Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนนิเทศการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563 กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพป.ลำปาง เขต 1

แผนนิเทศการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563 กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพป.ลำปาง เขต 1

Published by lpg1, 2020-06-21 06:02:32

Description: แผนนิเทศการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563 กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพป.ลำปาง เขต 1

Search

Read the Text Version



ข คาํ นาํ แผนการนเิ ทศการศึกษาของสํานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 โดยใช กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ประจําปงบประมาณ 2563 เลมนี้ จัดทําขึ้นเพื่อขับเคลื่อน การบริหารจัดการศึกษา ดานวิชาการ และงานตามนโยบายแหงรัฐ ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเปาหมายหลักในการสงเสริม สนับสนุนการนิเทศการศึกษาใหกับผูมีสวน เกี่ยวของ ตามประเด็นการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา ประจําปงบประมาณ 2563 ของหนวยศึกษานิเทศก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน แผนการนิเทศการศึกษา ฉบับน้ีประกอบดวย 4 สวน คือ สวนท่ี 1 บทนํา สวนที่ 2 ขอมูล พื้นฐาน สวนท่ี 3 รูปแบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) และสวนที่ 4 แผนการนิเทศ กิจกรรม การนิเทศ และปฏทิ ินการนิเทศ กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ขอขอบคุณคณะทํางานทุกทาน ที่รวมกันจัดทําเอกสารฉบับน้ีจนเสร็จสมบูรณ หวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารฉบับน้ีจะเปนประโยชนตอการนิเทศของศึกษานิเทศก และผูมีสวนเก่ียวของ ในระดบั เขตพื้นที่การศึกษาไดม ีประสิทธผิ ลมากย่ิงขึ้น กลมุ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา

สารบัญ ค คาํ นํา บทนาํ หนา สารบัญ - ความเปนมาและความสําคญั ก สว นท่ี 1 - นโยบายสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ข - กรอบนโยบายและทิศทางพฒั นาการศึกษา สํานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา 1 สว นที่ 2 ประถมศึกษาลําปาง เขต 1 1 - วตั ถุประสงคข องการนิเทศ 1 สวนที่ 3 - เปาหมายของการนเิ ทศ สว นท่ี 4 28 ขอ มูลพ้นื ฐาน 31 คณะผูจดั ทํา - จํานวนสถานศึกษา 31 - จํานวนนกั เรยี นและจํานวนหองเรยี น 32 - จํานวนครูและจาํ นวนโรงเรียนจําแนกตามอําเภอ 32 - จํานวนศกึ ษานเิ ทศกจําแนกตามภารกจิ และความรบั ผิดชอบ 32 - ผลการนิเทศในรอบปท ผี่ านมา 32 - ผลการประเมนิ การอานการเขยี นภาษาไทย ปการศึกษา 2562 34 - ผลการทดสอบระดบั ชาติ ปการศกึ ษา 2562 36 36 รปู แบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) 37 แผนการนเิ ทศ กจิ กรรมการนิเทศ และปฏิทนิ การนเิ ทศ 40 44 - การนเิ ทศบูรณาการโดยใชพ ้ืนทเ่ี ปน ฐานเพ่ือคุณภาพการศึกษา 44 - การนเิ ทศภายในโรงเรยี น 47 - การจัดการเรยี นรภู าษาอังกฤษ 49 - การจัดการเรยี นรเู พือ่ พัฒนากระบวนการคิด 52 - การจดั การเรียนรูเพ่อื ฝก ทกั ษะการคดิ แบบมเี หตุผลและเปนขั้นตอน(Coding) 54 - การสง เสรมิ การเรยี นรูเ พื่อยกระดับการประเมนิ สมรรถนะนกั เรียน มาตรฐานสากล (Programme for International Student 57 Assessment : PISA) 61 - การจดั การเรียนรูสงเสริมวนิ ยั นักเรียน 64 - การสง เสริมการเรยี นรูดา นสิ่งแวดลอมในโรงเรยี น 67

สารบญั ภาพ ง แผนภาพท่ี 1 การนิเทศ เพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศึกษาโดยใชร ูปแบบนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี หนา (APICE Model) 40 41 แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคดิ การนเิ ทศเพ่ือยกระดบั คุณภาพการศึกษาโดยใชร ปู แบบนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

สว นที่ 1 บทนํา ความเปน มาและความสําคัญ รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ไดบัญญัตไิ วในมาตรา 54 วา “รฐั ตอ งดําเนินการให เด็กทุกคนไดรับการศึกษาเปนเวลาสิบสองป ตั้งแตกอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยางมีคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจาย” และคําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติที่ 28/2559 เรื่อง ใหจัดการศึกษา ขัน้ พื้นฐาน 15 ป โดยไมเ ก็บคา ใชจาย ไดม คี ําสงั่ ไวในขอ 3 วา “ใหส วนราชการท่ีเก่ยี วของกับการจัดการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานดําเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ป ใหมีมาตรฐานและคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจาย” ตลอดจนเปนไปตามหลักการของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ (2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี3) พ.ศ. 2553 ท่ีจัดใหมีการบริหาร และการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยยึดเขตพื้นท่ี การศึกษา และมีการกระจายอํานาจสูเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษา ตามมาตรา 39 กําหนดให “กระทรวงกระจายอํานาจการบริหาร และการจัดการศึกษาท้ังดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงาน บุคคล และการบริหารทั่วไปไปยังคณะกรรมการ และสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษาในเขต พนื้ ท่กี ารศึกษา โดยตรง” อนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดกําหนดนโยบาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยยึดหลักของการพัฒนาท่ีย่ังยืน และการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ ในอนาคต เปนแนวทางในการจัดการศกึ ษาจดั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2561- 2580 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ(พ.ศ. 2561 - 2580) แผนปฏิรูปประเทศ ดานการศึกษา แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2565) แผนการศึกษา แหงชาติ พ.ศ.2560 - 2579 และ มุงสู Thailand 4.0 ดงั นี้ นโยบายสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน นโยบายท่ี 1 ดานการจัดการศกึ ษาเพ่อื ความมั่นคงของมนุษยและของชาติ นโยบายที่ 2 ดานการจัดการศกึ ษาเพือ่ เพม่ิ ความสามารถในการแขงขันของประเทศ นโยบายท่ี 3 ดา นการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย นโยบายท่ี 4 ดานการสรางโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพมีมาตรฐานและลดความ เหลอื่ มลํ้าทางการศึกษา นโยบายที่ 5 ดา นการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวิตท่เี ปนมติ รกับสงิ่ แวดลอ ม นโยบายที่ 6 ดา นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษา นโยบายที่ 1 ดา นการจัดการศึกษาเพอ่ื ความมั่นคงของมนุษยและของชาติ เปา ประสงค

2 1. ผูเรียนทุกคนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติยึดม่ันการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข 2. ผูเรียนทุกคนมีทัศนคติที่ดีตอบานเมือง มีหลักคิดที่ถูกตอง เปนพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีคานิยมท่ีพึงประสงค มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบตอครอบครัว ผูอื่น และสังคมโดยรวม ซ่ือสตั ย สจุ รติ มธั ยสั ถ อดออม โอบออ มอารี มวี นิ ัย และรักษาศีลธรรม 3. ผูเรียนทุกคนมีความรู ความเขาใจ และมีความพรอมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบท่ีมี ผลกระทบตอความมั่นคง เชน ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพยสิน การคามนุษย อาชญากรรมไซเบอร และภยั พิบตั ติ าง ๆ เปนตน 4. ผูเรียนในเขตพ้ืนท่ีเฉพาะ กลุมชาติพันธุ กลุมผูดอยโอกาส และกลุมท่ีอยูในพ้ืนที่หางไกลทุรกันดาร เชน พื้นท่ีสูง ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง เปนตน ไดรับการบริการดานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี คุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความตองการ ตัวชี้วัด/คา เปาหมาย 1. รอยละของผูเรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติยึดมั่นการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุข 2. รอยละของผูเรียนท่ีมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงการมีทัศนคติที่ดีตอบานเมือง มีหลักคิดที่ถูกตองเปน พลเมืองดขี องชาติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีคา นิยมทพ่ี ึงประสงค มีคุณธรรมอัตลักษณ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รบั ผิดชอบตอ ครอบครวั ผูอนื่ และสงั คมโดยรวม ซ่ือสตั ย สุจรติ มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย และรักษา ศีลธรรม 3. รอยละของผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และมีความพรอมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบที่มี ผลกระทบตอความม่ันคง เชน ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพยสิน การคามนุษย อาชญากรรมไซเบอร และภยั พบิ ตั ิตาง ๆ เปนตน 4. รอยละของผูเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตไดรับโอกาส และการพัฒนา อยา งเตม็ ศกั ยภาพ และมีคุณภาพสอดคลองกบั บรบิ ทของพื้นท่ี 5. รอยละของผูเรียนในเขตพ้ืนท่ีเฉพาะกลุมชาติพันธุ กลุมผูดอยโอกาส และกลุมที่อยูในพื้นที่หางไกล ทุรกันดาร เชน พื้นท่ีสูง ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง ไดรับการบริการ ดานการศึกษาข้ันพื้นฐานที่มี คณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความตองการ สอดคลอ งกับบรบิ ทของพื้นท่ี 6. จํานวนสถานศึกษาที่นอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกลาเจาอยูหัว และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไป พัฒนาผูเรยี นใหม ีคุณลักษณะอันพึงประสงคต ามท่กี ําหนดไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ 7. จํานวนสถานศึกษาท่ีจัดบรรยากาศส่ิงแวดลอม และจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนแสดงออกถึง ความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มที ัศนคตทิ ่ดี ตี อบา นเมอื ง มีหลกั คดิ ท่ถี กู ตอง เปนพลเมืองดีของชาติ มคี ุณธรรม จริยธรรม

3 มาตรการและแนวทางการดําเนนิ การ 1. พัฒนาผเู รยี นใหเปนพลเมอื งดีของชาตแิ ละเปน พลโลกทดี่ ี เปนมาตรการในการพัฒนาผูเรียนใหมีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท รงเปนประมุข มีทัศนคติท่ีดีตอบานเมือง มีหลักคิดท่ีถูกตองเปนพลเมืองดี ของชาติ และพลเมืองโลกทด่ี ี มคี ุณธรรม จริยธรรม มีคา นิยมที่พึงประสงค มีคุณธรรมอัตลักษณ มีจิตสาธารณะ มจี ติ อาสา รับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชน และสังคมและประเทศชาติซ่ือสัตย สุจริต มัธยัสถ อดออม โอบออม อารี มีวนิ ัย และรกั ษาศีลธรรม โดยมแี นวทางการดําเนินการ ดังน้ี 1.1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สงเสริม สนับสนุน กํากับ ติดตาม และประเมินสถานศกึ ษาตามมาตรการท่ีกาํ หนด 1.2 สถานศกึ ษา (1) พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา โดยนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาของ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชริ าลงกรณฯ พระวชิรเกลาเจาอยหู วั และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือพัฒนาผูเรียนมีคุณลักษณะอัน พึงประสงคตามท่กี ําหนด (2) จัดบรรยากาศส่ิงแวดลอม และจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนแสดงออกถึงความรักใน สถาบนั หลกั ของชาติ ยึดมนั่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ  ทรงเปนประมุข มีทัศนคติที่ดีตอบานเมือง มีหลักคิดที่ถูกตอง เปนพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มี คุณธรรม จริยธรรม มีคานิยมท่ีพึงประสงค มีคุณธรรมอัตลักษณ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบตอ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ซื่อสัตย สุจริต มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย และรักษา ศีลธรรม 2. พัฒนาผูเรียนมีความใหมีความพรอมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง ทมี่ ผี ลกระทบตอ ความม่ันคงของประเทศ เปน มาตรการในการพัฒนาผูเ รียนใหม คี วามรู ความสามารถในการรบั มอื กบั ภัยคกุ คาม รูปแบบใหมทุก รูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง เชน ภัยจากยาเสพติด ภัยจากความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพยสิน การคามนุษย อาชญากรรมไซเบอร และภัยพิบัติตาง ๆ เปนตน ควบคูไปกับการปองกันและแกไขปญหาท่ีมีอยู ในปจ จุบนั และทีอ่ าจจะเกดิ ขึ้นในอนาคต โดยมแี นวทางการดาํ เนนิ การ ดังนี้ 2.1 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงเสริม สนับสนุน กํากับ ติดตาม และประเมินสถานศึกษาตาม มาตรการท่กี าํ หนด 2.2 สถานศึกษา (1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ เก่ียวกับภัยคุกคามท่ีมีผลกระทบตอความมั่นคง ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและ

4 ทรัพยสิน การคามนุษย อาชญากรรมไซเบอร ภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน และภัยคุกคามรูปแบบใหม ตลอดจน รจู กั วิธกี ารปองกัน และแกไขหากไดรับผลกระทบจากภัยดงั กลาว (2) มีมาตรการและแนวทางการปองกนั ยาเสพติดในสถานศกึ ษาและชุมชน (3) จดั สภาพแวดลอมภายในสถานศึกษาใหมคี วามมนั่ คงปลอดภัย (4) มีระบบการดูแล ติดตาม และชวยเหลือผูเรียน ในการแกปญหาตาง ๆ ไดรับคําปรึกษา ชแี้ นะและความชว ยเหลอื อยางทนั การณ ทันเวลา รวมทั้งการอบรมบมนิสัยขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน ในพน้ื ทเ่ี สย่ี งภยั 3. การพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี นในเขตพืน้ ทีเ่ ฉพาะ เปนมาตรการการจัดการศึกษาใหแกผูเรียนที่อยูในเขตพื้นท่ีเฉพาะ กลุมชาติพันธุ กลุมผูดอยโอกาส และกลุมท่ีอยูในพ้ืนท่ีหางไกลทุรกันดาร พื้นที่สูง ไดรับการบริการดานการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีมีคุณภาพ และ เหมาะสมตรงตามความตอ งการ โดยมแี นวทางการดําเนินการ ดงั นี้ 3.1 สาํ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา (1) สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่สูงในถิ่น ทรุ กนั ดาร และท่ีดแู ลหอพักนอนตามความจาํ เปนและ เหมาะสมกบั บรบิ ท (2) จัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมใหสถานศึกษาในกลุมโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง ใหจัดการเรียนรูท่ีมีคุณภาพ และเกิดจิตสํานึกรักในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  (3) สรางเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรูในประเด็น “การพัฒนาการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมกับ สภาพบริบทของพ้ืนที่สูงในถิ่นทุรกันดาร ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง” ในรูปแบบตาง ๆ เชน จัดเวที เสวนา การแสดงนทิ รรศการ การตดิ ตอ สื่อสารผา นชองทางออนไลน 3.2 สถานศึกษา (1) พัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู สื่อการเรียนรู และการวัดและประเมินผลที่ เหมาะสมสําหรับการพัฒนาศักยภาพสูงสุด ผูเรียนกลุมชาติพันธุ กลุมผูดอยโอกาส และกลุมที่อยูในพ้ืนที่ หางไกลทรุ กนั ดาร (2) พัฒนาครูใหมีทักษะการสอนภาษาไทยสําหรบั เด็กท่ีไมไดใ ชภ าษาไทยในชีวติ ประจําวัน (3) สงเสริมการจัดการเรียนรูโดยใชชุมชนเปนฐาน ในการพัฒนาทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะอาชพี และภาษาที่ 3 ทส่ี อดคลองและเหมาะสมกบั สงั คมพหุวัฒนธรรม นโยบายที่ 2 ดา นการจดั การศกึ ษาเพ่ือเพิม่ ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ เปา ประสงค 1. ผเู รยี นทกุ ระดบั ใหม คี วามเปนเลิศ มีทกั ษะทจ่ี ําเปนในศตวรรษที่ 21 2. ผูเรียนมีความเปนเลิศตามความถนัดและความสนใจ นําไปสูการพัฒนาทักษะวิชาชีพ เปนนักคิด เปน ผูสรางนวตั กรรม เปน นวตั กร

5 3. ผเู รยี นไดรับโอกาสเขาสเู วทีการแขงขนั ระดบั นานาชาติ ตัวชว้ี ัด/คาเปาหมาย 1. จํานวนผูเรียนมีความเปนเลิศทางดานวิชาการ มีทักษะความรูที่สอดคลองกับทักษะท่ีจําเปนใน ศตวรรษที่ 21 2. ผูเรียนระดับมัธยมศึกษาผานการประเมินสมรรถนะท่ีจําเปนดานการรูเร่ืองการอาน (Reading Literacy) ดานการรูเร่ืองคณิตศาสตร (Mathematical Literacy) และดานการรูเร่ืองวิทยาศาสตร (Scientific Literacy) ตามแนวทางการประเมิน PISA 3. รอ ยละของผเู รยี นที่มีศักยภาพไดรบั โอกาสเขาสูเวทกี ารแขง ขันระดบั นานาชาติ มาตรการและแนวทางการดาํ เนินการ พัฒนาคุณภาพผูเรียนเต็มตามศักยภาพ นําไปสูความเปนเลิศดานวิชาการตามความสามารถ ความ สนใจ มีทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 สรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยมีแนวทาง ดาํ เนินการ ดังนี้ 1.สํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา 1.1 ศึกษาวิเคราะห วิจัยและพัฒนาเคร่ืองมือวัดแวว และรวบรวมเคร่ืองมือวัดแววจากหนวยงาน ตาง ๆ ทเี่ ก่ยี วของทงั้ ภาครฐั และเอกชน 1.2 สงเสริมสนับสนุน ใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ดําเนินการวัดแววความถนัดทางการเรียน ของนักเรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนตนของโรงเรียนในเขตพ้ืนที่การศึกษา จัดกิจกรรมแนะแนวใหผูเรียนคนหา ตนเอง นําไปสูการพัฒนาผูเรียนใหมีความพรอมที่จะพัฒนาตอยอดไปสูความเปนเลิศดานทักษะอาชีพท่ีตรง ตามความตองการและความถนัดของผูเรยี น 1.3 ศึกษา วิเคราะหความเหมาะสมของวิธีและกระบวนการงบประมาณ ต้ังแตจํานวนงบประมาณ ในการสนับสนุนสถานศึกษาและผูเรียนอยางเพียงพอ และเหมาะสม วิธีการจัดสรร วิธีการดานระบบบัญชี การเบิกจา ย และการติดตาม ตรวจสอบ เปนตน เพ่ือกระจายอํานาจใหสถานศึกษา มีความเปนอิสระในการจัด การศึกษาเพือ่ พัฒนาผเู รียนอยา งเต็มศกั ยภาพ 1.4 สงเสรมิ สนบั สนุนใหส ถานศึกษาจัดทําแผนงาน โครงการ และกิจกรรม เพิ่มศักยภาพผูเรียนตาม ความถนดั ความสนใจ และความตองการพัฒนา ทั้งดานวิชาการ ดานอาชีพ และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ต้ังแต ระดับสถานศกึ ษา เขตพืน้ ที่การศกึ ษา จังหวดั ภมู ภิ าค ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ 1.5 กํากบั ติดตาม และใหค วามชว ยเหลอื สถานศกึ ษา 2. สถานศกึ ษา 2.1 ดําเนินการวัดแววผูเรียน และพัฒนาขีดความสามารถของผูเรียนตามศักยภาพ และความ ถนัด โดยจัดการเรียนรูผ านกิจกรรมการปฏบิ ัตจิ รงิ (Active Learning) เชน การจัดการเรียนรูตามกระบวนการ 5 ขน้ั ตอนหรือบันได 5 ขนั้ (Independent Study : IS) การเรยี นรูเ ชงิ บรู ณาการแบบสหวิทยาการ เชน สะเต็ม ศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education)เปนตน

6 โดยสงเสริมใหครูจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเองผานระบบดิจิทัล (Digital Learning Platform) 2.2 ปรับเปลี่ยนอัตลักษณของสถานศึกษาใหมุงเนนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนมีความเปนเลิศ ทางวิชาการตามความถนัด ความสามารถ ความสนใจของผูเรียน และจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสุขพลานามัย ให เปน คนท่สี มบูรณแ ขง็ แรงทั้งรางกายและจิตใจ 2.3 สถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรและการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรูเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมี ความเปนเลศิ ทางวิชาการตามความสนใจ และความถนัดเต็มตามศักยภาพ 2.4 สงเสริม สนับสนุน ใหครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการพัฒนาเพื่อปรับเปล่ียน กระบวนการจัดการเรียนรูใหแกผูเรียนโดยเนนการจัดการเรียนรูใหแกผูเรียนเปนรายบุคคลตามความตองการ และความถนัดของผเู รยี น 2.5 จัดกิจกรรมการเรียนรู ใหผูเรียนมีความเปนเลิศในทักษะสื่อสารภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ ภาษาท่ี 3 เพมิ่ เติมอยา งนอย 1 ภาษา 2.6 ปรับเปลี่ยนวิธีการวัด ประเมิน ผลการเรียนของผูเรียน โดยมุงเนนการวัดประเมินตาม สมรรถนะรายบุคคล โดยการจัดใหมีการวัดประเมินจากสวนกลางในช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 และช้ันมัธยมศึกษา ปท ่ี 6 2.7 สรปุ และรายงานผลการดาํ เนินงานตอสํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา นโยบายท่ี 3 ดา นการพัฒนาและสรางเสรมิ ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษย เปา ประสงค 1. หลักสูตรปฐมวัยและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีการพัฒนาท่ีสอดคลองกับแนวโนม การพฒั นาของประเทศ 2. ผูเรียนไดร ับการพฒั นาตามจุดมงุ หมายของหลักสูตร และมีทักษะความสามารถที่สอดคลองกับทักษะ ท่ีจําเปนในศตวรรษที่ 21 มีความยืดหยุนทางดานความคิด สามารถทํางานรวมกับผูอื่นได ภายใตสังคมที่เปน พหุวัฒนธรรม รวมถึงการวางพ้ืนฐานการเรียนรูเพ่ือการวางแผนชีวิต ที่เหมาะสมในแตละชวงวัยและนําไป ปฏบิ ตั ไิ ด 3. ผูเ รยี นไดร ับการพฒั นาใหม คี วามรแู ละทักษะนําไปสกู ารพัฒนานวัตกรรม 4. ผูเรยี นไดร ับการพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ เช่ือมโยงสูอาชีพและการมีงานทํามีทักษะอาชีพที่สอดคลอง กับความตองการของประเทศ 5. ผูเรียนไดรับการพัฒนาใหมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองใหมีสุขภาวะท่ีดี สามารถ ดาํ รงชีวติ อยางมีความสุขท้ังดานรางกายและจติ ใจ 6. ครู เปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผูสอน” เปน “Coach” ผูใหคําปรึกษาขอเสนอแนะการเรียนรูหรือ ผูอํานวยการการเรียนรู

7 7. ครู มีความรูความสามารถในการจัดการเรียนการสอน และเปนแบบอยางดานคุณธรรมและ จรยิ ธรรม ตวั ชี้วัด/คา เปาหมาย 1. ผเู รียนทกุ ระดบั มสี มรรถนะสาํ คัญตามหลกั สตู ร มที ักษะการเรียนรใู นศตวรรษท่ี 21 (3R8C) 2. รอ ยละของผเู รียนช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 3 ท่ีมีคะแนนผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานระดับชาติ (NT) ผา นเกณฑทก่ี ําหนด 3. รอยละของผูเรียนท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) มากกวา รอยละ 50 ในแตละวิชาเพ่มิ ข้ึนจากปก ารศึกษาท่ีผา นมา 4. รอยละผูเรียนที่จบการศึกษาช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 6 มี ทักษะการเรียนรูท่ีเชื่อมโยงสูอาชีพและการมีงานทํา ตามความถนัด และความตองการของตนเอง มีทักษะ อาชีพท่ีสอดคลองกับความตองการของประเทศ วางแผนชีวิตและวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมและนําไป ปฏิบัติได 5. ผูเ รียนทกุ คนมีทกั ษะพ้นื ฐานในการดาํ รงชีวติ สามารถดาํ รงชีวิตอยูใ นสงั คม ไดอยางมีความสุข มีความยืดหยุนทางดานความคิด สามารถทํางานรวมกับผูอื่นได ภายใตสังคมท่ีเปนพหุ วฒั นธรรม 6. ผเู รียนทกุ คนมีศักยภาพในการจดั การสขุ ภาวะของตนเองใหมีสุขภาวะที่ดี สามารถดํารงชีวิตอยางมี ความสุขท้ังดานรางกายและจติ ใจ 7. ครู มีการเปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผูสอน” เปน “Coach” ผูใหคําปรึกษาขอเสนอแนะการเรียนรู หรอื ผอู ํานวยการการเรยี นรู มาตรการและแนวทางการดําเนินการ 1. พัฒนาหลักสูตรทุกระดบั การศกึ ษา เปนมาตรการสนับสนุนใหมีการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางใหเปนหลักสูตรเชิงสมรรถนะ สอดคลอง กับทกั ษะท่ีจําเปนในศตวรรษที่ 21 เอ้ือตอการพัฒนาสมรรถนะผูเรียนเปนรายบุคคลอยางเหมาะสมทุกดานทั้ง ทางดา นรา งกาย จิตใจ อารมณ สงั คม และสติปญ ญา มที ักษะส่อื สารภาษาไทย มีแนวทางดําเนนิ การ ดังน้ี 1.1 สาํ นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา (1) พัฒนาหลกั สตู รทุกระดับเพอื่ ใหผ ูเรียนไดรับการพัฒนาทั้ง 4 ดาน (รางกาย จิตใจ อารมณ และ สติปญ ญา) สอดคลอ งกบั ทกั ษะทจ่ี ําเปน ในศตวรรษท่ี 21 (2) สงเสรมิ ใหครปู รบั เปลย่ี นการจดั การเรียนรู “ครผู ูสอน” เปน “Coach” ผูอํานวยการการเรียนรู ผใู หค ําปรกึ ษา หรือใหขอเสนอแนะการเรยี นรู และปรับระบบการวัดประเมินผลสัมฤทธิ์ผูเรียนใหสอดคลองกับ หลกั สตู ร

8 1.2 สถานศึกษา พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา ใหสอดคลอ งกับหลกั สูตรแกนกลางเนนการพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล (หลักสูตรเชิงสมรรถนะ) และปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนรูใหตอบสนองตอความตองการของ ผูเ รยี นและบรบิ ทของพ้ืนท่ี 2. การพฒั นาศกั ยภาพ และคณุ ภาพของผูเรยี น 2.1 การพัฒนาศกั ยภาพและคุณภาพของผเู รียนระดับปฐมวัย เด็กปฐมวัยไดรับการพัฒนาเหมาะสมกับวัยในทุกดาน ทั้งทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และ สติปญญา มีวินัย มีทักษะสื่อสารภาษาไทย และมีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ (ฟง พูด) และทักษะดานดิจิทัล พรอมท่ีจะไดรับการพัฒนาในระดับการศึกษาที่สูงข้ึน โดยมแี นวทางดําเนนิ การ ดงั นี้ 2.1.1 สาํ นักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา (1)จดั ทาํ เครอ่ื งมือประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยปเวนป สรุป และรายงานผลตอ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและหนว ยงานทีเ่ กีย่ วของ (2) สงเสริมสนับสนุนการดําเนินงานของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษาเพ่ือ ประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวัย และดําเนินการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยทั้งผูบริหารสถานศึกษา ครูและ บุคลากรปฐมวัย รวมท้ังผปู กครอง ใหม ีความรคู วามเขา ใจการจัดการศกึ ษาปฐมวยั (3) สนับสนุนใหสถานศกึ ษามีครูหรือครูผูช ว ยดา นปฐมวยั ตามมาตรฐานทีก่ ําหนด (4) ศึกษา วิเคราะห วิจัย การจัดการศึกษาปฐมวัย แนวคิด ทฤษฎี และองคความรูใหม ๆ เก่ยี วกบั การจัดการศกึ ษาปฐมวัย เพ่อื บริการแกโ รงเรียนและผสู นใจ (5) กาํ กบั ติดตาม และใหความชวยเหลือสถานศึกษา รวมท้ังสรุปและรายงานผลการดําเนินงาน ตอกระทรวงศึกษาธิการ และหนวยงานท่เี กยี่ วขอ ง 2.1.2 สถานศึกษา (1) จัดกิจกรรมพัฒนาเด็กปฐมวัยในรูปแบบท่ีหลากหลาย จัดสภาพแวดลอมท้ังในและนอก หอ งเรียนใหเอ้ือตอการพฒั นาการเรียนรู (2) จดั การเรยี นรู สรางประสบการณ เนนการเรียนเปนเลน เรียนรูอยา งมคี วามสุข (3) ปรบั ปรงุ อาคารสถานท่ี สง่ิ อํานวยความสะดวก สนามเด็กเลน ใหไ ดมาตรฐาน มีความปลอดภัย สามารถจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ (4) จัดหาสือ่ อปุ กรณ ท่มี ีคุณภาพเหมาะสม มมี าตรฐาน และความปลอดภัย (5) อภบิ าลเดก็ ปฐมวัยใหมีสขุ ภาวะท่ดี ี รางกายสมบูรณแ ข็งแรง ปราศจากโรคภยั ไข เจบ็ (6) สรางความรูความเขาใจแกผูปกครองในการจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อการมีสวนรวมและการ สนับสนนุ การดําเนนิ งานของสถานศกึ ษา (7) สรปุ และรายงานผลการดําเนินงานตอ สาํ นกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษา 2.2 การพฒั นาศกั ยภาพ และคุณภาพผูเ รยี นระดับประถมศกึ ษา ผูเ รยี นระดับประถมศกึ ษาไดร ับการพัฒนาทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญา มีวินัย มที ักษะทจ่ี าํ เปนในศตวรรษที่ 21 โดยมีแนวทางดําเนินการ ดังนี้

9 2.2.1 สํานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา (1) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดการศึกษาพัฒนาผูเรียนใหมีพัฒนาการท่ีสมวัยในทุก ดา นท้งั ทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สงั คม และสตปิ ญ ญา ใหมีคณุ ลกั ษณะ - เปนไปตามหลักสูตร - มีทักษะการเรยี นรูในศตวรรษท่ี 21 - มีทักษะการเรียนรูที่เชื่อมโยงสูอาชีพและการมีงานทําสอดคลองกับความตองการของ ประเทศ - มีความรู และทักษะดา นวทิ ยาศาสตรนาํ ไปสูการพัฒนานวัตกรรม - มีความรคู วามสามารถดานดิจทิ ัล (Digital) และใชดิจิทัลเปนเครื่องมือในการเรียนรูไดอยาง มปี ระสทิ ธิภาพ - มีทักษะทางดานภาษาไทย เพ่ือใชเปนเคร่ืองมือในการเรียนรู มีนิสัยรักการอาน มีทักษะ สื่อสารภาษาองั กฤษ และภาษาท่ี 3 (2) จัดทําเคร่ืองมือประเมินความสามารถพ้ืนฐานระดับชาติ (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาป ท่ี 3 และดาํ เนินการประเมิน รวมทั้งประสานการดาํ เนนิ งานเพือ่ ทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O- NET) นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 วเิ คราะหผ ลการประเมนิ เพอ่ื เปน ฐานการพฒั นานกั เรียนทุกระดับช้นั (3) สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหส ถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนเต็มตามศักยภาพสอดคลองกับ ความสามารถ ความถนัดและความสนใจ รวมถึงการวางพ้ืนฐานการเรียนรูเพ่ือการวางแผนชีวิต และวางแผน ทางการเงินทเ่ี หมาะสมและนําไปปฏบิ ตั ไิ ด (4) สรางกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพ่ือสงเสริมกระบวนการเรียนรูตาม สมรรถนะรายบคุ คลและเตรยี มความพรอมสกู ารประกอบสัมมาอาชพี (5) ดําเนินการติดตาม และตรวจสอบใหผูเรียนไดรับประทานอาหารอยางครบถวนถูกตอง ตามหลกั โภชนาการ (6) กํากบั ตดิ ตาม และใหความชวยเหลือสถานศกึ ษาในการจดั การศกึ ษา 2.2.2 สถานศกึ ษา (1) จดั การเรยี นรทู ใ่ี หผูเรยี นไดเรยี นรูผานกจิ กรรมการปฏิบตั จิ รงิ (Active Learning) (2) จัดการเรียนรูอยางเปนระบบมุงเนนการใชฐานความรู และระบบความคิดในลักษณะ สหวิทยาการ (STEAM Education) เชน - ความรูทางวิทยาศาสตรและการตัง้ คาํ ถาม - ความเขาใจและความสามารถในการใชเทคโนโลยี - ความรูทางวศิ วกรรม และการคดิ เพื่อหาทางแกปญ หา - ความรูและทักษะในดา นศลิ ปะ - ความรูดานคณิตศาสตรและระบบคดิ ของเหตุผลและการหาความสมั พนั ธ

10 (3) จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนเต็มตามศักยภาพสอดคลองกับความสามารถ ความถนัดและ ความสนใจ รวมถึงกิจกรรมการแนะแนวท้ังดานศึกษาตอ และดานอาชีพ เปนการวางพ้ืนฐานการเรียนรู การ วางแผนชีวิต และวางแผนทางการเงนิ ท่ีเหมาะสมและนําไปปฏิบัติได (4) จัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อสงเสริมสนับสนุนใหผูเรียนมีทักษะพ้ืนฐานในการดํารงชีวิต มี สขุ ภาวะท่ดี ี สามารถดํารงชีวติ อยางมีความสขุ (5) จัดกิจกรรมการเรียนรูและพัฒนาดานอารมณและสังคม (Social and Emotional Learning : SEL) (6) จัดการเรียนการสอนเพ่อื เพมิ่ ทักษะการคดิ แบบมเี หตุผลและเปน ข้นั ตอน (Coding) (7) ดําเนินการใหผูเรียนไดรับประทานอาหารอยางครบถวนถูกตองตามหลักโภชนาการ เปน ไปดวยความถกู ตองตามระเบยี บและวนิ ยั การคลงั (8) สรปุ และรายงานผลการดําเนินงานตอสํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา 2.3 การพัฒนาศกั ยภาพ และคุณภาพผเู รยี นระดับมธั ยมศกึ ษา ผูเรยี นระดับมัธยมศึกษา ไดรับการพัฒนาทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญา มีวินัย มีทกั ษะท่ีจําเปนในศตวรรษที่ 21 มีทักษะดานการคิดวิเคราะห สังเคราะห มีทักษะดานภาษาไทยเพื่อใชในการ เรียนรู มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีไดรับการพัฒนาทักษะ การเรียนรูท่ีเชื่อมโยงสูอาชีพและการมีงานทํา นําไปสูการมีทักษะอาชีพที่สอดคลองกับความตองการของ ประเทศ มีความยืดหยนุ ทางดานความคิด สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนได ภายใตสังคมที่เปนพหุวัฒนธรรม มีทักษะพ้นื ฐานในการดาํ รงชวี ติ มีสขุ ภาวะที่ดี สามารถดํารงชีวิตอยางมคี วามสุข โดยมีแนวทางดาํ เนนิ การ ดงั นี้ 2.3.1 สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา (1)สงเสริม สนับสนุนใหสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือ พัฒนาผูเรียนใหมีพัฒนาการท่ีสมวัยในทุกดานทั้งทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญามีความ ยดื หยุน ทางดานความคิด สามารถทํางานรวมกบั ผูอืน่ ได ภายใตสงั คมท่ีเปนพหุวัฒนธรรม ใหมีคณุ ลกั ษณะ - เปนไปตามหลักสูตร - มีทักษะการเรยี นรูในศตวรรษท่ี 21 - มที กั ษะทางดา นภาษาไทย มที ักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 เพื่อใชเปนเคร่ืองมือ ในการประกอบอาชีพ - มีความรู และทักษะดา นวิทยาศาสตรน ําไปสกู ารพฒั นานวัตกรรม - มีความสามารถดานดิจิทัล (Digital) และใชดิจิทัลเปนเคร่ืองมือในการเรียนรูไดอยางมี ประสิทธภิ าพ - มีทักษะทางดานภาษาไทย เพื่อใชเปนเคร่ืองมือในการเรียนรู มีนิสัยรักการอาน มีทักษะ สือ่ สารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3

11 (2) ประสานการดําเนินงานเพื่อทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 วิเคราะหผลการประเมินเพื่อเปนฐานการพัฒนานักเรียนทุก ระดับช้นั (3) สงเสริม สนับสนุน สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนา ผูเรียนเต็มตามศักยภาพสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจ รวมถึงการวางพ้ืนฐานการ เรียนรูเ พ่อื การวางแผนชีวิตและ วางแผนทางการเงนิ ทีเ่ หมาะสมและนําไปปฏิบัติได (4) สรางกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพ่ือสงเสริมกระบวนการเรียนรูตาม สมรรถนะรายบุคคลและเตรยี มความพรอมสูก ารประกอบสัมมาอาชพี (5) จัดทําแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพิ่มศักยภาพผูเรียนท่ีมีความรูและทักษะดาน วิทยาศาสตร เปนนักคิด นักปฏิบัติ นักประดิษฐ เปนนวัตกร นําไปสูการพัฒนานวัตกรรมในอนาคต รวมทั้งจัด กิจกรรมกีฬา การออกกําลังกาย และสนับสนุนใหผูเรียน มีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองใหมีสุข ภาวะท่ีดี สามารถดํารงชีวิตอยา งมีความสุขทงั้ ดา นรางกายและจติ ใจ (6) กาํ กับ ตดิ ตาม และใหความชวยเหลอื สถานศึกษา 2.3.2 สถานศกึ ษา (1) สงเสริมครูใหจัดการเรียนรูท่ีใหผูเรียนไดเรียนรูผานกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning) (2) สง เสริมครูใหจ ดั การเรียนรูตามกระบวนการ 5 ขั้นตอน หรอื บนั ได 5 ขน้ั (Independent Study : IS) (3) สงเสริม สนับสนุนครูใหจัดการเรียนรูอยางเปนระบบมุงเนนการใชฐานความรูและระบบ ความคิดในลักษณะสหวทิ ยาการ (STEAM Education) เชน - ความรูท างวิทยาศาสตรและการตง้ั คําถาม - ความเขา ใจและความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี - ความรทู างวศิ วกรรม และการคดิ เพือ่ หาทางแกปญ หา - ความรูแ ละทกั ษะในดานศิลปะ - ความรูดานคณิตศาสตรและระบบคดิ ของเหตผุ ลและการหาความสัมพันธ (4) จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่มีความรูและทักษะดานวิทยาศาสตร เปนนักคิด นักปฏิบัติ นกั ประดษิ ฐ เปนนวตั กร นําไปสูการพัฒนานวตั กรรมในอนาคตรวมท้ังจัดกิจกรรมกีฬา การออกกําลังกาย และ สนับสนุนใหผูเรียน มีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองใหมีสุขภาวะที่ดี สามารถดํารงชีวิตอยางมี ความสุขท้ังดานรางกายและจิตใจ เม่ือถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถวางแผนการศึกษาตอหรือการ ประกอบอาชีพไดต ามความถนัด ความตอ งการ และความสนใจของตนเอง (5) สงเสรมิ การเรียนรแู ละพัฒนาดานอารมณและสังคม (Social and Emotional Learning : SEL) (6) สรุปและรายงานผลการดําเนนิ งานตอ สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา

12 2.4 พฒั นาคุณภาพผูเ รียนทมี่ ีความตอ งการดแู ลเปนพเิ ศษ เปนการจัดการศึกษาและพัฒนาสมรรถภาพสําหรับเด็กพิการและเด็กดอยโอกาส ในรูปแบบที่ หลากหลาย เหมาะสมกับบริบท และความตอ งการจาํ เปน พิเศษเฉพาะบุคคล โดยแนวทางการดําเนนิ การ (1) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง สําหรบั เดก็ พิการและเด็กดอ ยโอกาส (2) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา รวมทั้งการ พัฒนาหลักสูตร และส่ือการเรียนการสอนที่เหมาะสมสําหรับเด็กพิการและเด็กดอยโอกาสในรูปแบบท่ี หลากหลายเหมาะสมกับบรบิ ท และความตอ งการจาํ เปนพิเศษเฉพาะบคุ คล (3) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สงเสริม สนับสนุนการใหบริการชวยเหลือระยะ แรกเร่ิม (Early Intervention : EI) (4) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สนับสนุนทรัพยากร และจัดสรรงบประมาณดาน การศึกษาทเ่ี หมาะสมกบั บริบทและความตอ งการจาํ เปนพิเศษ (5) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สงเสริมใหสถานศึกษานําระบบเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใชในการบรหิ ารจดั การ การใหบ รกิ าร และการเรยี นรู (6) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปรับปรุงเกณฑอัตรากําลังครูและบุคลกรใหมีความ เหมาะสมกับภารงานในการจดั การศกึ ษาพิเศษ และเดก็ ดอยโอกาส (7) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สงเสริม สนับสนุนใหมีการพัฒนาผูบริหาร ครูและ บุคลากรทางการศึกษา ใหมีความรูทักษะ ประสบการณ มีเจตคติท่ีดีตอการจัดการศึกษาสําหรับเด็กพิการและ เด็กดอยโอกาส (8) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พัฒนาระบบการใหบริการเทคโนโลยี สิ่งอํานวย ความสะดวก ส่ือ บรกิ าร และความชว ยเหลอื อื่นใดทางการศกึ ษาทสี่ อดคลองกับความตองการจําเปน พิเศษ (9) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สนับสนุนการพัฒนาภาคีเครือขาย (Education Partnership) ใหทุกภาคสวนมสี ว นรวมในการจัดการศกึ ษาสําหรับเด็กพิการและเด็กดอ ยโอกาส 3. นําเทคโนโลยีดิจิทัล(Digital Technology)มาใชสนับสนุนการเรียนรูใหแกผูเรียนทุกระดับ การจัดการศกึ ษา เปนมาตรการในการประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล ในการสงเสริมสนับสนุนใหผูเรียนพัฒนาวิธีการ เรยี นรขู องตนเอง ตามความตอ งการ และความถนัด ของผูเรียนสามารถสรางสังคมฐานความรู (Knowledge - Based Society) ของตนเอง เพื่อใหเ กิดการเรียนรอู ยางตอเน่อื งตลอดชวี ิต โดยแนวทางการดําเนินการ ดงั น้ี 3.1 สํานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา (1) จัดหา พัฒนา ขอมูลองคความรู สื่อ วิดีโอ และองคความรูประเภทตาง ๆ หนังสือแบบเรียนใน รปู แบบของดจิ ิทลั เทคบุค (Digital Textbook) ตามเน้ือหาหลกั สตู รท่กี าํ หนด

13 (2) พัฒนารูปแบบการเรียนรูผานระบบดิจิทัล (Digital Learning Platform) เพ่ือตอบสนองตอ การพัฒนาการเรียนรูข องผเู รยี นเปนรายบคุ คล (3) สงเสริม สนับสนุนใหผูเรียนมีอุปกรณดิจิทัล (Digital device) เพื่อเปนเคร่ืองมือในการเขาถึง องคค วามรู และการเรยี นรูผานระบบดิจิทัล อยางเหมาะสมตามวัย (4) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนใหผูเรียนเรียนรูดวย ตนเองผา นการเรยี นรผู านระบบดจิ ทิ ัล 3.2 สถานศึกษา (1) ประยุกตใชขอมูลองคความรู สื่อ วิดีโอ และองคความรูประเภทตาง ๆ หนังสือแบบเรียนใน รูปแบบของดจิ ิทัลเทคบคุ (Digital Textbook) ตามเนอ้ื หาหลักสตู รทก่ี าํ หนด (2) จัดการเรียนรูผานระบบดิจิทัล (Digital Learning Platform) เพ่ือตอบสนองตอการ พัฒนาการเรยี นรขู องผเู รยี นเปนรายบคุ คล (3) จัดกจิ กรรมการเรียนรูเพ่ือพัฒนาผูเรียน ใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเองผานการเรียนรูผานระบบ ดจิ ิทัล 4. การพฒั นาคณุ ภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา การพฒั นาคุณภาพครู จึงตองดําเนินการตง้ั แตก ารผลิต และการพัฒนาครูอยางตอเน่ือง โดยสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานตองรวมมือกับสถาบันการผลิตครู ในการผลิต และพัฒนาครูใหเปนไปตาม เปาประสงค มีการดึงดดู คดั สรร ผมู คี วามสามารถสงู ใหเขามาเปนครูคุณภาพ มีระบบการพัฒนา ศักยภาพและ สมรรถนะครูอยางตอเน่ืองครอบคลุมทั้งเงินเดือน เสนทางสายอาชีพ การสนับสนุนสื่อการสอน และสราง เครือขายพฒั นาครใู หมกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรูระหวางกัน รวมถึงการพัฒนาครูที่มีความ เช่ียวชาญดานการสอน มาเปน ผูสรางครรู ุนใหมอยา งเปน ระบบ และประเมนิ ครูจากการวัดผลงานการพัฒนาผูเรียนโดยตรง 4.1 การผลติ ครทู ี่มีคณุ ภาพ การผลิตครูที่มีคุณภาพ เปนมาตรการการสรางความรวมมือกับสถาบันการผลิตครู ใหผลิตครูที่มีจิต วญิ ญาณของความเปน ครู มีความรูความสามารถอยางแทจรงิ และเปนตน แบบดา นคุณธรรมและจริยธรรม โดย มแี นวทางการดําเนินการ ดงั นี้ (1) สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสรางความรวมมือกับสถาบันการผลิตครู วิเคราะหความขาด แคลน ความตอ งการครขู องสถานศึกษา (2) สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา รวมมือกับสถาบันการผลิตครูวางแผนวิเคราะหหลักสูตรให สอดคลอ งกบั แผนความตองการ (3) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาใหนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่มี ทัศนคติที่ดตี ออาชพี ครูเขารับการศึกษากบั สถาบันการผลิตครู (4) สํานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา ตดิ ตาม และประเมนิ ผล การผลิตครูอยางเปนระบบ 4.2 พัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

14 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เปนมาตรการท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน จะตองดําเนินการเพ่ือใหครูและบุคลากรทางการศึกษาตระหนักถึงความสําคัญในอาชีพและหนาที่ ของตน โดยพัฒนาใหเปนครู เปนครูยุคใหม ปรับบทบาทจาก “ครูผูสอน” เปน “Coach” หรือ “ผูอํานวยการ การเรียนรู” ปรับวิธีสอน ใหเด็กสามารถแสดงความคิดเห็น แลกเปล่ียนเรียนรู และทํากิจกรรมในชั้นเรียน ทํา หนาท่ีกระตุนสรางแรงบันดาลใจ แนะนําวิธีเรียนรูและวิธีจัดระเบียบการสรางความรู ออกแบบกิจกรรม และ สรางนวัตกรรมการเรียนรูใหผูเรียน มีบทบาทเปนนักวิจัยพัฒนากระบวนการเรียนรูเพ่ือผลสัมฤทธ์ิของผูเรียน โดยมีแนวทางการดําเนนิ การ ดังน้ี (1) สาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา สงเสรมิ สนับสนุนใหค รู ศึกษาวเิ คราะห ความตองการจําเปนใน การพฒั นาตนเอง (Need Assessment) เพ่ือวางแผนการพัฒนาอยา งเปนระบบและครบวงจร (2) สาํ นักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา จัดใหมีหลักสูตรและกรอบแนวทางในการพัฒนาครู ที่เช่ือมโยง กับความกา วหนา ในวิชาชพี (Career Path) (3) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประสานความรวมมือกับสถาบันการศึกษา สถาบันคุรุพัฒนา หรือหนวยงานอื่น ๆ จัดทําหลักสูตรการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหตรงตามความตองการและ ความขาดแคลน (4) สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สนับสนุนใหครูและบุคลากรทางการศึกษาวางแผนและเขารับ การพัฒนาตามหลักสูตรทก่ี าํ หนดทเ่ี ช่อื มโยงความกา วหนาในวิชาชีพ (Career Path) (5) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในรูปแบบ ชมุ ชนแหงการเรียนรูท างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) (6) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงเสริม และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหมีความรู ทักษะดานการรูดิจิทัล (DIGITAL LITERACY) การสอนดิจิทัล (Digital Pedagogy) ทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ ทักษะสอื่ สารภาษาที่ 3 สอดคลอ งกับภารกิจและหนาทีข่ องตน (7) สํานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา สงเสริม พัฒนา และยกระดับความรูภาษาอังกฤษของครูท่ีสอน ภาษาอังกฤษ โดยใชระดับการพัฒนาทางดานภาษา (Common European Framework of Reference for Languages : CEFR)ตามเกณฑทก่ี ําหนด (8) สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สงเสริมและพัฒนาครูใหสามารถออกแบบการเรียนรู การ จัดการเรียนรูใหสอดคลองกับการวัดประเมินผลท่ีเนนทักษะการคิดข้ันสูง (Higher Order Thinking) ผาน กิจกรรมการปฏิบัติจรงิ (Active Learning) (9) สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา สง เสรมิ และพฒั นาครูใหมคี วามรแู ละทกั ษะในการจัดการเรียนรู สาํ หรบั ผเู รียนทมี่ ีความแตกตาง (Differentiated Instruction) (10) สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สงเสริมและพัฒนาครูใหมีความรูและทักษะในการสราง เครื่องมอื การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูดา นทักษะการคิดขัน้ สงู (Higher Order Thinking) (11) สํานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา สงเสริมและพัฒนาครู ใหมีความรูความสามารถจัดการเรียนรู ในโรงเรยี นขนาดเลก็ ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ

15 (12) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรียนรูสําหรับผูเรียนท่ีมี ความตอ งการจําเปน พิเศษ ตามศักยภาพของผูเ รยี นแตละบคุ คล และตามสภาพและประเภทของความพกิ าร (13) สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สงเสริมสนับสนุนใหครูและบุคลากรทางการศึกษาพัฒนา ตนเองผา นระบบ Online และแบบ Face - to - Face Training (14) สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ปรับปรุงระบบตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพ และประเมินประสิทธิผลครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหสอดคลองกับความมุงหมาย และหลักการจัด การศึกษาขอกําหนดดานคุณภาพ และแผนการศึกษาแหง ชาติ (15) สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา นําเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาเปนเคร่ืองมือ ในการบริหารจัดการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท้งั ระบบ ตง้ั แตการจัดทําฐานขอมูลครูและบุคลากรทางการ ศึกษา จนถึงการพัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศึกษา โดยมแี นวทางการดาํ เนนิ การ ดงั นี้ 1) พัฒนารูปแบบการพัฒนาครูผานระบบดิจิทัล เพ่ือใชในการพัฒนาผูบริหาร ครูและ บคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภทท้งั ระบบ 2) พัฒนาหลักสูตร เนื้อหาดิจิทัล (Digital Content) ในสาขาที่ขาดแคลน เชน การพัฒนา ทกั ษะการคิดขั้นสงู การจัดการศึกษาสาํ หรับผูเ รียนท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษ และผูเรียนที่มีความแตกตาง เปน ตน 3) สงเสริม สนับสนุน ใหผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทพัฒนาตนเอง อยา งตอเนอ่ื งผานระบบดจิ ทิ ลั 4) พัฒนาแพลตฟอรมดิจิทัล ระบบบริหารจัดการผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุก ประเภทท้ังระบบ 5) พฒั นาครูใหมีความชาํ นาญในการสอนภาษาองั กฤษ และภาษา คอมพิวเตอร (Coding) นโยบายที่ 4 ดานการสรางโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐาน และการลด ความเหลอ่ื มล้ําทางการศึกษา เปาประสงค 1. สถานศึกษาจดั การศกึ ษาเพื่อใหบรรลเุ ปา หมายโลกเพื่อการพฒั นาอยา งยัง่ ยืน (Global Goals for Sustainable Development) 2. สถานศกึ ษากบั องคก รปกครองทองถ่ิน ภาคเอกชน และหนวยงานท่ีเกี่ยวของในระดับพ้ืนท่ี รวมมือ ในการจดั การศึกษา 3. สถานศึกษามีคณุ ภาพ และมีมาตรฐานตามบรบิ ทของพ้ืนที่ 4. งบประมาณ และทรัพยากรทางการศึกษามีเพียงพอ และเหมาะสม สอดคลองกับสภาพขอเท็จจริง โดยคาํ นึงถงึ ความจาํ เปนตามสภาพพน้ื ท่ภี มู ิศาสตร สภาพทางเศรษฐกิจ และท่ตี ั้งของสถานศึกษา 5. งบประมาณเพื่อเปนคาใชจาย และงบลงทุนแกสถานศึกษาอยางเหมาะสมเพ่ือใหสถานศึกษา บรหิ ารงานจดั การศึกษาอยางมีประสทิ ธิภาพ

16 6. นาํ เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาเปนเครื่องมือใหผูเรียนไดมีโอกาสเขาถึงบริการดาน การศกึ ษาไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ 7. พฒั นาระบบการติดตาม สนับสนุนและประเมินผลเพื่อสรา งหลักประกันสิทธิการไดรับการศึกษาท่ีมี คณุ ภาพของประชาชน ตวั ชีว้ ัด/คาเปา หมาย 1. ผูเรยี นทกุ คนสามารถเขาเรียนในสถานศึกษาท่มี ีคุณภาพเปนมาตรฐานเสมอกนั 2. ผูเรียนทุกคนไดรับจัดสรรงบประมาณอุดหนุนอยางเพียงพอ และเหมาะสม สอดคลองกับสภาพ ขอเท็จจริง โดยคํานึงถึงความจําเปนตามสภาพพ้ืนที่ภูมิศาสตร สภาพทางเศรษฐกิจ และท่ีตั้งของสถานศึกษา และความตองการจาํ เปนพเิ ศษสาํ หรบั ผพู กิ าร 3. ผูเรียนไดรับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ และอุปกรณดิจิทัล (Digital Device) เพ่ือใชเปนเคร่ืองมือ ในการเรียนรอู ยางเหมาะสม เพยี งพอ 4. ครูไดรับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ และอุปกรณดิจิทัล (Digital Device) เพื่อใชเปนเครื่องมือใน การจดั กิจกรรมการเรยี นรใู หแกผเู รียน 5. สถานศึกษาไดรับการพัฒนาใหมีมาตรฐานอยางเหมาะสมตามบริบท ดานประเภท ขนาด และ พนื้ ที่ 6. สถานศึกษานําเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใชเปนเคร่ืองมือในการจัดกิจกรรมการ เรียนรูใหแกผเู รียนไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ 7. สถานศกึ ษามรี ะบบการดูแลชวยเหลอื และคุมครองนักเรียนและการแนะแนว ทีม่ ีประสทิ ธิภาพ 8. สถานศึกษาที่มรี ะบบฐานขอมูลประชากรวัยเรยี นและสามารถนํามาใชในการวางแผนจัดการเรียนรู ใหแ กผเู รยี นไดอยางมีประสิทธิภาพ มาตรการและแนวทางการดําเนินการ 1. สรางความรว มมือกับองคกรปกครองระดับทองถิ่น ภาคเอกชน หนวยงานท่ีเก่ียวของในการจัดการศึกษาให สอดคลอ งกบั บริบทของพ้ืนที่ โดยมแี นวทางการดําเนนิ การ ดงั นี้ 1.1 สาํ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา (1) สงเสริม สนับสนุนใหมีความรวมมือกับองคกรปกครองระดับทองถ่ิน ภาคเอกชน หนวยงานท่ีเกี่ยวของในการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับบริบทของพื้นท่ี ตลอดจนการกํากับ ติดตาม และ ประเมินผล (2) จัดทาํ ฐานขอมูลประชากรวัยเรียน เพื่อเก็บรวบรวม เช่ือมโยงขอมูล ศึกษา วิเคราะห เพื่อ วางแผนการจัดบรกิ ารการเรยี นรใู หแ กผ ูเ รยี น

17 1.2 สถานศึกษา (1) รวมกบั องคก รปกครองระดับพื้นท่ี หนวยงานท่ีเก่ียวของ และภาคเอกชน วางแผนการจัด การศกึ ษาใหส อดคลอ งเหมาะสมกบั บริบทของพ้นื ท่ีรับผิดชอบ (2) รวมมือกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน เอกชน และหนวยงานที่เกี่ยวของระดับ พนื้ ท่ี จดั ทําแผนการรบั นกั เรียนทุกระดบั ต้ังแตระดับปฐมวยั ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษา (3) รวมกับองคกรปกครองระดบั พืน้ ท่ี จดั ทําสํามะโนประชากรวัยเรยี น (อายุ ๐ - ๖ ป) เพ่ือใน ไปใชในการวางแผนการจัดการศกึ ษา (4) รว มกับองคกรปกครองระดับพน้ื ที่ ติดตาม ตรวจสอบ เด็กวยั เรยี นไดเขา ถึง บรกิ ารการเรียนรไู ดอยา งทัว่ ถึงครบถวน (5) รวมมือกับองคกรปกครองระดับพ้ืนท่ี ชุมชน ภาคเอกชน และทุกภาคสวนบริหารจัดการ ทรพั ยากรในชุมชนใหสามารถใชร ว มกบั ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ (6) รวมมือกับองคกรปกครองระดับพื้นที่ จัดอาหาร อาหารเสริม (นม) ใหผูเรียนอยาง เพยี งพอ มีคณุ ภาพ (7) รว มมอื กับองคกรปกครองระดับพ้ืนที่ สนับสนุนใหผูเรียนท่ีอยูหางไกล ไดเดินทางไปเรียน อยา งปลอดภัยทัง้ ไปและกลบั 2. การยกระดบั สถานศึกษาในสงั กัดทกุ ระดับและทุกประเภท ใหม ีคุณภาพ และมาตรฐานตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี โดยมแี นวทางการดําเนนิ การ ดงั น้ี (1) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จัดทํามาตรฐานสถานศึกษาใหมีคุณภาพในดานตาง ๆ เชน 1) มาตรฐานดานโครงสรา งพ้ืนฐานและสงิ่ อํานวยความสะดวก 2) มาตรฐานดานครูและบุคลากรทางการศึกษา 3) มาตรฐานดานระบบความปลอดภัยของสถานศึกษา 4) มาตรฐานดานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เปนตน การกําหนดมาตรฐานสถานศึกษาดานตาง ๆ ดังกลาวใหพิจารณาตามบริบทของสภาพทางภูมิศาสตร ประเภท และขนาดของสถานศึกษา เปน สาํ คัญ (2) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สงเสริม สนับสนุน พัฒนาสถานศึกษาระดับตําบล ระดับอําเภอ ระดบั จงั หวดั โรงเรียนขนาดเลก็ และสถานศกึ ษาประเภทอืน่ ใหมีคณุ ภาพ และตามมาตรฐานที่กําหนด โดยเนน สถานศกึ ษาระดบั ตาํ บล โรงเรียนขนาดเล็กในพนื้ ทีห่ า งไกล และโรงเรียนขนาดเลก็ ตามโครงการพิเศษ (3) สํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา สงเสรมิ สนบั สนนุ ในการ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินสถานศึกษาใน ทุกมติ ิ 3. จัดสรรงบประมาณสนับสนนุ ผูเรยี นทกุ กลมุ และสถานศกึ ษาทุกประเภทอยา งเหมาะสม และเพียงพอ เปนมาตรการเพื่อการลดความเหล่ือมล้ํา และสรางโอกาสใหผูเรียนเขาถึงการบริการการศึกษาท่ีมี คุณภาพ โดยการจัดสรรงบประมาณแผนดินเพ่ือใหเด็กวัยเรียนทุกคนตั้งแตระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และ มัธยมศึกษา อยางเพียงพอ และเหมาะสม สอดคลองกับสภาพขอเท็จจริง โดยคํานึงถึงความจําเปนตามสภาพ พ้ืนทีภ่ ูมิศาสตร สภาพทางเศรษฐกจิ และที่ตั้งของสถานศึกษา จัดหาทุนการศึกษาเพิ่มเติม เพื่อชวยเหลือผูขาด

18 แคลนทุนทรัพย จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอ่ืนเปนพิเศษใหเหมาะสมสอดคลองกับความ ตองการจําเปนในการจัดการศึกษาสําหรับผูเรียนท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษ และจัดสรรงบประมาณเปน คาใชจายในการดําเนินการ และงบลงทุนใหสถานศึกษาอยางเหมาะสม และเพียงพอ โดยมีแนวทางการ ดําเนนิ การ ดังน้ี (1) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษา วิเคราะห ความเหมาะสมของงบประมาณในการสนับสนุนใหกับผูเรียน และสถานศึกษา อยางเหมาะสม และเพียงพอ สอดคลองกบั สถานภาพและพนื้ ท่ี (2) สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน และสํานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา สงเสริม สนับสนุน ใหสถานศึกษาจัดทําแผนงบประมาณการศึกษาอยางอิสระ โดยรับฟงความคิดเห็นของผูเกี่ยวของในพ้ืนที่ ประกอบการจดั ทําแผนงบประมาณกอนเสนอหนว ยงานตน สงั กัด (3) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประสานความ รว มมอื กับกองทนุ ความเสมอภาคทางการศึกษา เพ่ือจัดสรรงบประมาณใหเด็กวัยเรียนกลุมขาดแคลนทุนทรัพย เพื่อลดความเหล่อื มลํ้าทางการศกึ ษา (4) สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน และสํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สงเสริม สนับสนุน สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สนับสนุนกระบวนการจัดทําแผนงบประมาณ และติดตาม กํากับการใชจาย งบประมาณของสถานศึกษาใหม ีประสิทธิภาพ และมคี วามโปรงใส 4. การประยุกตใ ชเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Technology) เปน เคร่ืองมือในการพฒั นาคณุ ภาพของผเู รียน โดยมีแนวทางการดําเนินการ ดังน้ี (1) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษามีระบบโครงขายสื่อสาร โทรคมนาคมทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ และมีความปลอดภัยสูง (2) สํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา สงเสรมิ สนบั สนุน ใหส ถานศึกษามรี ะบบคอมพิวเตอร และอุปกรณท่ี ใชเปน เคร่ืองมอื ในการพฒั นาทกั ษะดา นการรดู จิ ิทัล (Digital Literacy) แกผูเ รยี น (3) สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และสาํ นกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา สงเสริม สนับสนุน ใหสถานศึกษาปรับปรุงพัฒนาหองเรียนใหเปนหองเรียนท่ีประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) ในการจัดการเรียนรูแกผ เู รียน (4) สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และสาํ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา สงเสริม สนับสนุน อุปกรณดิจิทัล (Digital Device) สําหรับผูเรียนทุกระดับ ตั้งแตระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา อยางเหมาะสม เพื่อเปนเครื่องมือในการพัฒนาการเรียนรูของตนเองนําไปสูการสรางการเรียนรูอยางตอเน่ือง ตลอดชวี ิต (5) สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และสาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา สงเสริม สนับสนุน อุปกรณดิจิทัล (Digital Device) และพัฒนาการสอนทักษะดิจิทัล (Digital Pedagogy) สําหรับครูอยาง เหมาะสม เพ่ือเปน เครื่องมอื ในการจดั กระบวนการเรยี นรเู พื่อพัฒนาผูเรียนไดอยางมปี ระสิทธิภาพ

19 (6) สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน และสํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา สงเสริม สนับสนุน ใหสถานศึกษาใชเทคโนโลยีการเรียนการสอนทางไกล เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน (Distance Learning Technology: DLT) นโยบายท่ี 5 ดานการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทเี่ ปน มติ รกับสิง่ แวดลอ ม เปาประสงค 1. สถานศึกษา นักเรียนไดรับการสงเสริมดานความรู การสรางจิตสํานึกดานการผลิตและบริโภค ที่ เปนมติ รกับสิ่งแวดลอ ม 2. สถานศกึ ษาสามารถนําเทคโนโลยมี าจัดทาํ ระบบสารสนเทศการเกบ็ ขอ มูลดานความรู เร่ือง ฉลากสี เขยี วเพอ่ื สิง่ แวดลอ ม ฯลฯ และสามารถนาํ มาประยุกตใ ชใ นทุกโรงเรียนตามแนวทาง Thailand 4.0 3. สถานศึกษามกี ารจดั ทาํ นโยบายจดั ซ้อื จดั จางทเ่ี ปนมิตรกับสงิ่ แวดลอม 4. สถานศกึ ษามีการบรู ณาการหลกั สูตร กิจกรรมเรอื่ งวงจรชีวติ ของผลิตภัณฑ การผลติ และบรโิ ภค สูการลดปรมิ าณคารบ อนในโรงเรยี นคารบอนต่ําสชู ุมชนคารบอนตํา่ 5. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา โรงเรียน ทุก โรงเรียนในสังกัดมีการปรับปรุงและพัฒนาเปนหนวยงานตนแบบสํานักงานสีเขียว (GREEN OFFICE) เพ่ือใหมี บรบิ ทที่เปนแบบอยางเออ้ื หรือสนับสนนุ การเรียนรขู องนักเรียนและชมุ ชน 6. สถานศึกษา มีนโยบายสงเสริมความรูและสรางจิตสํานึกและจัดการเรียนรูการผลิตและบริโภคท่ี เปนมติ รกับส่งิ แวดลอ ม 7. สถานศึกษาตน แบบนาํ ขยะมาใชป ระโยชนเ พ่อื ลดปริมาณขยะ 8. มสี ถานศกึ ษานวตั กรรมตนแบบในการนาํ 3RS มาประยุกตใชในการผลิต และบริโภคทเี่ ปน มิตรกับส่ิงแวดลอ ม จาํ นวน 6,000 โรงเรียน 9. สาํ นกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา มีการทาํ นโยบายการจดั ซ้อื จัดจางทีเ่ ปนมิตรกบั ส่งิ แวดลอม ตวั ชวี้ ดั /คา เปา หมาย 1. สถานศึกษาในสังกัดมีนโยบายและจัดกิจกรรมใหความรู ท่ีถูกตองและสรางจิตสํานึกดานการผลิต และบริโภคท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมนําไปปฏิบัติใชท่ีบานและชุมชน เชน การสงเสริมอาชีพที่เปนมิตรกับ สิง่ แวดลอม การลดใชสารเคมีจากปยุ และยาฆาแมลง ฯลฯ 2. สถานศึกษามีการนําขยะมาใชป ระโยชนใ นรูปผลติ ภณั ฑแ ละพลงั งานเพ่ือลดปรมิ าณขยะ และมีสง เสรมิ การคัดแยกขยะในชมุ ชนเพ่ือลดปริมาณคารบอนท่โี รงเรียนและชุมชน 3. สถานศึกษามีการบูรณาการเรื่องการจัดการขยะแบบมีสวนรวมและการนําขยะมาใชประโยชน รวมท้ังสอดแทรกในสาระการเรียนรูทเ่ี กีย่ วขอ ง

20 4. นักเรียนเรียนรูจากแหลงเรียนรู มีการขยายผลแหลงเรียนรู นักเรียน โรงเรียน ชุมชน เรียนรูดาน การลดใชพลังงาน การจัดการขยะและอนุรักษสิ่งแวดลอมเพื่อเปนแหลงเรียนรู และตัวอยางรูปแบบผลิตภัณฑ ทเี่ ปน มิตรกบั สงิ่ แวดลอม เชน โรงงานอตุ สาหกรรมสเี ขยี ว ฯลฯ 5. นักเรยี น สถานศึกษามีการเกบ็ ขอมูลเปรียบเทียบการลดปริมาณคารบอนไดออกไซต ในการดําเนิน กิจกรรมประจําวันในสถานศึกษาและท่ีบาน และขอมูลของ Carbon Footprint ในรูปแบบ QR CODE และ Paper less 6. ครู มีความคดิ สรา งสรรค สามารถพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และดําเนินการจัดทํางานวิจัยดานการสราง สาํ นกึ ดา นการผลิตและบริโภคท่เี ปน มติ รกบั ส่ิงแวดลอ มได 7. ครู และนักเรียนสามารถนําสือ่ นวตั กรรมที่ผานกระบวนการคดิ มาประยกุ ตใชในโรงเรียนการจัดการ เรียนรู และประยุกตใ ชในชีวิตประจําวนั และชมุ ชนไดตามแนวทาง Thailand 4.0 8. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษามีการปรับปรุงและพัฒนาบุคลากร และสถานที่ใหเปน สํานักงานสีเขียวตนแบบมีนโยบายการจัดซ้ือจัดจางที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมที่เอ้ือตอการเรียนรูของนักเรียน และชมุ ชน มาตรการและแนวทางการดาํ เนินการ 1. จัดทํา Road Map และแผนปฏิบัติการเพ่ือจัดแนวทางการดําเนินทางการใหองคความรูและสราง จติ สาํ นึกดานการผลติ และบรโิ ภคทเ่ี ปน มิตรกับส่งิ แวดลอ ม 2. จดั ทาํ คมู อื และพัฒนาสอื่ นวตั กรรมในรูปแบบ QR CODE และสอ่ื ระบบ Multimedia และอ่นื ๆ 3. จัดทําเกณฑการประกวดโรงเรียนคารบอนตํ่าและชุมชนคารบอนต่ําและพัฒนาวิทยากรใหความรู เร่ืองวงจรชีวติ ของผลิตภณั ฑ (LCA) สสู ังคมคารบ อนตํ่า 4. พัฒนาวิเคราะหแผนการจัดการเรียนและจัดทําหนวยการเรียนรูในเรื่องการผลิตและบริโภคที่เปน กับสิ่งแวดลอมตอการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต้ังแตระดับปฐมวัย จนถึงระดับมัธยมศึกษา และพัฒนา ระบบขอมูลสารสนเทศการเก็บขอมูลการลดกาซที่มีผลตอปรากฏการณภาวะเรือนกระจก เชน คารบอนไดออกไซด ในรูปแบบการเปรียบเทียบและการลดการปลอยคารบอนไดออกไซดในการดําเนิน ชีวติ ประจําวนั Carbon emission /Carbon Footprint ในสถานศกึ ษาสูชมุ ชน 5. จัดจางผูเชี่ยวชาญในการจัดทํา Road Map เปนท่ีปรึกษาในการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการ โรงเรยี นคารบ อนตํา่ สูช มุ ชนคารบ อนตา่ํ 6. พฒั นาตอ ยอดและขยายผลศูนยก ารเรยี นรูล ดใชพ ลงั งาน การจดั การขยะ และอนุรกั ษส งิ่ แวดลอ ม 7. พัฒนาเครื่องมือ และ กระบวนการใหความรูและแนวทางการจัดการเรียนรู กิจกรรม เร่ืองการผลิต และบริโภคท่ีเปนมิตรกบั สง่ิ แวดลอ มใน 8. จัดสรรงบประมาณดําเนินการตาม Road Map และแผนปฏิบัติการ เพื่อดําเนินการตอยอดขยาย ความรแู ละสรา งเครอื ขายโรงเรยี น ชมุ ชน และเช่ือมตอหนว ยงานทงั้ ภาครัฐและเอกชน

21 9. สนับสนุน สงเสริม พัฒนากระบวนการรณรงคใหมีการจัดซื้อจัดจางที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอมและ ยกระดบั สาํ นักงานเขตพนื้ ทต่ี น แบบ สถานศกึ ษาดานการบรหิ ารจดั การสํานักงานสีเขียวและสถานศึกษาท่ีเปน มิตรกบั สิง่ แวดลอม (Green office) 10. พัฒนา ยกระดับสถานศึกษานํารองขยายผล สงสถานศึกษาตนแบบดานการพัฒนา ดานการผลิต และบริโภค ทเี่ ปนมิตรกบั สิง่ แวดลอ มทัง้ ระบบ เชน การเลือกซื้อผลิตภัณฑเบอร 5 และผลิตภัณฑท่ีมีฉลากและ สัญลกั ษณเบอร 5 เพื่อลดการใชทรัพยากรธรรมชาติและลดปรมิ าณขยะในสาํ นักงานและสถานศึกษา 11. สงเสริมการพัฒนาส่ือนวัตกรรม และบูรณาการสาระการเรียนรูและแผนการจัดการเรียนรูเรื่อง การผลิตและบริโภคที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอมตอ การเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศ 12. ขยายผลผานระบบ DLTV สงเสริมความรูเร่ือง การผลิตและบริโภคท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมตอ ความปลอดภัย และสุขภาพท่ีดีสูสังคมเมืองเชิงนิเวศและการจัดการมลพิษและสิ่งแวดลอมท่ีดีและการเลือก ผลติ ภณั ฑ บรรจุภัณฑท่เี ปนมติ รกับสิง่ แวดลอ มและฉลากท่แี สดงสญั ลักษณที่เปน มิตรกบั สิ่งแวดลอม 13. พัฒนานวัตกรรมโดยใชกระบวนการ BBL/PLC และ Decision – Making การนําขยะมาใช ประโยชนในรูปแบบผลิตภัณฑและพลังงานและลดประมาณขยะ การบําบัดน้ําเสีย ลดการใชเผาและลดใช สารเคมี สูโ รงเรียนปลอดภยั และเปนมติ รกับสง่ิ แวดลอม 14. ขยายผลจากโรงเรียนคารบอนตํ่าสูชุมชนเชิงนิเวศและการจัดการมลพิษและส่ิงแวดลอมดี GREEN CITY ดา นพลงั งาน การจดั การขยะและนํา้ เสีย ชมุ ชนผลติ และบริโภคที่เปนมิตรกบั สิง่ แวดลอ ม 15. สงเสริม สนับสนุนและพัฒนาใหนักเรียน โรงเรียนไดศึกษา เรียนรูจากแหลงเรียนรูโรงงาน อุตสาหกรรม การผลิตที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม ชุมชนเมืองนิเวศ และหนวยงานสงเสริมการบริโภคท่ีเปนมิตร กบั สงิ่ แวดลอมเพ่ือนําความรมู าประยุกตใ ชแ ละจัดทาํ โครงงานดานการอนุรักษสิง่ แวดลอม 16. สงเสริมแนวทางการจัดการเรียนรูอาชีพท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมในสถานศึกษา จัดคายเยาวชน วัยซนลดคารบอนเพื่อโลก ประกวดชุมชนตนแบบท่ีนําความรูจากโรงเรียนตอยอดสูชุมชนนิเวศ ปลอดขยะ ปลอดสารพิษเปนมิตรกบั สง่ิ แวดลอ ม 17. จัดทําระบบนิเทศ ติดตามผลการดําเนินงานในสถานศึกษาทั้งในระบบออนไลนและนิเทศเชิง คุณภาพพัฒนาการกรอกขอมูลระบบการนิเทศติดตาม แลกเปล่ียนนําเสนอผลงานและมอบรางวัลเกียรติยศ ประชาสัมพนั ธแ ละจัดพมิ พ เวบ็ ไซต ผลงานเพอ่ื เผยแพรแ ละเปน ตนแบบ สรุปผลรายงาน นโยบายที่ 6 ดานการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษา เปาประสงค 1. สถานศกึ ษา หรือกลมุ สถานศกึ ษา มีความเปนอิสระในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ดาน การบรหิ ารวิชาการ ดานการบริหารงบประมาณ ดา นการบรหิ ารงานบคุ คล และดา นการบริหารงานทัว่ ไป 2. หนวยงานสวนกลาง และสาํ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา ตองปรับเปลี่ยน ใหเ ปน หนวยงานใหม ีความทนั สมัย พรอมที่จะปรับตัวใหท นั ตอการเปล่ียนแปลงของโลกอยตู ลอดเวลา

22 เปนหนวยงานทม่ี ีหนา ทสี่ นับสนนุ สงเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อใหสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยาง มปี ระสิทธภิ าพ 3. หนวยงานทุกระดับ มีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ บริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภบิ าล 4. หนวยงานทุกระดับมีกระบวนการ และการวิธีงบประมาณดานการศึกษา เพื่อเพ่ิมคุณภาพและ ประสทิ ธิภาพการจัดการศกึ ษา โดยการจดั สรรงบประมาณตรงสูผเู รยี น 5. หนวยงานทุกระดับ พัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใชในการ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารและการจดั การเรียนการสอนอยางเปน ระบบ ตวั ชีว้ ดั /คา เปา หมาย 1. สถานศกึ ษาไดร ับการกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาอยา งเปนอิสระ 2. สถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสํานักงานสวนกลาง ไดรับการพัฒนาใหเปน หนวยงานท่ีมีความทันสมัย ยืดหยุน คลองตัวสูง พรอมที่จะปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงของโลกอยู ตลอดเวลา เปนหนวยงานท่ีมีหนาที่สนับสนุน สงเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพ่ือใหสถานศึกษาสามารถจัด การศึกษาไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพครอบคลมุ ทกุ ตาํ บล 3. สถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสํานักงานสวนกลาง นํานวัตกรรม และเทคโนโลยี ดิจิทลั (Digital Technology) มาใชในการบรหิ ารจัดการและตดั สินใจ ทง้ั ระบบ 4. สถานศึกษา และหนวยงานในสังกัดทุกระดับมีความโปรงใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ บริหารจดั การตามหลักธรรมาภบิ าล 5. สถานศึกษา หนวยงานในสังกัด ทุกระดับ ผานการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการ ดาํ เนินงานของหนวยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) 6. สถานศึกษาทุกแหงและหนวยงานในสังกัดมีระบบฐานขอมูลสารสนเทศวิชาการ ผูเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษา หนว ยงานในสังกดั 7. สถานศึกษาทุกแหงมีขอมูลผูเรียนรายบุคคลท่ีสามารถเชื่อมโยงกับขอมูลตาง ๆ นําไปสูการ วิเคราะหเ พอื่ วางแผนการจดั การเรียนรสู ผู เู รียนไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ (Big Data Technology) 8. สถานศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีแพลตฟอรมดิจิทัล (Digital Platform) เพื่อสนับสนุน ภารกิจดานบรหิ ารจัดการศึกษา 9. สถานศกึ ษาทกุ แหง มีระบบขอ มลู สารสนเทศที่สามารถใชในการวางแผนการจัดการศึกษาไดอยางมี ประสิทธภิ าพ มาตรการและแนวทางการดาํ เนนิ การ 1. ใหสถานศึกษา หรือ กลุมสถานศึกษา มีความเปนอิสระในการบริหารจัดการศึกษาเปนมาตรการกระจาย อํานาจใหสถานศึกษา หรือกลุมสถานศึกษามีความเปนอิสระในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ดาน การบริหารวชิ าการ ดานการบริหารงบประมาณ ดานการบริหารงานบุคคล และดานการบริหารงานทั่วไป โดย

23 ดําเนินการเปนรายสถานศึกษาหรือกลุมสถานศึกษา อาจดําเนินการเปนรายดาน หรือทุกดานได โดยมีแนว ทางการดาํ เนนิ การ ดงั นี้ (1) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ศึกษา วิเคราะห หลักเกณฑ รูปแบบ หนาที่ อํานาจ และโครงสราง การกํากบั ดแู ลของสถานศึกษา หรอื กลมุ สถานศึกษา (2) สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ศึกษา วิเคราะห หนาที่และอํานาจ องคประกอบ จํานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการสรรหาการเลือกประธานและกรรมการ คณะกรรมการสถานศึกษาของ สถานศึกษา หรือของกลมุ สถานศกึ ษา โดยใหคาํ นงึ ถึงหลกั ธรรมาภบิ าลและความเปน อิสระของสถานศึกษา หรือกลุมสถานศึกษา ใหมีความหลากหลายและความแตกตางของสถานศึกษารวมถึงความตองการและ ขอ จาํ กัดของแตล ะพนื้ ที่ (3) สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษา หรือกลุมสถานศึกษาจัดหา เจา หนาท่เี พอ่ื ปฏิบตั ิหนา ท่สี นับสนนุ งานดานธุรการ ดานการเงนิ การบัญชแี ละพสั ดุ และดานบรหิ ารงานบุคคล เพ่อื มใิ หง านดงั กลา วเปนภาระท่เี กนิ สมควรแกครู ผปู ฏบิ ัตหิ นาทกี่ ารจดั การเรยี นรใู หแ กผ ูเ รียน (4) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จัดทําแผนปฏิบัติการและดําเนินการสงเสริม สนับสนุน และพัฒนา สถานศึกษาหรือกลมุ สถานศกึ ษาใหมคี วามเปนอสิ ระในการบรหิ ารจดั การศึกษา (5) สํานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหโรงเรียนขนาดเลก็ ใหมรี ะบบการบริหารจัดการ ท่หี ลากหลาย เชน การบรหิ ารจดั การแบบกลมุ โรงเรยี น การสอนแบบบรู ณาการ คละช้นั เปน ตน (6) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ยกระดับสถานศึกษาใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิตของทุกคนใน ชมุ ชน เปนศนู ยกลางในการพฒั นาทกั ษะอาชพี และทักษะชีวิต (7) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา นําผลการประกันคุณภาพการศึกษามาใชในการวางแผนการ ปฏิบัติการตรวจสอบติดตามเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพและเปนไปตามมาตรฐาน การศึกษา (8) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สงเสริม สนับสนุนใหมีการศึกษา วิเคราะห ออกแบบ และพัฒนา รูปแบบการระบบบริหารจัดการศึกษาใหสอดคลองกับการพัฒนาใหสถานศึกษามีอิสระในการบริหารจัด การศึกษา (9) สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จัดอบรม พัฒนา ผูบริหารสถานศึกษาใหมีคุณสมบัติ สมรรถนะ และความรูความเช่ียวชาญ ประสบการณที่จําเปนสําหรับการ ปฏบิ ัติหนาท่ี (10) สถานศึกษา หรอื กลมุ สถานศกึ ษาไดร บั การกระจายอํานาจใหอยา งเปนอสิ ระ ในการบริหารและจัดการศกึ ษาครอบคลุม ดานการบรหิ ารวิชาการ ดานการบริหารงบประมาณ ดา นการบรหิ ารงานบคุ คล และดา นการบรหิ ารงานทั่วไป โดยดาํ เนนิ การเปน รายสถานศกึ ษา หรือกลมุ สถานศึกษา อาจดาํ เนนิ การเปนรายดานหรอื ทุกดานได (11) สถานศึกษา หรือกลุมสถานศึกษา มีคณะกรรมการสถานศึกษาของสถานศึกษา เพื่อทําหนาท่ี สง เสริม สนบั สนนุ กาํ กบั ดูแลกิจการและการประกนั คุณภาพของสถานศึกษา

24 2. สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เปนหนวยงานมีความทันสมัยอยางมีประสิทธิภาพเปนมาตรการในการเพ่ิม ประสิทธิภาพการบริหารงาน พรอมที่จะปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงของโลกอยูตลอดเวลา มีความ โปรงใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เปนหนวยงานที่มีหนาที่ สนับสนุน สงเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อใหสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมี แนวทางการดาํ เนนิ การ ดงั น้ี (1) ศึกษา วิเคราะห ปรับปรุง และพัฒนาสํานักงานสวนกลาง และสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ให เปนหนวยงานที่ทันสมัย มีหนาท่ี สนับสนุน กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล สถานศึกษา เพื่อการ บรหิ ารจัดการท่มี ีประสิทธิภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล (2) สงเสริม สนับสนุน ใหสํานักงานสวนกลาง และสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ใชระบบการบริหาร จดั การที่มุง เนน คณุ ธรรมและความโปรง ใสในการทํางานตามหลักการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรงใสในการ ดําเนินงานของหนวยงานภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA) (3) สงเสริม สนับสนุน ใหสํานักงานสวนกลาง และสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานํานวัตกรรม และ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Technology) มาใชใ นการบรหิ ารงาน (4) สง เสริมการบริหารจดั การเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาโดยใชพนื้ ที่เปนฐาน (Area-based Management) รูปแบบการบรหิ ารแบบกระจายอํานาจ “CLUSTERS” (5) สง เสรมิ การมสี วนรวม จัดทาํ แผนบูรณาการจัดการศกึ ษาในระดบั พื้นที่ (6) สรางความเขมแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือขาย เชน เครือขายสงเสริม ประสทิ ธิภาพการจัดการศกึ ษา ศนู ยพฒั นากลุมสาระการเรยี นรู สหวิทยาเขตกลุมโรงเรียน ฯลฯ (7) สงเสริมใหทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษาแบบบูรณาการที่ตอบสนองความ ตอ งการของประชาชนและพ้ืนที่ (8) สงเสริม สนับสนุน ผูปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน ใหมีความรู ความเขาใจ และมีสวน รว มรบั ผิดชอบ (Accountability) ในการบริหารจดั การศกึ ษา (9) สงเสริมใหท กุ ภาคสว นของสังคมเขา มามีสวนรว มสนบั สนนุ ทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา 3. ปฏิรูปการคลังดานการศึกษา เพื่อเพ่ิมคุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษา โดยการจัดสรร งบประมาณตรงสผู เู รยี น และสถานศึกษา เปนมาตรการที่เนนการนําเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใชในการจัดสรรงบประมาณ อุดหนนุ ผูเรยี นทุกคน สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติที่ตองการปฏิรูปการคลังโดยการจัดสรรงบประมาณตรงไป ยังผูเรียน เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) จะเปนเครื่องมือสําคัญในการดําเนินการเพ่ือใหบรรลุ เปาประสงคดังกลาว โดยสามารถพิสูจนตัวตนของผูเรียนที่รับจัดสรรงบประมาณไดอยางถูกตอง ลดความ ซ้ําซอนในการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนผูเรียน สามารถกําหนดเงื่อนไขการจัดสรรงบประมาณใหแกผูเรียน กลุมตาง ๆ ไดอยางถูกตอง และสามารถเชื่อมโยงขอมูลกับระบบธนาคาร ในการจัดสรรงบประมาณตรงไปยัง ผเู รยี นไดอ ยางมีประสิทธิภาพ

25 โดยมแี นวทางการดําเนนิ การ ดังนี้ (1) ศึกษา วิเคราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการงบประมาณ อุดหนุนผูเรียนและ สถานศึกษาโดยตรง (2) พัฒนาแพลตฟอรมดิจิทัล (Digital Platform) เพ่ือพัฒนาระบบการบริหารจัดการงบประมาณ อดุ หนนุ ผูเรียนและสถานศึกษาโดยตรง (3) พัฒนาและประยุกตใช ระบบไบโอเมทริกซ (Biometric) ในการพิสูจนตัวตนของผูเรียน เพ่ือลด ความซํ้าซอนในการจัดสรรงบประมาณ โดยจะทําการแลกเปล่ียนขอมูลนักเรียนรายบุคคล กับ กระทรวงมหาดไทย (4) พฒั นาระบบเบิกจา ยงบประมาณอุดหนนุ ตรงไปยงั ผเู รียน และสถานศกึ ษา โดยผา นระบบธนาคาร 4. พัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) และระบบการทํางานที่เปนดิจิทัลเขามา ประยุกตใชอ ยางคมุ คา และเกิดประโยชนสูงสุด เปนมาตรการในการประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใชในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารอยางเปนระบบ นําไปสูการนําเทคโนโลยีการวิเคราะหขอมูลขนาดใหญ (Big Data Technology) เพื่อเช่ือมโยงขอมูลดานตาง ๆ ต้ังแตขอมูลผูเรียน ขอมูลครู ขอมูลสถานศึกษา ขอมูล งบประมาณ และขอมูลอ่ืน ๆ ท่ีจําเปน มาวิเคราะหเพ่ือใหสถานศึกษาสามารถจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคลตามสมรรถนะ และความถนัด และสามารถวิเคราะหเปนขอมูลในการวางแผนการพัฒนา ทรัพยากรมนุษยของประเทศ นํา Cloud Technology มาใหบริการแกหนวยงานทุกระดับทั้งระดับ IAAS PAAS และ SAAS และพัฒนาแพลตฟอรมดิจิทัล (Digital Platform) ระบบบริหารงานสํานักงาน เชน ระบบแผนงาน และงบประมาณ ระบบบัญชี ระบบพสั ดุ ระบบสารบรรณ เปนตน เพ่ือเจาหนาท่ีสามารถใชในการปฏิบัติงานได อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ เชือ่ งโยงกนั ทง้ั องคกร โดยมแี นวทางการดาํ เนนิ การ ดงั นี้ (1) ศึกษา วิเคราะห นํา Cloud Technology มาใหบริการหนวยงานในสังกัดทุกระดับท้ังในรูปแบบ Private Cloud Hybridge Cloud และ public Cloud ทัง้ ในระดบั IAAS PAAS และ SAAS (2) ศกึ ษา วเิ คราะห นํา Big Data Technology มาใชในการเชื่อมโยงขอมูลของนักเรียนในฐานขอมูล ตา ง ๆ เพื่อนํามาวิเคราะห คณุ ภาพของผเู รยี นในมิติตา ง ๆ (3) พัฒนาแพลตฟอรมดิจิทัล (Digital Platform) เพ่ือสนับสนุนภารกิจดานบริหารจัดการศึกษาท้ัง ระบบพรอมใหบริการ (Services) เชื่อมโยงขอมูล เพื่อแลกเปลี่ยน และบูรณาการขอมูลภาครัฐท้ังภายในและ นอกสังกัดอีกท้ังยังเปนระบบกลางสําหรับใชในการพิสูจนยืนยันตัวตนเดียวและรองรับการทํางานรวมกับ แพลตฟอรมดจิ ิทลั ตาง ๆ (4) พัฒนาระบบฐานขอมูลทรัพยากรมนุษยดานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ีสามารถเช่ือมโยง และบูรณา การขอมูลดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยระหวางกระทรวง หนวยงานท่ีเกี่ยวของ โดยการเชื่อมโยงขอมูล รายบุคคลท่เี กี่ยวกับการศึกษา การพัฒนาตนเอง สุขภาพและการพัฒนาอาชีพในตลอดชวงชีวิต เปนฐานขอมูล

26 การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยของประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถประเมินจุดออน จุดแข็ง และศกั ยภาพบคุ คลของประเทศ นาํ ไปสกู ารตดั สนิ ใจระดบั นโยบายและระดับปฏบิ ัติ (5) พัฒนาแพลตฟอรมดิจิทัล (Digital Platform) ดานการเรียนรูของผูเรียน และบุคลากรทางการ ศึกษา ดานการบริหารงาน เชื่อมโยงถึงการพัฒนาครู เพื่อใหสอดคลองกับความกาวหนาในอาชีพ ตลอดจน พัฒนา ระบบขอมูลสารสนเทศของผูเรียนเปนรายบุคคลต้ังแตระดับปฐมวัย จนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่ สามารถเชื่อมโยงกับหนว ยงานทีเ่ กีย่ วขอ ง นาํ ไปสูก ารพฒั นาฐานขอมลู ประชากรดานการศกึ ษาของประเทศ ตัวช้วี ดั ความสําเร็จและคา เปาหมาย ที่ ตวั ช้ีวัดความสาํ เร็จ หนว ย คา นับ เปาหมาย 1 สดั สวนนกั เรียนปฐมวยั (3-5ป) ตอ ประชากรกลุม อายุ 3-5 ป เพิม่ ขนึ้ รอยละ 100 2 ประชากรอายุ 6-11 ป ไดเ ขาเรียนระดับประถมศกึ ษาทุกคน รอยละ 100 3 ประชากรอายุ 12-14 ป ไดเ ขาเรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนตนหรอื เทียบเทาทุกคน รอ ยละ 100 4 รอ ยละของผูเรียนพิการไดรับการพฒั นาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาท่ี รอยละ 100 เหมาะสม 5 สถานศกึ ษาทุกแหงมีอนิ เตอรเน็ตความเรว็ สงู และมีคุณภาพ รอ ยละ 90 6 ผูเรียนระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานทกุ คนไดร ับการสนับสนุนคา ใชจา ยในการจัด รอยละ 100 การศึกษาตงั้ แตระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 7 รอ ยละของนักเรยี นท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พ้ืนฐาน รอ ยละ 3 (O-NET) แตละวิชาผานเกณฑค ะแนนรอยละ 50 ขึ้นไปเพ่ิมขึน้ 8 ระดบั ความสามารถดานการใชภ าษาอังกฤษเฉล่ียของผสู ําเร็จการศึกษาในแตล ะระดับ รอยละ 3 เม่ือทดสอบตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษ (CEFR) สงู ข้ึน (ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน ) (เพมิ่ ขน้ึ จากปฐ าน) 9 รอยละของผเู รียนทุกระดับการศึกษา มีพฤติกรรมท่แี สดงออกถึงความตระหนักใน ความสาํ คัญของการดาํ รงชวี ิตทเ่ี ปนมติ รกับส่ิงแวดลอม ความมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการประยกุ ตใชหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในการดําเนนิ ชีวิต -รอ ยละของจํานวนนักเรยี นท่ีเขารวมกจิ กรรม/โครงการท่ีเกีย่ วของกบั การสรา งเสรมิ รอยละ 100 คณุ ภาพชวี ติ ที่เปน มิตรกบั ส่ิงแวดลอ ม -รอยละของจาํ นวนโรงเรียนทใี่ ชกระบวนการเรียนรเู พ่ือสรางเสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม รอยละ 100 -รอ ยละของจาํ นวนนักเรยี นท่ีเขา รวมกิจกรรมตามโครงการนอมนาํ แนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู ารปฏิบตั ิ รอยละ 100

27 ท่ี ตัวชี้วัดความสําเร็จ หนวย คา นับ เปา หมาย 10 รอยละของสถานศึกษาที่มคี ุณภาพตามเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษา รอ ยละ ระดับดขี น้ึ ไป 100 รอ ยละ 11 รอ ยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรยี นการสอน/กจิ กรรมเพื่อเสรมิ สรางความเปน 100 พลเมอื ง(Civic Education) มี มี 12 มีระบบการบริหารงานบุคคลของครู อาจารยแ ละบุคลากรทางการศึกษาทม่ี ี มี ประสิทธิภาพและเปน ไปตามเกณฑมาตรฐาน มี จาํ นวน 13 มีระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาทเี่ หมาะสม สอดคลองกับบริบทและความตอ งการ 4 ดา น จําเปน ของสถานศึกษา มี มี 14 จาํ นวนฐานขอ มูลรายบุคคลดานการศึกษาของประเทศทีเ่ ปนปจ จุบัน สามารถ มี เชอ่ื มโยงและใชขอมูลระหวา งหนว ยงานไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ มี รอ ยละ 15 มีฐานขอมลู ดานการศึกษาเพ่ือใชป ระโยชนใ นการวางแผน การบรหิ ารจดั การศกึ ษา 70 การตดิ ตามประเมนิ ผล คน รอ ยละ 0 16 มรี ะบบเครือขายเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่อื การศึกษาท่ที ันสมยั สนองตอบความตองการ รอ ยละ 100 ของผใู ชบริการอยา งมปี ระสิทธภิ าพ 100 แหง 17 รอยละของสถานศึกษาขนาดเลก็ เขารบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบส่ี 1 อยใู นระดบั ดีขึน้ ไป 18 จํานวนนกั เรยี นออกกลางคันในระดับการศกึ ษาข้นึ พนื้ ฐาน 19 รอ ยละของสถานศกึ ษาที่ปลอดยาเสพตดิ 20 รอ ยละของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทกุ ระดับที่ไดรบั การพัฒนาตามมาตรฐาน วชิ าชีพและสามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ 21 จาํ นวนหนว ยงาน องคกรภาครฐั /เอกชน ท่มี สี วนรวมจัดการศกึ ษาแบบประชารัฐ การกําหนดกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพการนิเทศการศึกษา ของหนวยศึกษานิเทศก สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ประกอบดวย 1. การนิเทศบรู ณาการโดยใชพ ้ืนท่เี ปนฐานเพ่ือคุณภาพการศึกษา ประกอบดว ย 1.1 การพฒั นาและใชหลักสูตรสถานศึกษา 1.2 การอานออกเขยี นได 1.3 การจดั การเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) 1.4 การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาดวยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล (DLTV / DLIT) 15. การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น

28 1.6 การประกันคุณภาพการศึกษา 1.7 การจดั การศึกษาของโรงเรียนในโครงการพเิ ศษ - โรงเรยี นในโครงการโรงเรยี นคุณภาพประจาํ ตําบล - โรงเรยี นในโครงการโรงเรยี นประชารัฐ - โรงเรียนในโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. - โรงเรยี นในโครงการโรงเรียนสจุ ริต 1.8 การจัดการศึกษาของโรงเรียนในเขตพ้ืนทีพ่ ิเศษ 2. การนิเทศภายในโรงเรียน 3. การจดั การเรียนการเรยี นรูภ าษาองั กฤษ 4. การจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนากระบวนการคิด 5. การจดั การเรียนการสอนเพื่อฝกทักษะการคิดแบบมีเหตุผลและเปนข้ันตอน (Coding) 6. การสงเสริมการเรยี นรูเ พื่อฝกยกระดบั การประเมนิ สมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Programme for International Student Assessment: PISA) 7. การจดั การเรียนรสู งเสรมิ วนิ ัยนักเรียน 8. การสง เสริมการเรียนรดู านส่ิงแวดลอมในโรงเรยี น 9. การนิเทศตามจดุ เนน และนโยบาย ของ สพฐ. และกระทรวงศึกษาธิการ 10. การนเิ ทศเพ่ือพัฒนาคุณภาพตามบรบิ ท ความตอ งการของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด สาํ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1 ไดก ําหนด กรอบนโยบาย และทิศทางพฒั นา การศึกษาเพอ่ื ใหสอดคลองกับนโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ดังนี้ กรอบนโยบาย และทศิ ทางพัฒนาการศกึ ษา สํานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 จากบทสรุปการจัดการศึกษา ผลการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอก ผลจาก การวิเคราะหพระบรมราโชบายดานการศึกษา ในสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ.2561-2580) ยุทธศาสตรของรัฐบาลแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2560-2579 นโยบาย และยุทธศาสตร ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ป 2563 ท่ีไดกําหนดกรอบแนวคิดวา การศึกษาตองเปนไปเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน สรางและพัฒนาใหคนไทยรูจักศักยภาพของตนเอง ศักยภาพของ ผอู ื่น เปนบคุ คลที่มีความรคู วามสามารถ ดานวิชาการ วิชาชพี มที ักษะในการประกอบอาชีพ สอดคลองกับการ พฒั นาศักยภาพประเทศ พืน้ ที่หรือทอ งถิน่ กา วสูประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกในศตวรรษที่ 21 เพื่อให การบริหารจัดการและการพัฒนาการศึกษาเปนไปอยางมีคุณภาพประสิทธิภาพรองรับยุทธศาสตรการจัด การศึกษาเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน พระบรมราโชบายดานการศึกษา ในสมเด็จพระเจาอยูหัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตรของรัฐบาล ตามนโยบายรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

29 ประถมศึกษาลําปาง เขต 1 จึงไดกําหนดกรอบนโยบายและทิศทางการพัฒนาการศึกษา และแนวทาง ขบั เคล่ือนนโยบายสกู ารปฏบิ ตั ิ ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดงั น้ี วสิ ัยทศั น สรา งคนใหเปน พลเมอื งดี มคี ุณภาพ พรอมสาํ หรบั วิถชี วี ติ ในอนาคต คา นยิ ม ยึดมั่นหลกั ธรรมาภบิ าล ปฏิบตั ิงานมงุ ผลสมั ฤทธ์ิ อัตลักษณ บริการดี มมี นุษยสมั พนั ธ เอกลกั ษณ องคก ารดีมคี ุณภาพ พนั ธกจิ 1. จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ 22. พัฒนาผูเรียนใหมีความสามารถความเปนเลศิ ทางวชิ าการเพ่อื สรางขีดความสามารถในการแขงขนั 33. พัฒนาศกั ยภาพและคุณภาพผูเ รยี นใหม สี มรรถนะตามหลกั สูตรและคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 44. สรางโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมลํ้า ใหผูเรียนทุกคนไดรับบริการทางการศึกษาอยาง ทวั่ ถึงและเทาเทยี ม 55. พฒั นาผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาใหเปนมืออาชพี 66. จดั การศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ิต ทเี่ ปน มิตรกับสิง่ แวดลอ ม ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเปาหมายการพัฒนาที่ยงั่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) 7. ปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารการจัดการศกึ ษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใชเทคโนโลยี ดิจิทลั (Digital Technology) เพื่อพัฒนามงุ สู Thailand 4.0 เปาหมาย 1. ผเู รยี นมคี วามรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีทัศนคติท่ีถูกตองตอบานเมือง มีหลักคิดท่ีถูกตอง และเปนพลเมืองดีของ ชาติ มคี ุณธรรม จริยธรรม มคี านยิ มท่ีพงึ ประสงค มจี ิตสาธารณะ รบั ผิดชอบตอสงั คมและผอู ่นื ซื่อสัตย สุจรติ มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวนิ ยั รกั ษาศลี ธรรม 2. ผเู รียนท่มี ีความสามารถพเิ ศษดา นวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร ศิลปะ ดนตรี กฬี า ภาษา และอ่ืน ๆ ไดร ับการพฒั นาอยางเต็มตามศักยภาพ

30 3. ผูเรียน เปนบุคคลแหงการเรียนรู คิดริเร่ิมและสรางสรรคนวัตกรรม มีความรู มีทักษะ มีสมรรถนะตามหลักสูตร และคุณลักษณะของผูเรียนในศตวรรษท่ี 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการพ่ึงพาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปนพลเมือง พลโลกทด่ี ี (Global Citizen) พรอมกา วสูสากล นาํ ไปสูก ารสรางความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 4. ผเู รียนท่มี คี วามตอ งการจําเปนพเิ ศษ (ผูพิการ) กลุมชาติพันธุ กลมุ ผดู อ ยโอกาส และกลุมท่ีอยูใ นพน้ื ทห่ี างไกลทรุ กนั ดาร ไดรบั การศึกษาอยางทว่ั ถงึ เทาเทียม และมีคุณภาพ 5. ผบู ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาเปนบคุ คลแหง การเรยี นรู มีความรู และจรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวิชาชีพ 6. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพอ่ื การบรรลุเปาหมายการพัฒนาอยางย่งั ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) และสรา งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอ ม ตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 7. สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา สถานศึกษา มีสมดุลในการบริหารจัดการเชิงบรู ณาการมกี ารกาํ กับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล มรี ะบบขอมลู สารสนเทศทม่ี ีประสทิ ธิภาพ และการรายงานผลอยางเปน ระบบ ใชงานวิจัย เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมในการขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพการศกึ ษา การนิเทศการศึกษานับเปนองคประกอบสําคัญประการหน่ึงของกระบวนการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาใหประสบผลสําเร็จ ซ่ึงประกอบดวยองคประกอบ 3 ประการ คือ กระบวนการบริหารการศึกษา กระบวน การเรียนการสอน และ กระบวนการนเิ ทศการศึกษา สําหรับกระบวนการนิเทศเปนกระบวนการท่ีผู นิเทศ ใชก ระตุน ทา ทาย ริเริ่ม รวมคิด รวมทํา สนับสนุนใหมีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหสูงขึ้นตรงตาม สภาพความตองการที่แทจ ริงของการพัฒนา โดยผานครูผูสอนและผูบริหารสถานศึกษา รวมท้ังไดมีการพัฒนา กระบวนการปฏิบัติงาน ศึกษา คนควา เทคนิควิธีการนิเทศท้ังระบบการนิเทศภายในและภายนอก ใหมปี ระสิทธภิ าพ บทบาทหนาท่ีของกลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การแบงสวนราชการภายในสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา พ.ศ. 2560 และแกไข เพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 ใหสวนราชการภายในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอํานาจหนาท่ีดังตอไปนี้ กลมุ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา มีอํานาจหนาท่ี ดังน้ี 1) ประสาน สงเสริม สนับสนุนและ พฒั นาหลักสตู รการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน หลกั สตู รการศกึ ษาระดบั กอ นประถมศึกษา และหลักสูตรการศึกษาพิเศษ 2) ศึกษา วิเคราะห วิจัย เพ่ือพัฒนาหลักสูตรการสอนและกระบวนการเรียนรูของผูเรียน 3) วิจัย พัฒนา สง เสริม ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินเกีย่ วกบั การวดั และการประเมินผลการศึกษา 4) วิจัย พัฒนา สงเสริม มาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา รวมท้ังประเมิน ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา 5) นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา 6) ศึกษา วิเคราะห วิจัย และพัฒนาส่ือ นวัตกรรมการนิเทศทางการศึกษา 7) ปฏบิ ัตงิ านเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ นเิ ทศการศึกษา ของเขตพ้ืนที่การศึกษา 8) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอ่ืนท่ี เก่ียวของหรอื ทไ่ี ดรับมอบหมาย

31 กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ลําปาง เขต 1 มีบทบาทสําคัญในการสงเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในดาน ตางๆ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบงสวนราชการภายในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 และบริบทของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ภายใตการมี สวนรวมของผูมีสวนเกี่ยวของทุกภาคสวน เพื่อใหการขับเคลื่อนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดจัดทํา แผนการนิเทศน้ขี ้นึ เพ่อื เปน เอกสารแนวทางการขับเคล่ือนการนิเทศ และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ในสงั กดั โดยใชหอ งเรยี นเปน ฐานในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยมีวัตถุประสงคการนิเทศ และเปาหมายการนิเทศ ดังนี้ วัตถปุ ระสงคข องการนเิ ทศ เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดตามนโยบายและจุดเนนของสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ดวยกระบวนการนเิ ทศแบบ APICE เปา หมายของการนิเทศ เชิงปรมิ าณ สถานศึกษาในสังกัดไดรับการนิเทศ กํากับ ติดตาม ตามประเด็นของหนวยศึกษานิเทศก สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน รอ ยละ 80 เชิงคุณภาพ - สถานศึกษาในสังกดั ทไี่ ดรับการนเิ ทศ สามารถจดั การศกึ ษาไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ - ครูผสู อนเปล่ียนบทบาทจาก ครผู สู อน เปน Coach

32 สวนท่ี 2 ขอ มลู พืน้ ฐาน 1. จาํ นวนสถานศกึ ษา สถานศึกษาในสงั กดั สํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1 มีจํานวน 90 โรง 3 สาขา จาํ แนกตามลักษณะของสถานศึกษา และจดุ เนน ตามนโยบายของหนว ยงานตนสังกดั ดังน้ี (ขอ มลู ณ วนั ที่ 10 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562) 1.1. ขนาดของสถานศึกษา 1.1 โรงเรียนขนาดเลก็ จํานวน 69 โรงเรยี น 1.2 โรงเรยี นขนาดกลาง จํานวน 20 โรงเรียน 1.3 โรงเรยี นขนาดใหญ จํานวน 2 โรงเรียน 1.4 โรงเรยี นขนาดใหญพเิ ศษ จํานวน 2 โรงเรียน 1.2. การจดั การศึกษา 2.1 จดั การศึกษา 2 ระดบั ประกอบดว ยระดับกอนประถมศึกษาและระดบั ประถมศึกษา จาํ นวน 71 โรงเรียน 2.2 จดั การศึกษา 3 ระดับ ประกอบดว ยระดับกอ นประถมศึกษาระดบั ประถมศึกษา และ ระดบั ประถมศึกษาตอนตน จํานวน 22 โรงเรียน 1.3. การจดั การศึกษาตามนโยบายของรฐั บาล 3.1 โรงเรียนในโครงการโรงเรียนประชารฐั จํานวน 24 โรงเรยี น 3.2 โรงเรียนในโครงการโรงเรยี นคุณภาพประจําตาํ บล จํานวน 38 โรงเรยี น 3.3 โรงเรยี นในโครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. จาํ นวน 93 โรงเรียน 3.4 โรงเรียนในโครงการโรงเรียนสุจรติ จาํ นวน 93 โรงเรยี น 2. จํานวนนักเรียนและจํานวนหอ งเรียน ชน้ั เรยี น จํานวนนักเรียน รวม จาํ นวนหอ งเรียน ชาย หญิง อนบุ าล 1 อนุบาล 2 298 296 594 29 อนบุ าล 3 รวมระดับกอนประถมศึกษา 736 765 1,501 106 762 736 1,498 107 1,796 1,797 3,593 242

33 ชน้ั เรียน จาํ นวนนักเรียน รวม จาํ นวนหองเรยี น ชาย หญิง ประถมศึกษาปท ี่ 1 ประถมศึกษาปท่ี 2 992 1,056 2,048 120 ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 ประถมศกึ ษาปที่ 4 1,037 955 1,992 123 ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 ประถมศึกษาปท ี่ 6 1,016 961 1,977 122 รวมระดบั ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 953 965 1,918 124 มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 962 902 1,864 120 รวมมธั ยมศกึ ษา 970 995 1,965 120 5,930 5,834 11,764 729 208 160 368 24 190 179 369 24 194 195 389 25 592 534 1,126 73 3. จํานวนครแู ละจํานวนโรงเรยี น จําแนกตามอําเภอ ที่ จําแนกตามอาํ เภอ จาํ นวน ครใู นสงั กดั (คน) โรงเรียนในสงั กัด (โรงเรียน) 429 1 อําเภอเมือง 181 2 อาํ เภอแมเมาะ 38 123 3 อาํ เภอหา งฉัตร 18 200 4 อาํ เภองาว 15 933 รวม 4 อาํ เภอ 22 93

34 4. จาํ นวนศึกษานเิ ทศก จาํ แนกตามภารกจิ ความรบั ผิดชอบ ดงั น้ี 4.1 จําแนกตามกลุมงาน 6 กลมุ งาน ท่ี ชอ่ื -สกลุ ตาํ แหนง/วทิ ยฐานะ กลมุ งาน 1 นายเอกฐสทิ ธิ์ กอบกาํ ศึกษานิเทศกช าํ นาญการพิเศษ ผูอ าํ นวยการกลมุ นิเทศติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา กลมุ งานพัฒนาหลักสตู รการศึกษาขั้นพน้ื ฐานและกระบวนการเรยี นรู 1 นางสาววชั รี เหลม ตระกูล ศึกษานิเทศกชํานาญการ หัวหนา กลมุ งานพฒั นาหลักสตู ร การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานและกระบวน การเรียนรู 2 นางสาวอญั ชลี โทกลุ ศึกษานิเทศกช าํ นาญการ งานพฒั นาหลักสตู รการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และกระบวนการเรยี นรู 3 นางเขมจิรา เศวตรตั นเสถยี ร ศกึ ษานิเทศกช าํ นาญการพิเศษ งานพฒั นาหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั และการจดั ประสบการณเรยี นรู 4 นายคฑาวธุ แข็งแรง ศกึ ษานเิ ทศกช าํ นาญการพเิ ศษ งานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาพเิ ศษ และกระบวนการเรียนรู กลุมงานวัดและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา 1 นางเขมจิรา เศวตรตั นเสถยี ร ศกึ ษานเิ ทศกช ํานาญการพิเศษ หวั หนา กลุม งานวัดและประเมินผล การจดั การศึกษา 2 นางพรนภิ า ยศบุญเรือง ศกึ ษานเิ ทศกชํานาญการพเิ ศษ กลมุ งานวัดและประเมนิ ผล การจัดการศกึ ษา 3 นางสาววิมล ปวนปน วงค ศกึ ษานเิ ทศกช าํ นาญการ กลุม งานวัดและประเมนิ ผล การจดั การศกึ ษา กลุม งานสง เสริมและพัฒนา ส่ือนวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา 1 นายสวัสดิ์ ละคําปา ศกึ ษานิเทศกช าํ นาญการพเิ ศษ หัวหนากลมุ งานสง เสรมิ และพฒั นา ส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา 2 นางสาวยวุ ธิดา ใหมก ันทะ ศกึ ษานิเทศกช าํ นาญการ กลมุ งานสงเสรมิ และพัฒนา สอ่ื นวตั กรรมและ เทคโนโลยที างการศึกษา กลุมงานนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลระบบบริหารและการจัดการศกึ ษา 1 นายคฑาวธุ แขง็ แรง ศึกษานิเทศกช ํานาญการพิเศษ หวั หนา กลุมงานนเิ ทศ ติดตามและ ประเมนิ ผลระบบบริหารและการจดั การศึกษา 2 นางทานตะวัน มะโนพงศพ นั ธ ศึกษานเิ ทศกช ํานาญการพิเศษ กลมุ งานนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล ระบบบรหิ ารและการจดั การศึกษา

35 ท่ี ชอ่ื -สกลุ ตาํ แหนง/วทิ ยฐานะ กลมุ งาน กลุม งานสง เสริมพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 1 นายนพดล ถาวร ศกึ ษานเิ ทศกช าํ นาญการ หวั หนา กลมุ งานสง เสรมิ พัฒนาระบบ การประกันคุณภาพการศกึ ษา 2 นายชัยวุฒิ นามะกุณา ศกึ ษานเิ ทศกชํานาญการ กลมุ งานสง เสรมิ พัฒนาระบบ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา กลมุ งานเลขานกุ ารคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา 1 นางศรจี ันทร ทรายใจ ศึกษานเิ ทศกชาํ นาญพิเศษ หวั หนากลมุ งานเลขานุการคณะกรรมการ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การศกึ ษา 2 นางอัมรินทร บุญอเนก ศกึ ษานิเทศกช ํานาญการ กลมุ งานเลขานุการคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา 4.2 จําแนกตามกลุม สาระการเรยี นรูและกลุมเครือขายสถานศึกษา ดังนี้ ท่ี ชื่อ-สกลุ กลุมสาระการเรียนรู กลมุ เครือขายสถานศกึ ษา 1 นายเอกฐสิทธิ์ กอบกํา - - 2 นางสาววัชรี เหลมตระกูล ภาษาตางประเทศ จามเทวี 3 นางสาวอญั ชลี โทกลุ สังคมศึกษาศาสนา และวฒั นธรรม ขุนงาว และ ผาไท 4 นางเขมจิรา เศวตรัตนเสถยี ร ปฐมวยั แมตยุ 5 นางพรนิภา ยศบุญเรือง คณิตศาสตร เมืองเขลางคแ ละชมพูทอง 6 นางสาววมิ ล ปวนปนวงค ภาษาไทย/กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน ชาวเข่อื น 7 นายสวัสดิ์ ละคาํ ปา การงานอาชพี ลกิ ไนต 1 และ ลกิ ไนต 2 8 นางสาวยุวธิดา ใหมก ันทะ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ลิกไนต 1 และ ลกิ ไนต 2 9 นายคฑาวุธ แขง็ แรง ภาษาตา งประเทศ ขุนงาว และ ผาไท 10 นางทานตะวัน มะโนพงศพันธ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ลกิ ไนต 1 และ ลิกไนต 2 (เทคโนโลย)ี 11 นายนพดล ถาวร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อนนั ตยศ 12 นายชยั วุฒิ นามะกณุ า สังคมศึกษาศาสนา และวฒั นธรรม ขุนงาว และ ผาไท 13 นางศรจี ันทร ทรายใจ ศิลปะ/กิจกรรมพฒั นาผูเรียน (แนะแนว) ขนุ ตาล 14 นางอัมรนิ ทร บุญอเนก ปฐมวยั เมอื งยาว-แมสัน

36 5. ผลการนเิ ทศในรอบปท ่ีผานมา จากการนิเทศ ติดตามสภาพการบริหารและการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ในปการศึกษา 2562 จํานวน 93 โรงเรียน โดยภาพรวม พบวา สถานศึกษาทุกแหงมีหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีกระบวนการ วัดผลประเมินผลผูเรียนท่ีสอดคลองกับหลักสูตรและความสามารถของผูเรียน รวมถึงบริบทของสถานศึกษา มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเปนไปตามมาตรฐานการศึกษาโดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ประเด็นท่ี เปนปญหาประการหนึ่งคือ สถานศึกษาสวนมากยังขาดแคลนสื่อนวัตกรรมที่ทันสมัย ท่ีจะนํามาใชในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ขาดการพัฒนาระบบสารสนเทศ การรายงานขอมูลตางๆไมคอยทันเวลาที่กําหนด หรือบางแหงไมไดรายงาน ปญหาดานการนิเทศ ของศึกษานิเทศกประจําเครือขายสถานศึกษาที่รับผิดชอบ พบวาภาระงานนโยบายจากสวนกลางท่ีไดรับมอบหมายคอนขางมาก ทําใหการนิเทศ ติดตามไมเปนไปตามตาราง หรือปฏิทินที่กําหนด การติดตามไมตอเน่ืองหรือนอยเกินไป จากสภาพปญหาดังกลาวไดมีการเสนอแนะ ใหศึกษานิเทศกรวมกันพัฒนาระบบบริหารและการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ เทคโนโลยีเพื่อการนิเทศ นวัตกรรม ICT เพื่อการนิเทศ เทคนิคการสรางนวัตกรรมเพ่ือการนิเทศ การพัฒนาระบบการนิเทศแบบออนไลน รวมถงึ การศึกษาดูงานเขตพื้นท่ีการศึกษาอื่นที่ประสบผลสําเรจ็ และเปนแบบอยางได 6. ผลการประเมนิ การอานการเขียนภาษาไทย ปก ารศึกษา 2562 ผลการประเมินการอานการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 1-6 ของปการศึกษา 2562 เปนตวั บงชหี้ รอื คาํ ตอบหน่ึงทีท่ าํ ใหทราบถึงผลการจัดการศึกษาของสํานกั งานเขตพื้นท่ีในรอบปที่ผานมา ผลปรากฏ ดงั น้ี ภาคเรยี นที่ 1 นักเรยี นเขา รบั การประเมนิ ทงั้ สิ้น 10,571 คน เม่อื นํามาจัดระดับคุณภาพ พบวา ดา นการอาน ประเภทการอานออกเสียง ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 1-6 แบงตามระดับคุณภาพเรียงจากมากไปหานอย ระดับดีมาก จํานวน 8,174 คน คิดเปนรอยละ 77.32 ระดับดี จํานวน 1,682 คน คิดเปนรอยละ 15.91 ระดับ พอใช จาํ นวน 485 คน คิดเปนรอ ยละ 4.59 และระดับปรับปรุง จํานวน 230 คน คิดเปน รอยละ 2.18 ประเภทการอานรูเร่ือง ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 2-6 แบงตามระดับคุณภาพเรียงจากมากไปหานอย ระดับดมี าก จาํ นวน 1,300 คน คดิ เปน รอ ยละ 15.05 ระดับดี จํานวน 4,304 คน คิดเปนรอยละ 49.81 ระดับพอใช จาํ นวน 2,633 คน คิดเปน รอ ยละ 30.47 และระดับปรับปรงุ จาํ นวน 403 คน คดิ เปนรอ ยละ 4.67 ดา นการเขียน ประเภทการเขียนคํา ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3 แบงตามระดับคุณภาพเรียงจากมากไปหานอย ระดับ ดีมาก จํานวน 3,069 คน คิดเปนรอยละ 55.80 ระดับดี จํานวน 1,418 คน คิดเปนรอยละ 25.78 ระดับพอใช จาํ นวน 628 คน คดิ เปน รอ ยละ 11.42 และระดบั ปรับปรุง จํานวน 385 คน คิดเปน รอยละ 7.00

37 ประเภทการเขียนเร่ือง ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2-6 แบงตามระดับคุณภาพเรียงจากมากไปหานอย ระดบั ดีมาก จํานวน 3,443 คน คิดเปน รอยละ 40.02 ระดับดี จํานวน 3,737 คน คิดเปนรอยละ 43.44 ระดับพอใช จํานวน 1,135 คน คิดเปน รอ ยละ 13.19 ระดับปรบั ปรงุ จาํ นวน 288 คดิ เปนรอ ยละ 3.35 ภาคเรยี นท่ี 2 นักเรียน เขารบั การประเมินทั้งส้ิน 10,740 คน นํามาจัดระดับคุณภาพ ผลปรากฏ ดงั นี้ ดา นการอา น ประเภทการอานออกเสียง ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 1-6 แบงตามระดับคุณภาพเรียงจากมากไปหานอย ระดับดีมาก จํานวน 8,059 คน คิดเปนรอยละ 79.99 มีระดับดี จํานวน 1,580 คน คิดเปนรอยละ 14.85 ระดับ พอใช จํานวน 378 คน คดิ เปนรอ ยละ 3.55 และระดับปรับปรุง จาํ นวน 171 คน คดิ เปน รอ ยละ 1.61 ประเภทการอานรูเร่ือง ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 1-6 แบงตามระดับคุณภาพเรียงจากมากไปหานอย ระดับดีมาก จํานวน 2,458 คน รอยละ 23.09 ระดับดี จํานวน 5,154 คน คิดเปนรอยละ 48.42 ระดับพอใช จํานวน 2,547 คน คิดเปน รอ ยละ 23.93 และระดบั ปรับปรุง จํานวน 485 คน คดิ เปนรอยละ 4.56 ดานการเขยี น ประเภทการเขียนคํา ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 1-3 แบงตามระดับคุณภาพเรียงจากมากไปหานอย ระดับดีมาก จํานวน 2,387 คน รอยละ 43.52 ระดับดี จํานวน 1,704 คน คิดเปนรอยละ 31.07 ระดับพอใช จาํ นวน 875 คน รอยละ 15.95 และระดบั ปรับปรุง จาํ นวน 519 คน คดิ เปน รอ ยละ 9.46 ประเภทการเขียนเรื่อง ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 1-6 แบงตามระดับคุณภาพเรียงจากมากไปหานอย ระดับดีมาก จํานวน 5,654 คน รอยละ 52.81 ระดับดี จํานวน 3,807 คน คิดเปนรอยละ 35.56 ระดับพอใช จํานวน 1,012 คน คดิ เปน รอ ยละ 9.45 และระดับปรับปรุง จํานวน 234 คน คดิ เปน รอยละ 2.18 7. ผลการทดสอบระดับชาติ ปการศึกษา 2562 7.1 ผลการประเมินความสามารถดานการอา นของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปท ี่ 1 (RT) ปการศกึ ษา 2562 เปรียบเทียบระดบั เขตพืน้ ท่ี คะแนนเฉลยี่ รอ ยละ ระดบั สพฐ. ระดับประเทศ คะแนนเฉลย่ี รอ ยละ สพฐ. สงู /ตํ่า ประเท สูง/ตํ่า ความสามารถ ระดบั ป ป เพิม่ / เพม่ิ /ลด เขตพื้นท่ี ศ 2561 2562 ลด รอ ยละ ดานการอานออกเสียง 67.49 +3.46 68.50 +2.45 ดานการอานรูเร่ือง 70.95 72.51 +2.63 72.81 +2.33 63.59 70.95 7.36 +11.57 รวม 2 ดาน 75.14 70.00 +3.05 70.66 +2.39 70.80 75.14 4.34 +6.13 73.05 67.20 73.05 5.85 +8.71

38 จากตารางผลการประเมินความสามารถดานการอานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 (RT) ป การศึกษา 2562 มีผลการทดสอบความสามารถทั้ง 2 ดาน สูงกวาระดับระดับสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษา และระดับประเทศ โดยมีคาเฉล่ียรวมอยูท่ีรอยละ 73.05 เม่ือเปรียบเทียบกับผลการทดสอบระดับ เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาของปก ารศึกษา 2561 และปการศึกษา 2562 พบวา ผลการทดสอบของปการศึกษา 2562 มคี าสูงกวา ปก ารศึกษา 2561 ทกุ ดาน โดยมีคา เฉลย่ี รวมท่ีเพม่ิ ขึน้ ท่รี อยละ 8.71 7.2 ผลการประเมินคณุ ภาพผูเรยี น (NT) ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ปก ารศึกษา 2562 คะแนนเฉล่ยี รอยละ ความสามารถ ระดบั ระดบั สพฐ. ระดับประเทศ เขตพืน้ ท่ี ดานภาษาไทย 50.99 สพฐ. สงู กวา/ตํ่ากวา ประเทศ สูงกวา/ต่ํากวา ดานคณิตศาสตร 49.82 50.41 46.00 +4.99 46.46 +4.53 รวม 2 ดา น 45.64 +4.18 44.94 +4.88 45.82 +4.59 45.70 +4.71 จากตารางผลการประเมินคุณภาพผูเรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ปการศึกษา 2562 มีผลการ ประเมินดานภาษาไทย รอยละ 50.99 ผลการทดสอบดานคณิตศาสตร รอยละ 49.82 ผลการประเมินเฉล่ีย รวมทั้ง 2 ดา น รอยละ 50.41 เม่ือเปรียบเทียบผลการประเมินกับระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐาน และระดับประเทศ พบวา ผลการประเมินคุณภาพของผูเรียน (NT) ดานภาษาไทยสูงกวาระดับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน รอยละ 4.99 สูงกวาระดับประเทศ รอยละ 4.53 ดาน คณิตศาสตรสูงกวาระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รอยละ 4.18 สูงกวาระดับประเทศ รอ ยละ 4.88 เม่อื รวมท้ัง 2 ดานมีคา เฉลยี่ รวมสูงกวา รอ ยละ 4.71 7.3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 ปก ารศกึ ษา 2562 เปรยี บเทียบระดบั เขตพน้ื ที่ คะแนนเฉลย่ี รอ ยละ ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ คะแนนเฉล่ียรอยละ สพฐ. สูง/ต่าํ ประเท สงู /ต่ํา วิชา ระดบั ป ป เพ่มิ / เพิ่ม/ลด เขตพ้นื ท่ี ศ 2561 2562 ลด รอยละ ภาษาไทย 47.95 +4.29 49.07 +3.17 ภาษาองั กฤษ 52.24 30.86 +5.88 34.42 +2.32 59.66 52.24 -7.42 -12.44 คณิตศาสตร 36.74 31.60 +4.49 32.90 +3.19 42.96 36.74 -7.42 -14.48 วทิ ยาศาสตร 36.09 34.30 +3.87 35.55 +2.62 41.70 36.09 -7.42 -13.45 รวมเฉลี่ย 38.17 36.18 +4.63 37.99 +2.82 42.88 38.18 -7.42 -10.98 40.81 46.88 40.81 -7.42 -12.80

39 จากตารางผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ป การศึกษา 2562 พบวา คาเฉล่ียผลการทดสอบรายวิชาของวิชาภาษาไทยมีคาเฉล่ียสูงสุด รอยละ 52.24 ผล การทดสอบรายวิชาคณิตศาสตรมีคาเฉลี่ยตํ่าสุด รอยละ 36.09 แตเมื่อเปรียบเทียบกับผลการทดสอบระดับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับประเทศ พบวา ผลการทดสอบของทุกรายวิชามี คาเฉลยี่ สูงกวา ท้งั 2 ระดบั และทกุ รายวิชาโดยสูงกวา ระดบั ระดับสาํ นกั งานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอยละ 4.63 สูงกวาระดับระดับประเทศ รอยละ 2.82 เมื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบกับปการศึกษา 2561 พบวา คา เฉล่ียผลการทดสอบทกุ รายวิชาของปก ารศกึ ษา 2562 ตาํ่ กวา โดยมีคา เฉล่ียรวม -12.80 7.4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ปก ารศกึ ษา 2562 เปรียบเทยี บระดบั เขตพ้นื ที่ คะแนนเฉลย่ี รอ ยละ คะแนนเฉลีย่ รอยละ วชิ า ระดบั ระดบั สพฐ. ระดบั ประเทศ ป ป เพมิ่ / เพ่มิ /ลด เขตพื้นท่ี สพฐ. สูง/ตาํ่ ประเท สงู / 2561 2562 ลด รอ ยละ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ 54.42 ศ ตํ่า คณติ ศาสตร 29.29 วิทยาศาสตร 23.42 55.91 -1.49 55.14 -0.72 53.34 54.42 +1.08 +2.02 รวมเฉล่ยี 28.77 33.98 32.98 -3.69 33.25 -3.96 26.47 29.29 +2.82 +10.65 26.98 -3.56 26.71 -3.29 27.97 23.42 -4.55 -16.27 30.22 -1.45 30.07 -1.30 36.11 28.77 -7.34 -20.33 36.52 -2.54 36.30 -2.32 35.97 33.98 -1.99 -5.53 จากตารางผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ป การศึกษา 2562 พบวา คาเฉลี่ยผลการทดสอบรายวิชาของวิชาภาษาไทยมีคาเฉลี่ยสูงสุด รอยละ 54.42 ผล การทดสอบรายวิชาคณิตศาสตรมีคาเฉลี่ยต่ําสุด รอยละ 23.42 และเม่ือเปรียบเทียบกับผลการทดสอบระดับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับประเทศ พบวา ผลการทดสอบของทุกรายวิชามี คาเฉลี่ยตํ่ากวาท้ัง 2 ระดับ และทุกรายวิชาโดยต่ํากวาระดับระดับสํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้น พื้นฐาน รอยละ -2.54 ต่ํากวาระดับระดับประเทศ รอยละ -2.32 เมื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบกับป การศึกษา 2561 พบวา คาเฉล่ียผลการทดสอบรายวิชาภาษาไทย และรายวิชาภาษาอังกฤษของปการศึกษา 2562 สงู กวากวา แตผ ลการทดสอบโดยภาพรวม มีคาเฉล่ยี ตา่ํ กวา รอยละ -5.53

40 สวนท่ี 3 รปู แบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) การนเิ ทศการศึกษามคี วามสําคัญตอ การพฒั นา ปรบั ปรงุ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา เพื่อใหผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู ความเขาใจใน หลักสูตร สามารถจัดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ไดดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ตามนโยบายและ จุดเนน ของ สพฐ. โดยใชรปู แบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ดงั แผนภาพที่ 1 และแผนภาพท่ี 2 ดังน้ี แผนภาพท่ี 1 การนิเทศ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาโดยใชร ปู แบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ศกึ ษาสภาพ และความตอ งการ (Assessing Needs: A) การวางแผนการนิเทศ (Planning : P) การใหค วามรูกอนการนิเทศ (Informing: I) การนิเทศแบบโคช (Coaching: C) การประเมินผลการนิเทศ (Evaluating: E)

41 แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคดิ การนเิ ทศเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาโดยใชร ปู แบบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) กรอบแนวคดิ การนเิ ทศ เพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา โดยใชร แู บบการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ศกึ ษาสภาพ และความตอ งการ ศึกษาสภาพปจ จุบัน/ปญ หา และความตอ งการ (Assessing Needs : A) 1. กาํ หนดตวั ชว้ี ัดความสําเรจ็ (KPI) การวางแผนการนเิ ทศ 2. สรา งสื่อ/นวัตกรรม คูมือการนิเทศ แผนการนิเทศ และ เคร่ืองมือการนิเทศ (Planning : P) 3. กําหนดกิจกรรมและปฏทิ นิ การนเิ ทศ การใหค วามรูกอ นการนเิ ทศ สงเสรมิ /พฒั นาความรทู ีเ่ กีย่ วขอ งงานนโยบายสาํ คญั ตางๆ (Informing : I) การนิเทศแบบโคช ปฏิบัติการนิเทศ Coaching เพื่อกระตุนใหผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน (Coaching : C) และบุคลากรทางการศึกษาท่ีเก่ียวของ วิเคราะหปญหา/เลือกแนว/ กําหนดแนวทางการแกป ญ หา/ วางแผน/ ดาํ เนินการแกปญหา/ วิเคราะห การประเมินผลการนิเทศ และสรุปผล/ แลกเปล่ียนเรียนรู /ชืน่ ชมความสาํ เร็จ (Evaluating : E) รวบรวม วเิ คราะห และสังเคราะหผ ลการนิเทศ ตรวจสอบ และประเมินผล ไมมคี ณุ ภาพ มีคณุ ภาพ ปรบั ปรุง สรปุ และจัดทาํ รายงานผลการนิเทศ /พัฒนา นาํ เสนอและเผยแพรผลการนเิ ทศ (จัดนทิ รรศการ แลกเปล่ียนเรยี นรู/ยกยอ งเชิดชเู กียรติ/Website ฯลฯ)

42 ขน้ั ตอนที่ 1 ศกึ ษาสภาพ และความตองการ (Assessing Needs : A) ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก รวมกันศึกษาสภาพปจจุบัน/ปญหา การบริหารงานดานวิชาการ และ การดําเนินงานตามจุดเนนงานนโยบายแหงรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และสอบถามความตองการของบุคลากรทางการศึกษาระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาผูบริหาร สถานศกึ ษา ครูผูส อน และบคุ ลากรทางการศึกษาระดับสถานศึกษา ข้นั ตอนท่ี 2 การวางแผนการนิเทศ (Planning : P) ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวของ นําขอมูลที่ไดจากการศึกษาสภาพและความตอ งการ มาวางแผนการทํางานใหสอดคลองกับยุทธศาสตร จุดเนน ตามนโยบายสาํ คัญแหง รัฐ กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และมาตรฐาน การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน โดยคํานงึ ถงึ ความเหมาะสมกับบริบทของเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษา ดําเนินการ ดงั นี้ 2.1 กําหนดตัวช้วี ดั ความสําเร็จ 2.2 จัดทําเครื่องมือการนิเทศ คูมือการนิเทศ แผนการนิเทศการดําเนินงานตามนโยบายสําคัญ 2.3 กาํ หนดกจิ กรรมและปฏิทนิ การนิเทศ ขัน้ ตอนท่ี 3 การใหความรกู อนการนิเทศ (Informing : I) ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก ประชุม เชิงปฏิบัติการใหความรู เกี่ยวกับการดําเนินงานตามจุดเนน นโยบายแหงรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การบริหารงานดาน วิชาการ แกบุคลากรทางการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และบุคลากร ทางการศกึ ษาระดับสถานศึกษา ขั้นตอนท่ี 4 การนิเทศแบบโคช (Coaching : C) ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก ดําเนินการนิเทศแบบโคช เพื่อกระตุนใหบุคลากรทางการศึกษาระดับ เขตพ้ืนที่การศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และบุคลากรทางการศึกษาระดับสถานศึกษาดําเนินงาน ตามจุดเนนนโยบายแหงรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการ บรหิ ารงานดานวิชาการ ดงั น้ี 4.1 วเิ คราะหป ญหา 4.2 เลือกแนวทางในการแกปญหา 4.3 กาํ หนดเปา หมายความสําเรจ็ 4.4 วางแผนการแกป ญหา 4.5 ดาํ เนินการแกปญหาตามแผนทวี่ างไว ในแตละกจิ กรรมท่ีไดกาํ หนดไว 4.6 วิเคราะห และสรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน

43 4.7 แลกเปลี่ยนเรียนรู ชื่นชมความสําเรจ็ และขอ เสนอแนะในการดําเนนิ งาน ขั้นตอนที่ 5 การประเมนิ ผลการนเิ ทศ (Evaluating : E) ทีมบริหาร ศึกษานิเทศก ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และบุคลากรทางการศึกษาระดับเขต พื้นที่การศึกษาและระดับสถานศึกษา ดําเนินการรวบรวม วิเคราะห ตรวจสอบ สรุปผลและประเมินผลการ นเิ ทศ ดังน้ี 5.1 รวบรวม วิเคราะห สังเคราะหผลการนเิ ทศ 5.2 ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการนิเทศ 5.3 สรปุ และจดั ทํารายงานผลการนเิ ทศ 5.4 จดั กิจกรรมแลกเปลี่ยนรู และชืน่ ชมความสาํ เร็จ 5.5 ยกยองเชดิ ชเู กยี รตแิ กสถานศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ครผู ูสอน และบคุ ลากรทางการ ศกึ ษาท่ีเก่ียวของทีม่ ีการปฏิบัติงานท่ดี ี 5.6 เผยแพรผลงานการปฏิบัติงานท่ีดี สูสาธารณชนผาน Website ระบบ ICT และสารสนเทศ ของสํานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1

44 สวนท่ี 4 แผนการนิเทศ กจิ กรรมการนเิ ทศ และปฏทิ นิ การนิเทศ แผนการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการนิเทศบรู ณาการโดยใชโรงเรียนเปน ฐานเพ่อื การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ขอบขา ยการนิเทศ การขบั เคลื่อนตามจดุ เนน นโยบาย ของ สพฐ. และกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในระดบั สถานศึกษา กิจกรรมการนเิ ทศตามกระบวนการนิเทศ APICE กลุมเปา หมาย สื่อ/เคร่อื งมือท่ีใช ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ ของ สพป.ลําปาง เขต 1 ดําเนนิ การ -รายงานผลการนิเทศตาม ศึกษานิเทศก A1 : ทบทวน ศกึ ษา วิเคราะห ผลการนเิ ทศตามจุดเนน นโยบาย ศกึ ษานิเทศก ทกุ คน จดุ เนน และนโยบายของ มิถุนายน ผรู บั ผดิ ชอบกลมุ งานฯ สพฐ. และ ของ สพฐ. และกระทรวงศึกษาธกิ าร ในปการศึกษา 2562 ดังน้ี กระทรวงศึกษาธกิ าร 2563 -ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น - การพฒั นาและใชหลักสตู รสถานศึกษา และผลการทดสอบ ระดับชาตขิ องโรงเรยี น - การอานออกเขยี นได ในสังกัด - การจัดการเรียนรูเชงิ รุก (Active Learning) - การพัฒนาคุณภาพการศึกษาดวยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล (DLTV / DLIT) - การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน - การประกนั คณุ ภาพการศึกษา - การจัดการศึกษาของโรงเรยี นในโครงการพิเศษ

45 กจิ กรรมการนิเทศตามกระบวนการนิเทศ APICE กลุมเปา หมาย สือ่ /เครอื่ งมือที่ใช ระยะเวลา ผรู บั ผิดชอบ ของ สพป.ลําปาง เขต 1 ดําเนนิ การ P : กาํ หนดตวั ชีว้ ดั ความสาํ เร็จ กาํ หนดปฏทิ นิ การนเิ ทศ และ สรา งเครอื่ งมือนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผล ตามประเดน็ ศึกษานเิ ทศก -แผนการนเิ ทศและ มิถนุ ายน ศึกษานิเทศก ทุกคน การนเิ ทศของ ศนฐ. ทกุ คน เคร่ืองมือนิเทศ 2563 I1 : ชี้แจงแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการนิเทศ บรู ณาการโดยใชห อ งเรียนเปนฐานเพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพ ศกึ ษานเิ ทศก -แผนการนเิ ทศและเคร่ืองมือ กรกฎาคม ศึกษานิเทศก ทกุ คน การศกึ ษาตามประเดน็ การนเิ ทศ ของ ศนฐ. ผบู ริหารโรงเรยี น นิเทศ 2563 และครูวชิ าการ -ปฏทิ ินการนิเทศ I2 : ศึกษานเิ ทศก ผบู ริหารโรงเรียนและครวู ิชาการของแตละ ของแตละโรงเรยี น กลุมเครือขายสถานศึกษารว มกันวางแผนและกาํ หนดปฏทิ ิน การนิเทศติดตามและประเมนิ ผลการดําเนนิ ของโรงเรยี น ผูบริหารโรงเรยี น - แบบนเิ ทศ ติดตาม และ กรกฎาคม ศึกษานเิ ทศก ทกุ คน ครผู สู อนทุกคน ประเมนิ ผลการนเิ ทศบรู ณา – สงิ หาคม C : นเิ ทศ ติดตาม และใหขอเสนอแนะในการนิเทศบูรณาการ การ โดยใชหอ งเรียนเปนฐาน โดยใชหอ งเรยี นเปนฐานเพอื่ การพฒั นาคุณภาพการศึกษา ศกึ ษานิเทศก ทกุ คน เพื่อการพฒั นาคณุ ภาพ 2563 การศึกษา E1 : ประเมนิ ผลการนเิ ทศบูรณาการเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา กันยายน ศกึ ษานเิ ทศก ทกุ คน ตามประเด็นของ ศนฐ. - แบบสรปุ ผลการนเิ ทศฯ 2563 E2 : สรุปรายงานผลการนิเทศ - รายงานสรปุ ผลการนิเทศฯ

46 ผลท่คี าดวา จะไดร ับ 1. สถานศกึ ษาในสังกดั มคี วามรู ความเขา ใจ ในนโยบายตางๆ และสามารถดําเนินการขับเคล่อื นนโยบาย ของ สพฐ. และกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดครบทุกนโยบาย 2. ผลการดําเนินงานตามนโยบายสงใหผ ูเรียนมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสูงข้นึ