Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนฟิสิกส์ 5 ว30205

แผนการสอนฟิสิกส์ 5 ว30205

Published by pupa rung, 2021-04-12 11:10:18

Description: แผนการสอนฟิสิกส์ 5 ว30205

Search

Read the Text Version

แผนจัดการเรียนรูว้ ิชาฟสิ กิ ส์ ว30205 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 Nuclear physics นางสาวสายรงุ้ ทองสูง ตาแหนง่ ครู คศ.1 โรงเรยี นสระแกว้ ตาบลสระแกว้ อาเภอเมอื งสระแกว้ จงั หวัดสระแกว้ สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7



ประมวลการสอนรายวชิ า ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ตามหลกั สตู รโรงเรยี นสระแกว้ พทุ ธศกั ราช 2553 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และหลกั สูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล 1. ชอ่ื สถานศกึ ษา โรงเรียนสระแกว้ สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. รหสั วชิ า ว 30205 (SC30205) 4. ชื่อรายวชิ า (ไทย/องั กฤษ) ฟสิ กิ ส์ 5 Physics 5 5. ประเภทรายวชิ า  รายวชิ าพืน้ ฐาน  รายวชิ าเพม่ิ เตมิ  กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน 6. ระดบั ชนั้ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 7. จำนวนชวั่ โมง 60 ชว่ั โมง 8. จำนวนหนว่ ยการเรยี น 1.5 หนว่ ยกิต (3 ช่วั โมง/สัปดาห)์ 9. ครผู สู้ อน อาจารย์อรรถวิทย์ สุปัตติ (หอ้ ง ม.6/2, ม.6/5 , ม.6/12 ) อาจารยส์ ายรุง้ ทองสูง (หอ้ ง ม.6/1 , ม.6/4 , ม.6/14) อาจารย์สรายุทธ อุดมวิทยานกุ ูล (หอ้ ง ม.6/3, ม.6/11 , ม.6/13)

10. คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาสนามแมเ่ หล็ก แรงแม่เหลก็ โมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทำกับขดลวดทมี่ กี ระแสไฟฟา้ ผ่านเมือ่ อยู่ ในสนามแมเ่ หลก็ กระแสไฟฟ้าเหน่ยี วนำ อีเอม็ เอฟเหนยี่ วนำ ไฟฟ้ากระแสสลับ ความรอ้ น แก๊สอุดมคติ ทฤษฎี จลน์ของแก๊ส ของแข็ง สภาพยืดหยุ่นของของแข็ง ความตึงผิว ความหนืดของของเหลว ความดันในของไหล แรงพยุง ของไหลอุดมคติ สมการความต่อเน่อื ง และสมการแบรน์ ูลี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การ สืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปรายและสรุปเพื่อให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจมีความสามารถในการตัดสินใจมีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์รวมทั้ งทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหาด้านการสื่อสาร สามารถ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคุณธรรม และค่านิยมท่ี เหมาะสม 11. ผลการเรยี นรู้ 1. สังเกตและอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคำนวณฟลักซแ์ มเ่ หล็กในบริเวณท่ีกำหนด รวมทั้งสังเกต และอธบิ ายสนามแมเ่ หลก็ ที่เกดิ จากกระแสไฟฟา้ ในลวดตวั นำเสน้ ตรงและโซเลนอยด์ 2. อธิบายและคำนวณแรงแม่เหลก็ ที่กระทำตอ่ อนุภาคทม่ี ีประจไุ ฟฟา้ เคล่ือนทใี่ นสนามแมเ่ หลก็ แรงแม่เหล็กที่ กระทำต่อเส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก รัศมีความโค้งของการเคลื่อนที่เมื่อประจุ เคลื่อนทีต่ ั้งฉากกับสนามแม่เหลก็ รวมทง้ั อธิบายแรงระหวา่ งเส้นลวดตวั นำค่ขู นานทมี่ กี ระแสไฟฟา้ ผ่าน 3. อธิบายหลักการทำงานของแกลแวนอมิเตอรแ์ ละมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง รวมทง้ั คำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี เก่ยี วข้อง 4. สังเกตและอธิบายการเกิดอีเอม็ เอฟเหนย่ี วนำ กฎการเหนย่ี วนำของฟาราเดย์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี เก่ียวขอ้ ง รวมท้งั นำความรูเ้ รื่องอีเอ็มเอฟเหน่ยี วนำไปอธบิ ายการทำงานของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า 5. อธบิ ายและคำนวณความต่างศักยอ์ ารเ์ อ็มเอส และกระแสไฟฟ้าอาร์เอม็ เอส 6. อธิบายหลักการทำงานและประโยชน์ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ๓ เฟส การแปลงอีเอ็มเอฟของ หม้อแปลง และคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง 7. อธิบายและคำนวณความร้อนที่ทำใหส้ สารเปลย่ี นอุณหภูมิ ความรอ้ นท่ีทำให้สสารเปลี่ยนสถานะ และความ ร้อนทเ่ี กิดจากการถ่ายโอนตามกฎการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน 8. อธบิ ายกฎของแกส๊ อุดมคตแิ ละคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง 9. อธิบายแบบจำลองของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของแก๊ส รวมทั้งคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง

10. อธิบายและคำนวณงานที่ทำโดยแก๊สในภาชนะปิดโดยความดันคงตัว และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ความร้อน พลังงานภายในระบบ และงาน รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำความรู้เรื่อง พลงั งานภายในระบบไปอธิบายหลกั การทำงานของเคร่อื งใชใ้ นชีวติ ประจำาวัน 11. อธิบายสภาพยืดหยุ่นและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุที่เป็นแท่งเมื่อถูกกระทำด้วยแรงค่าต่าง ๆ รวมท้งั ทดลอง อธบิ ายและคำนวณความเค้นตามยาว ความเครยี ดตามยาว และมอดุลสั ของยงั และนำความรู้ เร่อื งสภาพยืดหยนุ่ ไปใชใ้ นชีวติ ประจำาวนั 12. อธิบายและคำนวณความดันเกจ ความดันสัมบูรณ์ และความดนั บรรยากาศ รวมทง้ั อธิบายหลกั การทำงาน ของแมนอมิเตอร์ บารอมิเตอร์ และเครื่องอดั ไฮดรอลิก 13. ทดลอง อธบิ ายและคำนวณขนาดแรงพยงุ จากของไหล 14. ทดลอง อธิบายและคำนวณความตงึ ผวิ ของของเหลว รวมท้ังสังเกตและอธบิ ายแรงหนืดของของเหลว 15. อธิบายสมบตั ขิ องของไหลอุดมคติ สมการความต่อเนอ่ื ง และสมการแบรน์ ูลลี รวมทงั้ คำนวณปรมิ าณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำความรู้เกี่ยวกับสมการความต่อเนื่องและสมการแบร์นูลลีไปอธิบายหลักการทำงานของ อปุ กรณ์ต่าง ๆ รวม 15 ผลการเรยี นรู้

12. โครงสรา้ งรายวชิ า ลำดับ ชื่อหนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน 1 ไฟฟ้าและ 1. สังเกตและอธิบายเส้น • เส้นสนามแม่เหล็กเป็นเส้นสมมติที่ 2 2 แม่เหล็ก 2 สนามแม่เหล็ก อธิบายและ ใช้แสดงบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก คำนวณฟลักซ์แม่เหล็กใน โดยบริเวณที่มีเส้นสนามแม่เหล็ก หนาแน่นมากแสดงว่าเป็นบริเวณท่ี บริเวณที่กำหนด รวมทั้ง สนามแมเ่ หลก็ มีความเข้มมาก ส ั ง เ ก ต แ ล ะ อ ธ ิ บ า ย • ฟลักซ์แม่เหล็ก คือจำนวนเส้น สนามแม่เหล็กที่เกิดจาก สนามแมเ่ หลก็ ที่ผ่านพื้นที่ที่พิจารณา กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ และอตั ราส่วนระหวา่ งฟลักซ์ เสน้ ตรง และ โซเลนอยด์ • แม่เหล็กต่อพื้นที่ตั้งฉากกับ สนามแม่เหล็ก คือ ขนาดของ สนามแม่เหล็ก เขียนแทนได้ด้วย สมการ ∅ ������ = ������ • เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนำ เ ส ้ น ต ร ง ห ร ื อ โ ซ เ ล น อ ย ด ์ จ ะ เ กิ ด สนามแม่เหล็กขนึ้ 2. อธิบายและคำนวณแรง • อนุภาคทีม่ ีประจุไฟฟาํ้ เคลอื่ นที่เขา้ 2 2 แม่เหล็กท่ี กระทำต่ออนุภาค ไปในสนามแมเ่ หล็ก จะเกดิ แรง ที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ ใน กระทำต่ออนภุ าคนน้ั คำนวณไดจ้ าก สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กท่ี สมการ F= qvB sin • กรณีที่ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ตั้งฉาก ก ร ะ ทำ ต่อเส้น ลว ด ท ี ่ มี เข้าไปในสนามแม่เหล็ก จะทำให้ กระแสไฟฟ้าผ่านและวาง ใน ประจุเคลื่อนที่เปลี่ยนไป โดยรัศมี สนามแม่เหล็ก รัศมีความโค้ง ความโคง้ ของการเคลอื่ นท่ีคำนวณได้ ของการ เคลื่อนที่เมื่อประจุ จากสมการ ������ = ������������ ������������ เ ค ล ื ่ อ น ท ี ่ ต ั ้ ง ฉ า ก กั บ

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน สนามแม่เหล็ก รวมทั้งอธิบาย • ลวดตัวนำทม่ี ีกระแสไฟฟ้าผา่ นและ แรง ระหว่างเส้นลวดตัวนำ อยใู่ นสนามแมเ่ หลก็ จะเกิดแรง คู่ขนานที่มี กระแสไฟฟ้าผา่ น กระทำตอ่ ลวดตวั นำนน้ั โดยทศิ ทาง ของแรงหาได้จากกฎมือขวา และ คำนวณขนาดของแรงไดจ้ ากสมการ F=ILBsin •เม่อื วางเส้นลวดสองเส้นขนานกัน และมกี ระแสไฟฟา้ ผ่านทัง้ สองเสน้ จะเกิดแรงกระทำระหว่างลวดตัวนำ ทั้งสอง 3. อธิบายหลกั การทำงานของ • เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวด 1 1 3 3 แกลแวนอมิเตอร์และมอเตอร์ ตัวนำที่อยู่ใน สนามแม่เหล็กจะมี ไฟฟ้า กระแสตรง รวมท้ัง โมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทำ ต่อ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี ขดลวดทำให้ขดลวดหมนุ ซ่งึ นำไปใช้ เกี่ยวขอ้ ง อธิบาย การทำงานของแกลแวนอ มิเตอร์และมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง โดยโมเมนต์ของแรงคู่ควบ คำนวณ ไดจ้ ากสมการ M=NIABcos 4. สังเกตและอธิบายการเกิด • เมื่อมีฟลักซ์แม่เหล็กเปลี่ยนแปลง อีเอ็มเอฟ เหนี่ยวนำ กฎการ ตัดขดลวดตัวนำจะเกิดอีเอ็มเอฟ เหนี่ยวนำของฟาราเดย์ และ เหนี่ยวนำในขดลวดตัวนำนั้นอธิบาย คำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี ได้โดยใช้กฎการเหนี่ยวนำของฟารา เกี่ยวข้อง รวมทั้งนำความรู้ เดย์เขียนแทนไดด้ ว้ ยสมการ เรื่องอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำ ไป ������ = − ∆∅������ อธิบายการทำงานของ ∆������ • ทิศทางของกระแสไฟฟา้ เหน่ียวนำ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า หาไดโ้ ดยใช้กฎของเลนซ์

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน • ความรู้เกี่ยวกับอีเอ็มเอฟเหนี่ยว นำไปใช้อธิบายการทำงานของเครื่อง กำเนิดไฟฟ้า และการทำงานของ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ต่าง ๆ เชน่ แบลลสั ต์ แบบขดลวดของหลอดฟลูออเรส เซนต์การเกิดอีเอ็มเอฟกลับใน มอเตอรไ์ ฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้า เหน่ียวนำ และกตี ารไ์ ฟฟา้ 5. อธบิ ายและคำนวณความ • ไฟฟ้ากระแสสลับที่ส่งไปตาม 1 1 ต่างศักยอ์ าร์ เอ็มเอส และ 2 กระแสไฟฟ้าอารเ์ อ็มเอส บ้านเรือน มีความต่างศักย์และ กระแสไฟฟา้ เปล่ียนแปลงไปตาม เวลาในรปู ของฟงั ก์ชนั แบบไซน์ • การวัดความต่างศักย์และ กระแสไฟฟ้าสลับใช้ค่ายังผลหรือค่า มิเตอร์ซึง่ เป็นค่าเฉล่ียแบบรากที่สอง ของกำลังสองเฉลี่ยคำนวณได้จาก สมการขนาน ความจุ สมมูลมีค่า เพม่ิ ขน้ึ ตามสมการ ������������������������ = ������0 √2 ������������������������ = ������0 √2 6. อธบิ ายหลกั การทำงานและ • เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ๓ 3 ประโยชน์ ของเครื่องกำเนดิ เฟส มีขดลวดตัวนำ ๓ ชุด แต่ละชุด ไฟฟา้ กระแสสลบั ๓ เฟส การ วางทำมุม ๑๒๐ องศา ซ่ึงกันและกัน แปลงอีเอม็ เอฟของหม้อแปลง ไฟฟ้ากระแสสลับจากขดลวดแต่ละ ชุดจะมีเฟสต่างกัน ๑๒๐ องศา ซ่ึง

ลำดับ ชื่อหนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี ช่วยให้มีประสิทธิภาพในการผลิต เกี่ยวขอ้ ง และการส่งพลังงานไฟฟ้า • ไฟฟ้ากระแสสลับที่ส่งไปตาม บ้านเรือนเป็นไฟฟ้ากระแสสลับท่ี ต้องเพม่ิ อเี อม็ เอฟจากโรงไฟฟา้ แล้ว ลดอีเอ็มเอฟให้มีค่าที่ต้องการโดยใช้ หม้อแปลงซึ่งประกอบด้วยขดลวด ปฐมภมู ิและขดลวดทตุ ยิ ภูมิ • ไฟฟ้ากระแสสลับที่ผ่านขดลวด ปฐมภูมิของหม้อแปลงจะทำให้เกิด อีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำในขดลวดทุติย ภมู ขิ องหม้อแปลง โดยอเี อม็ เอฟใน ขดลวดทุติยภูมิขึ้นกับอีเอ็มเอฟใน ขดลวดปฐมภูมิและจำนวนรอบของ ขดลวดทง้ั สอง ตามสมการ ������2 = ������2 ������1 ������1 2 คลื่น 7 . อ ธ ิ บ า ย ก า ร เ ก ิ ด แ ล ะ • การเหนี่ยวนำต่อเนื่องระหว่าง 4 3 แมเ่ หลก็ ไฟ ล ั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ข อ ง คลื่น สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า ทำให้ ฟา้ แม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลา เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกจาก ไรส์แสงโพลาไรสเ์ ชิงเส้น และ แหล่งกำเนดิ แผ่นโพลารอยดร์ วมทั้งอธิบาย • คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วย การนำคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟา้ สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่ ในช่วงความถี่ต่าง ๆ ไป เปลีย่ นแปลงตลอดเวลาโดยสนามทั้ง ประยุกต์ใช้และหลักการ สองมีทิศต้งั ฉากกันและต้งั ฉากกับ ทำงานของอุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้อง ทศิ ทางการเคลื่อนที่ของคลื่น

ลำดบั ช่ือหนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน • แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิด หนึ่ง โดยแสงในชีวิตประจำวันเป็น แสงไม่โพลาไรส์เมื่อแสงนั้นผา่ นแผน่ โพลารอยด์สนามไฟฟ้าจะมีทิศทาง อยู่ในระนาบเดยี วเรียกว่า แสงโพลา ไรส์เชิงเส้นสมบัติของแสงลักษณะน้ี เรยี กว่า โพลาไรเซชัน • คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่าง ๆ ม า ก ม า ย โ ด ย ค ว า ม ถ ี ่ น ี ้ ม ี ค่ า ตอ่ เน่อื งกันเป็นช่วงกว้าง เรยี กวา่ สเปกตรมั คลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า • ตัวอยา่ งอุปกรณ์ทท่ี ำงานโดยอาศยั คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น เครื่องฉาย รังสีเอกซ์เครื่องควบคุมระยะไกล เครื่องระบุตำแหน่งบน พื้นโลก เคร่ืองถ่ายภาพเอกซเ์ รยค์ อมพิวเตอร์ และเครื่องถ่ายภาพการสั่นพ้อง แมเ่ หลก็ 8. สืบค้น และอธิบายการ • การสื่อสารเพื่อส่งผ่านสารสนเทศ 1 2 ส ื ่ อ ส า ร โ ด ย อ า ศ ั ย ค ล่ื น จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ทำได้โดย แม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่าน อาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสารสนเทศ สารสนเทศและเปรียบเทียบ จะถกู แปลงใหอ้ ยู่ในรูปสัญญาณ การสื่อสารดว้ ยสญั ญาณ สำหรับส่งไปยงั ปลายทางซึ่งจะมกี าร แอนะล็อกกบั สัญญาณดจิ ทิ ลั แ ป ล ง ส ั ญ ญ า ณ ก ล ั บ ม า เ ป็ น สารสนเทศที่เหมือนเดิม • สัญญาณมีสองชนิดคือแอนะล็อก และดจิ ทิ ัลโดยการส่งผ่านสารสนเทศ

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน ด้วยสัญญาณดิจิทัลมีความผิดพลาด น้อยกว่าสญั ญาณแอนะลอ็ ก 3 ของไหล 9. อธิบายสภาพยืดหยุ่นและ • สมบัติที่วัสดุเปลี่ยนรูปและกลับสู่ 3 3 ลักษณะการยดื และหดตัวของ รูปเดิม เมื่อหยุดออกแรงกระทำ วัสดุทีเ่ ปน็ แทง่ เม่อื ถกู กระทำ เรยี กว่า สภาพยืดหยุน่ ถา้ ยงั ออกแรง ด้วยแรงค่าต่าง ๆ รวมท้ัง ต่อไป วัสดุจะขาดหรือเสียรูปอย่าง ทดลอง อธิบายและคำนวณ ถาวร ความเค้นตามยาวความเครียด • ในกรณีที่วัตถุมีการเปลี่ยนแปลง ตามยาวและมอดุลัสของยัง ความยาวถ้าออกแรงกระทำต่อเส้น และนำความรู้เรื่องสภาพ ลวดไม่เกินขีดจำกัดการแปรผันตรง ยืดหย่นุ ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ความยาวทเ่ี พ่มิ ขน้ึ ของเสน้ ลวด แปรผันตรงกับขนาดของแรงดึง ทำ ให้ความเครียดตามยาวที่เกิดขึ้นแปร ผันตรงกับความเค้นตามยาว โดย ความเค้นตามยาว คำนวณได้จาก สมการ σ = ������ ส่วนความเครียด ������ ตามยาวคำนวณไดจ้ ากสมการ ε =∆������ ������0 • อัตราส่วนความเค้นตามยาวต่อ ความเครียด ตามยาว เรียกว่า มอ ดุลัสของยัง ซึ่งมีค่าขึ้นกับ ชนิดของ วัสดุคำนวณได้จากสมการ ������ = ������ ������ หรอื ������ = ������/������ ∆������/������0 • ถ้าวัสดุมีมอดุลัสของยังสูงแสดงว่า วัสดุนั้น เปลี่ยนแปลงความยาวได้ น้อย ถ้าออกแรงเพิ่มขึ้น เกิน

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน ขีดจำกัดสภาพยืดหยุ่น วัสดุไม่ สามารถ กลับคืนสู่สภาพเดิมได้ สมบัตินี้นำไปใช้พิจารณา ในการ เลอื กวัสดทุ ่ีเหมาะสมกบั การใช้งาน 10. อธิบาย และคำนวณความ • ภาชนะท่มี ีของเหลวบรรจอุ ยู่จะมี 3 2 ดันเกจ ความดนั สมั บูรณ์และ แรงเน่อื งจาก ของเหลวกระทำตอ่ ความดนั บรรยากาศ รวมทั้ง พืน้ ผวิ ภาชนะ โดยขนาดของ แรงท่ี อธิบายหลกั การทำงานของ ของเหลวกระทำต้ังฉากต่อพนื้ ที่หนงึ่ แมนอมเิ ตอรบ์ ารอมิเตอรแ์ ละ หนว่ ย เป็นความดันในของเหลว เคร่ืองอัดไฮดรอลกิ • ความดนั ท่ีเครอ่ื งมอื วดั ไดเ้ รียกว่า ความดันเกจ คำนวณได้จากสมการ ������������ = ρ������ℎ สว่ นผลรวมของ ความดันบรรยากาศ และความดันเกจ เรยี กวา่ ความดนั สมั บรู ณ์คำนวณได้จากสมการ ������ = ������0 + ������������ • ค่าของความดนั อ่านได้จาก เคร่อื งวดั ความดนั เช่น แมนอมเิ ตอร์ บารอมิเตอร์ • เม่อื เพม่ิ ความดนั ณ ตำแหนง่ ใด ๆ ในของเหลว ทอี่ ยูน่ ่งิ ในภาชนะปิด ความดันทีเ่ พิม่ ขึน้ จะสง่ ผา่ น ไปทุก ๆ จดุ ในของเหลวน้ัน เรียกว่า กฎพาส คลั กฎน้นี ำไปใชอ้ ธิบายการทำงาน ของเครอื่ งอัดไฮดรอลกิ

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน 11. ทดลอง อธิบาย และ • วัตถุที่อยู่ในของไหลทั้งหมดหรือ 1 1 คำนวณขนาดแรงพยงุ จากของ เพียงบางสว่ น จะถูกแรงพยงุ จากของ ไหล ไหลกระทำ โดยขนาด แรงพยุง เท่ากับขนาดน้ำหนักของของไหล ท่ี ถูกวัตถุแทนที่ตามหลักของอาร์คิมี ดีส ซึ่งใช้อธิบายการลอยการจมของ วัตถุต่าง ๆ ในของไหล ขนาดแรง พยุงจากของไหลคำนวณได้ จาก สมการ ������������ = ������������������ 1 12. ทดลอง อธิบาย และ • ความตึงผิวเป็นสมบตั ิของของเหลว 1 ค ำ น ว ณ ค ว า ม ต ึ ง ผ ิ ว ขอ ง ทีย่ ึดผิว ของเหลวไวด้ ้วยแรงดงึ ผวิ ของเหลว รวมทั้งสังเกตและ ปรากฏการณ์ทเ่ี ปน็ ผล จากความตึง อธบิ ายแรงหนดื ของของเหลว ผวิ เชน่ การเดินบนผิวน้ำของแมลง บางชนิด การซึมตามรูเล็ก หรอื การ โค้งของผิว ของเหลว โดยความตงึ ผิว ของของเหลวคำนวณได้ จากสมการ ������ ������ = ������ • ความหนืดเป็นสมบตั ขิ องของไหล วัตถทุ เ่ี คลื่อนท่ี ในของไหลจะมีแรง เนอื่ งจากความหนดื ต้านการ เคล่ือนทข่ี องวตั ถุ เรียกวา่ แรงหนืด 13. อธิบายสมบัตขิ องของไหล • ของไหลอดุ มคติเป็นของไหลทม่ี ี 2 2 อุดมคติสมการความต่อเนื่อง การไหลอย่าง สมำ่ เสมอ ไม่มีความ และสมการแบร์นูลลีรวมทง้ั หนืด บบี อัดไม่ได้และไหล โดยไม่ คำน ว ณปร ิมาณ ต่ าง ๆ ที่ หมนุ มอี ัตราการไหลตามสมการ เก่ยี วข้อง และนำความรู้ ความต่อเนอ่ื ง Av = ค่าคงตัว

ลำดับ ชื่อหนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน เกี่ยวกับสมการความต่อเนื่อง • ตำแหนง่ สองตำแหน่งบนสาย และสมการแบร์นลู ลีไปอธบิ าย กระแสเดียวกัน ของของไหลอุดมคติ หลักการทำงานของอุปกรณ์ ท่ีไหลอยา่ งสม่ำเสมอ จะมี ผลรวม ตา่ ง ๆ ของความดันสัมบรู ณพ์ ลงั งานจลน์ ตอ่ หนึง่ หนว่ ยปริมาตร และพลงั งาน ศกั ย์ต่อหน่ึง หน่วยปริมาตร เป็นค่า คงตัวตามสมการแบร์นูลลี ������ + 1 ������������ 2 + ������������ℎ = คา่ คงตวั 2 4 ความร้อน 14. อธบิ าย และคำนวณความ • เมือ่ สสารไดร้ ับหรือคายความรอ้ น 3 2 และทฤษฎี รอ้ นทที่ ำใหส้ สารเปลีย่ น สสารอาจมอี ณุ หภูมเิ ปลี่ยนไป และ จลนข์ อง อณุ หภูมคิ วามร้อนท่ีทำให้ สสารอาจเปลีย่ นสถานะโดยไม่ แก๊ส สสารเปลีย่ นสถานะ และ เปล่ยี นอณุ หภมู ิซ่งึ ปรมิ าณความรอ้ น ความร้อนที่เกดิ จากการถ่าย ทีท่ ำใหส้ สารเปลี่ยนอณุ หภูมคิ ำนวณ โอนตามกฎการอนรุ ักษ์ ได้จากสมการ พลังงาน Q = mc∆T ส่วนปรมิ าณของพลงั งานความร้อนท่ี ทำให้สสารเปลีย่ นสถานะคำนวณได้ จากสมการ Q = mL • วัตถุที่มอี ุณหภูมสิ งู กวา่ จะถา่ ยโอน ความร้อนไปสวู่ ตั ถุทม่ี อี ุณหภมู ิตำ่ กวา่ เป็นไปตามกฎการอนรุ กั ษ์ พลงั งาน โดยปริมาณความร้อนที่ วตั ถหุ น่งึ ใหจ้ ะเท่ากับปริมาณความ ร้อนที่วตั ถุหนง่ึ รับเขยี นแทนได้ด้วย สมการ Qลด= Qเพม่ิ

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน • เมื่อวตั ถมุ ีอุณหภูมเิ ท่ากันจะไม่มี 1 1 การถา่ ยโอนความร้อน เรยี กวา่ วัตถุ 2 2 อยใู่ นสมดลุ ความรอ้ น 15. อธบิ ายกฎของแกส๊ อุดม • แก๊สอดุ มคตเิ ป็นแก๊สท่ีโมเลกุลมี คตแิ ละคำนวณปริมาณ ตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง ขนาดเลก็ มาก ไมม่ ีแรงยึดเหนีย่ ว ระหว่างโมเลกุล มกี ารเคลอ่ื นท่ี แบบ สุ่ม และมีการชนแบบยดื หยุน่ • ความสัมพันธ์ระหวา่ งความดัน ปริมาตร และ อณุ หภูมขิ องแกส๊ อุดม คตเิ ป็นไปตามกฎของ แก๊สอดุ มคติ เขียนแทนได้ด้วยสมการ PV = nRT = NkBT 16. อธิบายแบบจำลองของ • จากแบบจำลองของแก๊สอุดมคติ แกส๊ อดุ มคติทฤษฎีจลน์ ของแก๊ส และอัตราเรว็ อาร์ กฎการเคลอื่ นที่ ของนิวตนั และจาก เอ็มเอสของโมเลกุล ของแกส๊ รวมทง้ั คำนวณ กฎของแก๊สอดุ มคตทิ ำให้ สามารถ ปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง ศกึ ษาสมบัติทางกายภาพบาง ประการ ของแก๊สไดไ้ ด้แกค่ วามดนั พลงั งานจลนเ์ ฉลย่ี และอตั ราเรว็ อาร์ เอ็มเอส ของโมเลกลุ ของแก๊สได้ • จากทฤษฎีจลน์ของแก๊สความดัน และพลงั งานจลน์ เฉลยี่ ของโมเลกุล ของแกส๊ มคี วามสมั พนั ธต์ ามสมการ ������������ = 2 ���������̅̅���̅���̅��� 3 สว่ นอตั ราเรว็ อาร์เอ็มเอสของ โมเลกุลของแกส๊ คำนวณไดจ้ าก สมการ

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน ������������������������ = √3������������������ ������ 17. อธบิ ายและคำนวณงานท่ี • ในภาชนะปดิ เม่อื มีการ 3 2 ทำโดยแก๊สในภาชนะปิดโดย เปล่ยี นแปลงปริมาตรของ แกส๊ โดย ความดนั คงตัว และอธิบาย ความดนั คงตัว งานทีเ่ กดิ ขน้ึ คำนวณ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างความ ได้ จากสมการ W = P∆V รอ้ น พลังงานภายในระบบ • โมเลกุลของแก๊สอดุ มคติในภาชนะ และงานรวมทั้งคำนวณ ปดิ จะมี พลงั งานจลนโ์ ดยพลงั งาน ปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวข้องและ จลน์รวมของโมเลกุล เรยี กวา่ นำความรู้เรอื่ งพลงั งานภายใน พลังงานภายในของแกส๊ หรอื พลังงาน ระบบไปอธบิ ายหลกั การ ภายในระบบ ซ่งึ แปรผนั ตรงกับ ทำงานของเคร่ืองใชใ้ นชวี ิต จำนวนโมเลกลุ และอุณหภูมสิ มั บรู ณ์ ประจำวนั ของแกส๊ • พลงั งานภายในระบบมี ความสัมพนั ธ์กบั ความรอ้ น และงาน เช่น เมื่อมกี ารถ่ายโอนความรอ้ นใน ระบบปิด ผลของการถ่ายโอนความ รอ้ นนี้ จะเท่ากับผลรวมของพลงั งาน ภายในระบบ ท่เี ปลยี่ นแปลงกบั งาน เป็นไปตามกฎการอนรุ กั ษ์ พลังงาน เรยี กกฎขอ้ ทห่ี นึ่งของอุณหพล ศาสตร์ แสดงไดด้ ้วยสมการ Q = ∆U + W • ความร้เู รอื่ งพลังงานภายในระบบ สามารถนำไป ประยกุ ตใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ

ลำดับ ชื่อหนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี การเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน เชน่ การทำงานของ เคร่อื งยนต์ ความร้อน ตเู้ ยน็ เครือ่ งปรับอากาศ สอบกลางภาค 1 20 3 5 ฟิสิกส์ 18. อธบิ ายสมมติฐานของ • พลังคเ์ สนอสมมติฐานเพ่อื อธิบาย 3 อะตอม พลงั คท์ ฤษฎีอะตอมของโบร์ การแผ่รงั สี ของวัตถุดำ ซึง่ สรปุ ได้ว่า และการเกิดเส้นสเปกตรัมของ พลังงานที่วตั ถุดำดดู กลืน หรือแผ่ อะตอมไฮโดรเจน รวมทั้ง ออกมามคี ่าได้เฉพาะบางค่าเทา่ น้ัน คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ี และ คา่ น้ีจะเปน็ จำนวนเทา่ ของ hf เก่ียวข้อง เรียกวา่ ควอนตัม พลงั งาน โดยแสง ความถ่ี f จะมีพลงั งานตาม สมการ E = nhf • ทฤษฎอี ะตอมของไฮโดรเจนท่ี เสนอโดยโบร์ อธบิ ายวา่ อิเลก็ ตรอน จะเคลอ่ื นท่รี อบนิวเคลยี ส ในวงโคจร บางวงไดโ้ ดยไม่แผค่ ลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า ถ้าอิเลก็ ตรอนมกี าร เปลีย่ นวงโคจรจะมีการรบั หรอื ปล่อยพลงั งานในรปู ของคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า ตามสมมตฐิ านของ พลงั ค์ซึ่งสามารถนำไป คำนวณรัศมี วงโคจรของอเิ ลก็ ตรอน และพลงั งาน อะตอมของไฮโดรเจนได้ตามสมการ ������������ = ℎ̅2 ������2 (������������������2) และ 1 ������������2������4 1 ������������ = − 2 ℎ̅2 ������2 ตามลำดับ

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน • ทฤษฎอี ะตอมของโบรส์ ามารถ นำไปคำนวณ ความยาวคลน่ื ของแสง ในสเปกตรัมเส้นสว่าง ของอะตอม ไฮโดรเจนตามสมการ 1 11 ������ = ������������ [������������2 − ������������2] 19. อธบิ ายปรากฏการณ์โฟ • ปรากฏการณโ์ ฟโตอิเลก็ ทรกิ เปน็ 2 2 โตอเิ ลก็ ทรกิ และคำนวณ ปรากฏการณ์ ทีอ่ ิเลก็ ตรอนหลดุ จาก พลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ ผวิ โลหะเม่อื มแี สงทม่ี ี ความถ่ี ของโฟโตอิเลก็ ตรอนและ เหมาะสมมาตกกระทบ โดยจำนวน ฟังก์ชนั งานของโลหะ โฟโตอเิ ลก็ ตรอนท่ีหลดุ จะเพ่มิ ขึ้น ตามความเขม้ แสง และพลังงานจลน์ สงู สดุ ของโฟโตอิเลก็ ตรอน จะข้นึ กับ ความถขี่ องแสงน้นั โดยพลังงานของ แสง หรอื โฟตอนตามสมมติฐานของ พลงั ค์ • ไอน์สไตนอ์ าศัยกฎการอนุรักษ์ พลงั งานและ สมมติฐานของพลงั ค์ อธิบายปรากฏการณ์ โฟโตอิเล็กทรกิ ตามสมการ ℎ������ = ������ + ������������������������������ • การทดลอง พลงั งานจลน์สงู สดุ ของโฟโตอิเลก็ ตรอน และฟงั กช์ ัน งานของโลหะคำนวณได้จากสมการ ������������������������������ = ������������������ และ ������ = ℎ������0 ตามลำดับ 20. อธิบายทวิภาวะของคลื่น • การคน้ พบการแทรกสอดและการ 2 1 และอนภุ าค รวมทั้ง เลีย้ วเบน ของอิเล็กตรอนสนบั สนนุ ความคิดของเดอบรอยล์ ที่เสนอว่า

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน อธิบายและคำนวณความยาว อนภุ าคแสดงสมบัติของคลื่นได้ โดย คล่ืนเดอบรอยล เมือ่ อนุภาคประพฤตติ ัวเปน็ คลื่นจะมี ความยาวคลื่น เรียกว่า ความยาว คล่ืนเดอบรอยล์ ซึ่งมคี ่าข้นึ กับโมเม นตัมของอนภุ าค ตามสมการ ℎ ������ = ������ • จากความคิดของไอนส์ ไตน์และเด อบรอยล์ทำให้ สรุปไดว้ า่ คลืน่ แสดง สมบตั ิของอนภุ าคไดแ้ ละ อนุภาค แสดงสมบัติของคลน่ื ไดส้ มบัติ ดังกลา่ ว เรยี กว่า ทวภิ าวะของคลื่น และอนุภาค 6 ฟสิ ิกส์ 21. อธิบายกมั มันตภาพรงั สี • กัมมันตภาพรงั สีเปน็ ปรากฏการณ์ 2 2 นิวเคลยี ร์ และความแตกต่างของรงั สี ท่ธี าตุ กัมมันตรังสีแผ่รงั สีไดเ้ องอยา่ ง แอลฟา บีตา และแกมมา ต่อเนื่อง รังสี ทีอ่ อกมาม๓ี ชนิด คือ แอลฟา บีตา และแกมมา • การแผ่รังสีเกดิ จากการ เปลี่ยนแปลงนวิ เคลียส ของธาตุ กมั มนั ตรังสซี ึ่งเขียนแทนได้ด้วย สมการ การสลายให้แอลฟา ������������������ → ������������−−24������ + 42������������ การสลายใหบ้ ตี าลบ ������������������ → ������+���1��������� + −10������ + ���������̅ ��� การสลายให้บตี าบวก ������������������ → ������−���1��������� + 01������ + ������������ การสลายใหแ้ กมมา ������������������ → ������������������∗ + ������

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน 22. อธบิ าย และคำนวณกัม • ในการสลายของธาตุกมั มนั ตรังสี 3 2 มันตภาพของ นวิ เคลียส อตั ราการแผร่ งั สอี อกมาในขณะหนึ่ง กัมมันตรงั สีรวมท้งั ทดลอง เรยี กว่า กมั มันตภาพปรมิ าณนบี้ อก อธิบาย และคำนวณจำนวน ถึงอัตราการลดลงของจำนวน นวิ เคลยี สกมั มนั ตภาพรังสี ท่ี นวิ เคลียสของธาตกุ มั มนั ตรงั สี เหลอื จากการสลาย และครึง่ คำนวณไดจ้ ากสมการ ชวี ติ A=λN • ช่วงเวลาท่ีจำนวนนิวเคลียสลดลง เหลอื ครง่ึ หนึง่ ของจำนวนเรมิ่ ต้น เรยี กว่า ครึง่ ชีวิต โดยจำนวน นวิ เคลียสกมั มันตภาพรงั สที เ่ี หลอื จากการสลายและครงึ่ ชีวิตคำนวณได้ จากสมการ ������ = ������0������−������������ และ ������1 = ln 2 ������ 2 ตามลำดับ 23. อธบิ ายแรงนวิ เคลยี ร์ • ภายในนวิ เคลยี สมีแรงนวิ เคลยี ร์ที่ 2 2 เสถียรภาพของนิวเคลียส ใช้อธิบาย เสถียรภาพของนวิ เคลยี ส และพลังงานยึดเหน่ียว • การทำใหน้ ิวคลอี อนในนิวเคลียส รวมทั้งคำนวณปริมาณ แยกออกจากกนั ต้องใช้พลังงาน ต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง เทา่ กับพลงั งานยึดเหน่ยี ว ซึง่ คำนวณ ไดจ้ ากความสมั พันธร์ ะหวา่ งมวล และพลังงาน ตามสมการ ������ = (∆������)������2 • นิวเคลียสทีม่ ีพลังงานยดึ เหนย่ี วตอ่ นวิ คลีออนสูง จะมีเสถียรภาพดีกว่า นิวเคลียสทม่ี พี ลังงาน ยดึ เหน่ียวต่อ

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน นวิ คลีออนต่ำ โดยพลังงานยดึ เหน่ียว ต่อนวิ คลีออนคำนวณได้จากสมการ ������ (∆������)������2 ������ = ������ 24. อธบิ ายปฏิกิริยานิวเคลยี ร์ • ปฏิกริ ยิ าที่ทำใหน้ วิ เคลียสเกิดการ 3 3 ฟชิ ชันและฟิวชนั รวมทงั้ เปล่ียนแปลง องคป์ ระกอบหรือ คำนวณพลงั งานนวิ เคลยี ร์ ระดบั พลังงาน เรียกว่า ปฏิกริ ยิ า นวิ เคลียร์ • ฟิชชันเปน็ ปฏกิ ริ ยิ าทนี่ ิวเคลยี สท่ีมี มวลมาก แตกออกเปน็ นวิ เคลยี สทีม่ ี มวลน้อยกว่า สว่ นฟิวชนั เปน็ ปฏิกิริยาท่ีนิวเคลียสทีม่ มี วลนอ้ ย รวมตวั กนั เกดิ เป็นนวิ เคลยี สทีม่ ีมวล มากขึน้ • พลงั งานท่ปี ลดปลอ่ ยออกมาจาก ฟิชชนั หรือฟวิ ชนั เรยี กว่า พลังงาน นวิ เคลียร์ซง่ึ มีคา่ เป็นไปตาม ความสัมพันธ์ระหว่างมวลกบั พลังงาน ตามสมการ ������ = (∆������)������2 25. อธิบายประโยชน์ของ • พลงั งานนิวเคลียรแ์ ละรังสีจากการ 1 1 พลงั งานนิวเคลียรแ์ ละ สลายของธาตุกมั มันตรังสสี ามารถ รงั สรี วมท้งั อันตรายและการ นำไปใชป้ ระโยชน์ในด้านต่าง ๆ ปอ้ งกันรงั สี ขณะเดียวกันต้องมกี ารปอ้ งกนั ในดา้ นต่าง ๆ อันตรายที่อาจเกดิ ข้นึ ได้

ลำดับ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ การเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน 26. อธิบายการค้นคว้าวจิ ัย • การศกึ ษาโปรตอนและนิวตรอนใน 3 2 ดา้ นฟสิ กิ สอ์ นภุ าคแบบจำลอง นิวเคลยี สดว้ ยเครือ่ งเร่งอนุภาค มาตรฐาน และการใช้ พลังงานสูงพบว่า โปรตอนและ ประโยชน์จากการคน้ คว้าวจิ ยั นิวตรอนประกอบด้วยอนภุ าคอ่นื ทม่ี ี ดา้ นฟิสิกส์อนุภาคในด้านตา่ ง ขนาดเล็กกวา่ เรียกวา่ ควาร์ก ซง่ึ ยึด ๆ เหน่ยี วกันไวด้ ้วยแรงเข้ม • นกั ฟสิ ิกสย์ ังได้คน้ พบอนุภาคที่เปน็ ส่ือของแรงเขม้ ซ่ึงไดแ้ ก่ กลูออน และ อนภุ าคทีเ่ ป็นสื่อของแรงออ่ น ซง่ึ ไดแ้ ก่ W - โบซอน และ Z - โบ ซอน อนุภาคทไ่ี ม่สามารถแยกเปน็ องคป์ ระกอบได้รวมทงั้ อนุภาคท่ีเป็น ส่อื ของแรง จัดเป็นอนภุ าคมูลฐานใน แบบจำลองมาตรฐาน • แบบจำลองมาตรฐานเป็นทฤษฎีที่ ใชอ้ ธบิ ายพฤติกรรมและอนั ตรกิริยา ระหว่างอนภุ าคมูลฐาน • การค้นควา้ วิจัยด้านฟิสกิ ส์อนภุ าค นำไปส่กู ารพัฒนาเทคโนโลยที ่ี นำมาใชป้ ระโยชน์ในด้านตา่ ง ๆ เช่น ด้านการแพทยม์ กี ารใช้เครือ่ งเรง่ อนภุ าคในการรักษาโรคมะเร็ง การ ใช้เคร่ืองถา่ ยภาพรังสรี ะนาบดว้ ยการ ปล่อยโพซิตรอนในการวินิจฉยั โรค มะเรง็ ดา้ นการรักษาความปลอดภยั มกี ารใช้เครอื่ งเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ในการตรวจวัตถอุ นั ตรายในสนามบิน

ลำดบั ช่อื หนว่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี การเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน สอบปลายภาค 2 30 13. การวดั ผลและประเมนิ ผล 70 : 30 อตั ราสว่ นคะแนนระหวา่ งเรยี นกบั การสอบปลายภาค 20% 1. ก่อนกลางภาค 10% - ทดสอบประจำหนว่ ย 20% - แบบฝึกหดั 15% 2. กลางภาค 5% 3. กอ่ นปลายภาค 30% 100% - แบบฝึกหดั /แบบทดสอบประจำหนว่ ย - ชิน้ งาน 4. ปลายภาค คะแนนรวมทง้ั สน้ิ

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าฟสิ กิ ส์ รหสั วชิ า ว30205 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง แมเ่ หลก็ และไฟฟา้ เวลาเรยี น 19 ชว่ั โมง แผนการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง สนามไฟฟ้า เวลา 3 ชว่ั โมง ครผู สู้ อน นางสาวสายรงุ้ ทองสงู โรงเรยี นสระแกว้ 1. สาระท่ี - 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ – 3. ผลการเรยี นรู้ สงั เกตและอธบิ ายเส้นสนามแมเ่ หลก็ อธบิ ายและคานวณฟลักซแ์ มเ่ หลก็ ในบริเวณท่ีกาหนด รวมท้งั สังเกต และอธิบายสนามแมเ่ หล็กทเี่ กิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาเส้นตรงและโซเลนอยด์ 4. สาระการเรยี นรู้ 1. สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - สนามแมเ่ หลก็ - ฟลกั ซแ์ ม่เหล็ก 2. สอดแทรกหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. สอดแทรกความรู้การเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น - 5. สาระสาคัญ เมื่อนาแท่งแม่เหลก็ ไปดูดผงตะไบเหล็ก ผงตะไบเหล็กจะถกู ดดู ตดิ กับส่วนต่างๆ ของแท่งแมเ่ หล็ก และอยู่ใกล้ ปลายแท่งแม่เหลก็ บริเวณดงั กลา่ วเรียกวา่ ขั้วแมเ่ หล็ก ถ้าใช้เชือกผูกกึ่งกลางแท่งแม่เหล็ก แล้วแขวนให้อยู่ในแนวราบอย่างอิสระ แท่งแม่เหล็กจะวางตัวในแนว เหนอื ใต้ขั้วแม่เหล็กท่ชี ้ไี ปทางทิศเหนือเรยี ก ขั้วเหนือ และขั้วทชี่ ไ้ี ปทางทศิ ใต้ เรียก ขวั้ ใต้ สมบตั ิของแม่เหลก็ 1. ดดู หรอื ผลัก กบั สารแม่เหล็กได้ 2. เม่ือแขวนแท่งแม่เหล็กให้แก่วง (เคลื่อนท่ีได้) อย่างอิสระ ข้ัวแม่เหล็กจะวางตัว ในแนว เหนือ-ใต้ เสมอ 3. แม่เหล็กขั้วเดยี วกัน จะผลักกนั ขวั้ แมเ่ หลก็ ตรงข้ามกันจะดูดกัน

วัตถุท่ีเป็นแม่เหล็กโดเมนแม่เหล็กจะเรียงตัวกันเป็นระเบียบ วัตถุที่ไม่เป็นแม่เหล็กโดเมนแม่เหล็กวางไม่เป็น ระเบียบจนหกั ลา้ งกนั หมด จึงไม่แสดงอานาจแม่เหล็กกลบั มา เสน้ แรงแม่เหล็ก เป็นเส้นแสดงทิศ ของสนามแม่เหล็กแต่ละจุด  ความหนาแน่นของฟลักซ์แม่เหล็ก ( B ) มีค่าเท่ากับ จานวนเส้นแรงแม่เหล็ก ต่อหนึ่งหน่วยพ้ืนท่ีท่ีเส้นแรง แม่เหลก็ พงุ่ ผ่านในแนวตงั้ ฉาก    B A เม่อื  : ความหนาแนน่ ของฟลักซแ์ ม่เหล็ก Wb m2 ,T) B (เทสลา,  :จานวนเสน้ แรงแม่เหลก็ ทีพ่ ุ่งผา่ นพ้ืนผวิ ในแนวตง้ั ฉากหรือฟลักซแ์ ม่เหลก็ (Wb) A : พ้ืนทท่ี ีฟ่ ลกั ซ์แมเ่ หล็กผ่าน ( m2 ) ในกรณที ี่ทิศของสนามแมเ่ หลก็ ทามุม  กับเวกเตอร์ทต่ี ั้งฉากกบั พื้นทรี่ องรบั พจิ ารณาพน้ื ทรี่ องรบั เลก็ ๆ ซ่ึงมสี นามแม่เหล็กสมา่ เสมอผา่ น  d  B.dA     B.dA   BAcos 6. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของสนามแมเ่ หล็กเสน้ แรงแม่เหล็ก ฟลักซแ์ ม่เหล็ก และความหนาแน่นฟลกั ซ์แม่เหลก็ ได้ 2. บอกความสมั พันธ์ระหวา่ งฟลักซ์แม่เหลก็ พนื้ ท่ตี ั้งฉากกบั ฟลักซแ์ มเ่ หลก็ และความหนาแน่นฟลักซ์แมเ่ หล็ก 3. คานวณหาความหนาแน่นฟลกั ซแ์ ม่เหลก็ ไดเ้ มื่อกาหนดปรมิ าณทีเ่ กยี่ วขอ้ งได้ 7. จดุ เนน้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น 7.1 ด้านความสามารถและทักษะ แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง ใช้เทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นรู้ มีทักษะการคิดชน้ั สงู ทักษะการส่ือสารอย่าง สร้างสรรค์ตามชว่ งวยั 7.2 ด้านคณุ ลกั ษณะเฉพาะชว่ งวัย อยอู่ ย่างพอเพยี ง 8. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 9. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซ่ือสตั ย์ สุจรติ 3. มวี นิ ยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อย่อู ย่างพอเพยี ง 6. ม่งุ มั่นในการทางาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 10. หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 11. การบูรณาการ - บูรณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย - บรู ณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ - บรู ณาการกลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ - บรู ณาการกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ 12. กระบวนการจดั การเรียนรู้ / กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ 1. แลกเปลยี่ นประสบการณ์ - ครูและนักเรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ และตอบคาถามเก่ียวกบั แม่เหลก็ และสนามแม่เหล็ก โดยครู ต้งั คาถามวา่ เม่อื พดู ถึงแมเ่ หล็ก นกั เรยี นนึกถึงอะไรบา้ ง และนกั เรียนช่วยกันเขียนสิ่งท่เี กยี่ วข้องกับ แม่เหล็กให้ไดม้ ากทีส่ ุด

2. นาเสนอความรู้ - ครูอธิบายการเหนี่ยวนาสารแม่เหลก็ ให้แสดงอานาจแม่เหลก็ จนทาใหด้ ดู กับแม่เหล็กถาวรได้ หลังจากท่ีทาการ ทดลองแลว้ โดยใช้ Flash animation program จากส่อื Physic Cyber Lab - ครูอธิบายความหมายของสนามแมเ่ หล็ก เสน้ แรงแม่เหลก็ และความหนาแนน่ ฟลักซ์ แม่เหล็ก โดยใช้ สอื่ Power point - ครูอธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างฟลักซ์แมเ่ หลก็ พ้ืนท่ตี ง้ั ฉากกบั เส้นแรงแม่เหล็ก และความหนาแน่นฟ ลกั ซ์แมเ่ หล็ก โดยใชส้ อื่ Power point - ครูอธบิ ายการคานวณหาความหนาแน่นของฟลกั ซแ์ มเ่ หลก็ ฟลักซแ์ ม่เหล็ก พร้อมยกตัวอยา่ งการ คานวณ 3. สรา้ งองคค์ วามรู้ - นกั เรียนทาการทดลอง หาเส้นแรงแมเ่ หลก็ โดยและสรา้ งแมเ่ หล็กช่ัวคราวจากผงตะไบเหลก็ ในหลอด ทดลอง และการทาลายสภาพการเปน็ แมเ่ หลก็ - นกั เรียนฝกึ คานวณหาความหนาแนน่ ของฟลักซแ์ มเ่ หล็กจากตัวอยา่ งที่ครูยกมา และแบบฝึกหัด จาก เร่ืองแม่เหล็ก และฟลกั ซ์แม่เหล็ก - นักเรยี นรว่ มกับครูสรุปเก่ยี วกับสนามแม่เหลก็ และหลกั การคานวณหาความหนาแน่น ของฟลักซ์ แมเ่ หลก็ 4. การประยกุ ตใ์ ชห้ รอื ลงมอื ปฏบิ ตั ิ - นกั เรียนทาใบงาน เรอ่ื ง สนามแมเ่ หล็ก และฟลักซ์แมเ่ หล็ก 13. การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. วธิ วี ัดและประเมนิ ผล 1.1 ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบอตั นัย 1 ข้อ 1.2 ครูใหค้ ะแนนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคะแนนจติ วทิ ยาศาสตร์ จากเกณฑก์ ารให้ คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไมเ่ พียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพ่ิมเติม 2. เครื่องมือวดั และประเมินผล 2.1 ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ 2.2 แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2.3 แบบประเมินจติ วิทยาศาสตร์ 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 ขอ้ สอบอัตนยั ได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 75 3.2 แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ75 3.3 แบบประเมินจิตวทิ ยาศาสตร์ ได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75 14. สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. แมแ่ รง 2. ห้องสมุด 3. ชุมชน 4. ฐานขอ้ มูล Internet http://www. sripatum.ac.th/online/physics5/k07.htm

บนั ทึกหลังการการจัดการเรยี นรู้ 1. จานวนนกั เรียนที่สอน...............................คน 2. จานวนนกั เรียนที่มาเรยี น ห้อง จานวนนกั เรยี น (คน) หอ้ ง จานวนนกั เรยี น (คน) รวมจานวนนักเรยี น จานวนนกั เรียน(คน) 3. คณุ ภาพผู้เรยี นก่อนเรียนแบง่ กลุม่ ได้ดงั น้ี ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง 4. ดาเนินการเรยี นการสอนเพ่ือส่งเสริมและปรับปรุงอยา่ งไร ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................ ..................................................................................... .... ......................................................................................................................................................... ................................ 5. คุณภาพผู้เรียนหลงั เรยี น แบง่ กลุม่ ไดด้ งั น้ี ระดบั คณุ ภาพ จานวนนกั เรยี น(คน) ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

ชื่อ – นามสกลุ สาเหตทุ ่ีไดป้ รับปรงุ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 6. แนวทางปรบั ปรุง/แก้ไขปัญหา ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ 7. ผลการปรบั ปรงุ ......................................................................................................... ................................................................................ ........................................................ ........................................................................................................................ ......... 8. นักเรยี นกลมุ่ พอใช้ ดี และดีมาก สง่ เสรมิ อย่างไร ......................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................. ....................................................................... ........................................................................................................................................................ ลงชือ่ ................................................................. (.................................................) ครผู สู้ อนความเหน็ ของหวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ................................................................. (.................................................) หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้...........................................

ความเหน็ ของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝา่ ยวิชาการ ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................................. (....................................................) รอง/ผ้ชู ว่ ยรองผู้อานวยการโรงเรยี น ความเห็นของผอู้ านวยการโรงเรียน ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงช่อื ................................................................. (นางจฑุ ามาส เทพหสั ดนิ ณ อยธุ ยา) ผู้อานวยการโรงเรียนสระแกว้

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าฟสิ กิ ส์ รหสั วชิ า ว30205 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง แมเ่ หลก็ และไฟฟา้ เวลาเรยี น 19 ชวั่ โมง แผนการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง แรงแม่เหลก็ เวลา 3 ชว่ั โมง ครผู สู้ อน นางสาวสายรงุ้ ทองสงู โรงเรยี นสระแกว้ 1. สาระที่ - 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ – 3. ผลการเรียนรู้ อธบิ ายและคานวณแรงแมเ่ หล็กท่ีกระทาต่ออนภุ าคทมี่ ปี ระจุไฟฟา้ เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหลก็ ท่ี กระทาตอ่ เส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าผา่ นและวางในสนามแมเ่ หล็ก รศั มคี วามโค้งของการเคลือ่ นที่เมื่อประจเุ คลอ่ื นทต่ี ้งั ฉากกบั สนามแมเ่ หล็ก รวมท้งั อธิบายแรงระหวา่ งเส้นลวดตัวนาค่ขู นานท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่าน 4. สาระการเรยี นรู้ 1. สาระการเรยี นร้แู กนกลาง - แรงแมเ่ หล็ก - รัศมคี วามโคง้ 2. สอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. สอดแทรกความรู้การเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน - 5. สาระสาคัญ ถ้าให้อนุภาคที่มีประจุ เคลื่อนท่ีด้วยความเร็ว v เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงเน่ืองจาก สนามแม่เหล็กกระทาตอ่ อนุภาคท่ีมปี ระจุ ซึ่งขนาดของแรงจะมากสุดเมื่ออนภุ าคเคล่อื นท่ี โดยทศิ ของ v ตง้ั ฉาก  กบั B - FแBรงทีก่ qร(ะvทาตBอ่ อ)นภุ าqคvเทBา่ sกiบัn  F เม่ือ q : ประจุ (C) v : ขนาดของความเรว็ (m/s)  B B : ขนาดสนามแม่เหล็ก (T) v

 : มมุ ระหวา่ ง v กบั  B - หาทศิ ของแรง โดยใช้กฎมือขวา - กรณีอนุภาคว่ิงตั้งฉาก กับทิศของสนาม ขนาดของแรงเท่ากับ qvB และอนุภาคจะเคล่ือนที่เป็น วงกลม ท่มี ขี นาดของแรงสศู่ นู ย์กลาง เท่ากบั แรงแม่เหล็ก qvB  mv2 r กรณีอนภุ าคท่มี ีประจวุ ง่ิ ด้วยความเร็ว V ทามมุ  กับสนามแมเ่ หล็ก ประจุจะว่ิงเป็นเกลียวในสนามแม่เหลก็ โดยวงิ่ เป็นวงกลมดว้ ยอตั ราเรว็ คงที่ เทา่ กับ Vsine  และระนาบในวงกลมจะเคลอื่ นที่ออก ด้วย วามเรว็ เท่ากับ Vcos  และรศั มีของวงกลม เท่ากับ r  mv sin  และระยะระหวา่ งเกลยี วเท่ากบั v cos T qB 6. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกได้วา่ เม่ืออนุภาคที่มีประจเุ คล่อื นทีใ่ นสนามแมเ่ หล็ก จะมแี รงกระทาต่ออนภุ าคนัน้ 2. อธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแรง F ท่ีกระทาต่อประจุ q ทมี่ คี วามเร็ว v เมื่ออยู่ในสนามแมเ่ หล็ก B และใชค้ วามสมั พันธ์ดังกล่าว หาปรมิ าณตา่ งๆ ท่เี กี่ยวข้องได้ 3. หาทศิ ของแรงที่กระทาต่ออนภุ าคทมี่ ีประจุ ขณะเคลื่อนที่ในสนามแม่เหลก็ ได้ 4. สรปุ ได้ว่า ขนาดของแรงกระทาที่ค่ามากท่สี ดุ เมื่อทิศทางของความเรว็ ตงั้ ฉากกับทิศของสนามแมเ่ หล็ก7. จุดเนน้ การพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น 7.1 ดา้ นความสามารถและทกั ษะ แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง ใช้เทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นรู้ มที ักษะการคิดชนั้ สงู ทกั ษะการส่อื สารอยา่ ง สร้างสรรคต์ ามช่วงวยั 7.2 ด้านคุณลกั ษณะเฉพาะชว่ งวัย อยู่อยา่ งพอเพียง 8. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 9. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ 3. มวี นิ ัย

4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง 6. มุง่ มั่นในการทางาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มีจติ สาธารณะ 10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 11. การบรู ณาการ - บรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย - บูรณาการกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ - บรู ณาการกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ - บรู ณาการกล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ 12. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ / กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ 1. แลกเปลยี่ นประสบการณ์ - ครสู าธติ การทดลองเรอ่ื งการเคลือ่ นท่ีของ ลาอิเล็กตรอนในหลอดคาโทด - นกั เรียนและครรู ว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั ผลของสนามแม่เหล็กที่มีต่ออนภุ าคที่มปี ระจุไฟฟา้ วา่ นา่ จะเปน็ อย่างไร และขน้ึ อยู่กับปัจจยั ใดบ้าง โดยให้นกั เรียนสังเกตจากผลการทดลอง 2. นาเสนอความรู้ - ครูอธบิ ายถึงแรงท่ีกระทาตออนภุ าคที่มีประจุไฟฟา้ ซึ่งเคลอ่ื นทเ่ี ขา้ ไปในสนามแมเ่ หลก็ - ครอู ธบิ ายทิศของแรงท่กี ระทาต่ออนุภาคทม่ี ปี ระจุซึ่งเคลอื่ นทีเ่ ขา้ ไปในสนามแมเ่ หล็ก โดยใช้ Simulation Program จาก Interactive Physics Program

- ครอู ธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่าง แรงที่กระทาต่อประจไุ ฟฟา้ ความเรว็ ของประจไุ ฟฟ้า ขนาดประจุ ไฟฟ้า และสนามแมเ่ หล็ก พรอ้ มยกตัวอยา่ งการคานวณหาปริมาณดังกล่าว โดยใช้ ส่อื Power point - ครูอธบิ ายทิศของแรงทกี่ ระทาตอ่ อนภุ าคท่มี ปี ระจุซ่งึ เคล่อื นทเ่ี ข้าไปในสนามแม่เหล็ก โดยใช้ Simulation Program จากแผ่น CD Physics Cyber Lab 3. สรา้ งองค์ความรู้ - ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ เรอื่ ง ผลของสนามแมเ่ หล็กที่มีตอ่ อนุภาคท่มี ีประจไุ ฟฟ้า - นักเรียนฝึกคานวณหาปริมาณต่าง ๆ ตามโจทย์ตวั อย่างท่ีครูยกมา 4. การประยุกตใ์ ชห้ รอื ลงมอื ปฏบิ ตั ิ - นกั เรียนทาใบงาน เร่ือง ท่ีกระทาต่ออนภุ าคที่มปี ระจุซง่ึ เคล่อื นท่ีเขา้ ไปในสนาม 13. การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. วธิ ีวดั และประเมินผล 1.1 ให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบอตั นัย 1 ข้อ 1.2 ครใู หค้ ะแนนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคะแนนจติ วิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้ คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใชว้ ิธีสัมภาษณ์เพิม่ เติม 2. เครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล 2.1 ข้อสอบอัตนยั 1 ขอ้ 2.2 แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2.3 แบบประเมนิ จิตวิทยาศาสตร์ 3. เกณฑ์การประเมิน

3.1 ข้อสอบอตั นัย ได้คะแนนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 75 3.2 แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ75 3.3 แบบประเมนิ จติ วทิ ยาศาสตร์ ไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 75 14. สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1. แม่แรง 2. หอ้ งสมดุ 3. ชุมชน 4. ฐานขอ้ มูล Internet http://www. sripatum.ac.th/online/physics5/k07.htm บนั ทกึ หลังการการจดั การเรยี นรู้ 1. จานวนนักเรียนทีส่ อน...............................คน 2. จานวนนกั เรยี นทีม่ าเรียน ห้อง จานวนนักเรียน (คน) ห้อง จานวนนักเรียน (คน) รวมจานวนนกั เรยี น จานวนนกั เรียน(คน) 3. คณุ ภาพผู้เรยี นก่อนเรยี นแบ่งกลุ่มไดด้ งั นี้ ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

4. ดาเนินการเรยี นการสอนเพือ่ ส่งเสริมและปรบั ปรงุ อยา่ งไร ........................................................................................................................................ ................................................. ......................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. ........................................... ................................................................................................ ......................................................................................... .................................................................................................................................................................... ..................... 5. คณุ ภาพผเู้ รียนหลังเรียน แบง่ กลุ่มไดด้ งั น้ี ระดบั คณุ ภาพ จานวนนกั เรยี น(คน) ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ ชือ่ – นามสกลุ สาเหตทุ ี่ไดป้ รับปรงุ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 6. แนวทางปรบั ปรงุ /แก้ไขปัญหา ................................................................................................................................................................................ ......... ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................

7. ผลการปรับปรงุ ......................................................................................................... ................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ......... 8. นกั เรียนกลมุ่ พอใช้ ดี และดีมาก สง่ เสริมอย่างไร .................................................................................................................................................................................. ....... .................................................................................................................. ....................................................................... ........................................................................................................................................................ ลงช่อื ................................................................. (.................................................) ครูผสู้ อนความเหน็ ของหัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (.................................................) หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้........................................... ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝา่ ยวชิ าการ ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงช่ือ................................................................. (....................................................) รอง/ผชู้ ว่ ยรองผอู้ านวยการโรงเรยี น ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรียน ..................................................................................................................................... .................................................... ................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางจฑุ ามาส เทพหสั ดิน ณ อยธุ ยา) ผูอ้ านวยการโรงเรียนสระแกว้

ใบงานเรอ่ื ง แรงที่กระทาตอ่ อนุภาคทเ่ี คล่ือนทใ่ี นสนามแม่เหลก็ สมา่ เสมอ 1. จากรปู เปน็ อนุภาคที่มีประจุ + ท้งั 3 กรณี จงหาทิศของแรงที่กระทากับอนภุ าคเนื่องจากสนามแม่เหล็ก ใหต้ อบ อยู่ในรูป B, q,และ v    BV   V      B V  B    …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........………… …………………………… 2. ในบริเวณหนึง่ มสี นามแม่เหล็กสมา่ เสมอ B = 1 G (1 G = 10-4 ) ในทิศ +X โปรตอน อนุภาคหนง่ึ พุ่งทะลุสนามเข้า ไปในทิศ +y ด้วยความเร็ว 5.0106 m/s (a) จงหาขนาดและทิศของแรงทีก่ ระทาต่อโปรตอน (b) ถา้ เปลี่ยนจาก ข้อ a ถ้าเปลย่ี นจากโปรตอนเปน็ อิเล็กตรอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………...........…………………………… ……………………………………………………… 3. โปรตอนอนภุ าคหน่ึงเคลื่อนทีเ่ ขา้ ไปในสนามแมเ่ หลก็ ท่ีมีความหนาแน่นฟลกั ซ์ เทา่ กบั 2 T ดว้ ยความเรว็ 2.0 107 m/s โดยทามมุ 30 องศา กบั สนาม จงคานวณหาแรงทก่ี ระทาต่อโปรตอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….......................... ................................................................................................................................................................................. 4. อนภุ าคโปรตอน (mp = 1.6710-19 kg) เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ว 5.0106 m/s ผา่ นสนามแม่เหล็กสม่าเสมอซง่ึ มี ทศิ พุ่งออกจากกระดาษ ขนาด เทา่ กับ 30 G ปรากฏวา่ โปรตอนเคลื่อนทเี่ ป็นวงกลม จงวาดรปู บรรยายการเคลอื่ นที่ และหา รัศมีการเคล่ือนทขี่ องโปรตอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………......................................................................... ..........……………………………………………………………………………….............................................…………………………

5. ลารงั สแี คโทดลาหนงึ่ (ลาอเิ ลก็ ตรอน;me) ถกู เบนใหเ้ คลอื่ นที่เป็นวงกลมรัศมี 2.0 cm ดว้ ยสนามแมเ่ หล็กขนาด 4.5 10-3 T จงหาอตั ราเร็วของอิเล็กตรอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………............……………………………………….........................................................…………………………… ………………………………… 6.อเิ ล็กตรอนอนุภาคหนงึ่ ถูกยิงด้วยอตั ราเรว็ 5.0 106 m/s ทามมุ 20 0 กับ แกน +X เขา้ ไปในสนามแมเ่ หล็ก อยู่ใน ทิศ + X ขนาด 1 T จงบรรยายการเคลื่อนที่ (หารศั มีการเคลื่อนทแ่ี ละ ระยะเกลยี ว) ................................................................................................................ ......................................................................... .............................................................................................. ........................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................ ......................................................................... ...................................................................................................................... 7. อิเล็กตรอนทีจ่ ุด A มคี วามเรว็ V0 = 10 7 m/s จงหา a) ขนาดและทิศทางของความเขม้ สนามแมเ่ หลก็ ทท่ี าให้อิเลก็ ตรอน เคลื่อนท่ี จาก A ไป B ตามทาง โค้งรูป วงกลม b) เวลาที่ใช้ในการเคล่ือนทจ่ี าก A ไป B ....................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... ............................................................................ 8.ในการเรง่ อนุภาคประจุ 3.2 10-19 C มวล 2.5 10-25 kg จากความเร็วต้นเป็นศูนย์ ผา่ นสนามไฟฟา้ ที่มีคา่ สม่าเสมอ 107 V/m เป็นระยะทาง 0.1 m แลว้ เข้าสสู่ นามแมเ่ หล็กท่ีมคี ่าสม่าเสมอ ปรากฏว่าอนุภาควงิ่ เปน็ สว่ นหนึง่ ของวงกลม ในสนามแม่เหล็กโดยรัศมีเท่ากบั 0.5 m สนามแมเ่ หล็กมีคา่ เท่าใด

........................................................................................................................................ ................................................. ......................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................... .................................................................. ***9. อเิ ลก็ ตรอมวล m ประจไุ ฟฟา้ –e ถูกเร่งผา่ นความต่างศักย์ V ก่อนเขา้ สู่สนามแม่เหล็กสม่าเสมอ Bใน แนวตง้ั ฉากกันดงั รปู ปรากฏวา่ อเิ ลก็ ตรอนออกจากสนามแมเ่ หลก็ ทามุม  กบั แนวเดมิ จงหาวา่ ความต่างศักยท์ ี่พอดี ทาให้  เขา้ ใกล้ 90 องศา (ตอบในเทอมของตัวแปร) ………………………….………………………….……………… ………….………………………….………………………….…… …………………….………………………….…………………… …….………………………………………………………………… ………………………………………

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าฟสิ กิ ส์ รหสั วชิ า ว30205 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง แมเ่ หลก็ และไฟฟา้ เวลาเรยี น 19 ชว่ั โมง แผนการเรยี นร้ทู ี่ 3 เรอ่ื ง โมเมนตข์ องแรงคู่ควบคู่เมอ่ื อยใู่ นสนามแมเ่ หลก็ เวลา 3 ชว่ั โมงครผู สู้ อน นางสาวสายรงุ้ ทองสงู โรงเรียนสระแกว้ 1. สาระที่ - 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ – 3. ผลการเรยี นรู้ อธบิ ายและคานวณแรงแมเ่ หลก็ ทีก่ ระทาต่ออนภุ าคท่ีมีประจุไฟฟ้าเคลื่อนทใ่ี นสนามแม่เหลก็ แรงแมเ่ หล็กที่ กระทาตอ่ เสน้ ลวดทมี่ ีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแมเ่ หลก็ รัศมคี วามโค้งของการเคลือ่ นท่เี ม่ือประจุเคลื่อนทต่ี ั้ง ฉากกับสนามแม่เหล็ก รวมท้ังอธบิ ายแรงระหว่างเส้นลวดตัวนาคู่ขนานท่มี ีกระแสไฟฟ้าผ่าน 4. สาระการเรยี นรู้ 1. สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง - โมเมนต์แรงคคู่ วบ - แกลแวนอมิเตอร์ - มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง 2. สอดแทรกหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การบูรณาการกบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. สอดแทรกความรกู้ ารเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิน่ - 5. สาระสาคัญ แกลแวนอมิเตอร์เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้าท่ีมีค่าน้อย ประกอบด้วยขดลวด ซ่ึงทาด้วย ลวดทองแดงอ าบ น้ายา พันรอบกรอบอลูมเิ นยี ม ภายในกรอบอลูมิเนียมมเี หล็กออ่ นรปู ทรงกระบอก อยู่ระหวา่ งสนามแม่เหลก็ ของแม่เหล็กถาวร หลักการ เมือ่ ผ่านกระแสไฟฟา้ ไปในขดลวด ทาใหข้ ดลวดหมุนรอบแกน เน่ืองจากเกดิ โมเมนตข์ องแรงค่คู วบ ทาให้เข็ม ชี้ที่ติดอยู่กับกรอบอลูมิเนียมก็จะเบนไปด้วย ซ่ึงจะเบนมากน้อยขึ้นอยู่กับกระแสไฟฟ้า การเบนของเข็มช่วยให้ทราบค่าของ กระแสฟา้ ที่ผา่ นขดลวดได้ มอเตอร์ประกอบด้วยขดลวดพันรอบแกน วางตัวในบริเวณท่ีมีสนามแม่เหล็กสม่าเสมอ เมื่อให้กระแสผ่านขดลวด จะเกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบทาให้ขดลวดหมุน และจะมีคอมมิวเผเตอร์ และแปรงสาหรับแปรงกระแสไฟฟ้า ให้ขดลวดหมุน ทางเดียวตลอดเวลา

6. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกไดว้ ่า โมเมนตข์ องแรงคู่ควบ M ของขดลวดสี่เหล่ยี มผนื ผา้ ท่อี ยูใ่ นสนามแมเ่ หล็กแปรผันตรง กบั ค่าของกระแสไฟฟ้าทผี า่ นขดลวด 2. บอกส่วนประกอบท่ีสาคญั และอธบิ ายหลกั การทางานของแกลแวนอมเิ ตอร์ได้ 3. นาความรูเ้ ก่ียวกบั การหมนุ ของขดลวดทกี ระแสไฟฟา้ ผ่านเม่ืออยใู่ นสนามแม่เหล็กไปอธิบายการ ทางานของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงได้ 4. สรุปไดว้ า่ การเพิ่มของขดลวดตัวนาในระนาบอน่ื จะทาให้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง มีค่าโมเมนต์ สมา่ เสมอข้ึน 7. จดุ เน้นการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น 7.1 ดา้ นความสามารถและทกั ษะ แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง ใช้เทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นรู้ มที ักษะการคิดช้นั สูง ทักษะการสื่อสารอย่าง สร้างสรรคต์ ามชว่ งวัย 7.2 ดา้ นคุณลกั ษณะเฉพาะช่วงวัย อยู่อย่างพอเพียง 8. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 9. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซอื่ สตั ย์ สจุ ริต 3. มีวินยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. มุ่งม่นั ในการทางาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ

10. หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 11. การบูรณาการ - บูรณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย - บรู ณาการกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ - บรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ - บรู ณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 12. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ / กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ 1. แลกเปลยี่ นประสบการณ์ - ครทู บทวนเกยี่ วกบั โมเมนตข์ องแรงคู่ควบของแรงที่กระทาต่อขดลวดตวั นาท่ีมี กระแสไฟฟา้ ผ่าน และวางอยู่ ในสนามแมเ่ หล็ก - ครแู ละนักเรยี นอภปิ รายเกีย่ วกบั การนาความรเู้ รอื่ งโมเมนต์ของแรงคู่ควบของแรงที่กระทาต่อขดลวดตัวนาท่ี มกี ระแสไฟฟ้าผ่าน และวางอยู่ในสนามแมเ่ หล็กไปใชป้ ระโยชน์ 2. นาเสนอความรู้ - ครูชใี้ หน้ กั เรยี นเห็นวา่ โมเมนต์ของแรงคู่ควบของแรงที่กระทาตอ่ ขดลวดตัวนาท่มี ีกระแสไฟฟ้าผา่ น และวาง อยู่ในสนามแมเ่ หล็ก มีค่าแปรตามกระแสไฟฟ้า - ครอู ธบิ ายส่วนประกอบท่สี าคัญ และหลกั การทางานของของแกลแวนอมเิ ตอร์ - ครูอธบิ ายเกี่ยวกับ หลักการของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง โดยใช้ Simulation Program เรอ่ื งมอเตอร์ ไฟฟา้ กระแสตรง จากสอ่ื Physics Cyber Lab และ ช้แี นะจนกระทง่ั นักเรียนสรุปได้วา่ การเพ่ิมขดลวดใน - ระนาบอืน่ จะทาให้มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงมีค่าโมเมนตส์ ่าเสมอข้ึน 3. สรา้ งองคค์ วามรู้ - นักเรยี นอธบิ ายหลกั การทางานของแกลแวนอมเิ ตอร์ และมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงดว้ ยคาพูดของตนเอง (โดย การสุ่ม ซึ่งทุกคนต้องเตรยี มตัวพดู ) โดยให้อธิบายจาก ภาพเคล่ือนไหวจาก สอื่ Physics Cyber Lab

4. การประยกุ ตใ์ ชห้ รือลงมือปฏบิ ตั ิ - นกั เรยี นและครูร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกบั การประยุกต์ใชม้ อร์เตอร์ไฟฟ้าให้ได้ ประสิทธิภาพ และปลอดภยั ที่สดุ - Lab 5. สรา้ งองคค์ วามรู้ - ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุป เรื่อง ผลของสนามแมเ่ หล็กที่มีตอ่ อนุภาคท่มี ีประจไุ ฟฟา้ - นกั เรยี นฝกึ คานวณหาปริมาณตา่ ง ๆ ตามโจทย์ตัวอยา่ งท่ีครูยกมา 6. การประยกุ ตใ์ ชห้ รอื ลงมือปฏบิ ตั ิ - นกั เรียนทาใบงาน เร่ือง ที่กระทาต่ออนภุ าคท่ีมีประจซุ ึ่งเคลอื่ นทเ่ี ข้าไปในสนาม 13. การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. วธิ วี ัดและประเมนิ ผล 1.1 ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ 1.2 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้ คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมลู ไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณเ์ พม่ิ เติม 2. เคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล 2.1 ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ 2.2 แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2.3 แบบประเมินจติ วทิ ยาศาสตร์ 3. เกณฑ์การประเมนิ 3.1 ข้อสอบอัตนัย ไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75 3.2 แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ75 3.3 แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75

14. ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. แม่แรง 2. หอ้ งสมดุ 3. ชมุ ชน 4. ฐานข้อมูล Internet http://www. sripatum.ac.th/online/physics5/k07.htm บนั ทกึ หลังการการจดั การเรยี นรู้ 1. จานวนนักเรียนทสี่ อน...............................คน 2. จานวนนักเรียนทีม่ าเรยี น ห้อง จานวนนกั เรียน (คน) หอ้ ง จานวนนกั เรยี น (คน) รวมจานวนนักเรียน จานวนนกั เรยี น(คน) 3. คุณภาพผเู้ รียนก่อนเรียนแบง่ กลมุ่ ไดด้ งั นี้ ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 4. ดาเนินการเรยี นการสอนเพอื่ สง่ เสริมและปรับปรุงอย่างไร ........................................................................................................................................... .............................................. ......................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. ........................................... ................................................................................................ ......................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ..................

5. คณุ ภาพผ้เู รยี นหลงั เรียน แบง่ กลุ่มไดด้ งั น้ี จานวนนกั เรียน(คน) ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ชื่อ – นามสกลุ สาเหตทุ ่ีไดป้ รบั ปรงุ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 6. แนวทางปรับปรงุ /แก้ไขปัญหา ................................................................................................................................................................................ ......... ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ 7. ผลการปรับปรุง ......................................................................................................... ................................................................................ ................................................................................................................................................................................ .........

8. นักเรยี นกลมุ่ พอใช้ ดี และดมี าก สง่ เสรมิ อยา่ งไร ............................................................................................................................................................................... .......... .................................................................................................................. ....................................................................... ........................................................................................................................................................ ลงชอ่ื ................................................................. (.................................................) ครูผูส้ อนความเหน็ ของหัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ ......................................................................................... ................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ......................... ลงชอ่ื ................................................................. (.................................................) หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้........................................... ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนฝา่ ยวชิ าการ ......................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ............................. ลงชอ่ื ................................................................. (....................................................) รอง/ผูช้ ว่ ยรองผอู้ านวยการโรงเรียน ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ................................................................................................................. ........................................................................ ................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ................................................................. (นางจุฑามาส เทพหสั ดิน ณ อยธุ ยา) ผอู้ านวยการโรงเรยี นสระแกว้

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าฟสิ กิ ส์ รหสั วชิ า ว30205 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง แมเ่ หลก็ และไฟฟา้ เวลาเรยี น 19 ชว่ั โมง แผนการเรยี นรูท้ ี่ 4 เรอ่ื ง กระแสไฟฟา้ เหนย่ี วนาและอเี อฟเหนยี่ วนา เวลา 3 ชวั่ โมงครผู สู้ อน นางสาวสายรงุ้ ทองสงู โรงเรียนสระแกว้ 1. สาระที่ - 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ – 3. ผลการเรียนรู้ สังเกตและอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหน่ียวนา กฎการเหน่ียวนาของฟาราเดย์ และคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง รวมท้ังนาความรู้เร่ืองอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนาไปอธิบายการทางานของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า อธิบายและคานวณความต่างศักย์ อาร์เอ็มเอส และกระแสไฟฟา้ อาร์เอม็ เอส 4. สาระการเรยี นรู้ 1. สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - อเี อม็ เอฟเหนีย่ วนา - กฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ - กระแสไฟฟ้าอาร์เอม็ เอส 2. สอดแทรกหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การบรู ณาการกับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. สอดแทรกความรูก้ ารเข้าสู่ประชาคมอาเซียน สาระการเรยี นร้ทู ้องถน่ิ - 5. สาระสาคญั เม่ือให้ฟลักซ์แม่เหล็กเคลื่อนท่ีผ่านตัวนาจะเกิดกระแสไฟฟ้าในขดลวด เรียกว่าการเหน่ียวนาแม่เหล็กไฟฟ้า กฎการ เหนี่ยวนาของฟราราเดย์มีใจความว่า แรงเคล่ือนไฟฟ้าเหน่ียวนาท่ีเกิดขึ้นในขดลวดจะเป็นสัดส่วนกับอัตราการ เปลี่ยนแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านขดลวดนั้นเมื่อเทียบกับเวลา กฎของเลนส์มีใจความว่า แรงเคล่ือนไฟฟ้า เหนี่ยวนาในขดลวดจะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาในทิศท่ีจะทาให้เกิดฟลักซ์ แม่เหล็กใหม่ข้ึนมาต้านการ เปลยี่ นแปลงของฟลักซ์แมเ่ หล็กเดมิ ทต่ี ดั ผ่านขดลวดน้ัน

6. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. สืบค้นและอภปิ รายเกย่ี วกับกระแสไฟฟ้าเหนยี่ วนาและแรงเคลอื่ นไฟฟ้าเหนี่ยวนา2. 2. อธบิ ายความหมาย ของกระแสไฟฟา้ เหน่ียวนาและแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหน่ยี วนา 3. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ของกระแสไฟฟ้าเหนีย่ วนาและแรงเคลอ่ื นไฟฟ้าเหนย่ี วนา 4. นาความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั กระแสไฟฟา้ เหนย่ี วนาและแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหน่ียวนา ไปใชป้ ระโยชนใ์ น ชีวิตประจาวัน 5. จาแนกประเภทหรือสรา้ งเกณฑเ์ กยี่ วกับกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาและแรงเคล่ือนไฟฟ้าเหนี่ยวนา 6. ออกแบบเคร่ืองมือเครื่องใช้หรือของเล่นจากหลกั การของกระแสไฟฟ้าเหนย่ี วนาและแรงเคลื่อนไฟฟ้า เหนีย่ วนา 7. ประเมนิ ความสาคัญของกระแสไฟฟา้ เหนี่ยวนาและแรงเคลือ่ นไฟฟา้ เหนี่ยวนา 8. มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ 7. จุดเน้นการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น 7.1 ดา้ นความสามารถและทักษะ แสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง ใช้เทคโนโลยเี พื่อการเรียนรู้ มีทักษะการคิดชัน้ สงู ทักษะการส่อื สารอย่าง สรา้ งสรรคต์ ามช่วงวยั 7.2 ด้านคณุ ลักษณะเฉพาะชว่ งวัย อยอู่ ย่างพอเพยี ง 8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 9. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซื่อสตั ย์ สจุ ริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. มงุ่ มัน่ ในการทางาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มีจติ สาธารณะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook