ประมวลกฎหมายอาญา
1 ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบบั สมบรู ณ์) แก้ไขล่าสุด กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ รวบรวมโดย สราวุธ เบญจกุล
ช่ือหนงั สือ 2 ประมวลกฎหมายอาญา แก้ไขลา่ สดุ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ ผ้รู วบรวม สราวธุ เบญจกลุ จานวนหน้า ๒๒๔ ปี ที่จดั ทา กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
3 คานา ประมวลกฎหมายอาญาเล่มนีแ้ ก้ ไขเพ่ิมเติมล่าสุดถึงพระราช บญั ญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบบั ที่ ๒๘) พ.ศ. ๒๕๖๔ ใช้ บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป (ประกาศราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔) ซึ่งแก้ไข เพ่ิมเติมมาตรา ๓๐๑ และมาตรา ๓๐๕ และได้นาระเบียบราชการฝ่ าย ตลุ าการศาลยตุ ิธรรม วา่ ด้วยการกาหนดจานวนชวั่ โมงที่ถือเป็ นการทางาน หนง่ึ วนั และแนวปฏิบตั ิในการให้ทางานบริการสงั คมหรือสาธารณประโยชน์ แทนค่าปรับ และการเปลี่ยนสถานท่ีกกั ขงั พ.ศ. ๒๕๔๖ พระราชบัญญัติ คา่ ตอบแทนผ้เู สียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ มารวบรวมไว้ สาหรับกฎหมายที่แก้ไขล่าสุดได้ทาตวั อักษร ขีดเส้นใต้ไว้เพ่ือความสะดวกในการใช้งาน สราวธุ เบญจกลุ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
4 สารบาญ มาตรา หน้า พระราชบญั ญตั ิให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. ๒๔๙๙ .................. ๙ ประมวลกฎหมายอาญา ภาค ๑ บทบญั ญัตทิ ่วั ไป ๑ ................ ๑๒ ลักษณะ ๑ บทบญั ญตั ทิ ี่ใช้แกค่ วามผิดทวั่ ไป ๒-๑๗ ......... ๑๖ หมวด ๑ บทนิยาม ๑๘-๓๘ ...... ๒๕ หมวด ๒ การใช้กฎหมายอาญา ๓๙-๕๐ ...... ๓๖ หมวด ๓ โทษและวธิ ีการเพื่อความปลอดภยั ๕๑-๕๘ ...... ๔๑ สว่ นที่ ๑ โทษ ๕๙-๗๙ ...... ๔๖ สว่ นท่ี ๒ วธิ ีการเพ่ือความปลอดภยั ๘๐-๘๒ ...... ๕๕ สว่ นที่ ๓ วธิ ีเพ่ิมโทษ ลดโทษ ๘๓-๘๙ ...... ๕๖ และการรอการลงโทษ ๙๐-๙๑ ....... ๖๐ หมวด ๔ ความรับผิดในทางอาญา ๙๒-๙๔ ...... ๖๑ หมวด ๕ การพยายามกระทาความผิด ๙๕-๑๐๑ ..... ๖๓ หมวด ๖ ตวั การและผ้สู นบั สนนุ ๑๐๒-๑๐๖ .. ๖๖ หมวด ๗ การกระทาความผิดหลายบท หรือหลายกระทง หมวด ๘ การกระทาความผิดอกี หมวด ๙ อายคุ วาม ลักษณะ ๒ บทบญั ญตั ิที่ใช้แก่ความผิดลหโุ ทษ
5 ภาค ๒ ความผิด มาตรา หน้ า ลักษณะ ๑ ความผิดเกี่ยวกบั ความมน่ั คงแห่งราชอาณาจกั ร หมวด ๑ ความผิดตอ่ องค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผ้สู าเร็จราชการแทนพระองค์ ๑๐๗-๑๑๒ ...... ๖๗ หมวด ๒ ความผิดตอ่ ความมน่ั คงของรัฐ ภายในราชอาณาจกั ร ๑๑๓-๑๑๘ ...... ๗๐ หมวด ๓ ความผิดตอ่ ความมน่ั คงของรัฐ ภายนอกราชอาณาจกั ร ๑๑๙-๑๒๙ ...... ๗๓ หมวด ๔ ความผิดตอ่ สมั พนั ธไมตรีกบั ตา่ งประเทศ ๑๓๐-๑๓๕ ...... ๗๖ ลักษณะ ๑/๑ ความผิดเกี่ยวกบั การก่อการร้าย ๑๓๕/๑-๑๓๕/๔ ... ๗๗ ลักษณะ ๒ ความผิดเก่ียวกบั การปกครอง หมวด ๑ ความผิดตอ่ เจ้าพนกั งาน ๑๓๖-๑๔๖ ...... ๗๙ หมวด ๒ ความผิดตอ่ ตาแหนง่ หน้าท่ีราชการ ๑๔๗-๑๖๖ ...... ๘๓ ลักษณะ ๓ ความผิดเกี่ยวกบั การยตุ ธิ รรม หมวด ๑ ความผิดตอ่ เจ้าพนกั งาน ในการยตุ ิธรรม ๑๖๗-๑๙๙ ...... ๙๐ หมวด ๒ ความผิดตอ่ ตาแหน่งหน้าที่ ในการยตุ ธิ รรม ๒๐๐-๒๐๕ .... ๑๐๐ ลักษณะ ๔ ความผิดเกี่ยวกบั ศาสนา ๒๐๖-๒๐๘ ... ๑๐๒ ลักษณะ ๕ ความผิดเก่ียวกบั ความสงบสขุ ของประชาชน ๒๐๙-๒๑๖ ... ๑๐๓
6 มาตรา หน้า ลักษณะ ๖ ความผิดเก่ียวกบั การก่อให้เกิด ภยนั ตรายตอ่ ประชาชน ๒๑๗-๒๓๙ ... ๑๐๖ ลักษณะ ๗ ความผิดเกี่ยวกบั การปลอมและการแปลง หมวด ๑ ความผิดเก่ียวกบั เงินตรา ๒๔๐-๒๔๙ ... ๑๑๓ หมวด ๒ ความผิดเก่ียวกบั ดวงตรา แสตมป์ และตวั๋ ๒๕๐-๒๖๓ ... ๑๑๖ หมวด ๓ ความผิดเกี่ยวกบั เอกสาร ๒๖๔-๒๖๙ ... ๑๒๐ หมวด ๔ ความผิดเก่ียวกบั บตั รอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ๒๖๙/๑-๒๖๙/๗ ... ๑๒๓ หมวด ๕ ความผิดเกี่ยวกบั หนงั สือเดนิ ทาง ๒๖๙/๘-๒๖๙/๑๕ ... ๑๒๕ ลักษณะ ๘ ความผิดเกี่ยวกบั การค้า ๒๗๐-๒๗๕ ... ๑๒๘ ลักษณะ ๙ ความผิดเกี่ยวกบั เพศ ๒๗๖-๒๘๗/๒ ... ๑๓๐ ลักษณะ ๑๐ ความผิดเกี่ยวกบั ชีวิตและร่างกาย หมวด ๑ ความผิดตอ่ ชีวิต ๒๘๘-๒๙๔ ... ๑๔๔ หมวด ๒ ความผิดตอ่ ร่างกาย ๒๙๕-๓๐๐ ... ๑๔๗ หมวด ๓ ความผิดฐานทาให้แท้งลกู ๓๐๑-๓๐๕ ... ๑๔๙ หมวด ๔ ความผิดฐานทอดทิง้ เดก็ คนป่ วยเจ็บหรือคนชรา ๓๐๖-๓๐๘ ... ๑๕๑ ลักษณะ ๑๑ ความผิดเกี่ยวกบั เสรีภาพและช่ือเสียง หมวด ๑ ความผิดตอ่ เสรีภาพ ๓๐๙-๓๒๑/๑ ... ๑๕๒
7 มาตรา หน้า หมวด ๒ ความผิดฐานเปิ ดเผยความลบั ๓๒๒-๓๒๕ ... ๑๕๙ หมวด ๓ ความผิดฐานหมิ่นประมาท ๓๒๖-๓๓๓ ... ๑๖๐ ลักษณะ ๑๒ ความผิดเกี่ยวกบั ทรัพย์ หมวด ๑ ความผิดฐานลกั ทรัพย์ และว่งิ ราวทรัพย์ ๓๓๔-๓๓๖ ทวิ ... ๑๖๓ หมวด ๒ ความผิดฐานกรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์และปล้นทรัพย์ ๓๓๗-๓๔๐ ตรี ... ๑๖๗ หมวด ๓ ความผิดฐานฉ้อโกง ๓๔๑-๓๔๘ ... ๑๗๒ หมวด ๔ ความผิดฐานโกงเจ้าหนี ้ ๓๔๙-๓๕๑ ... ๑๗๕ หมวด ๕ ความผิดฐานยกั ยอก ๓๕๒-๓๕๖ ... ๑๗๖ หมวด ๖ ความผิดฐานรับของโจร ๓๕๗ ... ๑๗๗ หมวด ๗ ความผิดฐานทาให้เสยี ทรัพย์ ๓๕๘-๓๖๑ ... ๑๗๘ หมวด ๘ ความผิดฐานบกุ รุก ๓๖๒-๓๖๖ ... ๑๘๐ ลักษณะ ๑๓ ความผิดเกี่ยวกบั ศพ ๓๖๖/๑-๓๖๖/๔ ... ๑๘๒ ภาค ๓ ลหโุ ทษ ๓๖๗-๓๙๘ ... ๑๘๓ ระเบียบราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุตธิ รรม วา่ ด้วยการกาหนด จานวนชว่ั โมงที่ถือเป็นการทางานหนง่ึ วนั และแนวปฏิบตั ิในการ ให้ทางานบริการสงั คมหรือสาธารณประโยชน์แทนคา่ ปรับ และ การเปล่ียนสถานท่ีกกั ขงั พ.ศ. ๒๕๔๖ ............................................ ๑๙๐
8 หน้ า พระราชบญั ญัตคิ า่ ตอบแทนผ้เู สยี หาย และคา่ ทดแทน และคา่ ใช้จ่ายแก่จาเลยในคดอี าญา พ.ศ. ๒๕๔๔ ........................... ๑๙๗ กฎกระทรวงกาหนดหลกั เกณฑ์ วิธีการ และอตั รา ในการจ่ายคา่ ตอบแทนผ้เู สียหาย และคา่ ทดแทน และคา่ ใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๖ ........................... ๒๑๕
9 พระราชบญั ญัติ ให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. ๒๔๙๙ ___________________ ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันท่ี ๑๓ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๙๙ เป็ นปี ท่ี ๑๑ ในรัชกาลปัจจุบนั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มีพระบรมราช โองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศวา่ โดยที่เป็ นการสมควรปรับปรุงกฎหมายอาญาเสียใหม่ เพราะตงั้ แต่ ได้ประกาศใช้กฎหมายลกั ษณะอาญา ในพุทธศักราช ๒๔๕๑ เป็ นต้นมา พฤติการณ์ของบ้านเมืองได้เปลยี่ นแปลงไปเป็นอนั มาก จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติขึน้ ไว้ โดยคาแนะนาและยินยอมของสภาผ้แู ทนราษฎร ดงั ตอ่ ไปนี ้
10 มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินีเ้ รียกว่า “พระราชบัญญัติให้ใช้ ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. ๒๔๙๙” มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั นิ ีใ้ ห้ใช้บงั คบั ตงั้ แตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศ ในราชกิจจานเุ บกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ประมวลกฎหมายอาญาท้ายพระราชบัญญัตินีใ้ ห้ใช้ บงั คบั ตงั้ แตว่ นั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นต้นไป มาตรา ๔ เม่ือประมวลกฎหมายอาญาได้ใช้บงั คบั แล้ว ให้ยกเลิก กฎหมายลกั ษณะอาญา มาตรา ๕ เมื่อประมวลกฎหมายอาญาได้ใช้บังคบั แล้ว ในกรณีที่ กฎหมายใดได้กาหนดโทษโดยอ้างถึงโทษฐานลหุโทษในกฎหมายลกั ษณะ อาญาไว้ ให้ถือวา่ กฎหมายนนั้ ได้อ้างถงึ โทษ ดงั ตอ่ ไปนี ้ ถ้าอ้างถงึ โทษชนั้ ๑ หมายความวา่ ปรับไมเ่ กินหนงึ่ ร้อยบาท ถ้าอ้างถงึ โทษชนั้ ๒ หมายความวา่ ปรับไมเ่ กินห้าร้อยบาท ถ้าอ้างถึงโทษชัน้ ๓ หมายความว่า จาคุกไม่เกินสิบวัน หรือปรับ ไมเ่ กินห้าร้อยบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ถ้าอ้างถงึ โทษชนั้ ๔ หมายความว่า จาคกุ ไม่เกินหนึง่ เดือน หรือปรับ ไมเ่ กินหนง่ึ พนั บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ มาตรา ๖ เม่อื ประมวลกฎหมายอาญาได้ใช้บงั คบั แล้ว ในการจาคกุ แทนค่าปรับตามกฎหมายใด ไม่ว่ากฎหมายนัน้ จะบัญญัติไว้ประการใด ให้นาประมวลกฎหมายอาญามาใช้บังคบั แตส่ าหรับความผิดท่ีได้กระทา
11 ก่อนวนั ท่ีประมวลกฎหมายอาญาใช้บงั คบั มิให้กกั ขงั เกินกวา่ หนง่ึ ปี สาหรับ โทษปรับกระทงเดียว และสองปี สาหรับโทษปรับหลายกระทง มาตรา ๗ ในกรณีวิธีการเพื่อความปลอดภัยตามมาตรา ๔๖ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ให้ นาบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญามาใช้บงั คบั เสมือนเป็นความผิดอาญา แตห่ ้ามมิให้ คุมขังชัน้ สอบสวนเกินกว่าส่ีสิบแปดช่ัวโมง นับแต่เวลาท่ีผู้ถูกจับมาถึง ท่ีทาการของพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจ แต่มิให้นับเวลาเดินทาง ตามปกตทิ ี่นาตวั ผ้ถู กู จบั มาศาลรวมเข้าในกาหนดเวลาสี่สิบแปดชวั่ โมงนนั้ ด้วย มาตรา ๘ เม่ือประมวลกฎหมายอาญาได้ใช้บงั คบั แล้ว บทบญั ญัติ แห่งกฎหมายใดอ้างถึงกฎหมายลักษณะอาญา หรืออ้างถึงบทบัญญัติ แห่งกฎหมายลักษณะอาญา ให้ ถือว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายนัน้ อ้างถึงประมวลกฎหมายอาญา หรือบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย อาญาในบทมาตราที่มีนยั เช่นเดียวกนั แล้วแตก่ รณี ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม นายกรัฐมนตรี
12 ประมวลกฎหมายอาญา ภาค ๑ บทบญั ญัตทิ ่ัวไป ลักษณะ ๑ บทบัญญัตทิ ่ีใช้แก่ความผิดท่ัวไป หมวด ๑ บทนิยาม มาตรา ๑ ในประมวลกฎหมายนี ้ (๑) “โดยทุจริต” หมายความวา่ เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้ โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองหรือผ้อู ่ืน (๒) “ทางสาธารณะ” หมายความว่า ทางบกหรือทางนา้ สาหรับ ประชาชนใช้ในการจราจร และให้หมายความรวมถึงทางรถไฟและทาง รถรางที่มีรถเดิน สาหรับประชาชนโดยสารด้วย (๓) “สาธารณสถาน” หมายความว่า สถานท่ีใด ๆ ซ่ึงประชาชน มีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้ (๔) “เคหสถาน” หมายความว่า ท่ีซงึ่ ใช้เป็ นท่ีอยู่อาศยั เช่น เรือน โรง เรือ หรือแพ ซง่ึ คนอย่อู าศัย และให้หมายความรวมถึงบริเวณของท่ีซง่ึ ใช้เป็นท่ีอยอู่ าศยั นนั้ ด้วย จะมรี ัว้ ล้อมหรือไมก่ ็ตาม (๕) “อาวุธ” หมายความรวมถงึ ส่ิงซง่ึ ไมเ่ ป็ นอาวธุ โดยสภาพ แต่ซง่ึ
13 ได้ใช้หรือเจตนาจะใช้ประทษุ ร้ายร่างกายถงึ อนั ตรายสาหสั อย่างอาวธุ (๖) “ใช้กาลังประทุษร้ าย” หมายความว่า ทาการประทุษร้ าย แก่กายหรือจิตใจของบุคคล ไม่ว่าจะทาด้วยใช้แรงกายภาพหรือด้วยวิธี อ่ืนใด และให้หมายความรวมถงึ การกระทาใด ๆ ซง่ึ เป็ นเหตใุ ห้บุคคลหนึ่ง บุคคลใดอยู่ในภาวะท่ีไม่สามารถขดั ขืนได้ ไม่ว่าจะโดยใช้ยาทาให้มนึ เมา สะกดจิต หรือใช้วิธีอืน่ ใดอนั คล้ายคลงึ กนั (๗) “เอกสาร” หมายความว่า กระดาษหรือวตั ถุอ่ืนใดซงึ่ ได้ทาให้ ปรากฏความหมายด้วยตวั อกั ษร ตวั เลข ผงั หรือแผนแบบอย่างอื่น จะเป็ น โดยวธิ ีพิมพ์ถ่ายภาพหรือวิธีอื่นอนั เป็นหลกั ฐานแหง่ ความหมายนนั้ (๘) “เอกสารราชการ” หมายความว่า เอกสารซึ่งเจ้าพนักงาน ได้ทาขนึ ้ หรือรับรองในหน้าท่ี และให้หมายความรวมถงึ สาเนาเอกสารนนั้ ๆ ท่ีเจ้าพนกั งานได้รับรองในหน้าท่ีด้วย (๙) “เอกสารสิทธิ” หมายความว่า เอกสารที่เป็ นหลักฐานแห่ง การก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงบั ซง่ึ สิทธิ (๑๐) “ลายมือช่ือ” หมายความรวมถึงลายพิมพ์นิว้ มือและ เคร่ืองหมายซงึ่ บคุ คลลงไว้แทนลายมือชื่อของตน (๑๑) “กลางคืน” หมายความว่า เวลาระหวา่ งพระอาทิตย์ตกและ พระอาทิตย์ขนึ ้ (๑๒) “คุมขงั ” หมายความวา่ คมุ ตวั ควบคมุ ขงั กกั ขงั หรือจาคกุ (๑๓) “ค่าไถ่” หมายความว่า ทรัพย์สินหรือประโยชน์ท่ีเรียกเอา หรือให้เพ่ือแลกเปล่ียนเสรีภาพของผู้ถูกเอาตวั ไป ผู้ถูกหน่วงเหนี่ยวหรือ ผ้ถู กู กกั ขงั
14 * (๑๔) “บัตรอเิ ล็กทรอนิกส์” หมายความวา่ (ก) เอกสารหรือวตั ถุอื่นใดไม่ว่าจะมีรูปลกั ษณะใดที่ผู้ออก ได้ออกให้แกผ่ ้มู สี ทิ ธิใช้ ซงึ่ จะระบชุ ่ือหรือไมก่ ต็ าม โดยบนั ทกึ ข้อมลู หรือรหสั ไว้ด้วยการประยกุ ต์ใช้วิธีการทางอเิ ลก็ ตรอน ไฟฟ้ า คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้ า หรือ วิธีอื่นใดในลกั ษณะคล้ายกนั ซง่ึ รวมถงึ การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสงหรือ วิธีการทางแม่เหล็กให้ ปรากฏความหมายด้วยตัวอักษร ตัวเลข รหัส หมายเลขบตั ร หรือสญั ลกั ษณ์อ่ืนใด ทงั้ ที่สามารถมองเห็นและมองไม่เห็น ด้วยตาเปลา่ (ข) ข้อมลู รหสั หมายเลขบัญชี หมายเลขชดุ ทางอิเล็กทรอ- นิกส์หรือเคร่ืองมือทางตวั เลขใด ๆ ที่ผ้อู อกได้ออกให้แก่ผ้มู ีสิทธิใช้ โดยมิได้ มีการออกเอกสารหรือวตั ถุอ่ืนใดให้ แต่มีวิธีการใช้ในทานองเดียวกับ (ก) หรือ (ค) สิ่งอ่ืนใดท่ีใช้ประกอบกับข้อมลู อิเล็กทรอนิกส์เพื่อแสดง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลกบั ข้อมลู อเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อ ระบตุ วั บคุ คลผ้เู ป็นเจ้าของ **(๑๕) “หนังสือเดินทาง” หมายความว่า เอกสารสาคญั ประจาตวั ไม่ว่าจะมีรูปลักษณะใดที่รัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การ ระหวา่ งประเทศออกให้แกบ่ คุ คลใด เพื่อใช้แสดงตนในการเดินทางระหวา่ ง ประเทศ และให้หมายความรวมถงึ เอกสารใช้แทนหนงั สือเดินทางและแบบ หนงั สือเดนิ ทางท่ียงั ไมไ่ ด้กรอกข้อความเก่ียวกบั ผ้ถู ือหนงั สอื เดนิ ทางด้วย ____________________________________ *มาตรา ๑ (๑๔) เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๓ **มาตรา ๑ (๑๕) เพมิ่ เติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพมิ่ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๑๘) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๓
15 * (๑๖) “เจ้าพนักงาน” หมายความว่า บุคคลซงึ่ กฎหมายบญั ญตั ิว่า เป็ นเจ้าพนักงานหรือได้รับแต่งตงั้ ตามกฎหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ไมว่ า่ เป็นประจาหรือครัง้ คราว และไมว่ า่ จะได้รับคา่ ตอบแทนหรือไม่ **(๑๗) “ส่ือลามกอนาจารเด็ก” หมายความว่า วตั ถุหรือส่ิงท่ีแสดง ให้ ร้ ู หรื อเห็นถึงการกระทาทางเพศของเด็กหรื อกับเด็กซ่ึงมีอายุไม่เกิน สิบแปดปี โดยรูป เร่ือง หรือลักษณะสามารถสื่อไปในทางลามกอนาจาร ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของเอกสาร ภาพเขียน ภาพพิมพ์ ภาพระบายสี ส่ิงพิมพ์ รู ปภาพ ภาพโฆษณา เคร่ื องหมาย รู ปถ่าย ภาพยนตร์ แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ หรือรูปแบบอ่ืนใดในลักษณะทานอง เดียวกัน และให้หมายความรวมถึงวัตถุหรือสิ่งต่าง ๆ ข้ างต้นท่ีจัดเก็บ ในระบบคอมพิวเตอร์หรือในอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์อ่ืนที่สามารถแสดงผล ให้เข้าใจความหมายได้ ***(๑๘) “กระทาชาเรา” หมายความว่า กระทาเพ่ือสนองความใคร่ ของผู้กระทา โดยการใช้ อวัยวะเพศของผู้กระทาล่วงลา้ อวัยวะเพศ ทวารหนกั หรือช่องปากของผ้อู ืน่ ____________________________________ *มาตรา ๑ (๑๖) เพ่มิ เติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓ **มาตรา ๑ (๑๗) เพม่ิ เติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพม่ิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓ ***มาตรา ๑ (๑๘) เพ่ิมเติมโดย พ.ร.บ. แก้ ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบับท่ี ๒๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๓ ราชกิจจานเุ บกษาวนั ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
16 หมวด ๒ การใช้กฎหมายอาญา มาตรา ๒ บคุ คลจกั ต้องรับโทษในทางอาญาต่อเม่ือได้กระทาการ อนั กฎหมายที่ใช้ในขณะกระทานนั้ บญั ญัติเป็ นความผิดและกาหนดโทษไว้ และโทษท่ีจะลงแก่ผู้กระทาความผิดนัน้ ต้องเป็ นโทษท่ีบัญญัติไว้ใน กฎหมาย ถ้าตามบทบัญญัติของกฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลงั การกระทา เช่นนัน้ ไม่เป็ นความผิดต่อไป ให้ผู้ท่ีได้กระทาการนัน้ พ้นจากการเป็ น ผ้กู ระทาความผิด และถ้าได้มีคาพิพากษาถงึ ที่สดุ ให้ลงโทษแล้ว ก็ให้ถือว่า ผ้นู นั้ ไมเ่ คยต้องคาพิพากษาวา่ ได้กระทาความผิดนนั้ ถ้ารับโทษอย่กู ็ให้การ ลงโทษนนั้ สิน้ สดุ ลง มาตรา ๓ ถ้ากฎหมายท่ีใช้ในขณะกระทาความผิดแตกต่างกับ กฎหมายที่ใช้ในภายหลงั การกระทาความผิด ให้ใช้กฎหมายในสว่ นที่เป็ น คณุ แก่ผ้กู ระทาความผิด ไมว่ า่ ในทางใด เว้นแตค่ ดีถงึ ที่สดุ แล้ว แต่ในกรณีท่ี คดถี งึ ที่สดุ แล้วดงั ตอ่ ไปนี ้ (๑) ถ้าผ้กู ระทาความผิดยงั ไมไ่ ด้รับโทษ หรือกาลงั รับโทษอยู่ และ โทษที่กาหนดตามคาพิพากษาหนักกว่าโทษท่ีกาหนดตามกฎหมาย ที่บัญญัติในภายหลัง เมื่อสานวนความปรากฏแก่ศาลหรือเมื่อผู้กระทา ความผิด ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้นัน้ ผู้อนุบาลของผู้นนั้ หรือพนักงาน อัยการร้ องขอ ให้ ศาลกาหนดโทษเสียใหม่ตามกฎหมายที่บัญญัติ ในภายหลัง ในการที่ศาลจะกาหนดโทษใหม่นี ้ ถ้าปรากฏว่า ผู้กระทา
17 ความผิดได้รับโทษมาบ้างแล้ว เม่ือได้คานงึ ถงึ โทษตามกฎหมายท่ีบญั ญัติ ในภายหลงั หากเหน็ เป็นการสมควร ศาลจะกาหนดโทษน้อยกวา่ โทษขนั้ ต่า ที่กฎหมายท่ีบญั ญตั ิในภายหลงั กาหนดไว้ถ้าหากมีก็ได้ หรือถ้าเห็นวา่ โทษ ที่ผู้กระทาความผิดได้รับมาแล้วเป็ นการเพียงพอ ศาลจะปล่อยผู้กระทา ความผิดไปก็ได้ (๒) ถ้าศาลพิพากษาให้ประหารชีวิตผู้กระทาความผิด และตาม กฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลัง โทษที่จะลงแก่ผู้กระทาความผิดไม่ถึง ประหารชีวิต ให้ งดการประหารชีวิตผู้กระทาความผิด และให้ ถือว่า โทษประหารชีวิตตามคาพิพากษาได้เปลี่ยนเป็นโทษสงู สดุ ท่ีจะพงึ ลงได้ตาม กฎหมายที่บญั ญตั ิในภายหลงั มาตรา ๔ ผ้ใู ดกระทาความผิดในราชอาณาจักร ต้องรับโทษตาม กฎหมาย การกระทาความผิดในเรือไทยหรืออากาศยานไทย ไม่ว่าจะอยู่ ณ ท่ีใด ให้ถือวา่ กระทาความผิดในราชอาณาจกั ร มาตรา ๕ ความผิดใดท่ีการกระทาแม้ แต่ส่วนหนึ่งส่วนใด ได้กระทาในราชอาณาจกั รก็ดี ผลแห่งการกระทาเกิดในราชอาณาจกั รโดย ผ้กู ระทาประสงค์ให้ผลนนั้ เกิดในราชอาณาจกั ร หรือโดยลกั ษณะแห่งการ กระทา ผลท่ีเกิดขึน้ นนั้ ควรเกิดในราชอาณาจักรหรือย่อมจะเล็งเห็นได้ว่า ผลนัน้ จะเกิดในราชอาณาจักรก็ดี ให้ ถือว่าความผิดนัน้ ได้กระทาใน ราชอาณาจกั ร ในกรณีการตระเตรียมการหรือพยายามกระทาการใดซึ่งกฎหมาย
18 บัญญัติเป็ นความผิด แม้การกระทานัน้ จะได้กระทานอกราชอาณาจักร ถ้ าหากการกระทานัน้ จะได้กระทาตลอดไปจนถึงขัน้ ความผิดสาเร็จ ผลจะเกิดขึน้ ในราชอาณาจกั ร ให้ถือว่า การตระเตรียมการหรือพยายาม กระทาความผิดนนั้ ได้กระทาในราชอาณาจกั ร มาตรา ๖ ความผิดใดที่ได้กระทาในราชอาณาจกั ร หรือที่ประมวล กฎหมายนีถ้ ือวา่ ได้กระทาในราชอาณาจกั ร แม้การกระทาของผ้เู ป็ นตวั การ ด้วยกัน ของผู้สนับสนุน หรือของผู้ใช้ให้กระทาความผิดนัน้ จะได้กระทา นอกราชอาณาจักร ก็ให้ ถือว่าตัวการ ผู้สนับสนุน หรือผู้ใช้ให้ กระทา ได้กระทาในราชอาณาจกั ร มาตรา ๗ ผู้ใดกระทาความผิดดังระบุไว้ ต่อไปนี ้ นอกราช อาณาจกั ร จะต้องรับโทษในราชอาณาจกั ร คือ (๑) ความผิดเก่ียวกบั ความมน่ั คงแหง่ ราชอาณาจกั ร ตามท่ีบญั ญัติ ไว้ในมาตรา ๑๐๗ ถงึ มาตรา ๑๒๙ * (๑/๑) ความผิดเกี่ยวกบั การก่อการร้าย ตามที่บญั ญัติไว้ในมาตรา ๑๓๕/๑ มาตรา ๑๓๕/๒ มาตรา ๑๓๕/๓ และมาตรา ๑๓๕/๔ (๒) ความผิดเก่ียวกับการปลอมและการแปลง ตามท่ีบัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๔๐ ถงึ มาตรา ๒๔๙ มาตรา ๒๕๔ มาตรา ๒๕๖ มาตรา ๒๕๗ และมาตรา ๒๖๖ (๓) และ (๔) ____________________________________ *มาตรา ๗ (๑/๑) เพมิ่ เติมโดย พ.ร.ก. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๓
19 * (๒ ทวิ) ความผิดเกี่ยวกบั เพศ ตามที่บญั ญตั ิไว้ในมาตรา ๒๘๒ และ มาตรา ๒๘๓ (๓) ความผิดฐานชิงทรัพย์ ตามที่บญั ญัติไว้ในมาตรา ๓๓๙ และ ความผิดฐานปล้นทรัพย์ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๔๐ ซึ่งได้กระทา ในทะเลหลวง มาตรา ๘ ผ้ใู ดกระทาความผิดนอกราชอาณาจกั ร และ (ก) ผู้กระทาความผิดนัน้ เป็ นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศ ที่ความผิดได้เกิดขนึ ้ หรือผ้เู สยี หายได้ร้องขอให้ลงโทษ หรือ (ข) ผู้กระทาความผิดนัน้ เป็ นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือ คนไทยเป็นผ้เู สยี หาย และผ้เู สียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ ถ้าความผิดนนั้ เป็ นความผิดดงั ระบุไว้ต่อไปนี ้จะต้องรับโทษภายใน ราชอาณาจกั ร คือ (๑) ความผิดเก่ียวกับการก่อให้เกิดภยนั ตรายตอ่ ประชาชน ตามที่ บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๑๗ มาตรา ๒๑๘ มาตรา ๒๒๑ ถึงมาตรา ๒๒๓ ทงั้ นีเ้ ว้นแตก่ รณีเก่ียวกบั มาตรา ๒๒๐ วรรคแรก และมาตรา ๒๒๔ มาตรา ๒๒๖ มาตรา ๒๒๘ ถึงมาตรา ๒๓๒ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓๓ ถึง มาตรา ๒๓๖ ทงั้ นีเ้ฉพาะเมอ่ื เป็นกรณีต้องระวางโทษตามมาตรา ๒๓๘ (๒) ความผิดเก่ียวกับเอกสาร ตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖๔ มาตรา ๒๖๕ มาตรา ๒๖๖ (๑) และ (๒) มาตรา ๒๖๘ ทัง้ นีเ้ ว้นแต่กรณี เก่ียวกบั มาตรา ๒๖๗ และมาตรา ๒๖๙ ____________________________________ *มาตรา ๗ (๒ ทวิ) เพิม่ เติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๑๔) พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๓
20 * (๒/๑) ความผิดเก่ียวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ตามที่บัญญัติไว้ใน มาตรา ๒๖๙/๑ ถงึ มาตรา ๒๖๙/๗ **(๒/๒) ความผิดเก่ียวกบั หนงั สือเดินทาง ตามที่บญั ญัติไว้ในมาตรา ๒๖๙/๘ ถงึ มาตรา ๒๖๙/๑๕ (๓) ความผิดเก่ียวกบั เพศ ตามท่ีบญั ญัติไว้ในมาตรา ๒๗๖ มาตรา ๒๘๐ และมาตรา ๒๘๕ ทงั้ นีเ้ฉพาะท่ีเกี่ยวกบั มาตรา ๒๗๖ (๔) ความผิดต่อชีวิต ตามท่ีบญั ญัติไว้ในมาตรา ๒๘๘ ถึงมาตรา ๒๙๐ (๕) ความผิดต่อร่างกาย ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๙๕ ถึง มาตรา ๒๙๘ (๖) ความผิดฐานทอดทิง้ เด็ก คนป่ วยเจ็บหรือคนชรา ตามท่ี บญั ญตั ิไว้ในมาตรา ๓๐๖ ถงึ มาตรา ๓๐๘ (๗) ความผิดตอ่ เสรีภาพ ตามท่ีบญั ญัติไว้ในมาตรา ๓๐๙ มาตรา ๓๑๐ มาตรา ๓๑๒ ถงึ มาตรา ๓๑๕ และมาตรา ๓๑๗ ถงึ มาตรา ๓๒๐ (๘) ความผิดฐานลักทรัพย์และว่ิงราวทรัพย์ ตามที่บัญญัติไว้ใน มาตรา ๓๓๔ ถงึ มาตรา ๓๓๖ (๙) ความผิดฐานกรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์และปล้นทรัพย์ ตามที่บญั ญตั ิไว้ในมาตรา ๓๓๗ ถงึ มาตรา ๓๔๐ (๑๐) ความผิดฐานฉ้อโกง ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๔๑ ถึง มาตรา ๓๔๔ มาตรา ๓๔๖ และมาตรา ๓๔๗ ____________________________________ *มาตรา ๘ (๒/๑) เพ่ิมเติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิม่ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๔ **มาตรา ๘ (๒/๒) เพม่ิ เติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพม่ิ เติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๑๘) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔
21 (๑๑) ความผิดฐานยักยอก ตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๓๕๒ ถึง มาตรา ๓๕๔ (๑๒) ความผิดฐานรับของโจร ตามท่ีบญั ญตั ไิ ว้ในมาตรา ๓๕๗ (๑๓) ความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๕๘ ถงึ มาตรา ๓๖๐ มาตรา ๙ เจ้าพนักงานของรัฐบาลไทยกระทาความผิดตามที่ บญั ญัติไว้ในมาตรา ๑๔๗ ถึงมาตรา ๑๖๖ และมาตรา ๒๐๐ ถึงมาตรา ๒๐๕ นอกราชอาณาจกั ร จะต้องรับโทษในราชอาณาจกั ร มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทาการนอกราชอาณาจักรซ่ึงเป็ นความผิด ตามมาตราตา่ ง ๆ ที่ระบไุ ว้ในมาตรา ๗ (๒) และ (๓) มาตรา ๘ และมาตรา ๙ ห้ามมใิ ห้ลงโทษผ้นู นั้ ในราชอาณาจกั รเพราะการกระทานนั้ อีก ถ้า (๑) ได้มีคาพิพากษาของศาลในตา่ งประเทศอนั ถงึ ที่สดุ ให้ปลอ่ ยตวั ผ้นู นั้ หรือ (๒) ศาลในตา่ งประเทศพิพากษาให้ลงโทษและผ้นู นั้ ได้พ้นโทษแล้ว ถ้ าผู้ต้ องคาพิพากษาได้ รับโทษสาหรับการกระทานัน้ ตาม คาพิพากษาของศาลในตา่ งประเทศมาแล้ว แตย่ งั ไมพ่ ้นโทษ ศาลจะลงโทษ น้ อยกว่าท่ีกฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนัน้ เพียงใดก็ได้ หรือ จะไมล่ งโทษเลยกไ็ ด้ ทงั้ นีโ้ ดยคานงึ ถงึ โทษท่ีผ้นู นั้ ได้รับมาแล้ว มาตรา ๑๑ ผู้ใดกระทาความผิดในราชอาณาจักร หรือกระทา ความผิดท่ีประมวลกฎหมายนีถ้ ือว่าได้กระทาในราชอาณาจักร ถ้าผู้นัน้
22 ได้รับโทษสาหรับการกระทานนั้ ตามคาพิพากษาของศาลในต่างประเทศ มาแล้วทงั้ หมดหรือแตบ่ างสว่ น ศาลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกาหนด ไว้สาหรับความผิดนัน้ เพียงใดก็ได้ หรือจะไม่ลงโทษเลยก็ได้ ทัง้ นีโ้ ดย คานงึ ถงึ โทษท่ีผ้นู นั้ ได้รับมาแล้ว ในกรณีที่ผู้กระทาความผิดในราชอาณาจักร หรือกระทาความผิด ที่ประมวลกฎหมายนีถ้ ือว่าได้ กระทาในราชอาณาจักร ได้ ถูกฟ้ อง ต่อศาลในต่างประเทศโดยรัฐบาลไทยร้ องขอ ห้ ามมิให้ ลงโทษผู้นัน้ ในราชอาณาจกั รเพราะการกระทานนั้ อีก ถ้า (๑) ได้มคี าพิพากษาของศาลในตา่ งประเทศอนั ถงึ ที่สดุ ให้ปลอ่ ยตวั ผ้นู นั้ หรือ (๒) ศาลในตา่ งประเทศพิพากษาให้ลงโทษ และผ้นู นั้ ได้พ้นโทษแล้ว มาตรา ๑๒ วิธีการเพ่ือความปลอดภยั จะใช้บงั คบั แก่บุคคลใดได้ ก็ต่อเม่ือมีบทบัญญัติแห่งกฎหมายให้ใช้บังคับได้เท่านัน้ และกฎหมาย ท่ีจะใช้บงั คบั นนั้ ให้ใช้กฎหมายในขณะที่ศาลพิพากษา มาตรา ๑๓ ถ้าตามบทบญั ญตั ิของกฎหมายท่ีบญั ญตั ิในภายหลงั ได้มีการยกเลิกวธิ ีการเพื่อความปลอดภยั ใด และถ้าผ้ใู ดถกู ใช้บงั คบั วิธีการ เพื่อความปลอดภยั นนั้ อยู่ ก็ให้ศาลสงั่ ระงบั การใช้บงั คบั วิธีการเพื่อความ ปลอดภัยนัน้ เสีย เมื่อสานวนความปรากฏแก่ศาล หรือเม่ือผู้นัน้ ผู้แทน โดยชอบธรรมของผ้นู นั้ ผ้อู นบุ าลของผ้นู นั้ หรือพนกั งานอยั การร้องขอ
23 มาตรา ๑๔ ในกรณีท่ีมีผู้ถูกใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัย ใดอยู่ และได้มีบทบัญญตั ิของกฎหมายที่บญั ญตั ิในภายหลงั เปลี่ยนแปลง เง่ือนไขท่ีจะสง่ั ให้มกี ารใช้บงั คบั วิธีการเพ่ือความปลอดภยั นนั้ ไป ซงึ่ เป็ นผล อนั ไมอ่ าจนามาใช้บงั คบั แก่กรณีของผ้นู นั้ ได้ หรือนามาใช้บงั คบั ได้ แตก่ าร ใช้บงั คบั วิธีการเพ่ือความปลอดภัยตามบทบญั ญตั ิของกฎหมายที่บญั ญัติ ในภายหลงั เป็ นคณุ แก่ผู้นนั้ ย่ิงกว่า เม่ือสานวนความปรากฏแก่ศาล หรือ เม่ือผู้นัน้ ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้นัน้ ผู้อนุบาลของผู้นัน้ หรือพนักงาน อยั การร้องขอตอ่ ศาลให้ยกเลิกการใช้บงั คบั วิธีการเพื่อความปลอดภยั หรือ ร้องขอรับผลตามบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมายนนั้ แล้วแตก่ รณี ให้ศาลมีอานาจ สงั่ ตามท่ีเหน็ สมควร มาตรา ๑๕ ถ้าตามบทบญั ญตั ิของกฎหมายที่บญั ญตั ิในภายหลงั โทษใดได้เปลี่ยนลักษณะมาเป็ นวิธีการเพ่ือความปลอดภัย และได้มี คาพิพากษาลงโทษนนั้ แก่บคุ คลใดไว้ ก็ให้ถือว่าโทษที่ลงนนั้ เป็ นวิธีการเพ่ือ ความปลอดภยั ด้วย ในกรณีดังกล่าวในวรรคแรก ถ้ายังไม่ได้ลงโทษผู้นัน้ หรือผู้นัน้ ยงั รับโทษอยู่ ก็ให้ใช้บังคบั วิธีการเพ่ือความปลอดภัยแก่ผู้นัน้ ต่อไป และ ถ้าหากวา่ ตามบทบญั ญตั ิของกฎหมายท่ีบญั ญัติในภายหลงั มีเงื่อนไขที่จะ สงั่ ให้มีการใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัย อันไม่อาจนามาใช้บังคบั แก่กรณีของผู้นนั้ หรือนามาใช้บังคบั ได้ แต่การใช้บังคบั วิธีการเพื่อความ ปลอดภัยตามบทบัญญัติของกฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลังเป็ นคุณ
24 แก่ผู้นัน้ ยิ่งกว่า เมื่อสานวนความปรากฏแก่ศาล หรือเม่ือผู้นัน้ ผู้แทน โดยชอบธรรมของผู้นัน้ ผู้อนุบาลของผู้นัน้ หรือพนักงานอัยการร้ องขอ ตอ่ ศาลให้ยกเลิกการใช้บงั คบั วิธีการเพ่ือความปลอดภยั หรือร้องขอรับผล ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายนัน้ แล้ วแต่กรณี ให้ ศาลมีอานาจส่ัง ตามที่เห็นสมควร มาตรา ๑๖ เมื่อศาลได้พิพากษาให้ใช้บังคับวิธีการเพื่อความ ปลอดภัยแก่ผู้ใดแล้ว ถ้าภายหลังความปรากฏแก่ศาลตามคาเสนอของ ผู้นัน้ เอง ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้นัน้ ผู้อนุบาลของผู้นัน้ หรือพนักงาน อยั การว่า พฤติการณ์เกี่ยวกับการใช้บังคบั นนั้ ได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ศาลจะสงั่ เพิกถอนหรืองดการใช้บงั คบั วิธีการเพื่อความปลอดภยั แก่ผ้นู นั้ ไว้ ชว่ั คราวตามท่ีเหน็ สมควรกไ็ ด้ มาตรา ๑๗ บทบญั ญัติในภาค ๑ แห่งประมวลกฎหมายนี ้ ให้ใช้ ในกรณีแห่งความผิดตามกฎหมายอ่ืนด้วย เว้นแต่กฎหมายนัน้ ๆ จะได้ บญั ญตั ิไว้เป็นอย่างอน่ื
25 หมวด ๓ โทษและวธิ ีการเพ่อื ความปลอดภยั ส่วนท่ี ๑ โทษ มาตรา ๑๘ โทษสาหรับลงแก่ผ้กู ระทาความผิดมดี งั นี ้ (๑) ประหารชีวติ (๒) จาคกุ (๓) กกั ขงั (๔) ปรับ (๕) ริบทรัพย์สิน * โทษประหารชีวิตและโทษจาคกุ ตลอดชีวติ มใิ ห้นามาใช้บงั คบั แกผ่ ้ซู ง่ึ กระทาความผิดในขณะที่มีอายตุ ่ากวา่ สบิ แปดปี * ในกรณีผู้ซึ่งกระทาความผิดในขณะท่ีมีอายุต่ากว่าสิบแปดปี ได้กระทาความผิดที่มรี ะวางโทษประหารชีวติ หรือจาคกุ ตลอดชีวิต ให้ถือวา่ ระวางโทษดงั กลา่ วได้เปล่ียนเป็นระวางโทษจาคกุ ห้าสบิ ปี **มาตรา ๑๙ ผ้ใู ดต้องโทษประหารชีวิต ให้ดาเนินการด้วยวิธีฉีดยา หรือสารพิษให้ตาย ____________________________________ *มาตรา ๑๘ วรรคสอง และวรรคสาม เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๑๖) พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๓ **มาตรา ๑๙ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่มิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๑๖) พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๔
26 หลักเกณฑ์และวิธีการประหารชีวิต ให้ เป็ นไปตามระเบียบ ที่กระทรวงยตุ ธิ รรมกาหนด โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๒๐ บรรดาความผิดท่ีกฎหมายกาหนดให้ลงโทษทงั้ จาคกุ และปรับด้วยนนั้ ถ้าศาลเหน็ สมควรจะลงแตโ่ ทษจาคกุ ก็ได้ มาตรา ๒๑ ในการคานวณระยะเวลาจาคุก ให้นับวันเริ่มจาคุก รวมคานวณเข้าด้วย และให้นบั เป็ นหนง่ึ วนั เต็มโดยไมต่ ้องคานึงถึงจานวน ชว่ั โมง ถ้าระยะเวลาท่ีคานวณนัน้ กาหนดเป็ นเดือน ให้นบั สามสิบวนั เป็ น หนง่ึ เดือน ถ้ากาหนดเป็นปี ให้คานวณตามปี ปฏิทินในราชการ เมื่อผู้ต้องคาพิพากษาถูกจาคุกครบกาหนดแล้ว ให้ปล่อยตวั ในวนั ถดั จากวนั ที่ครบกาหนด มาตรา ๒๒ โทษจาคุก ให้เร่ิมแต่วันมีคาพิพากษา แต่ถ้าผู้ต้อง คาพิพากษาถูกคุมขังก่อนศาลพิพากษา ให้ หักจานวนวันท่ีถูกคุมขัง ออกจากระยะเวลาจาคกุ ตามคาพิพากษา เว้นแต่คาพิพากษานนั้ จะกล่าว ไว้เป็นอยา่ งอื่น ในกรณีท่ีคาพิพากษากล่าวไว้ เป็ นอย่างอ่ืน โทษจาคุกตาม คาพิพากษาเม่ือรวมจานวนวนั ท่ีถูกคมุ ขงั ก่อนศาลพิพากษาในคดีเร่ืองนนั้ เข้าด้วยแล้ว ต้องไม่เกินอตั ราโทษขนั้ สูงของกฎหมายที่กาหนดไว้สาหรับ ความผิดท่ีได้กระทาลงนัน้ ทัง้ นีไ้ ม่เป็ นการกระทบกระเทือนบทบัญญัติ ในมาตรา ๙๑
27 มาตรา ๒๓ ผู้ใดกระทาความผิดซ่ึงมีโทษจาคุก และในคดีนัน้ ศาลจะลงโทษจาคกุ ไมเ่ กินสามเดือน ถ้าไม่ปรากฏว่าผ้นู นั้ ได้รับโทษจาคุก มาก่อนหรือปรากฏว่าได้รับโทษจาคกุ มาก่อน แต่เป็ นโทษสาหรับความผิด ที่ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ศาลจะพิพากษาให้ลงโทษ กกั ขงั ไมเ่ กินสามเดือนแทนโทษจาคกุ นนั้ ก็ได้ *มาตรา ๒๔ ผู้ใดต้ องโทษกักขัง ให้ กักตัวไว้ ในสถานที่กักขัง ซึ่งกาหนดไว้อันมิใช่เรือนจา สถานีตารวจ หรือสถานที่ควบคุมผู้ต้องหา ของพนกั งานสอบสวน ถ้าศาลเห็นเป็ นการสมควร จะสง่ั ในคาพิพากษาให้กักขังผู้กระทา ความผิดไว้ ในท่ีอาศัยของผู้นัน้ เองหรือของผู้อ่ืนที่ยินยอมรับผู้นัน้ ไว้ หรือสถานท่ีอื่นท่ีอาจกักขังได้ เพ่ือให้เหมาะสมกบั ประเภทหรือสภาพของ ผ้ถู กู กกั ขงั กไ็ ด้ **ถ้าความปรากฏแก่ศาลว่า การกักขงั ผู้ต้องโทษกักขงั ไว้ในสถานที่ กักขังตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้นัน้ หรือ ทาให้ผู้ซึ่งต้องพ่ึงพาผู้ต้องโทษกักขงั ในการดารงชีพได้รับความเดือดร้ อน เกินสมควร หรือมีพฤติการณ์พิเศษประการอ่ืนท่ีแสดงให้เห็นว่าไม่สมควร กกั ขงั ผ้ตู ้องโทษกกั ขงั ในสถานท่ีดงั กล่าว ศาลจะมีคาสง่ั ให้กกั ขงั ผ้ตู ้องโทษ กกั ขงั ในสถานที่อ่ืนซงึ่ มิใช่ที่อยู่อาศยั ของผู้นนั้ เอง โดยได้รับความยินยอม จากเจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานท่ีก็ได้ กรณีเช่นว่านี ้ ให้ศาลมีอานาจ ____________________________________ *มาตรา ๒๔ วรรคแรก แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓ **มาตรา ๒๔ วรรคสาม เพิม่ เติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพมิ่ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๔
28 กาหนดเงื่อนไขอย่างหน่ึงอย่างใดให้ผู้ต้องโทษกักขังปฏิบัติ และหาก เจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่ดงั กล่าวยินยอม ศาลอาจมีคาสงั่ แต่งตงั้ ผู้นนั้ เป็ นผู้ควบคมุ ดูแลและให้ถือว่าผู้ท่ีได้รับแต่งตงั้ เป็ นเจ้าพนักงานตาม ประมวลกฎหมายนี ้ มาตรา ๒๕ ผู้ต้องโทษกักขังในสถานที่ซ่ึงกาหนด จะได้รับการ เลีย้ งดูจากสถานท่ีนัน้ แต่ภายใต้ข้อบังคับของสถานที่ ผู้ต้องโทษกักขัง มีสิทธิท่ีจะรับอาหารจากภายนอกโดยค่าใช้จ่ายของตนเอง ใช้เสือ้ ผ้าของ ตนเอง ได้รับการเยี่ยมอย่างน้อยวนั ละหนึง่ ชว่ั โมง และรับและส่งจดหมาย ได้ ผู้ต้องโทษกักขังจะต้องทางานตามระเบียบ ข้อบังคับ และวินัย ถ้าผู้ต้องโทษกักขังประสงค์จะทางานอย่างอื่น ก็ให้อนุญาตให้เลือกทาได้ ตามประเภทงานท่ีตนสมคั ร แต่ต้องไม่ขัดต่อระเบียบ ข้อบงั คบั วินยั หรือ ความปลอดภยั ของสถานที่นนั้ มาตรา ๒๖ ถ้าผู้ต้องโทษกักขังถูกกักขังในท่ีอาศัยของผู้นัน้ เอง หรือของผ้อู ่ืนท่ียินยอมรับผ้นู นั้ ไว้ ผ้ตู ้องโทษกกั ขงั นนั้ มีสิทธิท่ีจะดาเนินการ ในวิชาชีพหรืออาชีพของตนในสถานที่ดงั กลา่ วได้ ในการนี ้ ศาลจะกาหนด เงื่อนไขให้ผ้ตู ้องโทษกกั ขงั ปฏิบตั ิอย่างหนงึ่ อย่างใดหรือไม่ก็ได้ แล้วแตศ่ าล จะเหน็ สมควร
29 *มาตรา ๒๗ ถ้าในระหวา่ งที่ผ้ตู ้องโทษกกั ขงั ตามมาตรา ๒๓ ได้รับ โทษกกั ขงั อย่คู วามปรากฏแก่ศาลเอง หรือปรากฏแก่ศาลตามคาแถลงของ พนกั งานอยั การหรือผ้คู วบคมุ ดแู ลสถานท่ีกกั ขงั วา่ (๑) ผ้ตู ้องโทษกกั ขงั ฝ่ าฝื นระเบียบ ข้อบงั คบั หรือวินยั ของสถานที่ กกั ขงั (๒) ผ้ตู ้องโทษกกั ขงั ไมป่ ฏิบตั ิตามเง่ือนไขที่ศาลกาหนด หรือ (๓) ผ้ตู ้องโทษกกั ขงั ต้องคาพิพากษาให้ลงโทษจาคกุ ศาลอาจเปล่ียนโทษกกั ขังเป็ นโทษจาคุกมีกาหนดเวลาตามท่ีศาล เห็นสมควร แต่ต้องไม่เกินกาหนดเวลาของโทษกักขังท่ีผู้ต้องโทษกักขัง จะต้องได้รับตอ่ ไป มาตรา ๒๘ ผู้ใดต้องโทษปรับ ผู้นัน้ จะต้องชาระเงินตามจานวน ท่ีกาหนดไว้ในคาพิพากษาตอ่ ศาล **มาตรา ๒๙ ผ้ใู ดต้องโทษปรับและไม่ชาระค่าปรับภายในสามสิบ วันนับแต่วันที่ศาลพิพากษา ผู้นัน้ จะต้องถูกยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิ เรียกร้องในทรัพย์สินเพื่อใช้คา่ ปรับ หรือมิฉะนนั้ จะต้องถกู กกั ขงั แทนคา่ ปรับ แต่ถ้ าศาลเห็นเหตุอันควรสงสัยว่าผู้นัน้ จะหลีกเลี่ยงไม่ชาระค่าปรับ ศาลจะสง่ั เรียกประกนั หรือจะสงั่ ให้กกั ขงั ผู้นนั้ แทนคา่ ปรับไปพลางก่อนก็ได้ ความในวรรคสองของมาตรา ๒๔ มิให้นามาใช้บังคบั แก่การกกั ขงั แทนคา่ ปรับ ____________________________________ *มาตรา ๒๗ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๕ **มาตรา ๒๙ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๓
30 *มาตรา ๒๙/๑ ในกรณีท่ีผู้ต้องโทษปรับไม่ชาระค่าปรับภายใน กาหนดเวลาตามมาตรา ๒๙ วรรคหน่ึง ให้ศาลมีอานาจออกหมายบังคบั คดีเพ่ือยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้ องในทรัพย์สินของผู้นัน้ เพื่อ ใช้คา่ ปรับ การบังคับคดีตามวรรคหน่ึง ให้นาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความแพ่งมาใช้บังคบั โดยอนุโลม โดยให้เจ้าพนักงานศาลท่ีได้รับแต่งตงั้ และพนกั งานอยั การเป็ นผู้มีอานาจหน้าท่ีในการดาเนินการบังคบั คดี และ ให้ เจ้ าพนักงานบังคับคดีมีอานาจหน้ าท่ียึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิ เรียกร้ องในทรัพย์สินของผู้ต้ องโทษปรับ และขายทอดตลาดตามที่ ได้รับแจ้งจากศาลหรือพนักงานอยั การ ทัง้ นี ้ มิให้หน่วยงานของรัฐเรียก คา่ ฤชาธรรมเนียมหรือคา่ ใช้จ่ายจากผ้ดู าเนินการบงั คบั คดี การตรวจสอบหาทรัพย์สินของผู้ต้องโทษปรับโดยพนักงานอยั การ เพื่อการบังคับคดีตามวรรคสอง ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขท่ีกาหนดในข้อบงั คบั ของอยั การสงู สดุ บทบัญญัติมาตรานีไ้ ม่กระทบต่อการที่ศาลจะมีคาสง่ั ตามมาตรา ๒๙ วรรคหนง่ึ **มาตรา ๓๐ ในการกักขังแทนค่าปรับ ให้ ถืออัตราห้ าร้ อยบาท ต่อหน่ึงวนั และไม่ว่าในกรณีความผิดกระทงเดียวหรือหลายกระทง ห้าม กักขังเกินกาหนดหน่ึงปี เว้นแต่ในกรณีท่ีศาลพิพากษาให้ ปรับตัง้ แต่ ____________________________________ *มาตรา ๒๙/๑ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๔ **มาตรา ๓๐ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๕
31 สองแสนบาทขึน้ ไป ศาลจะสงั่ ให้กักขังแทนค่าปรับเป็ นระยะเวลาเกินกว่า หนง่ึ ปี แตไ่ มเ่ กินสองปี ก็ได้ ในการคานวณระยะเวลานัน้ ให้นับวันเร่ิมกักขังแทนค่าปรับรวม เข้าด้วย และให้นบั เป็นหนง่ึ วนั เตม็ โดยไมต่ ้องคานงึ ถงึ จานวนชว่ั โมง ในกรณีท่ีผู้ต้องโทษปรับถูกคุมขงั ก่อนศาลพิพากษา ให้หกั จานวน วันท่ีถูกคุมขังนัน้ ออกจากจานวนเงินค่าปรับ โดยถืออัตราห้าร้ อยบาท ตอ่ หนง่ึ วนั เว้นแตผ่ ้นู นั้ ต้องคาพิพากษาให้ลงโทษทงั้ จาคกุ และปรับ ในกรณี เช่นว่านี ้ถ้าจะต้องหกั จานวนวนั ท่ีถูกคมุ ขงั ออกจากเวลาจาคกุ ตามมาตรา ๒๒ ก็ให้หกั ออกเสยี กอ่ น เหลือเทา่ ใดจงึ ให้หกั ออกจากเงินคา่ ปรับ เม่ือผู้ต้องโทษปรับถูกกักขงั แทนค่าปรับครบกาหนดแล้ว ให้ปล่อย ตัวในวันถัดจากวันท่ีครบกาหนด ถ้านาเงินค่าปรับมาชาระครบแล้ว ให้ปลอ่ ยตวั ไปทนั ที * มาตรา ๓๐/๑ ในกรณีท่ีศาลพิพากษาปรับผู้ต้องโทษปรับซึ่งมิใช่ นิติบคุ คลและไมม่ ีเงินชาระคา่ ปรับ อาจยื่นคาร้องต่อศาลชนั้ ต้นที่พิพากษา คดีเพื่อขอทางานบริการสงั คมหรือทางานสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับ หรือถ้าความปรากฏแก่ศาลในขณะท่ีพิพากษาคดีว่าผ้ตู ้องโทษปรับรายใด อยู่ในเกณฑ์ท่ีจะทางานบริการสงั คมหรือทางานสาธารณประโยชน์ตาม มาตรานีไ้ ด้ และถ้าผู้ต้องโทษปรับยินยอม ศาลจะมีคาสง่ั ให้ผู้นนั้ ทางาน บริการสงั คมหรือทางานสาธารณประโยชน์แทนคา่ ปรับก็ได้ การพิจารณาคาร้ องตามวรรคแรก เม่ือศาลได้พิจารณาถึงฐานะ ____________________________________ *มาตรา ๓๐/๑ เพ่ิมเติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๗ และเฉพาะ มาตรา ๓๐/๑ วรรคหนึ่ง แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพม่ิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๖
32 การเงิน ประวัติและสภาพความผิดของผู้ต้องโทษปรับแล้ว เห็นเป็ นการ สมควร ศาลจะมีคาสงั่ ให้ผู้นนั้ ทางานบริการสังคมหรือทางานสาธารณ- ประโยชน์แทนคา่ ปรับก็ได้ ทงั้ นี ้ภายใต้การดแู ลของพนกั งานคมุ ประพฤติ เจ้าหน้าที่ของรัฐ หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การซงึ่ มีวตั ถุประสงค์เพ่ือการ บริการสงั คม การกศุ ลสาธารณะหรือสาธารณประโยชน์ที่ยินยอมรับดแู ล กรณีท่ีศาลมีคาสง่ั ให้ผ้ตู ้องโทษปรับทางานบริการสงั คมหรือทางาน สาธารณประโยชน์แทนค่าปรับ ให้ศาลกาหนดลกั ษณะหรือประเภทของ งาน ผ้ดู แู ลการทางาน วนั เร่ิมทางาน ระยะเวลาทางาน และจานวนช่ัวโมง ที่ถือเป็ นการทางานหนง่ึ วนั ทงั้ นี ้โดยคานึงถงึ เพศ อายุ ประวตั ิ การนบั ถือ ศาสนา ความประพฤติ สติปัญญา การศกึ ษาอบรม สขุ ภาพ ภาวะแห่งจิต นิสัย อาชีพ ส่ิงแวดล้อมหรือสภาพความผิดของผู้ต้องโทษปรับประกอบ ด้วย และศาลจะกาหนดเงื่อนไขอย่างหนึง่ อย่างใดให้ผ้ตู ้องโทษปรับปฏิบตั ิ เพื่อแก้ไขฟื น้ ฟหู รือป้ องกนั มใิ ห้ผ้นู นั้ กระทาความผิดขนึ ้ อีกก็ได้ ถ้าภายหลงั ความปรากฏแก่ศาลว่าพฤติการณ์เกี่ยวกบั การทางาน บริ การสังคมหรื อทางานสาธารณประโยชน์ของผู้ต้ องโทษปรั บ ได้เปลี่ยนแปลงไป ศาลอาจแก้ไขเปลี่ยนแปลงคาส่งั ที่กาหนดไว้นัน้ ก็ได้ ตามท่ีเหน็ สมควร ในการกาหนดระยะเวลาทางานแทนค่าปรับตามวรรคสาม ให้นา บทบัญญัติมาตรา ๓๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม และในกรณีที่ศาลมิได้ กาหนดให้ผู้ต้องโทษปรับทางานติดต่อกันไป การทางานดังกล่าวต้อง อยภู่ ายในกาหนดระยะเวลาสองปี นบั แตว่ นั เริ่มทางานตามที่ศาลกาหนด เพื่อประโยชน์ในการกาหนดจานวนช่ัวโมงทางานตามวรรคสาม ให้ประธานศาลฎีกามอี านาจออกระเบียบราชการฝ่ ายตลุ าการศาลยตุ ิธรรม
33 กาหนดจานวนชว่ั โมงที่ถือเป็ นการทางานหนึง่ วนั สาหรับงานบริการสงั คม หรืองานสาธารณประโยชน์แตล่ ะประเภทได้ตามที่เห็นสมควร *มาตรา ๓๐/๒ ถ้าภายหลงั ศาลมีคาสงั่ อนุญาตตามมาตรา ๓๐/๑ แล้ว ความปรากฏแก่ศาลเองหรือความปรากฏตามคาแถลงของโจทก์หรือ เจ้าพนกั งานว่าผู้ต้องโทษปรับมีเงินพอชาระค่าปรับได้ในเวลาที่ยื่นคาร้ อง ตามมาตรา ๓๐/๑ หรือฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบัติตามคาสง่ั หรือเง่ือนไขที่ศาล กาหนด ศาลจะเพิกถอนคาสั่งอนุญาตดงั กล่าวและปรับหรือกักขังแทน ค่าปรับ โดยให้หักจานวนวันที่ทางานมาแล้วออกจากจานวนเงินค่าปรับ ก็ได้ ในระหว่างการทางานบริการสงั คมหรือทางานสาธารณประโยชน์ แทนคา่ ปรับหากผ้ตู ้องโทษปรับไมป่ ระสงค์จะทางานดงั กลา่ วตอ่ ไป อาจขอ เปล่ียนเป็ นรับโทษปรับหรือกกั ขงั แทนคา่ ปรับก็ได้ ในกรณีนีใ้ ห้ศาลมีคาสงั่ อนุญาตตามคาร้ อง โดยให้หกั จานวนวนั ที่ทางานมาแล้วออกจากจานวน เงินคา่ ปรับ * มาตรา ๓๐/๓ คาสั่งศาลตามมาตรา ๓๐/๑ และมาตรา ๓๐/๒ ให้ เป็ นที่สดุ มาตรา ๓๑ ในกรณีท่ีศาลจะพิพากษาให้ปรับผู้กระทาความผิด หลายคน ในความผิดอันเดียวกัน ในกรณีเดียวกัน ให้ศาลลงโทษปรับ ____________________________________ *มาตรา ๓๐/๒ และมาตรา ๓๐/๓ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๑๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๗
34 เรียงตามรายตวั บคุ คล มาตรา ๓๒ ทรัพย์สินใดท่ีกฎหมายบญั ญัติไว้ว่า ผู้ใดทาหรือมีไว้ เป็ นความผิด ให้ริบเสียทงั้ สิน้ ไม่ว่าเป็ นของผู้กระทาความผิด และมีผู้ถูก ลงโทษตามคาพิพากษาหรือไม่ มาตรา ๓๓ ในการริบทรัพย์สิน นอกจากศาลจะมีอานาจริบตาม กฎหมายที่บัญญัติไว้โดยเฉพาะแล้ว ให้ศาลมีอานาจส่งั ให้ริบทรัพย์สิน ดงั ตอ่ ไปนีอ้ กี ด้วย คือ (๑) ทรัพย์สินซงึ่ บคุ คลได้ใช้ หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระทาความผิด หรือ (๒) ทรัพย์สินซงึ่ บคุ คลได้มาโดยได้กระทาความผิด เว้นแตท่ รัพย์สนิ เหลา่ นีเ้ป็นทรัพย์สินของผ้อู น่ื ซงึ่ มไิ ด้รู้เหน็ เป็นใจด้วย ในการกระทาความผิด มาตรา ๓๔ บรรดาทรัพย์สิน (๑) ซง่ึ ได้ให้ตามความในมาตรา ๑๔๓ มาตรา ๑๔๔ มาตรา ๑๔๙ มาตรา ๑๕๐ มาตรา ๑๖๗ มาตรา ๒๐๑ หรือมาตรา ๒๐๒ หรือ (๒) ซงึ่ ได้ให้เพื่อจงู ใจบุคคลให้กระทาความผิด หรือเพื่อเป็ นรางวลั ในการท่ีบคุ คลได้กระทาความผิด ให้ริบเสยี ทงั้ สิน้ เว้นแตท่ รัพย์สินนนั้ เป็ นของผ้อู ื่นซง่ึ มิได้รู้เห็นเป็ นใจ ด้วยในการกระทาความผิด
35 มาตรา ๓๕ ทรัพย์สินซง่ึ ศาลพิพากษาให้ริบให้ตกเป็ นของแผ่นดิน แต่ศาลจะพิพากษาให้ทาให้ทรัพย์สินนนั้ ใช้ไม่ได้ หรือทาลายทรัพย์สินนนั้ เสียก็ได้ มาตรา ๓๖ ในกรณีที่ศาลสงั่ ให้ริบทรัพย์สินตามมาตรา ๓๓ หรือ มาตรา ๓๔ ไปแล้ว หากปรากฏในภายหลงั โดยคาเสนอของเจ้าของแท้จริง ว่า ผู้เป็ นเจ้าของแท้จริงมิได้รู้เห็นเป็ นใจด้วยในการกระทาความผิด ก็ให้ ศาลสงั่ ให้คืนทรัพย์สิน ถ้าทรัพย์สินนนั้ ยงั คงมีอยู่ในความครอบครองของ เจ้าพนกั งาน แตค่ าเสนอของเจ้าของแท้จริงนนั้ จะต้องกระทาตอ่ ศาลภายใน หนงึ่ ปี นบั แตว่ นั คาพิพากษาถงึ ท่ีสดุ มาตรา ๓๗ ถ้าผู้ท่ีศาลส่ังให้ส่งทรัพย์สินท่ีริบไม่ส่งภายในเวลา ที่ศาลกาหนด ให้ศาลมีอานาจสง่ั ดงั ตอ่ ไปนี ้ (๑) ให้ยดึ ทรัพย์สนิ นนั้ (๒) ให้ชาระราคาหรือสง่ั ยดึ ทรัพย์สนิ อืน่ ของผ้นู นั้ ชดใช้ราคาจนเตม็ หรือ (๓) ในกรณีที่ศาลเหน็ วา่ ผ้นู นั้ จะสง่ ทรัพย์สินที่สงั่ ให้ส่งได้ แต่ไม่สง่ หรือชาระราคาทรัพย์สินนัน้ ได้ แต่ไม่ชาระ ให้ศาลมีอานาจกักขังผู้นัน้ ไว้ จนกว่าจะปฏิบตั ิตามคาสง่ั แตไ่ ม่เกินหน่ึงปี แต่ถ้าภายหลงั ปรากฏแก่ศาล เอง หรือโดยคาเสนอของผู้นัน้ ว่า ผู้นัน้ ไม่สามารถส่งทรัพย์สินหรือชาระ ราคาได้ ศาลจะสงั่ ให้ปลอ่ ยตวั ผ้นู นั้ ไปก่อนครบกาหนดก็ได้
36 มาตรา ๓๘ โทษให้เป็ นอันระงับไปด้วยความตายของผู้กระทา ความผิด ส่วนท่ี ๒ วธิ ีการเพ่อื ความปลอดภยั มาตรา ๓๙ วธิ ีการเพื่อความปลอดภยั มีดงั นี ้ (๑) กกั กนั (๒) ห้ามเข้าเขตกาหนด (๓) เรียกประกนั ทณั ฑ์บน (๔) คมุ ตวั ไว้ในสถานพยาบาล (๕) ห้ามการประกอบอาชีพบางอย่าง มาตรา ๔๐ กักกัน คือ การควบคุมผู้กระทาความผิดติดนิสัยไว้ ภายในเขตกาหนด เพื่อป้ องกนั การกระทาความผิด เพ่ือดดั นิสยั และเพ่ือ ฝึกหดั อาชีพ มาตรา ๔๑ ผู้ใดเคยถูกศาลพิพากษาให้กักกันมาแล้ว หรือเคยถูก ศาลพิพากษาให้ลงโทษจาคกุ ไมต่ ่ากวา่ หกเดือนมาแล้วไมน่ ้อยกวา่ สองครัง้ ในความผิดดงั ตอ่ ไปนี ้คอื (๑) ความผิดเก่ียวกบั ความสงบสขุ ของประชาชน ตามท่ีบญั ญตั ิไว้ ในมาตรา ๒๐๙ ถงึ มาตรา ๒๑๖
37 (๒) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยนั ตรายตอ่ ประชาชน ตามที่ บญั ญตั ไิ ว้ในมาตรา ๒๑๗ ถงึ มาตรา ๒๒๔ (๓) ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา ตามที่บญั ญัติไว้ในมาตรา ๒๔๐ ถึง มาตรา ๒๔๖ (๔) ความผิดเก่ียวกับเพศ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๗๖ ถึง มาตรา ๒๘๖ (๕) ความผิดต่อชีวิต ตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๘๘ ถึงมาตรา ๒๙๐ มาตรา ๒๙๒ ถงึ มาตรา ๒๙๔ (๖) ความผิดต่อร่างกาย ตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๙๕ ถึง มาตรา ๒๙๙ (๗) ความผิดต่อเสรีภาพ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๐๙ ถึง มาตรา ๓๒๐ (๘) ความผิดเก่ียวกับทรัพย์ ตามท่ีบญั ญัติไว้ในมาตรา ๓๓๔ ถึง มาตรา ๓๔๐ มาตรา ๓๕๔ และมาตรา ๓๕๗ และภายในเวลาสิบปี นับแต่วันท่ีผู้นัน้ ได้พ้นจากการกักกัน หรือ พ้นโทษแล้วแต่กรณี ผู้นัน้ ได้กระทาความผิดอย่างหนึ่งอย่างใดในบรรดา ที่ระบไุ ว้นนั้ อีกจนศาลพิพากษาลงโทษจาคกุ ไม่ต่ากว่าหกเดือนสาหรับการ กระทาความผิดนนั้ ศาลอาจถือว่าผู้นนั้ เป็ นผ้กู ระทาความผิดติดนิสยั และ จะพิพากษาให้กกั กนั มีกาหนดเวลาไม่น้อยกว่าสามปี และไม่เกินสิบปี ก็ได้ *ความผิดซึง่ ผู้กระทาได้กระทาในขณะที่มีอายุต่ากว่าสิบแปดปี นัน้ มใิ ห้ถือเป็นความผิดท่ีจะนามาพิจารณากกั กนั ตามมาตรานี ้ ____________________________________ *มาตรา ๔๑ วรรคสอง แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๓
38 มาตรา ๔๒ ในการคานวณระยะเวลากักกัน ให้ นับวันท่ีศาล พิพากษาเป็นวนั เร่ิมกกั กนั แตถ่ ้ายงั มีโทษจาคกุ หรือกกั ขงั ที่ผ้ตู ้องกกั กนั นนั้ จะต้องรับอยู่ กใ็ ห้จาคกุ หรือกกั ขงั เสียก่อนและให้นบั วนั ถดั จากวนั ท่ีพ้นโทษ จาคกุ หรือพ้นจากกกั ขงั เป็นวนั เริ่มกกั กนั ระยะเวลากักกันและการปล่อยตัวผู้ถูกกักกัน ให้นาบทบัญญัติ มาตรา ๒๑ มาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม มาตรา ๔๓ การฟ้ องขอให้กักกันเป็ นอานาจของพนกั งานอยั การ โดยเฉพาะ และจะขอรวมกันไปในฟ้ องคดีอันเป็ นมูลให้เกิดอานาจฟ้ อง ขอให้กกั กนั หรือจะฟ้ องภายหลงั ก็ได้ มาตรา ๔๔ ห้ามเข้าเขตกาหนด คือการห้ามมิให้เข้าไปในท้องท่ี หรือสถานท่ีท่ีกาหนดไว้ในคาพิพากษา มาตรา ๔๕ เม่ือศาลพิพากษาให้ลงโทษผ้ใู ด และศาลเห็นสมควร เพ่ือความปลอดภัยของประชาชน ไม่ว่าจะมีคาขอหรือไม่ ศาลอาจสั่ง ในคาพิพากษาว่าเมื่อผู้นัน้ พ้นโทษตามคาพิพากษาแล้ว ห้ามมิให้ผู้นัน้ เข้าในเขตกาหนดเป็นเวลาไมเ่ กินห้าปี *มาตรา ๔๖ ถ้าความปรากฏแก่ศาลตามข้อเสนอของพนักงาน อยั การว่าผู้ใดจะก่อเหตุร้ ายให้เกิดภยนั ตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของ ____________________________________ *มาตรา ๔๖ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔
39 ผู้อื่น หรือจะกระทาการใดให้ เกิดความเสียหายแก่สิ่งแวดล้ อมหรือ ทรั พยากรธ รรมช าติตามกฎห มายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้ อมแล ะทรั พ ยากร ธรรมชาติ ในการพิจารณาคดีความผิดใด ไม่ว่าศาลจะลงโทษผู้ถูกฟ้ อง หรือไม่ก็ตาม เมื่อมีเหตุอันควรเชื่อว่าผู้ถูกฟ้ องน่าจะก่อเหตุร้ ายให้เกิด ภยันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของผู้อื่น หรือจะกระทาความผิดให้เกิด ความเสียหายแก่สิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติตามกฎหมายเกี่ยวกบั สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ให้ศาลมีอานาจที่จะส่ังผู้นัน้ ให้ทา ทัณฑ์บนโดยกาหนดจานวนเงินไม่เกินกว่าห้าหม่ืนบาทว่าผู้นัน้ จะไม่ก่อ เหตุร้ ายหรือจะไม่กระทาความผิดดังกล่าวแล้วตลอดเวลาที่ศาลกาหนด แตไ่ มเ่ กินสองปี และจะสงั่ ให้มปี ระกนั ด้วยหรือไมก่ ็ได้ ถ้าผู้นัน้ ไม่ยอมทาทัณฑ์บนหรือหาประกันไม่ได้ ให้ศาลมีอานาจ สงั่ กกั ขงั ผ้นู นั้ จนกวา่ จะทาทณั ฑ์บนหรือหาประกนั ได้ แตไ่ มใ่ ห้กกั ขงั เกินกวา่ หกเดือน หรือจะสงั่ ห้ามผ้นู นั้ เข้าในเขตกาหนดตามมาตรา ๔๕ กไ็ ด้ การกระทาของผู้ซ่ึงมีอายุต่ากว่าสิบแปดปี มิให้อยู่ในบังคับแห่ง บทบญั ญตั ิตามมาตรานี ้ มาตรา ๔๗ ถ้าผู้ทาทัณฑ์บนตามความในมาตรา ๔๖ กระทาผิด ทณั ฑ์บน ให้ศาลมีอานาจสง่ั ให้ผ้นู นั้ ชาระเงินไมเ่ กินจานวนที่ได้กาหนดไว้ ในทัณฑ์บน ถ้าผู้นัน้ ไม่ชาระให้นาบทบัญญัติในมาตรา ๒๙ และมาตรา ๓๐ มาใช้บงั คบั มาตรา ๔๘ ถ้ าศาลเ ห็น ว่า ก าร ปล่อย ตัวผู้มี จิ ต บก พร่ อ ง
40 โรคจิตหรือจิตฟ่ันเฟื อน ซง่ึ ไม่ต้องรับโทษหรือได้รับการลดโทษตามมาตรา ๖๕ จะเป็ นการไม่ปลอดภัยแก่ประชาชน ศาลจะส่ังให้ส่งไปคุมตวั ไว้ใน สถานพยาบาลกไ็ ด้ และคาสงั่ นีศ้ าลจะเพิกถอนเสียเมือ่ ใดก็ได้ มาตรา ๔๙ ในกรณีท่ีศาลพิพากษาลงโทษจาคกุ หรือพิพากษาว่า มคี วามผิดแตร่ อการกาหนดโทษ หรือรอการลงโทษบคุ คลใด ถ้าศาลเหน็ วา่ บคุ คลนนั้ ได้กระทาความผิดเก่ียวเน่ืองกบั การเสพสุราเป็ นอาจิณ หรือการ เป็ นผู้ติดยาเสพติดให้โทษ ศาลจะกาหนดในคาพิพากษาว่า บุคคลนัน้ จะต้องไม่เสพสุรา ยาเสพติดให้โทษอย่างหนึ่งอย่างใด หรือทัง้ สองอย่าง ภายในระยะเวลาไม่เกินสองปี นับแต่วันพ้นโทษ หรือวันปล่อยตวั เพราะ รอการกาหนดโทษ หรือรอการลงโทษก็ได้ ในกรณีท่ีบุคคลดังกล่าวในวรรคแรกไม่ปฏิบัติตามที่ศาลกาหนด ศาลจะสงั่ ให้สง่ ไปคมุ ตวั ไว้ในสถานพยาบาลเป็นเวลาไมเ่ กินสองปี ก็ได้ มาตรา ๕๐ เมื่อศาลพิพากษาให้ลงโทษผู้ใด ถ้าศาลเห็นว่าผู้นัน้ กระทาความผิดโดยอาศยั โอกาสจากการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ หรือ เนื่องจากการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ และเห็นว่าหากผู้นัน้ ประกอบ อาชีพหรือวิชาชีพนัน้ ต่อไป อาจจะกระทาความผิดเช่นนัน้ ขึน้ อีก ศาลจะ สงั่ ไว้ในคาพิพากษาห้ามการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพนนั้ มีกาหนดเวลา ไมเ่ กินห้าปี นบั แตว่ นั พ้นโทษไปแล้วกไ็ ด้
41 ส่วนท่ี ๓ วธิ ีเพ่มิ โทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ *มาตรา ๕๑ ในการเพ่ิมโทษ มิให้เพิ่มขึน้ ถึงประหารชีวิต จาคุก ตลอดชีวิต หรือจาคกุ เกินห้าสิบปี **มาตรา ๕๒ ในการลดโทษประหารชีวติ ไมว่ า่ จะเป็นการลดมาตรา สว่ นโทษหรือลดโทษที่จะลง ให้ลดดงั ตอ่ ไปนี ้ (๑) ถ้าจะลดหนงึ่ ในสาม ให้ลดเป็นโทษจาคกุ ตลอดชีวิต (๒) ถ้าจะลดกง่ึ หนง่ึ ให้ลดเป็นโทษจาคกุ ตลอดชีวติ หรือโทษจาคกุ ตงั้ แตย่ ่ีสิบห้าปี ถงึ ห้าสบิ ปี **มาตรา ๕๓ ในการลดโทษจาคุกตลอดชีวิต ไม่ว่าจะเป็ นการ ลดมาตราส่วนโทษหรือลดโทษที่จะลง ให้เปลี่ยนโทษจาคุกตลอดชีวิต เป็นโทษจาคกุ ห้าสิบปี มาตรา ๕๔ ในการคานวณการเพ่ิมโทษหรื อลดโทษที่จะลง ให้ศาลตงั้ กาหนดโทษท่ีจะลงแก่จาเลยเสียก่อนแล้วจึงเพิ่มหรือลด ถ้ามี ทงั้ การเพ่ิมและการลดโทษที่จะลง ให้เพ่ิมก่อนแล้วจึงลดจากผลท่ีเพ่ิมแล้ว นัน้ ถ้าส่วนของการเพ่ิมเท่ากับหรือมากกว่าส่วนของการลด และศาล เห็นสมควรจะไมเ่ พ่ิมไมล่ ดก็ได้ ____________________________________ *มาตรา ๕๑ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่มิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๒๖ มาตรา ๓ **มาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓ แก้ไขโดยประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบบั ที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๑๔ ข้อ ๑
42 มาตรา ๕๕ ถ้าโทษจาคกุ ท่ีผู้กระทาความผิดจะต้องรับ มีกาหนด เวลาเพียงสามเดือนหรือน้อยกว่า ศาลจะกาหนดโทษจาคกุ ให้น้อยลงอีก ก็ได้ หรือถ้าโทษจาคุกที่ผู้กระทาความผิดจะต้องรับ มีกาหนดเวลาเพียง สามเดือนหรือน้อยกว่า และมีโทษปรับด้วย ศาลจะกาหนดโทษจาคุก ให้น้อยลง หรือจะยกโทษจาคกุ เสีย คงให้ปรับแตอ่ ย่างเดียวกไ็ ด้ *มาตรา ๕๖ ผู้ใดกระทาความผิดซง่ึ มีโทษจาคุกหรือปรับ และใน คดีนนั้ ศาลจะลงโทษจาคกุ ไมเ่ กินห้าปี ไมว่ า่ จะลงโทษปรับด้วยหรือไมก่ ็ตาม หรือลงโทษปรับ ถ้าปรากฏวา่ ผ้นู นั้ (๑) ไมเ่ คยรับโทษจาคกุ มาก่อน หรือ (๒) เคยรับโทษจาคกุ มากอ่ นแตเ่ ป็นโทษสาหรับความผิดท่ีได้กระทา โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ หรือเป็ นโทษจาคกุ ไม่เกินหกเดือน หรือ (๓) เคยรับโทษจาคกุ มาก่อนแต่พ้นโทษจาคกุ มาแล้วเกินกว่าห้าปี แล้วมากระทาความผิดอีก โดยความผิดในครัง้ หลงั เป็นความผิดที่ได้กระทา โดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ และเมื่อศาลได้คานึงถึงอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ ภาวะแห่งจิต นิสัย อาชีพ และส่ิงแวดล้อม ของผู้นนั้ หรือสภาพความผิด หรือการรู้สกึ ความผิดและพยายามบรรเทา ผลร้ ายที่เกิดขึน้ หรือเหตุอ่ืนอันควรปรานีแล้ว ศาลจะพิพากษาว่าผู้นัน้ มีความผิดแต่รอการกาหนดโทษหรือกาหนดโทษแต่รอการลงโทษไว้ ไม่ว่า จะเป็นโทษจาคกุ หรือปรับอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดหรือทงั้ สองอย่าง เพื่อให้โอกาส ____________________________________ *มาตรา ๕๖ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิม่ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๗
43 กลบั ตวั ภายในระยะเวลาท่ีศาลจะได้กาหนดแต่ต้องไม่เกินห้าปี นบั แต่วนั ท่ี ศาลพิพากษา โดยจะกาหนดเง่ือนไขเพ่ือคุมความประพฤติของผู้นนั้ ด้วย หรือไมก่ ไ็ ด้ เงื่อนไขเพ่ือคุมความประพฤติของผู้กระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง ศาลอาจกาหนดข้อเดียวหรือหลายข้อตามควรแกก่ รณีได้ ดงั ตอ่ ไปนี ้ (๑) ให้ไปรายงานตัวต่อเจ้าพนักงานที่ศาลระบุไว้เป็ นครัง้ คราว เพื่อเจ้าพนักงานจะได้สอบถาม แนะนา ช่วยเหลือ หรือตักเตือนตามที่ เหน็ สมควรในเรื่องความประพฤติ และการประกอบอาชีพ หรือจดั ให้กระทา กิจกรรมบริการสงั คมหรือสาธารณประโยชน์ (๒) ให้ฝึกหดั หรือทางานอาชีพอนั เป็นกิจจะลกั ษณะ (๓) ให้ละเว้นการคบหาสมาคมหรือการประพฤติใดอนั อาจนาไปสู่ การกระทาความผิดในทานองเดียวกนั อีก (๔) ให้ไปรับการบาบดั รักษาการติดยาเสพติดให้โทษ ความบกพร่อง ทางร่างกายหรือจิตใจ หรือความเจ็บป่ วยอย่างอื่น ณ สถานที่และตาม ระยะเวลาท่ีศาลกาหนด (๕) ให้เข้ารับการฝึ กอบรม ณ สถานที่และตามระยะเวลาท่ีศาล กาหนด (๖) ห้ ามออกนอกสถานท่ีอยู่อาศัย หรือห้ ามเข้ าในสถานที่ใด ในระหวา่ งเวลาท่ีศาลกาหนด ทงั้ นี ้จะใช้อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์หรืออปุ กรณ์ อ่ืนใดท่ีสามารถใช้ตรวจสอบหรือจากดั การเดินทางด้วยกไ็ ด้ (๗) ให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือเยียวยาความเสียหายโดยวิธีอื่น ให้แก่ผ้เู สียหายตามท่ีผ้กู ระทาความผิดและผ้เู สียหายตกลงกนั (๘) ให้แก้ไขฟื ้นฟูหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดแก่ทรัพยากร
44 ธรรมชาตหิ รือสง่ิ แวดล้อม หรือชดใช้คา่ เสยี หายเพ่ือการดงั กลา่ ว (๙) ให้ทาทณั ฑ์บนโดยกาหนดจานวนเงินตามที่ศาลเห็นสมควรว่า จะไมก่ ่อเหตรุ ้ายหรือก่อให้เกิดภยนั ตรายแก่บคุ คลอนื่ หรือทรัพย์สิน (๑๐) เง่ือนไขอื่น ๆ ตามที่ศาลเห็นสมควรกาหนดเพื่อแก้ไข ฟื ้นฟู หรือป้ องกนั มใิ ห้ผ้กู ระทาความผิดกระทาหรือมโี อกาสกระทาความผิดขนึ ้ อกี หรือเง่ือนไขในการเยียวยาผ้เู สยี หายตามท่ีเหน็ สมควร เงื่อนไขตามท่ีศาลได้กาหนดตามความในวรรคสองนนั้ ถ้าภายหลงั ความปรากฏแก่ศาลตามคาขอของผ้กู ระทาความผิด ผ้แู ทนโดยชอบธรรม ของผู้นัน้ ผู้อนุบาลของผู้นัน้ พนักงานอัยการหรื อเจ้ าพนักงานว่า พฤติการณ์ที่เกี่ยวแก่การควบคุมความประพฤติของผู้กระทาความผิด ได้เปล่ียนแปลงไป เม่ือศาลเหน็ สมควร ศาลอาจแก้ไขเพิ่มเติมหรือเพิกถอน ข้อหนง่ึ ข้อใดเสียก็ได้ หรือจะกาหนดเง่ือนไขข้อใดตามที่กล่าวในวรรคสอง ท่ีศาลยงั มิได้กาหนดไว้เพ่ิมเติมขนึ ้ อีกก็ได้ หรือถ้ามีการกระทาผิดทณั ฑ์บน ให้นาบทบญั ญตั ิมาตรา ๔๗ มาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม มาตรา ๕๗ เม่ือความปรากฏแก่ศาลเอง หรือความปรากฏตาม คาแถลงของพนักงานอัยการหรือเจ้ าพนักงานว่า ผู้กระทาความผิด ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขดงั ที่ศาลกาหนดตามมาตรา ๕๖ ศาลอาจตักเตือน ผ้กู ระทาความผิด หรือจะกาหนดการลงโทษท่ียงั ไม่ได้กาหนดหรือลงโทษ ซงึ่ รอไว้นนั้ ก็ได้
45 *มาตรา ๕๘ เมื่อความปรากฏแก่ศาลเอง หรือความปรากฏตาม คาแถลงของโจทก์หรือเจ้าพนักงานว่า ภายในเวลาที่ศาลกาหนดตาม มาตรา ๕๖ ผู้ที่ถูกศาลพิพากษาได้กระทาความผิดอันมิใช่ความผิด ท่ีได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ และศาลพิพากษาให้ลงโทษ จาคุกสาหรับความผิดนนั้ ให้ศาลท่ีพิพากษาคดีหลงั กาหนดโทษที่รอการ กาหนดไว้ในคดีก่อนบวกเข้ากับโทษในคดีหลัง หรือบวกโทษที่รอการ ลงโทษไว้ในคดกี อ่ นเข้ากบั โทษในคดหี ลงั แล้วแตก่ รณี แตถ่ ้าภายในเวลาที่ศาลได้กาหนดตามมาตรา ๕๖ ผ้นู นั้ มิได้กระทา ความผิดดงั กล่าวมาในวรรคแรก ให้ผู้นนั้ พ้นจากการท่ีจะถูกกาหนดโทษ หรือถกู ลงโทษในคดีนนั้ แล้วแตก่ รณี ____________________________________ *มาตรา ๕๘ วรรคหนงึ่ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพมิ่ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๓๒ มาตรา ๔
46 หมวด ๔ ความรับผิดในทางอาญา มาตรา ๕๙ บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเม่ือได้กระทา โดยเจตนา เว้นแต่จะได้กระทาโดยประมาทในกรณีท่ีกฎหมายบัญญัติ ให้ต้องรับผิดเม่ือได้กระทาโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีท่ีกฎหมาย บญั ญตั ไิ ว้โดยแจ้งชดั ให้ต้องรับผิดแม้ได้กระทาโดยไมม่ ีเจตนา กระทาโดยเจตนา ได้แก่กระทาโดยรู้สานึกในการท่ีกระทาและใน ขณะเดียวกนั ผ้กู ระทาประสงค์ต่อผล หรือยอ่ มเลง็ เห็นผลของการกระทานนั้ ถ้าผู้กระทามิได้รู้ข้ อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบของความผิด จะถือวา่ ผ้กู ระทาประสงค์ตอ่ ผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทานนั้ มิได้ กระทาโดยประมาท ได้แกก่ ระทาความผิดมิใช่โดยเจตนา แตก่ ระทา โดยปราศจากความระมดั ระวงั ซ่งึ บุคคลในภาวะเช่นนนั้ จกั ต้องมีตามวิสยั และพฤติการณ์ และผ้กู ระทาอาจใช้ความระมดั ระวงั เช่นว่านนั้ ได้ แตห่ าได้ ใช้ให้เพียงพอไม่ การกระทา ให้หมายความรวมถึงการให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึน้ โดยงดเว้นการที่จกั ต้องกระทาเพื่อป้ องกนั ผลนนั้ ด้วย มาตรา ๖๐ ผู้ใดเจตนาที่จะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ผลของการ กระทาเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งโดยพลาดไป ให้ถือว่าผู้นนั้ กระทาโดยเจตนา แก่บุคคลซงึ่ ได้รับผลร้ ายจากการกระทานนั้ แตใ่ นกรณีที่กฎหมายบัญญัติ ให้ลงโทษหนกั ขึน้ เพราะฐานะของบุคคลหรือเพราะความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง
47 ผู้กระทากับบุคคลที่ได้ รับผลร้ าย มิให้ นากฎหมายนัน้ มาใช้ บังคับ เพ่ือลงโทษผ้กู ระทาให้หนกั ขนึ ้ มาตรา ๖๑ ผู้ใดเจตนาจะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ได้กระทา ตอ่ อกี บคุ คลหนง่ึ โดยสาคญั ผิด ผ้นู นั้ จะยกเอาความสาคญั ผิดเป็ นข้อแก้ตวั วา่ มไิ ด้กระทาโดยเจตนาหาได้ไม่ มาตรา ๖๒ ข้อเท็จจริงใด ถ้ามีอยู่จริงจะทาให้การกระทาไม่เป็ น ความผิด หรือทาให้ผู้กระทาไม่ต้องรับโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง แม้ ข้อเท็จจริงนัน้ จะไม่มีอยู่จริง แต่ผู้กระทาสาคัญผิดว่ามีอยู่จริง ผู้กระทา ย่อมไมม่ ีความผิด หรือได้รับยกเว้นโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง แล้วแต่กรณี ถ้าความไม่รู้ข้อเท็จจริงตามความในวรรคสามแห่งมาตรา ๕๙ หรือ ความสาคัญผิดว่ามีอยู่จริงตามความในวรรคแรก ได้เกิดขึน้ ด้วยความ ประมาทของผู้กระทาความผิด ให้ผู้กระทารับผิดฐานกระทาโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะว่า การกระทานนั้ ผู้กระทาจะต้อง รับโทษแม้กระทาโดยประมาท บุคคลจะต้องรับโทษหนักขึน้ โดยอาศัยข้อเท็จจริงใด บุคคลนัน้ จะต้องได้รู้ข้อเทจ็ จริงนนั้ มาตรา ๖๓ ถ้ าผลของการกระทาความผิดใดทาให้ ผู้กระทา ต้องรับโทษหนักขึน้ ผลของการกระทาความผิดนัน้ ต้องเป็ นผลที่ตาม ธรรมดาย่อมเกิดขนึ ้ ได้
48 มาตรา ๖๔ บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายเพ่ือให้พ้นจากความ รับผิดในทางอาญาไม่ได้ แต่ถ้าศาลเห็นว่า ตามสภาพและพฤติการณ์ ผ้ ูก ร ะ ท า ค ว า ม ผิ ด อ า จ จ ะ ไ ม่ ร้ ู ว่ า ก ฎ ห ม า ย บัญ ญั ติ ว่ า ก า ร ก ร ะ ท า นัน้ เป็นความผิด ศาลอาจอนญุ าตให้แสดงพยานหลกั ฐานตอ่ ศาล และถ้าศาล เช่ือว่าผู้กระทาไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติไว้เช่นนนั้ ศาลจะลงโทษน้อยกว่า ที่กฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนนั้ เพียงใดกไ็ ด้ มาตรา ๖๕ ผ้ใู ดกระทาความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือ ไม่สามารถบังคบั ตนเองได้เพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิตหรือจิตฟ่ันเฟื อน ผ้นู นั้ ไมต่ ้องรับโทษสาหรับความผิดนนั้ แตถ่ ้าผ้กู ระทาความผิดยงั สามารถรู้ผิดชอบอย่บู ้าง หรือยงั สามารถ บงั คบั ตนเองได้บ้าง ผ้นู นั้ ต้องรับโทษสาหรับความผิดนนั้ แต่ศาลจะลงโทษ น้อยกวา่ ท่ีกฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนนั้ เพียงใดกไ็ ด้ มาตรา ๖๖ ความมึนเมาเพราะเสพสุราหรื อส่ิงเมาอย่างอ่ืน จะยกขึน้ เป็ นข้ อแก้ ตัวตามมาตรา ๖๕ ไม่ได้ เว้นแต่ความมึนเมานัน้ จะได้เกิดโดยผู้เสพไม่รู้ว่าส่ิงนนั้ จะทาให้มนึ เมา หรือได้เสพโดยถูกขืนใจ ให้เสพ และได้กระทาความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบ หรือไมส่ ามารถ บงั คบั ตนเองได้ ผ้กู ระทาความผิดจงึ จะได้รับยกเว้นโทษสาหรับความผิดนนั้ แตถ่ ้าผ้นู นั้ ยงั สามารถรู้ผิดชอบอย่บู ้าง หรือยงั สามารถบงั คบั ตนเองได้บ้าง ศาลจะลงโทษน้อยกว่าท่ีกฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนัน้ เพียงใด กไ็ ด้
49 มาตรา ๖๗ ผ้ใู ดกระทาความผิดด้วยความจาเป็น (๑) เพราะอยใู่ นที่บงั คบั หรือภายใต้อานาจซง่ึ ไมส่ ามารถหลกี เลี่ยง หรือขดั ขืนได้ หรือ (๒) เพราะเพ่ือให้ตนเองหรือผ้อู ืน่ พ้นจากภยนั ตรายที่ใกล้จะถงึ และ ไม่สามารถหลีกเล่ียงให้ พ้นโดยวิธีอื่นใดได้ เมื่อภยันตรายนัน้ ตนมิได้ กอ่ ให้เกิดขนึ ้ เพราะความผิดของตน ถ้าการกระทานัน้ ไม่เป็ นการเกินสมควรแก่เหตุแล้ว ผู้นัน้ ไม่ต้อง รับโทษ มาตรา ๖๘ ผ้ใู ดจาต้องกระทาการใดเพ่ือป้ องกนั สิทธิของตนหรือ ของผ้อู ื่นให้พ้นภยนั ตรายซง่ึ เกิดจากการประทุษร้ายอนั ละเมิดตอ่ กฎหมาย และเป็ นภยนั ตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทาพอสมควรแก่เหตุ การกระทา นนั้ เป็นการป้ องกนั โดยชอบด้วยกฎหมาย ผ้นู นั้ ไมม่ ีความผิด มาตรา ๖๙ ในกรณีท่ีบญั ญตั ไิ ว้ในมาตรา ๖๗ และมาตรา ๖๘ นนั้ ถ้าผู้กระทาได้กระทาไปเกินสมควรแก่เหตุ หรือเกินกว่ากรณีแห่งความ จาเป็ นหรือเกินกว่ากรณีแห่งการจาต้องกระทาเพ่ือป้ องกัน ศาลจะลงโทษ น้อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนัน้ เพียงใดก็ได้ แต่ถ้ า การกระทานัน้ เกิดขึน้ จากความตื่นเต้น ความตกใจ หรือความกลัว ศาลจะไมล่ งโทษผ้กู ระทาก็ได้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225