Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนฟิสิกส์ 6 ว30206

แผนการสอนฟิสิกส์ 6 ว30206

Published by pupa rung, 2021-04-12 11:10:58

Description: แผนการสอนฟิสิกส์ 6 ว30206

Search

Read the Text Version

แผนจดั การเรียนรู้วชิ าฟิสิกส์ ว30206 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 Kinetic Theory of Gases นางสาวสายรงุ้ ทองสงู ตาแหนง่ ครู คศ.1 โรงเรยี นสระแกว้ ตาบลสระแก้ว อาเภอเมอื งสระแกว้ จงั หวัดสระแกว้ สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 7







แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 ชอ่ื เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ ของแมกซ์เวลลแ์ ละการทดลองของเฮริ ตซ์ หนว่ ยที่ 1 เรอื่ ง คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า รหสั วิชา ว 30206 รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 6 เวลา 2 ชั่วโมง ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. สาระท่ี ๕ พลงั งาน 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว ๕. ๑ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลยี่ นรูปพลังงาน ปฏสิ มั พันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลงั งานตอ่ ชีวิตและสิง่ แวดล้อม มกี ระบวน การสบื เสาะ หาความรู้ สอื่ สารส่ิงท่ีเรยี นรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐานการเรยี นรชู้ ่วงชน้ั สบื ค้นข้อมลู และอธิบายสเปกตรัมของคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทงั้ ประโยชนแ์ ละอนั ตรายของคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า 3. ผลการเรยี นรู้ 1. สารวจตรวจสอบ อภปิ รายเก่ียวกบั สมบตั แิ ละการเกดิ คลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 2. สบื ค้นข้อมลู และอภิปรายเกี่ยวกบั สเปกตรมั ของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าท่ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาสเปกตรัม คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถ่ีต่อเน่ืองกัน โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงความถ่ีต่างๆ มีลักษณะเฉพาะตัว ซึ่ง สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันเช่น การรับส่งวิทยุ โทรทัศน์ การป้องกันอันตรายจากคล่ืน แม่เหล็กไฟฟ้า เชน่ ไมอ่ ยใู่ กลเ้ ตาไมโครเวฟขณะเตาทางาน 4.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ท่ีมีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้ เกดิ ผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม

5. สาระสาคัญ ใจความของทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์กล่าวว่าเม่ือสนามแม่เหล็กบริเวณหนึ่งเปลี่ยนแปลง จะเหนี่ยวนาให้เกิดสนามไฟฟ้า โดยสนามท่ีถูกเหนี่ยวนาจะมีระนาบตั้งฉากกับทิศการเคล่ือนที่ของ สนามแม่เหล็กท่ีเปล่ียนแปลง และในเช่นเดียวกัน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้า ก็จะเหน่ียวนาให้ เกดิ สนามแมเ่ หล็ก ในระนาบทต่ี ั้งฉากกบั สนามไฟฟ้าท่เี ปล่ยี นแปลง เฮิร์ตได้ทาการทดลองเพื่อพิสูจน์ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตามแนวคิดของแมกว์เวล โดยใช้ขดลวดเหน่ียวนา ทาให้เกิดค่าความต่างศักย์สูงสุดที่ปลายขดลวด ซ่ึงมีลูกกลม B โดยมีช่องว่าง แคบ เม่ือความต่างศักย์สูง อากาศจึงแตกตวั เปน็ ไอออน นาไฟฟา้ ได้ ซึ่งจะเหน็ เป็นประกายไฟออกมา จากน้ันใช้จานโลหะรูปพาราบารมีลอยผ่าน วางห่างช่องแคบๆนั้น ปรากฎว่า เมื่อให้เกิดค่าความต่าง ศักย์สูงสุดที่ปลายขดลวด และเกิดประกายไฟ เครอ่ื งรับท่เี ปน็ วงแหวนก็เกิดประกายไฟด้วย ซึ่งผลการทดลอง ไดส้ นับสนนุ ทฤษฎคี ลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าตามแนวคดิ ของแมกวเ์ วล ตามความคิดของแมกเวลล์ซ่ึงกล่าวว่า การเหน่ียวนาสนามไฟฟ้านั้นจะเกิดข้ึนได้เสมอโดยไม่ต้อง มี ตัวนาไฟฟา้ อยดู่ ้วย นัน่ หมายถึง ณ ทีว่ ่างรอบๆ กส็ ามารถเกดิ การเปลย่ี นแปลงข้นึ ได้ เม่ือสนามไฟฟ้าในท่ีวา่ งใดๆ เกิดการเปลยี่ นแปลงตามเวลา จะเหนย่ี วนาให้ สนามแมเ่ หล็กเกิดการเปลี่ยนแปลง ตามเวลา ไปในขณะเดียวกันด้วย และสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปล่ียนก็จะเหนี่ยวนาให้เกิดการสนานไฟฟ้าอีก ตอ่ เนื่องกนั ไป การเกิดต่อเน่ืองกนั นท้ี าใหเ้ กดิ คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ขึน้ เม่ืออิเล็กตรอนในสายอากาศเคล่ือนท่ีแบบซิมเปิลฮาร์โมนิกอย่างง่ายจะทาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แผ่ออกจากสายอากาศ ระนาบของสนามไฟฟ้าจะต้ังฉากกบั สนามแมเ่ หลก็ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง เพราะมีสมบัติการโพราไลซ์เซชัน(Polalization) ทิศของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ามที ุกทิศทุกทาง (3 มิติ) ยกเวน้ ในแนวเสน้ ตรงเดียวกบั สายอากาศ คล่ืนไฟฟ้าท่ีมีความถ่ีต่อเนื่องเป็นช่วงกว้าง ความถีต่างๆเหล่านี้ เรียกรวมกันว่า สเปกตรัมของคลื่น แม่เหล็กไฟฟา้ คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้าความถ่ี คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ มีความถ่เี ดียวกนั มีชอื่ เรยี กต่างกนั ไปขนึ้ อยู่กับแหลง่ กาเนิด 6. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายการเกิดคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้าได้ 2. บอกรายละเอยี ดของทฤษฎีคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ได้ 3. อธบิ ายการทดลองของเฮิรตชเ์ พ่ือพสิ จู น์ทฤษฎีคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้าของแมกเวลล์ได้ 7. จุดเน้นการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น 7.1 ดา้ นความสามารถและทักษะ 1) ทกั ษะกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ด้วยวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ 2) ทกั ษะกระบวนการเรียนรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน

3) ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ 4) ทักษะกระบวนการทางาน 5) ทักษะกระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด 6) ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง 7.2 ดา้ นคุณลกั ษณะเฉพาะช่วงวัย มงุ่ ม่นั ในการศกึ ษาและการทางาน 8. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 8.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 8.2 ความสามารถในการคิด 8.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 9. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 9.1 อย่อู ย่างพอเพยี ง 9.2 มุ่งมนั่ ในการทางาน อดทน รอบคอบ 9.3 ใฝ่เรยี นรู้ 10. หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 1. ความพอประมาณ - นักเรยี นออกแบบการทดลองดว้ ยเคร่อื งมือที่อยูร่ อบตัว 2. ความมีเหตุผล - นักเรียนพสิ จู น์ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ ของแมกเวลล์ 3. การมภี มู ิค้มุ กันในตัวที่ดี - นักเรียนปฏิบตั ิงานดว้ ยความซอื่ สตั ย์ในการทาแบบทดสอบ 4. เง่อื นไขความรู้ - นกั เรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจที่ถูกต้องในเร่ืองคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ 5. เง่ือนไขคณุ ธรรม - นักเรยี นมีความซอ่ื สตั ยแ์ ละความรับผิดชอบ 11. การบรู ณาการ 11.1 กลมุ่ สาระการเรยี นรพู้ ละศกึ ษาและสขุ ศึกษาเร่ืองความปลอดภัย 11.2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ขน้ั สร้างความสนใจ (แลกเปลีย่ นประสบการณ)์ 1. สนทนาทบทวนเก่ียวกับการเกิดสนามแม่เหล็ก เมื่อเราผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวด ธรรมชาตขิ องคลืน่ สมบัติตา่ งๆ ของคล่ืน 2. ต้ังคาถามว่า นักเรียนคิดว่าคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดข้ึนได้อย่างไร และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า จะมีคณุ สมบัตติ า่ งๆ เหมือนกบั คล่นื นา้ คลนื่ เสียง ท่นี กั เรยี นเรยี นผา่ นมาหรือไม่ อยา่ งไร 3. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน 2. ขน้ั สารวจและค้นหา 1. ครูทบทวนเก่ียวกับหลักการการเหน่ียวนาไฟฟ้า ตามกฎของฟาราเดย์ แล้วอธิบายทฤษฎี แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าของแมกเวลล์ 2. ครแู จกใบงานและใหน้ กั เรยี นศึกษาจากใบความรู้ เรือ่ งคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ ใชเ้ วลา 15 นาที และชว่ ยกันวเิ คราะหแ์ ละอภปิ รายเกยี่ วกับการทดลองของเฮริ ์ตซ์ 3. ครูอธบิ ายการเกิดคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า และการแผ่ของคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้าโดยใหน้ ักเรยี นดู ภาพ เรือ่ งการแผข่ องคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า แล้วให้นกั เรียนวเิ คราะหถ์ งึ ลกั ษณะการแผข่ องคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเร่ือง คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่ เข้าใจและใหค้ วามร้เู พม่ิ เติมในสว่ นน้ัน 5. ครใู หน้ กั เรยี นเขียน Mine Mapping เกีย่ วกบั ความรเู้ ร่อื ง คลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ส่งใน คาบเรยี นวันน้ี 3. ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรปุ ครสู อบถามนักเรยี น ดว้ ยประเดน็ ต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ เป็นชนิดคลืน่ แบบใด (ชนิดคลื่นตามขวาง) 2. สมมติฐานของแมกซ์เวลล์ มีใจความว่าอย่างไร ( ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กจะ ทาให้เกิดสนามไฟฟ้ารอบๆการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กนั้น และถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้าจะทาให้ เกดิ สนามแม่เหล็กรอบๆการเปลย่ี นแปลงสนามไฟฟา้ นน้ั ) 3. การทดลองของเฮริตซ์เป็นการทดลองเพ่ือพิสูจน์เร่ืองใด (พลังงานสามารถส่งผ่านจากที่ หนง่ึ ไปยังที่หนงึ่ ได้โดยอยใู่ นรปู คลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า) 4. การเปล่ยี นแปลงสนามแมเ่ หล็กและสนามไฟฟา้ ของคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า เปน็ อย่างไร

(ทิศของสนามแม่เหลก็ และทิศของสนามไฟฟา้ จะตง้ั ฉากซึ่งกนั และกนั และตั้งฉากกบั ทศิ การเคล่ือนที่ของคลืน่ ) 4. ขน้ั ขยายความรู้ ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับธรรมชาติของคลื่นแม่-เหล็กไฟฟ้า และการค้นพบคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า โดยใช้สอ่ื power point และสือ่ animation 5. ข้นั ประเมิน 1. เปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามข้อสงสยั ทีน่ ักเรยี นยงั ไม่เข้าใจเกยี่ วกบั เรื่องทเ่ี รยี น 2. สมุ่ นกั เรียนอภิปรายสรุปเก่ยี วกับความรู้ท่ีได้รบั ในการศึกษาในครั้งน้ี 3. นกั เรยี นบันทกึ ผลการเรยี นรู้ในสมดุ บนั ทึกผลการเรียนรู้รายชั่วโมง 4. ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น 13. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. เครื่องโพรเจกเตอร์ 3. ใบงาน 4. แบบประเมนิ ตา่ งๆ 5. แบบสังเกตต่างๆ 6. สื่อ animation 7. power point 8. ใบความรู้ 9. หอ้ งสมุด 10. หนงั สอื คู่มอื จากสานักพมิ พต์ า่ งๆ 11. อินเทอร์เนต็ จากเวบ็ ไซต์ต่างๆ

14. การวดั และประเมินผล 14.1 วธิ กี ารวัดผล 1. ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบปรนัยก่อนเรยี น 10 ขอ้ 2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การใหค้ ะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากขอ้ มลู ไม่เพียงพอใช้วธิ ีสัมภาษณ์เพมิ่ เติม 14.2 เครอ่ื งมือการวดั ผล 1. ข้อสอบปรนยั กอ่ นเรียน 10 ข้อ 2. แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. แบบประเมินจิตวทิ ยาศาสตร์ 14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล 1. ข้อสอบปรนัยกอ่ นเรยี น ไดค้ ะแนนน้อยกวา่ รอ้ ยละ 50 2. แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 75 3. แบบประเมินจติ วทิ ยาศาสตร์ ไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 75

แบบทดสอบก่อนเรียน จงเลอื กคาตอบที่ถกู ต้องทส่ี ดุ เพียงคาตอบเดยี ว 1. ถา้ เรายนื อยูบ่ นพ้นื โลก ณ ประเทศไทย ขณะนน้ั มีคลนื่ ไฟฟ้าเคลือ่ นที่ผา่ นข้ึนไปทางทิศเหนอื หากตรงท่ี เรายืนอยูพ่ บว่ามีสนามไฟฟ้าพงุ่ ไปทางทิศตะวันออก สนามแมเ่ หลก็ ของคลืน่ จะพุ่งในทิศใด 1. ทศิ ตะวันตก 2. ทศิ เหนอื 3. แนวดงิ่ พงุ่ ข้ึน 4. แนวดิ่งพ่งุ ลง 2. คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้าแตกต่างจากคล่นื น้า คือคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ เปน็ อย่างไร 1. เป็นคลน่ื ตามขวาง 2. ไม่หักเห 3. ไมอ่ าศัยตวั กลาง 4. ไม่โพลาไรเซชัน 3. คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าความถ่คี า่ หน่งึ ถกู ส่งออกไปกระทบกับแผ่นโลหะตัวนาในลกั ษณะตัง้ ฉากกับระนาบ ของแผ่น ตวั นา การสะท้อนของคลื่นเป็นไปตามกฎการสะท้อนของคลนื่ อยากทราบว่ากรณีน้ี คลนื่ สะท้อนจะมีเฟสต่างจากคลน่ื เดมิ ก่ีองศา 1. 0 2. 90 3. 180 4. 270 4. คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในตัวเลือกใดตอ่ ไปน้ีท่ีไม่สามารถใช้สอื่ สารได้ 1. คลื่นวิทยุและไมโครเวฟ 2. ไมโครเวฟและเลเซอร์ 3. เลเซอร์และอัลตราไวโอเลต 4. อตั ราไวโอเลตและรงั สีเอกซ์ 5. คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ ในตัวเลือกใดต่อไปนท้ี ี่ไม่เปน็ อันตรายต่อมนษุ ย์ 1. ไมโครเวฟ 2. อินฟราเรด 3. เลเซอร์ 4. คลนื่ วิทยุ 6. รงั สอี นิ ฟราเรดและคลน่ื ไมโครเวฟมีส่งิ ทีเ่ หมือนกันในตวั เลอื กใดต่อไปน้ี ก. เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข. ใชป้ ระโยชน์ในการสอื่ สารดาวเทยี ม ค. ตรวจจับได้ด้วยฟลิ ม์ ถา่ ยรปู ขอ้ ใดถูกต้อง 1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ก และ ค 3. ขอ้ ข และ ค 4. คาตอบเปน็ อย่างอืน่ 7. สนามแมเ่ หล็กท่ีมาพร้อมกบั การเคล่ือนที่ของแสงน้นั จะมีทิศทางอย่างไร 1. ขนานกับทิศทางของการเคล่อื นทีข่ องแสง 2. ขนานกบั สนามไฟฟ้าแตเ่ ฟสต่างกนั 90 องศา 3. ตั้งฉากกบั ท้งั สนามไฟฟ้าและทศิ ทางการเคลื่อนที่ของแสง 4. ต้ังฉากกับสนามไฟฟา้ แต่ขนานกบั ทศิ ทางการเคลือ่ นทีข่ องแสง

8. พิจารณาคากลา่ วต่อไปน้ี ก. คลน่ื ไมโครเวฟสะท้อนจากผิวโลหะไดด้ ี ข. คลืน่ โทรทศั นเ์ ลยี้ วเบนอ้อมสิ่งกดี ขวาง เชน่ รถยนตไ์ ด้ ค. รังสีอลั ตราไวโอเลตทะลผุ ่านแกว้ ไดด้ ี ง. คลน่ื วทิ ยุเอเอม็ (50 kHz - 1.6 MHz) สะท้อนไดด้ ีทบี่ รรยากาศชัน้ ไอโอโนสเฟียร์ ข้อใดถูกต้อง 1. ขอ้ ง เท่านัน้ 2. ข้อ ก และ ง 3. ข้อ ก ข และ ค 4. คาตอบเป็นอยา่ งอ่นื 9. ภายในหลอดฟลูออเรสเซนต์บรรจไุ อปรอทไว้ ซ่งึ จะปล่อยรังสีอลั ตราไวโอเลตออกมาเม่ือไอปรอทถูก กระตนุ้ ดว้ ยอิเล็กตรอน รงั สีอัลตราไวโอเลตมหี นา้ ท่ีอะไรสาหรับกรณีนี้ 1. เกิดขนึ้ เองจึงไมม่ หี น้าท่ีอะไร 2. กระตนุ้ สารวาวแสงใหเ้ รืองแสง 3. กนั ไม่ให้มอี ิเลก็ ตรอนในหลอดมากไป 4. ทาให้ตามนุษยเ์ หน็ แสงนวลสบายตา 10. ถ้าเราถา่ ยภาพฝา่ มือด้วยรังสเี อกซ์ ภาพของฝา่ มือท่ีปรากฏบนฟลิ ์มจะเปน็ อยา่ งไร แหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์ 1. กระดูกจะเห็นเป็นสีดา 2. กลา้ มเน้ือจะเหน็ เป็นสขี าว 3. กระดูกจะเห็นเป็นสีขาว 4. เลบ็ จะเห็นเป็นสขี าว

เฉลยแบบทดสอบทา้ ยแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 6 1. 4 2. 3 3. 1 4. 4 5. 4 6. 4 7. 3 8. 2 9. 2 10. 3

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 ชื่อเรอ่ื ง การแผ่คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จากสายอากาศ หนว่ ยที่ 1 เรอื่ ง คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รหสั วชิ า ว 30206 รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 6 เวลา 2 ชว่ั โมง ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. สาระที่ ๕ พลงั งาน 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งพลังงานกับการดารงชีวติ การเปล่ียนรูปพลังงาน ปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างสารและพลงั งาน ผลของการใช้พลงั งานต่อชีวิตและสิง่ แวดล้อม มกี ระบวน การสืบเสาะ หาความรู้ ส่อื สารสง่ิ ท่ีเรยี นรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐานการเรยี นรชู้ ว่ งช้นั สบื คน้ ข้อมูล และอธิบายสเปกตรมั ของคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้ัง ประโยชนแ์ ละอนั ตรายของคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า 3. ผลการเรยี นรู้ 1. สารวจตรวจสอบ อภปิ รายเกี่ยวกบั สมบตั ิและการเกดิ คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 2. สบื คน้ ขอ้ มูลและอภิปรายเกี่ยวกับสเปกตรมั ของคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลาสเปกตรัม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถ่ีต่อเนื่องกัน โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงความถ่ีต่างๆ มีลักษณะเฉพาะตัว ซึ่ง สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันเช่น การรับส่งวิทยุ โทรทัศน์ การป้องกันอันตรายจากคล่ืน แม่เหลก็ ไฟฟา้ เชน่ ไม่อยใู่ กลเ้ ตาไมโครเวฟขณะเตาทางาน 4.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้ เกดิ ผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม

5. สาระสาคัญ เมื่อต่อแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเข้ากับสายอากาศที่อยู่ในแนวด่ิง ประจุไฟฟ้าในสายอากาศจะ เคล่ือนท่ีกลับไปมาด้วยความเร่งในแนวดิ่ง ทาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากระจายไปทุกทิศทางยกเว้นทิศท่ีอยู่ แนวเดียวกับสายอากาศ 6. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการเกิดเคลือ่ นที่ของประจุไฟฟา้ ในสายอากาศได้ 3. อธบิ ายนาหลกั การเคลอ่ื นทีข่ องประจไุ ฟฟ้าในสายอากาศไปใชป้ ระโยชน์ได้ 7. จดุ เนน้ การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน 7.1 ดา้ นความสามารถและทักษะ 1) ทักษะกระบวนการสบื เสาะหาความรดู้ ว้ ยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ 2) ทักษะกระบวนการเรยี นรูโ้ ดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน 3) ทักษะกระบวนการกลมุ่ 4) ทกั ษะกระบวนการทางาน 5) ทกั ษะกระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด 6) ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7) ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ช่ือมโยง 7.2 ดา้ นคณุ ลกั ษณะเฉพาะช่วงวยั มงุ่ ม่นั ในการศกึ ษาและการทางาน 8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 8.1 ความสามารถในการส่อื สาร 8.2 ความสามารถในการคดิ 8.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 9. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 9.1 อยูอ่ ย่างพอเพียง 9.2 ม่งุ ม่นั ในการทางาน อดทน รอบคอบ 9.3 ใฝเ่ รยี นรู้

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ - นักเรียนออกแบบการทดลองด้วยเครอ่ื งมือที่อยรู่ อบตัว 2. ความมีเหตุผล - นักเรยี นพิสูจน์การเคลอื่ นที่ของประจุในสายอากาศ 3. การมีภมู คิ ้มุ กนั ในตวั ที่ดี - นักเรยี นปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอื่ สตั ย์ในการทาแบบทดสอบ 4. เงอ่ื นไขความรู้ - นักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกตอ้ งในเรอ่ื งการแผค่ ล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้ จากสายอากาศ 5. เงอ่ื นไขคุณธรรม - นักเรยี นมคี วามซอื่ สัตย์และความรบั ผิดชอบ 11. การบรู ณาการ 11.1 กลุม่ สาระการเรียนรู้พละศกึ ษาและสุขศึกษาเรื่องความปลอดภัย 11.2 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ 12. กิจกรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมนาสกู่ ารเรยี น 1. ขั้นสร้างความสนใจ 1.1 ให้นักเรียนพดู รับส่งโทรศพั ท์มือถอื และดูโทรทศั น์ 1.2 นักเรียนท้ังหมดร่วมกันยกตัวอย่างการส่งคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน ร่วมกัน อภิปรายถึงการแผ่คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ สเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ คล่ืนไมโครเวฟ รังสอี นิ ฟราเรด แสง รังสอี ัลตราไวโอเลต และรังสีเอกซ์ รวมทง้ั การนาไปใชป้ ระโยชน์ 1.3 ให้นักเรียนรว่ มกันต้ังคาถามเกี่ยวกบั สิ่งที่ต้องการรู้ จากเนือ้ หาท่ีเก่ยี วกับเรื่องทฤษฎีคลื่น แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ของแมกซ์เวลล์และการทดลองของเฮิรตซ์ กจิ กรรมพฒั นาการเรียนรู้ 2. ขนั้ สารวจและคน้ หา 2.1 แบ่งนักเรียนเปน็ กลุม่ ละ 4 คน 2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ สเปกตรัม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คล่ืนวิทยุ คล่ืนโทรทัศน์ คลื่นไมโครเวฟ รงั สีอินฟราเรด แสง รังสีอัลตราไวโอเลต และรังสี เอกซ์

2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ สเปกตรัมคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า คลน่ื วทิ ยุ คล่ืนโทรทศั น์ คลื่นไมโครเวฟ รังสีอนิ ฟราเรด แสง รงั สีอลั ตราไวโอเลต และรงั สเี อกซ์ 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการสืบค้นการแผ่คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ สเปกตรมั คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า คล่นื วทิ ยุ คล่ืนโทรทัศน์ คลื่นไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสง รงั สีอัลตราไวโอเลต และรงั สเี อกซ์ 3.2 นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ได้ผลการสืบค้นเหมอื นกนั หรือต่างกนั อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด 3.3 ครตู ้ังคาถามว่า - จากการทดลองของเฮิรตซ์ ถ้าใช้ไฟฟ้ากระแสสลับแทนการปิดเปิดสวิตซ์ไฟฟ้ากระแสตรงจากแบตเตอร่ี ผลท่ีเกิดขึ้นจะเป็นอย่างไร - สมบตั ิของคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ เป็นอย่างไร - สเปกตรมั คล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ เป็นอย่างไร - การสง่ คลืน่ วทิ ยรุ ะบบเอเอม็ กบั เอฟเอ็มแตกต่างกันอยา่ งไร - การสง่ คลืน่ โทรทัศนผ์ า่ นดาวเทียมทาอย่างไร - เรดาร์ทางานอย่างไร - เส้นใยนาแสงสง่ สญั ญาณได้อยา่ งไร - แสงเลเซอรเ์ กดิ ไดอ้ ย่างไร และมโี ครงสรา้ งอยา่ งไร 3.4 นักเรียนท้ังหมดร่วมกันสรุปผลจากการสืบค้นทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ และการทดลองของเฮริ ตซ์ กจิ กรรมรวบยอด 4. ขนั้ ขยายความรู้ 4.1 ครูถามว่า จงเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าของ แมกซเ์ วลลแ์ ละการทดลองของเฮิรตซ์ไปใชป้ ระโยชน์ 4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั สรุปเก่ียวกับทฤษฎคี ลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ ของแมกซเ์ วลลแ์ ละการ ทดลองของเฮริ ตซ์ 5. ข้ันประเมนิ ผล 5.1 ให้นักเรียนแตล่ ะคนย้อนกลับไปอ่านบนั ทกึ ประสบการณ์เดิม สิ่งทต่ี ้องการรู้ และ ขอบเขตเปา้ หมาย แลว้ ตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามท่ีตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะทา อยา่ งไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามใหเ้ พ่อื นอธิบาย หรือวางแผนสบื ค้นเพม่ิ เตมิ ) 5.2 ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดา้ นพุทธพิ ิสยั 5.3 ใหน้ กั เรียนบนั ทึกหลงั เรยี น 5.4 ครูใหค้ ะแนนทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวทิ ยาศาสตร์ จาก

เกณฑก์ ารให้คะแนน สมุดบนั ทกึ รายงานการทดลอง และผลงาน หากขอ้ มลู ไม่เพียงพอใชว้ ธิ สี มั ภาษณ์เพมิ่ เตมิ 13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. โทรศัพทม์ อื ถือ 2. แผนภาพเฟสของคลื่น 3. หนงั สอื เรียนสาระการเรยี นร้พู นื้ ฐานและเพม่ิ เติมฟิสิกส์เลม่ 3 ของกระทรวงศึกษาธิการ 4. หอ้ งสมุด 5. ชมุ ชน 6. ฐานข้อมลู Internet http://www. urrac.com/news/onet_anet/anet_sci_phy.psp 14. การวัดและประเมินผล 14.1 วธิ กี ารวัดผล 1. ให้นักเรยี นทาแบบทดสอบปรนยั 10 ขอ้ 2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การใหค้ ะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากขอ้ มูลไม่เพยี งพอใชว้ ธิ สี มั ภาษณเ์ พม่ิ เติม 14.2 เครอ่ื งมอื การวัดผล 1. ขอ้ สอบปรนัย 10 ขอ้ 2. แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบประเมนิ จิตวทิ ยาศาสตร์ 14.3 เกณฑก์ ารวดั ผลและประเมนิ ผล 1. ขอ้ สอบปรนยั ได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75 2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 75 3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 75

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 ชือ่ เรอ่ื ง สเปกตรมั คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ หนว่ ยที่ 1 เรอื่ ง คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รหสั วชิ า ว 30206 รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 6 เวลา 4 ชวั่ โมง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. สาระที่ ๕ พลงั งาน 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างพลงั งานกับการดารงชีวิต การเปล่ยี นรูปพลังงาน ปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างสารและพลงั งาน ผลของการใชพ้ ลงั งานต่อชีวติ และส่ิงแวดล้อม มีกระบวน การสบื เสาะ หาความรู้ ส่ือสารส่งิ ทเ่ี รียนรู้และ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐานการเรยี นรชู้ ว่ งชนั้ สบื คน้ ข้อมูล และอธิบายสเปกตรัมของคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทั้ง ประโยชนแ์ ละอนั ตรายของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า 3. ผลการเรยี นรู้ 1. สารวจตรวจสอบ อภิปรายเก่ยี วกบั สมบัตแิ ละการเกิดคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 2. สบื คน้ ขอ้ มูลและอภปิ รายเกีย่ วกบั สเปกตรมั ของคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 1. สเปกตรมั คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ 2. คล่ืนวิทยุ 3. คลื่นโทรทศั น์และไมโครเวฟ 4. รงั สอี ฟิ าเรด 5. แสง 6. รงั สอี ลั ตราไวโอเลต 7. รงั สเี อกซ์ 8. รงั สแี กมมา

4.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ิน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ท่ีมีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม 5. สาระสาคัญ สเปกตรัมคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ คอื คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถีต่ ่อเนื่องกันเปน็ ช่วงกว้าง เคลื่อนทไ่ี ป ด้วยความเรว็ เทา่ กับแสงและมพี ลงั งานสง่ ผ่านไปพร้อมกบั คล่ืน 6. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของสเปกตรัมคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าได้ 2. อธิบายประโยชนแ์ ละสมบตั ิของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้ ในชว่ งความถ่ีตา่ งๆกนั ได้ 7. จดุ เน้นการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน 7.1 ดา้ นความสามารถและทักษะ 1) ทักษะกระบวนการสบื เสาะหาความร้ดู ว้ ยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ 2) ทักษะกระบวนการเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน 3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม 4) ทักษะกระบวนการทางาน 5) ทกั ษะกระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด 6) ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7) ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชอ่ื มโยง 7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะชว่ งวยั ม่งุ มน่ั ในการศกึ ษาและการทางาน 8. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 8.1 ความสามารถในการสอื่ สาร 8.2 ความสามารถในการคดิ 8.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 9. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 9.1 อยูอ่ ย่างพอเพียง 9.2 มุง่ ม่ันในการทางาน อดทน รอบคอบ 9.3 ใฝเ่ รยี นรู้

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ - นกั เรียนออกแบบการนาเสนอสเปกตรัมคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ด้วยความประหยดั 2. ความมเี หตผุ ล - นักเรียนจาแนกชนดิ ของสเปกตรมั คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า 3. การมภี ูมคิ ุ้มกนั ในตวั ทดี่ ี - นกั เรยี นปฏิบตั งิ านดว้ ยความซ่อื สตั ยใ์ นการทางาน 4. เง่ือนไขความรู้ - นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจท่ีถูกต้องในเรอ่ื งสเปกตรัมคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ ได้ 5. เงอ่ื นไขคุณธรรม - นกั เรยี นมีความซ่ือสัตยแ์ ละความรบั ผดิ ชอบ 11. การบรู ณาการ 11.1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี 11.2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 12. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ครแู บ่งกล่มุ นักเรียนออกเปน็ กล่มุ ๆ ละ 7 คน คละกันตามความสามารถทางการเรยี น คอื เก่ ง ป าน ก ล าง อ่ อ น แ ล้ ว ให้ นั ก เรีย น ศึ ก ษ าเร่ือ ง ค ล่ื น แ ม่ เห ล็ ก ไฟ ฟ้ า จาก เว็บ ไซ ต์ ส ส วท . 2. ให้ นั ก เรี ย น ค ลิ ก ที่ http://lectureonline.cl.msu.edu/~mmp/applist/Spectrum/s.htm เพ่ือเชื่อมโยงสู่เว็บไซต์ท่ีแสดงถึงหลกั การเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ ความยาวคล่ืน และพลังงานของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าโดยทดลองทากิจกรรมเพ่ือเรียนรู้เก่ียวกับคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ชนิดต่าง ๆ ในสเปกตรมั แลว้ รว่ มอภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเห็นกนั ภายในกลุ่ม 3. ใหน้ ักเรยี นทา แบบทดสอบ ในเว็บไซต์ สสวท. ครใู ห้นกั เรียนตามกลุ่มท่ีแบ่งไว้ แยกกันศึกษาคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าคนละ 1 ชนดิ ให้เช่ียวชาญ แลว้ นามา อภปิ รายใหเ้ พ่ือนในกลุม่ ฟงั และใหท้ กุ กลุ่มสรปุ สาระสาคัญของคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ส่ง 1. สเปกตรมั คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ขน้ั นา ให้นักเรียนยกตัวอย่างคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีนักเรียนรู้จัก (คล่ืนวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ แสง รังสอัลตราไวโอ เลต) ขนั้ กจิ กรรม 1. ครูใหค้ วามรู้แกน่ ักเรยี นวา่ ตวั อย่างคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าทีน่ กั เรยี นช่วยกนั ตอบนัน้ แตล่ ะชนิด จะมีความถีไ่ มเ่ ทา่ กัน คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าเหลา่ น้รี วมเรยี กว่า สเปกตรมั คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้

2. ครูให้นักเรียนศึกษาสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากหนังสือเรียนฟิสิกส์ เล่ม 3 หน้า 182-204 และเอกสารใบความรู้เรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่าสเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าแต่ ละช่วงมีช่อื เรียกว่าอะไร มคี วามถ่แี ละความยาวคลื่นเท่าใด มคี ณุ สมบัตกิ ารผลติ และการตรวจวัดอยา่ งไร ข้ันสรปุ ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปสาระสาคญั ของสเปกตรัมคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า ดังนี้ 1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะมีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าความถ่ีต่างๆเหล่านี้ รวมเรียกว่า สเปกตรมั คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ 2. สเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ได้แก่ กระแสสลับ คล่ืนวิทยุ ไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรด รังสี อลั ตราไวโอเลต รังสีเอกซ์และรังสแี กมมา 3. คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าแต่ละชนิดจะมวี ิธกี ารผลติ และการตรวจวัดคลนื่ ไม่เหมือนกัน 4. คลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ ทุกชนิดจะมคี วามเร็วเท่ากบั แสงและมีพลงั งานส่งผ่านไปพร้อมกับคล่ืน 2. คลน่ื วทิ ยุ ขนั้ นา 1. ครูตั้งคาถามนักเรยี นวา่ เวลาทน่ี ักเรยี นเปดิ เครื่องรบั วิทยเุ พ่ือรับฟงั รายการต่างๆ นักเรียน จะได้ยินประกาศจากสถานีวา่ “ท่ีน่ีสถานีวิทยุกระจายเสียง…………. ทาการกระจายเสียงในระบบ เอ เอม็ ด้วย ความถ่ี……… กิโลเฮิรตซ์ และในระบบ เอฟ เอ็ม ด้วยความถ่ี…….. เมกะเฮิรตซ์” นักเรียนรู้หรือไม่ว่า ระบบเอ เอม็ และระบบเอฟ เอม็ แตกต่างกันอย่างไร มีขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี แตกตา่ งกนั อยา่ งไร 2. ครูให้นักเรยี นอภิปรายตามความรู้ทน่ี ักเรยี นทราบโดยทวั่ ไปเกี่ยวกบั คลนื่ วิยุระบบ AM และ FM ขน้ั กิจกรรม ครูให้นักเรียนที่ศึกษาเรื่องคล่ืนวิทยุรวมกลุ่มกันนาเสนอหน้าชั้นเรียนและให้นักเรียนในห้องร่วมกัน อภปิ รายเก่ียวกบั การรวมคล่ืนวิทยุในระบบ AM และระบบ FM การส่งและรับคลนื่ วิทยใุ นระบบ AM และ FM รวมท้ังคุณสมบัติของคล่ืนวิทยุในระบบ AM และ FM ความรู้เก่ียวกับสายอากาศของเคร่ืองรับวิทยุ การรับ คลืน่ วิทยขุ องสายอากาศ รวมทงั้ การหาความถี่ของคลืน่ วิทยซุ งึ่ ขนี้ อย่กู บั คา่ ของตวั เก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนา ขนั้ สรปุ 1. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปสาระสาคัญของคล่ืนวิทยุ ดงั นี้ 1.1 คล่ืนวิทยุเกิดจากการรวคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าซ่ึงเป็นคล่ืนพาหะกับคล่ืนเสียงที่อยู่ในรูปของ สัญญาณเสียง 1.2 คลน่ื วิทยุมอี ยู่ 2 ระบบ คอื ระบบ AM เป็นการรวมโดยนาสัญญาณเสียงรวมกับคล่ืนพาหะ โดยแอมพลิจูดของคลื่น พาหะเปลยี่ นแปลงไปตามสัญญาณเสียง

ระบบ FM เป็นการรวมโดยนาสัญญาณเสียงรวมกับคล่ืนพาหะ โดยรวมความถ่ีของคลื่น พาหะเปลยี่ นแปลงไปตามจงั หวะสัญญาณเสียง 1.3 การส่งคล่ืนวิทยุระบบ AM จะส่งได้ไกลกว่าระบบ FM เพราะมีท้ังคลื่นดินและคลื่นฟ้า ส่วน ระบบ FM มีแต่คลื่นดินอย่างเดียว แต่ความชัดเจนของระบบ AM น้อยกว่าระบบ FM เพราะจะถูกรบกวนได้ ง่ายกวา่ 1.4 สายอากาศท่ีใช้รับคลื่นวิทยุมี 2 แบบ คือ แบบเส้นจะรับสัญญาณสนามไฟฟ้าของคล่ืน แม่เหล็กไฟฟ้า สายอากาศจะรับสัญญาณวิทยุได้ดีท่ีสุดเมื่อสายอากาศอยู่ในแนวขนานกับสนามไฟฟ้าของ คลื่นวิทยุ ส่วนสายอากาศแบบบ่วงจะรับสัญญาณสนามแม่เหล็กของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มักจะวางในแนวด่ิง เมื่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าผ่านสายอากาศ สนามแม่เหล็กท่ีเปลี่ยนแปลงจะเหน่ียวนาให้เกิดกระแสไฟฟ้าใน สายอากาศเกดิ สัญญาณไฟฟา้ ข้ึ สายอากาศจะต้องมีความยาวเท่ากบั  2 1.5 เมอ่ื คล่ืนวทิ ยมุ าถึงเครอ่ งรับจะต้องปรบั ความถ่ีของเครอื่ งรับให้เทา่ กับความถี่คล่ืนวิทยุที่ส่งมา จากสถานี โดยการปรับค่าของตวั เก็บประจุ ซ่งึ ความถขี่ องเครือ่ งรับหาได้จากสูตร f  1 2 LC 2. ครูและนกั เรียนรว่ มกันทาโจทย์ คล่นื โทรทัศน์และไมโครเวฟ ขน้ั นา 1. ครูถามนักเรียนว่าในปัจจุบันข่าวสารท่ีผ่านส่ือชนิดใดท่ีได้รับความสนใจและประชาชนนิยมติดตาม มากทสี่ ดุ (ส่ือโทรทัศน์) 2. เหตุผลท่ีประชาชนนยิ มตดิ ตามสือ่ โทรทัศนม์ ากทส่ี ดุ (เพราะไดเ้ ห็นภาพและไดย้ ินเสียงพร้อมๆกนั ) ขน้ั กิจกรรม ครูให้นักเรียนที่ศึกษาเรื่องคล่นื โทรทศั น์และไมโครเวฟรวมกลุ่มกนั นาเสนอหนา้ ช้นั เรยี นและให้นักเรียนใน ห้องร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการส่งคลื่นโทรทัศน์ว่าทาอย่างไร แตกต่างจากการส่งคลื่นวิทยุอย่างไร และการ ส่งคลืน่ ไมโครเวฟ รวมท้ังประโยชนจ์ ากคลนื่ โทรทศั น์และคล่นื ไมโครเวฟ ขั้นสรุป 1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ สาระสาคัญของคลนื่ โทรทศั น์และไมโครเวฟ ดงั นี้ 1.1 คล่ืนโทรทัศนเ์ ป็นการส่งโดยการผสมสัญญาณภาพแบบ AM และผสมสญั ญาณเสียงแบบ FM กับคลื่นพาหะ 1.2 การส่งคลื่นโทรทัศน์ระยะทางไกลๆ ต้องใช้สถานีถ่ายทอดเป็นระยะๆ เพราะเป็นคล่ืนสั้น ไม่ สามารถเล้ียวอ้อมผ่านส่ิงกีดขวางท่ีมขี นาดใหญ่ได้ 1.3 ไมโครเวฟใช้ส่ือสารทางไกล ข้าทวีปโดยใช้ดาวเทียมในวงโคจรท่ีปรากฏหยุดนิ่งสัมพัทธ์กับ โลกเป็นตวั รบั สญั ญาณขยายให้แรงขึ้นแลว้ สง่ ไปยังสถานีรบั ท่ีอยไู่ กลๆ

1.4 ไมโครเวฟสามารถสะท้อนจากผิวโลหะได้ดีจึงนาไปใช้ประโยชน์ในการตรวจหาตาแหน่งของ อากาศยาน เรียกว่า เรดาห์ โดยการส่งไมโครเวฟออกจากแหล่งกาเนิดเป็นห้วงๆ และรับคล่ืนที่สะท้อนกลับ จากวัตถุน้ันเพื่อหาว่าวตี ถุนั้นอยู่ห่างจากแหลง่ กาเนิดเป็นระยะทางเท่าไร ในทิศไหน 1.5 ไมโครเวฟนอกจากจะใชป้ ระโยชนใ์ นด้านการสอื่ สารแลว้ ยังใช้ประโยชน์ด้าน การวเิ คราะหศ์ ึกษาโครงสรา้ งอะตอม นวิ เคลียส และโมเลกลุ แลว้ ยงั เป็นแหล่งความร้อน 2. ครูให้นักเรยี นทาแบบฝึกหัดบทที่ 18 ความรูพ้ นื้ ฐานข้อที่ 1-10 ในหนังสือเรยี นวชิ าฟิสิกส์ เลม่ 3 3. รังสีอนิ ฟาเรด ขน้ั นา 1. ครูนาโคมไฟที่มีหลอดไฟขนาด 100 วัตต์ มาวางบนโต๊ะสาธิต แล้วให้นักเรียนลองใช้มือมาวางใกล้ๆ หลอดไฟ แล้วถามนกั เรียนวา่ นักเรียนมคี วามร้สู ึกอย่างไร (นักเรยี นตอบวา่ รู้สกึ วา่ มือได้รับความรอ้ น) 2. ครูบอกให้นักเรียนทราบว่าการที่มือของนักเรียนได้รับความร้อนเพราะมีรังสีอินฟาเรดแผ่ออกมาจาก หลอดไฟ ขน้ั กิจกรรม 1. ครูให้นักเรียนท่ีศึกษาเร่ืองรังสีอินฟาเรด รวมกลุ่มกันนาเสนอหน้าช้ันเรียนและให้นักเรียนในห้อง ร่วมกันอภิปรายเกีย่ วกับแหลง่ กาเนิด คุณสมบัตแิ ละประโยชนข์ องรงั สีอินฟาเรด 2. ครตู ั้งคาถามเพิม่ เตมิ เชน่ - รังสีความร้อนเปน็ รังสีอนิ ฟาเรดหรือไม่ (เป็น) - รังสที ี่แผอ่ อกจากดวงอาทติ ยม์ ีรงั สีอนิ ฟาเรดหรือไม่ (มี) ขั้นสรุป ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปสาระสาคญั ดังนี้ 1. รงั สอี นิ ฟาเรดเกิดจากวตั ถุที่มคี วามรอ้ น หรอื วัตถทุ ่ีมอี ณุ หภมู ิสูง 2. ประสาทรับความรอ้ นที่ผวิ หนังไวต่อรงั สีน้ี 3. ส่งิ มีชวี ติ จะแผ่รังสีอินฟาเรด 4. รังสีอินฟาเรดสามารถทะลุผ่านเมฆหมอกท่ีหนาเกินกว่าท่ีแสงธรรมดาจะผ่านได้จึงใช้ถ่ายภาพจาก ดาวเทยี ม 5. รังสีอินฟาเรดใช้ในรีโมทคอนโทรล และใช้ในการควบคมุ อาวธุ นาวิถี 4. แสง ขั้นนา 1. ครใู หน้ ักเรียนอภิปรายและยกตัวอยา่ งการมองเห็นวัตถุต่างๆ โดยใหน้ ักเรยี นวิเคราะห์วา่ “เพราะ เหตุใดเราจงึ สามารถมองเหน็ วตั ถุต่างๆได้” 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปให้ได้ว่า เรามองเห็นวัตถุต่างๆได้เพราะมีแสงจากวัตถุโดยตรงหรือ อาจจะเป็นแสงทแี่ สงสะทอ้ นจากวัตถนัน้ กไ็ ด้

ขน้ั กิจกรรม ครูให้นักเรียนท่ีศึกษาเรื่องแสงรวมกลุ่มกันนาเสนอหน้าช้ันเรียนและให้นักเรียนในห้องร่วมกัน อภิปรายเกี่ยวกบั ทมี่ าของแสง ประโยชน์และอันตรายของรังสชี นิดนี้ ข้ันสรปุ ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรปุ สาระสาคญั ดังน้ี แหล่งกาเนดิ แสงท่สี าคัญ คือดวงอาทิตย์ วัตถุท่ีมีอุณหภูมิสูงมากๆ จะเปล่งแสงได้ เช่น หลอดไฟ แสง อาจเกดิ ได้โดยไม่ข้นึ กับความร้อนโด 5. รังสอี ัลตราไวโอเลต ขั้นนา ครูถามนักเรยี นว่าทาไมเวลาเราอย่กู ลางแดดนานๆ เชน่ ในชว่ งกีฬาสขี องโรงเรยี น ทเ่ี ราอยกู่ ลางแดดทัง้ วัน ทาให้ผิวหนงั ดาและลอก อะไรคอื สาเหตุที่ทาให้ผวิ หนังลอก ในแสงแดดมีรงั สอี ะไรอยู่ (รงั สีอัลตราไวโอเลต) ขั้นกิจกรรม ครูให้นักเรียนที่ศึกษาเรื่องรังสีอัลตราไวโอเลตรวมกลุ่มกันนาเสนอหน้าชั้นเรียนและให้นักเรียนในห้อง ร่วมกนั อภิปรายเก่ียวกับทม่ี าของรงั สีอัลตราไวโอเลต ประโยชน์และอันตรายของรงั สีชนิดน้ี ขน้ั สรุป ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปสาระสาคัญ ดงั น้ี 1. แหล่งกาเนิดรังสีอัลตราไวโอเลตตามธรรมชาติ คือ ดวงอาทิตย์ แต่สามารถผลิตรังสี อลั ตราไวโอเลตไดโ้ ดยการผ่านกระแสไฟฟ้าเขา้ ไปในหลอดบรรจุไอปรอท 2. รังสีอัลตราไวดอเลตเป็นตัวการที่ทาให้เกิดประจุอิสระในบรรยากาศช้ันไอโอโนสเฟียร์ เพราะมี พลงั งานพอเหมาะท่ีจะไปชนให้อเิ ล็กตรอนหลุดจากโมเลกุลของอากาศ 3. ในทางการแพทย์ใชร้ ังสีอัลตราไวโอเลตรักษาโรคเกี่ยวกับผิวหนัง รังสีอัลตราไวโอเลตจานวนมาก อาจทาให้เกิดอันตรายต่อผิวหนังและนัยน์ตาได้ 4. รงั สีอัลตราไวโอเลตสามารถผ่านแผ่นควอตซไ์ ดด้ ีและผ่านแก้วไดเ้ ลก็ น้อย 6. รงั สีเอกซ์ ขั้นนา 1. ครูถามนักเรียนว่า ถ้าเกิดอุบัติเหตุคนไข้ถูกรถชนขา แพทย์ต้องการจะดูว่ากระดูกขาคนไข้หัก หรือไม่ แพทยจ์ ะทาอย่างไร (เอกซ์เรย์ดกู ระดกู ขาคนไข้) 2. ครบู อกนักเรยี นว่าการที่แพทย์เอกซเรย์ขาคนไข้ แพทย์ตอ้ งใช้รงั สีเอกซฉ์ ายผ่านขาคนไข้ จึงจะทา ให้เห็นกระดูกวา่ ขาหกั หรอื ไม่ ขน้ั กิจกรรม ครูให้นักเรียนที่ศึกษาเรื่องรังสีเอกซ์รวมกลุ่มกันนาเสนอหน้าชั้นเรียนและให้นักเรียนในห้องร่วมกัน อภิปรายเกย่ี วกบั ทม่ี าของรงั สีอัลตราไวโอเลต ประโยชน์และอันตรายของรังสีชนิดน้ี

ข้ันสรุป ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุป ดังน้ี 1. รังสีเอกซ์ไม่มีแหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ การผลิตรังสีเอกซ์ใช้หลักการการเปลี่ยนแปลงความเร็ว ของอิเล็กตรอนโดยการทาใหอ้ เิ ลก็ ตรอนเปลี่ยนทศิ ทาง หรือหยุดโดยกระทนั หันเมอื่ กระทบโลหะ 2. รังสีเอกซ์มีอานาจทะลุทะลวงสูง ทาอันตรายต่อเซลล์ในร่างกาย สามารถทะลุผ่านสิ่งกีดขวาง หนาๆได้ จึงนามาใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบหารอยร้าวในช้ินส่วนโลหะ ตรวจกระเป๋าเดินทางเพ่ือหาอาวุธ ในทางการแพทย์ใช้ตรวจอวยั วะภายในรา่ งกายและใชร้ ักษาโรคมะเรง็ หรือเนือ้ งอก 3. เนื่องจากรังสีเอกซ์มีความยาวคล่ืนประมาณ 10-10 เมตร ซึ่งใกล้เคียงกับขนาดของอะตอม จึงใช้ ในการวิเคราะหแ์ ร่ และหาโครงสร้างของสารใหมๆ่ 7. รงั สแี กมมา ขนั้ นา 1. ครูทบทวนความรู้เรอื่ งรงั สแี ละกมั มันตภพรังสที ี่นักเรียนเคยเรียนผา่ นมา ว่านักเรียนรู้จักรังสชี นิด ใดบา้ ง (รังสีเบตา รงั สีแอลฟา และรังสีแกมมา) 2. ครใู ห้นักเรียนบอกคณุ สมบตั ขิ องรังสีแกมมา ขั้นกจิ กรรม ครูให้นักเรียนที่ศึกษาเรื่องรังสีแกมมรวมกลุ่มกันนาเสนอหน้าชั้นเรียนและให้นักเรียนในห้องร่วมกัน อภิปรายเก่ยี วกับทีม่ าของรังสีแกมมา ประโยชนแ์ ละอนั ตรายของรังสชี นิดนี้ ขน้ั สรปุ ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ สาระสาคัญดังน้ี 1. รังสีแกมมาเกิดจากการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงท่ีสุด มี อานาจทะลุทะลวงสูงท่สี ุด และมีอนั ตรายมากทสี่ ุด 2. รงั สีแกมมาอาจจะมาจากนอกโลก เช่น รังสีคอสมิก หรอื เกดิ จากการแผ่รังสขี องอนุภาคประจุไฟฟ้าท่ี ถกู เร่งในเคร่อื งเร่งอนุภาค 3. รังสแี กมมามีประโยชน์ในดา้ นการแพทย์และการถนอมอาหาร 13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. คอมพวิ เตอรท์ เี่ ชื่อมตอ่ กับอนิ เทอรเ์ น็ต 2. เครือ่ งพมิ พ์ 3. เอกสารประกอบการสอน เร่ือง คล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ 4. หนงั สือเรยี นวชิ าฟสิ ิกส์ เลม่ 3 5. โคมไฟพรอ้ มหลอดไฟ 100 วัตต์

6. http://lectureonline.cl.msu.edu/~mmp/applist/Spectrum/s.htm 7. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2543). หนังสือเรียนวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ เรื่อง รังสีที่เรามองไม่เห็น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพมหานคร:คุรุ สภาลาดพร้าว. 8. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3. กรงุ เทพมหานคร:ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว. 14. การวดั และประเมนิ ผล 14.1 วิธกี ารวดั ผล 1. นักเรียนนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนถึงประโยชน์และสมบัติของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ของ สเปกตรัมคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ช่วงตา่ งๆ 14.2 เคร่อื งมอื การวัดผล 1. แบบฝกึ หัด 2. การนาเสนอหน้าช้ันเรียน 14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมนิ ผล 1. แบบฝกึ หัด ได้คะแนนไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 75 2. แบบประเมินการนาเสนอหน้าช้ันเรยี น ไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 75

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 ชือ่ เร่ือง โพลาไรเซชนั ของคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ หนว่ ยท่ี 1 เรื่อง คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รหสั วชิ า ว 30206 รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 6 เวลา 2 ชว่ั โมง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 1. สาระที่ ๕ พลงั งาน 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว ๕. ๑ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลงั งาน ปฏิสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสารและพลังงาน ผลของการใช้พลงั งานตอ่ ชีวิตและสง่ิ แวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ หาความรู้ สอ่ื สารสงิ่ ท่เี รียนรู้และ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐานการเรยี นรชู้ ว่ งชนั้ สบื คน้ ขอ้ มลู และอธิบายสเปกตรมั ของคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้ัง ประโยชน์และอันตรายของคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า 3. ผลการเรยี นรู้ 1. สารวจตรวจสอบ อภปิ รายเกย่ี วกับสมบัติและการเกดิ คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้า 2. สืบคน้ ขอ้ มูลและอภิปรายเก่ยี วกับสเปกตรัมของคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 1. โพลาไรสเ์ ซชนั 2. โพลารอยด์ 3. การกระเจิง 4. การสะทอ้ น 5. การแทรกสอด 4.2 สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่ิน

การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ท่ีมีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้ เกิดผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดล้อม 5. สาระสาคญั คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีเปลี่ยนแปลงทิศกลับไปกลับมาในแนวเดียวเรียกว่าคลื่นโพลาไรส์ ระนาบการ เปล่ียนแปลงทิศกลับไปกลับมาเรียกว่าโพลาไรส์เซชันของคล่ืน แนวทตี่ ้ังฉากกับแนวการเรียงตัวของโมเลกุลโพ ลารอยดเ์ รียกวา่ ทิศของโพลาไรซ์ แสงจากดวงอาทติ ย์แผ่ไปได้ทุกทศิ ทางจงึ เป็นแสงไมโ่ พลาไรส์ การสร้างแสงโพลาไรส์ 1. ใหแ้ สงผ่านแผน่ โพลารอยด์ สมบตั ิของแสงโพลาไรสท์ ่ีได้มีดงั น้ี 1.1 แสงที่สนามไฟฟ้ามที ศิ ขนานกบั ทศิ ของโพลาไรซส์ ามารถผา่ นแผน่ โพลารอยด์ได้ 1.2 แสงท่ีสนามไฟฟา้ มิทศิ ตง้ั ฉากกับทิศของโพลาไรซ์จะถูกแผน่ โพลารอยด์ดูดกลืน เม่ือแสงไม่โพลาไรส์ผ่านแผน่ โพลารอยด์จะออกมาเปน็ แสงโพลาไรซ์ เป็นการทาแสงโพลาไรซ์โดยการ ดูดกลนื แสง 2. ใชว้ ิธกี ารสะท้อนแสงท่ีผิวแก้วนา้ หรอื กระเบอ้ื งด้วยมมุ ตกกระทบคา่ หน่งึ เรียกวา่ มุมบรูสเตอร์ 3. ใช้วธิ กี ารผา่ นแสงเขา้ ไปในผลกึ แคลไซต์หรอื ควอตซแ์ ล้วหกั เหออกมาเปน็ แสงโพลาไรซ์ 4. ให้แสงผ่านอากาศแล้วเกิดการกระเจิงแสง อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ในแนวระดับจะทาให้เกิดแสง โพลาไรซ์ในแนวระดับ อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ในแนวด่ิงจะทาให้เกิดแสงโพลาไรซ์ในแนวดิ่ง ซึ่งสามารถ ตรวจสอบได้จากการมองผ่านแผน่ โพลารอยด์ 6. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้น อภปิ ราย และสารวจตรวจสอบ เก่ยี วกับโพลาไรเซช่ันของคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 2. อธิบายความหมายของการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สเปกตรัมคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุ คลื่น ไมโครเวฟ โพลาไรเซชันของคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และโพลาไรเซชันของแสง 3. อธบิ ายความสัมพนั ธ์เกี่ยวกับโพลาไรเซชัน 4. นาความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับโพลาไรเซชนั 5. จาแนกประเภทหรอื สรา้ งเกณฑ์เกี่ยวกับโพลาไรเซชัน 6. ทดลองเกยี่ วกับโพลาไรเซชนั 7. ออกแบบเครื่องมือเครือ่ งใช้หรือของเล่นจากหลกั การของโพลาไรเซชัน 7. จุดเนน้ การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน 7.1 ด้านความสามารถและทกั ษะ 1) ทักษะกระบวนการสบื เสาะหาความรดู้ ้วยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ 2) ทักษะกระบวนการเรียนรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน

3) ทักษะกระบวนการกลุม่ 4) ทักษะกระบวนการทางาน 5) ทักษะกระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด 6) ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7) ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชื่อมโยง 7.2 ด้านคุณลกั ษณะเฉพาะชว่ งวยั ม่งุ มัน่ ในการศึกษาและการทางาน 8. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น 8.1 ความสามารถในการสื่อสาร 8.2 ความสามารถในการคดิ 8.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา 9. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 9.1 อยู่อยา่ งพอเพยี ง 9.2 มุง่ มนั่ ในการทางาน อดทน รอบคอบ 9.3 ใฝเ่ รียนรู้ 10. หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ - นกั เรยี นออกแบบการนาเสนอสเปกตรัมคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าดว้ ยความประหยดั 2. ความมีเหตผุ ล - นกั เรียนจาแนกชนิดของสเปกตรมั คลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า 3. การมภี ูมคิ ุ้มกันในตวั ทีด่ ี - นักเรียนปฏบิ ัติงานดว้ ยความซื่อสัตย์ในการทางาน 4. เงอื่ นไขความรู้ - นักเรียนมคี วามร้คู วามเข้าใจท่ถี ูกต้องในเรอ่ื งสเปกตรัมคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าได้ 5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม - นกั เรียนมคี วามซ่อื สัตยแ์ ละความรับผิดชอบ 11. การบูรณาการ 11.1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี 11.2 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

11.3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 12. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมนาสูก่ ารเรยี น 1. ขน้ั สร้างความสนใจ 1.1 ให้นักเรียนพูดรับสง่ โทรศัพท์มือถอื และดูโทรทศั น์ 1.2 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างการส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน ร่วมกัน อภปิ รายถึงโพลาไรเซชันของแสง รวมท้ังการนาไปใชป้ ระโยชน์ 1.3 ให้นักเรียนร่วมกันคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาท่ีเก่ียวกับเร่ืองโพลาไรเซช่ัน ของคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า กจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2. ข้นั สารวจและคน้ หา 2.1 แบง่ นักเรยี นเปน็ กล่มุ ละ 4 คน 2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความสว่างของแสงเม่ือผ่านแผ่นโพลารอยด์ และการ ตรวจสอบโพลาไรเซชนั ของแสง 2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์ และ การตรวจสอบโพลาไรเซชนั ของแสง 3. ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรปุ 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการศกึ ษาความสว่างของแสงเมอ่ื ผ่านแผน่ โพลารอยด์ และ การตรวจสอบโพลาไรเซชันของแสง 3.2 นักเรียนแต่ละกลมุ่ ไดผ้ ลการศกึ ษาเหมอื นกนั หรือตา่ งกันอย่างไร เพราะเหตุใด 3.3 ครูตัง้ คาถามวา่ - ความสว่างของแสงซึง่ ผ่านแผ่นโพลารอยด์ 1 แผ่นตา่ งจากความสว่างของแสงขณะไมม่ ีแผ่น โพลารอยด์ก้นั หรอื ไม่ - เม่ือหมุนแผ่โพลารอยด์ 1 แผ่นไปจนครบ 1 รอบ ความสว่างของแสงท่ีผ่านออกมาแต่ละ ขณะแตกต่างกันหรือไม่ - ความสว่างขแงแสงทผ่ี ่านแผ่นโพลารอยด์ 2 แผ่น ซึ่งประกบกัน เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อยา่ งไร เมอ่ื หมุนแผน่ โพลารอยด์แผ่นหนง่ึ ไปจนครบ 1 รอบ - มุมระหวา่ งแผน่ โพลารอยด์ทั้งสองสมั พันธกับความสว่างของแสงที่ผา่ นออกมาอย่างไร - แสงจากวัตถใุ ดบา้ งทใ่ี หค้ วามสวา่ งคงตวั เพราะเหตใุ ด - แสงจากวัตถุใดบา้ งทีค่ วามสว่างเปล่ียนแปลง เพราะเหตุใด - ถ้าต้องการทราบวา่ แสงมโี พลาไรเซชนั หรอื ไม่ จะมีวธิ ตี รวจสอบได้อย่างไร

3.4 นกั เรียนท้ังหมดร่วมกันสรุปผลจากการศึกษาความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์ และการตรวจสอบโพลาไรเซชันของแสง กิจกรรมรวบยอด 4. ขัน้ ขยายความรู้ 4.1 ครถู ามว่า จงเสนอแนวคดิ ในการนาความเขา้ ใจเกย่ี วกับโพลาไรเซชน่ั ของคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้าไปใช้ประโยชน์ 4.2 นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกันสรปุ เกย่ี วกับโพลาไรเซชนั่ ของคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า 5. ขัน้ ประเมนิ ผล 5.1 ให้นักเรยี นแตล่ ะคนยอ้ นกลบั ไปอ่านบนั ทกึ ประสบการณเ์ ดิม สิ่งทต่ี ้องการรู้ และ ขอบเขตเป้าหมาย แลว้ ตรวจสอบว่าได้เรียนร้ตู ามท่ตี ั้งเปา้ หมายครบถ้วนหรือไมเ่ พียงใด ถา้ ยังไมค่ รบถว้ นจะทา อยา่ งไรตอ่ ไป (อาจสอบถามใหค้ รอู ธิบายเพิม่ เตมิ สอบถามใหเ้ พอ่ื นอธิบาย หรอื วางแผนสืบค้นเพมิ่ เตมิ ) 5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนด้านพทุ ธพิ ิสัย 5.3 ใหน้ ักเรียนบันทกึ หลงั เรียน 5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจติ วทิ ยาศาสตร์ จาก เกณฑก์ ารให้คะแนน สมดุ บนั ทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมลู ไมเ่ พยี งพอใช้วธิ ีสมั ภาษณ์เพ่ิมเติม 13. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1.ชดุ การทดลองความสวา่ งของแสงเมอ่ื ผ่านแผน่ โพลารอยด์ 2. ชดุ การทดลองการตรวจสอบโพลาไรโซซัน่ ของแสง 3. แผ่นโพลารอยด์ 4. หนงั สอื เรียนสาระการเรยี นรพู้ นื้ ฐานและเพิ่มเติมฟสิ ิกสเ์ ลม่ 3 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ 5. ห้องสมุด 6. ชุมชน 7. ฐานขอ้ มูล Internet http://www. wt.ac.th/~pui/e_book025/physic025.files/slide0069.htm 14. การวดั และประเมินผล 14.1 วธิ ีการวดั ผล 1. ใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบอตั นัย 1 ขอ้ 2. ครใู ห้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากขอ้ มลู ไมเ่ พียงพอใชว้ ิธสี ัมภาษณเ์ พิ่มเติม

14.2 เคร่ืองมือการวัดผล 1. ข้อสอบอตั นยั 1 ข้อ 2. แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. แบบประเมินจิตวทิ ยาศาสตร์ 14.3 เกณฑ์การวดั ผลและประเมนิ ผล 4. ข้อสอบอตั นัย ได้คะแนนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 75 5. แบบประเมินทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 75 6. แบบประเมินจติ วิทยาศาสตร์ ไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 75

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 5 ชอื่ เรอ่ื ง อะตอมและการคน้ พบอเิ ลก็ ตรอน หนว่ ยที่ 2 เรอื่ ง ฟสิ ิกสอ์ ะตอม รหสั วชิ า ว 30206 รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 6 เวลา 4 ชวั่ โมง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. สาระที่ ๕ พลงั งาน 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว ๕. ๑ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งพลังงานกับการดารงชวี ิต การเปลีย่ นรูปพลงั งาน ปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างสารและพลงั งาน ผลของการใชพ้ ลงั งานตอ่ ชวี ติ และสิง่ แวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ หาความรู้ สอ่ื สารส่ิงที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐานการเรยี นรชู้ ว่ งชนั้ สบื คน้ ขอ้ มูล และอธบิ ายอธิบายทฤษฎอี ะตอมของดาลตนั การคน้ พบ อิเล็กตรอน แบบจาลองอะตอมของทอมสัน แบบจาลองอะตอมของรัทเทอรฟ์ อรด์ และความไม่สมบรู ณข์ อง แบบจาลองแต่ละแบบได้ 3. ผลการเรยี นรู้ อธบิ ายทฤษฎีอะตอมของดาลตนั การคน้ พบอิเล็กตรอน แบบจาลองอะตอมของทอมสนั แบบจาลอง อะตอมของรัทเทอรฟ์ อรด์ และความไมส่ มบูรณ์ของแบบจาลองแตล่ ะแบบได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ทอมสนั พบรังสีแคโทดซึ่งเบี่ยงเบนได้ในสนามแม่เหล็ก ต่อมาทอมสันพบว่าลาของรงั สีแคโทด มีประจุไฟฟ้าลบเรียกว่าอนุภาครังสีแคโทด และสามารถวัดอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลได้ด้วย และนาไป เปรียบเทียบกับแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็ก และแรงเข้าสู่ศูนย์กลาง ต่อมาจึงต้ังชื่อรงั สีนี้ว่าอิเล็กตรอนซ่ึงเป็น องค์ประกอบของอะตอมทุกชนิด มิลลิแกนทดลองหาค่าประจุไฟฟ้าจากหยดน้ามันเล็ก ๆ ในสนามไฟฟ้า รทั เทอร์ฟอรด์ ยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปในอะตอมทองคา จึงเสนอแบบจาลองอะตอมว่ามีนิวเคลียสมวลมากอยู่ ตรงกลาง โดยมอี ิเลก็ ตรอนมวลนอ้ ยมากเคล่อื นทีอ่ ยู่รอบนอก 4.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ

การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 5. สาระสาคญั ทอมสนั พบรงั สแี คโทดซ่ึงเบย่ี งเบนได้ในสนามแม่เหลก็ ต่อมาทอมสนั พบวา่ ลาของรังสีแคโทดมปี ระจุ ไฟฟ้าลบเรียกวา่ อนุภาครังสีแคโทด และสามารถวดั อัตราส่วนระหวา่ งประจุต่อมวลไดด้ ้วย นอกจากนีย้ ังนาไป เปรียบเทยี บกบั แรงเนอื่ งจากสนามแม่เหล็ก และแรงเขา้ ส่ศู นู ย์กลางดังสมการ F = qvB = mv2 / R Q/M = V / BR v = E/B ตอ่ มาจงึ ตั้งช่อื รงั สีน้ีว่าอเิ ล็กตรอนซ่ึงเปน็ องค์ประกอบของอะตอมทกุ ชนดิ มลิ ลแิ กนทดลองหาคา่ ประจุไฟฟา้ จากหยดน้ามนั เลก็ ๆ ในสนามไฟฟ้า ได้คา่ ประจุไฟฟ้าเท่ากบั 1.602 x 10-19 คลู อมบ์ อัตราส่วนของ e/m = 1.76 x 1011 คลู อมบต์ ่อกิโลกรมั มวลอเิ ลก็ ตรอน = 9.1 x 10-31 กโิ ลกรมั รัทเทอร์ฟอร์ดยิงอนภุ าคแอลฟาเข้าไปในอะตอมทองคาพบว่าส่วนใหญ่ทะลไุ ปได้ สว่ นนอ้ ยเบย่ี งเบน และนอ้ ยมาก ๆ สะท้อนกลับ จึงเสนอแบบจาลองอะตอมวา่ มนี ิวเคลยี สมวลมากอยู่ตรงกลาง โดยมีอิเล็กตรอน มวลนอ้ ยมากเคล่ือนทีอ่ ยู่รอบนอก 6. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สืบค้น อภิปราย และสารวจตรวจสอบ เกีย่ วกับอะตอมและการคน้ พบอเิ ลคตรอน 2. อธิบายความหมายของแบบจาลองอะตอม 3. อธิบายความสัมพันธข์ องโปรตอน นิวตรอน และอิเลคตรอน ในอะตอม 4. นาความร้คู วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั อะตอมและการคน้ พบอเิ ลคตรอนไปใช้ในชีวติ ประจาวัน 5. จาแนกประเภทหรือสร้างเกณฑเ์ กย่ี วกับอะตอม 6. ทดลองเกยี่ วกบั อะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน 7. ประเมินความสาคญั ของอะตอมและการคน้ พบอิเลคตรอน 8. มีจิตวทิ ยาศาสตร์ 7. จดุ เนน้ การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น 7.1 ดา้ นความสามารถและทกั ษะ 1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรูด้ ว้ ยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ 2) ทกั ษะกระบวนการเรยี นรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน 3) ทักษะกระบวนการกลมุ่

4) ทกั ษะกระบวนการทางาน 5) ทกั ษะกระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด 6) ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 7) ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชื่อมโยง 7.2 ดา้ นคณุ ลกั ษณะเฉพาะช่วงวัย มุ่งม่ันในการศกึ ษาและการทางาน 8. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 8.1 ความสามารถในการส่ือสาร 8.2 ความสามารถในการคิด 8.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 8.4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต 8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 9. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 9.1 อยูอ่ ย่างพอเพยี ง 9.2 มงุ่ มน่ั ในการทางาน อดทน รอบคอบ 9.3 ใฝ่เรยี นรู้ 9.4 มจี ิตสาธารณะ 10. หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอประมาณ - นักเรียนออกแบบการนาเสนอการกาเนดิ อะตอมดว้ ยความประหยดั 2. ความมีเหตผุ ล - นักเรยี นจาแนกทฤษฎีอะตอมแบบตา่ งๆ 3. การมีภมู คิ ุ้มกันในตัวท่ีดี - นักเรียนปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความซ่ือสัตย์ในการทางาน 4. เงอื่ นไขความรู้ - นักเรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจทีถ่ ูกตอ้ งในเรอ่ื งการคน้ พบอิเล็กตรอน 5. เง่อื นไขคณุ ธรรม - นักเรยี นมีความซือ่ สตั ย์และความรับผดิ ชอบ 11. การบูรณาการ 11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

11.2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ อะตอมและการค้นพบอเิ ลก็ ตรอน กจิ กรรมนาสู่การเรยี น 1. ขนั้ สรา้ งความสนใจ (15 นาที) 1.1 ให้นกั เรยี นสังเกตปรากฏการณ์ในหลอดรงั สแี คโทด 1.2 นักเรียนท้ังหมดร่วมกันยกตัวอย่างแบบจาลองอะตอมต่าง ๆ ร่วมกันอภิปรายถึงองค์ประกอบ รวมทัง้ การนาไปใชป้ ระโยชน์ 1.3 ให้นักเรียนร่วมกันต้ังคาถามเก่ียวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องอะตอมและการ คน้ พบอเิ ลคตรอน กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรู้ 2. ข้ันสารวจและคน้ หา 2.1 แบง่ นักเรียนเปน็ กล่มุ ละ 4 คน 2.2 นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันศึกษาอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน 2.3 นักเรียนแต่ละกลมุ่ อภปิ รายรว่ มกันถึงอะตอมและการคน้ พบอิเลคตรอน 3. ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ 3.1 นักเรยี นแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลการสบื ค้นอะตอมและการคน้ พบอิเลคตรอน 3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการสืบคน้ เหมือนกันหรอื ตา่ งกนั อยา่ งไร เพราะเหตุใด 3.3 ครูตั้งคาถามว่า - ในการทดลองเพ่ือหาอัตราส่วน q/m ของอนุภาครังสีแคโทดตามแบบของทอมสัน เมื่อใช้ สนามแม่เหล็กขนาด 0.004 เทสลา พบว่ารัศมีความโค้งของลาอนุภาครังสีแคโทดเท่ากับ 4.2 เซนติเมตร เม่ือต่อความต่างศักย์ 480 โวลต์ เข้ากับแผ่นโลหะที่อยู่ห่างกัน 4.0 เมตร สนามไฟฟ้าที่เกิดตั้งฉากกับ

สนามแม่เหล็กจะทาให้อนุภาครังสีแคโทดเคลื่อนท่ีเป็นเส้นตรง จงหาอัตราส่วนประจุต่อมวลของอนุภาค รงั สีแคโทด - จากการทดลองของมลิ ลแิ กน หยดนา้ มนั ที่เคลื่อนท่ขี ึน้ มปี ระจไุ ฟฟ้าชนิดใด - ถ้าต้องการใหห้ ยดน้ามนั ท่กี าลังเคลอ่ื นที่ขนึ้ หยดุ น่งิ จะต้องทาอย่างไร - จงแสดงการคานวณหามวลของอเิ ลคตรอนตามวิธีของมิลลแิ กน - ในการทดลองของมิลลิแกน เม่ือใช้สนามไฟฟ้าทิศขึ้นขนาด 1.96 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ ทาให้ หยดน้ามนั มวล 6.5 x 10-16 กโิ ลกรมั หยดุ น่ิง ก. หยดน้ามนั ไดร้ ับหรอื เสียอิเลคตรอนไปกต่ี วั ข. ถ้าแผ่นโลหะขนาน 2 แผ่น ห่างกัน 0.05 เมตร ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นท้ังสองเป็น เทา่ ใด จึงจะได้คา่ สนามไฟฟา้ ดงั กลา่ ว - แบบจาลองอะตอมของทอมสันเป็นอยา่ งไร - วิเคราะห์ผลการทดลองของไกเกอร์และมารส์ เดน โดยใชแ้ บบจาลองของทอมสนั ไดห้ รือไม่ - ถ้านิวเคลียสมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร อะตอมจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางกี่กิโลเมตรการส่ง คล่นื โทรทศั น์ผ่านดาวเทยี มทาอยา่ งไร - แบบจาลองอะตอมของรทั เทอรฟ์ อร์ดเป็นอย่างไร 3.4 นกั เรียนท้ังหมดรว่ มกันสรปุ ผลจากการสืบคน้ อะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน กจิ กรรมรวบยอด 4. ขนั้ ขยายความรู้ 4.1 ครูถามวา่ จงเสนอแนวคดิ ในการนาความเขา้ ใจเกยี่ วกับอะตอมและการคน้ พบอิเลคตรอนไปใช้ ประโยชน์ 4.2 นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั สรุปเชือ่ มโยงความคิดเกี่ยวกับอะตอมและการคน้ พบอิเลคตรอน 5. ขน้ั ประเมินผล 5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดิม ส่ิงท่ีต้องการรู้ และขอบเขต เป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามท่ีต้ังเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะ ทาอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพ่ิมเติม สอบถามให้เพ่ือนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้น เพ่ิมเตมิ ) 5.2 ให้นักเรยี นทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนด้านพุทธิพสิ ยั 5.3 ให้นักเรยี นบันทึกหลังเรยี น 5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้ คะแนน สมดุ บนั ทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมลู ไม่เพยี งพอใช้วธิ ีสมั ภาษณเ์ พิ่มเตมิ

โครงสร้างอะตอม ขนั้ ที่ 1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement Phase) 1. ครูนาเข้าสู่การเรียนการสอนโดยกล่าวคาทักทายนักเรียน “วันน้ีเราจะมาเรียนบทท่ี 2 เรื่อง โครงสรา้ งอะตอมในหวั ข้อเรอ่ื ง แนวคดิ ในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม” - จากน้ันครูต้ังคาถาม ถามนักเรียนว่า “นักเรียนรู้มั้ยเอ่ย สารอะไรเล็กที่สุดในโลกนี้” จากน้ันให้นักเรียน ชว่ ยกนั ตอบ และพยายามชีแ้ นวทางวา่ มันเกยี่ วขอ้ งกับเรอื่ งท่ีเรากาลงั เรยี น (ครูเฉลย....อะตอม) - จากน้ันถามนักเรียนต่อว่า แล้วนักเรียนคิดว่าอะตอมท่ีมีขนาดเล็กน้ี เราจะสามารถมองเห็นมันด้วยตาเปล่า หรือไม่ (เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น พร้อมท้ังแสดงจิตนาการ)...(ครเู ฉลย..เราไม่สามารถมองเห็น ด้วยตาเปลา่ เนอื่ งจากมันมขี นาดเลก็ มาก) -หลังจากเฉลยคาถามแล้ว ครอู ธิบายคาตอบอีกคร้ังโดยอ้างอิงขอ้ มูลจาก ความเชอื่ ของนักปราชญ์ชาวกรีก ดิ โมครติ ุส “เช่ือว่าสิ่งของต่างๆ ประกอบด้วยอนุภาคท่ีมขี นาดเล็กมาก และถ้าแบง่ อนุภาคให้มีขนาดเล็กลงเรอ่ื ย ๆ จนไมส่ ามารถแบ่งตอ่ ไปได้อีกก็จะได้อนุภาคทม่ี ขี นาดเล็กทสี่ ดุ เรยี กว่า อะตอม ซึ่งไมส่ ามารถมองเห็นด้วยตา เปล่าได้” 2. ครูเริ่มนาเข้าสู่บทเรียนโดยการวาดรูปวงกลม และถามนักเรียนว่า “จากที่นักเรียนเคยเรียน ผ่านมาแลว้ ภาพท่คี รวู าดนา่ จะเปน็ แบบจาลองอะตอมของใคร ?” แนวการตอบคาถามของนักเรยี น : “ดอลตนั เพราะเป็นทรงกลมตนั ไมม่ ปี ระจุใดๆ” - นาเข้าสู่บทเรียนโดยการถามคาถามว่า “นักเรียนทราบหรือไม่ว่าในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม มีผู้ทาการ พฒั นาแบบจาลองอะตอมทค่ี น และมใี ครบ้าง” 3. เข้าสู่บทเรียนโดยการศึกษาสื่อการสอน Powerpoint เรื่องแนวคิดในการพัฒนาแบบจาลอง อะตอม พรอ้ มกบั ทีค่ รูบรรยายตามไปกบั สื่อการสอน ข้นั ที่ 2 ขนั้ สารวจและค้นหา (Exploration Phase) 1. ครูให้นกั เรยี นดแู บบจาลองของนกั วิทยาศาสตรจ์ นครบทง้ั 5 คนคอื ดอลทัน ทอมสัน รทั เทอร์ฟอร์ด นีลส์ โบรแ์ ละแบบกลมุ่ หมอก จากนน้ั - ครูแจกใบงาน เร่อื ง แนวคดิ ในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม - ครใู ห้นักเรียนคน้ หาความรู้จากใบความรู้เร่ือง แนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม จากน้ันให้นกั เรียนทุก คนช่วยกันตอบคาถามว่าแบบจาลองอะตอมของของนักวิทยาศาสตร์แต่ละคนนั้นเกิดขึ้นมาจากสิ่งใด และถ้า นักเรียนเป็นนักวิทยาศาสตร์นักเรียนจะใช้ทฤษฎี หรือหลักการใดมาสร้างแบบจาลองอะตอม (จากคาถาม เพ่ือใหน้ ักเรียนไดใ้ ชค้ วามคิด และจินตนาการในการหาคาตอบ และเกดิ ความคิดสร้างสรรคข์ ึน้ ) - จากนั้นให้นักเรียนจับคู่เพ่ือนคู่คิด (จับคู่ 2 คน) สืบค้นข้อมูลการพัฒนาแบบจาลองอะตอมของ นักวิทยาศาสตร์จากอดีตถึงปัจจุบัน ด้วยการสลับกันอภิปรายวิธีการสร้างแบบจาลองและผลสรุปที่ได้ของ นักวทิ ยาศาสตร์จนครบทกุ คน - นกั เรียนเขียนลาดับขัน้ ตอนพรอ้ มกับวาดรปู แบบจาลองอะตอมของนักวทิ ยาศาสตรจ์ ากอดีตถึงปัจจบุ นั ข้ันท่ี 3 ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation Phase)

1. ครูและนกั เรียนร่วมกันเฉลยใบงาน พร้อมทั้งร่วมกันอภิปรายเกย่ี วกับวิธกี ารที่นกั วิทยาศาสตร์ใช้ใน การหาข้อมูลเก่ียวกับอะตอมเพื่อนามาใช้สร้างแบบจาลองอะตอม รวมท้ังอภิปรายว่าแบบจาลองอะตอม สามารถปรับปรุงหรอื เปลีย่ นแปลงไดเ้ มอ่ื มีขอ้ มลู ใหม่ท่ใี ช้แบบจาลองเดมิ อภปิ รายไม่ได้ 2. ครูช้ีให้เห็นจุดบกพร่องในการคิดแบบจาลองอะตอมของนักวิทยาสตร์แต่ละคน และให้นักเรียน ช่วยกนั ร่วมอภิปรายถงึ ความบกพรอ่ งวา่ แตกต่างจากแบบจาลองอะตอมในปัจจบุ นั อยา่ งไร (แนวทางการอภิปราย เช่น แบบจาลองของดอลตันกล่าวว่า อะตอมมีขนาดเล็ก เป็นทรงกลม ไม่สามารถ แบ่งแยกได้อีก ทาให้สูญหายหรือเกิดใหม่ไม่ได้ ซ่ึงขัดแย้งกับแบบจาลองในปัจจุบัน เนื่องจากพบว่าอะตอม ประกอบด้วยอนุภาคย่อยๆ และอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันก็มีมวลต่างกันได้ และอะตอมในปัจจุบันยัง สามารถทาอะตอมของธาตุชนิดหนึ่งเปล่ียนไปเป็นอะตอมของธาตุอีกชนิดหน่ึงได้ ซึ่งขดั แย้งกับทฤษฎีของดอล ตัน) ข้ันท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Expansion Phase) 1. ครูให้นักเรียนดูและศึกษาเรื่อง แนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม จากสื่อ Powerpoint พร้อมกับท่ีครูบรรยายตามไปกับส่ือการสอน เพ่ือให้นักเรียนเกิดมโนทัศน์ในสิ่งที่นักเรียนได้ทา กจิ กรรมมาแลว้ 2. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับหลอดรังสีแคโทด พร้อมท้ังอธิบายส่วนประกอบและจุดกาเนิดของการ เกดิ หลอดรังสีแคโทด ซ่งึ มคี วามสาคัญตอ่ การคน้ พบอเิ ลก็ ตรอน 3. ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกนั สรุปเร่อื งแนวคดิ ในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม อีกครง้ั 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหา เรื่อง แบบจาลองอะตอมขอของนักวทิ ยาศาสตร์แต่ ละคน ว่ามสี ว่ นไหนทไ่ี มเ่ ขา้ ใจและใหค้ วามรู้เพิม่ เติมในสว่ นน้นั ขน้ั ที่ 5 ขน้ั ประเมนิ ผล (Evaluation Phase) 1. ครมู อบหมายให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 13. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 1. คอมพิวเตอร์ท่ีเช่ือมตอ่ กับอนิ เทอร์เนต็ 2.เพาเวอรพ์ อ้ ยนเ์ รื่องโครงสรา้ งอะตอม 3. เอกสารประกอบการสอน เร่อื ง ฟิสกิ สอ์ ะตอม 4. หนังสอื เรยี นวิชาฟิสกิ ส์ เล่ม 3 5. ชดุ การทดลองการเปรยี บเทยี บลักษณะและการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา 14. การวดั และประเมินผล 14.1 วิธกี ารวดั ผล 1. ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบอตั นัย 1 ขอ้ 2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไมเ่ พยี งพอใชว้ ธิ ีสมั ภาษณเ์ พ่มิ เติม

14.2 เคร่ืองมอื การวัดผล 1. ขอ้ สอบอัตนยั 1 ข้อ 2. แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบประเมินจิตวทิ ยาศาสตร์ 14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล 1. ขอ้ สอบอัตนัย ไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 75 2. แบบประเมินทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ได้คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 75 3. แบบประเมนิ จิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 75

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 6 ช่ือเร่ือง การทดลองดา้ นสเปกตรมั และปรากฏการณโ์ ฟโตอเิ ล็กทรกิ หนว่ ยท่ี 2 เรื่อง ฟสิ กิ ส์อะตอม รหสั วชิ า ว 30206 รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 6 เวลา 6 ชวั่ โมง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 1. สาระที่ ๕ พลงั งาน 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างพลงั งานกับการดารงชวี ิต การเปลี่ยนรูปพลงั งาน ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งสารและพลังงาน ผลของการใชพ้ ลงั งานต่อชวี ติ และส่ิงแวดล้อม มีกระบวน การสบื เสาะ หาความรู้ ส่ือสารสงิ่ ท่เี รียนรู้และ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐานการเรยี นรชู้ ว่ งชน้ั สบื ค้น อภปิ ราย และสารวจตรวจสอบเก่ียวกับสเปกตรัมของแก๊สและ ปรากฎการณ์ โฟโตอิเลคตริก 3. ผลการเรยี นรู้ 1. สบื คน้ อภิปราย และสารวจตรวจสอบเกย่ี วกับสเปกตรัมของแกส๊ และปรากฎการณ์ โฟโตอเิ ลคตริก 2. อธิบายความหมายของสเปกตรัมคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง เส้นสว่างที่มีความยาวคลื่นเรียงกันอยู่กันเป็นกลุ่มอย่างมีระเบียบเรียกว่าอนุกรมบัลเมอร์ ริ ดเบิร์กหาค่าคงตัวได้ ต่อมาพลังค์ตั้งสมมติฐานว่าพลังงานที่อิเล็กตรอนรับเข้าไปหรือปล่อยออกมามีค่าได้ เฉพาะบางค่าเท่าน้ัน ทอมสันเรียกอนุภาคที่หลุดออกจากแคโทดในปรากฏการณ์โฟโตอิเลกทริกว่าโฟโต อิเล็กตรอนและพบว่า พลังงานสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนจึงไม่ขึ้นกับความเข้มแสงแต่ข้ึนกับความถ่ีแสงท่ีตก กระทบโลหะ โฟโตอิเล็กตรอนจะเกิดขึ้นเมื่อแสงตกกระทบโลหะมีความถ่ีอย่างน้อยเท่ากับความถ่ีขีดเร่ิม และ จานวนโฟโตอิเล็กตรอนจะเพิ่มขึ้นถ้าแสงท่ีใช้มีความเข้มแสงมากข้ึน พลังงานจลน์สูงสุดของอิเล็กตรอนไม่ ขึ้นกับความเข้มของแสง แต่ขึ้นกับความถ่ีของแสง ไอสไตน์เรียกแสงว่าโฟตอน อิเล็กตรอนต้องเสียพลังงาน

จานวนหนึ่งเทา่ กับพลังงานท่ยี ึดอิเล็กตรอนไว้เรยี กวา่ ฟังก์ชันงาน เราสามารถนาหลักการของโฟโตอิเล็กทริกไป ควบคุมการทางานของวงจรต่าง ๆ ได้ 4.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ท่ีมีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้ เกิดผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม 5. สาระสาคัญ จากการวิเคราะห์สเปกตรัมของไฮโดรเจน จะเห็นเส้นสว่างที่มีความยาวคล่ืนเรียงกัน อยู่กันเป็นกลุ่ม อย่างมรี ะเบยี บเรยี กวา่ อนุกรม บัลเมอร์จึงอธบิ ายดว้ ยสูตรทางคณติ ศาสตร์  = b[n2 / n2-22] ต่อมาริดเบิรก์ หาค่าคงตัวได้ RH = 1.09737 x 107 m-1 สมการท่ใี ชอ้ ธิบายคอื 1/ = RH [1/22 – 1/n2] ต่อมาพลังค์ตั้งสมมติฐานว่า พลังงานที่วัตถุดารับเข้าไปหรือปล่อยออกมามีค่าได้เฉพาะบางค่าเท่าน้ัน จึงเป็นคา่ ไมต่ ่อเนอื่ ง ทอมสันเรียกอนุภาคที่หลุดออกจากแคโทดในปรากฏการณ์โฟโตอิเลกทริกว่าโฟโตอิเล็กตรอน กระแสไฟฟา้ ทเ่ี กดิ ข้นึ เรียกวา่ กระแสอเิ ล็กตรอน และพบวา่ กระแสอเิ ล็กตรอนจะเพ่มิ ข้ึนตามความเข้มแสง พลังงานจลน์สงู สุดของอิเล็กตรอนจะเทา่ กับผลตา่ งระหว่างศกั ย์ไฟฟ้า ดังสมการ Ekmax = eVs ความต่างศักย์น้ีเรียกว่าความต่างศักย์หยุดยั้ง ซึ่งจะเป็นค่าที่แสดงถึงพลังงานสูงสุดของโฟโต อิเล็กตรอน ดังนั้นพลังงานสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนจึงไม่ขึ้นกับความเข้มแสงแต่ข้ึนกับความถ่ีแสงที่ตก กระทบโลหะ สรุปได้วา่ 1. โฟโตอิเล็กตรอนจะเกิดข้ึนเมื่อแสงตกกระทบโลหะมีความถี่อย่างน้อยเท่ากบั ความถี่ขีดเร่ิม และโฟ โตอเิ ลก็ ตรอนจะเกดิ ข้นึ ทนั ทที แี่ สงตกกระทบผวิ ของโลหะ 2. จานวนโฟโตอิเลก็ ตรอนจะเพม่ิ ขึน้ ถ้าแสงท่ใี ช้มคี วามเข้มแสงมากขน้ึ 3. พลังงานจลน์สูงสดุ ของอเิ ลก็ ตรอนไม่ข้นึ กับความเข้มของแสง แต่ขน้ึ กับความถี่ของแสง ไอน์สไตน์อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก โดยอาศัยสมมติฐานของพลังค์ซึ่งมองว่าแสงเป็นก้อน พลังงาน แต่ไอน์สไตน์เรียกแสงว่าโฟตอน โดยโฟตอนจะถ่ายโอนพลังงานให้อิเล็กตรอน 1 ตัว อิเล็กตรอนต้อง เสียพลังงานจานวนหน่ึงเท่ากับพลังงานท่ียึดอิเล็กตรอนไว้เรียกว่าฟังก์ชนั งาน ซ่งึ เป็นค่าเฉพาะของโลหะแต่ละ ชนดิ พลังงานจลนส์ งู สดุ จะเท่ากบั Ekmax = hf – W ดังนัน้ hf – W = eVs เม่อื เร่ิมจากคา่ ความถ่ีขีดเริม่ จะได้ W = hf0

เราสามารถนาหลักการของโฟโตอิเล็กทริกไปสร้างวงจรตาอิเล็กทรอนิกส์สาหรับควบคุมการทางาน ของระบบต่าง ๆ ได้ 6. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายของสเปกตรมั คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทรกิ 2. อธิบายความสัมพันธ์ของ ประจุไฟฟ้า สนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก และแรงกระทาใน ปรากฏการณ์โฟโตอเิ ล็กทริก 3. นาความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับโฟโตอเิ ลก็ ทรกิ ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน 4. จาแนกประเภทหรอื สรา้ งเกณฑ์เก่ยี วกบั โฟโตอิเลก็ ทรกิ 5. ทดลองเกีย่ วกบั โฟโตอเิ ลก็ ทริก 6. ประเมนิ ความสาคญั ของโฟโตอิเลก็ ทริก 7. มจี ติ วิทยาศาสตร์ 7. จดุ เนน้ การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 7.1 ด้านความสามารถและทกั ษะ 1) ทักษะกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ดว้ ยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ 2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน 3) ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม 4) ทกั ษะกระบวนการทางาน 5) ทักษะกระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด 6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7) ทักษะการวิเคราะห์เชือ่ มโยง 7.2 ด้านคณุ ลกั ษณะเฉพาะชว่ งวัย มงุ่ ม่นั ในการศึกษาและการทางาน 8. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 8.1 ความสามารถในการส่อื สาร 8.2 ความสามารถในการคดิ 8.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 8.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 9. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 9.1 อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง

9.2 มุ่งมนั่ ในการทางาน อดทน รอบคอบ 9.3 ใฝ่เรยี นรู้ 9.4 มจี ิตสาธารณะ 10. หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ - นกั เรยี นออกแบบการทดลองปรากฎการณโ์ ฟโตอิเลกทรกิ ดว้ ยความประหยัด 2. ความมีเหตุผล - นกั เรียนอธิบายการทดลองด้านสเปกตรัมและปรากฏการณโ์ ฟโตอเิ ล็กทริก 3. การมีภมู ิคมุ้ กนั ในตวั ท่ดี ี - นกั เรยี นปฏบิ ตั งิ านด้วยความซื่อสตั ย์ในการทางาน 4. เงอื่ นไขความรู้ - นักเรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรอ่ื งการทดลองด้านสเปกตรัมและปรากฏการณ์โฟ โตอิเล็กทริก 5. เงื่อนไขคณุ ธรรม - นักเรียนมีความซือ่ สัตย์และความรับผิดชอบ 11. การบูรณาการ - กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี - กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย - กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ - กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ 12. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมนาสูก่ ารเรยี น 1. ข้นั สรา้ งความสนใจ 1.1 ให้นกั เรียนสงั เกตสเปกตรัมของแกส๊ รอ้ น 1.2 นักเรียนทั้งหมดรว่ มกันยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้แก๊สร้อนเป็นส่วนประกอบร่วมกันอภปิ รายถึง สเปกตรัมของแกส๊ และปรากฎการณโ์ ฟโตอเิ ลคตริก รวมทั้งการนาไปใชป้ ระโยชน์ 1.3 ให้นักเรียนร่วมกันต้ังคาถามเก่ียวกับส่ิงท่ีต้องการรู้ จากเน้ือหาท่ีเกี่ยวกับเรื่องสเปกตรัมของ แก๊สและปรากฎการณ์โฟโตอเิ ลคตรกิ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2. ขนั้ สารวจและค้นหา 2.1 แบง่ นักเรียนเปน็ กลมุ่ ละ 4 คน

2.2 นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันศกึ ษาสเปกตรมั ของแกส๊ และปรากฎการณ์โฟโตอิเลคตริก 2.3 นักเรียนแต่ละกลมุ่ อภิปรายรว่ มกนั ถึงสเปกตรมั ของแกส๊ และปรากฎการณ์โฟโตอเิ ลคตริก 3. ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรปุ 3.1 นักเรยี นแต่ละกล่มุ นาเสนอผลการศกึ ษาสเปกตรัมของแกส๊ และปรากฎการณโ์ ฟโตอิเลคตริก 3.2 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ไดผ้ ลการศึกษาเหมือนกนั หรอื ต่างกนั อย่างไร เพราะเหตุใด 3.3 ครตู ้ังคาถามว่า - จงบันทึกผลการศึกษาสเปกตรัมของแก๊สและปรากฎการณโ์ ฟโตอิเลคตริก - ความยาวคล่ืนของสเปกตรมั เส้นสวา่ งของบัลเมอรห์ าไดอ้ ยา่ งไร - จากการทดลองการแผ่รังสีของวัตถุดา พลงั งานในการแผ่รังสีตามแนวคดิ ของพลงั ค์เป็นอย่างไร และ หาไดอ้ ย่างไร - ความต่างศักยห์ ยดุ ยั้งหาไดอ้ นย่างไร - ถ้าให้แสงความถี่ f0 ตกกระทบแผ่นโลหะ พลงั งานจลน์สูงสดุ ของโฟโตอิเลคตรอนจะมีค่าเทา่ ใด - ถ้าใช้แสงความถ่ีต่ากว่า f0 แต่เพ่ิมเพิ่มความเข้มแสง จะทาให้อิเลคตรอนหลุดออกจากผิวโลหะ หรอื ไม่ เพราะเหตุใด - จากผลการศึกษาปรากฎการณ์โฟโตอเิ ลคตริก สรปุ ไดอ้ ย่างไร - ควอนตมั ของพลงั งานหรือโฟตอนคืออะไร - พลังงานจลนส์ ูงสุดของอิเลคตรอนหาไดอ้ ย่างไร - ความถข่ี ดี เรมิ่ คืออะไร และหาไดอ้ ย่างไร 3.4 นักเรยี นทั้งหมดรว่ มกันสรุปผลจากการศกึ ษาอะตอมและการค้นพบอเิ ลคตรอน กิจกรรมรวบยอด 4. ขั้นขยายความรู้ 4.1 นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ เสนอแนวคิดในการแกป้ ัญหาโจทย์เรื่องอะตอมและการค้นพบอเิ ลคตรอน 4.2 ครูถามว่า จงเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอนไปใช้ ประโยชน์ 4.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั สรุปเช่ือมโยงความคิดเก่ียวกับอะตอมและการคน้ พบอิเลคตรอน 5. ข้ันประเมินผล 5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดิม ส่ิงที่ต้องการรู้ และขอบเขต เป้าหมาย แล้วตรวจสอบวา่ ได้เรียนรู้ตามท่ีตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายงั ไม่ครบถ้วนจะทาอย่างไร ตอ่ ไป (อาจสอบถามให้ครอู ธิบายเพิม่ เติม สอบถามให้เพือ่ นอธบิ าย หรอื วางแผนสบื คน้ เพ่มิ เตมิ ) 5.2 ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นดา้ นพุทธิพสิ ัย 5.3 ให้นักเรยี นทาการทดลองปฏิบัติการท่ี 5 ปรากฎการณโ์ ฟโตอเิ ลกทริก 5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จาก เกณฑ์การให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมลู ไมเ่ พยี งพอใช้วธิ ีสมั ภาษณเ์ พมิ่ เตมิ

13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. คอมพิวเตอรท์ เ่ี ช่ือมต่อกับอินเทอรเ์ นต็ 2. เพาเวอร์พ้อยนเ์ รอื่ งการทดลองดา้ นสเปกตรมั และปรากฏการณโ์ ฟโตอเิ ลก็ ทริก 3. เอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง ฟิสิกส์อะตอม 4. หนงั สือเรยี นวิชาฟิสกิ ส์ เลม่ 3 5. ปฏิบัติการท่ี 5 ปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ ทรกิ 6. ชดุ การทดลองปรากฏการณโ์ ฟโตอิเล็กทริก 14. การวดั และประเมินผล 14.1 วิธีการวดั ผล 1. ให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบอตั นัย 1 ขอ้ 2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์ การใหค้ ะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมลู ไม่เพียงพอใชว้ ธิ ีสมั ภาษณ์เพม่ิ เติม 14.2 เคร่อื งมอื การวดั ผล 1. ใบงานปฏิบตั ิการท่ี 5 ปรากฏการณโ์ ฟโตอิเล็กทรกิ 2. แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบประเมินจติ วทิ ยาศาสตร์ 14.3 เกณฑก์ ารวดั ผลและประเมินผล 1. ใบงานปฏบิ ตั ิการท่ี 5 ไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 75 2. แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 75 3. แบบประเมินจติ วทิ ยาศาสตร์ ไดค้ ะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 75

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 7 ชื่อเรอ่ื ง ทฤษฎอี ะตอมของโบร์และความไมส่ มบรู ณข์ องทฤษฎีอะตอมของโบร์ หนว่ ยที่ 2 เรอื่ ง ฟสิ ิกสอ์ ะตอม รหสั วชิ า ว 30206 รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 6 เวลา 6 ชว่ั โมง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. สาระท่ี ๕ พลงั งาน 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสมั พันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใชพ้ ลังงานต่อชีวิตและส่ิงแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ หาความรู้ สือ่ สารสง่ิ ทเี่ รยี นร้แู ละ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐานการเรยี นรู้ชว่ งชัน้ ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นขอ้ มูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี การนาไปใชป้ ระโยชน์ ผลกระทบตอ่ ส่งิ มชี วี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม 3. ผลการเรยี นรู้ อธิบายทฤษฎีอะตอมของดาลตัน การค้นพบอเิ ล็กตรอน แบบจาลองอะตอมของทอมสนั แบบจาลอง อะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด และความไม่สมบูรณ์ของแบบจาลองแต่ละแบบได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง นีล โบร์ เสนอแบบจาลองอะตอม ให้อิเล็กตรอนที่เคลื่อนท่ีรอบนิวเคลียสไม่ได้ปล่อยคล่ืน แม่เหล็กไฟฟ้าออกมา อิเล็กตรอนมีโมเมนตัมเชิงมุมคงตัวเป็นจานวนเท่าของค่าคงตัวมูลฐาน และอิเล็กตรอน จะคายหรือรับพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเมื่อเปลี่ยนวงโคจร สภาวะของอะตอมท่ีพลังงานตา่ สุดเรียกว่า สถานะพนื้ ทีพ่ ลงั งานสูงสุดเรียกวา่ สถานะกระตุ้น 4.2 สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ท่ีมีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้ เกดิ ผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อม 5. สาระสาคญั นลี โบร์ เสนอสมมตฐิ านใหม่ของแบบจาลองอะตอม 1. อิเล็กตรอนท่ีเคล่ือนที่รอบนิวเคลยี สไมไ่ ด้ปล่อยคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ออกมา อเิ ล็กตรอนมีโมเมนตัม เชิงมมุ คงตัวเปน็ จานวนเทา่ ของคา่ คงตวั มูลฐานเอชบาร์ ซ่ึง เอชบาร์ = nh/2 โดย n เป็นเลขควอนตมั 2. อเิ ล็กตรอนจะคายหรือรับพลังงานในรปู คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ เม่ือเปลีย่ นวงโคจร ดงั สมการ

E = Eni - Enif hf = hc/ lEl = l Eni - Enifl รัศมวี งโคจรของอเิ ล็กตรอนหาได้จากคา่ En และ En ได้ ke2/rn2 = mvn2/rn rn = [hด2/mke2]n2 โบร์ถือวา่ นิวเคลยี สไม่เคล่ือนท่ี ดังนัน้ พลงั งานรวมของอเิ ล็กตรอนคอื พลังงานรวมของอิเล็กตรอนในวง โคจรรอบนิวเคลียส ดงั สมการ ½ mvn2 = ½ ke2/rn สภาวะของอะตอมที่พลังงานตา่ สุดเรยี กวา่ สถานะพ้ืน ที่พลังงานสงู สดุ เรยี กว่าสถานะกระตนุ้ 6. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สืบค้น อภิปราย และสารวจตรวจสอบ เก่ียวกบั อะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน 2. อธิบายความหมายของแบบจาลองอะตอม 3. อธิบายความสมั พันธ์ของโปรตอน นิวตรอน และอเิ ลคตรอน ในอะตอม 4. นาความร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกับอะตอมและการค้นพบอเิ ลคตรอนไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน 5. จาแนกประเภทหรือสรา้ งเกณฑ์เกี่ยวกบั อะตอม 6. ทดลองเกย่ี วกบั อะตอมและการคน้ พบอเิ ลคตรอน 7. ประเมนิ ความสาคัญของอะตอมและการคน้ พบอเิ ลคตรอน 8. มีจิตวิทยาศาสตร์ 7. จดุ เนน้ การพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 7.1 ดา้ นความสามารถและทกั ษะ 1) ทกั ษะกระบวนการสืบเสาะหาความรูด้ ว้ ยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ 2) ทกั ษะกระบวนการเรยี นรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3) ทักษะกระบวนการกลุม่ 4) ทักษะกระบวนการทางาน 5) ทกั ษะกระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด 6) ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7) ทักษะการวิเคราะหเ์ ชอ่ื มโยง 7.2 ดา้ นคุณลกั ษณะเฉพาะช่วงวัย มุ่งมั่นในการศกึ ษาและการทางาน 8. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 8.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 8.2 ความสามารถในการคิด

8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 8.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 9. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 9.1 อยู่อยา่ งพอเพียง 9.2 มุง่ มนั่ ในการทางาน อดทน รอบคอบ 9.3 ใฝเ่ รยี นรู้ 9.4 มจี ติ สาธารณะ 10. หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ - นกั เรยี นออกแบบการนาเสนอการกาเนดิ อะตอมด้วยความประหยัด 2. ความมเี หตผุ ล - นักเรยี นจาแนกทฤษฎีอะตอมแบบต่างๆ 3. การมภี ูมคิ มุ้ กนั ในตัวที่ดี - นักเรยี นปฏบิ ัติงานดว้ ยความซื่อสตั ยใ์ นการทางาน 4. เงือ่ นไขความรู้ - นักเรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งในเรือ่ งการคน้ พบอเิ ลก็ ตรอน 5. เง่อื นไขคุณธรรม - นักเรียนมคี วามซ่อื สัตย์และความรับผดิ ชอบ 11. การบูรณาการ 11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ 11.2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 11.3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ อะตอมและการค้นพบอิเลก็ ตรอน กจิ กรรมนาสู่การเรยี น 1. ขนั้ สรา้ งความสนใจ (15 นาที) 1.3 ใหน้ ักเรยี นสังเกตปรากฏการณ์ในหลอดรังสแี คโทด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook