Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พันธุกรรม

พันธุกรรม

Published by panuwitch_2148, 2019-05-07 22:15:03

Description: พันธุกรรม

Search

Read the Text Version

พนั ธุกรรม ผสู้ อน คุณครภู าณวุ ิชญ์ โปธาย่ี วิชา วิทยาศาสตร์ โรงเรียนวดั วงั สะแกง สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา ลาพนู เขต 2

พันธุกรรม กระบวนการถ่ายทอด โครโมโซมและยีน ลกั ษณะทาง พนั ธุกรรม โรคทางพนั ธกุ รรม

ความหมายของพนั ธกุ รรม • การถา่ ยทอดลักษณะของสิง่ มีชีวิตจากรุ่นหนึ่งไปส่อู ีกรุ่นหนึง่ • กรรมพันธ์ุ เป็นลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะใดก็ตามที่เป็นของรุ่นพ่อ แม่แล้วไปปรากฏในร่นุ ลูก • ลักษณะทางพันธุกรรมไม่สามารถประเมินจากสิ่งที่ปรากฏในรุ่นลูก เทา่ นั้น เพราะลกั ษณะบางอย่างอาจขา้ มไปปรากฏในรุ่นหลานได้

ลักษณะทีถ่ ่ายทอดทางพันธุกรรม • ลกั ษณะต่างๆ ทางพนั ธกุ รรม สามารถถ่ายทอดไปสู่รุ่นต่อไป โดยผ่านทางเซลล์ สืบพันธ์ขุ องพ่อและแม่ • ลกั ษณะของสิ่งมีชีวิตไม่ใช่เป็นกรรมพันธุ์ทุกลกั ษณะ โดยลักษณะบางอย่างเกิด จากสิ่งแวดล้อม เช่น แผลเป็นที่เกิดจากอุบัติเหตุ หรือการศัลยกรรมตกแต่ง ทางการแพทย์ เป็นต้น มีลักยมิ้ ไมม่ ีลักยิ้ม

โครโมโซม ยีน ดีเอน็ เอ

โครโมโซม • เป็นทีอ่ ย่ขู องหน่วยพันธกุ รรม • ควบคุมและถ่ายทอดข้อมูลเกี่ยวกบั ลักษณะทางพันธกุ รรมของสิง่ มีชีวิต • การศึกษาโครโมโซมต้องอาศยั กล้องจุลทรรศนท์ ีม่ ีกาลังขยายสูง



ลักษณะของโครโมโซม • เมื่อมองเซลล์ผ่านกล้องจุลทรรศน์จะเห็นเส้นใยเล็กๆ พันกันอยู่ในนิวเคลียส เรียกว่า โครมาทิน (chromatin) • เมือ่ เริม่ แบง่ เซลล์ โครมาทินจะหดตัวส้ันเข้ามลี กั ษณะเปน็ แท่ง เรยี กวา่ โครโมโซม • แต่ละโครโมโซมประกอบด้วยแขน 2 ข้าง เรยี กวา่ โครมาทดิ (chromatid) • จดุ ทเ่ี ชื่อมแขนทงั้ 2 ข้างของโครโมโซมให้ติดกัน เรียกวา่ เซนโทรเมียร์ (centomere)

• มนษุ ยม์ ีจานวนโครโมโซม 46 โครโมโซม จัดเปน็ คไู่ ด้ 23 คู่ โดยที่ 22 คู่ เรยี กวา่ ออโตโซม (autosome) มีบทบาทสาคญั ในการกาหนดลกั ษณะทางพันธุกรรม ต่างๆ ในรา่ งกาย ส่วนอีก 1 คู่ เรยี กวา่ โครโมโซมเพศ (sex chromosome) • โครโมโซมเพศ เป็นการจบั คู่ของโครโมโซม 2 ตัว ท่แี ตกต่างกนั คือ โครโมโซม X และโครโมโซม Y • เพศหญิงมโี ครโมโซมเพศ XX ส่วนเพศชายมีโครโมโซมเพศ XY

จานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต ตารางแสดงจานวนโครโมโซมของส่งิ มชี วี ิต สิง่ มีชีวิต ชอ่ื วิทยาศาสตร์ จานวนโครโมโซม แตงกวา มะละกอ Cucumis sativus 14 ขา้ ว Carica papaya 18 ออ้ ย ยกู ลีนา Oryza sativa 24 หมู มนุษย์ Saccarum offcinarum 80 ลิงชิมแปนซี แมว Euglena gracilis 90 สุนัข Sus scrofa 40 Homo sapiens 46 Pan troglodytes 48 Felis domestica 38 Canis familiaris 78

การแบ่งเซลล์ การแบง่ เซลล์แบบไมโทซิส (mitosis) เกิดกับเซลล์ร่างกาย (somatic cell) ทั่วไป เซลล์ร่างกาย ท้ังหมดของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ จะเริ่มต้นจากเซลล์เพียงเซลล์เดียว คือ ไซโกต (zygote) ไซโกตจะแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสหลายคร้ัง เพิ่ม จานวนเซลล์และมีข้นั ตอนการพัฒนาจนเป็นตัวเต็มวัย

การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส แบง่ เป็นระยะตา่ งๆ ดงั นี้ 1. โพรเฟส (prophase) 2. เมทาเฟส (metaphase) 3. แอนาเฟส (anaphase) 4. เทโลเฟส (telophase)

การแบง่ เซลล์แบบไมโอซิส (meiosis) เป็นการแบ่งของเซลล์เพศ (sex cell) ในสตั ว์สามารถพบการแบ่งเซลล์ แบบไมโอซิสในอัณฑะและรงั ไข่ ส่วนในพืชพบได้ในอับเรณูหรือรังไข่เพือ่ สร้าง เซลล์สืบพันธ์ุ การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสมี 2 ข้นั ตอนคือ 1. ไมโอซิส 1 เปน็ ระยะทีม่ ีการลดจานวนโครโมโซมจากเดิมลง ครึง่ หนึง่ คือ จากเซลล์เริม่ ต้นทีม่ ีจานวนโครโมโซมเปน็ ดิพลอยด์ (2n) จะได้เซลล์ ที่มีโครโมโซมเปน็ แฮพลอยด์ 2 เซลล์ ไมโอซิส 1 แบ่งออกเป็นระยะต่างๆ 4 ระยะ ได้แก่ 1) โพรเฟส 1 (prophase - I) 2) เมทาเฟส 1 (metaphase - I) 3) แอนาเฟส 1 (anaphase - I) 4) เทโลเฟส 1 (telophase - I)

2. ไมโอซิส 2 เปน็ ระยะที่คล้ายคลึงกับการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส มีการ แยกตัวของโครมาทิดเกิดขึ้นเมื่อสิ้นสดุ ระยะนี้ จะได้ 4 เซลล์ มีโครโมโซมเป็น แฮพลอยด์ และ 4 เซลล์นี้จะมีจานวนโครโมโซมและพนั ธุกรรมแตกต่างจาก เซลล์เริ่มต้น จากนั้นจะเปลี่ยนเป็นเซลล์สืบพนั ธ์ุ ไมโอซิส 2 จะมีการจาลอง โครโมโซมขึ้นอีกในสิ่งมีชีวิตช้นั สงู ประกอบด้วย 1) โพรเฟส 2 (prophase - II) 2) เมทาเฟส 2 (metaphase - II) 3) แอนาเฟส 2 (anaphase - II) 4) เทโลเฟส 2 (telophase - II)

ข้นั ตอนต่างๆในไมโอซิส Meiosis - I มีข้นั ตอนต่างๆ ดังนี้ Interphase- I มีการสงั เคราะห์ DNA อีก 1 เท่าตัว หรือมีการจาลองโครโมโซม อีก 1 ชดุ และยังติดกนั อยู่ ที่ปมเซนโทรเมียร์ ดังนั้น โครโมโซม 1 ท่อน จึง มี 2 โครมาทิด





Metaphase - I ไบแวเลนท์จะมาเรียงตัวกัน อย่ใู นแนวกึ่งกลางเซลล์ (โฮโมโลกัส โครโมโซม ยงั อย่กู นั เป็นค่ๆู )

Anaphase - I ไมโทติก สปินเดิล จะหดตัวดึงให้ โฮโมโลกสั โครโมโซม ผละแยก ออกจากกนั จานวนชุดโครโมโซมในเซลล์ ระยะน้ยี ังคงเป็น 2n เหมือนเดิม (2n เปน็ 2n)

Telophase - I โครโมโซมจะไปรวมอยู่ แต่ละข้ัวของเซลล์ และในเซลล์บางชนิด ในระยะน้ี จะมกี ารสร้างเยื่อหุ้มนิวเคลยี ส มาล้อมรอบโครโมโซม และแบง่ ไซโทพลาสซมึ ออกเปน็ 2 เซลล์ เซลล์ละ n แต่ในเซลล์บางชนดิ จะไมแ่ บ่งไซโทพลาสซึม โดยจะมี การเปลีย่ นแปลง ของโครโมโซม เข้าสู่ระยะโพรเฟส II เลย

Meiosis - II มีเหตกุ ารณ์ณ์ต่างๆ ต่อไปน้ีเกิดขึ้น Interphase - II เปน็ ระยะพักตัว ซึง่ มีหรือไม่ก็ได้ ขึ้นอย่กู บั ชนิดของ เซลล์ ไม่มีการ สังเคราะห์ DNA หรือจาลองโครโมโซมแต่อย่างใด Prophase - II โครมาทิดจะหดส้นั มากขึ้น ไม่มีการเกิดไซแนปซิส, ไคแอสมา, ครอสซิ่งโอเวอร์ Metaphase - II โครมาทิดมาเรียงตัว อย่ใู นแนวกึง่ กลางเซลล์ Anaphase - II มีการแยกโครมาทิดออกจากกัน ทาให้จานวนชุด โครโมโซมเพิ่มจาก n เป็น 2 n ชว่ั ขณะ Telophase - II มีการแบ่งไซโทพลาสซึม จนได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ ซึ่ง แต่ละเซลล์ มีโครโมโซม เป็น n







ยี น ( gene)คื อ ห น่ ว ย พั น ธุ ก ร ร ม ที่ อ ยู่ บ น โ ค ร โ ม โ ซ ม (chromosome)มีลักษณะเรียงกนั เหมือนสร้อยลกู ปัด ทาหน้าที่ควบคุมลกั ษณะ ต่างๆ ทางพันธกุ รรมจากพ่อแม่ไปยังลกู หลาน ในคนจะมียีนประมาณ 50,000 ยีน แต่ละยีนจะควบคุมลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมเพียงลักษณะเดียว ยีนที่ ควบคุมลักษณะพันธุกรรมบางอย่างมี 2 ชนิด คือแต่ส่วนหนึ่งที่ทาให้ลักษณะ เราแตกต่างออกไปคือสภาพแวดล้อม เช่น ความอ้วน อาจเกิดจาก สภาพแวดล้อมมากกว่าพันธุกรรม

ดีเอ็นเอ • DNA ย่อมาจาก Deoxyribonucleic acid • ประกอบด้วย สายนิวคลีโอไทด์ (nucleotide) สองสายบิดตัวเป็นเกลียวคู่ (double helix) • มีเบส เปน็ ตัวยึดสายนิวคลีโอไทด์ทั้งสอง ซึ่งเบสมีท้ังหมด 4 ชนิด คือ อะ ดีนีน (Adenine : A) ไทมีน (Thymine : T) ไซโทซีน (Cytosine : C) และกัวนีน (Guanine : G)





สรุปความแตกต่างระหวา่ ง ยีน (Gene) ดีเอ็นเอ(DNA) และ โครโมโซม (Chromosome) - ยีน (Gene) เปน็ ส่วนหนึ่งของดีเอ็นเอ (DNA) - ดีเอ็นเอ (DNA) จะมีส่วนที่ไม่ใช่ยีนและส่วนที่เป็นยีน (Gene) เป็น ส่วนประกอบ และ ดีเอ็นเอ (DNA) เป็นส่วนประกอบหลักของโครโมโซม (Chromosome) - โครโมโซม (Chromosome) มีดีเอน็ เอ (DNA) และโปรตีน (Protein) เป็น ส่วนประกอบหลัก หากเรียงขนาดจากใหญ่ไปเล็กจะเรียงได้ดงั นี้ โครโมโซม (Chromosome) > ดีเอน็ เอ(DNA) > ยีน

สรุปศพั ท์ทางพนั ธศุ าสตร์บางคาที่ควรรจู้ กั 1. ยีน (Gene) คือลักษณะทางพนั ธุกรรมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครโมโซม โครโมโซมของคนมี 23 คู่ และมียีนอยู่ประมาณ 50,000 ยีน ยีนเหล่านี้ กระจายอย่ใู นโครโมโซมแต่ละค่แู ละควบคมุ การถ่ายทอดลักษณะไปสู่ ลกู ได้ประมาณ 50,000 ลกั ษณะ 2. แอลลีล (allele) คือยีนที่เป็นคู่เดียวกันเรียกว่าเปน็ แอลลีลิก (allelic) ต่อกนั หมายความว่าแอลลีลเหล่าน้นั จะมีตาแหน่งเดียวกนั บนโครโมโซม ทีเ่ ป็นค่กู ัน (homologous chromosome) 3. เซลล์สืบพันธุ์ (gamete) หมายถึงเซลล์เพศ (sex cell) ท้ังไข่ (egg) และอสจุ ิหรือ (Sperm)

4. โนไทป์ (genotype) หมายถึงลกั ษณะการจับคู่กันของแอลลีลของยีนที่ ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตซึ่งจะมี 2 ลักษณะ ลักษณะ พันธ์ุแท้ เช่น TT, tt และลกั ษณะพนั ธ์ทุ าง เช่น Tt 5. ฟีโนไทป์ (phenotype) หมายถึงลักษณะที่ปรากฏออกมาให้เห็นซึ่งเป็น ผลจากการแสดงออกของจีโนไทป์นั่นเอง เช่น TT, Tt มียีนไทป์ต่างกันแต่ มีฟีโนไทป์เหมือนกนั คือ เป็นต้นสูงทั้งคู่ 6. ฮอมอไซโกต (homozygote) หมายถึงคู่ของแอลลีลซึ่งเหมือนกนั เช่น TT จัดเป็น ฮอมอไซกัดโดมิแนนต์ (homozygous dominant) เนื่องจาก ลักษณะท้ังคู่เป็นลักษณะเด่น หรือ tt จัดเป็นฮอมอไซกัสรีเซสซีฟ (homozygous recessive) เนือ่ งจากลักษณะทั้งคู่เป็นลกั ษณะด้อย ลักษณะ ทีเ่ ป็นฮอมอไซโกตเราเรียกว่า พนั ธ์แุ ท้

8. ลักษณะเด่น (dominant) คือลักษณะที่แสดงออกเมื่อเป็นฮอมอ ไซกัสโดมิแนนต์และเฮเทอโรไซโกต 9. ลักษณะด้อย (recessive) ลกั ษณะที่จะถูกข่มเมื่ออยู่ในรูปของเฮเทอ โรไซโกตและจะแสดงออกเมือ่ เปน็ ฮอมอไซกสั รีเซสซีฟ 10. ลักษณะเด่นสมบูรณ์ (complete dominant) หมายถึงการข่มของ ลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อยเป็นไปอย่างสมบูรณ์ทาให้ฟีโนไทป์ของฮอมอ ไซกัสโดมิเนนต์และเฮเทอโรไซโกตเหมือนกัน เช่น TT จะมีฟีโนไทป์ เหมือนกบั T t ทุกประการ 11. ลกั ษณะเด่นไม่สมบูรณ์ (incomplete dominant) เป็นการข่มกันอย่าง ไม่สมบูรณ์ ทาให้เฮเทอโรไซโกตไม่เหมือนกับฮอมอไซกัสโดมิเนนต์ เช่น การ ผสมดอกไม้สีแดงกับดอกไม้สีขาวได้ดอกไม้สีชมพูแสดงว่าแอลลีลที่ควบคุม ลกั ษณะดอกสีแดงข่มแอลลีลที่ควบคมุ ลักษณะดอกสีขาวได้ไม่สมบรู ณ์

12. ลักษณะเด่นร่วม (codominant) เป็นลักษณะที่แอลลลีลแต่ละตัวมี ลักษณะเด่นกันท้ังคู่ข่มกันไม่ลงทาให้ฟีโนไทป์ของเฮเทอโรไซโกตแสดงอ อกมาท้ังสองลกั ษณะ เช่น หมู่เลือด AB ท้ังแอลลีล IA และแอลลีล IB จะแสดงออกในหมู่เลือดท้งั คู่ 15. การถ่ายทอดพันธุกรรมลักษณะเดียว (monohybrid cross) เป็นการ ผสมพันธ์ุซึ่งเราคานึงถึงลักษณะเพียงลักษณะเดียวและมียีนควบคุมอยู่ เพียงคู่เดียว 16. การถ่ายทอดพันธกุ รรมสองลักษณะ (dihybrid cross) เป็นการผสมที่ ศึกษาลักษณะสองลักษณะในเวลาเดียวกัน มียีนควบคุมสองคู่ยีนและ โครโมโซม

กระบวนการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม

การทดลองของเมนเดล เมนเดลประสบผลสาเร็จในการทดลอง จนต้ังเป็นกฎเก่ียวกับการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อแม่มายังลูกหลานใน ช่วงต่อๆมาได้เนื่องจากสาเหตุ สาคญั สองประการ คือ 1. เมนเดลรู้จักเลือกชนิดของพืชมาทาการทดลอง พืชท่ีเมนเดลใช้ในการทดลองคือ ถั่วลนั เตา ซึ่งมีข้อดีในการศึกษาด้านพนั ธศุ าสตรห์ ลายประการ เช่น 1.1 เป็นพืชทผ่ี สมตวั เอง (self- fertilized) ซึ่งสามารถสรา้ งพันธ์ุแท้ได้ง่าย หรือจะ ทาการผสมข้ามพันธ์ุ (cross-fertilized) เพื่อสร้างลูกผสมก็ทาได้ง่ายโดยวิธีผสมโดย ใชม้ ือช่วย (hand pollination) 1.2 เป็นพืชท่ีปลูกง่าย ไม่ต้องทานุบารุงรักษามากนัก ใช้เวลาปลูกตั้งแต่ปลูก จนถึงเก็บเก่ียวภายในหนึ่งฤดูปลูก (growing season) หรือประมาณ 3 เดือน เท่านั้น และยงั ให้เมล็ดในปริมาณทีม่ ากด้วย 1.3 เป็นพืชท่ี มีลักษณะทางพันธุกรรม ท่ีแตกต่างกันชัดเจนหลายลักษณะ ซึ่งใน การทดลองดังกล่าว เมนเดลได้นามาใช้ 7 ลกั ษณะด้วยกัน

• เมนเดลทดลองแบบเดียวกัน กับลักษณะอื่นๆ อีก 6 ลักษณะของถ่ัวลันเตา ได้แก่ ลักษณะเมล็ด สีของเมล็ด ลักษณะของฝัก สีของฝัก ตาแหน่งของดอก และสีของเปลือกหมุ้ เมล็ด

ลกั ษณะทางพันธุกรรม • การแสดงออกของลักษณะตา่ งๆ ในสิ่งมีชวี ิต เกิดจากโครโมโซมที่ทาหน้าท่ถี า่ ยทอด ข้อมลู ทางพันธุกรรม เรียกว่า โครโมโซมคู่ เหมือน (homologous chromosome) • ยีนท่คี วบคุมการแสดงออกเดียวกนั ทอ่ี ยบู่ น โครโมโซมคู่เหมือน เรียกว่า จโี นไทป์ (genotype) • จโี นไทป์ เขียนแทนดว้ ยอกั ษรภาษาอังกฤษ ยีนเด่น (B) เพียงตัวเดียวกจ็ ะทาให้ลักษณะ ที่แสดงออกเปน็ ลกั ษณะเดน่ ได้ สองตัว เช่น Aa, BB, Dd โดยอักษรตวั พิมพ์ ใหญ่ หมายถึง ยีนเดน่ และตัวพิมพ์เลก็ หมายถงึ ยีนด้อย

กระบวนการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ลกั ษณะทางพันธกุ รรมจากพ่อแมถ่ า่ ยทอดไปสลู่ กู หลาน ผ่านทางเซลล์สืบพันธ์ุ และการปฏิสนธิ

การถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมหนึ่งลักษณะ หากนาพืชต้นสูงพันธุ์แท้ (TT) ผสมกบั ต้นเตี้ยแคระ (tt) จะได้ รนุ่ ลกู (F1 ) ทีม่ ยี ีนแบบ Tt ซึง่ มี ลกั ษณะตน้ สูง

เมื่อนารุ่นลูก (F1 ) มาผสม พันธุ์กัน โอกาสท่ียีนจะเข้าคู่ กั น มี 3 แบบ คือ TT, Tt, tt ใน อัตราส่วน 1:2:1 ดังน้ัน รุ่นหลาน (F2) จะมีลักษณะ ต้ น สู ง แ ล ะ ต้ น เ ตี้ ย แ ค ร ะ ในอัตราส่วน 3:1

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมสองลกั ษณะ • เนื่องจากสิ่งมีชีวิตมีลักษณะ ทางพันธุกรรมหลายลักษณะ ดังนั้นในการผสมพันธ์ุแต่ละ คร้ังจึงมีการถ่ายทอดลักษณะ อื่นๆ ไปพร้อมกันด้วย • เมื่อผสมพันธ์ุถ่ัวลันเตาเมล็ด กลมสีเหลือง กับถ่ัวลันเตา เมล็ดขรุขระสีเขียว จะได้รุ่นลูก (F1 ) มีลักษณะเมล็ดกลมสี เหลืองท้ังหมด

• เมื่อนารุ่นลูก (F1 ) มาผสมพันธุ์กันจะได้รุ่นหลาน (F2) มีเมล็ด 4 ลักษณะ คือ เมล็ด กลมสีเหลือง เมล็ดกลมสีเขียว เมล็ดขรุขระสีเหลือง และเมล็ดขรุขระสีเขียว ใน อัตราส่วน 9:3:3:1

บางกรณีลกั ษณะเด่นไม่สามารถข่มลกั ษณะด้อยได้ เรยี กวา่ ลกั ษณะข่มไมส่ มบูรณ์ (incomplete dominant) ทาให้รนุ่ ลกู (F1 ) แสดงออกทง้ั ลักษณะเด่นและลกั ษณะด้อย รุ่นพ่อแม่ รุ่นลูก (F1) (ดอกสขี าว) (ดอกสแี ดง) Pp (ดอกสชี มพู) Pp (ดอกสชี มพู) รุ่นลูก (F1) รุ่นหลาน (F2) (ดอกสชี มพู) PP Pp Pp pp (ดอกสีแดง) (ดอกสีชมพ)ู (ดอกสีชมพ)ู (ดอกสีขาว)

การขม่ รว่ มกัน (Codominance) ลกั ษณะทางพันธุกรรมบางชนดิ ถูก ควบคุมโดยแอลลีล ท่มี ีความสามารถในการ แสดงออกได้เทา่ ๆ กนั เชน่ หมู่เลือดระบบ ABO ในคน ซ่งึ จาแนกตามชนดิ ของแอนติเจน ทอ่ี ยบู่ นเยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง หมู่เลือด A มี แอนตเิ จน A หมู่เลือด B มี แอนติเจน B จากการศึกษาพบว่า พ่อและแม่ ท่มี ียนี ควบคุมหมู่เลือด A และ B ทีเ่ ปน็ ฮอมอ ไซกัสจะไดล้ ูกทม่ี ีหมู่เลือด AB แสดงว่า แอล ลีล IA และ IB แสดงลกั ษณะเด่น ได้เทา่ ๆ กนั จงึ แสดงออกรว่ มกนั เรียกว่า การขม่ ร่วมกัน (Codominance)

มัลติเปิลแอลลีล (Multiple Alleles) ลักษณะทางพันธุกรรมบางลกั ษณะ เช่น หมู่เลือด ระบบ ABO ในคน ถูกควบคุมด้วย ยีนตาแหน่งเดียว (Single locus) แต่มีแอลลีล มากกว่า 2 แบบคือ แอลลีล IA IB และ i เรียก ยีนที่มีมากกว่า 2 แอลลีลใน 1 โลคัส ว่า มัลติเปิลแอลลีล (Multiple Alleles) โดยแอลลีล IA ควบคุมการสร้าง แอนติเจน A บนเยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง แอลลีล IB ควบคุมการสร้าง แอนติเจน B บนเยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง แอลลีล I ไม่ควบคุมการสร้าง แอนติเจน A และแอนติเจน B ทาให้หมู่เลือดในระบบ ABO มีจีโนไทป์ และพี โนไทป์ ดังตาราง

แสดงว่า แอลลีล IA IB สามารถข่ม แอลลีล i ได้ แต่ไม่ สามารถข่มกันเองได้ IA IB จึงเป็นการข่มร่วมกันและเป็นมลั ติเปิล แอลลีล เมื่อพ่อหมู่เลือด A แม่หมู่เลือด B ลูกจะมีโอกาสมีหมู่ เลือด A , B , AB และ O

ลกั ษณะที่มีความแปรผนั แบบต่อเนือ่ ง (continuous variation) • เป็นลักษณะทางพันธกุ รรมทไ่ี ม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชดั เจน • ได้รับอิทธพิ ลจากพันธกุ รรมและสิง่ แวดล้อม • ตวั อยา่ งเชน่ ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว

กระบวนการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม เพดดีกรี (pedigree) หรือพงศาวลี เป็นแผนผังใน การศึกษาพนั ธกุ รรมของคน ซึง่ แสดงบุคคลต่างๆ ในครอบครวั ดงั แผนผงั

การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมโดยยีนบนออโทโซม (autosome) และยีนบนโครโมโซมเพศ (sex chromosome) ในร่างกายคนมีโครโมโซม 46 แท่ง มาจดั เปน็ ค่ไู ด้ 23 คู่ โดยแบ่งเปน็ 2 ชนิด คือ 1) ออโทโซม (autosome) คือ โครโมโซม 22 คู่ ค่ทู ี่ 1 - ค่ทู ี่ 22 เหมือนกนั ท้งั เพศหญิงและเพศชาย 2) โครโมโซมเพศ (sex chromosome) คือ โครโมโซมอีก 1 คู่ (ค่ทู ี่ 23) สาหรับในเพศหญิงและเพศชายต่างกนั โดยเพศหญิงจะเป็นแบบ XX เพศชายจะเปน็ แบบ XY โดยโครโมโซม Y จะมีขนาดเลก็ กว่าโครโมโซม X

ยีนบนออโทโซม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากยีนบนออโท โซม แบง่ ได้ 2 ชนิด ดงั นี้ 2.1 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมท่ีควบคุมโดยยีนเด่นบนออโทโซม การถ่ายทอดนีจ้ ะถ่ายทอดจากชายหรือหญิงท่ีมีลักษณะทางพันธ์ุแท้ ซึ่งมียีนเด่นท้ังคู่หรือ มียีนเด่นคู่กับยีนด้อย นอกจากนี้ยังมีลักษณะผิดปกติอื่นๆ ท่ีนาโดยยีนเด่น เช่น คนแคระ คนเปน็ โรคท้าวแสนปม เปน็ ต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook