - - - - - - - - - 0.92 - 0.92 *** *** R2 0.51 0.32 0.91 0.78 DE: อทิ ธิพลทางตรง IE: อทิ ธพิ ลทางอ้อม TE: อทิ ธิพลรวม *** ระดบั นยั ส�ำคัญ 0.01, ** ระดับนัยสำ� คญั 0.05 จากตารางท่ี 2 ตัวแปรแฝงในรูปแบบสมการโครงสร้างสามารถอธิบายความแปรปรวนของ ปจั จยั สขุ ภาวะทางการเงนิ ไดร้ อ้ ยละ 78 ปจั จยั สว่ นบคุ คลดา้ นสถานะทางการเงนิ (Pfs) มอี ทิ ธพิ ลทางตรง ต่อความรอบรูด้ า้ นการเงิน (Flt) มีสัมประสิทธเ์ิ สน้ ทาง เท่ากับ 0.22 ทรี่ ะดับนัยส�ำคญั ทางสถิติ 0.01 และมีอิทธิพลทางตรงกับการรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงิน (Fse) มีสัมประสิทธิ์เส้นทาง

ปัจจยั ควบคมุ สขุ ภาวะทางการเงินของผมู้ ีรายได้ 85 อธติ ทิวะศะศธิ ร์ และคณะ เท่ากับ 0.18 ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ 0.05 มีอิทธิพลทางอ้อมกับพฤติกรรมทางการเงิน (Fbv) มี สัมประสิทธิ์เส้นทาง เทา่ กับ 0.23 และมีอิทธพิ ลทางออ้ มกบั สุขภาวะทางการเงิน (Fwb) มีสัมประสทิ ธิ์ เสน้ ทาง เท่ากับ 0.21 ท่ีระดับนยั ส�ำคญั ทางสถติ ิ 0.01 ปจั จยั ด้านการขดั เกลาทางสังคม (Soc) มีอทิ ธิพลทางตรงตอ่ ความรอบรู้ดา้ นการเงิน (Flt) มี สมั ประสทิ ธเิ์ สน้ ทาง เทา่ กบั 0.67 และมอี ทิ ธพิ ลทางตรงกบั การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ (Fse) มีสัมประสิทธิ์เส้นทาง เท่ากับ 0.50 มีอิทธิพลทางอ้อมกับพฤติกรรมทางการเงิน (Fbv) มี สัมประสิทธิ์เสน้ ทาง เทา่ กบั 0.65 และมอี ทิ ธพิ ลทางออ้ มกบั สขุ ภาวะทางการเงนิ (Fwb) มสี มั ประสทิ ธิ์ เส้นทาง เท่ากบั 0.61 ทีร่ ะดับนัยส�ำคญั ทางสถติ ิ 0.01 ความรอบรดู้ า้ นการเงนิ (Flt) มอี ทิ ธพิ ลทางตรงกบั พฤตกิ รรมทางการเงนิ (Fbv) มสี มั ประสทิ ธิ์ เส้นทาง เท่ากับ 0.57 และมีอิทธิพลทางอ้อมกับสุขภาวะทางการเงิน (Fwb) มีสัมประสิทธิ์เส้นทาง เทา่ กบั 0.53 ทร่ี ะดับนยั สำ� คัญทางสถิติ 0.01 การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ (Fse) มอี ทิ ธพิ ลทางตรงกบั พฤตกิ รรมทางการเงนิ (Fbv) มีสัมประสิทธิ์เส้นทาง เท่ากับ 0.55 และมีอิทธิพลทางอ้อมกับสุขภาวะทางการเงิน (Fwb) มี สัมประสิทธ์ิเส้นทาง เทา่ กบั 0.52 ท่ีระดับนัยสำ� คญั ทางสถติ ิ 0.01 พฤติกรรมทางการเงิน (Fbv) มอี ิทธพิ ลทางตรงกับสขุ ภาวะทางการเงิน (Fwb) มสี มั ประสทิ ธ์ิ เสน้ ทาง เท่ากับ 0.92 ทร่ี ะดบั นยั สำ� คญั ทางสถิติ 0.01 การทดสอบสมมตฐิ าน จากผลการวจิ ยั พบวา่ ปจั จยั สว่ นบคุ คลดา้ นสถานะทางการเงนิ มอี ทิ ธพิ ล ทางตรงเชงิ บวกตอ่ ความรอบร้ทู างการเงนิ โดยมีคา่ สมั ประสทิ ธิเ์ ส้นทาง 0.22 ที่ระดับนยั สำ� คัญ 0.01 จึงยอมรับสมมตฐิ านที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงินมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการรับรู้ความสามารถ ของตนเองทางการเงนิ โดยมคี า่ สมั ประสทิ ธเิ์ สน้ ทาง 0.18 ทรี่ ะดบั นยั สำ� คญั 0.05 จงึ ยอมรบั สมมตฐิ าน ที่ 2 ปัจจัยการขัดเกลาทางสังคมมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความรอบรู้ทางการเงิน โดยมีค่า สมั ประสทิ ธ์เิ ส้นทาง 0.67 ท่รี ะดบั นัยสำ� คัญ 0.01 จงึ ยอมรบั สมมตฐิ านที่ 3 ปัจจัยการขัดเกลาทางสังคมมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการรับรู้ความสามารถของตนเอง ทางการเงนิ โดยมคี ่าสัมประสทิ ธ์เิ ส้นทาง 0.50 ทรี่ ะดับนยั ส�ำคัญ 0.01 จงึ ยอมรบั สมมตฐิ านท่ี 4 ความรอบรทู้ างการเงนิ มอี ทิ ธพิ ลทางตรงเชงิ บวกตอ่ พฤตกิ รรมทางการเงนิ โดยมคี า่ สมั ประสทิ ธิ์ เส้นทาง 0.57 ทรี่ ะดับนยั ส�ำคัญ 0.01 จึงยอมรับสมมตฐิ านท่ี 5 การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ มอี ทิ ธพิ ลทางตรงเชงิ บวกตอ่ พฤตกิ รรมทางการเงนิ โดยมคี ่าสมั ประสิทธเ์ิ สน้ ทาง 0.55 ที่ระดับนัยสำ� คญั 0.01 จึงยอมรับสมมตฐิ านที่ 6 พฤติกรรมทางการเงินมอี ิทธพิ ลทางตรงเชิงบวกตอ่ สขุ ภาวะทางการเงนิ โดยมคี า่ สมั ประสทิ ธิ์ เสน้ ทาง 0.92 ท่ีระดับนยั สำ� คัญ 0.01 จงึ ยอมรับสมมติฐานที่ 7

วารสารหาดใหญว่ ชิ าการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 86 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อท่ี 1 อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงิน ปัจจัยด้านการขดั เกลาทางสงั คม ความรอบรทู้ างการเงนิ การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ พฤติกรรมทางการเงิน ท่ีมีผลต่อสุขภาวะทางการเงิน พบว่า ตัวแปรแฝงในรูปแบบสมการโครงสร้าง สามารถอธบิ ายความแปรปรวนของปจั จยั สขุ ภาวะทางการเงนิ ไดร้ อ้ ยละ 78 โดยพฤตกิ รรมทางการเงนิ มีอทิ ธิพลทางตรงเชิงบวกตอ่ สขุ ภาวะทางการเงนิ โดยมีค่าสมั ประสิทธ์เิ สน้ ทาง 0.92 ทร่ี ะดบั นัยส�ำคญั 0.01 สว่ นปจั จยั ความรอบรทู้ างการเงนิ มอี ทิ ธพิ ลทางออ้ มตอ่ สขุ ภาวะทางการเงนิ โดยมคี า่ สมั ประสทิ ธิ์ เสน้ ทาง 0.53 ทรี่ ะดบั นยั สำ� คญั 0.01 สว่ นปจั จยั การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ มอี ทิ ธพิ ล ทางอ้อมต่อสุขภาวะทางการเงิน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทาง 0.52 ที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.01 ปัจจัย ส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงินมีอิทธิพลทางอ้อมต่อสุขภาวะทางการเงิน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ เส้นทาง 0.21 ที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.01 และการขัดเกลาทางสังคมมีอิทธิพลทางอ้อมต่อสุขภาวะ ทางการเงิน โดยมีค่าสัมประสิทธ์เิ สน้ ทาง 0.61 ทร่ี ะดับนยั ส�ำคญั 0.01 ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อท่ี 2 พัฒนาแบบจ�ำลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัย ควบคุมสุขภาวะทางการเงนิ ของผู้มรี ายได้ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของไทย การหาความสัมพนั ธ์เชิงสาเหตุของปจั จัยควบคุมสุขภาวะทางการเงนิ ซึ่งประกอบด้วย ปจั จยั สว่ นบคุ คลดา้ นสถานะทางการเงนิ การขดั เกลาทางสงั คม ความรอบรทู้ างการเงนิ การรบั รคู้ วามสามารถ ของตนเองทางการเงิน พฤติกรรมทางการเงนิ โดยใช้การวเิ คราะห์สมการโครงสร้าง ซึง่ คณะผ้วู ิจัยได้ พัฒนาแบบจ�ำลองขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง และเม่ือท�ำการทดสอบความกลมกลืน ของรูปแบบทพ่ี ัฒนาขึน้ จากการทบทวนวรรณกรรมกบั ข้อมลู เชิงประจกั ษ์ พบวา่ คา่ χ 2 = 830.89 คา่ df = 175 คา่ χ 2 /df= 4.76 CFI = 0.90 GFI = 0.86 AGFI = 0.81 RMR = 0.05 RMSEA = 0.09 ปรากฏว่าไม่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ จึงได้ท�ำการปรับโมเดลตามดัชนีการปรับเปล่ียน (MI) โดยผู้วิจัยได้ก�ำหนดเส้นทางความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงิน การขัดเกลา ทางสังคม ซง่ึ เปน็ ตวั แปรแฝงภายนอก โดยมคี วามเปน็ ไปไดท้ างทฤษฎี สำ� หรบั การวจิ ยั เกย่ี วกบั การเงนิ สว่ นบคุ คลนน้ั นยิ มนำ� ปจั จยั สว่ นบคุ คลทางดา้ นสงั คมและเศรษฐกจิ (Social and Economic Factors) เปน็ ตวั แปรตน้ (Consumer Financial Protection Bureau, 2015; Kempson & Poppe, 2018) แตเ่ นอื่ งจากตวั แปรดงั กลา่ วมตี วั แปรสงั เกตไดจ้ ำ� นวนมาก จงึ มนี กั วจิ ยั ไดท้ ำ� การจดั กลมุ่ ตวั แปรดงั กลา่ ว ซง่ึ มกั จะถกู แบง่ ออกเปน็ กลมุ่ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ดา้ นเศรษฐกจิ และขอ้ มลู ดา้ นสงั คม (Sabri, 2011; Nusith et al., 2014) หลงั จากการปรบั แบบจำ� ลอง พบวา่ โมเดลมคี วามสอดคล้องกลมกลืน กับข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ โดยคา่ χ 2 = 184.65 ค่า df= 138 ค่า χ 2 /df= 1.34 CFI = 0.99 GFI = 0.97 AGFI = 0.94 RMR = 0.03 RMSEA = 0.03 โดยโมเดลทพ่ี ฒั นาขน้ึ จากการทบทวนวรรณกรรมสามารถ อธิบายถึงสุขภาวะทางการเงินของผู้มีรายได้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ร้อยละ 78 (R2 = 0.78) ซ่ึงได้แสดงเส้นทางความสัมพนั ธข์ องรปู แบบสมการโครงสรา้ ง ดังรูปท่ี 2

H3 ของตนเองทางการเงิน H6 การขดั เกลาทาง H4 สังคม ปัจจยั ควบคุมสขุ ภาวะทางการเงินของผู้มีรายได้ อธิต ทิวะศะศธิ ร์ และคณะ 87 Pfs: ปจั จัยส่วนบคุ คลด้านสถานะทางการเงนิ , Soc: การขดั เกลาทางสังคม, Flt: ความรอบรู้ทางการเงนิ , Fse: การรบั รู้ความสามารถ ทางการเงิน, Fbv: พฤติกรรมทางการเงนิ , Fwb: สุขภาวะทางการเงนิ , Eco1: ระดับรายไดต้ ่อเดอื นของบคุ คล, Eco2: ระดบั หนี้สนิ สิน ตอ่ เดือนของบคุ คล, Eco3: ระดบั คา่ ใชจ้ ่ายของบุคคล, Soc1: การได้รับความรดู้ ้านการเงิน, Soc2: การปรึกษาปญั หาดา้ นการเงิน Soc3: การเปิดรบั ข่าวสารดา้ นการเงิน, Sflt: ความรอบรทู้ างการเงินเชิงอัตนัย, Oflt: ความรอบรูท้ างการเงินเชงิ ปรนยั , Fse1: รับรู้ว่าจะท�ำให้ บรรลุเปา้ หมายทางการเงิน, Fse2: รบั รู้ว่าจะเคร่งครดั ในแผนทางการเงนิ , Fse3: รบั รวู้ ่าจะแก้ปญั หาทางการเงินได้, Fse4: รับรู้ว่าจะ จา่ ยช�ำระหนีส้ ิน, Fse5: รบั รูว้ ่าจะแก้ปญั หาชวี ติ ได้, Fse6: รับรวู้ า่ จะแก้ปัญหาดา้ นการลงทุนได,้ Fse7: รับรู้ว่าจะสร้างรายได้เพิ่มได้, Fbv1: พฤติกรรมทางการเงินด้านการออมและการลงทุน, Fbv2: พฤติกรรมทางการเงินด้านการป้องกนั ความเส่ียง, Fbv3: พฤติกรรม ทางการเงินด้านการจัดการเงินสด, Fbv4: พฤติกรรมทางการเงินด้านการจัดการหน้ีสิน, Fwb1: ความวิตกกังวลทางการเงิน, Fwb2: ความมน่ั คงทางด้านการเงนิ , Fwb3: การเตรยี มพรอ้ มทางการเงิน รูปท่ี 2 รูปแบบปัจจัยควบคุมสุขภาวะทางการเงินของผู้มีรายได้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศไทย จากรูปที่ 2 อธบิ ายได้วา่ ผลการวิเคราะหค์ า่ สมั ประสิทธเ์ิ สน้ ทางของตวั แปรแฝง พบว่า คา่ สมั ประสทิ ธอ์ิ ทิ ธพิ ลมาตรฐานของพฤตกิ รรมทางการเงนิ สง่ ไปยงั สขุ ภาวะทางการเงนิ มคี า่ สงู ทสี่ ดุ 0.92 รองลงมา คือ ค่าสัมประสิทธ์ิเส้นทางของการขัดเกลาทางสังคมด้านการเงินส่งไปยังความรอบรู้ ทางการเงนิ 0.67 และคา่ สมั ประสทิ ธเิ์ สน้ ทางของความรอบรทู้ างการเงนิ สง่ ไปยงั พฤตกิ รรมทางการเงนิ 0.57 ส่วนค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของตัวแปรแฝงที่มีค่าน้อยท่ีสุด คือ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านสถานะ ทางการเงินส่งไปยังการรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงิน 0.18 ผลการวิเคราะห์สัมประสิทธ์ิ เสน้ ทางของตวั แปรสงั เกตได้ พบวา่ มคี า่ เปน็ บวกทงั้ หมด ตง้ั แต่ 0.61 ถงึ 0.84 ทรี่ ะดบั นยั สำ� คญั ทางสถติ ิ ทรี่ ะดบั 0.01 ทกุ ตวั โดยตวั แปรสงั เกตไดท้ ม่ี คี า่ สมั ประสทิ ธเ์ิ สน้ ทางมากทสี่ ดุ คอื องคป์ ระกอบดา้ นการ รบั รคู้ วามสามารถของตนเอง (Fse) ไดแ้ ก่ การรบั รวู้ า่ จะแกป้ ญั หาทางการเงนิ ได้ (Fse3) มคี า่ สมั ประสทิ ธิ์ เสน้ ทาง เทา่ กับ 0.84 สว่ นตวั แปรสงั เกตได้ทม่ี คี ่าสมั ประสิทธ์เิ สน้ ทางนอ้ ยท่ีสุด คอื องคป์ ระกอบด้าน ปัจจัยส่วนบุคคลด้านสถานะทางการเงิน (Pfs) ได้แก่ ระดับหนี้สินต่อเดือนของบุคคล (Pfs2) มีค่า สัมประสิทธ์ิเส้นทาง เท่ากับ 0.61 เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธ์ิเส้นทางเป็นรายองค์ประกอบ พบว่า

วารสารหาดใหญ่วชิ าการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 88 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 องค์ประกอบปจั จยั สว่ นบคุ คลดา้ นสถานะทางการเงนิ (Pfs) ตวั แปรทมี่ คี า่ สมั ประสทิ ธเ์ิ สน้ ทางมากทส่ี ดุ คือ ระดับรายได้ต่อเดือนของบคุ คล 0.71 และนอ้ ยท่สี ดุ คือ ระดับหน้ีสินสนิ ต่อเดือนของบุคคล 0.61 ตามลำ� ดับ องค์ประกอบการขดั เกลาทางสังคม (Soc) ตวั แปรทีม่ คี ่าสัมประสทิ ธ์เิ สน้ ทางมากทีส่ ดุ คือ การไดร้ ับความรู้ด้านการเงนิ และการเปิดรับขา่ วสารดา้ นการเงิน 0.72 และนอ้ ยท่สี ุด คอื การปรกึ ษา ปัญหาด้านการเงิน 0.67 องค์ประกอบด้านความรอบรู้ทางการเงิน (Flt) ตัวแปรท่ีมีค่าสัมประสิทธิ์ เส้นทางมากที่สุด คือ ความรอบรู้ทางการเงินเชิงปรนัย 0.74 น้อยท่ีสุด คือ ความรอบรู้ทางการเงิน เชิงอัตนัย 0.68 องค์ประกอบด้านการรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ (Fse) ตัวแปรทีม่ คี า่ สมั ประสิทธิเ์ สน้ ทางมากทีส่ ุด คอื รับร้วู า่ จะแกป้ ัญหาทางการเงนิ ได้โดยงา่ ยเมอื่ เกดิ ภาวะวกิ ฤติ 0.84 และน้อยที่สุด คือ รับรู้ว่าจะสามารถจ่ายช�ำระหนี้สินท่ีเกิดข้ึนได้ 0.69 องค์ประกอบด้านพฤติกรรม ทางการเงนิ (Fbv) ตวั แปรทม่ี คี า่ สมั ประสทิ ธเิ์ สน้ ทางมากทสี่ ดุ คอื พฤตกิ รรมทางการเงนิ ดา้ นการปอ้ งกนั ความเสี่ยง และพฤติกรรมทางการเงินด้านการจัดการหนี้สิน 0.79 และน้อยท่ีสุด คือ พฤติกรรม ทางการเงินด้านการออมและการลงทนุ 0.70 องคป์ ระกอบดา้ นสุขภาวะทางการเงนิ (Fwb) ตวั แปรที่ มีค่าสมั ประสทิ ธิอ์ ิทธพิ ลมาตรฐานมากที่สุด คือ ความวติ กกังวลทางการเงิน 0.81 และน้อยทสี่ ดุ คอื ความม่นั คงทางด้านการเงิน 0.73 อภิปรายผล 1. การวจิ ยั ครงั้ นกี้ ำ� หนดใหป้ จั จยั สว่ นบคุ คลดา้ นสถานะทางการเงนิ และการขดั เกลาทางสงั คม เป็นตัวแปรแฝงภายนอก ความรอบรู้ทางการเงิน การรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงิน พฤตกิ รรมทางการเงนิ และสขุ ภาวะทางการเงนิ เปน็ ตวั แปรแฝงภายใน พฤตกิ รรมทางการเงนิ มอี ทิ ธพิ ล ทางตรงเชงิ บวกตอ่ สขุ ภาวะทางการเงนิ และพบวา่ ปจั จยั อน่ื ๆ มอี ทิ ธพิ ลทางออ้ มในเชงิ บวกตอ่ สขุ ภาวะ ทางการเงนิ โดยสง่ ผา่ นปจั จยั พฤตกิ รรมทางการเงนิ สามารถเรยี งลำ� ดบั ตามคา่ สมั ประสทิ ธเิ์ สน้ ทาง ดงั นี้ การขดั เกลาทางสงั คม ความรอบรทู้ างการเงนิ การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ และปจั จยั สว่ นบคุ คลดา้ นสถานะทางการเงนิ จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา่ พฤตกิ รรมทางการเงนิ เปน็ ปจั จยั ทส่ี ำ� คญั ซง่ึ สง่ ผลตอ่ สขุ ภาวะทางการเงนิ โดย Kempson et al. (2017) ไดก้ ลา่ ววา่ บคุ คลทม่ี พี ฤตกิ รรม ทางการเงินท่ีดีจะมีความวิตกกังวลทางการเงินน้อยกว่า และมีสุขภาวะทางการเงินที่ดีกว่าบุคคลที่มี พฤติกรรมทางการเงินที่ไม่ดี Xiao, Chen, and Chen (2013) ได้ศึกษาเร่ืองอิทธิพลของความของ ความรอบรู้ทางการเงิน การรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงิน และพฤติกรรมทางการเงินต่อ สุขภาวะทางการเงนิ และพบวา่ ความรอบรทู้ างการเงนิ และการรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ ไมม่ อี ทิ ธพิ ลทางตรงตอ่ สขุ ภาวะทางการเงนิ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ และอธบิ ายไวว้ า่ แมบ้ คุ คลมคี วาม รอบรู้ทางด้านการเงินก็อาจจะไม่เป็นสิ่งยืนยันได้ว่าบุคคลนั้นจะมีสุขภาวะทางการเงินท่ีดี เนื่องจาก การที่บุคคลมีความรู้แต่ไม่ได้ปฏิบัติอย่างถูกต้องก็อาจจะมีสุขภาวะทางการเงินท่ีน้อยกว่า ในขณะที่ บุคคลท่ีมีความรอบรู้ทางการเงินท่ีต่�ำกว่าแต่เป็นผู้มีวินัยในการใช้จ่ายเงิน มีการเก็บสะสมสินทรัพย์ อยา่ งเหมาะสมกอ็ าจมสี ขุ ภาวะทางการเงนิ ทดี่ กี วา่ บคุ คลทมี่ รี ะดบั ความรอบรทู้ างการเงนิ ทส่ี งู กวา่ กเ็ ปน็ ได้

ปจั จยั ควบคมุ สุขภาวะทางการเงินของผ้มู รี ายได้ 89 อธติ ทิวะศะศิธร์ และคณะ การวจิ ยั ครง้ั นม้ี ผี ลการวจิ ยั ทสี่ อดคลอ้ งกบั Xiao et al. (2013); Farrell et al. (2016) และ Kempson et al. (2017) ซงึ่ พบวา่ ความรอบรทู้ างการเงนิ และการรบั รคู้ วามสามารถของตนเองทางการเงนิ มคี วาม สมั พนั ธใ์ นเชงิ บวกกบั พฤตกิ รรมทางการเงนิ และจากการศกึ ษาของ Xiao et al. (2013) และ Kempson et al. (2017) พบวา่ พฤตกิ รรมทางการเงนิ มอี ิทธพิ ลต่อสขุ ภาวะทางการเงนิ ของบคุ คล 2. ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของรูปแบบปัจจัยควบคุมสุขภาวะทางการเงินของผู้มีรายได้ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ผลการวจิ ยั พบวา่ รปู แบบปจั จยั ควบคมุ สขุ ภาวะทางการเงนิ มคี วาม กลมกลนื กับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั Nusith et al. (2014) ได้ศกึ ษาเกีย่ วกบั รปู แบบของ ปัจจัยอธิบายความพอเพียงทางด้านการเงินหลังเกษียณของผู้มีรายได้ในประเทศไทย โดยก�ำหนดให้ ปจั จัยส่วนบคุ คล และการขดั เกลาทางสงั คม เปน็ ตวั แปรแฝงภายนอก ความร้ทู างการเงิน พฤตกิ รรม ทางการเงนิ ดา้ นการออม และความเพยี งพอของเงนิ ออมเพอื่ การเกษยี ณ เปน็ ตวั แปรแฝงภายใน ซง่ึ พบวา่ มคี วามสอดคลอ้ งกลมกลืนของรูปแบบปจั จยั อธบิ ายความพอเพยี งของเงินออมกบั ข้อมูลเชิงประจักษ์ จากผลการวิจัยครั้งน้ีแสดงให้เห็นว่า ปัจจัยพฤติกรรมทางการเงินเป็นปัจจัยท่ีส�ำคัญในการ ท�ำให้ผู้มีรายได้มีสุขภาวะทางการเงินที่ดี แม้ว่าในการวิจัยคร้ังนี้จะก�ำหนดรูปแบบของปัจจัยควบคุม สุขภาวะทางการเงนิ โดยมเี พยี งปจั จยั พฤตกิ รรมทางการเงนิ ทมี่ อี ทิ ธพิ ลทางตรงตอ่ สขุ ภาวะทางการเงนิ แตจ่ ากการวเิ คราะห์ขอ้ มูลทางสถติ ิ พบว่า ปจั จยั ดา้ นความรอบร้ทู างการเงนิ การรบั ร้คู วามสามารถ ของตนเองทางการเงนิ การขัดเกลาทางสังคม มอี ิทธพิ ลทางอ้อมอยา่ งมีนยั ส�ำคัญทางสถติ ิต่อสขุ ภาวะ ทางการเงนิ โดยสง่ ผา่ นปจั จยั พฤตกิ รรมทางการเงนิ ซงึ่ อธบิ ายไดว้ า่ การทผี่ มู้ รี ายไดม้ สี ถานะทางการเงนิ ที่ดี เชน่ มรี ายไดเ้ พยี งพอหรือสูงกวา่ รายจ่าย และไดร้ บั การขดั เกลาทางสังคมด้านการเงินทดี่ ีโดยอาจ ไดร้ บั การอบรมหรอื มกี ารหาความรทู้ างดา้ นการเงนิ อยา่ งสมำ�่ เสมอ ยอ่ มทำ� ใหบ้ คุ คลนน้ั เปน็ ผมู้ คี วามรู้ ทักษะ และความมั่นใจในความรู้ทางการเงิน อีกท้ังมีความเช่ือมั่นในการแก้ปัญหาทางการเงินและ สามารถทจี่ ะจดั การปญั หาได้ สง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมทางการเงนิ ทด่ี ี ทง้ั ดา้ นการใชจ้ า่ ย การออม การจดั การ หนสี้ นิ และการปอ้ งกนั ความเสย่ี งทางการเงนิ และนำ� ไปสกู่ ารเปน็ ผทู้ มี่ คี วามมน่ั คงและมอี สิ ระทางการเงนิ ทง้ั ในชวี ติ ปัจจุบันและในอนาคตซง่ึ หมายถึงการมสี ุขภาวะทางการเงินทีด่ ีนัน่ เอง ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะส�ำหรับการน�ำผลการวจิ ยั ไปใช้ การสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ สขุ ภาวะทางการเงนิ จำ� เปน็ ตอ้ งสง่ เสรมิ ใหผ้ มู้ รี ายไดม้ พี ฤตกิ รรมทางการเงนิ ที่ดีท้ังด้านการออมการลงทุน การช�ำระหนี้สิน การป้องกันความเสี่ยงทางการเงิน และการใช้จ่ายใน ชีวติ ประจำ� วัน ซ่ึงต้องอาศัยความรว่ มมือจากหลายภาคสว่ น ท้ังหน่วยงานของรฐั สถานประกอบการ สถาบนั การเงนิ และผ้มู รี ายไดต้ อ้ งใหค้ วามสำ� คัญกับการมพี ฤตกิ รรมทางการเงินทีด่ ี 1. ภาครฐั ควรมมี าตรการหรอื แนวทางในการสง่ เสรมิ พฤตกิ รรมทางการเงนิ ทดี่ ี ทง้ั ดา้ นการออม และการลงทุน การประกันความเสี่ยงทางการเงินให้กับผู้มีรายได้ ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องก�ำหนดให้ การเสรมิ สรา้ งพฤตกิ รรมทางการเงนิ ทด่ี เี ปน็ นโยบายทส่ี ำ� คญั เชน่ การใหค้ วามรดู้ า้ นการเงนิ ผา่ นหนว่ ยงาน

วารสารหาดใหญ่วิชาการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 90 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั ผูม้ ีรายได้ให้ตระหนักถึงความสำ� คัญของการมีพฤตกิ รรมทางการเงินทีด่ ี การส่งเสริมให้ มกี ารออมและการลงทนุ การประกนั ความเสยี่ งทางการเงนิ ของกลมุ่ ผมู้ รี ายไดท้ เี่ พมิ่ ขนึ้ และมชี อ่ งทาง ใหผ้ ู้มรี ายไดเ้ ขา้ ถงึ ความรทู้ างการเงินได้โดยงา่ ย 2. สถาบนั การเงนิ ควรออกแบบผลติ ภณั ฑท์ างการเงนิ ทตี่ อบสนองความตอ้ งการใหก้ บั ผมู้ รี ายได้ ใหม้ คี วามหลากหลายเพอ่ื เปน็ ทางเลอื กในการออม การลงทนุ และการประกนั ความเสยี่ งใหก้ บั ผมู้ รี ายได้ นอกจากนั้น การพัฒนาช่องทางให้ผู้มีรายได้เข้าถึงบริการด้านการเงินต่าง ๆ ให้สะดวกข้ึนก็มีผลต่อ การส่งเสริมพฤตกิ รรมทางการเงินท่ดี เี ช่นกนั 3. สถานประกอบการควรมีนโยบายการให้ความรู้ด้านการเงินส่วนบุคคลให้กับพนักงานเพื่อ ให้เกิดพฤติกรรมทางการเงินท่ีดี โดยอาจร่วมมือกับสถาบันการเงินหรือสถาบันการศึกษาเพ่ือน�ำไปสู่ การมสี ุขภาวะทางการเงินท่ดี ีของพนักงาน 4. ผู้มีรายได้ควรหาความรู้เกี่ยวกับการเงินส่วนบุคคลในเรื่องท่ีเก่ียวข้องกับตนเองซ่ึงท�ำได้ โดยการหาข้อมูลจากแหล่งการเรยี นรทู้ ี่เกย่ี วข้อง หรอื การปรกึ ษาผรู้ หู้ รอื ผูเ้ ช่ยี วชาญในด้านนัน้ ๆ ควร ฝึกตนเองและผู้ใกล้ชิดให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางการเงินท่ีดีท้ังในด้านการออมและการลงทุน ด้านการ ใช้จ่าย ด้านการจัดการหน้ีสิน และดา้ นการป้องกนั ความเส่ียงทางการเงนิ ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครั้งตอ่ ไป 1. นกั วจิ ยั นกั วชิ าการ สามารถนำ� ผลการวจิ ยั ทคี่ น้ พบไปพฒั นารปู แบบเพอื่ ศกึ ษาอทิ ธพิ ลของ ปัจจัยควบคุมสุขภาวะทางการเงินในบุคคลกลุ่มต่าง ๆ ได้ เช่น กลุ่มเยาวชน กลุ่มวัยท�ำงานตอนต้น กลุม่ ผใู้ กลเ้ กษยี ณอายุ เปน็ ตน้ 2. การวจิ ยั ครงั้ นเี้ ปน็ การใชข้ อ้ มลู แบบภาคตดั ขวาง (Cross Sectional Data) ในการวจิ ยั หาก สามารถศึกษาข้อมูลแบบภาคตดั ขวางทางยาว (Longitudinal Data) จะท�ำให้เหน็ การเปล่ียนแปลง ของบคุ คลเกย่ี วกบั สขุ ภาวะทางการเงนิ เมอื่ ชว่ งเวลาเปลย่ี นไป และอธบิ ายถงึ อทิ ธพิ ลของปจั จยั ควบคมุ สุขภาวะทางการเงนิ ได้มากข้ึน เอกสารอา้ งองิ Asebedo, S. (2016). Financial self-efficacy beliefs and the saving behavior of older pre-retirees (Doctoral dissertation). Kansas State University, Manhattan, Kansas. Bank of Thailand. (2014). Thailand financial literacy survey 2013 report. Retrieved from http://www.1213.or.th [in Thai] Bank of Thailand. (2017). Thailand economics report 2017. Retrieved from https:// www.bot.or.th [in Thai] Brounen, D., Koedijk, E. K., & Pownall, R. (2016). Household financial planning and savings behavior. Journal of International Money and Finance, 69(1), 95-107. Consumer Financial Protection Bureau. (2015). Financial well-being: The goal of financial education. Washington D.C.: CFPB.

ปัจจยั ควบคุมสุขภาวะทางการเงินของผู้มีรายได้ 91 อธติ ทิวะศะศิธร์ และคณะ Dew, J., & Xiao, J. J. (2011).The financial management behavior scale: Development and validation. Journal of Financial Counseling and Planning, 22(1), 43-59. Farrell, L., Fry, R. L., & Risse, L. (2016). The significance of financial self-efficacy in explaining women’s personal finance behavior. Journal of Economic Psychology, 59(1), 85-99. Fluellen, V. M. (2013). Exploring the relationship between financial behaviors and financial well-being of African American college students at one historically black institution (Doctoral dissertation). Iowa State University, Ames, Iowa. Gutter, M. S. (2000). Human wealth and financial asset ownership. Journal of Financial Counseling and Planning, 11(2), 9-19. Hair, J. F., Black, C. W., Babin, J. B., & Anderson E. R. (2014). Multivariate data analysis: A global perspective (7th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall. Huston, S. J. (2010). Measuring financial literacy. The Journal of Consumer Affairs, 44(2), 296-316. Kempson, E., Finney, A., & Poppe, C. (2017). Financial well-being a conceptual model and preliminary analysis (Research report). Norway: Oslo and Akershus University. Kempson, E., & Poppe, C. (2018). Understanding financial well-being and capability a revised model and comprehensive analysis (Research report). Norway: Oslo and Akershus University. Lown, J. (2011). Development and validation of a financial self-efficacy scale. .Journal of Financial Counseling and Planning, 22(2), 54-63. Ministry of Labor. (2017). Basic data of labor in northeast Thailand 2017. Retrieved from https://www.doe.go.th/prd/assets/upload/files/lmine_th/513857130f592 b701ece4ad079a2c4.pdf [in Thai] Noonin, S., & Phuangprayong, K. (2018). Factors affecting lifestyle of young generation in Thai rural society. Journal of Social Development, 44(2), 34-64. [in Thai] Nusith, A., Rachapradit, P., Jampachisri, K., & Adereksombat, K. (2014). Factors explaining retirement saving adequacy for employees in Thailand. Journal of Business Administration, 37(114), 39-52. [in Thai] Office of the National Economic and Social Development Council. (2018). Thailand population income-expenses statistic 1987-2017. Retrieved from http://social. nesdb.go.th/social /Default.aspx?tabid =131 [in Thai] Potisita, C. (2012). Thai countryside in a capitalist way. The Journal of the Royal Institute of Thailand, 37(4), 163-185. [in Thai] Rooij, M. C., Lusardi, A., & Alessie, R. J., (2012). Financial literacy, retirement planning and household wealth. Economic Journal, 122(560), 449–478.

วารสารหาดใหญ่วชิ าการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 92 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 Sabri, M. S. (2011). Pathways to financial success: Determinants of financial literacy and financial well-being among young adults (Doctoral dissertation). Iowa State University, Ames, Iowa. Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2010). A beginners guide to structural equation modeling: SEM. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates. The Committees of the Nation Reform Steering Assembly. (2016). The reform of the fundamental knowledge on finance for Thai people. Retrieved from http:// library2.parliament.go.th/giventake /content_nrsa2558/d100359-01.pdf [in Thai] Wanichbancha, K. (2014). Structural Equation Modeling (SEM) with AMOS (2nd ed.). Bangkok: Samlada. [in Thai] Xiao, J. J., Chen, C., & Chen, F. (2013). Consumer financial capability and financial satisfaction. Social Indicator Research, 118(1), 415-432. Xiao, J. J., Ford M. W., & Kim, J. (2011). Consumer financial behavior: An interdisciplinary review of selected theories and research. Family and Consumer Sciences Research Journal, 39(4), 399-414. Xiao, J. J., & Porto, N. (2017). Financial education and financial satisfaction: Financial literacy, behavior and capability as mediators. International Journal of Bank Marketing, 35(5), 805-817.

บทควา มวจิ ยั บทบาทการเปน็ ตวั แปรคน่ั กลางของความพงึ พอใจทม่ี ตี อ่ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง การบริหารความสัมพันธ์กับนักท่องเที่ยวและความภักดีของนักท่องเท่ียวที่ ใช้บริการโรงแรมในจังหวัดสงขลา TLohyeaMltye:dAiatCinagseRoStleudoyf SoaftHisofatcetliso’nSoernvCicuesitnomSoenrgRkehllaationship and นพดล ชูเศษ1*, ววิ ัฒน์ จันทร์ก่ิงทอง2, และ ปัญจา ชชู ว่ ย3 Noppadon Chooset1*, Wiwat Jankingthong2, and Punja Choochuay3 Abstract The purpose of this research was to examine the mediating role of satisfaction on the relationship between customer relationship management and the loyalty of tourists for hotels’ service in Songkhla Province. The sample was 400 Thai tourists from three districts staying at the top three hotels in Songkhla Province. A questionnaire was used as a research tool. The data were analyzed through the structural equation model and the results showed that it fitted the empirical data ( χ 2 =78.332, df=24, p=0.000, CFI=0.964, TLI=0.946, SRMR=0.033, RMSEA=0.078). The research results indicated that satisfaction played a complete 1คณะบริหารธรุ กจิ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชัย อ.เมือง จ.สงขลา 90000, 2คณะบริหารธุรกิจ, 3คณะ ศึกษาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 1Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Srivijaya, Muang District, Songkhla 90000, 2Hatyai Business School, 3Faculty of Education and Liberal Arts, Hatyai University, Hatyai District, Songkhla 90110 *ผูใ้ ห้การตดิ ต่อ (Corresponding e-mail: [email protected]) รบั บทความวันที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 แกไ้ ขวนั ที่ 16 กรกฎาคม 2563 รบั ลงตีพิมพว์ นั ที่ 23 กรกฎาคม 2563 Hatyai Academic Journal 19(1): 93-111

วารสารหาดใหญว่ ิชาการ 19(1) ม.ค. - มิ.ย. 2564 94 Hatyai Academic Journal 19(1) Jan - Jun 2021 mediation role between customer relationship management and the loyalty of tourists. Keywords: Customer Relationship Management (CRM), Satisfaction, Loyalty บทคดั ย่อ การวจิ ยั นม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อศกึ ษาบทบาทการเปน็ ตวั แปรคน่ั กลางของความพงึ พอใจทมี่ ี ตอ่ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการบรหิ ารความสมั พนั ธก์ บั นกั ทอ่ งเทย่ี วและความภกั ดขี องนกั ทอ่ งเทยี่ ว ทใี่ ชบ้ รกิ ารโรงแรม ในจงั หวดั สงขลา กลมุ่ ตวั อยา่ ง คอื นกั ทอ่ งเทย่ี วชาวไทยทมี่ าทอ่ งเทย่ี วในจงั หวดั สงขลา จำ� นวน 400 ตวั อยา่ ง ใช้วธิ กี ารเลอื กกลมุ่ ตวั อย่างอย่างง่าย เกบ็ แบบสอบถามใน 3 อ�ำเภอ ที่เป็นแหล่งท่องเท่ียวหลักของจังหวัดและมีโรงแรมมากท่ีสุด 3 อันดับแรก ใช้แบบสอบถามเป็น เครอื่ งมอื ผลการวจิ ยั พบวา่ โมเดลสมการโครงสรา้ งทพ่ี ฒั นาขน้ึ มคี วามกลมกลนื กบั ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ โดยมีค่าสถิติ ( χ 2 =78.332, df=24, p=0.000, CFI=0.964, TLI=0.946, SRMR=0.033, RMSEA=0.078) และพบวา่ ความพงึ พอใจเปน็ ตวั แปรคนั่ กลางโดยสมบรู ณร์ ะหวา่ งความสมั พนั ธ์ ของการบริหารความสัมพันธ์กับนักท่องเที่ยวและความภักดีของนักท่องเท่ียวในธุรกิจโรงแรม จงั หวัดสงขลา คำ� สำ� คญั : การบริหารความสมั พันธก์ ับนักทอ่ งเทย่ี ว ความพึงพอใจ ความภักดี บทน�ำ ในงานบรกิ าร ผทู้ จ่ี ะบอกวา่ บรกิ ารมปี ระสทิ ธภิ าพหรอื ไม่ คอื ลกู คา้ แมผ้ ใู้ หบ้ รกิ ารจะใหบ้ รกิ าร อย่างเต็มความสามารถแล้ว แต่หากลูกค้าไม่พอใจแสดงว่าบริการนั้นยังไม่ดีพอ และยังไม่ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้ ซึ่งความรู้สึกของลูกค้าบอกได้ถึงคุณภาพของการบริการท่ีสามารถแบ่งได้ 4 ระดับ คอื ความไม่พงึ พอใจ ความพึงพอใจ ความประทบั ใจ และความภกั ดี (Samerjai, 2006) ความ พงึ พอใจเปน็ ความรสู้ กึ ทไ่ี มส่ ามารถมองเหน็ หรอื จบั ตอ้ งได้ เปน็ สงิ่ สำ� คญั ทจี่ ะชว่ ยใหธ้ รุ กจิ นน้ั ดำ� เนนิ อยไู่ ด้ ภายใต้สภาวะการแข่งขันในปัจจุบัน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวด้านที่พักอาศัย (Permanent Secretary of Ministry of Tourism and Sports, 2015) เชน่ โรงแรม เกสตเ์ ฮา้ ส์ ฯลฯ ซง่ึ เปน็ สง่ิ ทม่ี คี วามสำ� คญั เพราะนกั ทอ่ งเทยี่ วทเี่ ดนิ ทางเขา้ มาเทยี่ วเปน็ เวลาหลายวนั จำ� เปน็ ตอ้ งมที พ่ี กั เพอ่ื ค้างคืน จังหวัดสงขลา เป็นเมืองหลักของภาคใต้ตอนล่างและเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง ซึ่งมี เส้นทางเช่ือมโยงกับจังหวัดใกลเ้ คียงและประเทศมาเลเซยี สะดวกตอ่ การการเดนิ ทางมาทอ่ งเท่ยี ว ซึ่ง จำ� นวนนกั ทอ่ งเทยี่ วชาวไทยทเี่ ขา้ พกั แรมในจงั หวดั สงขลาตง้ั แต่ พ.ศ. 2553 ถงึ 2559 มแี นวโนม้ เพมิ่ ขนึ้ ทุกปี (Department of Tourism, 2015) ส่งผลให้การแข่งขันของธุรกิจโรงแรมมีเพ่ิมมากข้ึน ซึ่ง ผู้ประกอบการต่างพยายามหากลยุทธเ์ พ่อื ใหส้ ามารถอยรู่ อดได้ การทำ� ให้นักท่องเทยี่ วเกดิ ความภกั ดี