คำนำ รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับน้ี จัดทำขึ้นเพื่อสรุปผลการดำเนินงานตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายในรอบปี ซึ่งมุ่งเน้นการดำเนินงาน ที่สอดคล้องตามนโยบายของรัฐบาล นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายของคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้โครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สำเร็จตามเป้าหมาย คอื การจดั การศึกษาให้กบั นักเรียนอย่างมคี ุณภาพและเท่าเทียมทุกคน ขอขอบคุณ ผูบ้ รหิ ารการศึกษา ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาสังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง และผู้เกย่ี วข้องทุกท่านท่มี ีสว่ นร่วมส่งเสริม สนบั สนุน การจดั ทำรายงานผลการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 และหวงั เปน็ อยา่ งย่งิ ว่าเอกสารฉบับนี้จะ เป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานให้มปี ระสิทธภิ าพย่งิ ขึ้น สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง ธนั วาคม 2564 รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
สารบญั หนา้ สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา 1 ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 3 นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ 11 นโยบายและจดุ เนน้ ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 12 สว่ นที่ 4 แผนพฒั นาการศึกษาจงั หวดั ชลบุรี 14 ภาคผนวก แผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวัดระยอง 16 ทศิ ทางการพฒั นาการจัดการศึกษาของสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา 19 มธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง ปี พ.ศ.2564 ผลการดำเนนิ งานปงี บประมาณ พ.ศ.2564 21 กลยทุ ธท์ ่ี 1 การจดั การศึกษาเพ่อื ความมนั่ คง 24 กลยุทธท์ ่ี 2 การส่งเสริมและพฒั นาสมรรถนะทางการศึกษาของผู้เรยี น 32 เพ่อื เพมิ่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ระดับนานาชาติและ 37 เทยี บเคยี งสูม่ าตรฐานสากล กลยุทธ์ที่ 3 การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การพัฒนาครูและบุคลากร 59 ทางการศกึ ษา กลยทุ ธท์ ่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และการเขา้ ถึงบรกิ าร 67 ทางการศึกษาอย่างทวั่ ถงึ และมีคุณภาพ 68 กลยุทธท์ ่ี 5 การจัดการศึกษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวติ เป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม กลยทุ ธท์ ่ี 6 การพฒั นาระบบการบริหารจดั การและสง่ เสริมการมีส่วนร่วม 80 ในการจดั การศกึ ษา ผลการดำเนินงานตามมาตรฐานสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา (พ.ศ.2560) ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แนวทางการพัฒนาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 81 คณะทำงาน รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
สารบญั ตาราง ตารางท่ี 1 ขอ้ มูลนักเรียนจำแนกรายโรงเรยี น ปีการศึกษา 2564 2 ตารางที่ 2 ตารางที่ 3 จำนวนโรงเรียนจำแนกตามขนาดจำนวนนักเรียนปกี ารศึกษา 2564 4 ตารางที่ 4 ตารางท่ี 5 จำนวนนักเรียน ห้องเรียน จำแนกตามเพศ รายช้นั ปีการศึกษา 2564 4 ตารางที่ 6 ตารางท่ี 7 จำนวนนกั เรียนและจำนวนห้องเรียนจำแนกตามระดับชน้ั และจังหวดั 5 ตารางที่ 8 ปกี ารศึกษา 2564 ตารางที่ 9 จำนวนนกั เรียนพกิ ารเรียนรว่ ม จำแนกตามระดับชน้ั และรายจงั หวดั 6 ตารางท่ี 10 จำนวนข้าราชการครูจำแนกตามตำแหนง่ ที่ปฏบิ ัติงานในโรงเรยี น 7 ตารางท่ี 11 ปีการศกึ ษา 2564 ตารางที่ 12 คา่ คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) 7 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2563 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) 8 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรร์ ะดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2559 – 2563 และเปรยี บเทียบปีการศึกษา 2563 กับปกี ารศึกษา 2562 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) 8 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ค่าเฉล่ยี ระดับประเทศและระดับเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาปกี ารศกึ ษา 2562 – 2563 คา่ คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) 8 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ สงั คมศึกษา และวิทยาศาสตร์ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2563 ค่าคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) 9 ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2559 – 2563 และเปรียบเทยี บปกี ารศึกษา 2563 กบั 2562 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) 9 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ค่าเฉลี่ยระดับประเทศและระดับเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2563 รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานทางการศึกษา รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ข้อมูลพืน้ ฐานทางการศกึ ษา สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง ต้งั อยู่ ณ เลขที่ 25/11 หมทู่ ี่ 2 ตำบล อ่างศิลา อำเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวดั ชลบรุ ี 20130 โทรศพั ท์ 0-3839-7501 – 5 โทรสาร 0-3839-7510 www.spm18.go.th มโี รงเรียนในสังกัดจำนวน 51 โรงเรยี น ในพ้ืนทจ่ี งั หวดั ชลบรุ ี จำนวน 31 โรงเรยี น และจังหวดั ระยอง จำนวน 20 โรงเรยี น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง มีข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการและพนักงานอัตราจา้ ง จำนวน 66 คน ดงั นี้ (ขอ้ มูล ณ 30 กันยายน 2564) ผ้อู ำนวยการสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา จำนวน 1 คน รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา จำนวน 3 คน ศึกษานเิ ทศก์ จำนวน 10 คน บคุ ลากรทางการศึกษาอน่ื ตามมาตรา 38 ค(2) จำนวน 5 คน กลุ่มอำนวยการ จำนวน 5 คน กลุ่มบริหารการเงินและสนิ ทรัพย์ จำนวน 9 คน กลุ่มบริหารงานบุคคล จำนวน 5 คน กลมุ่ ส่งเสรมิ การจัดการศึกษา จำนวน 5 คน กลุ่มนโยบายและแผน จำนวน 2 คน หน่วยตรวจสอบภายใน จำนวน 1 คน กลมุ่ พฒั นาครแู ละบุคลากรฯ จำนวน - คน กล่มุ ส่งเสรมิ การศึกษาทางไกล จำนวน 1 คน กลุ่มกฎหมายและคดี จำนวน 1 คน ลกู จ้างประจำ จำนวน 12 คน พนักงานราชการ/ครูอัตราจา้ งช่วยราชการ จำนวน 6 คน ลูกจ้างชว่ั คราว รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติกาประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
~2~ ตารางที่ 1 ข้อมลู นกั เรยี นจำแนกรายโรงเรยี น ปีการศึกษา 2564 (ข้อมูล ณ 10 มิถนุ ายน 2564) จำนวนกั เรียน ท่ี โรงเรยี น ประถม มธั ยมศึกษา มัธยมศึกษา ปวช. รวม ตอนตน้ ตอนปลาย 1 ชลบุรี“สขุ บท” - 1,641 1,182 - 2,823 2 ชลราษฎรอำรุง - 1,501 1,999 - 3,500 3 ชลกันยานกุ ลู - 2,109 1,978 - 4,087 4 แสนสุข - 1,192 456 - 1,648 5 บา้ นสวน(จัน่ อนุสรณ์) - 1,529 707 - 2,236 6 อ่างศลิ าพิทยาคม - 852 351 - 1,203 7 หนองรีมงคลสุขสวัสดิ์ - 194 88 - 282 8 บ้านบึง“อุตสาหกรรมนุเคราะห์” - 1,769 1,496 - 3,265 9 บ้านบงึ “มนูญวทิ ยาคาร” - 417 187 - 604 10 วิทยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี - 288 431 - 719 11 คลองก่วิ ยง่ิ วทิ ยา - 372 179 - 551 12 หนองใหญ่ศิรวิ รวาทวทิ ยา - 378 246 - 624 13 พานทองสภาชนปู ถมั ภ์ - 1,254 480 - 1,734 14 พานทอง - 1,024 480 - 1,504 15 พนัสพิทยาคาร - 1,604 1,477 - 3,081 16 ท่งุ เหยี งพิทยาคม - 358 223 - 581 17 เทพศริ ินทร์ ชลบุรี (อุทกฯอปุ ถัมภ)์ - 69 23 - 92 18 บอ่ ทองวงศ์จนั ทรว์ ิทยา - 728 565 75 1,368 19 เกาะโพธิ์ถว้ ยงามวิทยา - 414 368 - 782 20 เกาะจนั ทร์พิทยาคาร - 172 158 - 330 21 บางละมงุ - 1,173 1,130 - 2,303 22 โพธิสัมพนั ธ์พทิ ยาคาร - 1,227 1,484 - 2,711 23 ผินแจม่ วชิ าสอน - 280 164 - 444 24 ศรรี าชา - 1,684 1,271 - 2,955 25 ท่งุ ศขุ ลาพิทยา”กรุงไทยอนเุ คราะห”์ - 994 565 - 1,559 26 บงึ ศรีราชาพทิ ยาคม - 798 424 - 1,222 27 สุรศักดวิ์ ิทยาคม - 924 432 - 1,356 28 สวนกุหลาบวิทยาลยั ชลบุรี - 1,589 1,181 - 2,770 29 เกาะสีชัง 246 88 35 - 369 30 สัตหบี วิทยาคม - 1,050 685 - 1,735 31 สิงหส์ มุทร - 1,584 2,000 - 3,584 รวมจังหวดั ชลบรุ ี 246 29,256 22,445 75 52,022 รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัติกาประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
~3~ จำนวนกั เรียน ที่ โรงเรียน ประถม มัธยมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา ปวช. รวม 1 วดั ป่าประดู่ ตอนต้น ตอนปลาย 2,667 2 ระยองวทิ ยาคม 3,610 3 บ้านฉางกาญจนกลุ วทิ ยา - 1,796 871 - 2,503 4 เพรักษมาตาวทิ ยา 5 มาบตาพุดพันพทิ ยาคาร - 1,620 1,990 - 854 6 ระยองวิทยาคม นิคมอุตสาหกรรม 2,930 7 ระยองวทิ ยาคม ปากนำ้ - 1,640 863 - 8 เฉลมิ พระเกียรตสิ มเดจ็ พระศรีนครินทร์ 449 - 493 361 - 787 ระยอง 1,044 - 1,986 944 - 9 บ้านค่าย 10 ปลวกแดงพิทยาคม - 236 213 - 11 นิคมวิทยา 12 แกลง “วทิ ยาสถาวร” - 478 309 - 13 วังจนั ทร์วทิ ยา 14 เขาชะเมาวิทยา - 657 387 - 15 ชำนาญสามัคคีวิทยา 16 ชำฆ้อพิทยาคม - 1,325 746 - 2,071 17 สนุ ทรภู่พทิ ยา 18 ห้วยยางศกึ ษา - 1,386 766 - 2,152 19 มกฏุ เมอื งราชวทิ ยาลัย 20 มาบยางพรวทิ ยาคม - 1,132 695 - 1,827 รวมจังหวัดระยอง - 1,598 1,116 - 2,714 รวมทั้งสิ้น - 968 765 - 1,733 - 185 166 - 351 - 902 722 - 1,624 - 116 94 - 210 - 459 297 - 756 - 245 129 - 374 - 613 398 - 1,011 - 727 115 - 842 - 18,562 11,947 - 30,509 246 47,818 34,392 75 82,531 รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตกิ าประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
~4~ ตารางท่ี 2 จำนวนโรงเรยี นจำแนกตามขนาดจำนวนนักเรยี น ปกี ารศึกษา 2564 ขนาดโรงเรียน จงั หวัดชลบรุ ี จังหวดั ระยอง รวม ร้อยละ 3 2 5 9.80 ขนาดเล็ก (นกั เรียน 1 - 359 คน) 8 8 16 31.37 ขนาดกลาง 7 1 8 15.69 (นกั เรยี น 360 -1,079 คน ) 13 9 22 43.14 ขนาดใหญ่ (นกั เรียน 1,080 – 1,679 คน) 31 20 51 100 ขนาดใหญ่พิเศษ (นักเรียน 1,680 คน ขน้ึ ไป) รวมทั้งสิน้ ตารางที่ 3 จำนวนนกั เรียน หอ้ งเรียน จำแนกตามเพศ รายชนั้ ปีการศึกษา 2564 ชั้น จำนวนนักเรยี น จำนวนห้องเรียน ชาย หญงิ รวม ประถมศึกษาปีท่ี 1 ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 17 14 31 2 ประถมศึกษาปที ี่ 3 ประถมศึกษาปีที่ 4 14 17 31 2 ประถมศึกษาปีที่ 5 ประถมศึกษาปที ี่ 6 31 22 53 2 รวมประถมศกึ ษา 24 25 49 2 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 14 22 36 2 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 25 21 46 2 รวมมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 125 121 246 12 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 มัธยมศึกษาปที ี่ 6 7,933 8,432 16,365 431 รวมมัธยมศึกษาตอนปลาย 7,616 8,316 15,932 415 ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชน้ั ปที ี่ 1 ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชนั้ ปที ่ี 2 7,451 8,070 15,521 411 ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้ันปที ี่ 3 23,000 24,818 47,818 1,257 รวมประกาศนยี บตั รวิชาชพี รวมทั้งส้ิน 4,715 7,518 12,233 331 4,539 7,153 11,692 318 4,019 6,448 10,467 305 12,273 21,119 34,392 954 0 31 31 1 3 19 22 1 4 18 22 1 7 68 75 3 36,405 46,126 82,531 2,226 รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตกิ าประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
~5~ ตารางท่ี 4 จำนวนนกั เรยี นและจำนวนห้องเรยี นจำแนกตามระดบั ชน้ั และจงั หวดั ปกี ารศึกษา 2564 ชน้ั จำนวนนกั เรยี น จำนวนหอ้ งเรียน ชลบรุ ี ระยอง รวม ชลบรุ ี ระยอง รวม ประถมศึกษาปีท่ี 1 ประถมศึกษาปีท่ี 2 31 - 31 2 -2 ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 31 - 31 2 -2 ประถมศึกษาปีที่ 4 53 - 53 2 -2 ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 49 - 49 2 -2 ประถมศกึ ษาปีที่ 6 36 - 36 2 -2 46 - 46 2 -2 รวมประถมศกึ ษา 246 - 246 12 - 12 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 9,906 6,459 16,365 253 178 431 มธั ยมศึกษาปีที่ 2 9,860 6,072 15,932 245 170 415 มธั ยมศึกษาปีที่ 3 9,490 6,031 15,521 242 169 411 29,256 18,562 47,818 740 517 1,257 รวมมธั ยมศึกษาตอนต้น 7,807 4,426 12,233 207 124 331 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 7,765 3,927 11,692 201 117 318 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 6,873 3,594 10,467 192 113 305 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 22,445 11,947 34,392 600 354 954 31 - 31 1 -1 รวมมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 22 - 22 1 -1 ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั ปีท่ี 1 22 - 22 1 -1 ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้นั ปที ี่ 2 75 - 75 3 -3 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันปที ่ี 3 52,022 30,509 82,531 1,357 871 2,226 รวมประกาศนียบัตรวิชาชีพ รวมท้ังส้ิน รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิกาประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตารางที่ 5 ~6~ จำนวนนกั เรียนพกิ ารเรยี นรวม จำแนกตามระดับช้ันและรายจงั หวัด จงั หวดั ระดบั ชน้ั บกพร่องทางการเห็น บกพร่องทางการไ ้ดยิน บกพร่องทางส ิตปัญญา บกพร่องทางร่างกาย/ ุสขภาพ ีมปัญหาทางการเรียนรู้ บกพร่องทางการ ูพด/ภาษา ออทิสติก ีมปัญหาทางพฤ ิตกรรม/ อ ิพากรามรซ้ ์ณำซ้อน ื่อน ๆ รวมท้ัง ิ้สน ประถมศกึ ษา 0 0 1 0 1 00 00 0 2 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1 0 12 6 112 0 2 3 2 0 138 ชลบรุ ี มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2 0 5 6 36 0 4 1 0 0 54 ประกาศนัยบัตรวชิ าชีพ 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 1 รวม 3 0 19 12 149 0 6 4 2 0 195 ประถมศกึ ษา 0 0 0 0 0 00 00 0 0 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 0 0 0 4 50 0 1 2 2 0 59 ระยอง มธั ยมศึกษาตอนปลาย 0 0 1 4 7 0 1 1 0 0 14 ประกาศนัยบัตรวิชาชพี 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 รวม 0 0 1 8 57 0 2 3 2 0 73 ประถมศึกษา 0 0 1 0 1 00 00 0 2 มัธยมศึกษาตอนตน้ 1 0 12 10 162 0 3 5 4 0 197 สพม.ชบรย มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2 0 6 10 43 0 5 2 0 0 68 ประกาศนัยบตั รวชิ าชพี 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 1 รวม 3 0 20 20 206 0 8 7 4 0 268 รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัตกิ าประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตารางท่ี 6 ~7~ จำนวนข้าราชการครูจำแนกตามตำแหน่งท่ีปฏบิ ัตงิ านในโรงเรียน ปกี ารศกึ ษา 2564 ตำแหน่ง จังหวดั รวม สพม.ชบ ชลบรุ ี ระยอง ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม ผ้อู ำนวยการ 20 10 30 15 5 20 35 15 50 โรงเรียน รองผู้อำนวยการ 16 37 53 20 24 44 36 61 97 โรงเรยี น ข้าราชการครู 657 1,739 2,400 387 1,006 1,393 1,044 2,745 3,789 บคุ ลากร 38 ค(1) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 บคุ ลากร 38 ค (2) 0 0 0 0 1 1 0 1 1 ลกู จ้างประจำ 36 6 42 17 2 19 53 8 61 พนกั งานราชการ 25 39 64 7 27 34 32 66 98 ลกู จา้ งชวั่ คราว 147 223 370 135 257 392 282 480 762 รวม 901 2,054 2,955 581 1,322 1,903 1,482 3,376 4,858 ตารางท่ี 7 คา่ คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลุ่มสาระ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉลยี่ รวม ระดับ ระดบั ประเทศ 54.29 34.38 25.46 29.89 36.01 ระดบั สงั กดั (สพฐ.) 55.18 34.14 25.82 30.17 36.33 ระดับจังหวัดชลบุรี 57.23 37.78 28.68 31.80 38.87 ระดับจังหวัดระยอง 56.65 36.58 26.78 31.10 37.78 ระดับ สพม.ชบรย 59.80 41.33 31.49 33.15 41.44 ผลตา่ ง ระดับประเทศกับ +5.51 +6.95 +6.03 +3.26 +5.44 ระดับ สพม.ชบรย รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิกาประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
~8~ ตารางที่ 8 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2559 – 2563 และเปรียบเทียบปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 สาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา เปรยี บเทียบ ภาษาไทย 2559 2560 2561 2562 2563 ปี 2562 - 2563 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ 50.27 52.11 59.08 59.38 59.80 +0.42 วิทยาศาสตร์ 35.21 32.95 31.84 37.13 41.33 +4.20 เฉลี่ยรวม 33.80 30.38 33.77 30.56 31.49 +0.93 37.44 34.37 38.60 31.54 33.15 +1.61 39.18 37.45 40.82 39.65 41.44 +1.79 ตารางท่ี 9 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 คา่ เฉลีย่ ระดบั ประเทศและระดับเขตพ้ืนที่การศกึ ษา ปีการศึกษา 2562 – 2563 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 วชิ า คา่ เฉล่ีย ค่าเฉลีย่ ผลตา่ ง คา่ เฉลย่ี ค่าเฉลีย่ ผลต่าง ระดับประเทศ ระดับเขตฯ +/- ระดบั ประเทศ ระดบั เขตฯ +/- ภาษาไทย 55.14 59.38 +4.24 54.29 59.80 +5.51 ภาษาอังกฤษ 33.25 37.13 +3.88 34.38 41.33 +6.95 คณติ ศาสตร์ 26.73 30.56 +3.83 25.46 31.49 +6.03 วทิ ยาศาสตร์ 30.07 31.54 +1.47 29.89 33.15 +3.26 รวมเฉลยี่ 36.30 39.65 +3.36 36.01 41.44 +5.43 ตารางท่ี 10 คา่ คะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา และวทิ ยาศาสตร์ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2563 ระดับ กล่มุ สาระ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ สงั คมศึกษา วิทยาศาสตร์ เฉลี่ยรวม ระดับประเทศ 44.36 29.94 26.04 35.93 32.68 33.79 ระดับสงั กดั (สพฐ.) 45.22 29.73 26.33 36.32 33.04 34.13 ระดบั จังหวัดชลบุรี 48.79 33.97 29.79 37.66 35.63 37.17 ระดับจังหวัดระยอง 48.17 32.86 29.30 37.61 35.88 36.76 ระดับ สพม.ชบรย 48.58 33.59 29.63 37.65 35.71 37.03 ผลต่าง ระดับประเทศกับ +4.22 +3.65 +3.59 +1.72 +3.03 +3.24 ระดบั สพม.ชบรย รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ าประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
~9~ ตารางท่ี 11 ค่าคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2559 – 2563 และเปรยี บเทียบปีการศึกษา 2562 กบั ปกี ารศึกษา 2563 สาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา เปรียบเทียบ ภาษาไทย 2559 2560 2561 2562 2563 ปี 2562- 2563 สงั คมศึกษา ภาษาอังกฤษ 56.85 52.96 51.32 46.29 48.58 +2.29 คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 37.63 36.23 36.72 37.69 37.65 -0.04 เฉลยี่ รวม 30.18 31.34 34.99 32.46 33.59 +1.13 28.02 28.37 36.06 30.04 29.63 -0.41 33.50 31.89 32.86 31.77 35.71 +3.94 37.23 36.15 38.39 35.65 37.03 +1.38 ตารางที่ 12 เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 คา่ เฉล่ยี ระดับประเทศและระดับเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา ปกี ารศึกษา 2562 – 2563 วชิ า ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563 คา่ เฉลี่ย ค่าเฉล่ยี ผลต่าง ค่าเฉลย่ี คา่ เฉลีย่ ผลตา่ ง ภาษาไทย ระดบั ประเทศ ระดับเขตฯ +/- ระดับประเทศ ระดับเขตฯ +/- สังคมศึกษา 42.21 46.29 +4.08 44.36 48.58 +4.22 ภาษาองั กฤษ 35.70 37.69 +1.99 35.93 37.65 +1.72 คณติ ศาสตร์ 29.20 32.46 +3.26 29.94 33.59 +3.65 วทิ ยาศาสตร์ 25.41 30.04 +4.63 26.04 29.63 +3.59 29.20 31.77 +2.57 32.68 35.71 +3.03 รวมเฉล่ยี 32.34 35.65 +3.31 33.79 37.03 +3.24 รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ าประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
~ 10 ~ รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตกิ าประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ส่วนที่ 2 นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน แผนพัฒนาจังหวัดชลบุรี แผนพฒั นาจังหวดั ระยอง ทศิ ทางการจดั การศกึ ษาของสำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา มธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
~ 11 ~ ยทุ ธศาสตร์และนโยบายทเี่ กีย่ วข้อง 1) นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 1. ปรับร้ือและเปลย่ี นแปลงระบบการบรหิ ารจัดการ โดยม่งุ ปฏิรูปองคก์ ารเพื่อหลอมรวมภารกิจและ บุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ ทีส่ ามารถลดการใชท้ รัพยากรทับซ้อน เพิ่มประสทิ ธิภาพและความเปน็ เอกภาพ รวมทั้งการนำเทคโนโลยีดิจิทัล เขา้ มาชว่ ยท้งั การบรหิ ารงานและการจดั การศึกษารองรับความเปน็ รฐั บาลดิจิทลั 2. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรูปกระบวนการวางแผนงาน/ โครงการแบบร่วมมือและบูรณาการ ที่สามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมท้ัง กระบวนการจัดทำงบประมาณที่มีประสิทธิภาพและใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และนานาชาติ เช่ือมั่นและรว่ มสนับสนนุ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษามากย่งิ ขึน้ 3. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการและพัฒนากำลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งบริหารจัดการอัตรากำลังให้สอดคล้องกับการปฏิรูปองค์การ รวมทั้งพัฒนาสมรรถนะและความรู้ ความสามารถของบุคลากรภาครฐั ใหม้ คี วามพรอ้ มในการปฏิบตั ิงานรองรบั ความเป็นรฐั บาลดิจทิ ัล 4. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัด การศึกษาเพอื่ คุณวฒุ ิ และการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ทีส่ ามารถตอบสนองการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21 จดุ เนน้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. การพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1.1 การจัดการศึกษาเพอ่ื คุณวุฒิ 1.2 การเรยี นรูต้ ลอดชีวิต 2. การพัฒนาการศึกษาเพือ่ ความมัน่ คง 3. การสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั 4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 5. การจดั การศึกษาเพื่อสร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ที่เปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม 6. การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (เพมิ่ เตมิ ) หลักการตามนโยบาย ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (เพ่มิ เติม) ดำเนินการปลดล็อก ปรับเปลี่ยน เปิดกว้าง ที่เป็นเงื่อนไขต่างๆ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบาย “การศึกษายกกำลังสอง (Thailand Education Eco- System : TE2S) เป็นการศึกษาที่เข้าใจ Supply และ ตอบโจทย์ Demand” โดย • ปลดล็อก กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศต่างๆ เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันระหว่าง ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมใหส้ ามารถดำเนินการที่เก่ียวข้องกับการศึกษาได้อย่างรวดเร็วรวมถึง การบริหารการศกึ ษาของประเทศให้ครอบคลมุ ทุกพื้นท่ี • ปรับเปลี่ยน หลักสูตรการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นการพัฒนาขีดความสามารถและศักยภาพ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ปรับเปลี่ยนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านศูนย์พัฒนา รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
~ 12 ~ ศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) เพื่อให้ครู Up Skill และ Re-Skill ของตนเองไดต้ ลอดเวลา ทั้งนี้ เพ่ือส่งความรูไ้ ปยังผูเ้ รยี นให้เป็นคนดี คนเกง่ และคนทีม่ ีคุณภาพ • เปิดกว้าง เสรีทางการศึกษาให้ภาคเอกชนที่มีคุณภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา การศึกษาร่วมประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ ( Human Capital Excellence Center : HCEC) จากแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Education Excellence Platform : DEEP) ใหค้ รอบคลุมผ้เู รียนท่วั ประเทศ จุดเนน้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (เพิ่มเตมิ ) • พัฒนาครูทุกระดับให้มีทักษะ ความรู้ที่จำเป็น เพื่อทำหน้าที่วิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) • จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านเว็บไซต์ www.deep.go.th โดยปลดล็อกและเปิดกว้างให้ ภาคเอกชนสามารถเขา้ มาพฒั นาเน้อื หา เพ่อื ให้ผู้เรยี น ครู และผบู้ รหิ ารทางการศกึ ษามที างเลอื กในการเรียนรู้ที่ หลากหลาย และตลอดเวลาผ่านแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ ( Digital Education Excellence Platform : DEEP) • ให้ผู้เรียน ครู ผู้บริหารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบุคคลผ่านแผนพัฒนารายบุคคล ส่คู วามเปน็ เลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP) • จดั ทำ “คู่มือมาตรฐานโรงเรยี น” เพ่อื กำหนดใหท้ ุกโรงเรยี นต้องมีพน้ื ฐานทจี่ ำเป็น” 2) นโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งม่ันในการพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐานให้เป็น “การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศกึ ษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดนโยบายสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดงั น้ี วิสยั ทัศน์ สร้างคุณภาพทนุ มนุษย์ สู่สงั คมอนาคตทีย่ ัง่ ยนื พนั ธกิจ 1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมัน่ คงของสถาบันหลักของชาตแิ ละการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ 2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขนั 3. พฒั นาศกั ยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสตู รและคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษา อย่างทัว่ ถึงและเท่าเทยี ม 5. พฒั นาผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
~ 13 ~ 6. จัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาคุณภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง และเป้าหมายการพัฒนาท่ยี ่งั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) 7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Technology) เพือ่ พฒั นามงุ่ สู่ Thailand 4.0 นโยบาย 1. ดา้ นความปลอดภยั พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการ ศึกษาและสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมี สขุ ภาวะท่ดี ี สามารถปรบั ตัวตอ่ โรคอบุ ัติใหมแ่ ละโรคอบุ ัติซำ้ 2. ดา้ นโอกาส 2.1 สนบั สนนุ ให้เดก็ ปฐมวยั ไดเ้ ข้าเรยี นทุกคน มีพัฒนาการที่ดีทั้งทางรา่ งกาย จิตใจ วินยั อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา ใหส้ มกับวยั 2.2 ดำเนินการให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่าง มีคุณภาพตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพื่อการศึกษาต่อและ ประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถ พเิ ศษส่คู วามเปน็ เลศิ เพื่อเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 2.3 พฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลอื เด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน เพอ่ื ป้องกัน ไม่ให้ออกจากระบบการศึกษา รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานอยา่ งเท่าเทยี มกัน 2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. ด้านคุณภาพ 3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จำเป็น ของโลกในศตวรรษที่ 21 อยา่ งครบถ้วน เปน็ คนดี มีวนิ ยั มคี วามรกั ในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครอง ในระบบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มที ัศนคติทีถ่ กู ตอ้ งต่อบ้านเมอื ง 3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขง่ ขนั และการเลอื กศึกษาตอ่ เพือ่ การมงี านทำ 3.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลัก ที่จำเป็นในแต่ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจั ดการเรียนรู้ ทีส่ ร้างสมดุลทกุ ด้าน ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลผู้เรียน ทุกระดบั 3.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้เป็นครยู คุ ใหม่ มศี กั ยภาพในการจัดการเรียน การสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้ความสามารถในการ ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มกี ารพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอยา่ งต่อเนือ่ ง รวมทง้ั มีจิตวิญญาณความเปน็ ครู รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 14 ~ 4. ดา้ นประสิทธภิ าพ 4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการ ขับเคล่อื นบนฐานขอ้ มลู สารสนเทศที่ถกู ต้อง ทันสมัย และการมีสว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น 4.2 พฒั นาโรงเรยี นมธั ยมดีสี่มุมเมอื ง โรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน โรงเรยี นขนาดเล็กและ โรงเรียนที่สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ใหม้ ีคณุ ภาพอยา่ งยัง่ ยืน สอดคลอ้ งกับบริบทของ พืน้ ที่ 4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาที่มีจำนวนนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียน คณุ ภาพของชุมชน 4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะและ สถานศกึ ษาทต่ี ้งั ในพ้ืนทล่ี กั ษณะพิเศษ 4.5 สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และการเพม่ิ ความคลอ่ งตัวในการบรหิ ารและการจดั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 4.6 เพ่ิมประสิทธภิ าพการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 3) แผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวัดชลบรุ ี วสิ ยั ทัศน์ ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา กา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มุ่งสคู่ ณุ ภาพการจัดการศึกษาระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ พันธกิจ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับชาติและนานาชาติ 2. สรา้ งโอกาสการเข้าถงึ บริการทางการศึกษาอย่างท่วั ถงึ และเทา่ เทยี ม 3. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ 1. เพิ่มกำลังคนที่มีคุณภาพและมาตรฐานรองรับการพัฒนาและมีศักยภาพการแข่งขันของ ประเทศในอนาคต 2. ผ้เู รยี นได้รับการบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถงึ เทา่ เทียม และเรียนรอู้ ย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ 3. ผู้เรียนมอี งคค์ วามร้ดู ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม เพือ่ รองรบั การพัฒนาประเทศ 4. มีระบบบริหารจัดการการศึกษาที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล กลยุทธ์ 1. พัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ และจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนาผู้เรียน ในรูปแบบทห่ี ลากหลายสอดคล้องกบั ทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 2. พฒั นาและปรับปรุงหลักสูตร การวัดและประเมนิ ผลการศึกษาทุกระดบั /ประเภทการศกึ ษา ใหท้ ันสมยั สอดคล้องกบั ความกา้ วหน้าทางวทิ ยาการและการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 15 ~ 3. ส่งเสริมการพัฒนาเนื้อหาสาระที่ทันสมัยในทุกระดับ/ประเภทการศึกษาเพื่อการผลิตส่ือ การเรียนการสอน ตำราเรยี นทมี่ ีคุณภาพ รวมทัง้ สอ่ื และตำราเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 4. ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองที่ดี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในระบบการศึกษาอย่างเข้มข้น ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ผลิตและพฒั นากำลงั คน รวมท้งั งานวจิ ัยให้สอดคล้องกบั ความต้องการและรองรับ การพัฒนาประเทศ กลยุทธ์ 1. เร่งผลิตและพัฒนากำลงั คนสาขาท่จี ำเป็นตอ่ การพฒั นาประเทศ 2. เร่งผลิตและพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านอาชีวศึกษาให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี และรองรับพืน้ ที่เขตเศรษฐกจิ พิเศษ 3. ส่งเสริมภาพลักษณ์การอาชีวศึกษา เร่งปรับค่านิยม และวางรากฐานทักษะอาชีพให้แก่ ผเู้ รยี น ต้ังแต่วยั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 4. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาผมู้ ีความสามารถพิเศษอยา่ งต่อเน่ืองทุกระดบั 5. เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ของกระบวนการผลิตและพัฒนากำลังคน โดยสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือตามรปู แบบประชารัฐ ทง้ั ระหว่างองคก์ รภายในและต่างประเทศ 6. สง่ เสริมงานวจิ ัยและนวตั กรรมทส่ี ามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ได้จริง ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ผลติ พัฒนาครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธ์ 1. วางแผนการผลิต และพัฒนาครู คณาจารย์ อย่างเป็นระบบให้สอดคล้องกับความต้องการ ในการจดั การศึกษาทุกระดบั /ประเภทการศกึ ษา 2. ปรับระบบการผลิตครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มีประสิทธิภาพ 3. เร่งรัดพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา รวมทั้งครูประจำการที่สอนไม่ตรงวุฒิ ครูที่สอนคละชั้น และครใู นสาขาวิชาทข่ี าดแคลน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และการเรียนรู้ อย่างต่อเนอื่ งตลอดชวี ิต กลยุทธ์ 1. ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่ผู้เรียนในทุก พื้นท่ี ครอบคลุมถงึ คนพิการ ผดู้ ้อยโอกาส และผมู้ คี วามต้องการพเิ ศษ 2. ส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบ และการเข้าถึงแหล่งเรยี นรูท้ ี่สอดคล้องกับความสนใจ และวิถีชีวติ ของผเู้ รยี นทกุ กลุม่ เปา้ หมาย 3. เร่งสร้างความเข้มแข็งของระบบการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ให้เกิดผล เป็นรูปธรรมอย่างกว้างขวาง 4. จัดหาทนุ และแหลง่ ทุนทางการศึกษา 5. เร่งพัฒนาแหล่งเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มคี วามหลากหลาย และสามารถให้บริการได้อย่างทัว่ ถึง รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
~ 16 ~ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 สง่ เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่อื การศึกษา กลยทุ ธ์ 1. พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา และการบริหาร จดั การทีท่ ันสมยั และไม่ซำ้ ซอ้ น ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารสามารถเขา้ ถงึ ได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 2. พัฒนากระบวนการจัดทำระบบฐานข้อมูลกลางทางการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา ให้เปน็ เอกภาพ เปน็ ปจั จบุ ัน และมีมาตรฐานเดยี วกัน 3. ส่งเสรมิ และพัฒนาโปรแกรมประยุกต์หรือคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน (CAI) ใหผ้ ู้เรยี น สถานศึกษา และหน่วยงานทางการศึกษาทกุ ระดับ/ประเภทการศึกษา นำมาใช้เพมิ่ คุณภาพการเรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ 4. จัดหาอุปกรณ์ /ทรัพยากรพ้นื ฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับผู้เรียนอย่างเพยี งพอ ทั่วถึง และเหมาะสมกับการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษา กลยทุ ธ์ 1. ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และเป็นไปตาม หลกั ธรรมาภบิ าล โดยเน้นดา้ นคณุ ธรรมความโปร่งใส และการมีสว่ นรว่ ม 2. ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาตอบสนองการสร้างอาชพี และเพ่ิมคณุ ภาพชีวิต 3. เร่งส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมรับผิดรับชอบในการจัดการศึกษารวมทั้งสนับสนุน ทรัพยากรเพ่อื การศึกษา 4. เสริมสร้างภาพลักษณ์หน่วยงานให้เกิดความร่วมมือ และสร้างเครือข่าย/ความเป็นภาคี หนุ้ ส่วนกบั องคก์ รทง้ั ภายในและต่างประเทศ 4) แผนพฒั นาการศกึ ษาจังหวดั ระยอง วสิ ยั ทัศน์ คณุ ธรรมนำสังคมแห่งการเรยี นรู้ สคู่ ณุ ภาพผเู้ รยี นและชวี ติ อยา่ งสมดลุ รกั ษ์ระยอง บนวถิ ปี ระชาคมโลก พนั ธกิจ 1. จัดการศึกษาที่บูรณาการเรื่องคุณธรรม จริยธรรมไว้ในหลักสูตรและกระบวนการจัดการ เรียนรู้ ใชเ้ ทคโนโลยีเพอื่ การเรียนการสอนอยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. จดั การศกึ ษาใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณภาพ เป็นไปตามมาตรฐาน ตัวชวี้ ัด ในหลักสตู รทกุ ระดบั 3. จัดการศกึ ษามุง่ ให้ผูเ้ รียนมีองคค์ วามรู้ และทกั ษะชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. จัดการศึกษาโดยคำนึงถึงความเป็นระยอง เช่น ภาษาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ แหล่งเรียนรู้ และส่งิ แวดล้อม 5. จัดการศึกษาโดยการส่งเสริมให้รู้ เข้าใจ และสื่อสารภาษา รวมถึงแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ระเบยี บกฎหมายที่ควรรู้ สังคมเศรษฐกิจของประเทศตา่ งๆ ในโลกท่คี วรรู้ 6. จัดการศึกษาเพ่อื รองรับการพัฒนาระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
~ 17 ~ เปา้ ประสงค์ ผู้เรียนมีคุณภาพ มีคุณธรรม รักและภูมิใจในความเป็นระยอง สามารถดำรงชีวิตอยู่ใน สังคม โลกอย่างมคี วามสุข เป้าประสงคก์ ารศกึ ษาการจัดศกึ ษาแต่ละระดับ ระดับปฐมวยั : รักระยอง มองประชาคมโลก ระดบั ประถมศึกษา : ภูมิใจในความเปน็ ระยอง รู้จกั ประชาคมโลก ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ : รักษ์ระยอง อยู่รว่ มกบั ประชาคมโลก ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อาชวี ศกึ ษา และระดบั อุดมศึกษา : พฒั นาระยองสูค่ วามย่ังยืน บนพ้นื ฐานความเป็นประชาคมโลก ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจดั การศึกษาเพ่อื ความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์: ผู้เรียนมีจิตสำนึก ความรู้ความสามารถ ทักษะ ความคิด ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรมที่เหมาะสม รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกศตวรรษที่ 21 สามารถดำรงชีวิตอย่ใู นสงั คมไดอ้ ย่างสนั ตแิ ละสงบสขุ กลยทุ ธ์ 1. เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข 2. เสริมสร้างความมั่นคงของสังคมไทย ให้เป็นสังคมแห่งคุณธรรม จริยธรรมปลอดภัย และ สมานฉันท์ 3. ส่งเสริมความเป็นพลเมือง (Civic Education) ในสังคมไทย รวมทั้งการยอมรับและ เหน็ คณุ คา่ ของการอยูร่ ว่ มกนั ในสังคมพหวุ ฒั นธรรม 4. เสรมิ สร้างความมัน่ คงในชีวติ ของคนทุกชว่ งวยั จากภยั คุกคามในรปู แบบใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลติ และพัฒนากำลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรรม เพ่ือสร้างขดี ความสามารถ ในการแขง่ ขันของประเทศ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์: ผู้เรียนมีสมรรถนะตอบสนองต่อความต้องการของตลาดงานและการ พัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รองรับพลวตั ของโลกและการแข่งขนั ในศตวรรษที่ 21 กลยุทธ์ 1. ส่งเสริม สนับสนุน การผลิตและพัฒนากำลังคนที่มีสมรรถนะ ทักษะ และคุณลักษณะ ท่สี ำคญั จำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 และตรงกบั ความตอ้ งการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ 2. ยกระดับคุณวุฒิการศึกษาและวิชาชีพของประชากรในวัยเรียนและวัยทำงานและ เพม่ิ ผลิตภาพของกำลงั แรงงาน 3. พัฒนาฝีมือแรงงานระดับสูงและผู้มีความสามารถพิเศษหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ในภาคการศกึ ษา การวิจยั การผลิตและการพัฒนาในกลุ่มอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย 4. ปรบั ทิศทางการผลิตผูส้ ำเร็จการศึกษาและบัณฑิตทมี่ ุ่งเน้นคณุ ภาพมากกวา่ ปริมาณ 5. สง่ เสรมิ การใช้ประโยชนจ์ ากการวิจัยในการพัฒนาคน เพื่อเพิม่ ผลผลิต มูลค่าทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาประเทศ รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
~ 18 ~ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวัยและการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์: ผู้เรียนมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานตัวชี้วัด ในหลักสูตรทุกระดับ และ ครผู ู้สอนในทุกระดบั และประเภทการศกึ ษามคี วามรู้ตามมาตรฐานวชิ าชพี กลยุทธ์ 1. ยกระดบั คุณภาพการศึกษาและมาตรฐานผู้เรยี น 2. พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระ ทง้ั หลักวชิ าการ คุณธรรม จริยธรรม และบรบิ ทเชงิ พน้ื ท่ี 3. ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และ การรู้เท่าทันสือ่ ปัจจบุ ัน 4. ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาโดยคำนงึ ถึงความเปน็ ระยอง 5. พัฒนาคุณภาพผู้บริหาร คณาจารย์ ครูและบุคลากรทางการศึกษาตรงตามความต้องการ และจดั สรร/เกลยี่ อัตรากำลังให้เพียงพอตามเกณฑ์ 6. สร้างขวัญกำลงั ใจในการปฏบิ ัติงานใหก้ ับผบู้ ริหาร คณาจารย์ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 7. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ อย่างเหมาะสม เตม็ ตามศกั ยภาพในแต่ละชว่ งวัย ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาคและความเทา่ เทยี มทางการศึกษา เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์: ผู้เรียนมีโอกาสและความเสมอภาคในการรับบริการการศึกษาและ เรียนรทู้ ม่ี ีคณุ ภาพตลอดชีวิต กลยทุ ธ์ 1. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้ครอบคลมุ ทว่ั ถงึ กลุ่มประชากรวยั เรยี นทกุ ประเภท 2. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะผู้สำเร็จการศึกษาให้ตรงกับความต้องการของ ตลาดแรงงาน 3. สนับสนนุ การจดั ทำหลักสูตรที่เหมาะสมในเชิงพื้นท่ี และความต้องการของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสยี 4. ส่งเสริม สนับสนุนให้มีระบบสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน เพือ่ การวางแผน การบรหิ ารจัดการศึกษา การติดตามและประเมินผล ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การจดั การศึกษาเพอื่ สรา้ งเสริมคุณภาพชวี ติ ที่เป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อม เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ : ผู้เรียนทุกช่วงวัยมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบในการกระทำ มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและนอ้ มนำแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ัติในการดำเนนิ ชวี ติ กลยทุ ธ์ 1. สร้างจิตสำนึก ปลูกฝังทัศนคติค่านิยม วัฒนธรรมของคนทุกช่วงวัยในการดำเนินชีวิต ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม 2. สร้างและปรับเปลี่ยนค่านิยมของคนไทยทุกช่วงวัยให้มีคุณธรรม จริยธรรมเห็นคุณค่าของ การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสามารถดำรงชีวิตอย่างเป็นสุขตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. สนบั สนุนการจัดการศึกษาเพอื่ การประกอบอาชพี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 19 ~ 4. สง่ เสรมิ การวจิ ัยและพัฒนาองค์ความรู้ทีเ่ ก่ียวข้องกบั เรื่องการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็น มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม 5. สรา้ งความตระหนัก และสร้างเสรมิ ศักยภาพใหป้ ระชาชน ในการนำองค์ความรูไ้ ปใชจ้ ดั การ ในเร่อื งภยั ธรรมชาตคิ วามมัน่ คงทางอาหาร พลังงาน และการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์: หน่วยงานทางการศึกษา มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล กลยุทธ์ 1. ส่งเสริม สนับสนุนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และสร้าง ความเข้มแขง็ ของเครือขา่ ยการจัดการศึกษา 2. เพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการศึกษาเพื่อการอยู่ร่วมกันในกลุ่มประเทศอาเซียนและ ประชาคมโลก 3. ส่งเสริม สนบั สนนุ การใชท้ รพั ยากรรว่ มกันใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การบรหิ ารจดั การ 4. สง่ เสริม สนับสนนุ การวิจยั เพอื่ การศึกษา 5. ส่งเสริม พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาและการส่งเสริมประสิทธิภาพการ ดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาและสถาบันการศกึ ษา 5) ทิศทางการพฒั นาการจัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 วสิ ยั ทศั น์ มุง่ ส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสงั กัด ใหไ้ ด้มาตรฐานและมี คุณภาพระดบั สากลบนพืน้ ฐานของความเปน็ ไทย คา่ นยิ มองค์กร “ ซ่ือสตั ย์ พร้อมบริการ สุภาพ มคี ุณธรรม ” ตัวย่อ “ISPM” (Integrity Service mind Polite Morality) พนั ธกจิ 1. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลัก ของชาติและการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 2. ส่งเสริมสนับสนุนการดูแลความปลอดภัยจากภัยพิบัติ ภัยคุกคามทุกรูปแบบให้กับผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมท่ีเออ้ื ตอ่ การมีสุขภาวะท่ดี ี สามารถปรบั ตัวตอ่ โรค อบุ ตั ใิ หมแ่ ละโรคอุบัติซ้ำ 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและมี คณุ ภาพตามมาตรฐานในระดับชาติและระดบั สากล 4. ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพสอดคล้องกับ พนื้ ท่เี ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (Eastern Economic Corridor : EEC ) 5. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีคณุ ภาพและมสี มรรถนะตรงตามสายงาน 6. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศกึ ษา เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 20 ~ 7. พฒั นาระบบบริหารจดั การของสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง เน้น การมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาของทุกภาคสว่ น เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 2. ผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา มีความปลอดภัยจากภัยพิบัติ ภัยคกุ คามทกุ รูปแบบ และมสี ุขภาวะที่ดีสามารถปรับตัวตอ่ โรคอบุ ัติใหมแ่ ละโรคอุบตั ซิ ้ำ 3. ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง เสมอภาคและมีคุณภาพ ตามมาตรฐานในระดับชาตแิ ละระดบั สากล มที ักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 และมีความเป็นเลิศทางวิชาการ 4. ผู้เรียนมีทักษะด้านภาษา มีทักษะการใช้เทคโนโลยี และมีความรู้ด้านอุตสาหกรรมใหม่ สามารถสรา้ งนวัตกรรมและมคี ุณภาพชีวิตท่ดี ี 5. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหาร มีสมรรถนะและทักษะตรงตามสายงานรวมถึง มีวัฒนธรรมการทำงานท่มี งุ่ ผลสัมฤทธ์ิ 6. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม 7. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง และสถานศึกษาในสังกัด มีระบบ บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาและสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี ให้กับหน่วยงานอ่ืน นโยบาย นโยบายท่ี 1 ด้านความปลอดภัย นโยบายที่ 2 ดา้ นโอกาส นโยบายที่ 3 ด้านคุณภาพ นโยบายท่ี 4 ด้านประสทิ ธภิ าพ กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ท่ี 1 การจัดการศึกษาเพ่ือความมัน่ คง กลยทุ ธิ์ท่ี 2 การส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะทางการศึกษาของผู้เรียน เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขนั ระดบั นานาชาตแิ ละเทียบเคยี งส่มู าตรฐานสากล กลยทุ ธ์ท่ี 3 การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธท์ ่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และการเข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่าง ท่ัวถึงและมคี ณุ ภาพ กลยทุ ธท์ ี่ 5 การจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวติ ท่ีเปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ 6 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัด การศกึ ษา รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ส่วนที่ 3 ผลการดำเนนิ งานปีงบประมาณ พ.ศ.2564 รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 21 ~ ผลการดำเนนิ งานปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กลยุทธ์ที่ 1 การจดั การศกึ ษาเพ่อื ความมนั่ คง - โครงการเสริมสร้างมาตรการความปลอดภัยในสถานศึกษาอย่างรอบด้าน ตามมาตรการโรงเรียน ปลอดภยั (Safety School) ภายใต้ “ระบบดี มภี ูมคิ ้มุ กัน ทนั เวลา” - โครงการพัฒนาต่อยอดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ “เยาวชนทำดีถวายในหลวง” ของ โรงเรยี น สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง - โครงการคา่ ยเสริมสร้างทกั ษะชีวติ เด็กไทย “ปลกุ พลงั KID พชิ ิตปญั หา 2” - โครงการงานชุมนุมสุดยอดลูกเสือ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ครั้งที่ 5 และฝกึ ทักษะลกู เสือแกนนำตา้ นภัยยาเสพตดิ ประจำปี 2564 - โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง กลยทุ ธ์ที่ 2 การส่งเสริมและพฒั นาสมรรถนะทางการศึกษาของผเู้ รียน เพ่อื เพมิ่ ขีดความสามารถ ในการแขง่ ขนั ระดบั นานาชาตแิ ละเทียบเคยี งสูม่ าตรฐานสากล - โครงการการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษของภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC ) - โครงการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของครูและผู้บริหารสถานศึกษาสู่การเป็น พลเมืองในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (English for developing teachers and directors for EEC) - โครงการนเิ ทศ ตดิ ตามโรงเรียนในโครงการคอนเนก็ ซ์อดี ี ประจำปงี บประมาณ 2564 - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาครูผู้สอนเพิ่มศักยภาพการอ่านขั้นสูงให้นักเรียนตามแนว ทางการประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (PISA) และการเข้าใช้งานระบบ PISA Style Online Testing - โครงการขับเคลื่อนการสร้างหรือพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมสื่อนวัตกรรมที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรม เป้าหมายของเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) กลยุทธท์ ี่ 3 การส่งเสริมและสนบั สนนุ การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา - โครงการพัฒนาและส่งเสริมการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยใหน้ ักเรยี นอา่ นออกเขียนได้อย่าง มปี ระสิทธิภาพ ตามนโยบายเดนิ หน้าและพฒั นาการอา่ นออกเขียนได้ ปี 2564 - โครงการเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรยี นการสอนภาษาไทยดว้ ยแนวคิดการสอนฐานสมรรถนะ - โครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ “รู้ทันสื่อ ก้าวทันเทคโนโลยี สู่ความเป็น พลเมืองดจิ ทิ ลั ” - โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั ชาตแิ ละระดบั นานาชาติ (O-NET, PISA) - โครงการขบั เคลื่อนปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่สถานศึกษา - โครงการส่งเสริมพัฒนาระบบประกันและประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาแนวใหม่ โดย ต้นสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
~ 22 ~ - โครงการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา - โครงการนิเทศพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง - โครงการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง - โครงการการจัดการความรู้เพื่อขับเคลื่อนสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง - โครงการการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเรียนรวมด้านการคัดกรองคนพิการทางการศึกษาและ ด้านการจัดทำแผนจัดการเรียนรู้เฉพาะบุคคล (Inclusive Education) ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง - โครงการการให้คำปรกึ ษาและการจดั การเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ - โครงการสง่ เสรมิ การทำวิจัยเชิงพนื้ ที่เพ่ือการจัดทำนโยบายการจดั การเรยี นรูว้ ิถใี หม่ กลยุทธท์ ่ี 4 การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและการเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งท่วั ถงึ และมคี ณุ ภาพ - โครงการส่งเสริมพฒั นาระบบการดูแลช่วยเหลือและคุม้ ครองนักเรยี น ประจำปี 2564 - โครงการพฒั นาศกั ยภาพผู้ปฏิบตั ิงานการแกไ้ ขปญั หาเดก็ ออกกลางคัน ปีการศกึ ษา 2564 - โครงการส่งเสริมนักเรียนผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และบำเพ็ญประโยชน์เข้าศึกษาต่อใน สถาบนั อุดมศึกษา(โครงการเดก็ ดีมที ี่เรียน) หน่วยประสานงานภาคตะวันออก ประจำปีงบประมาณ 2564 - โครงการสนับสนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษาตั้งแตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กลยทุ ธท์ ี่ 5 การจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชีวติ ท่เี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม - โครงการประชมุ จัดงานวิจัยในประเดน็ ของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม ประจำปี งบประมาณ 2564 สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง กลยุทธท์ ี่ 6 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การและส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา - โครงการจัดตั้งงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและ สง่ิ ก่อสรา้ ง - โครงการประชมุ ทบทวนแผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ระยะ 3 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 – 2566 และการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง - โครงการนิเทศ กำกับ ติดตามโครงการโรงเรียนสุจริตของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ชลบุรี ระยอง - กิจกรรม 5 ส. “Big Cleaning Day” - โครงการพฒั นาศกั ยภาพรองผู้อำนวยการสถานศึกษาใหม้ ีสัมฤทธ์ิผลการปฏิบัตงิ านตามกรอบภารกิจ ของสถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปีงบประมาณ 2564 รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
~ 23 ~ - โครงการประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาที่บรรจุและแต่งตั้ง ใหม่ สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ในระยะเวลา 1 ปี - โครงการการตรวจและประเมินผลงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ขอรับการ ประเมนิ เพือ่ เลือ่ นเปน็ วทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 - โครงการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีองค์ความรู้และเสริมสร้างเครือข่ายการบริหารจัดการ แหล่งเรียนร้ปู ระวตั ิศาสตรแ์ ละจัดการศึกษาในสงั คมพหวุ ัฒนธรรรม - การนิเทศพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นในสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง - ครคู รบวงจร - ครคู ลังสมอง - ครูผทู้ รงคุณค่าแห่งแผ่นดิน รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 24 ลำดบั ชอื่ โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย เป้าหมาย ผลการดำเนนิ งาน ที่ เชิงผลผลิต เชงิ ผลลัพธ์ กลยทุ ธท์ ่ี 1 การจดั การศึกษาเพอ่ื ความม่นั คง 1. โครงการเสริมสร้าง 1) นักเรียนใน 1) นักเรยี นมี 1) สถานศกึ ษาในสงั กัด มาตรการความ โรงเรียนสงั กดั ความสุขและมี สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษ ปลอดภัยในสถานศึกษา สำนกั งานเขต ความปลอดภัย มัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง อยา่ งรอบดา้ น ตาม พื้นทีก่ ารศกึ ษา ทง้ั ภายในและ แนวทางในการดำเนินงานต มาตรการโรงเรยี น มธั ยมศึกษา ภายนอก มาตรการโรงเรยี นปลอดภัย ปลอดภยั (Safety ชลบุรี ระยอง สถานศึกษา มี (Safety School) ภายใต้ School) ภายใต้ จำนวน 830 คน ความพรอ้ ม “ระบบดี มีภูมคิ ้มุ กัน “ระบบดี มีภูมิคุม้ กัน 2) ผบู้ ริหาร/ สำหรบั การ ทนั เวลา” ท่ีครอบคลุม ทันเวลา” ครูในโรงเรยี น เรยี นรู้ สง่ ผลต่อ ทุกด้าน ท้ังดา้ นอบุ ตั ิเหตุ สงั กดั สำนกั งาน การพัฒนา ดา้ นอบุ ตั ภิ ยั และด้านปัญ เขตพื้นที่ ผลสัมฤทธท์ิ ่ดี ขี น้ึ ทางสงั คม เพอื่ ปกป้องและ การศกึ ษา 2) ผู้บรหิ าร ครู คุ้มครองความปลอดภัยให้ก มธั ยมศึกษา และบุคลากร ผบู้ ริหาร ครู บุคลากรทางก ชลบุรี ระยอง ทางการศึกษามี ศึกษา และนกั เรยี นใน จำนวน 730 คน ความตระหนัก โรงเรยี น และมคี วาม -2) ผู้บรหิ าร ครู บุคลากร เข้มแข็งในการ ทางการศึกษา และนักเรียน ดำเนนิ งาน ได้รบั การปกป้องและคุม้ คร มาตรการ ความปลอดภยั อย่างรอบด โรงเรยี น ท้งั ภายในและภายนอก ปลอดภัย สถานศึกษา จะสง่ ผลกระท (Safety School) โดยตรงตอ่ คุณภาพการเรีย รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการปร
~ งบประมาณ งบประมาณ งบ ปัญหา/อปุ สรรค สพม.ชบรย ส่วนอืน่ ๆ ที่ใช้ไป ประมาณ คงเหลอื 309,800 - 42,535 267,265 เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ ษา ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั มี โคโรนา 2019 การพัฒนาตาม ตาม โครงการยังไมส่ ามารถ ย ดำเนนิ การให้ครอบคลมุ ทกุ กิจกรรม แต่โรงเรยี นสามารถ ญหา ขบั เคล่ือนงานไดต้ าม ะ ศักยภาพที่ไดร้ บั การพัฒนา กบั โดยเฉพาะทักษะในการ การ ปอ้ งกันภัย 6 ดา้ น คือ 1) ภัยจากยาเสพติด น 2) ภยั จากความรนุ แรง รอง 3) ภยั คกุ คามในโลกไซเบอร์ ดา้ น 4) ภยั จาก COVIE-19 5) ภัยจากฝุ่นละออง PM 2.5 ทบ 6) ภัยจากการค้ามนุษย์ ยน เพ่ือให้ครทู ่ไี ด้รบั การพัฒนา ไปปรบั ใชก้ บั นักเรียนใน สถานศึกษาของตนเอง นอกจากน้ี ยงั มีสถานศึกษา จำนวน 18 แห่ง สามารถจัด สภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี นให้ ระจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 25 ลำดับ ชื่อโครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย เป้าหมาย ผลการดำเนนิ งาน ที่ เชงิ ผลผลิต เชงิ ผลลัพธ์ การสอน การพฒั นา สามารถปอ้ งกัน ผลสมั ฤทธิ์ และคณุ ภาพกา และแก้ปัญหา เรียนรขู้ องผู้เรียน สามารถ ของนักเรียนท้ัง ปรับตวั ให้ทันกับการ ด้านอบุ ัตเิ หตุ เปล่ยี นแปลงของสงั คมและ อุบัตภิ ยั และ สภาพแวดลอ้ ม ร้จู กั หลกี เล ปญั หาทางสงั คม พฤตกิ รรมทไี่ มพ่ งึ ประสงคท์ ทีเ่ กิดขึ้นกับ จะสง่ ผลกระทบต่อตนเองแ นกั เรียนได้อยา่ ง ผู้อนื่ ร้จู กั ป้องกันตนเองใน มปี ระสิทธิภาพ ภาวะคบั ขนั และจดั การกับ ชีวิตไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 2) สถานศกึ ษามีระบบและ กลไกในการให้ความช่วยเห กลุ่มเปา้ หมาย โดยพัฒนา ระบบและกลไกในการให้ ความชว่ ยเหลือกลุม่ เปา้ หม ทต่ี อ้ งการความช่วยเหลือเป พิเศษ เพื่อให้สามารถใหค้ ว ช่วยเหลอื กับกลมุ่ เปา้ หมาย หลากหลายและครอบคลมุ ครบกล่มุ อาทิ ทั้งเด็ก สตร ผู้สงู อายุ ผมู้ คี วามบกพร่อง ทางร่างกาย เหยื่อของความ รุนแรง ต่างๆ และการคา้ รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการปร
~ งบประมาณ งบประมาณ งบ ปญั หา/อุปสรรค สพม.ชบรย สว่ นอนื่ ๆ ที่ใช้ไป ประมาณ คงเหลือ เอ้อื ต่อการเรียนการสอน และ าร ดำเนนิ การตามมาตรการ ถ โรงเรยี นสเี ขยี ว/โรงเรยี น สิ่งแวดล้อม/โรงเรยี นปลอด ะ ขยะได้ตามเกณฑ์ ลีย่ ง ที่ และ น บ พ ะ หลือ มาย ป็น วาม ยที่ ม รี ง าม ระจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 26 ลำดับ ชือ่ โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ที่ เชิงผลผลิต เชงิ ผลลพั ธ์ มนษุ ย์ แรงงานในภาคการ ผลติ ทม่ี คี วามเส่ยี ง ผูต้ ิดเช้ือ และบคุ คลทต่ี ้องการการดแู เปน็ พเิ ศษ 2. การพัฒนาตอ่ ยอด ผู้บรหิ าร 1) ผูบ้ รหิ ารและ การพัฒนาต่อยอดโครงงาน โครงงานคณุ ธรรมเฉลิม สถานศึกษาและ ครูในโรงเรยี น มี คณุ ธรรมเฉลมิ พระเกียรติ พระเกียรติ “เยาวชน ครูในสังกัด ความรู้และทักษะ “เยาวชนไทยทำดีถวาย ทำดีถวายในหลวง” 1) มคี วามรู้ความ การนำโครงการ ในหลวง” ของโรงเรียน ของโรงเรียน สำนกั งาน เขา้ ใจการ คุณธรรมเฉลมิ สง่ ผลให้ สำนกั งานเขตพืน้ ที่ ดำเนินงาน พระเกยี รตฯิ 1) โรงเรียนในสังกดั จัดการ การศกึ ษามัธยมศึกษา โครงการ จดั การเรยี นการ เรียนการสอน แบบการปฏ ชลบุรี ระยอง คุณธรรมเฉลิม สอนไปประยุกต์ การศึกษาเพ่อื ส่งเสรมิ ให้มกี พระเกยี รตฯิ ในการจดั กจิ กรรม ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม สามารถนำไป การเรียนการ คา่ นิยม และการเสริมสรา้ ง ประยกุ ตใ์ ชใ้ น สอนเพ่ือพัฒนา สาธารณะ และการเป็น กิจกรรมการ คณุ ลกั ษณะของ พลเมืองที่ดี แก่ผเู้ รียน และ เรยี นการสอน ผเู้ รยี น บุคลากรท่ีเกย่ี วขอ้ งสง่ ผลให เพื่อพัฒนา 2) ทุกโรงเรยี นมี นกั เรยี นมีคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ขี คุณลกั ษณะของ รูปแบบขั้นตอน 2) นักเรียนในโรงเรียนมี ผเู้ รียน การดำเนนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค 2) สามารถนำ โครงการ ตามเกณฑ์การประเมิน มีค โครงการ คุณธรรมเฉลิม ลกั ษณข์ องคนไทยท่สี มบรู ณ คุณธรรมเฉลมิ พระเกยี รติฯ เป็นมนษุ ยท์ ี่สมบูรณ์ มีควา พระเกยี รตฯิ ไป ท่ีถกู ตอ้ ง พรอ้ มในทุกมิตติ ามมาตรฐ รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารปร
~ งบประมาณ งบประมาณ งบ ปญั หา/อุปสรรค สพม.ชบรย ส่วนอืน่ ๆ ท่ใี ชไ้ ป ประมาณ คงเหลือ อ แล น สพฐ. เนื่องจากสถานการณ์แพร่ - 15,000 3,900 11,100 ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 จึงทำให้ไม่ สามารถการดำเนินโครงการ ได้อยา่ งครบถ้วน โดยเฉพาะ ร การนิเทศติดตามการ ฏิรูป ดำเนนิ งานในโรงเรียน การ ม งจติ ะ ให้ ขนึ้ ค์ คุณ ณ์ าม ฐาน ระจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 27 ลำดบั ช่ือโครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน ท่ี เชงิ ผลผลิต เชงิ ผลลัพธ์ ประยุกตใ์ นการ และสมดุลท้ังด้านสติปญั ญ จดั กิจกรรมการ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีจติ เรยี นการสอน วญิ ญาณที่ดี เข้าใจในการ เพือ่ พัฒนา ปฏบิ ตั ติ นปรบั ตวั เข้ากับ คณุ ลักษณะของ สภาพแวดลอ้ มดขี ้ึน ผู้เรียนตอ่ ไป 3. โครงการค่ายเสรมิ สรา้ ง 1) ครู ครทู ผ่ี า่ นการ ครทู ผี่ า่ นการอบรมมีความร ทักษะชีวติ เดก็ ไทย ผูร้ บั ผิดชอบงาน อบรมมีความรู้ และทกั ษะในการจดั กิจกรร “ปลุกพลงั Kid พิชิต ระบบการดแู ล ความเข้าใจ และ เสรมิ สรา้ งทักษะชวี ิตให้กับ ปญั หา 2” ชว่ ยเหลอื แนวทางในการ นักเรียนผา่ นกิจกรรม จำน นกั เรียน/งานการ จดั ค่ายเสรมิ สรา้ ง 10 กิจกรรม ดงั นี้ เสรมิ สรา้ งทกั ษะ ทักษะชีวิตที่ 1) กิจกรรมเชิงบวก ชวี ติ นกั เรียน สอดคล้องกบั 2) กจิ กรรมรูจ้ ัก ร้จู ริง จำนวน 51 หลกั สตู ร 3) กิจกรรมวาดภาพเป้าหม โรงเรียน ๆ ละ 2 แกนกลาง 4) กิจกรรมโครงสรา้ งชีวิต คน รวม 102 คน การศึกษา 5) กจิ กรรม point C 2) วิทยากร/ ขน้ั พ้ืนฐาน 6) กิจกรรมวนิ ัย 100% เจ้าหน้าที่ พทุ ธศักราช 7) กจิ กรรม 4R พาเพลนิ ผ้เู ก่ียวขอ้ ง 2551 8) กิจกรรมการสือ่ สารสู่ จำนวน 15 คน ความสำเรจ็ 9) กิจกรรมการเขียนมีพลงั มากกวา่ ทค่ี ดิ 10) กิจกรรม Kahoot รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการปร
~ งบประมาณ งบประมาณ งบ ปัญหา/อปุ สรรค สพม.ชบรย ส่วนอ่นื ๆ ทใ่ี ชไ้ ป ประมาณ คงเหลอื ญา รู้ สพฐ. - รม - 22,250 20,970 1,280 บ นวน มาย ง ระจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
~ 28 ลำดับ ช่ือโครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน ท่ี เชิงผลผลติ เชงิ ผลลพั ธ์ 4. งานชุมนุมสุดยอด 1) ผูก้ ำกับลกู เสอื ลูกเสอื /เนตรนารี ผู้เข้ารว่ มงานชุมนุมสดุ ยอด ลกู เสอื สำนักงานเขต ตา้ นภัยยาเสพตดิ ท่ผี ่านการอบรม ลกู เสือ สำนักงานเขตพืน้ ท พื้นท่กี ารศกึ ษา จำนวน 51 ตามหลกั สตู ร มี การศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบ มธั ยมศกึ ษาชลบุรี โรงเรียน ๆ ละ 1 ความรู้ ระยอง ครงั้ ที่ 5 และฝกึ ทัก ระยอง ครงั้ ที่ 5 และฝกึ คนรวม 51 คน ความสามารถใน ลูกเสือแกนนำตา้ นภยั ยาเส ทกั ษะลูกเสือแกนนำ 2) ลูกเสือ/เนตร การป้องกันและ ติด ประจำปี 2564 ผ่าน ตา้ นภัยยาเสพติด นารีแกนนำ แกไ้ ขปัญหายา ระบบออนไลน์ในครั้งน้ี ได้ ประจำปี 2564 จำนวน 51 เสพตดิ และ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และได้ร โรงเรียน ๆ ละ จดั ตัง้ หนว่ ย องค์ความรู้เก่ยี วกับการ 10 คน รวม ลกู เสือตา้ นภยั ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หายา 510 คน ยาเสพติดใน เสพติดในสถานศึกษา 3) วิทยากร/ สถานศึกษา ตลอดจนมีความตระหนักถ เจ้าหนา้ ที่ ได้อย่างมี ภาระหน้าทก่ี ารเป็นแนวรว่ ผเู้ ก่ียวขอ้ ง ประสทิ ธิภาพ ในการป้องกันและแกไ้ ข จำนวน 27 คน ปญั หายาเสพติดใน สถานศึกษาผา่ นกระบวน การลกู เสือ ภายใต้ “หนว่ ย ลกู เสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ ” สำหรบั การอบรมในปี 256 ทุกโรงเรียนจะได้รับชดุ ธง ลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพติด ลกู เสอื /เนตรนารที ี่อบรมผ เกณฑ์ทกุ คนจะไดร้ ับแบดจ เครอ่ื งหมายลูกเสอื ต้านภยั รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการปร
~ งบประมาณ งบประมาณ งบ ปญั หา/อปุ สรรค สพม.ชบรย สว่ นอืน่ ๆ ที่ใชไ้ ป ประมาณ คงเหลอื ด สพฐ. - ที่ - 213,090 212,790 300 บุรี กษะ สพ รับ า ถึง วม ย 64 ผ่าน จ์ ย ระจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 29 ลำดับ ชือ่ โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน ที่ เชงิ ผลผลิต เชงิ ผลลัพธ์ ยาเสพตดิ และผ้กู ำกับลกู เส ทีเ่ ขา้ รับการอบรมจะไดร้ ับ เขม็ ผู้กำกบั ลกู เสือตา้ นภยั ยาเสพติด 5. เสรมิ สร้างคุณธรรม ผู้บริหาร สำนักงานเขต สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษ จรยิ ธรรม และ การศกึ ษา พื้นท่ีการศึกษา มธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง ธรรมาภบิ าลในสถาน ขา้ ราชการครู มธั ยมศกึ ษา ไดจ้ ัดทำโครงการเสริมสรา้ ง ศึกษาและสำนักงาน และบคุ ลากร ชลบุรี ระยอง คุณธรรม จรยิ ธรรมและ เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา ทางการศกึ ษา ในการประเมิน ธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา มัธยมศึกษาชลบรุ ี พนักงานราชการ คณุ ธรรมและ และสำนักงานเขตพ้ืนทศ่ี กึ ระยอง และลกู จ้าง ของ ความโปรง่ ใส ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. สำนักงานเขต ในการดำเนนิ งาน 2564 โดยมกี ิจกรรม ดังน้ี พน้ื ที่การศึกษา (Integrity and 1) กจิ กรรมการประชมุ อบ มธั ยมศกึ ษา Transparency เชงิ ปฏิบัตกิ าร ฯ เนอื่ งจาก ชลบรุ ี ระยอง Assessment: สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด จำนวน 69 คน มี ITA) มกี าร ของโรคติดต่อเช้ือไวรัส ฐานความคดิ ใน ปรบั ปรงุ หรือ โคโรนา 2019 จึงทำการ การแยกแยะ พฒั นาในเรอ่ื ง ปรับเปลย่ี นกิจกรรม โดยก ระหว่าง คณุ ธรรม และ จดั ทำค่มู อื การป้องกันการ ผลประโยชน์ส่วน ความโปร่งใส กระทำความผดิ เกี่ยวกบั กา ตนกบั ผลประโยชน์ ในการดำเนินงาน ขดั กันระหว่างผลประโยชน สว่ นรวม ยดึ หลกั ธรรมา ส่วนบุคคลกับผลประโยชน ภิบาลในการ สว่ นรวม ตามพระราชบัญญ บรหิ ารงาน ประกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วย รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารปร
~ งบประมาณ งบประมาณ งบ ปญั หา/อปุ สรรค สพม.ชบรย ส่วนอื่น ๆ ทใ่ี ช้ไป ประมาณ คงเหลอื สือ บ ษา สพฐ. - - 200,000 36,000 164,000 าง า กษา บรม ก ด การ าร น์ น์ ญตั ิ ย ระจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 30 ลำดับ ช่อื โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ที่ เชงิ ผลผลติ เชิงผลลัพธ์ การป้องกันและปราบปราม อกี ทั้งมกี าร การทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑ ยกระดบั ความ เผยแพร่ทางเว็บไซต์สำนกั ง โปรง่ ใสในการ เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยม ดำเนินงานอย่าง ศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง ตอ่ เนอื่ ง 2) กจิ กรรมสรา้ งจิตสำนึก สาธารณะ ฯ ดำเนนิ การตา กจิ กรรมเสริมสร้างทัศนคต พัฒนาจติ อาสาแกบ่ ุคลากร ของสำนักงานเขตพนื้ ท่ี การศึกษามัธยมศึกษา มธั ยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง ณ สำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศกึ ษาชลบ ระยอง โดยมีผอู้ ำนวยการ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษ มัธยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง รองผ้อู ำนวยการสำนกั งาน พื้นท่ีการศกึ ษา ข้าราชการ และบคุ ลากรในสงั กัด เข้าร กิจกรรม ฯ ซง่ึ เป็นไปตาม เป้าหมายและวตั ถุประสงค ของกิจกรรมประโยชน์ทีไ่ ด ทำให้ข้าราชการและบคุ ลา รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั กิ ารปร
~ งบประมาณ งบประมาณ งบ ปัญหา/อุปสรรค สพม.ชบรย ส่วนอ่นื ๆ ทีใ่ ชไ้ ป ประมาณ คงเหลอื ม งาน าม ติ ร บรุ ี ษา นเขต ร ร่วม ค์ ดร้ บั ากร ระจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
~ 31 ลำดบั ช่อื โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน ที่ เชิงผลผลติ เชิงผลลัพธ์ ในสงั กดั ไดร้ ับการเสริมสร คุณธรรม จริยธรรม ทัศนค และความตระหนกั รู้ในการ ปอ้ งกันการทุจรติ และเกิด ประโยชน์ต่อสำนักงานเขต พน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา มัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง 3) กิจกรรมพัฒนามาตรฐา ด้านการประเมนิ คุณธรรม ดำเนินการประชมุ คณะกรรมการ ฯ ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2564 เพ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน นโยบ และจดุ เน้นของหน่วยเหนือ ทบทวน SWOT กำหนด ทศิ ทางการพัฒนา กำหนด วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ ประส กลยทุ ธ์ ตวั ชวี้ ัด เป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม/ งบประมาณ เพ่ือใช้ในการ ขบั เคล่ือนการดำเนินงานให บรรลุเป้าหมาย รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารปร
~ งบประมาณ งบประมาณ งบ ปญั หา/อปุ สรรค สพม.ชบรย ส่วนอ่ืน ๆ ทใี่ ชไ้ ป ประมาณ คงเหลือ ร้าง คติ ร ด ต า าน ฯ ปี พ่ือ บาย อ ด สงค์ ห้ ระจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
~ 32 ลำดับ ช่อื โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน ท่ี เชิงผลผลติ เชิงผลลพั ธ์ 4) พัฒนารูปแบบระบบ สารสนเทศ ฯ ดำเนินการ ประชมุ บคุ ลากรผู้เกย่ี วข้อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อปรบั ปรุงเว็บไซต ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศกึ ษาชลบ ระยอง ให้สอดคลอ้ งรองรับ การดำเนินงานให้บรรลุ เปา้ หมาย กลยทุ ธ์ที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะทางการศึกษาของผูเ้ รยี น เพ่ือเพิ่มขดี ค 6. โครงการการพัฒนา 1) ครศู ึกษาแนว 1) นกั เรียนไดร้ บั สถานศึกษาในสังกัด หลกั สตู รสถานศึกษา ทางการพัฒนา การวางพ้นื ฐาน ดำเนนิ การ ดงั นี้ ในพื้นท่เี ขตพฒั นา หลกั สตู รสถาน การประกอบ 1) พฒั นาหลกั สตู ร พิเศษของภาค ศึกษาเพ่อื อาชีพส่อู นาคต สถานศึกษาเพ่ือรองรับเข ตะวนั ออก (Eastern รองรับเขต เพ่ือรองรบั เขต พัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออ Economic Corridor พัฒนาพเิ ศษ พฒั นาพิเศษ (Eastern Economic : EEC ) ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันออก Corridor : EEC) และ (Eastern 2) นักเรียนมี โครงสรา้ งรายวิชาและหน Economic ความรคู้ วาม การเรยี นรู้กอ่ นการจดั ทำ Corridor : EEC ) เขา้ ใจเก่ยี วกับ แผนการจดั การเรยี นรกู้ ่อ และโครงสร้าง การพัฒนา สอนตามระดับช้ันท่สี อนไ รายวชิ าและ สถานศึกษาขน้ั จดั ทำโครงสร้างรายวชิ าแ รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการปร
~ งบประมาณ งบประมาณ งบ ปญั หา/อุปสรรค สพม.ชบรย ส่วนอืน่ ๆ ทใ่ี ช้ไป ประมาณ คงเหลอื ง ต์ บรุ ี บ ความสามารถในการแขง่ ขนั ระดับนานาชาตแิ ละเทยี บเคยี งสู่มาตรฐานสากล - 1,800,000 1,800,000 -- ขต อก นว่ ย ำ อน ไป และ ระจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
~ 33 ลำดับ ชื่อโครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย เป้าหมาย ผลการดำเนนิ งาน ที่ เชงิ ผลผลิต เชิงผลลัพธ์ หน่วยการเรยี นรู้ พน้ื ฐานเพอื่ หน่วยการเรียนรู้ ใน กอ่ นการจัดทำ รองรบั เขต สถานศกึ ษา แผนการจัดการ พฒั นาเศรษฐกิจ 2) เตรยี มสอ่ื ประกอบกา เรียนรกู้ อ่ นสอน พเิ ศษภาค สอนและเคร่อื งมือวดั และ ตามระดบั ชั้นที่ ตะวันออก ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ สอนไปจดั ทำ 3) การประเมินผลการ โครงสรา้ ง เรยี นรตู้ ามท่ีกำหนดใน รายวิชาและ แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ ในสถานศกึ ษา 2) ครูเตรียมสอ่ื ประกอบการสอน และเคร่ืองมือวัด และประเมินผล การเรยี นรู้ 3)ครูประเมินผล การเรียนรู้ตามท่ี กำหนดใน แผนการ จดั การ เรยี นรู้ 4) ครูนำผลการ ประเมนิ หลังสอน ไปใช้ในการ พฒั นาผ้เู รียน รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารปร
~ งบประมาณ งบประมาณ งบ ปญั หา/อุปสรรค สพม.ชบรย สว่ นอื่น ๆ ท่ใี ชไ้ ป ประมาณ คงเหลอื าร ะ ระจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150