Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการนิเทศ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

คู่มือการนิเทศ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

Published by lpg1, 2020-06-21 22:19:03

Description: คู่มือการนิเทศ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) สพป.ลำปาง เขต 1

Search

Read the Text Version

1 เพ่อื ยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) กลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสาร ศน. สพป.ลป.1 ที่ 4/2561

ก คานา คู่มือการนิเทศ เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) เล่มน้ีจัดทาขึ้น เพื่อให้คณะกรรมการ และอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาท่ีเก่ียวข้อง นาไปเป็นเครื่องมือนิเทศ ติดตามงาน นโยบายสาคัญแหง่ รฐั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเป็นไป ตามตัวชวี้ ดั ความสาเรจ็ ทั้งในดา้ นการบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา สานักงาน เขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการนิเทศเล่มนี้ คงจะมีประโยชน์ในการนามาวางแผน/ ออกแบบ กาหนดทิศทางการนิเทศ ติดตามสถานศึกษาให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพตาม กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาคัญต่างๆ ให้บรรลุ ตวั ชี้วัดความสาเร็จในแต่ละนโยบาย อันท่ีจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสังกัด ตอ่ ไป กลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

ข สารบัญ เรอ่ื ง หน้า คานา ก สารบญั ข ส่วนท่ี 1 บทนา………………………………………………………………………..…………….……………………… 1 ท่มี าและความสาคญั ของปัญหา……………………………………………………………………………… 1 วัตถุประสงคข์ องการนเิ ทศ................................................................................................ 3 เปาู หมายของการนเิ ทศ..................................................................................................... 3 ส่วนท่ี 2 เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ ง.......................…………………………………………………………..……………. 5 2.1 ทฤษฎี และแนวคดิ ที่เกย่ี วขอ้ ง............................................................................ 6 2.1.1 การนเิ ทศการสอน…………………………………………………………………………. 6 (1) ความหมายของการนเิ ทศการสอน………………………………………….. 6 (2) จุดมุ่งหมายของการนิเทศการสอน………………………………………….. 7 (3) ความจาเป็นนิเทศการสอน…………………………………………………….. 8 (4) กจิ กรรมการนเิ ทศการสอน............................................................ 9 (5) ทักษะการนเิ ทศการสอน……………………………………………………….. 11 (6) กระบวนการการนเิ ทศการสอน………………………………………………. 12 (7) เทคนคิ การสังเกตการสอน……………………………………………………… 21 2.1.2 การนิเทศแบบโคช้ ……………………………………………………………………….. 24 (1) การโค้ชเพอ่ื การรูห้ นงั สอื และการอา่ น (Literacy Coaching or Reading Coaching)…………………………………………..……………….. 24 (2) การโคช้ เพื่อเนน้ นักเรียนเปน็ สาคัญ (Student Centered Coaching)……………………………………………………………………………. 25 2.1.3 ทฤษฎเี กย่ี วกบั การนเิ ทศการสอน…………………………………………………… 28 (1) ทฤษฎกี ารเปล่ยี นแปลง.................................................................. 28 (2) ทฤษฎีแรงจูงใจ............................................................................... 29 (3) ทฤษฎกี ารสือ่ สาร........................................................................... 30 (4) ทฤษฎมี นุษยส์ ัมพันธ.์ ..................................................................... 30 (5) ทฤษฎภี าวะผ้นู า............................................................................ 31 (6) ทฤษฎีการเรยี นรขู้ องผู้ใหญ.่ ........................................................... 31

ค สารบัญ (ตอ่ ) เรอ่ื ง หน้า 2.1.4 แนวคิดเกย่ี วกบั การพฒั นารูปแบบ…………………………………………………. 33 (1) ความหมายของรูปแบบ………………………………………………………… 33 (2) ประเภทของรูปแบบ...................................................................... 33 (3) ลักษณะของรปู แบบที่ด.ี ................................................................ 34 (4) แนวคิดการออกแบบและพฒั นารปู แบบ........................................ 34 2.1.5 แนวคดิ เก่ยี วกบั ความพึงพอใจ………………………………………………………. 37 2.2 นโยบายและยทุ ธศาสตร์……………………………………….……………………………………. 38 2.2.1 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)………………………………………………….…………………. 38 2.2.2 นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ (พ.ศ. 2558 - 2564) …………..……..………… 40 2.2.3 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) ของสานักงาน เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา…………………………………………………………………. 41 2.2.4 แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)……………………………………………………….……………. 41 2.2.5 แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน…………………………………………………. 42 สว่ นที่ 3 แนวทางการนเิ ทศ เพื่อยกระดบั คุณภาพการศึกษา……………….………………….……. 45 การนเิ ทศ ติดตามการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั และการนาหลักสูตรการศกึ ษา ปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 ไปใชใ้ นสถานศึกษา……………………………..……………….. 49 การนิเทศ ตดตาม การพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา และการนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2561) ไปใชใ้ นสถานศกึ ษา………………………………………………. 51 การนเิ ทศ ติดตาม การจัดการเรยี นการสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม โดยใช้ DLTV และDLIT……………………………………………………………………….……………………….…. 53 การนิเท ตดิ ตามการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน..…………………..………………….… 55 การนิเทศ ติดตามการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา........................................... 57 การนิเท ติดตามการจดั การเรียนรู้สะเตม็ ศึกษา (STEM Education) ………............... 59 การนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น....................................................... 61 การนเิ ทศ ติดตามการพฒั นาทักษะการคดิ การจดั กจิ กรรมและประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น…………………………………………….………………………………… 63 การนิเทศ ติดตามโรงเรียนคุณธรรม สพฐ........................................................................... 65

ง สารบัญ (ตอ่ ) เรื่อง หน้า การนิเทศ ตดิ ตามการนาศาสตร์พระราชาไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน……………. 67 การนิเทศการสง่ เสริม/พฒั นาค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ.................................. 69 การนิเทศ ติดตามการดาเนินงานโรงเรยี นสจุ ริต……………………………………………………… 71 การนเิ ทศ ติดตามการนากระบวนการ PLC ไปสูก่ ารปฏบิ ัติ.............................................. 73 การนิเทศห้องเรียนคณุ ภาพ…………………........................................................................... 75 การนเิ ทศ ตดิ ตามการบริหารงานตามภาระงานของสถานศกึ ษา....................................... 77 บรรณานุกรม............................................................................................................................... 81 คณะผู้จัดทา................................................................................................................................. 84

1 ส่วนที่ 1 บทนา ท่ีมาและความสาคัญของปญั หา การนิเทศการศึกษา ถือได้ว่าเป็นงานท่ีมีความสาคัญในการจัดและบริหารสถานศึกษา เนื่องจากการนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการบริหาร ชี้แนะ ให้ความช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือกับ ครูผู้สอนและบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา เพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอนของครู และเพิ่ม คุณภาพของผู้เรียนให้เป็นไปตามเปูาหมายของการศึกษา เพราะการนิเทศการศึกษามีจุดมุ่งหมาย คือ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของผู้เรยี น โดยปฏิบัตกิ ารผ่านครูผูส้ อน เพอื่ พัฒนาคนให้มคี ุณภาพสูงขึ้น ท่เี กิดจากการพัฒนางานให้ไดผ้ ลดีและเปน็ การพัฒนากระบวนการทางานมีการประสานสัมพันธ์อันดี งามระหว่างผู้ปฏิบัติงาน ลดความขัดแย้งให้ได้มากที่สุด อีกทั้งยังเป็นการสร้างขวัญและกาลังใจใน การปฏิบัติงาน นอกจากนี้การนิเทศการศึกษายังมีความสาคัญ คือ ช่วยปรับปรุงคุณภาพการเรียน การสอนใหด้ าเนนิ การอยา่ งราบรน่ื เรียบร้อยและมผี ลสัมฤทธิ์สูง การนาการนิเทศแบบโค้ช (Coaching) มาเป็นข้ันตอนหน่ึงในการขับเคลื่อนให้ครูผู้สอน มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน เน่ืองจากหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งเน้นให้คนไทยทุกคน คิดเป็น ทาเป็น มีเหตุผล สามารถ เรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ให้นักเรียนมีทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญ สถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใชเ้ พือ่ ปอู งกันและแก้ปญั หาในการดาเนินชีวิตประจาวัน และ มีความคิดสรร้างสรรค์ (สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ, 2545 : 14 - 15) ในการนิเทศการสอนเพือ่ ให้เกิดผลสาเร็จ มปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล จาเป็นอย่างยิ่งท่ี จะต้องดาเนินการตามลาดับข้ันตอนอย่างต่อเน่ืองกัน ซ่ึงนักการศึกษาหลายท่านได้นาเสนอ กระบวนการนิเทศ เช่น สงัด อุทรานันท์ (2530 : 10) ได้เสนอแนะกระบวนการนิเทศการสอนท่ี สอดคล้องกับสภาพสังคมไทย ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ซ่ึงเรียกว่า “PIDRE” คือ การวางแผน (P- Planning) ให้ความร้กู อ่ นดาเนินการนิเทศ (Informing-I) การดาเนินการนิเทศ (Doing-D) การสร้างเสริม ขวญั กาลงั ใจแกผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านนิเทศ (Reinforcing-R) การประเมินผลการนิเทศ (Evaluating-E) ในส่วน ของวชั รา เล่าเรียนดี (2550 : 18-19) ไดเ้ สนอกระบวนการนิเทศการสอน 7 ขัน้ ตอน คือ 1. วางแผน ร่วมกันระหว่างผู้นิเทศและผู้รับนิเทศ 2. เลือกประเด็นหรือเรื่องท่ีสนใจจะปรับปรุงพัฒนา 3. นาเสนอโครงการพัฒนาและข้ันตอนการปฏิบัติให้ผู้บริหารโรงเรียนได้รับทราบเพื่ออนุมัติ ดาเนินการ 4. ให้ความรู้หรือแสวงหาความรจู้ ากเอกสารตา่ งๆและจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเก่ียวกับ เทคนคิ การสงั เกตการสอนในชนั้ เรียน และความรเู้ กยี่ วกบั วธิ กี ารสอนและนวตั กรรมใหม่ ๆ ท่สี นใจ 5. จดั ทาแผนการนิเทศ กาหนดวัน เวลา ท่ีจะสังเกตการสอน ประชุมปรึกษาหารือ เพื่อแลกเปล่ียน ความคดิ เห็นและประสบการณ์ 6. ดาเนนิ การตามแผนโดยครแู ละผนู้ เิ ทศ (แผนการจดั การเรียนรู้และ การนเิ ทศ) 7. สรุปและประเมินผลการปรบั ปรงุ และพฒั นา รายงานผลสาเร็จ นอกจากน้ียังได้มีการนา วงจรคุณภาพ (PDCA) หรือโดยทั่วไปนิยมเรียกกันว่า PDCA มาใช้เป็นกระบวนการนิเทศการสอน ซึ่ง สมศักด์ิ สนิ ธรุ ะเวชญ์ (2542 : 188) กล่าวถึง จดุ หมายท่ีแทจ้ ริงของวงจรคณุ ภาพ (PDCA) ว่าเปน็

2 กิจกรรมพ้ืนฐานในการบริหารคุณภาพนั่นมิใช่เพียงแค่การปรับแก้ผลลัพธ์ที่เบ่ียงเบนออกไปจากเกณฑ์ มาตรฐานให้กลับมาอยู่ในเกณฑ์ท่ีต้องการเท่าน้ัน แต่เพื่อก่อให้เกิดการปรับปรุงในแต่ละรอบของ PDCA อย่างต่อเน่ืองเป็นระบบและมีการวางแผน PDCA ท่ีม้วนไต่สูงขึ้นเรื่อย ๆ 4 ขั้นตอน คือ ข้ันที่ 1 การ วางแผน (Plan - P) ขั้นท่ี 2 การดาเนินตามแผน (Do - D) ขั้นท่ี 3 การตรวจสอบ (Check - C) ขั้นท่ี 4 การแก้ไข ปญั หา (Act - A) นอกจากน้ีจากการศึกษาการวิจัยของเกรียงศักด์ิ สังข์ชัย (2552) เก่ียวกับการพัฒนา รปู แบบการนเิ ทศครวู ิทยาศาสตร์ เพ่อื พฒั นาศักยภาพนักเรียนท่ีมีแววความสามารถทางวิทยาศาสตร์ ซ่งึ ใช้รูปแบบการนิเทศท่ีเรียกว่า APFIE Model มีกระบวนการดาเนนิ งาน 5 ข้ันตอน คือ ข้ันตอนท่ี 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการจาเป็น (Assessing needs : A) ขั้นตอนท่ี 2 จัดการให้ ความรู้ก่อนการนิเทศ (Providing information : P) ข้ันตอนที่ 3 การวางแผนการนิเทศ (Formation Plan : F) ข้ันตอนที่ 4 ปฏิบัติการนิเทศ (Implementation : I) ซ่ึงประกอบด้วยกระบวนการนิเทศ 4 ขั้นตอน คือ 1 ขนั้ เตรยี มการก่อนสอนและการนิเทศ 2) สังเกตการสอนในชั้นเรียน 3) ขั้นประชุม ให้ข้อมูลย้อนกลับ หลังสังเกตการสอน 4) ประเมินผลการนิเทศ ติดตาม ดูแล และขั้นตอนท่ี 5 ประเมินผลการนิเทศตลอดภาคเรียน (Evaluating : E) และวชิรา เครือคาอ้าย (2552) เสนอรูปแบบ การนิเทศนักศึกษา ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู เพ่ือพัฒนาสมรรถภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีส่งเสริม การคิดของนักเรียนประถมศึกษา มีช่ือว่า รูปแบบ การนิเทศดับเบ้ิลพีไออี ( PPIE) ประกอบด้วย 4 ข้ันตอน คือ 1 ขั้นเตรียมความรู้/เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ 2) ขั้นวางแผนการนิเทศ 3) ข้ัน ดาเนินการนิเทศการสอน 4) ขั้นประเมินผลการนิเทศ ส่วนยุพิน ยืนยง (2553) เสนอรูปแบบการนิเทศ แบบหลากหลายวิธีการ เพือ่ สง่ เสริมสมรรถภาพการวิจัยในชั้นเรียน มีช่ือว่า ซีไอพีอี (CIPE Model) ซึ่งมี 4 ขน้ั ตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 Classifying : C การคัดกรองระดับความรู้ ความสามารถ ทักษะท่ีสาคัญ เก่ียวกับการจัดการเรียนรู้และการวิจัยในชั้นเรียน เพื่อจัดกลุ่มครูและเลือกวิธีการนิเทศท่ีเหมาะสม สาหรบั ครแู ตล่ ะกลุ่ม ขน้ั ตอนท่ี 2 Informing : I การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ ข้ันตอนท่ี 3 Proceeding : P การดาเนนิ งานได้แก่ 3.1 การประชมุ ก่อนการสงั เกตการสอน (Pre conference) 3.2 การสังเกต การสอน (Observation) 3.3 การประชุมหลังการสังเกตการสอน (Post conference) ขั้นตอนที่ 4 Evaluating : E การประเมินผลการนิเทศ และธัญพร ช่ืนกลิ่น (2553) ได้เสนอการพัฒนารูปแบบการ โค้ช เพ่ือพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของอาจารย์พยาบาลที่ส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมี วจิ ารณญาณของนกั ศึกษาพยาบาลในสงั กัดสถาบนั พระบรมราชชนกกระทรวงสาธารณสุข พบว่า การ พฒั นารูปแบบโค้ช พีพซี ีอี (PPCE Coaching Model) คือ ระยะท่ี 1 ระยะการเตรียมการ (Preparing Phase : P) ระยะที่ 2 ระยะวางแผนการโค้ช (Planning Phase : P) ระยะที่ 3 ระยะการปฏิบัติการ โคช้ (Coaching Phase : C) ระยะท่ี 4 ระยะเวลาการประเมนิ ผลการโคช้ (Evaluating Phase : E) การออกแบบการเรยี นการสอนเป็นกระบวนการหนึ่งท่ีสาคัญในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้แก่ผู้เรียน โดยการนาวิธีการเชิงระบบ (System Approach) มาใช้ในการดาเนินงานให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสดุ ซ่งึ ในการออกแบบน้ัน มนี กั การศึกษาหลายท่านได้เสนอคานิยาม ทผี่ ู้เกยี่ วขอ้ งกับการออกแบบ สามารถยดึ ถอื เป็นหลกั การในการปฏบิ ัติงาน โดยปรับใช้ให้เหมาะสมกับ ปญั หาและสถานการณ์ซ่งึ ดิกค์ แคเรย์ และแคเรย์ (Dick Carey and Carey, 2005) ได้เสนอขั้นตอน การออกแบบระบบการเรียนการสอนไว้ 9 ข้ันตอน คือ 1) กาหนดเปูาหมายวัตถุประสงค์การเรียน

3 การสอน 2) วิเคราะห์สภาพการเรียนการสอนวิเคราะห์ผู้เรียนและบริบท 3) กาหนดเปูาหมาย จุดประสงค์เชิงปฏิบัติ 4) พัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล 5) พัฒนาหรือเลือกยุทธวิธีการเรียน การสอน 6) พัฒนาเลือกส่ือวสั ดุการเรยี นการสอน 7) ออกแบบและประเมนิ ผล เพ่ือปรบั ปรงุ การเรียน การสอน 8) ออกแบบและ ประเมินสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน 9) การปรับปรุงการเรียนการ สอน และครูสซ์ (Kruse 2004) ได้เสนอขนั้ ตอนการออกแบบระบบการเรียนการสอนให้มีประสิทธิผล และมคี วามเหมาะสม โดยใชแ้ นวคดิ “ADDIE Model” ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน คือ 1) ขั้นวิเคราะห์ (Analysis) 2) ขั้นออกแบบ (Design) 3) ขั้นพัฒนา (Development) 4) ขั้นนาไปใช้ (Implement) และ 5) ขน้ั ประเมินผล (Evaluation) ดังนั้นกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 จึงมีแนวทางขับเคลื่อนงานตามจุดเน้นนโยบายสาคัญแห่งรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการบริหารงานตามกรอบ ภาระงาน 4 ด้าน คือ การบริหารงานด้านวิชาการ ด้านการบริหารงานด้านงบประมาณ การบริหารงานด้านการบริหารงานบุคคล และการบริหารงานด้านบริหารท่ัวไปของ โดยใช้ กระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) คือ 1. A (Assessing Need) การศึกษาสภาพและ ความต้องการ 2. P (Planning) การวางแผนการนิเทศ 3. I (Informing) การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ 4. C (Coaching) การนิเทศแบบโค้ช และ5. E (Evaluating) การประเมินผลการนิเทศ เพื่อการดาเนินงานตามจุดเน้นนโยบาย และการบริหารงานของสถานศึกษาเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ต่อไป วตั ถปุ ระสงคข์ องการนเิ ทศ เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ตามจุดเน้นนโยบายสาคัญแห่งรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และการบริหารงานตามกรอบภาระงาน 4 ด้าน คือ การบริหารงานด้านวชิ าการ ดา้ นการบรหิ ารงานด้านงบประมาณ การบริหารงานด้านการบริหารงาน บุคคล และการบริหารงานด้านบริหารท่ัวไปของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 โดยใช้กระบวนการนิเทศเอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) เปา้ หมายของการนเิ ทศ เป้าหมายเชิงปรมิ าณ เพ่ือนิเทศ ติดตามงานนโยบายสาคัญแห่งรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และการบริหารงานตามกรอบภาระงาน 4 ด้าน คือ การบริหารงานดา้ นวชิ าการ ดา้ นการบริหารงานด้านงบประมาณ การบริหารงานด้านการบริหารงาน บคุ คล และการบรหิ ารงานดา้ นบรหิ ารทว่ั ไปของสถานศึกษา จานวน 95 โรงเรียน เป้าหมายเชงิ คุณภาพ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาบริหารจัดการงาน ตามจุดเน้นนโยบายสาคัญแห่งรัฐ กระทรวงศกึ ษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานพ้ืนฐาน และการบริหารงานตาม กรอบภาระงาน 4 ด้าน คือ การบริหารงานด้านวิชาการ ด้านการบริหารงานด้านงบประมาณ

4 การบริหารงานดา้ นการบริหารงานบุคคล และการบริหารงานด้านบริหารทั่วไปเป็นไปตามบริบทของ สถานศกึ ษา และเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ 2. ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับงานนโยบายสาคัญแห่งรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็นระบบมีคุณภาพตามตัวชี้วัดและมาตรฐาน การเรยี นรู้ของแต่ละนโยบาย

5 สว่ นที่ 2 เอกสารท่ีเกีย่ วข้อง การนิเทศ ติดตามงานนโยบายสาคัญแห่งรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของสถานศึกษา เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ดาเนนิ การนิเทศ ติดตาม โดยใช้กระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ดังน้ี 2.1 ทฤษฎี และแนวคดิ ทีเ่ ก่ียวข้อง 2.1.1 การนิเทศการสอน (1) ความหมายของการนิเทศการสอน (2) จุดมุง่ หมายของการนเิ ทศการสอน (3) ความจาเป็นนิเทศการสอน (4) กจิ กรรมการนิเทศการสอน (5) ทักษะการนเิ ทศการสอน (6) กระบวนการการนเิ ทศการสอน (7) เทคนิคการสงั เกตการสอน 2.1.2 การนเิ ทศแบบโค้ช (1) การโค้ชเพอ่ื การรู้หนงั สือและการอา่ น (Literacy Coaching or Reading Coaching) (2) การโคช้ เพ่อื เนน้ นักเรยี นเป็นสาคญั (Student Centered Coaching) 2.1.3 ทฤษฎเี กี่ยวกบั การนิเทศการสอน (1) ทฤษฎกี ารเปล่ยี นแปลง (2) ทฤษฎีแรงจงู ใจ (3) ทฤษฎกี ารสื่อสาร (4) ทฤษฎมี นุษยส์ ัมพนั ธ์ (5) ทฤษฎภี าวะผู้นา (6) ทฤษฎกี ารเรยี นรขู้ องผ้ใู หญ่ 2.1.4 แนวคดิ เกย่ี วกบั การพฒั นารูปแบบ (1) ความหมายของรปู แบบ (2) ประเภทของรปู แบบ (3) ลักษณะของรูปแบบท่ีดี (4) แนวคิดการออกแบบและพฒั นารูปแบบ 2.1.5 แนวคิดเก่ียวกับความพงึ พอใจ 2.2 นโยบายและยุทธศาสตร์ 2.2.1 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2.2.2 นโยบายความมน่ั คงแห่งชาติ (พ.ศ. 2558 - 2564)

6 2.2.3 แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) ของสานักงานเลขาธิการสภา การศกึ ษา 2.2.4 แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2.2.5 แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 2.1 ทฤษฎี และแนวคิดที่เกย่ี วข้อง 2.1.1 การนเิ ทศการสอน (1) ความหมายของการนิเทศการสอน การนเิ ทศการสอน มคี วามสาคญั เป็นอย่างมาก เน่ืองจากศาสตร์ในเร่ืองน้ีมีสิ่งต่างๆ มากมายท่ีจะตอ้ งดาเนินการอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนการทางานท่ีชัดเจน ซ่ึงได้มีนักการศึกษาต่างๆ ได้ใหค้ วามหมายของการนเิ ทศการสอนไวห้ ลายทา่ น สรปุ ไดด้ งั นี้ สงัด อุทรานันท์ (2530 : 7), กิติมา ปรีดีดิลก (2532 : 262), วไรรัตน์ บุญสวัสดิ์ (2538 : 3), ปรยี าพร วงศอ์ นตุ รโรจน์ (2548 : 48), ชาญชัย อาจินสมาจาร (ม.ป.ป), วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 3) ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับการนิเทศการสอนที่สอดคล้องกันไว้ว่า การนิเทศการสอน คือ กระบวนการบริหารจดั การศึกษาทสี่ ร้างสรรคไ์ มห่ ยุดนิ่ง เพอื่ ชแ้ี นะให้ความช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือ กับครผู ูส้ อน และบคุ ลากรตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องกับการศึกษาหรือในเร่ืองอื่นๆ ที่ต้องอาศัยการนิเทศจาก ผู้รู้ ผทู้ ่มี ีความสามารถเฉพาะเรื่อง โดยเป็นกระบวนการดาเนนิ งานท่จี ะต้องทารว่ มกนั ระหว่างผู้นิเทศ กบั ผู้รบั การนิเทศ ตลอดจนให้การชว่ ยเหลอื แนะนา และให้ความร่วมมือกับครูผู้สอนในการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ ทั้งในเร่ืองของการวิเคราะห์ นักเรียน การวางแผนการทางาน การผลิตส่ือการเรียนการสอน การวิเคราะห์ สรุปผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนการรายงานการปฏบิ ตั ิงานในภาพรวม และในประเดน็ ท่ีมีความสาคัญในแต่ละเรือ่ ง นอกจากนี้ Burton, William H. and Bruecker, Lee J. (1955 : 7), Spears, Harold (1967 : 16), Harris, Ben M. (1985 : 10, Oliva, Peer F. (1989 : 8), Glickman, Card. D., Stephen P. Gordon and Jovita M. Ross-Gordon (2004 : 8) ได้ให้ความหมายที่สอดคล้อง สรุปได้ว่า การนิเทศการสอน หมายถึง เป็นการช่วยเหลือสนับสนุนให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรท่ี เก่ียวข้องกับการปรับปรุงการเรียนการสอนทั้งในเร่ืองหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน ส่ือการ เรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ และส่งิ อานวยความสะดวกต่างๆ เพื่อพัฒนาการทางานของ ครใู ห้มีประสิทธิภาพ และส่งผลต่อคณุ ภาพของนักเรียน สรุปการนิเทศการสอนเป็นกระบวนการสร้างสรรค์ท่ีไ ม่หยุดน่ิงระหว่างผู้นิเทศกับ ผู้รับการนิเทศ เพื่อมุ่งเน้นการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ส่งผลต่อพัฒนาการเรียนรู้ ของนักเรียน โดยเน้นการให้บริการ การให้ความร่วมมือ และการให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนแก่ ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องท้ังในดา้ นการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัด และประเมินผล และการจัดกิจกรรมเสริมอื่นๆ เน้นความร่วมมือกัน ความเป็นประชาธิปไตย ให้บริการช่วยเหลือสนับสนนุ มากกวา่ การบังคับใหป้ ฏิบตั ิตาม

7 (2) จดุ มงุ่ หมายของการนิเทศการสอน การนิเทศการสอนแต่ละครั้งจะต้องมีการกาหนดจุดมุ่งหมาย เพื่อเป็นแนวทางใน การปฏิบัติและแนวทางในการดาเนินการนิเทศการสอนท่ีชัดเจน เพ่ือจะให้เกิดผลท่ีต้องการดังที่ นักการศึกษาหลายท่านได้กาหนดจุดมุ่งหมายของการนิเทศการสอนไว้อย่างสอดคล้องกัน ดังน้ี วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 8), ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2548 : 20), วไลรัตน์ บุญสวสั ดิ์ (2538 : 7) มคี วามเหน็ สอดคล้องกนั ว่า จดุ มงุ่ หมายของการนิเทศการสอนเป็นการปรับปรุง กระบวนการสอนและกระบวนการเรียนรขู้ องนกั เรยี น สรา้ งขวญั และกาลังใจ และสร้างความสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างบุคคลที่เกี่ยวข้องในการทางานร่วมกัน โดยอาศัยการนิเทศช่วยเหลือ แนะนา ให้ความรู้ และการฝึกปฏบิ ตั ดิ ้านการพัฒนาหลกั สูตร เทคนคิ วธิ ีการเรียนการสอนใหม่ ๆ การใช้และการสร้างสื่อ นวัตกรรมดา้ นการสอนและการทาวิจัยในช้ันเรียน เพ่ือให้ครูสามารถปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนหรืองานในวิชาชีพของตนเองอย่างต่อเน่ือง มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด ตามเปาู หมาย ส่วน กิติมา ปรีดีดิลก (2532 : 264) ได้สรุปจุดมุ่งหมายการนิเทศการสอนไว้ เพื่อช่วย ใหค้ รูคน้ หาและรู้วธิ กี ารทางานด้วยตนเอง รจู้ ักแยกแยะ วเิ คราะห์ปัญหาของตนเองโดยใหค้ รูรู้ว่าอะไร ที่เปน็ ปญั หาที่กาลงั เผชญิ อยู่และจะแกไ้ ขปญั หาเหล่านน้ั ไดอ้ ย่างไร รู้สึกมั่นคงในอาชีพ และมีความเช่ือมั่น ในความสามารถของตน คุ้นเคยกับแหล่งวิทยาการ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนได้ เผยแพร่ให้ชุมชนเข้าถึงแผนการจัดการศึกษาของโรงเรียนและให้การสนับสนุนโรงเรียน ตลอดจน เข้าใจปรัชญาและความต้องการทางการศึกษา นอกจากน้ี ยุพิน ยืนยง (2553 : 38) ; เกรียงศักด์ิ สังข์ชัย (2552 : 71) ยังกล่าวว่าการนิเทศการสอน มีจุดมุ่งหมาย คือ การช่วยเหลือ แนะนา และ สนับสนุนให้ครูได้รับการพัฒนางานในวิชาชีพของตนเองให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันที่จะ ส่งผลต่อการพฒั นาการด้านการเรียนร้ขู องนกั เรยี น สาหรบั สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2547 : 180-181) ได้สรุป จุดมุ่งหมายของการนิเทศการสอนไว้ว่า 1) เพื่อให้สถานศึกษามีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ ของ นักเรียนให้สอดคล้อง กับมาตรฐานหลักสูตรและให้เป็ นไปตามแนวทาง ข อง พระราชบั ญญั ติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545) 2) เพ่ือให้สถานศึกษา สามารถบริหารและจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ 3) เพ่ือพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนรู้ให้มี ประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน สังคม ทันต่อการเปล่ียนแปลงทุกด้าน 4) เพื่อให้ บุคลากรสถานศึกษาได้เพิ่มความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ การปฏิบัตงิ าน รวมทั้ง ความตอ้ งการในวิชาชีพ 5) เพ่อื สง่ เสรมิ ให้สถาบันการศกึ ษาปฏิรูประบบบริหาร โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทา ร่วมตัดสินใจ และร่วมรับผิดชอบ ช่ืนชมในผลงาน 6) เพ่ือให้เกิด การประสานงานและความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระหว่างผู้เก่ียวข้อง ได้แก่ ชุมชน สังคม และวัฒนธรรม 7) เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพที่ดีแก่ครูในด้านความเป็นผู้นาทางวิชาการและ ความคดิ ความมีมนษุ ยส์ ัมพันธ์ ความคิดสรา้ งสรรค์ และความมุ่งมัน่ มีอดุ มการณ์ท่ีจะอบรมนักเรียนให้ เป็นผู้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีตามความต้องการของสังคมประเทศชาติ 8) เพ่ือพัฒนาวิชาชีพครูและ เสรมิ สร้างสมรรถภาพดา้ นการสอนให้แก่ครูในดา้ นการวิเคราะหแ์ ละปรับปรงุ จุดประสงค์ในการเรียนรู้ วิธีการศึกษาพื้นฐานความรู้ของนักเรียน การเลือกและปรับปรุงเน้ือหาการสอนการดาเนินการจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนเหมาะสม ประเมินผลการเรยี นการสอนและปรับปรุงกระบวนการวัดผลได้

8 อย่างมีประสิทธิภาพ 9) เพื่อพัฒนากระบวนการทางานของครู โดยใช้กระบวนการกลุ่มในด้าน การร่วมมือกันจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและแก้ปัญหาการสอนการร่วมมือกันทางานอย่างเป็น ข้นั ตอน มีระบบ ระเบียบ การร่วมมือกันทางานด้วยความเข้าใจกัน เห็นอกเห็นใจกัน ยอมรับซ่ึงกัน และกัน การร่วมมือกันทางานท่ีมเี หตผุ ลในการพัฒนาหลกั สูตร สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องและก้าวหน้า เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นภาระหน้าท่ีของผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าฝุาย วิชาการ และคณะครู อาจารย์ ภายในสถานศึกษาท่ีจะต้องมีหน้าที่ดาเนินการนิเทศกันเอง มกี ารประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งการนิเทศครูผู้ทาหน้าที่นิเทศและแหล่งวิทยาการต่างๆ ให้บริการ ชว่ ยเหลอื งานวิชาการของสถานศึกษาอย่างมีประสทิ ธภิ าพและคลอ่ งตัว มคี วามสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างครู ด้วยกนั ไดร้ บั ขวัญและกาลังใจจากผู้บริหารและการยอมรับในความรู้ ความสามารถของผ้ใู ห้การนิเทศ รวมทง้ั ผูร้ ับการนิเทศจะตอ้ งใหก้ ารสนับสนุนด้วย และมีกระบวนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรใน โรงเรยี นที่จะส่งผลใหโ้ รงเรยี นพฒั นาตนเอง และ10) เพอ่ื สร้างขวัญและกาลงั ใจแก่ครูในด้านการสร้าง ความมน่ั ใจและความถูกตอ้ งในการใชห้ ลักสูตรและการสอน สร้างความสบายใจในการทางานร่วมกัน และความกา้ วหนา้ ในตาแหน่งทางวิชาชีพครู สรปุ จดุ มงุ่ หมายของการนิเทศการสอนคือการพัฒนาคน พฒั นาครูให้มีความรู้ ความสามารถ ในการพัฒนางานด้านหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนส่งเสริมความเจริญก้าวหน้า ในวชิ าชพี ครทู ่สี ง่ ผลโดยตรงตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพของนักเรยี น โดยอาศัยการนเิ ทศ ชว่ ยเหลือ แนะนา อนั จะส่งผลตอ่ การพฒั นาคุณภาพนักเรียนให้เป็นอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีคุณลักษณะ ท่พี ึงประสงคต์ ามเปาู หมายของหลกั สูตร (3) ความจาเปน็ ในการนเิ ทศการสอน การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาให้ประสบความสาเรจ็ ได้นน้ั จะต้องอาศัยกระบวนการ นิเทศการสอนเป็นองค์ประกอบด้วย ท้ังนี้เพราะการนิเทศการสอนเป็นกระบวนการของการทางาน รว่ มกับครูเพื่อปรับปรงุ การเรยี นการสอนในชนั้ เรียนให้มปี ระสทิ ธผิ ล ดังท่ี กิติมา ปรดี ดี ลิ ก (2532 : 263) ได้ให้ความเห็นว่าในปัจจุบันการนิเทศการสอน มีความจาเปน็ ตอ่ กระบวนการเรียนการสอนเป็นอย่างมากด้วยเหตุผลท่ีว่า 1) การศึกษาเป็นกิจกรรม ท่ีซับซ้อนและยุ่งยาก จาเป็นจะต้องมีการนิเทศ 2) การนิเทศการสอนเป็นงานท่ีมีความจาเป็นต่อ ความเจริญงอกงามของครู 3) การนิเทศการสอนมีความจาเป็นต่อการช่วยเหลือครูในการเตรียม การสอน 4) การนิเทศการสอนมีความจาเป็นต่อการทาให้ครูเป็นบุคคลท่ีทันสมัยอยู่เสมอ อนั เน่ืองมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมท่ีมอี ยตู่ ลอดเวลา ซงึ่ แนวคดิ ดังกลา่ วสอดคล้องกบั กรองทอง จริ เดชากุล (2550 : 4) ที่ได้กล่าวถึงความจาเป็นของการนิเทศการสอนไว้ว่า การนิเทศการสอนเป็น การปรบั ปรงุ คุณภาพของการจดั การศึกษา การพัฒนาสถานศึกษา ครู และผู้เกี่ยวข้องเข้าสู่มาตรฐาน การศกึ ษา รวมทง้ั เปน็ การประสานงานให้เกดิ การปฏิบัติทม่ี ีประสิทธภิ าพในสถานศกึ ษา ท้งั น้เี นื่องจาก สงั คมมกี ารเปลี่ยนแปลงทุกๆ ด้านตลอดเวลา นอกจากนี้ ชาญชัย อาจินสมาจาร (ม.ป.ป.) ยังกล่าวว่า การนิเทศการสอนมีความจาเปน็ กลา่ วคือ 1. การนิเทศการสอนมีความจาเป็นในการให้บริการทางวิชาการ การศึกษาเป็น กิจกรรมที่ซับซ้อน และยุ่งยาก เพราะมันเก่ียวข้องกับบุคคล การนิเทศการสอนเป็นการให้บริการ

9 แก่ครูจานวนมากที่มีความสามารถต่าง ๆ กัน อีกประการหน่ึงการศึกษาได้ขยายตัวไปอย่างมาก เมือ่ ไมน่ านมานี้ ส่งิ เหล่านี้ต่าง ๆ กต็ ้องอาศยั ความช่วยเหลอื จากการนเิ ทศท้ังนั้น 2. การนเิ ทศการสอนมีความจาเป็นต่อความเจริญงอกงามของครู แม้ว่าครูจะได้รับ การฝึกฝนมาแล้วเป็นอย่างดีก็ตาม แต่ครูจะต้องปรับปรุงการฝึกฝนอยู่เสมอในขณะทางานใน สถานการณจ์ รงิ 3. การนเิ ทศการสอนมคี วามจาเป็นต่อการชว่ ยเหลือครใู นการตระหนักเตรยี มการสอน เนื่องจากครูต้องปฏิบัติงานในกิจกรรมต่าง ๆ กัน และจะต้องเผชิญกับภาวะท่ีค่อนข้างหนัก ครูจึงไม่อาจสละเวลาได้มากเพียงพอต่อการตระเตรียมการสอน การนิเทศการสอนจึงสามารถ ลดภาระของครูได้ในกรณี ดังกลา่ ว 4. การนิเทศการสอนมีความจาเป็นต่อการทาให้ครูเป็นบุคคลท่ีทันสมัยอยู่เสมอ จากการเปล่ียนแปลงทางสังคม ทาให้เกิดพัฒนาการทางการศึกษาท้ังทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ ข้อแนะนาที่ได้จากการวิเคราะห์และจากการอภิปราย จากการค้นพบของการวิจัยมีความจาเป็นต่อ ความเจรญิ เติบโตดงั กลา่ ว ซง่ึ การนิเทศการสอนสามารถใหบ้ รกิ ารได้ 5. การนิเทศการสอนมีความจาเป็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาชีพแบบประชาธิปไตย การนเิ ทศการสอน สามารถให้ประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ นอกจากน้ียังสามารถรวมพลังของทุกคน ร่วมอยูใ่ นกระบวนการทางการศกึ ษาด้วย สรุปการนิเทศการสอนมีความจาเป็นต่อการจัดการศึกษาอย่างย่ิง เพราะเป็น การช่วยเหลือสนับสนุน ส่งเสริมให้ครูมีความสามารถในการพัฒนางานในวิชาชีพของตนเองให้มี ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล อันจะช่วยให้ครูเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ รวมทั้งส่งผลถึงนักเรียนและ คณุ ภาพการศกึ ษาโดยภาพรวมในท่ีสดุ (4) กิจกรรมการนิเทศการสอน กิจรรมการนิเทศการสอน เป็นวิธีการนิเทศท่ีผู้นิเทศจะต้องพิจารณาเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับสถานการณ์หรือสภาพปัญหาของสถานศึกษา และให้คานึงถึงหลักเกณฑ์ในการเลือกใช้ กจิ กรรม แต่ละชนิดอย่างเหมาะสม โดยพิจารณาถึงจุดประสงค์ของการนิเทศ และประโยชน์ที่ผู้รับ การนิเทศจะได้รับเป็นสาคญั Harris et al. (1985 : 71-86) ; ปรยี าพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2548 : 20) ; วัชรา เล่า เรยี นดี (2550 : 14-16) ไดเ้ สนอกจิ กรรมการนิเทศ ดังนี้ 1. การบรรยาย (Lecturing) เป็นกิจกรรมท่ีเน้นการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ ของผู้นิเทศไปสผู่ ูร้ ับนเิ ทศ ใชเ้ พยี งการพูดและการฟงั เทา่ นัน้ 2. การบรรยายโดยใช้สื่อประกอบ (Visualized lecturing) เป็นการบรรยายท่ีใช้สื่อเข้ามาช่วย เช่น สไลด์ แผนภมู ิ แผนภาพ ฯลฯ ซ่งึ จะช่วยใหผ้ ฟู้ งั มคี วามสนใจมากยิง่ ข้ึน 3. การบรรยายเป็นกลุ่ม (Panel Presenting) เป็นกิจกรรมการให้ขอ้ มูลเปน็ กลมุ่ ท่ีมีจุดเนน้ ท่กี ารให้ข้อมลู ตามแนวความคดิ หรอื แลกเปลย่ี นความคิดเห็นซง่ึ กนั และกัน 4. การให้ดูภาพยนตร์หรือโทรทัศน์ (Viewing film or Television) เป็นการใช้เคร่ืองมือท่ีเป็น ส่ือทางสายตา ได้แก่ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วีดีทัศน์ เพื่อทาให้ผู้รับการนิเทศได้รับความรู้และ เกดิ ความสนใจมากข้นึ

10 5. การฟังคาบรรยายจากเทปวิทยุและเครื่องบันทึกเสียง (Listening to tape, Radio recordings) เปน็ การใช้เคร่ืองบนั ทึกเสียงเพ่ือนาเสนอแนวความคิดของบุคคลหนง่ึ ไปสู่ผู้ฟังอน่ื 6. การจดั นทิ รรศการเก่ียวกบั วัสดุและเคร่ืองมือต่างๆ (Exhibiting Materials and Equipment’s) เปน็ กจิ กรรมท่ีช่วยในการฝึกอบรมหรือเป็นกิจกรรมสาหรับงานพัฒนาส่ือตา่ งๆ 7. การสังเกตในชนั้ เรยี น (Observing in Classroom) เปน็ กิจกรรมที่ทาการสังเกต การปฏิบัตงิ านในสถานการณ์จรงิ ของบคุ ลากร เพ่ือวิเคราะห์สภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร ซ่ึงจะ ช่วยให้ทราบจุดดีหรือจุดบกพร่องของบุคลากร เพื่อใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานและใช้ใน การพฒั นาบุคลากร 8. การสาธิต (Demonstrating) เป็นกิจกรรมการให้ความรู้ท่ีมุ่งให้ผู้อื่นเห็นกระบวนการและ วธิ ีดาเนนิ การ 9. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interviewing) เป็นกิจกรรมสัมภาษณ์ที่กาหนด จดุ ประสงค์ชดั เจนเพื่อให้ได้ข้อมูลต่าง ๆ ตามต้องการ 10. การสัมภาษณ์เฉพาะเร่ือง (Focused Interview) เป็นกิจกรรมสัมภาษณ์แบบ กงึ่ โครงสร้างโดยจะทาการสัมภาษณ์เฉพาะโรงเรียนที่ผู้ตอบแบบสอบถามมีความสามารถจะตอบได้ เทา่ น้นั 11. การสัมภาษณ์แบบไม่ช้ีนา (Non-directive Interview) เป็นการพูดคุยและ อภปิ รายหรอื การแสดงความคิดของบคุ คลทีส่ นทนาดว้ ย ลักษณะของการสัมภาษณ์จะสนใจกับปัญหา และความในใจของผู้รับการสมั ภาษณ์ 12. การอภิปราย (Discussing) เป็นกิจกรรมท่ีผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศปฏิบัติร่วมกัน ซ่ึงเหมาะสมกบั กลุ่มขนาดเลก็ มักใช้ร่วมกบั กจิ กรรมอ่ืนๆ 13. การอ่าน (Reading) เป็นกิจกรรมที่ใช้มากกิจกรรมหน่ึง สามารถใช้ได้กับคน จานวนมาก เช่น การอ่านขอ้ ความจากวารสาร มกั ใช้ผสมกับกจิ กรรมอน่ื 14. การวิเคราะห์ข้อมูลและการคิดคานวณ (Analyzing and Calculating) เป็น กิจกรรมทใี่ ช้ในการติดตามประเมินผล การวิจัยเชิงปฏบิ ตั ิการและการควบคุมประสทิ ธภิ าพการสอน 15. การระดมสมอง (Brainstorming) เป็นกิจกรรมทเี่ ก่ียวข้องกับการเสนอแนวคิด วธิ ีแก้ปญั หาหรือใชข้ ้อเสนอแนะนาต่างๆ โดยให้สมาชกิ แต่ละคนแสดงความคดิ โดยเสรี ไมม่ กี ารวิเคราะห์ หรือวิพากษว์ จิ ารณ์แตอ่ ยา่ งใด 16. การบนั ทกึ วดี ที ัศน์และการถา่ ยภาพ (Videotaping and Photographing) วดี ที ัศนเ์ ปน็ เครอ่ื งมอื ท่ีแสดงให้เห็นรายละเอียดท้ังภาพและเสียงสว่ นการถ่ายภาพมีประโยชนม์ ากใน การจัดนิทรรศการ กิจกรรมน้ีมีประโยชน์ในการประเมนิ ผลงานและการประชาสัมพนั ธ์ 17. การจัดทาเครือ่ งมือและข้อทดสอบ (Instrumenting and Testing) เป็นการใช้ แบบทดสอบและแบบประเมนิ ตา่ งๆ 18. การประชมุ กลมุ่ ย่อย (Buzz Session) เป็นกิจกรรมการประชุมกลมุ่ เพอื่ อภปิ ราย ให้หวั ข้อเรอ่ื งท่เี ฉพาะเจาะจง มงุ่ เนน้ การปฏสิ ัมพันธ์ภายในกลุ่มมากท่ีสุด 19. การจัดทัศนศึกษา (Field Trip) เป็นกิจกรรมการเดินทางไปสถานท่ีแห่งอื่น เพอ่ื ศกึ ษาและดูงานทสี่ มั พันธ์กับงานท่ีตนปฏบิ ตั ิ

11 20. การเย่ียมเยียน (Intervisiting) เป็นกิจกรรมท่ีบุคคลหนึ่งไปเย่ียมและสังเกต การทางานของอกี บคุ คลหน่งึ 21. การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) เป็นกิจกรรมท่ีสะท้อนให้เห็น ความรูส้ กึ นึกคดิ ของบุคคล กาหนดสถานการณ์ข้นึ แล้วให้ผู้ทากิจกรรมตอบสนองหรือปฏิบัติตนเองไป ตามธรรมชาตทิ ค่ี วรจะเป็น 22. การเขียน (Writing) เป็นกิจกรรมที่ใช้เป็นส่ือกลางในการนิเทศเกือบทุกชนิด เชน่ การเขยี นโครงการนิเทศ การบันทึกขอ้ มูล การเขียนรายงาน การเขยี นบันทึก ฯลฯ 23. การปฏิบัติตามคาแนะนา (Guided Practice) เป็นกิจกรรมท่ีเน้นการปฏิบัติ ในขณะท่ีปฏบิ ัติมกี ารดแู ลชว่ ยเหลือ มักใช้กับรายบุคคลหรอื กลุม่ ขนาดเลก็ 24. การประชุมปฏบิ ัติการ (Workshop) เป็นการประชุมที่เน้นให้ผู้เข้าประชุมมีความรู้ ความเขา้ ใจและทักษะทางดา้ นทฤษฎแี ละดา้ นปฏิบตั ิอยา่ งแทจ้ รงิ โดยสามารถนาไปพัฒนางานให้มีคุณภาพ 25. การศึกษาเอกสารทางวิชาการ เป็นการมอบหมายเอกสารให้ผู้รับการนิเทศไป ศกึ ษาค้นคว้าเรอ่ื งใดเรื่องหนง่ึ แล้วนาความรู้มาถ่ายทอดให้แกค่ ณะครู 26. การสนทนาทางวิชาการ เป็นการประชุมครูหรือกลุ่มผู้สนใจในเร่ืองราว ข่าวสาร เดียวกนั โดยกาหนดให้มีผ้นู าสนทนาคนหนง่ึ นาสนทนาในเรอ่ื งที่กลมุ่ สนใจ เพ่อื เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ แนวทางในการปฏบิ ัตงิ าน เทคนิควิธกี ารแก่คณะครใู นสถานท่ีศกึ ษา 27. การสัมมนา เป็นการประชุมและเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจ เพ่ือสรุปข้อคิดเห็น และหาแนวทางในการปฏิบัติงานร่วมกัน 28. การอบรม เปน็ การใหค้ รเู ขา้ ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในวิชาชีพ เพื่อเป็นการกระตุ้น ให้ครมู ีความตื่นตัวทางวิชาการ และนาความรคู้ วามสามารถที่ได้จากการอบรมไปใช้พัฒนาการจัดการเรียน การสอนให้มีคุณภาพ 29. การให้คาปรึกษาแนะนา เป็นการพบปะกันระหว่างผู้นิเทศกับผู้รับการนิเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาทั้งด้านส่วนตัวและการปฏิบัติงาน หรือช่วยแนะนาส่งเสริมให้การปฏิบัติงาน ประสบความสาเร็จยงิ่ ข้ึน การให้คาปรกึ ษาแนะนาสามารถดาเนินการได้ทง้ั เป็นรายบุคคลและรายกลมุ่ 30. การสังเกตการสอน เป็นการจัดให้บุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองการเรียน การสอนมาสังเกตพฤติกรรมของครูในขณะที่ทาการสอน เพื่อให้ครูสามารถพัฒนาหรือปรับปรุงการสอน ให้มีประสทิ ธิภาพ โดยใชข้ ้อมูลย้อนกลบั จากการสังเกตการสอนของผู้นิเทศ สรุปกิจกรรมนิเทศการศึกษาในแต่ละกิจกรรมจะมีจุดเด่น จุดด้อย และลักษณะ การนาไปใช้ที่แตกต่างกัน การเลือกใช้กิจกรรมการนิเทศ จึงมีความสาคัญเป็นอย่างย่ิง ซ่ึงใน การเลือกใช้กิจกรรมการนิเทศในแต่ละครั้ง ควรคานึงถึงจุดประสงค์ของการนิเทศ จานวนผู้รับ การนเิ ทศ และประโยชน์ทผ่ี รู้ บั การนเิ ทศจะได้รบั ตลอดจนสอดคล้องกบั สภาพปัญหาท่ีพบในโรงเรียน และความตอ้ งการของผรู้ บั การนเิ ทศ (5) ทักษะการนเิ ทศการสอน ในการนิเทศการสอน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและปรับปรุงคุณภาพการเรียน การสอนใหบ้ รรลุผลสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงคน์ นั้

12 วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 18-19) ได้กล่าวถึง ทักษะท่ีจาเป็นในการนิเทศไว้ สอดคลอ้ งกนั คือ ทกั ษะด้านเทคนิค ทกั ษะดา้ นมนษุ ยส์ มั พันธ์ และทักษะดา้ นการจัดการ รายละเอียด แตล่ ะดา้ น ดังนี้ 1. ทักษะด้านเทคนิค (Technical Skills) เป็นความสามารถในการใช้ความรู้ วิธีการ และเทคนิคท่จี าเป็นและท่ีเก่ียวข้องกับการนิเทศ ซ่ึงในการนิเทศแต่ละครั้งผู้นิเทศหรือผู้ทาหน้าที่นิเทศ จะตอ้ งมีความรู้ ความสามารถเฉพาะอยา่ ง ตอ้ งมคี วามรู้ความเข้าใจเทคนิควิธี และสามารถใช้เทคนิค วิธีเหล่านั้นได้ เช่น เทคนิคการนิเทศแบบพัฒนาการ เทคนิคการนิเทศแบบคลินิก เทคนิคการนิเทศ สังเกตการสอนและการจัดประชุมใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั รวมท้ังต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิค วิธีสอนแบบตา่ งๆที่สาคัญ และสามารถสาธิตแนะนาใหก้ ับครูได้ 2. ทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relation Skills) เป็นความสามารถใน การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภายในกลุ่ม และสามารถสร้างความร่วมมือให้ เกิดข้ึนระหว่างสมาชิกภายในกลุ่ม รวมถึงความสามารถในการจูงใจและการมีอิทธิพลเหนือคนอ่ืน การได้รับความร่วมมืออย่างจริงใจ สามารถพัฒนากลุ่มงานให้มีประสิทธิภาพและสร้างการยอมรับ ในการเปลยี่ นแปลงมากขึน้ 3. ทกั ษะด้านการจัดการ (Managerial Skills) เป็นความสามารถในการที่จะจัดให้ และคงไวซ้ ่งึ สภาพเงื่อนไขท่ีจะเป็นการสนับสนุนการทางานของหน่วยงาน หรือกลไกในการรักษาไว้ และทาใหอ้ งค์กรดมี ีประสิทธภิ าพมากขึน้ ประกอบดว้ ยทกั ษะในการจัดการตอ่ ไปนี้ 3.1 ความสามารถในการรักษาไวซ้ ่งึ ความสัมพันธท์ ่ดี ีระหว่างบคุ คลกับหนว่ ยงาน 3.2 ความสามารถในการท่ีจะมองเห็นความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆท่ีสาคัญ ทเ่ี อือ้ ตอ่ การปฏิบตั ิงานในองค์กรหรือโรงเรยี น 3.3 ความสามารถในการทจี่ ะสร้างองคก์ รทมี่ ีคณุ ภาพ 3.4 ความสามารถในการสรา้ งและคงไว้ซงึ่ สมรรถภาพขององคก์ ร สรุปได้ว่า ทักษะท่ีจาเป็นในการนิเทศที่สาคัญก็คือ 1) ทักษะด้านเทคนิค (Technical Skills) 2) ทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relation Skills) และ3) ทักษะด้าน การจัดการ (Managerial Skills) ซึ่งทักษะทั้งสามด้านจะต้องผสมผสานกันในการนาไปใช้ใน การปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศ (6) กระบวนการนเิ ทศการสอน ในการนิเทศการสอนเพ่ือให้เกิดผลสาเร็จ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จาเป็น อยา่ งยง่ิ ทจี่ ะตอ้ งดาเนนิ การตามลาดับขน้ั ตอนอยา่ งต่อเน่ืองกัน ซึ่งนักการศึกษาหลายท่านได้นาเสนอ กระบวนการนเิ ทศไว้ดงั นี้ สงดั อทุ รานันท์ (2530 : 10) ได้เสนอแนะกระบวนการนิเทศการสอนที่สอดคล้องกับ สภาพสงั คมไทย ประกอบด้วย 5 ข้นั ตอน ซง่ึ เรยี กวา่ “PIDRE” คือ 1. การวางแผน (P-Planning) เป็นข้ันตอนที่ผู้บริหาร ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ จะทาการประชุม ปรึกษาหารือ เพ่ือให้ได้มาซ่ึงปัญหาและความต้องการจาเป็นท่ีต้องมีการนิเทศ รวมทัง้ วางแผนถึงข้ันตอนการปฏิบัตเิ ก่ียวกบั การนเิ ทศทจี่ ดั ขึ้น

13 2. ให้ความรู้ก่อนดาเนินการนิเทศ (Informing-I) เป็นข้ันตอนของการให้ความรู้ ความเข้าใจถึงส่ิงที่จะดาเนินการว่าต้องอาศัยความรู้ ความสามารถอย่างไรบ้าง จะมีขั้นตอนใน การดาเนินการอย่างไร และจะดาเนินการอย่างไรให้ผลงานออกมาอย่างมีคุณภาพ ข้ันตอนน้ีจาเป็น ทุกครงั้ สาหรับเริ่มการนิเทศทจ่ี ดั ขึน้ ใหม่ ไมว่ ่าจะเป็นเรื่องใดก็ตาม และเม่ือมีความจาเป็นสาหรับงาน นิเทศท่ียังเป็นไปไม่ได้ผล หรือได้ผลไม่ถึงขั้นท่ีพอใจ ซ่ึงจาเป็นที่จะต้องทบทวนให้ความรู้ใน การปฏบิ ัตงิ านที่ถกู ต้องอีกครง้ั หน่งึ 3. การดาเนินการนิเทศ (Doing-D) ปะกอบด้วยการปฏิบัติงาน 3 ลักษณะ คือ การปฏิบัติงาน ของผู้รับการนิเทศ (ครู) การปฏิบัติงานของผู้ให้การนิเทศ (ผู้นิเทศ) การปฏิบัติงานของผู้สนับสนุนการนิเทศ (ผบู้ ริหาร) 4. การสร้างเสริมขวัญกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานนิเทศ (Reinforcing-R) เป็นขั้นตอน ของการเสริมแรงของผู้บริหาร ซึ่งให้ผู้รับการนิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความพึงพอใจใน การปฏบิ ัตงิ านขั้นน้ีอาจดาเนินไปพร้อม ๆ กับผู้รับการนิเทศท่ีกาลังปฏิบัติงานหรือการปฏิบัติงานได้ เสรจ็ ส้นิ แล้วกไ็ ด้ 5. การประเมินผลการนิเทศ (Evaluating-E) เป็นขั้นตอนที่ผู้นิเทศนาการประเมินผล การดาเนินงานที่ผ่านไปแล้วว่าเป็นอย่างไร หลังจากการประเมินผลการนิเทศ หากพบว่ามีปัญหาหรือ มีอุปสรรคอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ทาให้การดาเนินงานไม่ได้ผล สมควรที่จะต้ องปรับปรุง แก้ไข ซ่ึงการปรับปรงุ แกไ้ ขอาจทาได้โดยการให้ความรู้เพ่ิมเติมในเร่ืองท่ีปฏิบัติใหม่อีกคร้ัง ในกรณีที่ผลงานยัง ไม่ถึงขั้นน่าพอใจ หรือได้ดาเนินการปรับปรุงการดาเนินงานทั้งหมดไปแล้ว ยังไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องการ สมควรที่จะตอ้ งวางแผนร่วมกนั วเิ คราะห์หาจดุ ทีค่ วรพัฒนาหลังใชน้ วัตกรรมดา้ นการเรยี นรเู้ ข้ามานิเทศ วัชรา เลา่ เรียนดี (2550 : 18-19) ได้เสนอกระบวนการนเิ ทศการสอน ประกอบด้วย 7 ขน้ั ตอน คอื 1. วางแผนรว่ มกันระหว่างผ้นู เิ ทศและผรู้ ับนิเทศ (ครแู ละคณะครู) 2. เลอื กประเด็นหรอื เร่ืองที่สนใจจะปรับปรงุ พัฒนา 3. นาเสนอโครงการพัฒนาและขั้นตอนการปฏิบัติให้ผู้บริหารโรงเรียนได้รับทราบ เพอ่ื อนมุ ัตดิ าเนินการ 4. ให้ความรู้หรือแสวงหาความรู้จากเอกสารต่างๆและจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เกีย่ วกับเทคนคิ การสงั เกตการสอนในชนั้ เรียน และความรู้เก่ยี วกบั วธิ กี ารสอนและนวัตกรรมใหมๆ่ ที่สนใจ 5. จดั ทาแผนการนเิ ทศ กาหนดวัน เวลา ที่จะสังเกตการสอน ประชุมปรึกษาหารือ เพ่ือแลกเปลยี่ นความคิดเห็นและประสบการณ์ 6. ดาเนินการตามแผนโดยครูและผ้นู เิ ทศ (แผนการจัดการเรียนรแู้ ละการนิเทศ) 7. สรุปและประเมินผลการปรบั ปรุงและพฒั นา รายงานผลสาเรจ็ Harris et al. (1985 : 13-15) ได้เสนอกระบวนการนิเทศการสอนประกอบด้วย 6 ข้นั ตอน คอื 1. ประเมินสภาพการทางาน (Assessing) เป็นกระบวนการศึกษาถึงสถานภาพต่างๆ รวมทัง้ ข้อมูลท่จี าเป็นเพอ่ื จะนามาเป็นตวั กาหนดถงึ ความต้องการจาเป็น เพ่ือก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลง ซ่ึงประกอบด้วยงานต่อไปนีค้ ือ

14 1.1 วิเคราะหข์ อ้ มลู โดยการศกึ ษาหรอื พิจารณาธรรมชาติ และความสัมพันธ์ของ สง่ิ ตา่ ง ๆ 1.2 สังเกตสง่ิ ตา่ ง ๆ ดว้ ยความรอบคอบถ่ีถ้วน 1.3 ทบทวนและตรวจสอบสิง่ ต่าง ๆ ดว้ ยความระมัดระวงั 1.4 วัดพฤตกิ รรมการทางาน 1.5 เปรยี บเทยี บพฤตกิ รรมการทางาน 2. จัดลาดับความสาคัญของงาน (Prioritizing) เป็นกระบวนการกาหนด เปูาหมาย จดุ ประสงค์ และกิจกรรมตา่ ง ๆ ตามลาดบั ความสาคญั ประกอบด้วย 2.1 กาหนดเปูาหมาย 2.2 ระบุจุดประสงคใ์ นการทางาน 2.3 กาหนดทางเลือก 2.4 จัดลาดับความสาคญั 3. ออกแบบการทางาน (Designing) เป็นกระบวนการวางแผนหรือกาหนด โครงการตา่ ง ๆ เพอ่ื ก่อให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงโดยประกอบดว้ ย 3.1 จดั สายงานใหส้ ่วนประกอบตา่ งๆ มคี วามสมั พนั ธก์ นั 3.2 หาวิธีการนาเอาทฤษฎหี รือแนวคิดไปสู่การปฏบิ ตั ิ 3.3 เตรียมการต่างๆ ให้พร้อมท่จี ะทางาน 3.4 จดั ระบบการทางาน 3.5 กาหนดแผนในการทางาน 4. จดั สรรทรัพยากร (Allocating Resources) เป็นกระบวนการกาหนดทรัพยากร ตา่ งๆ ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ในการทางาน ซงึ่ ประกอบดว้ ยงานตอ่ ไปนีค้ อื 4.1 กาหนดทรพั ยากรที่ตอ้ งใช้ตามความตอ้ งการของหน่วยงานตา่ งๆ 4.2 จดั สรรทรพั ยากรไปใหห้ นว่ ยงานตา่ งๆ 4.3 กาหนดทรัพยากรท่จี าเปน็ จะตอ้ งใช้สาหรับจุดมงุ่ หมายบางประการ 4.4 มอบหมายบคุ ลากรให้ทางานในแต่ละโครงการหรือแตล่ ะเปูาหมาย 5. ประสานงาน (Coordinating) เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับคน เวลา วัสดุอุปกรณ์ และส่ิงอานวยความสะดวกทุกๆ อย่างเพ่ือจะให้การเปล่ียนแปลงบรรลุผลสาเร็จงานในกระบวนการ ประสานงาน ได้แก่ 5.1 ประสานการปฏิบัติงานในฝาุ ยตา่ ง ๆ ให้ดาเนนิ งานไปด้วยกนั ด้วยความราบรน่ื 5.2 สร้างความกลมกลืนและความพร้อมเพยี งกนั 5.3 ปรบั การทางานในส่วนต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพใหม้ ากที่สดุ 5.4 กาหนดเวลาในการทางานในแตล่ ะชว่ ง 5.5 สร้างความสมั พนั ธใ์ ห้เกิดขนึ้ 6. การอานวยการหรือการส่ังการ (Directing)เป็นกระบวนการทีมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกดิ สภาพท่ีเหมาะสมอันจะสามารถบรรลผุ ลแหง่ การเปลี่ยนแปลงให้มากท่สี ุดซึง่ ไดแ้ ก่ 6.1 การแตง่ ตั้งบุคลากร

15 6.2 กาหนดแนวทางหรือกฎเกณฑ์ในการทางาน 6.3 กาหนดระเบยี บแบบแผนเก่ยี วกับเวลา ปริมาณหรอื อตั ราเร็วในการทางาน 6.4 แนะนาและปฏบิ ัติงาน 6.5 ชีแ้ จงกระบวนการทางาน 6.6 ตัดสนิ ใจเกยี่ วกับทางเลือกในการปฏิบตั ิงาน Allen (อ้างในสงัด อุทธานันท์, 2530 : 76-79) กล่าวถึงกระบวนการนิเทศการสอนว่า ประกอบด้วยกระบวนการหลัก 5 กระบวนการซึ่งนิยมเรยี กกนั ง่าย ๆ ว่า “POLCA” โดยยอ่ มาจากคาศัพท์ ต่อไปน้ีคือ P = Planing Processes (กระบวนการวางแผน) O = Organizing Processes (กระบวนการจดั สายงาน) L = Leading Processes (กระบวนการนา) C = Controlling Processes (กระบวนการควบคุม) A = Assessing Processes (กระบวนการประเมนิ ผล) 1. กระบวนการวางแผน (Planing Processes) กระบวนการวางแผนในทศั นะของ Allen มีดงั นี้ 1.1 คิดถึงสิง่ ท่ีจะทาวา่ มีอะไรบา้ ง 1.2 กาหนดแผนงานว่าจะทาสงิ่ ไหน เมื่อไหร่ 1.3 กาหนดจดุ ประสงคใ์ นการทางาน 1.4 คาดคะเนผลที่จะเกิดจากการทางาน 1.5 พฒั นากระบวนการทางาน 1.6 วางแผนในการทางาน 2. กระบวนการจัดสายงาน (Organizing Processes) กระบวนการจัดสายงานหรือ จัดบคุ ลากรต่าง ๆ เพ่อื ทางานตามแผนงานทว่ี างไวม้ ีกระบวนการดงั นี้ 2.1 กาหนดเกณฑม์ าตรฐานในการทางาน 2.2 ประสานงานกบั บคุ ลากรต่างๆ ที่จะปฏิบตั งิ าน 2.3 จดั สรรทรัพยากรตา่ ง ๆ สาหรับการดาเนนิ งาน 2.4 มอบหมายงานใหบ้ ุคลากรฝุายต่างๆ 2.5 จดั ใหม้ กี ารประสานงานสัมพนั ธ์กันระหวา่ งผทู้ างาน 2.6 จดั ทาโครงสร้างในการปฏิบัตงิ าน 2.7 จดั ทาภาระหนา้ ท่ีของบุคลากร 2.8 พัฒนานโยบายในการทางาน 3. กระบวนการนา (Leading Processes) กระบวนการนาบุคลากรต่างๆ ให้งานน้ัน ประกอบดว้ ยการดาเนนิ งานตอ่ ไปน้ีคือ 3.1 ตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั ส่งิ ตา่ ง ๆ 3.2 ให้คาปรกึ ษาแนะนา 3.3 สร้างนวตั กรรมในการทางาน

16 3.4 ทาการสื่อสารเพ่ือความเข้าใจในคณะทางาน 3.5 สรา้ งแรงจูงใจในการทางาน 3.6 เร้าความสนใจในการทางาน 3.7 กระตุ้นใหท้ างาน 3.8 อานวยความสะดวกในการทางาน 3.9 ริเริม่ การทางาน 3.10 แนะนาการทางาน 3.11 แสดงตวั อยา่ งในการทางาน 3.12 บอกข้ันตอนการทางาน 3.13 สาธิตการทางาน 4. กระบวนการควบคุม (Controlling Processes) กระบวนการควบคุมประกอบด้วย การดาเนินงานในสิง่ ตอ่ ไปน้ี 4.1 นาใหท้ างาน 4.2 แก้ไขการทางานท่ไี มถ่ ูกต้อง 4.3 ว่ากลา่ วตักเตือนในสิง่ ท่ีผิดพลาด 4.4 เรง่ เรา้ ให้ทางาน 4.5 ปลดคนทไ่ี ม่มคี ุณภาพให้ออกจากงาน 4.6 สรา้ งกฎเกณฑ์ในการทางาน 4.7 ลงโทษผู้กระทาผดิ 5. กระบวนการประเมินสภาพการทางาน (Assessing Processes) กระบวนการ ประเมนิ สภาพการทางาน ประกอบด้วยส่ิงตอ่ ไปนี้ 5.1 การพิจารณาตัดสนิ เกย่ี วกับการปฏบิ ัติงาน 5.2 วดั พฤตกิ รรมในการทางาน 5.3 จดั การวิจัยผลงาน Glickman et al. (1995 : 324-328) ได้นาเสนอกระบวนการนิเทศการสอน ประกอบด้วย 5 ขน้ั ตอน คอื 1. การประชุมร่วมกับครูก่อนการสังเกตการสอน (Preconference with teacher) ผนู้ ิเทศเขา้ รว่ มประชมุ กบั ครเู พ่ือพจิ ารณารายละเอยี ดก่อนการสังเกตการสอนของครเู กี่ยวกับจุดมุ่งหมาย ของการสงั เกตตอ้ งการให้เน้นการสังเกตในประเด็นใดเป็นพิเศษวิธีการและรูปแบบการสังเกตที่จะนาไปใช้ เวลาท่ใี ช้ในการสังเกต และกาหนดเวลาท่ใี ชใ้ นการประชุมหลังการสงั เกต 2. การสังเกตการสอนในช้ันเรียน (Observation of Classroom) เป็นการติดตาม พฤติกรรมการสอนของครูในชั้นเรียน เพ่ือให้เกิดความเข้าใจสอดคล้องกับหลักการและรายละเอียด ตา่ งๆทก่ี าหนด ผสู้ ังเกตอาจใช้วธิ สี ังเกตเพยี งวธิ ใี ดวธิ ีหน่งึ หรอื หลายวิธกี ไ็ ด้ 3. การวิเคราะห์และติดตามผลการสังเกตการสอน และพิจารณาวางแผนการประชุม ร่วมกับครู (Analyzing and interpreting observation and determining conference approach) ผู้นิเทศหลังจากได้สังเกตการสอนและได้รับข้อมูลของครูมาแล้ว ให้วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การนับ

17 ความถต่ี วั แปรบางตวั ที่ได้กาหนดไว้ จาแนกตวั แปรหลกั ท่เี กดิ ขน้ึ รวมท้ังค้นหาตัวแปรบางตัวท่ีเกิดข้ึน ใหม่จากการปฏิบัติหรือบางตัวท่ีไม่เกิดข้ึน ในการวิเคราะห์ข้อมูลให้ผู้นิเทศวางตัวเป็นกลาง และ ใหด้ าเนินการแปลความหมายของขอ้ มลู 4. ประชุมรว่ มกบั ครูภายหลังการสังเกตการสอน (Post conference with teacher) ผนู้ เิ ทศจัดประชมุ ครูเพ่ือเปน็ การให้ข้อมลู ยอ้ นกลับและร่วมกนั อภปิ ราย ซึ่งผลท่ไี ดร้ ับจากการอภิปราย ร่วมกนั ครูผสู้ อนสามารถนาไปใช้ในการวางแผนปรับปรงุ การสอนได้ 5. การวพิ ากษ์วจิ ารณผ์ ลทไี่ ด้รับจากข้นั ตอนท้ัง 4 ข้ันตอน (Critique of previous four steps) ซ่งึ กระบวนการนเิ ทศการสอนท่ีสอดคล้องกับกระบวนการนิเทศของ Copeland and Boyan (1978 : 23) ได้เสนอการนิเทศการสอนไว้ 4 ข้ันตอน คือ 1) การประชุมก่อนการสังเกตการสอน 2) การสังเกต การสอน 3) การวเิ คราะหข์ ้อมลู จากการสงั เกตการสอน และ 4) การประชุมหลังการสังเกตการสอน การนาวงจรคณุ ภาพ (PDCA) หรือโดยทั่วไปนิยมเรียกกันว่า PDCA มาใช้เป็นกระบวนการนิเทศ การสอน ซง่ึ สมศักด์ิ สินธรุ ะเวชญ์ (2542 : 188) กล่าวถึง จุดหมายที่แท้จริงของวงจรคุณภาพ (PDCA) ว่าเป็นกิจกรรมพื้นฐานในการบริหารคุณภาพน่ันมิใช่เพียงแค่การปรับแก้ผลลัพธ์ท่ีเบี่ยงเบนออกไปจาก เกณฑ์มาตรฐานให้กลับมาอยู่ในเกณฑ์ท่ีต้องการเท่านั้น แต่เพ่ือก่อให้เกิดการปรับปรุงในแต่ละรอบของ PDCA อย่างต่อเน่ืองเป็นระบบและมีการวางแผน PDCA ที่ม้วนไต่สูงข้ึนเร่ือยๆ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นท่ี 1 การวางแผน (Plan-P) ข้ันที่ 2 การดาเนินตามแผน (Do-D) ขั้นที่ 3 การตรวจสอบ (Check-C) ข้ันที่ 4 การแก้ไข ปัญหา (Act-A) ภาพท่ี 2.1 กระบวนการ PDCA วางแผน(Plan-P) อะไร กาหนดปญั หา วิเคราะห์ปญั หา ทาไม อย่างไร หาสาเหตุ วางแผนร่วมกนั ปฏิบัติ (Do-D) นาไปปฏบิ ัติ ตรวจสอบ (Check-C) ยืนยนั ผลลัพธ์ แก้ไข (Act-A) ทามาตรฐาน ท่ีมา : สมศักด์ิ สนิ ธุระเวชญ์ (2542 : 188)

18 ข้ันตอนที่ 1 การวางแผน (Plan) การวางแผนงานจะช่วยพัฒนาความคิดต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่ รูปแบบที่เป็นจริงขึ้นมาในรายละเอียดให้พร้อมในการเริ่มต้นลงมือปฏิบัติ แผนที่ดีควรมีลักษณะ 5 ประการ ซ่ึงสรุปได้ ดงั น้ี 1. อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง (realistic) 2. สามารถเข้าใจได้ (understandable) 3. สามารถวัดได้ (measurable) 4. สามารถปฏิบัติได้ (behavioral) 5. สามารถบรรลุผลสาเร็จได้ (achievable) วางแผนท่ีดีควรมีองค์ประกอบ ดังน้ี 1. กาหนดขอบเขตปัญหาให้ชัดเจน 2. กาหนดวัตถุประสงค์และเปูาหมาย 3. กาหนดวิธีการที่จะบรรลุถึงวัตถุประสงค์และเปูาหมายให้ชัดเจนและถูกต้อง แม่นยาที่สุดเท่าท่ีเป็นไปได้ ขั้นตอนท่ี 2 ปฏิบัติ (Do) ประกอบดว้ ยการทางาน 3 ระยะ 1. การวางแผนกาหนดการ 1.1 การแยกกจิ กรรมตา่ งๆ ท่ตี อ้ งการกระทา 1.2 กาหนดเวลาท่คี าดวา่ ตอ้ งใช้ในกิจกรรมแตล่ ะอย่าง 1.3 การจดั สรรทรัพยากรต่างๆ 2. การจัดการแบบแมทริกซ์ (matrix management) การจัดการแบบน้ีสามารถ ชว่ ยดึงเอาผู้เชี่ยวชาญหลายแขนงจากแหล่งตา่ ง ๆ มาได้ และเป็นวธิ ชี ่วยประสานระหว่างฝุายตา่ งๆ 3. การพัฒนาขีดความสามารถในการทางานของผู้ร่วมงาน 3.1 ให้ผู้ร่วมงานเข้าใจถึงงานท้ังหมดและทราบเหตุผลท่ีต้องกระทา 3.2 ให้ผู้ร่วมงานพร้อมในการใช้ดุลพินิจท่ีเหมาะสม 3.3 พัฒนาจิตใจให้รักการร่วมมือ ขน้ั ตอนท่ี 3 การตรวจสอบ (Check) การตรวจสอบทาให้รับรู้สภาพการณ์ของงานท่ี เป็นอยู่เปรยี บเทยี บกับส่งิ ท่ีวางแผน ซ่ึงมกี ระบวนการ ดงั น้ี 1. กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการตรวจสอบ 2. รวบรวมข้อมูล 3. การทางานเป็นตอนๆ เพ่ือแสดงจานวน และคุณภาพของผลงานท่ีได้รับในแต่ละ ขนั้ ตอนเปรียบเทยี บกบั ที่ไดว้ างแผนไว้ 4. การรายงานจะเสนอผลการประเมิน รวมท้งั มาตรการปูองกนั ความผิดพลาดหรือ ความลม้ เหลว 4.1 รายงานเปน็ ทางการอยา่ งสมบรู ณ์ 4.2 รายงานแบบอยา่ งไม่เปน็ ทางการ

19 ขัน้ ตอนท่ี 4 การแก้ไขปัญหา (Act) ผลของการตรวจสอบหากพบว่าเกิดข้อบกพร่อง ขน้ึ ทาให้งานที่ได้ไม่ตรงตามเปาู หมายหรือผลงานไม่ได้มาตรฐาน ให้ปฏิบัติการแก้ไขปัญหาตามลักษณะ ปญั หาทคี่ น้ พบ 1. ถ้าผลงานเบย่ี งเบนไปจากเปูาหมายตอ้ งแกไ้ ขท่ีต้นเหตุ 2. ถ้าพบความผิดปกติใดๆ ให้สอบสวนค้นหาสาเหตุแล้วทาการปูองกัน เพ่ือมิให้ ความผดิ ปกตินน้ั เกดิ ขึ้นซ้าอีก ในการแกไ้ ขปญั หาเพื่อให้ผลงานได้มาตรฐานอาจใชม้ าตรการดังต่อไปน้ี 1. การยา้ นโยบาย 2. การปรบั ปรุงระบบหรือวธิ กี ารทางาน 3. การประชมุ เกย่ี วกบั กระบวนการทางาน จะเห็นได้ว่าวงจรคุณภาพ (PDCA) ประกอบด้วย การวางแผน (Plan) การดาเนิน ตามแผน (Do) การตรวจสอบ (Check) และการปรับปรุงแก้ไข (Act) โดยการวางแผน การลงมือ ปฏิบัติตามแผน การตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้ และหากไม่ได้ผลลัพธ์ตามท่ีคาดหมายไว้ จะต้องทา การทบทวนแผนการโดยเร่ิมต้นใหม่และทาตามวงจรคุณภาพซ้าอีก เมื่อวงจรคุณภาพหมุนซ้าไป เรอื่ ย ๆ จะทาใหเ้ กดิ การปรบั ปรงุ งานและระดับผลลัพธ์ท่ีสูงขึ้นเรื่อยๆ ซ่ึงหลักการดังกล่าวหากนามา ปรบั ใชใ้ หส้ อดคล้องกับบรบิ ทของสถานศึกษาจะชว่ ยพฒั นาบุคลากรและนักเรยี นให้มีคณุ ภาพ จากกระบวนการนิเทศการสอนดังกล่าว สรุปได้ว่า กระบวนการนิเทศที่สาคัญๆ ประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการดาเนินงานนิเทศ และขั้นตอนการวัดและประเมินผล การนิเทศ ดงั นัน้ รูปแบบการนเิ ทศ จงึ เรียกว่า เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) โดยมี 5 ขัน้ ตอน ดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพ และความต้องการ (Assessing Need = A) การศกึ ษาสภาพ และความต้องการเป็นสิง่ ทีม่ ีความสาคัญเป็นอย่างมาก เพราะจะได้ ทราบสภาพจรงิ และความตอ้ งการในการรับการนเิ ทศของครผู ้สู อนในเรื่องต่าง ๆ เน่ืองจากบริบทของ แตล่ ะโรงเรียนไม่เหมือนกัน มีความแตกต่างกันทั้งในเรื่องของการจัดการเรียนการสอน ความพร้อม ของครูและนักเรียน ดังนั้นในข้ันตอนน้ีจึงมีความสาคัญท่ีผู้นิเทศจะต้องมีการศึกษาสภาพจริงที่ ครูผู้สอนปฏิบัติ และความต้องการในการช่วยเหลือในการแก้ปัญหาการเรียนการสอน ผู้วิจัยนา แนวคิดมาจากรูปแบบจาลองการออกแบบการสอน The ADDIE Model ของ : Kevin Kruse (2007 : 1) ท่ีกล่าวว่า ขั้นตอนท่ี 1 เป็นข้ันของการวิเคราะห์ความต้องการจาเป็น และแนวคิด แบบจาลองการออกแบบการสอนเชิงระบบของ Dick et al. (2005 : 1-8) ในการวิเคราะห์ ความ ต้องการจาเป็น การวิเคราะห์การเรียนการสอน การวิเคราะห์นักเรียนและบริบทซ่ึงผู้วิจัยได้ศึกษา กระบวนการนิเทศของ Harris et al. (1985 : 13-15) ท่ีกล่าวว่า การนิเทศการสอนต้องมีการศึกษา ข้อมลู เบ้ืองตน้ วิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในองค์กร เพื่อพิจารณาถึงการเปล่ียนแปลง และ เปน็ ไปตามแนวคิดของ Acheson, Keith A. and Gall, Meredith D. (1997 : 90), วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 527-528) ที่กล่าวว่า ผู้นิเทศต้องวิเคราะห์การสอนของครูผู้สอนและการเรียนของนักเรียน เปิดโอกาสให้ผู้รับการนิเทศนาเสนอความต้องการ ประเด็นที่สนใจจะปรับปรุงและพัฒนาและ สอดคลอ้ งรูปแบบการนเิ ทศของเกรยี งศกั ดิ์ สงั ขช์ ยั (2552 : 37)

20 ขน้ั ตอนที่ 2 วางแผนการนเิ ทศ (Planning = P) การวางแผนการนิเทศเป็นขั้นของการเตรียมการในการกาหนดตัวช้ีวัดความสาเร็ จ สื่อการนิเทศ เคร่ืองมือการนิเทศ และปฏิทินการนิเทศการจัดกิจกรรมและประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดเก่ียวกับกระบวนการนิเทศของ Harris et al. (1985 : 23 อ้างถึงใน วไลรัตน์ บญุ สวสั ด์ิ, 2538 : 40) ที่กลา่ วว่าการนิเทศภายในโรงเรียนต้องมีการวางแผน (Planning) ได้แก่ การคิดและการตั้งวัตถุประสงค์ ขั้นตอนการดาเนินงาน วางแผนโครงการ และ สอดคล้องกับแนวคิดของ Lucio, William H., and McNiel, John D (1979 : 24) ท่ีกล่าวว่าผู้นิเทศ ต้องรู้จักการวางแผน และต้องมีการวางแผนการปฏิบัติงานของตนเอง นอกจากนี้ในกระบวนการ นิเทศการสอนของ Glatthorn, Allan A. (1984 : 2), วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 27), สงัด อุทรานันท์ (2530 : 84-85), เกรียงศักดิ์ สังข์ชัย (2552 : 37), ธัญพร ชื่นกลิ่น (2553 : 28) ยังได้ให้ ความสาคญั เก่ียวกับการวางแผน และได้นาขั้นตอนการวางแผนการนิเทศ เป็นส่วนหน่ึงของรูปแบบ การนเิ ทศ และกระบวนการนเิ ทศการสอนที่ไดพ้ ฒั นาขนึ้ ขัน้ ตอนที่ 3 การให้ความรู้กอ่ นการนิเทศ (Informing = I) การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ เป็นขั้นการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมและ ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดเก่ียวกับรูปแบบและกระบวนการ นิเทศการสอนของนกั วิชาการในศาสตรก์ ารนเิ ทศ เชน่ Glatthorn et al. (1984 : 2),วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 27), สงัด อุทรานันท์ (2530 : 86) พบว่า นักวิชาการดังกล่าวมีความคิดเห็นสอดคล้อง ตรงกนั วา่ ในการนเิ ทศการสอนน้ันมีความจาเป็นต้องให้ความรู้ที่สาคัญ เพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการพัฒนา ดว้ ยการประชุม สมั มนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารตา่ งๆ การสอื่ สารทงั้ การพดู และการเขยี น ตลอดจนการแสวงหา ความรจู้ ากเอกสาร ขั้นตอนท่ี 4 ปฏิบตั กิ ารโคช้ (Coaching = C) การปฏิบัติการนิเทศแบบโค้ช (Coaching) ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด รูปแบบและ กระบวนการนิเทศของวัชรา เล่าเรียนดี (2556 : 313-317), Sandvold, A (2008 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2556 : 314), Sweeney, Diane (2011 : 9) ธัญพร ช่ืนกล่ิน (2553 : 28-29) เนื่องจาก แนวคิดของนักวิชาการท่ีกล่าวถึงมุ่งเน้น การแก้ปัญหาการรู้หนังสือและการอ่านการคิดอย่างเป็น ระบบ เน้นใหค้ รผู ู้สอนนาความรูแ้ ละทกั ษะที่สาคัญของการจัดการเรียนการสอนไปจัดกิจกรรมท่ีเน้น นักเรียนเป็นสาคัญ มีขั้นตอนท่ีสาคัญ คือ 1) ระบุจุดประสงค์การเรียนรู้ของนักเรียนท่ีสัมพันธ์กับ มาตรฐานการเรียนรู้ 2) วัดและประเมินผลนักเรียนก่อนเรียน 3) จัดการเรียนการสอนท่ีตอบสนอง ความต้องการของนักเรยี น 4) วัดและประเมนิ ผลหลังเรียน นอกจากน้ีการนิเทศแบบโค้ช ผู้นิเทศและ ผู้รบั การนิเทศมคี วามใกล้ชิดกนั ร่วมกันคดิ ใน เชงิ สรา้ งสรรค์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็น ระบบและตอ่ เน่ือง ขน้ั ตอน ท่ี 5 การประเมนิ ผลการนิเทศ (Evaluating = E) การประเมินผลการนิเทศ เป็นข้ันที่ผู้วิจัยนามาใช้เป็นขั้นตอนสุดท้าย เพ่ือสรุปผล การนิเทศในแตล่ ะข้นั ตอนทไี่ ดด้ าเนินการไป เพื่อให้เห็นผลการดาเนินงานทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ซ่งึ สอดคล้องกบั กระบวนการนิเทศของสงดั อุทรานันท์ (2530 : 87-88) , วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 28) เกรียงศักดิ์ สังขช์ ยั (2552 : 37-38), ยพุ ิน ยนื ยง (2553 : 25-26), ธัญพร ช่ืนกลน่ิ (2553 : 29)

21 (7) เทคนคิ การสงั เกตการสอน เนอ่ื งจากการสงั เกตการสอนเป็นเครื่องมือสาคัญในการนิเทศการสอน ผลจากการสังเกต การสอนช่วยในการวเิ คราะหก์ ารสอนของครู ดงั นน้ั การสงั เกตการสอนจะต้องสังเกตและบันทึกข้อมูล ตรงตามความจริงและใหต้ รงตามจดุ มุง่ หมายมากทีส่ ุด Acheson et al. (1997 : 23) ได้ให้ข้อเสนอแนะในการนิเทศการสอน ซง่ึ ประกอบด้วย เทคนคิ วธิ ีการ การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ และการวางแผนการสังเกตการสอน เทคนิค วิธีการสังเกตการสอนในชั้นเรียน เทคนิคการบันทึกการสังเกตการสอนโดยใช้เครื่องมือแบบต่างๆ เทคนิคการประชุมเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับ และเทคนิคการนิเทศชี้แนะ แนะนาเพ่ือช่วยเหลือครู ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา เทคนิคการสังเกตการสอนนั้นประกอบด้วย วิธีการสังเกตและ การบันทึกโดยเลือกใช้เคร่ืองมือท่ีเหมาะสม (ผู้สังเกตและครูร่วมกันเลือก) เพราะก่อนมีการสังเกต การสอนทุกคร้ังจะต้องมีการตกลงร่วมกันก่อนระหว่างครูกับผู้นิเทศหรือผู้สังเกต และหลัง จาก การสังเกตการสอนอาจจะร่วมกันวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากการสังเกตการสอนก่อนท่ีจะให้ข้อมูลย้อนกลับ แก่ครู เพ่ือร่วมกันในการพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงหรือพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป ดังน้ัน ผู้นิเทศ ผู้ทาหน้าที่นิเทศ หรือผู้ท่ีทาหน้าที่นิเทศการสอนจะต้องมีความรู้ มีความเข้าใจ พอสมควรเก่ียวกับวิธีการสังเกตการสอน เทคนิควิธีการสังเกตการสอน และการบันทึกเครื่องมือ สงั เกตการสอน การสรา้ งและการประยกุ ต์ใช้เครื่องมือสังเกตการสอนจึงจะช่วยให้การนิเทศการสอน ประสบผลสาเร็จตามเปูาหมาย การสังเกตการสอนและการบันทึกการสอนจาแนกได้หลายลักษณะ เช่น Oliva, Peer F. and Pawlas, George E. (1997 : 26-28) ได้จาแนกการสังเกตเป็น 2 ประเภท 1. การสังเกตแบบกว้าง ๆ ทั่วไป (Global Observation) เป็นการสังเกตในภาพรวม ไมเ่ ฉพาะเจาะจงในพฤติกรรมประเภทใดประเภทหน่ึง โดยปกติจะเป็นการสังเกตหรือวิธีการสังเกตที่ ผบู้ รหิ ารหรือผนู้ ิเทศนิยมใช้ เมื่อต้องการสงั เกตพฤติกรรมการสอนทั่ว ๆ ไป เป็นการสังเกตโดยภาพรวม ของการปฏิบัติการสอนของครู และมักจะใช้ผลการสังเกตและการบันทึก ด้วยวิธีการดังกล่าวใน การประเมินประสิทธิภาพการสอนของครูด้วย เช่น แบบสังเกตและบันทึกแบบตรวจสอบรายก าร (Checklist) และแบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating scale) เปน็ ตน้ 2. การสังเกตแบบเฉพาะเจาะจง (Specific Observation) เป็นการสังเกตและบันทึก เฉพาะพฤตกิ รรม เฉพาะเหตุการณ์ เฉพาะเรอ่ื ง หรอื เฉพาะประเด็น เช่น การสังเกตบันทึกพฤติกรรม ปฏิสัมพนั ธ์ทางวาจาระหวา่ งครกู ับนักเรยี นเป็นตน้ นอกจากนี้ Glickman et al. (1995 : 36 ) ได้จาแนกการสังเกตการสอนเป็น 2 ประเภท คอื 1. การสังเกตเชิงปริมาณ (Quantitative Observation) เป็นวิธีการวัดเหตุการณ์ และพฤติกรรมต่างๆ และสิ่งต่างๆ ในห้องเรียน ท่ีสามารถสังเกตเห็นได้ วัดได้ เป็นจานวนครั้งหรือ ความถข่ี องเหตุการณ์ หรือพฤติกรรมตา่ งๆ ทท่ี าการสงั เกตและบันทึกด้วยเครื่องมือหรือวิธีการสังเกต ด้วยปรมิ าณ เชน่ 1.1 เคร่อื งมือสงั เกตการสอนแบบนับจานวนความถี่ (Categorical Frequency Instrument)

22 1.2 เครือ่ งมอื สังเกตการสอนแบบระบุพฤติกรรมตามกระบวนการจัดการเรียน การสอนในรปู แบบต่างๆ (Performance Indicator Instrument) 1.3 เครือ่ งมือสงั เกตการสอนท่จี ัดเตรยี มฟอร์มทีเ่ ปน็ แผนผัง (Diagram) 1.4 เครื่องมอื สงั เกตและบันทกึ ตรวจสอบรายการ (Check list) 1.5 เครอ่ื งมอื สังเกตและบันทึก แบบเลือกประเภทของคาพูดหรือการพูด จด และ บนั ทกึ ข้อมูลคาพูดน้นั คาตอ่ คาตามเวลาทีก่ าหนด (Selective Verbatim Recording) 1.6 เครอ่ื งมือสังเกตและบันทึกปฏิสัมพันธ์ทางวาจาระหว่างครูกับนักเรียนของ Ned Flanders FIAC (Flanders’s Interaction Analysis Category) 2. การสังเกตเชิงคุณภาพ (Qualitative Observation) การสังเกตด้วยวิธีนี้เป็น วิธีสังเกตและบันทึกที่จะใช้เม่ือผู้สังเกตหรือผู้นิเทศไม่ทราบว่าจะสังเกตหรือบันทึกอะไรบ้าง ในชนั้ เรยี น หรือผนู้ เิ ทศสังเกตรายละเอียดพฤติกรรมในการจัดการเรียนการสอนของครูและนักเรียน การสังเกตเชิงคุณภาพ การสังเกตเหตุการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ตลอดจนสภาพทางกายภาพ ในช้นั เรยี น เช่น การจดบันทกึ การจัดบอรด์ สื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ โดยทาการบันทึกแบบพรรณนาความ โดยไมใ่ สอ่ ารมณค์ วามรสู้ ึกของตนเองลงไปด้วย ประกอบดว้ ยเครื่องมอื หรือวธิ ีการสงั เกตดงั ต่อไปนี้ 2.1 การสงั เกตแบบไมม่ สี ว่ นรว่ ม (Detached-open Narrative) 2.2 การสงั เกตบนั ทึกข้อมูลการพูดเฉพาะอย่าง (Save Verbatim Recording) 2.3 การสงั เกตบนั ทึกโดยใช้ V.D.O. (Audio record) 2.4 การสังเกตและบันทกึ แบบส้ันๆ (Anecdotal Record) 2.5 การสงั เกตและบันทึกแบบมสี ่วนร่วม (Participant Observation) 2.6 การสังเกตบนั ทกึ ตามประเดน็ คาถาม (Focused Questionnaire Observation) 2.7 การสังเกตและบนั ทึกแบบบนั ทึกการปฏบิ ตั ิงานของตนเอง (Journal Writing) 2.8 การวจิ ารณท์ างการศกึ ษา (Educational Criticism) 2.9 การสังเกตบนั ทึกแบบเฉพาะเหตุการณ์ (Tailored Observation System) การสงั เกตการสอนตอ้ งมีเครื่องมือสังเกตการสอน (Observation Instrument) ซ่ึง เครื่องมือสังเกตการสอนหมายถึง เครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการสงั เกตและบนั ทกึ การเรยี นการสอน เช่น ดินสอ ปากกา กระดาษ เคร่ืองใช้อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น เทปบันทึกเสียง กล้องถ่ายวีดีโอ คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก รวมถงึ แบบฟอร์มการสังเกตและบันทึกท่ีผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศสร้างขึ้นเองหรือมีผู้อื่น สร้างข้ึน และเป็นที่ยอมรับและรู้จักแพร่หลาย เช่น แบบฟอร์มการสังเกต – บันทึกของ Acheson et al. (1997 : 69-71) ซึ่งเป็นเครอ่ื งมือการสงั เกตการสอนท่ีได้จากการสรา้ งและพัฒนาทดลองใช้จน แน่ใจว่าสามารถนาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล แต่มักจะเป็นเคร่ืองมือที่สร้างข้ึน โดยเฉพาะงานวิจัยที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการสอนของครูท่ีมีประสิ ทธิภาพหรือเพื่อใช้ในการประเมิน ประสิทธิภาพการสอนของครู เพ่อื จุดประสงคอ์ นื่ ท่ไี มใ่ ชเ่ พอ่ื การปรบั ปรงุ และพัฒนาการเรียนการสอน โดยตรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นเครื่องมือท่ีค่อนข้างจะละเอียดซับซ้อน ผู้ท่ีจะนาไปใช้ต้องมี ความสามารถ ความคุ้นเคยและความชานาญในการใช้มากพอสมควร จึงขอแนะนาว่า ควรจะ ประยุกตแ์ ละปรบั ใชเ้ ปน็ เครื่องมอื สงั เกตการสอนอย่างง่าย สะดวกต่อการฝกึ และการใชใ้ นสถานการณ์

23 จริงจะเหมาะสมกว่า ดังที่กล่าวมาแล้ว และใช้วิธีการสังเกตให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการสอนที่มี ประสิทธิภาพของ Acheson et al. (1997 : 69-71) ในการนิเทศการสอนเพ่อื ปรบั ปรงุ และพฒั นาการสอนน้นั ครูควรจะได้มีการส่งเสริม และพัฒนาใหม้ ีความสามารถในการวเิ คราะห์การสอนของตนเองได้ ซ่ึงมีการสังเกตและการวิเคราะห์ ตนเองอยา่ งงา่ ย ๆ คอื 1. การวเิ คราะหต์ นเองโดยใช้เครื่องมอื ชว่ ย เช่น การฟังเสยี งการพูดของตนเองจาก เทปบนั ทกึ เสียง การสงั เกตตนเองจากการดูวดี โี อเทปที่บนั ทึกการปฏิบัติงานของตนเองไว้ และการรับ ฟังข้อมูลย้อนกลับจากการสังเกตพฤติกรรมการสอนของผู้นิเทศ หรือผู้ทาหน้าที่นิเทศ หรือจากเพ่ือน หรอื จากนกั เรยี น 2. การเยย่ี มช้นั เรียนซ่ึงกันและกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นซึ่งกันและ กัน อาจทาการเย่ียมช้ันเรียนเปน็ กลุ่ม หรอื คณะ เพื่อสงั เกตการสอนและใหส้ มาชิกภายในกลุ่มช่วยกัน ให้ข้อมูลย้อนกลับ ซึ่งจะช่วยให้มองเห็นการสอนของผู้อื่นและการสอนของตนเองชัดเจนยิ่งขึ้น ดว้ ยการเปรียบเทยี บกับการสอนของตนเอง 3. ให้จบั คเู่ พื่อนทีส่ นทิ สนมและผลัดกันสังเกตการสอนซ่ึงกันและกันให้ข้อมูลย้อนกลับ จากการสังเกตการสอนในด้านต่าง ๆ ที่กาหนด ช่วยกันคิดและวิเคราะห์จุดที่เป็นปัญหา เพ่ือหาทาง แก้ไขปรับปรุงตอ่ ไป 4. ใชเ้ ทคนคิ แบบคลินิก (Clinical Supervision) ซ่งึ เป็นกระบวนการที่ต้องมีการวางแผน การสงั เกตการสอน มีการบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ แล้วให้ข้อมูลย้อนกลับ จะช่วย ให้ทราบปัญหาข้อบกพร่องต่างๆท่ีจะต้องแก้ไขปรับปรุง ซ่ึงการนิเทศแบบคลินิกเป็นการนิเทศที่มี จดุ มุ่งหมายเพื่อพัฒนาปรับปรุงการสอนและทกั ษะการสอนโดยเฉพาะ และท่ีสาคัญที่สุดจะต้องดาเนินการ โดยการมีการร่วมมือกันอย่างจริงจังระหว่างผู้นิเทศกับครู หรอื ผ้ทู าหน้าท่ีนิเทศกับครู ในการสังเกตการสอนต้องมีวิธีการบันทึกการสังเกตการสอนท่ีดี จะบันทึกอย่างไร ด้วยวิธีใด ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการสังเกต ประเภทของการสังเกตการสอน และการเลือกใช้ เครื่องมือท่ีเหมาะสม เช่น เป็น การสังเกตการสอนเชิงปริมาณ (Qualitative Observation) จะต้องระบุ วัตถุประสงค์ชัดเจนว่า จะสังเกตพฤติกรรมอะไรบ้าง อย่างไร ใช้เคร่ืองมือแบบใดจึงเหมาะสม เช่นเดียวกับการสังเกตการสอนเชิงคุณภาพ (Qualitative Observation) จะต้องระบุวัตถุประสงค์ ชัดเจน วิธีการบันทึกและเคร่ืองมือท่ีเหมาะสม ดังนั้น เคร่ืองมือสังเกตการสอน นอกจากจะเป็น แบบฟอร์มลักษณะต่าง ๆ ท่ีมีผู้สร้างและพัฒนาขึ้น และเผยแพร่ให้ใช้แล้ว ซ่ึงอาจจะเป็นการจดหรือ เขียนบันทึกเหตุการณ์หรือพฤติกรรมด้วยกระดาษ ดินสอ ปากกา (Written record) ใช้การบันทึกเสียง (Audio record) หรือด้วยการบันทึกภาพ (Videotaping) ประกอบการสังเกตและบันทึกด้วยวิธีการอ่ืนๆ ด้วยดงั ตัวอยา่ งวธิ ีการสงั เกตบนั ทึกการสอน ดังนี้ 1. การบนั ทึกแบบพรรณนาความ (Descriptive of Narrative Record) 2. การบันทึกส้ันๆ ไม่เป็นความคิดหรือการประเมินผลใดๆ (Anecdotal Record or Note king) 3. การบนั ทึกเสยี งและการบันทึกภาพเหตุการณ์ทุกอย่างในห้องเรียน (Audio taping Videotaping)

24 4. การจดบนั ทกึ คาพูด คาต่อคา ประโยคตอ่ ประโยค ท่กี าหนด หรือคาพูดที่เลือกจะ บนั ทึก (Selective Verbatim Recording) 5. การบนั ทกึ แบบบันทกึ การปฏิบตั งิ านของตนเอง (Journal Writing) 6. การบันทกึ ตามประเดน็ คาถามท่ีกาหนด (Focused Questionnaire) 7. การบันทึกโดยทาตารางบันทกึ ความถี่ (Frequency Tabulation) 8. การบันทึกโดยใช้แผนผงั ทน่ี ่ังเตรียมไว้ (Seating Chart) 9. การบนั ทึกพฤติกรรมภาพทป่ี รากฏโดยใชแ้ บบตรวจสอบรายการ (Check list) 10. การบันทึกพฤตกิ รรมท่ีเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating scale) 11. การบันทึกพฤตกิ รรมโดยใช้แบบบนั ทกึ ทรี่ ะบพุ ฤตกิ รรมบง่ ชี้ (Performance Indicator Recording) อย่างไรก็ตาม การสังเกตการสอนจะบนั ทกึ ด้วยเคร่ืองมอื หรือวธิ ีการใดก็ตาม การนา เคร่ืองมือประเภทเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น เคร่ืองบันทึกเสียง บันทึกภาพ และฟิล์มต่างๆ มาใช้ประกอบ จะช่วยให้การบันทึกต่างๆในห้องเรียนมีความเท่ียงตรง ครบถ้วนและชัดเจนมากข้ึน เพราะภาพท่ีบันทึกจะแสดงการเคล่ือนไหว และการใช้ภาษาท่ีสังเกตและบันทึกด้วยวิธีอื่นๆ ที่ได้บันทึกไว้ด้วย ซึ่งข้อมูลต่างๆ ดังกล่าวจะมีประโยชน์ต่อการนาไปช่วยในการวิเคราะห์ผล การสังเกตการสอนได้ละเอียดย่ิงขึ้น ท่ีสาคัญการสังเกตการสอนน้ัน เป็นการสังเกตท่ีมีจุดมุ่งหมาย ดังน้ัน ผู้ทาการสังเกตหรือผู้นิเทศจะต้องรู้ว่าจะสังเกตการสอนครูในเรื่องใด ด้านใด หรือพฤติกรรม อะไร ดังน้นั นอกเหนอื จากเทคนิควิธีการ และทักษะในการสังเกตการสอนแล้ว ผู้นิเทศหรือผู้สังเกต การสอนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะสังเกตการสอนเป็นอย่างดี เช่น เทคนิควิธีการสอนต่างๆ ทักษะการสอน รูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ นวัตกรรมต่างๆรวมท้ังพฤติกรรมการสอนที่มี ประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ ของครดู ว้ ย (วชั รา เลา่ เรยี นดี, 2544 : 24) การวิจัยในครั้งน้ีผู้วิจัยได้มีการสังเกตการสอนและบันทึกผลการนิเทศ เช่น บันทึก ข้อมูลท่ีพบระหว่างการนเิ ทศ การถา่ ยภาพการจัดกจิ กรรมของครูผู้สอน การเรียนรู้และสืบข้อมูลของ นักเรียน แล้วนาข้อมลู มาตรวจสอบสรปุ ผลการนเิ ทศทัง้ ในภาพรวม และผลการสังเกตตามตัวชี้วัดของ การอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน คือ 1) การอ่าน และการหาประสบการณ์จากสื่อที่หลากหลาย 2) การอ่าน และการจับประเด็นสาคัญ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็นจากเร่ืองที่อ่าน 3) การอ่าน และ การเปรียบเทียบแง่มุมต่างๆ 4) การอ่าน และการแสดงความคิดเห็นต่อเร่ืองท่ีอ่าน โดยมีเหตุผล ประกอบ 5) การอา่ น และการถ่ายทอดความคิดเห็น ความร้สู กึ จากเรอ่ื งทอี่ า่ น โดยการเขียน 2.1.2 การนิเทศแบบโคช้ (Coaching) การนิเทศแบบโค้ช เป็นกระบวนการหนึ่งท่ีมีความสาคัญในการช่วยเหลือให้ การจัดการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ ผู้ที่มีบทบาทสาคัญ คือ ศึกษานิเทศก์ รวมทั้งเครือข่าย การนิเทศที่เข้ามามีส่วนร่วมในการนิเทศการสอน การดาเนินการเพ่ือเพิ่มศักยภาพในการจัด การเรียนรู้ให้แก่ครูและผู้บริหารสถานศึกษา ให้สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพและได้ มาตรฐาน ตลอดจนสามารถเสริมสร้างการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้ เข้มแข็ง การนาเทคนิคการนิเทศแบบโค้ช (Coaching) มาใช้ในการนิเทศการสอน จึงเป็นวิธีการหนึ่ง ทจ่ี ะช่วยในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ ได้

25 การนิเทศแบบโค้ช (Coaching) เป็นวิธีการพัฒนาสมรรถภาพการทางานของครู โดยเน้นไปทกี่ ารทางานให้ได้ตามเปาู หมายของงาน หรือการช่วยให้สามารถนาความรู้ความเข้าใจท่ีมี อยแู่ ละหรือได้รับการอบรมมา ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ การโค้ชมีลักษณะเป็นกระบวนการ มีเปูาหมายท่ีต้องการไปให้ถึง 3 ประการ คือ การแก้ปัญหาในการทางาน การพัฒนาความรู้ ทักษะ หรอื ความสามารถในการทางาน และการประยุกต์ใชท้ ักษะหรอื ความรูใ้ นการทางาน ท่ีต้ังอยู่บนหลักการ ของการเรียนรู้ร่วมกัน (Co-Construction) โดยยึดหลักว่าไม่มีใครรู้มากกว่าใคร จึงต้องเรียนไปพร้อมกัน เพ่ือให้ค้นพบวิธีการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง (สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน, 2553 : 2-7) (1) การโค้ชเพื่อการรู้หนังสือและการอ่าน (Literacy Coaching or Reading Coaching) คาวา่ Literacy Coaching หมายถงึ การโค้ชเพอ่ื ชว่ ยให้มีความรู้ มีความสามารถใน ดา้ นใดด้านหน่ึง เช่น การโค้ชเพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน (Reading Coaching) ซึ่งคา 2 คานี้มีการนาไปใช้ แพรห่ ลายในโรงเรียนต่าง ๆ ซ่ึงในด้านการศึกษา Literacy Coaching อาจหมายถึง การปฏิบัติงานหลาย อยา่ ง เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาหรอื เพ่อื การพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนในหลายวิชาๆ เปน็ ต้น การโค้ชเพื่อชว่ ยครพู ฒั นาทกั ษะการอ่านแกน่ กั เรียน ผทู้ าหนา้ ที่โค้ชอาจจะทาหน้าท่ี สอนครูเกี่ยวกบั ยุทธวิธีการอ่าน การใชแ้ ผนภมู ิ แผนภาพ หรือกจิ กรรมการสอนทช่ี ่วยใหน้ ักเรียนเข้าใจ ในบทอ่านมากข้ึน ถ้าผ้ทู าหนา้ ทีโ่ คช้ เพ่อื พัฒนาการรู้หนังสือ อาจะมีความรับผิดชอบ โดยการช่วยนักเรียน พัฒนาทักษะการเขียน และทักษะการอ่านในทุกวิชา อาจทาหน้าที่โดยโค้ชครูบ่อยคร้ังหรื อไม่ทา การโค้ชเลยก็ได้ โค้ชเพ่ือการพัฒนาการอ่าน (Reading Coaching) อาจทาหน้าที่ครูปฏิบัติด้าน การสอนแก่นักเรียนหรือประเมินผลการเรียนของนักเรียน การโค้ชท้ัง Literacy Coaching และ Reading Coaching อาจจะใช้สลับกันทาหน้าท่ีโค้ช แต่บทบาทของโค้ชเพ่ือพัฒนาการรู้หนังสือกับ โคช้ เพ่อื พัฒนาการอา่ นคอ่ นขา้ งชัดเจนทัง้ ตวั ครู บทบาทและหน้าที่ เช่น ในยุคศตวรรษท่ี 21 Literacy Coaching คือ โค้ชท่ีมาหน้าที่ช่วยพัฒนาความรู้จะต้องมีทั้งความรู้ ความสามารถด้านการอ่าน และ การอ่านออกเขียนไดด้ ้วยวิธตี ่างๆ เป็นตน้ (วัชรา เล่าเรยี นดี, 2556 : 111-112) นอกจากนี้ การโค้ชเพื่อพฒั นาความสามารถดา้ นการอ่านออกเขียนได้ (Literacy Coaching) หรอื การรหู้ นังสือดาเนนิ การ ดงั นี้ 1. การแลกเปล่ียนขอ้ มูล (Sharing Information) ระหว่างโรงเรยี นทเี่ ข้าร่วมโครงการ 2. การเตรียมความพร้อม สาหรับการโค้ช คือ ผู้ทาหน้าท่ีโค้ช ครูผู้รับการโค้ช จุดประสงค์สาคัญจากการโค้ช ก็คือ ผลการเรียนรู้ด้านการอ่านของนักเรียนที่มาจากการสอนที่มี ประสิทธิภาพ (Expert Teaching) ของครูท่ีได้รับการโค้ช การโค้ชจึงมีจุดประสงค์เพื่อพัฒนา ความเชี่ยวชาญ ด้านการสอน โดยมแี นวคิดเชิงระบบง่ายๆ ดังน้ี Literacy Coaching Expert Teaching Student Achievement 3. การเลือกโค้ชท่ีเหมาะสม โค้ชต้องมีความรู้ความสามารถสูง โดยเฉพาะ ถา้ จะต้องพัฒนาทักษะด้านใดด้านหน่ึง วิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น โค้ชที่จะทาการโค้ช เพ่ือพัฒนา สมรรถนะการสอนอ่านให้เป็นผู้เช่ียวชาญการอ่านให้แก่ครูจะต้องมีความเช่ียวชาญด้านการอ่านจริง และเป็นทีย่ อมรับ

26 4. พัฒนาความรู้สึกเป็นเจ้าของ การพัฒนาในวิชาชีพระหว่างผู้ร่วมโครงการ ถ้าผมู้ สี ่วนร่วมมคี วามเตม็ ใจ ต้ังใจ กระตือรอื ร้น ในการเร่ิมต้นในการพัฒนาอย่างจริงจัง เป็นการเริ่มต้น บนรากฐานที่ดีในการพัฒนาต่อไป 5. กาหนดความรับผิดชอบและความสัมพันธ์ต่อกันท่ีชัดเจน เพราะเม่ือใด ทผ่ี บู้ รหิ าร ครู และโคช้ ทางานรว่ มกัน ผลการเรียนของนกั เรียนต้องมกี ารพฒั นาขึ้น 6. โคช้ ต้องตดิ ต่อปฏิสัมพันธ์กับโรงเรยี นตลอดเวลา การพบปะพูดคยุ กันระหว่าง ผทู้ ีเ่ กย่ี วข้อง ทุกสัปดาห์ หรือ สองสัปดาหต์ ่อครง้ั อยา่ งต่อเนือ่ ง 7. โคช้ ต้องร้วู า่ แหลง่ ความรู้มอี ะไรบา้ ง และเข้าถึงไดอ้ ย่างไร เช่น เว็บไซต์ต่างๆ ศนู ย์ส่อื ต่าง ๆ ทโ่ี รงเรียนจะเข้าถงึ ได้ 8. การพดู จาภาษาเดยี วกนั ผูม้ ีสว่ นรว่ มทกุ คนต้องพูดอธบิ ายในเร่อื งเดียวกนั ได้เขา้ ใจ 9. การประเมินความก้าวหน้า (Assess Progress) การติดตามดูแลช่วยเหลือ ความกา้ วหน้าของครูในการใช้หลกั สูตรการส่งเสริมการอ่าน หรือยุทธวิธีสอนจะต้องมีการเก็บบันทึก ข้อมลู ครผู ้สู อนและโค้ช กต็ ้องไดร้ บั การฝึกอบรม และมีการประเมนิ ผลความก้าวหนา้ 10. มกี ารวางแผนเพือ่ พัฒนาอย่างต่อเน่ือง (2) การโค้ชทีเ่ นน้ นกั เรยี นเปน็ สาคญั (Student Centered Coaching) 1. แนวคดิ การโค้ชทีเ่ น้นนักเรียนเป็นสาคญั (Student Centered Coaching) เป็นอีกแนวคิด หนง่ึ ในการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนของครู เพ่อื ให้ความสาคัญกับนักเรียนและยึดนักเรียนเป็น สาคัญก่อนเป็นอันดับแรก ถึงแม้ว่าเปูาหมายหลักสาคัญของการนิเทศในปัจจุบันหรือการโค้ชทุก รูปแบบจะเน้นพัฒนาการของการเรียนรู้ของนักเรียนก็ตาม การโค้ชท่ีเน้นนักเรีย นเป็นสาคัญเป็น แนวคดิ และงานของ Diane Sweeney (2011 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2556 : 323) จุดเด่นและ ลักษณะสาคัญของการโค้ชท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ คือ เป็นการดาเนินการโค้ชที่โรงเรียน โดย ความร่วมมือของโค้ชผู้บริหาร และครู เพ่ือพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นสาคัญ เป็นโค้ชที่มี วัตถุประสงค์ คือ ผลการเรียนรู้ของนักเรียนมากกว่าการมุ่งปรับปรุงการปฏิบัติการสอนของครู การโค้ช แนวทางการโค้ช มุ่งสู่พัฒนาการของผลการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงต้องวัดได้และ ประเมนิ ไดช้ ดั เจน 2. สาระสาคญั ของการโคช้ ท่เี น้นนกั เรยี นเป็นสาคัญ 2.1 การโค้ชท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ กาหนดเปูาหมายเฉพาะ คือ พัฒนา นักเรยี น เปน็ การร่วมมอื กันของโค้ช ผูบ้ รหิ าร และครูผ้สู อน 2.2 ผู้บริหารมีบทบาทสาคัญย่ิงในการพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักเรียนใน โรงเรียน ซง่ึ ตอ้ งมสี ว่ นรว่ มอยา่ งจริงจงั ในการโค้ชและการพฒั นาคุณภาพของนกั เรียน 2.3 เป็นการวัดและประเมินผลกระทบโดยตรงที่เกิดข้ึนกับนักเรียน อันเน่ืองมาจากการโคช้ 2.4 การพัฒนาวิชาชีพด้วยการโค้ชภายในโรงเรียนมีหลายรูปแบบ หลายวิธีการ ปฏบิ ัติใชก้ ันแพร่หลายต่อเนื่อง และประสบผลสาเร็จ แต่การโค้ชท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญจะช่วยยืนยัน

27 ไดว้ า่ การโค้ชเปน็ การพฒั นาวชิ าชพี อยา่ งตอ่ เนื่องของครแู ละบุคลากรในโรงเรียน ส่งผลถึงพัฒนาการของ ผลการเรยี นรูข้ องนักเรียนจรงิ 2.5 การโค้ชที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ มีลักษณะและการปฏิบัติที่ชัดเจนของ การโคช้ ในโรงเรียน โดยบุคลากรในโรงเรียน เนือ่ งจากผู้บริหารตอ้ งให้ความสาคัญและให้ความร่วมมือ เพ่อื การพัฒนาคุณภาพของนักเรยี น โดยตรง 3. บทบาทของผูบ้ รหิ ารในการโค้ชทเี่ นน้ นกั เรยี นเป็นสาคญั 3.1 ทาความเข้าใจหลกั การ แนวคิด แนวปฏิบัติ ของการโค้ชที่เน้นนักเรียนเป็น สาคญั พร้อมกับโค้ชหรือผู้ทาหนา้ ท่ีโค้ช เพราะผบู้ ริหารเป็นบุคคลที่จะสร้างความร่วมมือให้เกิดข้ึนกับ คณะครใู นโรงเรียน ไม่ใช่โค้ช 3.2 ผู้บริหารต้องสร้างวัฒนธรรมของการเรียนรู้ร่วมกันให้เกิดข้ึนในโรงเรียน บุคลากรทุกคนในโรงเรียนหรือครูทุกคน และผู้บริหาร เป็นนักเรียนที่ต้องเรียนรู้ตลอดเวลา เพ่ือ ตอบสนองต่อความตอ้ งการของนักเรยี น 3.3 ผู้บริหารต้องมีส่วนร่วมในการโค้ชทุกขั้นตอนของการโค้ช คาถาม และ การอภปิ รายรว่ มกันระหว่างผู้บริหาร โค้ช และครู คือ เราต้องการให้นักเรียนของเราเรียนรู้และพัฒนา เรอ่ื งใด เราจะรไู้ ด้อย่างไรว่านกั เรียนของเราเกดิ การเรียนรแู้ ละพฒั นาตามเปาู หมาย เราจะชว่ ยนักเรียนที่ มีปัญหาในการเรียนด้วยวิธีใหม่ ๆ อย่างไร การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์และจุดเน้น การโค้ชจาก การปรับปรุงพัฒนาครูให้ได้ตามมาตรฐานการจัดการเรียนรู้ ให้เป็นการปรับปรุงพัฒนานักเรียนเป็น สาคัญเป็นเรื่องใหม่ โค้ชทาหน้าที่โค้ชโดยลาพังไม่ได้ โรงเรียนต้องมีผู้นาเคียงข้างร่วมมือตลอดเวลา จึงจะทาใหก้ ารพัฒนาผลการเรียนของนกั เรยี นเพอื่ นกั เรียนโดยโรงเรยี นประสบผลสาเรจ็ 4. ข้นั ตอนการโค้ชทีเ่ น้นนักเรียนเป็นสาคัญ 4.1 ร่วมกันระบุจุดประสงค์การเรียนรู้ หรือวิเคราะห์ข้อมูลการเรียนรู้ของ นกั เรยี นทสี่ มั พันธ์กับมาตรฐานการเรียนรู้ 4.2 วัดและประเมินผลนักเรียนก่อนเรียน โดยเปรียบเทียบกับจุดประสงค์ การเรยี นรู้ 4.3 จัดการเรยี นการสอนทตี่ อบสนองต้องความตอ้ งการของนักเรียน 4.4 วัดและประเมินผลหลังเรียน เพื่อตรวจสอบตัดสินว่านักเรียนเกิดการเรียนรู้ ตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ท่กี าหนดหรือไม่ การนิเทศแบบโค้ช ซ่ึงเป็นการนิเทศที่ผู้วิจัยได้นามาใช้ในการพัฒนารูปแบบ การนเิ ทศการจัดกจิ กรรมและประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน เน่อื งจากว่าการนิเทศแบบโค้ช ผู้ท่ีทาการนิเทศและผู้รับการนิเทศได้มีโอกาสใกล้ชิดกันมากกว่าการนิเทศในรูปแบบอ่ืนๆ ผู้รับ การนเิ ทศได้มีโอกาสพูดแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ ส่วนใหญ่ผู้นิเทศจะเป็นฝุายรับฟังมากกว่าพูด มีการแลกเปลยี่ นแสดงความคิดเหน็ ซักถามพูดคุยในประเด็นที่นิเทศ นอกจากน้ีในเรื่องของการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เพื่อพัฒนาความสามารถการจัดกิจกรรมและประเมินของครูผู้สอน ส่งเสริม ความสามารถทางด้านภาษา (literacy) ความสามารถทางด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) โดยเน้นนกั เรยี นเปน็ สาคัญ การนเิ ทศที่เหมาะสมท่สี ุด คอื การนเิ ทศแบบโค้ช

28 2.1.3 ทฤษฎเี กย่ี วกบั การนิเทศการสอน การนิเทศการสอน เป็นกระบวนการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้นิเทศกับผู้รับ การนิเทศเพ่ือท่ีจะพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษา และจัดการเรียนการสอนของครูเพ่ือให้ ไดม้ าซ่ึงประสิทธิผลในการเรยี นของนักเรียน กล่าวโดยสรุปได้ว่า ในการนิเทศการสอนมีความจาเป็น อย่างมากท่ีจะต้องนาทฤษฎีเกี่ยวกับการนิเทศการสอนมาเป็นฐานคิดในการพัฒนาระบบของ การนิเทศการสอน ท้ังน้ี เน่ืองจากการนิเทศการสอนเป็นพฤติกรรมท่ีเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์และ มีความเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์โดยตรง ดังน้ัน จึงมีความจาเป็นท่ีต้องศึกษาทฤษฎีต่างๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการนเิ ทศการสอน เพอื่ ทจี่ ะนามาพิจารณาถงึ ความสอดคล้องเหมาะสมในการพัฒนาครู ให้ตรงกับสภาพและความต้องการในการพัฒนาเทคนิคการนิเทศการสอน จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับการนิเทศการสอนของนักคิด นักการศึกษา และนักจิตวิทยา สามารถสรุป สาระสาคญั ของทฤษฎีตา่ ง ๆ ดงั น้ี (1) ทฤษฎกี ารเปลย่ี นแปลง การนิเทศการสอนมีเปูาหมาย เพ่ือการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมโดยการช่วยเหลือ สนับสนุน ส่งเสริมให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและการปฏิบัติงานของครู และบุคลากร ที่เก่ียวข้อง ให้ส่งผลถึงคุณภาพของนักเรียนและคุณภาพของการศึกษาเป็นสาคัญ ดังนั้นใน การพฒั นารูปแบบการนเิ ทศการสอนในครง้ั นี้ ผู้วจิ ยั ไดศ้ กึ ษาหลกั การ แนวคิด ทฤษฎกี ารเปล่ียนแปลง ของนักคดิ นกั การศึกษา และนักจิตวิทยา เพอ่ื เปน็ พื้นฐานทจ่ี ะนาไปประกอบกับเทคนิคและทักษะใน การนิเทศ อาทิเช่น Bennis, Warren G., Benne and Chin R. (1969 : 34-35), วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 33-34) ได้เสนอยุทธวิธีท่ัวไปของการเปล่ียนแปลงไว้ 3 ยุทธวิธี คือ 1) ยุทธวิธีการใช้หลัก เหตุผลและข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีความเชื่อว่า มนุษย์สามารถจะทาตามความสนใจของตนเองให้ ปรากฏชัดเจนได้การเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึ้น จากที่ตัวบุคคล กลุ่มบุคคลรู้ดีว่าตนเองมีความประสงค์ และเหน็ วา่ มีผลดีตามความสนใจของตนเอง 2) ยุทธวิธีการให้การศึกษาใหม่หรือให้ความรู้ใหม่ โดยมี ความเชื่อว่า มนุษย์มีแรงจูงใจท่ีแตกต่างกัน ยึดความเป็นเหตุผล และความฉลาดของมนุษย์ โดยท่ี แบบแผนการปฏิบัติใดๆจะได้รับการสนับสนุนหรือเป็นผลมาจากบรรทัดฐานทางสังคมที่บุคคลน้ัน ยอมรับและยึดเป็นแนวปฏิบัติ และ 3) ยุทธวิธีในการใช้อานาจและการควบคุม กล่าวคือ เป็นการใช้ อิทธิพลของตาแหน่งหน้าที่และใช้ข้อมูลท่ีไม่สามารถคัดค้านหรือปฏิเสธได้ นอกจากนี้กระบวนการ เปลยี่ นแปลงยังประกอบด้วย 3 ข้ัน คือ 1) ข้ันละลายความเคยชิน 2) ข้ันการเปล่ียนแปลง 3) ขั้นทาให้อยู่ อยา่ งมน่ั คง นอกจากนี้ปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลงมาจาก 2 สาเหตุ คือ สาเหตุจากภายนอก และสาเหตุจากภายใน ซง่ึ การเปลี่ยนแปลงที่มาจากภายนอกอาเป็นเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นอย่างช้าๆ สะสมจน ทาให้เกิดการเปลย่ี นแปลง จากลักษณะท่ีสาคัญของทฤษฎี สรุปได้ว่า ทฤษฎีการเปล่ียนแปลงมีลักษณะของ การผสมผสานกัน ดังน้ันการเลือกใช้ทฤษฎี หลักการในการเปล่ียนแปลงสาหรับการนิเทศ จาเป็น จะต้องรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงในทุกองค์ประกอบ ท้ังนี้ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในการนิเทศ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลสูงสดุ

29 (2) ทฤษฎีแรงจงู ใจ ทฤษฎีแรงจูงใจท่ีได้รับการยอมรับและกล่าวขวัญกันคือ ทฤษฎีแรงจูงใจของ Maslow และทฤษฎีแรงจูงใจของ Herzberg, F. โดยท่ี Maslow ได้จาแนก ความต้องการของมนุษย์เรียงลาดับจาก ความตอ้ งการพนื้ ฐานจนถึงความต้องการสุดยอด 5 ประการ คือ 1. ความต้องการทางด้านรา่ งกาย (Physiological Needs) 2. ความตอ้ งการความปลอดภยั หรอื สวัสดิภาพ (Safety Needs) 3. ความต้องการความรักและการเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ (Belongingness and love Needs) 4. ความต้องการไดร้ บั ความนบั ถอื จากผอู้ ่ืน (Esteem Needs) 5. ความต้องการความเป็นตัวตนเองอันแท้จริงของตนเอง และต้องการที่จะพัฒนา ตนเองอย่างเต็มศักยภาพ (Self-actualization Needs) เป็นความต้องการข้ันสุดท้าย ซึ่งเป็น ความต้องการขั้นสูงสุดของมนุษย์ ความต้องการของมนุษย์ท้ัง 5 ประเภทนี้อาจจะเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน ในบางประเภท เช่น ความต้องการทางสังคม และความสาเร็จในตัวเอง หรือความต้องการทางกาย และ ความต้องการทางสังคม ในทานองเดียวกัน Herzberg at el. (1959 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2550 : 68) ได้เสนอทฤษฎีแรงจูงใจสององค์ประกอบ คือ องค์ประกอบด้านแรงจูงใจ (Motivation Factors) ได้แก่ โอกาสและความเป็นไปใน การเจริญก้าวหน้า การได้เลื่อนระดับหรือความก้าวหน้าในหน้าท่ีการงาน การได้รับการยกย่อง ยอมรับ การได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ และผลสาเร็จหรือการประสบผลสาเร็จ สว่ นองค์ประกอบด้านสขุ ภาพศาสตร์ (Hygiene Factors) ประกอบด้วย เงินเดือนค่าจ้าง สภาพการทางาน ความปลอดภยั หรอื สวสั ดิการในการทางาน ชวี ติ สว่ นตัว นโยบายของโรงเรยี นและการบรหิ าร การนิเทศและ เทคนคิ วธิ ีการนเิ ทศ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคลในหน่วยงาน และฐานะหรอื สถานภาพของบคุ คล ส่วน Mc Gregor, Douglas (1960 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2550 : 68) ได้เสนอ ข้อสมมติเก่ียวกับมนุษย์ใน 2 ลักษณะ คือ ทฤษฎี X กล่าวว่า มนุษย์ท่ัวไปมีนิสัยประจาตัวก็คือ ไม่อยาก ทางานและพยายามท่ีจะหลีกเลี่ยงงานเท่าท่ีจะทาได้ ต้องมีการบังคับควบคุมชี้แนะ และขู่เข็ญ ดว้ ยการลงโทษ รวมท้ังไมช่ อบท่จี ะถกู ช้แี นะ ปรารถนาที่จะหลกี เลย่ี งความรับผดิ ชอบ มีความทะเยอทะยาน นอ้ ย มีความต้องการความปลอดภัยมากท่ีสดุ และทฤษฎี Y กล่าวคือ การใช้ความพยายามทางด้านร่างกาย และจติ ใจในการทางานเปน็ เรอ่ื งธรรมชาติ การควบคุมภายนอกและการทาให้หวาดกลัวโดยการลงโทษไม่ใช่ เป็นวิธีการทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรการมีข้อผูกมัดกับจุดประสงค์ในการทางานเป็นวิธีการให้ รางวัลชนิดหนึ่งซ่ึงมีความเก่ียวข้องกับความสาเร็จ มนุษย์สามารถเรียนรู้ได้ภายใต้ภาวการณ์ที่เหมาะสม ความสามารถในการใช้จิตนาการ ความจรงิ ใจ ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อแก้ไขปัญหาภายในองค์กรจะเป็นไป อย่างกวา้ งขวาง ไม่ใช่ภายในขอบเขตจากัด จากการศึกษาทฤษฎีแรงจูงใจ สรุปได้ว่า ในการนิเทศงานจาเป็นต้องคานึงถึง ธรรมชาติของมนษุ ยท์ ี่แท้จริง และความต้องการของผู้รับการนิเทศ หรือครูตามความต้องการพ้ืนฐาน ในข้ันความต้องการที่จะรู้สึกว่าตัวเองมีค่า และความต้องการท่ีรู้จักตนเองอย่างแท้จริงและ ความต้องการที่จะพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ ซึ่งต้องอาศัยทฤษฎีแรงจูงใจต่างๆ มาประกอบกับ การปฏิบตั ิงานนิเทศดว้ ย โดยม่งุ เนน้ ทัง้ ดา้ นงานและจติ ใจ รวมท้ังการสร้างบรรยากาศในการปฏบิ ตั ิงานด้วย

30 (3) ทฤษฎีการส่อื สาร การติดต่อส่ือสารมีความจาเป็นและสาคัญต่อการนิเทศการสอน เพราะการนิเทศ การสอนเป็นการปฏิบัติงานเพ่ือช่วยครูในการสอนท่ีต้องอาศัยการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน การติดตอ่ สื่อสารเกดิ ข้ึนในทุกองคก์ รอยา่ งหลกี เลีย่ งไม่ได้ เน่ืองจากกระบวนการพูด มีองค์ประกอบท่ี สาคัญ คือ 1) ผู้พูด 2) คาพูด 3) ผู้ฟัง คือ ผู้พูด คาพูด ผู้ฟัง มีจุดเน้นที่การกระทาของ ผู้ส่งและผู้รับซึ่งทาหน้าท่ีอย่างเดียวกันและเปล่ียนบทบาทกันไปมาในการเข้ารหัสสาร การแปล ความหมาย และการถอดรหสั สาร นอกจากน้ัน วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 165) กล่าวว่าการส่ือสาร เป็นการสื่อ ความหมายระหว่างกนั ในการนิเทศการสอนจงึ เป็นเรื่องสาคัญ เพราะผนู้ เิ ทศนนั้ จะต้องทางานร่วมกับ ครู ต้องพูดคุยปรึกษาหารือกัน ท้ังเป็นแบบทางการและไม่เป็นทางการอยู่ตลอดเวลา มีจุดเน้นท่ี กระทาของผู้ส่งและผู้รับซ่ึงทาหน้าท่ีอย่างเดียวกัน และเปลี่ยนบทบาทกันไปมาในการเข้ารหัส การแปลความหมาย และการถอดรหัส ซ่ึงในการส่ือสารน้ันจะต้องตอบคาถามต่อไปนี้ให้ได้ คือ ใคร พูดอะไร โดยวิธีการและช่องทางใด ไปยังใคร ด้วยผลอะไร จากคาถามดังกล่าว สรุปว่าการพัฒนา ทฤษฎกี ารสือ่ สารโดยมีประเดน็ ที่พิจารณาวา่ ผู้สง่ จะสง่ สารอย่างไร และผู้รบั จะแปลความหมาย และมี การโต้ตอบสารนั้นอย่างไร เรียกว่าทฤษฎี S M C R ประกอบด้วย ผู้ส่ง (Source) ข้อมูลข่าวสาร (Message) ช่องทางในการส่ง (Channel) ผู้รับ (Receiver) อันเป็นองค์ประกอบสาคัญของการ ส่อื สาร จากการศึกษาทฤษฎีการสื่อสาร สรุปได้ว่า ในการนิเทศการสอนในโรงเรียนน้ัน บรรยากาศโรงเรียนแบบเปิด วัฒนธรรมโรงเรียนท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ การปฏิบัติงานร่วมกัน การยอมรับซง่ึ กนั และกัน มีความสาคญั ตอ่ การนเิ ทศให้บรรลุผลสาเร็จ รวมทั้งการติดต่อสื่อสารต่อกัน ท่ีมีประสิทธิผล ยอ่ มสรา้ งความเขา้ ใจตรงกนั ที่สาคัญท่สี ุด คอื การสอื่ สารทด่ี ตี ่อกนั (4) ทฤษฎีมนษุ ย์สัมพนั ธ์ นักคิดนักการศึกษา และนักจิตวิทยาได้กล่าวถึง ทฤษฎีมนุษย์สัมพันธ์ของ Elton Mayo (อ้างถึงใน Sergiovanni and Stratt 1988 : 8-10) ได้ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ใน การทางานที่ไม่ได้ข้ึนอยู่กับปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจหรือการจูงใจทางด้านกา รเงินเท่าน้ัน แตย่ งั ขนึ้ อยู่กับความต้องการทางดา้ นจิตใจ หรือเรอื่ งราวทางด้านสงั คมทีไ่ มไ่ ดเ้ กยี่ วกับการเงินโดยตรง ด้วยและยังศึกษาถึง “Hawthorne Studies” ในประเด็นปัจจัยด้านปทัศถานทางสังคม พฤติกรรม ของคนถูกกาหนดตามสมั พนั ธภาพในกลุม่ และผู้นาอยา่ งไม่เปน็ ทางการ ส่วน Maslow (1954 อ้างถึงใน Glickman, Gordon and Ross-Gordon 1995 : 156) มีแนวคิดที่มุ่นเน้นกระบวนการในการจูงใจ (Process Theory of Motivation) เพอ่ื หาคาตอบว่าจะมีวิธกี ารจูงใจอย่างไรที่จะทาให้คนมีพฤติกรรมตามที่เราต้องการได้ ซ่ึงนามาเป็น หลักทางด้านมนุษย์สัมพันธ์ ตามทฤษฎีลาดับความต้องการของ Maslow’s Hierarchy of Needs Theory บนสมมติฐาน 3 ข้อ คือ 1) บุคคลคือส่ิงมีชีวิตท่ีมีความต้องการ 2) ความต้องการ ถูกเรียงลาดับตามความสาคัญจากความต้องการพื้นฐานไปจนถึงความต้องการที่ซับซ้อ น และ3) บุคคลจะก้าวสู่ความต้องการในระดับต่อไปเมื่อความต้องการระดับต่าลงมาได้รับ การตอบสนองแลว้

31 (5) ทฤษฎีภาวะผ้นู า ในการนิเทศการสอน ผู้นิเทศจะต้องใช้ภาวะผู้นาในการนิเทศอย่างเหมาะสม เพื่อให้การนิเทศประสบผลสาเร็จและบรรลุตรงตามเปูาหมาย ดังน้ัน ผู้นิเทศจะต้องรู้และเข้าใจ เก่ียวกับภาวะผู้นา ประเภทผู้นา และการใช้ภาวะผู้นาในการส่งเสริมเปล่ียนแปลงพฤติกรรม การปฏิบตั ิงานของครู ใหส้ ง่ ผลถึงคณุ ภาพของนักเรียนมากที่สุด เกี่ยวกับเรื่องนี้ Mc Gregor, Douglas (1960 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2550 : 58) ได้กล่าวถึงลักษณะของผู้นา ตามแนวทฤษฎี X และ ทฤษฎี Y และไดเ้ สนอขอ้ สมมตฐิ านเกี่ยวกับมนษุ ย์ใน 2 ลักษณะ คอื ทฤษฎี X กล่าวว่า มนุษย์ทั่วไปมี นิสัยประจาตัวก็ คือ ไม่อยากทางานและพยายามที่จะหลีกเลี่ยงงานเท่าที่จะทาได้ ต้องมีการบังคับ ควบคุมช้ีแนะ และขู่เข็ญด้วยการลงโทษ รวมท้ังไม่ชอบท่ีจะถูกช้ีแนะ ปรารถนาที่จะหลีกเล่ียง ความรับผิดชอบ มีความทะเยอทะยานน้อย มีความต้องการความปลอดภัยมากท่ีสุด และทฤษฎี Y กล่าวคือ การใช้ความพยายามทางด้านร่างกายและจิตใจในการทางานเป็นเรื่องธรรมชาติ การควบคุม ภายนอกและการทาให้หวาดกลัวโดยการลงโทษไม่ใช่เป็นวิธีการทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร การมีข้อผูกมัดกับจุดประสงค์ในการทางานเป็นวิธีการให้รางวัลชนิดหนึ่งซ่ึงมีความเกี่ยวข้องกับ ความสาเร็จ มนุษย์สามารถเรียนรู้ได้ภายใต้ภาวการณ์ที่เหมาะสม ความสามารถในการใช้จินตนาการ ความจริงใจ ความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือแก้ไขปัญหาภายในองค์กรจะเป็นไปอย่างกว้างขวาง ไม่ใช่ภายใน ขอบเขตจากัด นอกจากนั้น Hersey P. and Blanchard K. (1977 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2550 : 65) ได้เสนอรูปแบบภาวะผู้นา 4 แบบ ซ่ึงเน้นพฤติกรรมการทางาน (Task Behavior) กับ พฤติกรรมความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Relationship Behavior) คือ 1) ให้ความสาคัญกับงานสูง และใหค้ วามสมั พันธ์ระหว่างบคุ คลต่า จดั เปน็ การใช้ภาวะผนู้ าแบบเผด็จการ 2) ใหค้ วามสาคัญกับงาน และใหค้ วามสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสูง จัดเป็นการใช้ภาวะผู้นาแบบประชาธิปไตย 3) ให้ความสาคัญ กับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสูง และความสาคัญกับงานต่า และ4) ให้ความสาคัญกับงานและให้ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คลตา่ จัดเป็นการใช้ภาวะผนู้ าแบบปลอ่ ยปละละเลย จะเห็นได้ว่าทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับความสาเร็จของการนิเทศ ย่อมข้ึนอยู่กับ ความสามารถ และรูปแบบของความเป็นผู้นา โดยการรู้จักในสิ่งจูงใจเป็นเคร่ืองกระตุ้นใน การปฏิบัตงิ าน การใหค้ วามร่วมมอื ดังน้ัน ภาวะผูน้ า จงึ เป็นเทคนิคหน่ึงท่ีจาเป็นของผู้นาและผู้นิเทศ จะต้องเลอื กใชท้ ้งั รูปแบบภาวะผนู้ าใหเ้ หมาะสมกบั คนและกลมุ่ คน (6) ทฤษฎกี ารเรียนรู้ของผู้ใหญ่ พัฒนาการของผู้ใหญ่ในด้านการเรียนรู้และความเจริญก้าวหน้าน้ัน เป็นไป ตามลาดับข้ันตอน โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ของผู้ใหญ่จาเป็นต้องคานึงถึงการ เปล่ยี นแปลงลักษณะของความรู้ ความสามารถ ความสัมพันธ์ของผู้ใหญ่กับสภาพแวดล้อมด้วย และ ผู้ใหญ่แตล่ ะคนจะมีระดบั ความคิดรวบยอดท่ีแตกต่างกันตามลาดับ เก่ียวกับเรื่องนี้ วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 38) ได้ให้แนวคิดในการพัฒนาความคิดรวบยอดของผู้ใหญ่ ดังน้ี คือ 1) ความคิดรวบยอด ระดับต่าเป็นบุคคลที่มีความสามารถในการคิดที่เป็นรูปธรรม เช่น สามารถประเมินสิ่งต่างๆ ด้วย เกณฑธ์ รรมดาง่ายๆ ไมส่ ามารถนยิ ามปญั หาได้ จาเป็นต้องแสดงวิธีทาให้ดูหรือแสดงวิธีการแก้ปัญหา ให้ดูเป็นตัวอย่าง 2) ความคิดรวบยอดระดับปานกลาง เป็นบุคคลท่ีมีความสามารถในการคิด

32 เชิงนามธรรมไดม้ ากขึน้ ได้แก่ อธบิ ายหรอื นิยามปัญหาได้ และคดิ วธิ ีแก้ปญั หาที่เหมาะสมได้ในจานวน ท่จี ากดั แตย่ งั ไม่มีการวางแผนแกปัญหาที่ชัดเจน 3) ความคดิ รวบยอดระดับสูง เป็นบุคคลที่มีลักษณะ เป็นนักคิดที่ละเอียดลออ สามารถคิดเชิงนามธรรมระดับสูง เป็นตัวของตัวเอง เชื่อม่ันในตัวเอง มีความรู้ มีความยืดหยุ่น และมีความสามารถในการบูรณาการเร่ืองตา่ งๆ เข้าด้วยกนั ได้ กล่าวโดยสรุป ผู้ใหญ่ท่ีมีความคิดรวบยอดระดับสูงจะมีลักษณะการเรียนรู้ที่ แตกตา่ งกนั จากผู้ใหญ่ทีม่ ีความคดิ รวบยอดระดับต่า โดยเฉพาะในประเด็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ และเทคนิควิธีการท่ีใช้ในการจัดการเรียนรู้ นอกจากนั้นการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ยังมีความสั มพันธ์ เกย่ี วโยงกับการนิเทศและผนู้ ิเทศโดยตรง ดังนั้นหากผู้นิเทศที่มีความรู้เก่ียวกับผู้ใหญ่ พัฒนาการของ ผู้ใหญ่และแนวทางการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ก็จะช่วยให้การนิเทศการสอนของครู เกิดการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนใหม้ คี ุณภาพมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับการนิเทศแบบ พฒั นาการของ Glickman at el. (2004 อา้ งในวชั รา เล่าเรยี นดี, 2550 : 36-37) ทใี่ ห้ความสาคัญกับ ครู และการเลือกใช้วิธีการนิเทศทเ่ี หมาะสมกบั ครูแตล่ ะแบบ ในการนิเทศการสอนความรู้เก่ียวกับผู้ใหญ่และแนวทางการพัฒนาผู้ใหญ่ หากผู้นิเทศมีความรู้ เก่ียวกับผู้ท่ีจะทาการช่วยเหลือแนะนาหรือร่วมปฏิบัติงานด้วย ก็จะช่วยทาให้ การดาเนนิ การนเิ ทศเปน็ ไปได้งา่ ย และมแี นวโนม้ จะประสบผลสาเร็จมากกว่าการไม่มีความรู้เกี่ยวกับ ผู้ใหญ่หรือครเู ลย นอกจากนั้นยังเปน็ การส่งเสริมใหค้ รูมคี วามก้าวหน้า มีการพัฒนาการ และส่งผลถึง ผลการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งวัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 37, 141-142), Glickman at el. (1995 : 80-81), ชิดชงค์ ส.นันทนาเนตร (2549 : 94-96), Wiles, Jon and Joseph B. (2004 : 152 – 153), Knowles, M.S., Holtion and Swanson (1998 : 64-68) ได้สรุปหลักการส่งเสริมและพัฒนาการ เรียนรู้ของผใู้ หญ่ ดงั นี้ 1) ต้องคานึงถึงความต้องการที่จะรู้หรือความต้องการเรียนรู้ของผู้ใหญ่แต่ละ บคุ คลเป็นหลกั 2) การเรียนรู้ของผู้ใหญ่ อาศัยความรู้เดิมและประสบการณ์ที่ได้สั่งสมมาเป็น พ้ืนฐานในการเรยี นรู้ 3) สภาพแวดล้อมและความพร้อมในการเรยี นรู้ ผ้ใู หญ่ต้องการความสะดวกสบาย เหมาะสม ตลอดจนได้รบั ความไวว้ างใจและการใหเ้ กียรติผ้เู รยี น 4) ความคิดรวบยอดเก่ียวกับตนเอง ผู้ใหญ่มองตนเองว่าเป็นบุคคลท่ีมี ความรับผดิ ชอบตอ่ ชวี ิตของตนเอง 5) เปูาหมายการเรยี นรูข้ องผใู้ หญ่ ผใู้ หญ่จะมแี นวโนม้ จะมุ่งเปูาหมายการเรียนรู้ใน เร่อื งที่เก่ยี วขอ้ งกับวถิ ีชวี ติ เพือ่ การแก้ปญั หา 6) การเรยี นรู้ของผู้ใหญเ่ กิดจากแรงจงู ใจภายในมากกวา่ แรงจูงใจภายนอก จากหลกั การส่งเสรมิ และพฒั นาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ สรุปได้ว่า ผู้ใหญ่มีลาดับของ การเรยี นรจู้ ากรูปธรรมไปสนู่ ามธรรม ดังน้ันในการนิเทศการสอนจึงต้องอาศัยความรู้ ความเข้าใจใน เรื่องการเรยี นร้ขู องผูใ้ หญแ่ ละการพัฒนาการของผูใ้ หญ่ควบคู่ไปกบั การให้ความรทู้ เี่ ก่ียวกบั การนเิ ทศ

33 2.1.4 แนวคดิ เก่ยี วกับการพฒั นารูปแบบ ผู้วิจัยได้ศกึ ษาหลกั การแนวคิดเกี่ยวกบั รปู แบบ และการพฒั นารปู แบบ ดังนี้ (1) ความหมายของรูปแบบ คาศัพท์ในภาษาอังกฤษที่ใช้เรียกรูปแบบมี 2 คา คือ Model และ Paradigm ซึ่งสงัด อุทรานันท์ (2530 : 11) ได้อธิบายว่า ท้ัง 2 คาน้ี นาไปใช้แตกต่างกัน โดยคาว่า Model ใช้กับทฤษฎีหรือส่ิงท่ีเกิดขึ้นคร้ังแรก แต่หากเป็นการนาไปประยุกต์ใช้ หรือดัดแปลงจากของเดิม เรียกว่า Paradigm แต่ในปจั จบุ ันนิยมใชค้ าวา่ Model ทัง้ ในกรณีทฤษฎีหรือสง่ิ ทเี่ กิดข้ึนครั้งแรก และ ในกรณกี ารนาไปประยุกต์ใช้ คาวา่ รปู แบบหรือ Model ตามพจนานกุ รมของ Webster (1970 : 913) ได้ให้ความหมายแบ่งออกเป็น 4 ประการด้วยกัน ได้แก่ 1) แบบจาลองท่ีลอกเลียนแบบย่อส่วนจาก วตั ถุของจรงิ ตวั ต้นแบบ รปู แบบแรกเริ่ม แบบสมมุติ หุ่นจาลอง หุ่นข้ีผ้ึง 2) บุคคลหรือส่ิงของที่ได้รับ การยกย่องให้เป็นมาตรฐานของความยอดเย่ียม 3) วิถีทางหรือแบบแผน 4) บุคคลท่ีเป็นแบบให้แก่ ศิลปิน ช่างภาพ หรือนางแบบแสดงเคร่ืองแต่งกาย คานี้ในภาษาไทยมีคาอ่ืน ๆ ท่ีใช้เรียกใน ความหมายเดียวกันกับรปู แบบ เชน่ ตน้ แบบ ตัวแบบ แบบจาลอง ซึ่งนักวิชาการทางการศึกษาหลาย ท่านได้อธบิ ายความหมายรปู แบบ ดังน้ี รูปแบบ หมายถึง แผนผัง แผนภูมิหรือหุ่นจาลอง ซ่ึงมีลักษณะการจาลองสภาพ ความเปน็ จริงของปรากฏการณ์ เพ่ืออธบิ ายความสัมพันธ์ทีซ่ บั ซอ้ นขององค์ประกอบหรือปรากฏการณ์ ต่าง ๆ เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายข้ึน (สงัด อุทรานันท์ (2530 : 11), วิชัย วงษ์ใหญ่ (2537 : 41), Stoner, Jame A. F. and Wankel, Charles. (1986 : 12) รูปแบบจึงเป็นรูปธรรมทางความคิดที่เป็นนามธรรม มลี กั ษณะเปน็ โครงสรา้ งทางความคดิ ทแี่ สดงองคป์ ระกอบและความสัมพนั ธข์ ององค์ประกอบท่ีสาคัญ ของส่ิงท่ีศึกษา หรือสิ่งท่ีบุคคลใช้ในการหาคาตอบ ความรู้ และความเข้าใจในปรากฏการณ์ต่างๆ วิจิตรา ปัญญาชยั (2543 : 74), ทศิ นา แขมมณี (2545 : 1) สรุปว่า รูปแบบหมายถึง โครงสร้างของความคิดท่ีแสดงองค์ประกอบต่างๆ และ ความสมั พนั ธข์ ององค์ประกอบเหลา่ น้นั (2) ประเภทของรปู แบบ Keeves (1988, อ้างถึงใน วิจิตรา ปัญญาชัย 2543 : 74) จาแนกประเภท รปู แบบทางการศึกษาและสังคมศาสตร์ ออกเป็น 4 ประเภท ดงั นี้ 1. รปู แบบเชิงเทียบเคียง (Analogue Model) เปน็ รปู แบบท่ีใช้ในการอุปมาอปุ ไมย เทียบเคียง ในการอธิบายปรากฏการณ์ท่ีเป็นนามธรรม เพื่อสร้างความเข้าใจเชิงรูปธรรม โดยใช้ หลักการเทียบเคียงโครงสร้างของรูปแบบให้สอดคล้องกับลักษณะข้อมูลหรือความรู้ที่มีอยู่ ซ่งึ องค์ประกอบของรปู แบบต้องมีความชดั เจน สามารถนาไปทดสอบข้อมลู เชิงประจกั ษ์ได้ 2. รูปแบบเชงิ ขอ้ ความ (Semantic Model) เปน็ รูปแบบทใี่ ชภ้ าษาเป็นสอื่ ในการบรรยาย หรืออธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาด้วยภาษา แผนภูมิ หรือรูปภาพ เพ่ือให้เห็น โครงสร้างทางความคิด องค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบของปรากฏการณ์นน้ั ๆ 3. รูปแบบเชงิ คณติ ศาสตร์ (Mathematical Model) เป็นรปู แบบทใ่ี ชส้ มการทาง คณิตศาสตร์ แสดงความสมั พนั ธข์ องตัวประกอบหรอื ตวั แปร

34 4. รูปแบบเชิงสาเหตุ (Causal Model) เป็นรปู แบบทีพ่ ฒั นามาจากการวเิ คราะห์ เสน้ ทาง (path analysis) ร่วมกับหลักการสรา้ งรูปแบบเชิงข้อความ โดยอาศัยทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องหรือ งานวจิ ัยทม่ี ีมาแลว้ นามาแสดงความสัมพนั ธเ์ ชิงเหตุและผลระหว่างตัวแปร ซ่งึ สามารถทดสอบได้ (3) ลกั ษณะของรูปแบบทีด่ ี Keeves (1988 อ้างถึงใน วิจิตรา ปัญญาชัย, 2543 : 75) ได้สรุปลักษณะของ รูปแบบทดี่ ี ดังน้ี 1. ประกอบด้วยความสัมพันธเ์ ชงิ โครงสรา้ งระหวา่ งตัวแปรแต่ละตัว 2. นาไปสู่การทานายผล ซ่งึ สามารถตรวจสอบได้ดว้ ยขอ้ มูลเชิงประจักษ์ 3. อธิบายโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงเหตุผลได้อย่างชัดเจน สามารถพยากรณ์ และอธิบายปรากฏการณ์ได้ดว้ ย 4. นาไปสู่การสร้างแนวคดิ ใหม่ หรอื ความสัมพันธ์ใหมใ่ นเร่ืองท่ศี กึ ษา 5. ลกั ษณะรปู แบบของเรอื่ งใด ๆ ควรขนึ้ กับกรอบทฤษฎขี องเร่ืองนนั้ ๆ (4) แนวคดิ การออกแบบและพัฒนารูปแบบ การออกแบบระบบการเรียนการสอน เป็นกระบวนการหน่งึ ทีส่ าคญั โดยการนา วิธีการเชิงระบบ (System Approach) มาใช้ในการดาเนินงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สงู สุด ทงั้ น้เี นื่องจาก“ระบบ”ชว่ ยให้การดาเนนิ งานตา่ งๆ เกิดสัมฤทธิผลตามเปูาหมาย (ทิศนา แขมมณี, 2550 : 197) ระบบเป็นกลุ่มองค์ประกอบที่เช่ือมโยงซ่ึงกันและกัน มุ่งไปสู่จุดหมายเดียวกัน ดังนั้น การนาวธิ เี ชิงระบบไปใชก้ บั การออกแบบจะช่วยทาให้เกิดประสิทธิภาพในการนาไปสู่จุดมุ่งหมายทาง การศึกษาไดม้ ากยิ่งขึ้น นอกจากนี้การตรวจสอบข้อมูลที่ปูอนกลับสู่ระบบเป็นการควบคุมการทางาน ของระบบทาให้การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเกิดขึ้นอย่างคล่องตัวและราบร่ืน Kruse (2007 : 1) แบบจาลองท่ีใช้ในการออกแบบทางการศึกษามีอยู่มากมาย ในที่น้ีผู้วิจัยได้ทบทวนแบบจาลอง เชิงระบบ 2 ระบบ ดังน้ี 1. แบบจาลองการออกแบบระบบการเรียนการสอน The ADDIE Model เปน็ แบบจาลองทีใ่ ชว้ ธิ ีการเชิงระบบ ประกอบดว้ ย ขัน้ ตอนต่าง ๆ 5 ขั้นตอน Kruse (2007 : 1) คือ 1.1 ขั้นตอนการวิเคราะห์ (Analysis) วิเคราะห์ความต้องการจาเป็น และ ขอบเขตในการจัดการเรยี นการสอน 1.2 ข้ันตอนการออกแบบ (Design) ระบุกิจกรรมการเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ การเลอื กสื่อ และวิธีการจัดการเรียนการสอน 1.3 ข้นั ตอนการพัฒนา (Development) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ การพัฒนา นวตั กรรมทใ่ี ชใ้ นการจัดการเรียนรแู้ ละพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผล 1.4 ขั้นตอนการนาไปใช้ (Implementation) เป็นการนาแผนการจัด การเรียนรู้ นวตั กรรม และเครอ่ื งมอื วัดผลการเรยี นไปใช้ในสถานการณ์จรงิ 1.5 ข้ันตอนการประเมินผล (Evaluation) ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ทุกระดบั สาหรับการนาไปใชใ้ นคร้ังต่อไป

35 แผนภาพที่ 2.2 แบบจาลอง The ADDIE Model Analysis Design Development Implementation Evaluation ทีม่ า : Kevin Kruse. Instruction to Instructional Design and the ADDIE Model. (Online). Accessed 19 June 2007. Available from http : www.elearninggurn.com/articles/art1_1.htm. 2. แบบจาลองการออกแบบระบบการสอนของ Dick et al. (2005 : 56) ประกอบด้วยองคป์ ระกอบสาคัญท้งั สิน้ 10 องคป์ ระกอบ คอื 2.1 กาหนดเปูาหมายการเรยี นการสอน (Identify Instructional Goals) ขั้นตอนนี้เป็นขัน้ ตอนแรกของการออกแบบในแบบจาลองน้ี เป็นการกาหนด ว่าต้องการให้นักเรียนสามารถทาอะไรได้บ้างเมื่อเรียนจบบทเรียนแล้ว เปูาหมายการเรียนการสอน อาจได้มาจากบัญชีรายการเปูาหมาย ได้มาจากการวิเคราะห์การปฏิบั ติงาน (Performance analysis) การวิเคราะห์ความต้องการจาเป็น (Needs Assessment) จากประสบการณ์ การปฏิบตั งิ านทพ่ี บวา่ เปน็ เรอ่ื งยากสาหรับนักเรยี น หรือเป็นความต้องการในการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ 2.2 วิเคราะหก์ ารเรียนการสอน (Analyze Instruction) หลังจากการกาหนดเปาู หมายการเรียนการสอนแลว้ เป็นข้ันที่ตอ้ งวิเคราะห์ ว่าจะต้องดาเนินการต่อไปอย่างไร หากกาหนดเปูาหมายไว้เช่นน้ัน ด้วยการวิเคราะห์ไปทีละลาดับ ข้ันตอน และในขน้ั ตอนสุดท้ายของการวิเคราะหก์ ารเรียนการสอน เป็นการกาหนดว่า ทักษะ ความรู้ และเจตคตทิ รี่ จู้ ักกันในชื่อวา่ พฤติกรรมนาเข้า (Entry Behavior) อะไรบ้างที่นักเรียนต้องสามารถทา ไดก้ อ่ นทจี่ ะเรม่ิ การเรียนการสอนคร้ังนี้ 2.3 วเิ คราะห์นักเรียนและบริบท (Analyze learners and Contexts) นอกจากการวิเคราะห์เปาู หมายการเรยี นการสอนแลว้ ยังมกี ารวเิ คราะห์ท่ี ตอ้ งดาเนินการไปแบบค่ขู นาน คอื การวิเคราะห์นักเรยี นและบริบท ท่จี ะช่วยให้นักเรียนไดเ้ รยี นรู้ ทักษะและบริบทตา่ ง ๆ ท่จี ะตอ้ งใช้ ลักษณะต่าง ๆ เช่น ทักษะ ความชอบ เจตคติของนักเรียนจะถูก กาหนดด้วยคุณลักษณะของสถาบนั และแหล่งฝึกทักษะ ข้อมูลท่ีสาคัญเหล่าน้ีจะมีผลต่อความสาเร็จ ในแตข่ น้ั ตอนของแบบจาลอง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในขนั้ การพฒั นากลยุทธ์การสอน 2.4 เขียนวัตถุประสงคเ์ ชิงปฏิบัติ (Write Performance Objective) ขน้ั ตอนนข้ี ้นึ อยู่กบั ขน้ั การวิเคราะหก์ ารเรียนการสอน และพฤตกิ รรมนาเข้าท่ี ระบไุ ว้ เป็นการเขียนระบุใหช้ ัดเจนวา่ นักเรยี นจะสามารถทาอะไรได้บา้ งในด้านความรู้และการปฏิบัติ เม่ือส้ินสุดการเรียนการสอนแล้ว ข้อความที่เขียนขึ้นน้ีได้มาจากทักษะที่ระบุไว้ในข้ันการวิเคราะห์ การเยนการสอน ขน้ั ตอนน้ีจึงเป็นการระบทุ กั ษะทต่ี อ้ งเรียนรู้ เงื่อนไขทตี่ ้องปฏิบัติในการพัฒนาทักษะ และเกณฑท์ บ่ี ่งชก้ี ารบรรลคุ วามสาเรจ็

36 2.5 พฒั นาเครอ่ื งมือประเมินผล (Develop Assessment Instrument) ขั้นตอนการพัฒนาเคร่อื งมอื ประเมนิ ผลนข้ี น้ึ อยู่กบั วัตถปุ ระสงคท์ ีไ่ ดก้ าหนดไว้ เครอื่ งมอื ท่พี ัฒนาข้ึนต้องสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ดงั กลา่ ว คอื สามารถวัดความสามารถของนักเรียน ได้ตรงตามความต้องการ จุดเน้นหลัก คือ ทักษะท่ีระบุในวัตถุประสงค์กับทักษะที่ต้องการประเมินมี ความสอดคล้องกัน 2.6 พฒั นากลยทุ ธก์ ารสอน (Develop Instructional Strategy) เปน็ การกาหนดกลยุทธท์ ีต่ ้องใชใ้ นการสอน เพอ่ื ใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ กลยทุ ธ์ จะเป็นองค์ประกอบของการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน ได้แก่ 1) กิจกรรมก่อนเรียน 2) การนา เสนอเน้ือหา 3) การมีส่วนร่วมของนักเรียน และ 4) การประเมินผลและติดตามกิจกรรมการเรียน กลยทุ ธค์ วรอยู่ภายใต้ทฤษฎีการเรียนรู้ และผลการวิจัยเก่ียวกับการเรียนรู้ ลักษณะของส่ือ อุปกรณ์ การเรยี นที่ตอ้ งใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน เน้อื หาทจ่ี ะสอน และลักษณะของนักเรียน ส่ิงเหล่านี้ใช้ สาหรับ การพัฒนา การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และแผนการสร้างปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน สื่อการสอน การเรยี นรูโ้ ดยใชเ้ ทคโนโลยี เช่น เวป็ ไซด์ หรือหน่วยการเรยี นตา่ งๆ 2.7 พัฒนาและเลอื กสอ่ื การเรียนการสอน (Develop and select Instructional materials) เป็นขั้นตอนของการใช้กลยุทธ์การสอนในการกาหนดการจัดการเรียน การสอน อันประกอบด้วย คู่มือนักเรียน สื่อการเรียนการสอน และการประเมินผล (ส่ือการเรียน การสอน รวมถึงส่ือทุกชนิด เช่น คู่มือครู หน่วยการเรียนรู้ เคร่ืองฉายภาพข้ามศีรษะ วีดีโอเทป คอมพิวเตอร์ เว็บเพจ สาหรบั การเรยี นทางไกล ฯลฯ) การตัดสินใจเลือกส่ือข้ึนอยู่กับชนิดของผลลัพธ์ การเรียนรแู้ ละการเขา้ ถงึ ส่ือเหล่าน้นั 2.8 ออกแบบและประเมนิ ผลระหวา่ งการเรยี นการสอน (Design and Conduct Formation Evaluation of Instruction) หลังจากการออกแบบการสอนเรียบร้อยแล้ว จึงเป็นข้ันของการประเมินผล โดยการรวบรวมขอ้ มูลที่ใชเ้ พือ่ ระบวุ ธิ กี ารปรบั ปรุงการเรยี นการสอน การประเมนิ ผลระหว่างการเรียน การสอนนี้ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภทดว้ ยกนั คือ การประเมินผลรายบคุ คล การประเมินกลุ่มย่อย และ การประเมินผลการทดสอบภาคสนาม (Field-trial Evaluation) แต่ละประเภทของการประเมินผล ทาให้ผอู้ อกแบบตอ้ งเตรยี มแบบประเมินทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไปสาหรับใช้ในการปรบั ปรงุ การเรียนรู้ 2.9 ทบทวนการจัดการเรียนการสอน (Revise Instruction) ขัน้ ตอนสดุ ทา้ ยของการออกแบบและกระบวนการพฒั นา (และเป็นขน้ั แรก ของการเร่ิมต้นใหม่ของกระบวนการ) คือ ขั้นการทบทวนการจัดการเรียนการสอน ข้อมูลจาก การประเมนิ เพอ่ื พฒั นาการเรยี นร้ถู ูกสรปุ และตีความเพอื่ ระบุประสบการณ์ท่ีแตกต่างกันของนักเรียน ในการบรรลุวัตถปุ ระสงค์ และบง่ บอกถงึ ปจั จยั ท่ที าให้การจดั การเรยี นการสอนไม่มีประสิทธิภาพ เส้น ทล่ี ากเช่ือมไปยังข้ันตอนต่าง ๆ ซึ่งข้อมูลจากการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนไม่ได้นาไปใช้ เพียงการปรับปรุงการสอนเท่าน้ัน แต่ยังใช้สาหรับการตรวจสอบซ้าถึงความเชื่อถือได้ของ การวิเคราะห์การเรียนการสอน แต่เป็นข้อสมมติฐานเก่ียวกับพฤติกรรมนาเข้า และคุณลักษณะของ

37 นักเรียนและอาจจาเป็นต่อการตรวจสอบซ้าเกี่ยวกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมและการจัด แบบทดสอบ 2.10 ออกแบบและการประเมนิ ผลภายภายหลงั การเรยี นการสอน (Design and Conduct Summative Evaluation) แม้วา่ การประเมนิ ผลภายหลงั การเรยี นการสอน เป็นการรวบรวมการประเมิน ประสทิ ธภิ าพของการเรยี นการสอน แต่โดยทัว่ ไปไมไ่ ด้เป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการออกแบบข้ันตอน นเี้ ป็นการประเมินคา่ หรือคุณค่าของการเรียนการสอน และปรากฏเฉพาะหลังจากการสอนเสร็จสิ้น และได้ประเมนิ เพ่อื การพฒั นาการเรียนการสอนในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนเรียบร้อยแล้ว และเป็นการทบทวนการบรรลถุ ึงมาตรฐานที่ผู้ออกแบบได้กาหนดไว้ แผนภาพท่ี 2.3 แบบจาลองการออกแบบระบบการเรียนการสอน แบบจาลองการออกแบบระบบการเรียนการสอน การ การทบทวน วิเคราะหน์ การจั การเรียน การเรี ยน การสอน การสอน การกาหนน การวิเคราะหน์ การเขียน การพฒั นา การพฒั นากล การพฒั นาและ การออกแบบ เป้าหนมาย ผเู้ รียนและ วตั ถุ เคร่ืองมือ ยทุ ธก์ ารสอน เลือกส่ือการ และประเมินผล การเรี ยน ประเมินผล การสอน บริบท ประสงค์ เรียน ระหนวา่ ง เชิงปฏิบตั ิ การสอน การเรียน การสอน การออกแบบ และ การระเมินผล หนลงั การเรียน การสอน ท่มี า Dick et al., The Systematic of Instruction 6thed. (Boston : Pearson, 2005) 2.1.5 แนวคดิ เก่ียวกบั ความพึงพอใจ มนี กั วชิ าการหลายท่านไดใ้ ห้ความหมายเกย่ี วกับความพึงพอใจ ดังนี้ ศุภสิริ โสมเกตุ (2544 : 49) ; สุพจน์ ศรนารายณ์ (2548 : 5) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดหรือเจตคติส่วนบุคคลท่ีมีต่อการทางานหรือการปฏิบัติกิจกรรมในเชิงบวก

38 ดังน้ันความพอใจในการเรียนรู้ จึงหมายถึง ความรู้สึกพอใจ ชอบใจในการร่วมปฏิบัติกิจกรรม การเรียนการสอนและต้องการดาเนินกิจกรรมน้ันๆ จนบรรลุผลสาเร็จ อันมีผลสืบเนื่องมาจาก องค์ประกอบหรือปัจจัยอ่ืน ๆ ในการปฏิบัติงาน เช่น ลักษณะงาน สภาพแวดล้อมในการทางาน ประโยชน์ ค่าตอบแทนและอ่นื ๆ ถา้ องค์ประกอบต่างๆ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของบุคคล ได้เหมาะสมก็จะมีผลให้เกิดความพึงพอใจ บุคคลจะมีความพึงพอใจมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับ ความตอ้ งการของแตล่ ะบคุ คล และองคป์ ระกอบท่ีเปน็ สงิ่ จงู ใจในทม่ี อี ยู่ในงานนน้ั ดว้ ย นอกจากนีแ้ ล้ว Applewhite P.B. (1965 : 6), Good C.V. (1973 : 13), Wolman B.B. (1973 : 384) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจที่เป็นผลมาจากความสนใจ และเป็นความสุขท่ีได้รับจาก สภาพแวดล้อมทางกายภาพในการทางาน ความสุขในการทางานร่วมกับเพ่ือน การมีทัศนคติที่ดีต่อ งานและความพอใจเกีย่ วกับรายได้ซงึ่ เป็นเจตคติของบคุ คล สรุปความพึงพอใจ คือ สภาพความรู้สึกนึกคิดหรือเจตคติในทางที่ดีของบุคคลที่มี ตอ่ การใหบ้ รกิ ารดา้ นใดดา้ นหนง่ึ เป็นพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ของมนุษย์ท่ีเกิดข้ึนจากภายในจิตใจ ของบุคคล ได้แก่ ความชอบ ความสบายใจ ความสุขใจต่อการได้รับส่ิงท่ีต้องการ มีคว ามพอใจ มคี วามกระตือรือร้นทจี่ ะปฏบิ ัตกิ ิจกรรมอย่างต่อเนือ่ ง เพอื่ ให้การดาเนินกจิ กรรมนนั้ บรรลผุ ลสาเร็จ 2.2 นโยบายและยุทธศาสตร์ 2.2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทาแผนพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) สาหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทย ในระยะ 5 ปี ซงึ่ เปน็ การแปลงยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปีสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียม ความพร้อมและ วางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว มีความ มั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาประเทศในระยะ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 -2564) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์ซึ่งเก่ียวข้องกับ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 6 ยทุ ธศาสตร์ สรุปได้ ดงั นี้ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ให้ความสาคัญกับการ วางรากฐาน การพัฒนาคนให้มีความ สมบูรณ์เร่ิมต้ังแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยท่ีต้องพัฒนาให้มีสุขภาพกาย และใจท่ดี ี มที กั ษะทางสมอง ทักษะการเรียนรู้ และทกั ษะชีวิตเพ่ือให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่กับ การพัฒนาคนไทยในทกุ ชว่ งวัยใหเ้ ปน็ คนดีมีสุขภาวะทดี่ มี คี ุณธรรมจริยธรรมมีระเบียบวินัยมีจิตสานึก ที่ดีต่อสังคมส่วนรวมมีทักษะความรู้และความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปล่ียนแปลงรอบตัวท่ี รวดเร็ว บนพืน้ ฐานของการมีสถาบันทางสังคมที่เขม้ แข็งทง้ั สถาบันครอบครัวสถาบันการศกึ ษาสถาบัน ศาสนาสถาบันชุมชน และภาคเอกชนที่ร่วมกันพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูงอีกท้ังยังเป็นทุนทาง สงั คมสาคัญ ในการขบั เคล่ือนการพฒั นาประเทศ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหล่ือมล้าในสังคม ให้ความสาคัญ กับการดาเนินการยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมให้ทั่วถึงโดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านการศึกษาและ สาธารณสุขรวมทง้ั การปดิ ชอ่ งวา่ งการคุ้มครองทางสงั คมในประเทศไทยซง่ึ เป็นการดาเนินงานต่อเนื่อง

39 จากท่ีได้ขับเคล่ือนและผลักดันในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และมุ่งเน้นมากขึ้นในเรื่องการเพิ่ม ทกั ษะแรงงานและการใช้นโยบายแรงงานท่ีสนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพแรงงานและเสริมสร้างรายได้ สงู ขน้ึ และการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอย่างย่ิงการสนับสนุนในเร่ืองการสร้าง อาชีพ รายได้และให้ความช่วยเหลือที่เช่ือมโยง การเพิ่มผลิตภาพสาหรับประชากรกลุ่มร้อยละ 40 รายได้ตา่ สดุ ผู้ดอ้ ยโอกาส สตรีและผสู้ งู อายุ อาทิการสนบั สนนุ ธรุ กจิ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด ย่อม วิสาหกิจชุมชนและวสิ าหกิจเพื่อสังคม การพัฒนาองค์กรการเงิน ฐานรากและการเข้าถึงเงินทุน เพ่อื สร้างอาชีพ และการสนับสนุนการเขา้ ถึงปจั จยั การผลิตคณุ ภาพดีท่ีราคาเป็นธรรม เป็นต้น และใน ขณะเดียวกันก็ต้องเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้งบประมาณเชิงพ้ืนท่ีและบูรณาการเพ่ือการลดความ เหลอ่ื มล้า ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเด็นท้าทายท่ีต้องเร่งดาเนินการในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้แก่ การสร้างความม่ันคงของ ฐานทรัพยากรธรรมชาติและยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับ สง่ิ แวดล้อมและคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน เร่งแก้ไขปัญหาวิกฤติส่ิงแวดล้อมเพื่อลดมลพิษท่ีเกิดจาก การผลิต และการบริโภคพัฒนาระบบบริหารจัดการท่ีโปร่งใสเป็นธรรม ส่งเสริมการผลิตและการ บริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเป็นวงกว้างมากข้ึน ต้องเร่งเตรียมความพร้อมในลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกและเพ่ิมขีดความสามารถ ในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมท้ัง บรหิ ารจัดการเพือ่ ลดความเส่ยี งด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศ สู่ ความม่ังค่ังและยั่งยืน ให้ความสาคัญต่อการฟื้นฟูพ้ืนฐานด้านความม่ันคงท่ีเป็นปัจจัยสาคัญต่อ การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติของ ผู้มคี วามเห็นต่างทางความคิดและอุดมการณ์บนพื้นฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมุขและการเตรียม การรับมือกับภัยคุกคามข้ามชาติซ่ึงจะส่งผลกระทบอย่าง มีนัยยะสาคัญต่อการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระยะ 20 ปขี า้ งหนา้ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การบริหารจัดการในภาครัฐการปูองกันการทุจริตประพฤติ มิ ชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย เป็นช่วงเวลาสาคัญที่ต้องเร่งปฏิรูป การบริหารจัดการภาครัฐให้ เกดิ ผลสัมฤทธอ์ิ ยา่ งจริงจัง เพื่อให้เป็นปัจจยั สนับสนุนสาคัญทีจ่ ะช่วยสง่ เสริมการพัฒนาประเทศในทุก ด้านให้ประสบผลสาเร็จบรรลุเปูาหมาย ทั้งการบริหารจัดการภาครัฐให้โปร่งใส มีประสิทธิภาพ รับผิดชอบ ตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม มีการกระจายอานาจ และแบ่ง ภารกิจรับผดิ ชอบที่เหมาะสมระหว่างสว่ นกลาง ภูมิภาค และท้องถนิ่ และวางพืน้ ฐานเพื่อให้บรรลุตาม กรอบเปาู หมายอนาคตในปี 2579 ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีวิจัย และนวัตกรรมให้ ความสาคัญกับการใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพัฒนา ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์อย่างเข้มข้นทั้งในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชา สังคม รวมทั้งให้ความสาคัญกับการพัฒนาสภาวะแวดล้อมหรือปัจจัยพื้นฐานท่ีเอ้ืออานวยทั้งการ ลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากรวิจัย โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยแี ละการบรหิ ารจัดการเพอ่ื ชว่ ยขบั เคลื่อนการพฒั นาประเทศใหก้ ้าวสู่เปาู หมายดงั กล่าว

40 2.2.2 นโยบายความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2558 - 2564) นโยบายความม่ันคงแห่งชาติกาหนดข้ึนเพื่อเป็นกรอบในการดาเนินการด้านความ มัน่ คงของภาครัฐในระยะ 7 ปี แบง่ เปน็ 2 สว่ น คอื ส่วนท่ี 1 นโยบายเสริมสรา้ งความมัน่ คงท่ีเป็นแกน่ หลักของชาตแิ ละ ส่วนท่ี 2 นโยบายความมนั่ คงแห่งชาติท่ัวไป โดยกาหนดกรอบความคิดหลักจากการ กาหนดนโยบายได้คานงึ ถึงคา่ นิยมหลกั ของชาติ 12 ประการดังนี้ วสิ ัยทศั น์ “ชาตมิ เี สถยี รภาพและเป็นปึกแผ่น ประชาชนมคี วามมน่ั คงในชีวติ ประเทศ มีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งปลอดภยั จากภัยคกุ คามข้ามพรมแดน พร้อมเผชิญวิกฤติการณ์มีบทบาทเชิง รุกในประชาคมอาเซียนและดาเนินความสัมพันธ์กับนานาประเทศอย่างมีดุลยภาพ” นโยบายความ มั่นคงทีเ่ กี่ยวข้องกบั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน มดี งั น้ี ส่วนที่ 1 นโยบายสาคัญเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงที่เป็นแก่นหลักของชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการเป็นหนว่ ยงานหลกั เกยี่ วข้องใน 3 นโยบาย นโยบายที่ 1 เสริมสรา้ งความม่นั คงของสถาบนั หลักของชาติและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง เกี่ยวกับสถาบนั ชาติศาสนา พระมหากษตั ริย์ นโยบายที่ 2 สร้างความเปน็ ธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันทใ์ นชาติ โดยการส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความรู้สึกเป็นส่วนหน่ึงของชาติอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขมีความรัก ความภาคภูมใิ จในความเป็นชาตแิ ละเปน็ สังคมพหวุ ฒั นธรรมท่เี ข้มแข้ง นโยบายที่ 3 ปอู งกนั และแกไ้ ขการก่อความไมส่ งบในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ โดยการเสริมสร้างสันติสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาค ส่วนเป็นพลังในการเข้าถึงประชาชนโดยในส่วนของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มียุทธศาสตรท์ ่เี กีย่ วขอ้ งมดี งั นี้ 3.1 ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ได้แก่ 1) การเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบัน หลักของชาติ 2) การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ 3) การขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ 4) การปอู งกนั ปราบปราม และบาบัดรกั ษาผู้ติดยาเสพติด 3.2 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ได้แก่ 1) การพัฒนาเศรษฐกิจดิจทิ ลั 2) การส่งเสริมการวจิ ัยและนวตั กรรม 3.3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ได้แก่ 1) การพัฒนา ศกั ยภาพคนตามชว่ งวัย 2) การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวติ 3.4 ยุทธศาสตร์ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหล่ือมล้าและสร้าง การเติบโตจากภายใน ได้แก่ การสง่ เสริมการดาเนนิ งานตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.5 ยุทธศาสตรด์ ้านการจัดการน้าและสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อมอยา่ งย่ังยนื ไดแ้ ก่ การบริหารจัดการขยะและส่งิ แวดลอ้ ม 3.6 ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ ได้แก่ การปอู งกนั ปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ

41 2.2.3 แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) ของสานักงานเลขาธิการ สภาการศกึ ษา สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 เพือ่ ใช้เป็นแผนยทุ ธศาสตร์ระยะยาวสาหรับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาของประเทศได้ นาไปใช้เป็นกรอบและแนวทางการพัฒนาการศึกษาและเรียนรู้สาหรับพลเมืองทุกช่วงวัยตั้งแต่แรก เกดิ จนตลอดชวี ิต โดยจุดมุง่ หมายที่สาคัญของแผน คือ การมุ่งเน้นการประกันโอกาสและความเสมอ ภาคทางการศึกษาและการศึกษาเพื่อการมีงานทาและสร้างงานได้ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศและของโลกที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์รวมท้ังความเป็นพลวัตร เพื่อให้ประเทศไทยสามารถ ก้าวข้ามกับดักประเทศที่มรี ายได้ปานกลาง ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ซ่ึง ภายใต้กรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ไดก้ าหนดสาระสาคัญสาหรบั บรรลุเปูาหมาย ของการพัฒนาการศึกษาใน 5 ประการ ได้แก่การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) ความเท่า เทยี มทางการศึกษา (Equity) คุณภาพการศึกษา (Quality) ประสิทธิภาพ(Efficiency) และตอบโจทย์ บริบททเี่ ปล่ียนแปลง (Relevancy) ในระยะ 15 ปีข้างหนา้ ยทุ ธศาสตร์ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง คือ 1. การจัดการศกึ ษาเพ่อื ความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาติ 2. การผลติ และพัฒนากาลังคน การวจิ ยั และนวัตกรรม เพอ่ื สรา้ งขีดความสามารถใน การแขง่ ขันของประเทศ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 4. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา 5. การจดั การศกึ ษาเพือ่ สรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ิตที่เปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา 2.2.4 แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดจ้ ัดทาแผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) โดยไดน้ อ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้เป็นกรอบ ในการดาเนนิ งาน และสอดคล้องกับทศิ ทางการพฒั นาประเทศในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) โดยมีเปูาหมายหลักของแผนพัฒนาการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีข้ึน คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการ เปลี่ยนแปลง และการพัฒนาประเทศในอนาคต 2. กาลังคนไดร้ บั การผลิตและพัฒนา เพอื่ เสริมสรา้ งศกั ยภาพการแข่งขนั ของประเทศ 3. มีองคค์ วามรู้เทคโนโลยนี วตั กรรม สนบั สนนุ การพฒั นาประเทศอย่างยงั่ ยืน 4. คนไทยไดร้ บั โอกาสในเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชีวติ 5. ระบบบริหารจดั การการศึกษามปี ระสทิ ธิภาพ และทกุ ภาคส่วนมีส่วนร่วมตามหลัก ธรรมาภิบาล

42 ตวั ชวี้ ัดตามเปูาหมายหลกั 1. ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละวิชา 2. รอ้ ยละที่เพิม่ ข้ึนของคะแนนเฉลยี่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาหลักระดับการศึกษา ขนั้ พ้นื ฐานจากการทดสอบระดับชาติ 3. ร้อยละคะแนนเฉลีย่ ของผูเ้ รียนที่มคี ุณธรรมจริยธรรม 4. รอ้ ยละคะแนนเฉลีย่ ของผเู้ รียนทกุ ระดับการศึกษามคี วามเป็นพลเมอื ง และพลโลก 5. สัดสว่ นผู้เรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชวี ศกึ ษาตอ่ สายสามัญ 6. จานวนปกี ารศกึ ษาเฉล่ยี ของคนไทยอายุ 15 - 59 ปี 7. รอ้ ยละของกาลงั แรงงานทสี่ าเรจ็ การศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้นข้นึ ไป 8. ร้อยละของนกั เรยี นตอ่ ประชากรวัยเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อายุ15 - 17 ปี 9. สดั ส่วนผู้เรียนในสถานศึกษาทกุ ระดบั ของรฐั ตอ่ เอกชน 10. จานวนภาคเี ครือขา่ ยทีเ่ ข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจัด/พัฒนาและส่งเสรมิ การศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ 1. ยุทธศาสตรพ์ ฒั นาหลักสตู ร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล 2. ยุทธศาสตร์ผลิต พฒั นาครคู ณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษา 3. ยุทธศาสตรผ์ ลติ และพฒั นากาลังคน รวมท้ังงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการ ของการพฒั นาประเทศ 4. ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่าง ตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ 5. ยุทธศาสตรส์ ่งเสริมและพฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่อื การศกึ ษา 6. ยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาระบบบรหิ ารจดั การและสง่ เสริมใหท้ ุกภาคสว่ นมสี ว่ นร่วมในการ จดั การศกึ ษา 2.2.5 แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน นโยบายและยุทธศาสตร์ทางด้านการพัฒนาคุณการศึกษา ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน แนวทางหลักการดาเนินงาน และโครงการสาคัญของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยยึดกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน ที่เป็นจุดเน้นสาคัญและเก่ียวข้องกับ หน่วยศกึ ษานิเทศก์ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ดงั น้ี ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ด้านการจัดการศึกษาเพอ่ื ความมน่ั คง นโยบายท่ี 1 ด้านการจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมั่นคง กลยุทธ์ ข้อที่ 1 เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ แนวทาง น้อมนาแนวพระราชดาริสืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา หรือ “ศาสตรพ์ ระราชา” มาใช้ในการจดั กระบวนการเรียนรู้อย่างยง่ั ยืน ตัวชี้วัดความสาเร็จ ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีการบูรณาการ “ศาสตร์ พระราชา” มาใช้ในการจดั กระบวนการเรียนร้อู ยา่ งย่งั ยืน

43 กลยุทธ์ ขอ้ ท่ี 3 พฒั นาการจัดการศึกษาโรงเรียนในเขตพื้นที่พิเศษให้เหมาะสมตาม บรบิ ทของพืน้ ที่ แนวทาง พัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในเขตพ้ืนที่พิเศษให้เหมาะสมตามบริบท ของพื้นท่ี เช่น เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ เขตระเบียงเศรษฐกิจ เขตสามเหลี่ยมมัน่ คง มั่งค่ัง ย่งั ยนื เขตพ้ืนทชี่ ายแดน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตัวชี้วัดความสาเร็จ ร้อยละ 80 ของสถานศึกษาในเขตพื้นที่พิเศษแต่ละประเภทมี การพฒั นาการจัดการศึกษาตามบรบิ ทของพืน้ ที่ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขัน นโยบายที่ 2 ด้านพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขัน กลยทุ ธ์ ข้อที่ 1 เสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ในการพฒั นาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพด้วยการ ปรบั หลักสตู ร การวดั และประเมนิ ผลที่เหมาะสม โดยมแี นวทาง ดงั นี้ 1.1 ปรบั ปรงุ หลกั สูตรในระดบั ปฐมวัย และหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพและจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร ตาม ความจาเป็นและความต้องการของผเู้ รียน ชมุ ชน ท้องถนิ่ ละสงั คม 1.2 การพัฒนา ปรบั ปรงุ หลักสูตร การเรียนการสอน คือ 1) หลักสูตรมีความยืดหยุ่น ชุมชนท้องถ่ินสามารถออกแบบหลักสูตรเองได้ 2) ปรับปรุงตัวชี้วัด 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ (คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์) ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษานาหลักสูตรระดับปฐมวัยและและ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน และนาไปสกู่ ารปฏบิ ัติใหเ้ กิดประสิทธิภาพ และร้อยละ 100 ของสถานศึกษาจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตร ตามความจาเป็นและความต้องการของผู้เรียน ชมุ ชน ท้องถ่นิ ละสงั คม กลยุทธท์ ่ี 2 พฒั นาคุณภาพกระบวนการเรยี นรู้ โดยมแี นวทาง ดงั น้ี ส่งเสริมการจัดการการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมปฏิบัติจริง (Active Learning) เนน้ ทักษะกระบวนการให้เกดิ ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์ใน ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรูท้ ้ังในและนอกห้องเรียน ตัวชี้วัดความสาเร็จ ร้อยละ 70 ของผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรคผ์ า่ นกิจกรรมการปฏบิ ตั ิจริง (Active Learning) กลยทุ ธ์ท่ี 3 สร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขัน ส่งเสริ มการเรียนรู้เชิงบูรณาการแบบสหวิ ทยากร เช่น สะเต็มศึกษา (ScienceTechnology Engineering and Mathematics Education : STEM Education) เพ่ือพัฒนา กระบวนการคดิ และการสร้างสรรค์นวตั กรรม เพ่อื สร้างมลู ค่าเพม่ิ สอดคลอ้ งกับประเทศไทย 4.0 ตัวช้ีวดั ความสาเร็จ รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็ม ศึกษา STEM Education) มนี วตั กรรมเพอ่ื สรา้ งมูลค่าเพิ่มสอดคล้องกบั ประเทศไทย 4.0

44 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการสง่ เสริม พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา นโยบายที่ 3 สง่ เสริม สนับสนุนการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา กลยุทธ์ ข้อที่ 1 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้สามารถจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพในรูปแบบท่ีหลากหลาย พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหส้ ามารถจัดการเรียนรู้อยา่ งมีคณุ ภาพทั้งระบบ เชื่อมโยงกับการเลื่อนวิทยฐานะในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น TEPE Online ( Teachers and Educational Personnel’s Enhancement Based on Mission and Functional Areas as Majors) ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ วิชาชีพ (Professional Learning community : PLC ) การเรียนรู้ ผา่ นกิจกรรมการปฏบิ ตั จิ ริง (Active learning) ตัวชวี้ ัดความสาเร็จ ร้อยละ 80 ของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเข้ารับการพัฒนา ผ่านสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารท่ที นั สมยั และร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการ ศึกษาได้รับการพฒั นาการจัดการเรียนรอู้ ย่างมคี ณุ ภาพในรูปแบบท่หี ลากหลาย ดังนน้ั เพ่ือให้งานนโยบายสาคญั แห่งรฐั กระทรวงศกึ ษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นไปตัวชี้วัดความสาเร็จ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 จึงขับเคล่ือนการดาเนินงาน โดยใช้ กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ท้งั ในด้านการบรหิ ารจดั การ และการจัดการเรียนรู้ ของสถานศกึ ษา

45 ส่วนที่ 3 แนวทางการนเิ ทศ เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา การนเิ ทศการศกึ ษามคี วามสาคญั ต่อการพัฒนา ปรับปรุง และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัด การศกึ ษาของสถานศึกษา เพ่อื ใหผ้ บู้ ริหารสถานศกึ ษา ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั สตู ร สามารถจดั การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังการบริหารจัดการ และ ปญั หาอนื่ ๆ ท่สี ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพการศกึ ษาตามจดุ เนน้ นโยบายแห่งรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และการบริหารงานตามกรอบภาระงาน 4 ด้าน คือ การบรหิ ารงานดา้ นวิชาการ การบริหารงานด้านงบประมาณ การบริหารงานด้านการบริหารบุคคล และการบริหารงานด้านการบริหารท่ัวไป ซึ่งกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ดาเนินการ โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ดังแผนภาพที่ 1 และแผนภาพที่ 2 ดังนี้ แผนภาพที่ 1 การนิเทศ เพอื่ ยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ศึกษาสภาพ และความตอ้ งการ (Assessing Needs : A) การวางแผนการนเิ ทศ (Planning : P) การใหค้ วามรู้กอ่ นการนเิ ทศ (Informing : I) การนิเทศแบบโค้ช (Coaching : C) การประเมนิ ผลการนิเทศ (Evaluating : E)