การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท21101 ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 จดั ทาโดย นางสาวพชั รญดา โอบเออื้ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลชา่ งเค่งิ อาเภอแมแ่ จ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คาอธบิ ายรายวิชา รายวชิ า ท21101 รหสั วชิ า ภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 เวลา 120 ช่วั โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ คาอธบิ ายรายวิชา ฝึกการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองประเภทต่างๆได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับ เรื่องที่อ่าน จับใจความสาคัญจากเรื่องท่ีอ่าน บอกเหตุผล ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น อธิบาย คาเปรียบเทียบ คาที่มี หลายความหมาย คายากในบริบทต่างๆจากการอ่าน ฝกึ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทดั ตามแบบการเขยี นตัวอักษรไทย เขียนส่ือสาร เช่น แนะนาตนเอง สถานท่ี หรือเขียนบนส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น เขียนบรรยายประสบการณ์ เขียน เรียงความ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ถ้อยคา สานวนภาษาถูกต้อง เหมาะสม ฝึกพูดสรุปใจความสาคัญ พูดแสดง ความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ เล่าเรื่องย่อจากเร่ืองท่ีฟังและดู ศึกษาเรื่องเสียงในภาษาไทย การสร้างคา และสานวน สุภาษิตไทย ฝึกคิดวิเคราะห์เน้ือหาและคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม และบทร้อยกรองท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวกับท้องถ่ิน สมุทรปราการ ตามหลักการพิจารณาวรรณคดี และวรรณกรรมเบ้ืองต้น ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามท่ี กาหนด และบทร้อยกรองทม่ี ีคุณคา่ ตามความสนใจ สามารถนาไปใชอ้ ้างองิ ได้ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ของ ตนเอง กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ เพื่อให้ เกิดความรู้ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด มีความสามารถในการสือ่ สาร ในการคิด ในการ ใช้ทกั ษะชีวิต ในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝเ่ รียนรู้ มีวินัย มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย รักท้องถ่นิ บ้านเกิด มีจิตสาธารณะ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่เี หมาะสม ตวั ช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ ท 1.1 ม.1/1 ท1.1ม.1/2 ท1.1ม.1/3 ท1.1ม.1/4 ท1.1ม.1/5 ท 2.1 ม.1/1 ท 2.1ม.1/2 ท2.1 ม.1/3 ท 3.1 ม.1/1 ท 3.1 ม.1/2 ท 3.1 ม.1/3 ท 3.1 ม.1/4 ท 4.1 ม.1/1 ท 4.1 ม.1/2 ท 4.1 ม.1/6 ท 5.1 ม.1/1 ท 5.1 ม.1/2 ท 5.1 ม.1/3 รวมทัง้ หมด 18 ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ *** หมายเหตุ - ตัวชว้ี ัด (รายวิชาพื้นฐาน) - ผลการเรียนรู้ (รายวิชาเพม่ิ เติม)
ผงั มโนทัศน์ รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท 21101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ช่ือหน่วย ภาษามพี ลงั ชื่อหน่วย วถิ งี ามความพอเพยี ง จานวน 4 ช่ัวโมง : 10 คะแนน จานวน 6 ชั่วโมง : 10 คะแนน รายวชิ าภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 จานวน 32 ช่ัวโมง ช่ือหน่วย เพอ่ื นกนั ชื่อหน่วย แต่งให้งามตามให้เหมาะ จานวน 6 ช่ัวโมง : 10 คะแนน จานวน 6 ชั่วโมง : 10 คะแนน
ผงั มโนทัศน์ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท 21101 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง ภาษามีพลงั จานวน 3 ชั่วโมง : 10 คะแนน ช่ือเร่ือง ภาษาพลงั ชื่อเร่ือง คาหรือพยางค์ทไ่ี ม่มรี ูปสระกากบั จานวน 1 ช่ัวโมง : 3 คะแนน จานวน 1 ช่ัวโมง : 3 คะแนน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง ภาษามพี ลงั จานวน 4 ช่วั โมง ชื่อเรื่อง เรื่องการสะกดคา ชื่อเร่ือง เรื่องการสะกดคา จานวน 1 ชั่วโมง : 3 คะแนน จานวน 1 ช่ัวโมง : 3 คะแนน
แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรื่อง ภาษามีพลัง แผนจดั การเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง ภาษามีพลัง รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท 21101 ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 นา้ หนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ช่วั โมง/สัปดาห์ เวลาทใ่ี ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1 ชวั่ โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจทค่ี งทน) การวเิ คราะหเ์ รื่อง เปน็ การพิจารณาเรื่องราวตา่ ง ๆ อยา่ งละเอยี ดตั้งแตต่ ้นจนจบ เพ่ือแยกแยะข้อเทจ็ จริงและ ขอ้ คิดเห็น มีการใชเ้ หตผุ ลในการแยกส่วนดี ส่วนบกพร่องของเรื่องนั้น ๆ การจะยอ่ ความและวเิ คราะหเ์ ร่ืองได้ดนี อกจาก จะเป็นคนชอบอา่ นแลว้ ยังต้องหมน่ั ฝกึ การย่อความและวเิ คราะห์เปน็ ประจาดว้ ย ดังนน้ั จะต้องเรยี นรูแ้ ละนาไปใช้ให้ ถูกต้อง จงึ จะถอื วา่ ประสบความสาเรจ็ ในการเรียนภาษา 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้ีวดั ช้นั ป/ี ผลการเรยี นร/ู้ เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ (ให้ตรงกับหลักสตู รแกนกลาง 2551 ปรับปรงุ 2560) มาตรฐาน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาใน การดาเนินชีวติ และมนี สิ ยั รักการอ่าน ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ม.๑ / ๓ ระบเุ หตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคดิ เห็น จากเร่ืองท่อี ่าน 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge อา่ นออกเสยี งร้อยแก้วไดถ้ ูกต้องตามอักขรวิธแี ละสามารถบอกใจความ สาคัญของเร่ืองท่ีอ่านได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นกั เรยี นสามรถอา่ นออกเสียงร้อยแก้วได้ถูกต้องตามอกั ขรวิธแี ละสามารถบอกิ ใจความสาคญั ของเรื่องท่ีอ่านได้ 3.3 คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude ผู้เรยี นมเี จตคติท่ีดตี ่อวชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร ผ้เู รยี นสามารถใชภ้ าษาไทยมาตรฐานสอ่ื สารในชวี ิตประจาวนั 4.2 ความสามารถในการคิด ผู้เรยี นมีทักษะการคดิ วิเคราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ผเู้ รียนมีกระบวนการปฏิบัติ 5. คณุ ลักษณะของวิชา ความรับผดิ ชอบ ความรอบคอบ กระบวนการกลุม่
6. คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มีวินยั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 6. มุง่ มน่ั ในการทางาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : ๑.ใบความรู้ การอ่านออกเสยี ง ๒. แบบฝกึ หดั การอา่ น ๓. แบบทดสอบก่อนเรียน 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ครูใช้วธิ ีวิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม และวิธีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการปฏบิ ตั )ิ ช่วั โมงท่ี 1 1.ขน้ั นา ๑.นกั เรยี นออกเสียงบทเรยี นท่ี ๑ “ภาษามพี ลัง” ในใบงานที่ ๑ จากนั้นรว่ มกนั วจิ ารณ์การอ่านของเพือ่ นแต่ ละคน ๒.นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นบทที่ ๑ “ ภาษามีพลัง” เสร็จแลว้ นาส่งครตู รวจสอบความถูกตอ้ งและ ประกาศผลโดยที่ยงั ไม่ต้องเฉลย ๒.ขัน้ สอน ๑.ให้นกั เรยี นศึกษาใบความรู้เรอ่ื ง หลกั การอ่านออกเสียง จากน้นั ครูให้นักเรียนที่อ่านออกเสียงยัง ตามบทฝกึ อา่ นทลี ะคน ๒..นกั เรียนทาแบบฝึกหัด เสรจ็ แลว้ นาสง่ ครตู รวจสอบประเมินผลและประกาศผลการประเมิน พร้อมทงั้ แนะนาแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งเปน็ รายๆ ๓.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศกึ ษาเรือ่ ง“ การพิจารณาคุณค่าของเรือ่ งที่อ่าน” ในหนังสือเรียนภาษาไทย ชดุ ววิ ิธ ภาษา หน้า ๒๑ – ๒๔ จากนัน้ ชว่ ยกนั สรุปสาระและรายละเอียดของหนังสอื แตล่ ะเภท ๔ ครนู าหนงั สือแต่ละประเภทให้นักเรยี นดูพร้อมทั้งแนะนาวา่ หนังสือน้นั จัดอยใู่ นประเภทใด จากนัน้ ให้แต่ ละกลมุ่ จับสลากเลือกอธบิ ายรายละเอยี ดของหนังสอื แตล่ ะประเภทดังนี้ ๓.ขนั้ สรปุ ๑. ครูมอบหมายให้นักเรยี นแบ่งกล่มุ 3 - 5 คนไปค้นควา้ ความรู้เกย่ี วกบั ดอกไม้ท่ีกล่าวถึงในบทเรียนคือ “ ดอกลัน่ ทม” ใหเ้ ตรยี มสง่ ตัวแทนนาเสนอรายละเอียดในชว่ั โมงต่อไป กลุ่มละ ๓ นาที
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรยี นรู้ จานวน สภาพการใช้สอ่ื รายการสอื่ 1 ชดุ ขนั้ ตรวจสอบความรเู้ ดิม 1 ชุด ขั้นสรา้ งความสนใจ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1 ชุด ขนั้ ขยายความรู้ 2. ใบงาน 1 3. ใบความรู้การอา่ นออกเสยี ง 10. การวดั ผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ ประเดน็ / การเรียนรู้ ช้ินงาน/ภาระงาน วธิ ีวดั เครอ่ื งมอื วัดฯ เกณฑ์การให้ คะแนน ผู้เรียนสามารถ แบบทดสอบ ผ้เู รียนอา่ น แบบประเมนิ การอ่าน รอ้ ยละ 60 บอกหลกั เกณฑ์ หลงั เรยี น ประจาหน่วย ออกเสียง ในการอ่านออกเสียง ครสู งั เกต บทออกเสยี ง ผ่านเกณฑ์ ได้ถูกตอ้ ง(K) การเรียนรูท้ ี่ 1 การอา่ น พฤติกรรม ออกเสยี ง แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ แบบประเมินการ การทางานกลมุ่ อา่ นออกเสียง ผเู้ รยี น การทางานกล่มุ 2 ผา่ นเกณฑ์ แบบสังเกต พฤติกรรมการทางาน ทาแบบทดสอบ แบบทดสอบ หลงั เรยี น กลมุ่ หลงั เรียน
11. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน (ตัวอย่าง) หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ ครู ผเู้ รยี น พอเพยี ง - - 1. - - - - 2. - - 3. - - - 4. - - ผู้เรยี น 5. - - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผู้เรียน - - - สง่ิ แวดล้อม ครู - - ลงชื่อ..................................................ผสู้ อน (............................................)
ใบงานที่ ๑ การดาเนนิ งานตามแนวพระราชดาริของพระราชดาริ ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว เป็นท่แี จง้ ชัดในหมู่ประชาชนชาวไทยดแี ล้วว่าเปน็ การดาเนินงานที่มงุ่ พฒั นาและช่วยเหลือ พสกนกิ รโดยทวั่ ไป โดยไมจ่ ากดั เชอ้ื ชาติ ศาสนา โดยเฉพาะมุ่งเน้นช่วยเหลือพสกนิกร ผู้ยากไร้ที่ประสบปัญหาต่าง ๆ อนั กระทบถึง สภาพการดารงชวี ติ การดาเนินงานตามพระราชดารติ า่ ง ๆ น้ัน ไดก้ ่อให้เกดิ โครงการต่าง ๆ เช่น โครงการตามพระราชประสงค์ หมายถงึ โครงการซงึ่ ทรงศึกษาทดลองปฏบิ ัตเิ ปน็ สว่ นพระองค์ ทรงศึกษาหารือกับผเู้ ชี่ยวชาญในศาสตร์ สาขาตา่ ง ๆ ทรงแสวงหาวิธีทดลอง ปฏบิ ัตทิ รงพฒั นาสง่ เสริมและแก้ไขดัดแปลงวิธกี าร ในช่วงระยะเวลาหน่งึ เพ่ือพัฒนา ดแู ลผลผลิตทั้งในและนอกพระราชฐาน ซึ่งต้องทรงใช้พระราชทรัพยส์ ว่ นพระองค์ในการดาเนนิ งานทดลองจนกว่าจะเกิด ผลดี ตอ่ มาเมื่อทรงแน่พระราชหฤทัยว่าโครงการน้นั ๆ ไดผ้ ลดี เปน็ ประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแทจ้ รงิ จงึ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลเขา้ มารับงานต่อไปภายหลงั โครงการหลวง เป็นโครงการทท่ี รงมุ่งพัฒนาชาวไทยภเู ขาใหร้ อดพน้ จากความทกุ ขย์ ากลาเค็ญไดด้ ว้ ยวธิ ีการปลูกพชื ทดแทน ฝ่ิน และละเลกิ การตัดไมท้ าลายปา่ มาสู่วิถีเกษตรรูปแบบใหม่ทท่ี าให้มีรายได้ดียิ่งขน้ึ ชาวเขา ชาวดอยจึงมคี วาม จงรกั ภกั ดีเรียกพระองค์ว่า “พอ่ หลวง” และเรียกสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชนิ ีนาถวา่ “แมห่ ลวง” โครงการของทง้ั สองพระองค์ จงึ เรียกวา่ “โครงการหลวง” โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ หมายถึงโครงการท่ีพระองคไ์ ด้พระราชทานขอ้ แนะนา และแนวพระราชดาริให้เอกชนไปดาเนนิ การดว้ ยกาลัง เงิน กาลังปญั ญา และกาลังแรงงานพร้อมท้ังการตดิ ตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพฒั นาหมบู่ า้ น
สหกรณเ์ นนิ ดินแดง อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ ซง่ึ สโมสรโรตารีแห่งประเทศไทย เป็นผจู้ ดั และดาเนินงาน ตามแนวพระราชดาริ โครงการพจนานกุ รม โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เป็นตน้ โครงการตามพระราชดาริ โครงการประเภทน้ีเป็นโครงการท่ที รงวางแผนพฒั นา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลรว่ มดาเนนิ การตามพระราชดาริ โดย พระองคเ์ สดจ็ พระราชดารริ ว่ ม ทรงงานกบั หนว่ ยงานของรัฐบาล ซึ่งมีท้งั ฝ่ายพลเรือน ตารวจ ทหาร โครงการตาม พระราชดารนิ ้ี ในปจั จุบันเรียกวา่ “โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ” มีกระจายอยู่ท่วั ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ซง่ึ มลี ักษณะที่เปน็ โครงการพัฒนาดา้ นลักษณะที่เป็นงานด้านวชิ าการ เช่นโครงการเพอื่ การศึกษาค้นคว้า ทดลองหรือ โครงการที่มลี ักษณะเปน็ งานวจิ ยั เปน็ ตน้ แนวคิดและทฤษฎีในการพัฒนาโครงการตามแนวพระราชดาริดังกล่าว เกดิ จากพระอจั ฉริยภาพและ พระปรชี าสามารถในการทีไ่ ด้ทรงคิดคน้ ดดั แปลง ปรับปรงุ และแก้ไขในการพฒั นาโครงการให้เป็นงานทดี่ าเนินการไปได้ โดยงา่ ย ไม่ยงุ่ ยาก ซับซ้อน และสอดคล้องกบั สภาพความเปน็ อยู่ และระบบนเิ วศน์โดยส่วนรวมของธรรมชาติ ตลอดจน สภาพทางสังคมของชมุ ชนนัน้ เฉพาะโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ มอี ยู่มากมายหลายประเภทแตกต่างกนั ไปตาม ลักษณะและวัตถุประสงค์ของโครงการน้นั ซึ่งสว่ นมากเป็นการแก้ไขปัญหา และพฒั นาด้านการทามาหากนิ ของประชากรเปน็ สาคัญ หลักสาคัญ ของทุกเร่ืองก็คือความเรียบง่าย ทงั้ นที้ รงใชค้ าว่า “Simplify” หรอื “Simplicity” ท้ังในแนวคิดและด้านเทคนิควชิ าการ จะต้องสมเหตสุ มผล ทาใหร้ วดเรว็ และสามารถแก้ไขปัญหาให้ก่อประโยชน์ได้จริง ตลอดจนตอ้ งมุ่งไปสวู่ ถิ แี หง่ การพฒั นา ยัง่ ยืน (Sustainability) ดังเช่นหลาย ๆ โครงการทไ่ี ดน้ าไปปฏิบตั ิและปรากฏผลสาเร็จแลว้ เช่น โครงการหญ้าแฝก โครงการฝนหลวง โครงการบาบดั น้าเสยี โดยวิธีธรรมชาติ โครงการกังหนั ชัยพฒั นา โครงการทฤษฎีใหม่ เป็นต้น โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดารทิ ้ังหลายน้ี ล้วนเกดิ จากน้าพระราชหฤทยั ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ท่ที รงมุ่งหวงั ให้ปวงพสกนิกรไทยได้พน้ จากความทุกข์ยากในการดารงชวี ติ และทรงมุ่งม่นั แสวงหามรรควิธีทีจ่ ะช่วยใหร้ าษฎรไทยได้มีวิถคี วามเปน็ อย่ทู ีด่ ีข้ึน เริม่ จาก “พออยู่พอกนิ ” จนกระทั่งสามารถพึ่งตนเองได้ในที่สุด นัน่ ย่อมหมายความวา่ ประเทศไทยมที รพั ยากรบุคคลทีเ่ ข้มแข็ง สามารถนาพาประเทศชาติให้เจรญิ ก้าวหน้าไดใ้ นอนาคต
ใบความรู้เร่ือง การอ่านออกเสียง ๑. ความหมายของการอา่ นออกเสียง การอา่ นออกเสยี ง คือ ศิลปะในการส่อื สารโดยการถ่ายทอดเร่ืองราวทเ่ี ป็นตวั หนังสอื ออกมาเป็นเสียง ได้อย่างนา่ ฟัง และน่าตดิ ตาม ๒. องค์ประกอบของการอา่ นเสยี ง กระบวนการส่ือสารดว้ ยการอ่านออกเสียงนต้ี ้องประกอบด้วย ๒.๑ ผู้สง่ สาร คอื ผอู้ า่ น ๒.๒ สาร คอื ขอ้ ความทอ่ี ่าน ๒.๓ ผู้รับสาร คือ ผฟู้ ัง ๒.๔ วิธตี ดิ ตอ่ สื่อสาร คอื การอ่าน ๒.๕ การสนองตอบ คอื ผลของการสื่อสารซ่ึงอาจเปน็ การ ปรบมือ การก้มศีรษะ การทาตาม ฯ ล ฯ ๓. หลกั ในการอา่ นออกเสียง ในการอ่านออกเสยี ง ผู้อ่านต้องยดึ หลักดังต่อไปนี้ ๓.๑ ความเข้าใจบทอ่าน ผอู้ า่ นออกเสียงตอ้ งมีความเข้าใจบทอ่านมากเพียงพอที่จะถา่ ยทอดความ เข้าใจของตนสผู่ ฟู้ ังได้ กล่าวคอื ผู้อา่ นจะต้องเกดิ ภาพในจนิ ตนาการของตนตามบทอา่ นอย่างชัดเจน จนสามารถ ถ่ายทอดความนึกคดิ ของตนให้ผฟู้ งั ติดตามเห็นตามได้ ๓.๒ การยืนหรือนง่ั ควรยืนหรือน่ังในตาแหน่งที่อย่ตู รงหน้าตรงกลางของผู้ฟังและห่างจากผู้ฟัง พอสมควรการยืนต้องยืนตรง แตไ่ ม่เกร็งแบบทหาร เทา้ ทงั้ สองข้างห่างกนั พอสมควร ไมค่ วรยนื อิงส่งิ ใดส่งิ หนง่ึ เพราะจะแสดงถงึ ความอ่อนแอหรอื แสดงความไม่แยแสต่อผฟู้ ัง ไมค่ วรยนื เอยี งไหล่ไปข้างใดขา้ งหนึ่ง ไม่ควรพูดไปเขย่ง ไป ไม่ควรขยับตวั ยา้ ยน้าหนักไปยงั ขาแตล่ ะขา้ งตลอดเวลา ไม่ควรเคลอื่ นตวั โดยไรจ้ ุดหมายหรือยืนท่าเดยี วนิง่ ตรง และเมื่อเปลยี่ นเร่อื งใหม่ควรขยับตัวเอง เปลี่ยนอิรยิ าบถบ้าง การน่ังตอ้ งนั่งอยา่ งเรยี บร้อย หลังตรงแต่ไมแ่ ข็งท่ือ ขาวางแนบกันพอสมควร ไม่ควรนัง่ ไขว่ห้าง หรอื กระดิกขา ๓.๓ การถือบทอา่ น จับเอกสารบทอ่านให้ม่ัน บทอา่ นตอ้ งไมบ่ ังหนา้ ผู้อา่ นเพราะผ้ฟู งั ต้องการทั้งฟงั เสยี งและดสู ีหน้าท่าทางของผู้อ่านประกอบดว้ ย ถ้าผ้ฟู งั มองไมเ่ ห็นผ้อู ่านแลว้ จะแสดงอาการชะเง้อชะแง้อยู่ ตลอดเวลา และในทีส่ ุดจะหมดความพยายาม และละความสนใจในการติดตามรบั ฟังต่อไป ๓ .๔ การใช้ไมโครโฟน ๓.๔.๑ บุคคลบางคนจะเกดิ อาการตื่นกลัวในการใชว้ สั ดุอุปกรณ์อันไม่คุ้นเคย ดังน้นั ผู้อา่ นท่ีคาดคดิ ว่า ตนอาจต้องใชไ้ มโครโฟนในวันใดวันหน่งึ จงึ ควรเร่มิ หดั สังเกตลักษณะรูปร่างและวธิ กี ารใชไ้ มโครโฟนของผู้อนื่ ไวก้ ่อน เพอ่ื วา่ เม่ือตนถงึ วาระที่จะต้องใชว้ สั ดอุ ปุ กรณเ์ หลา่ น้ันบ้างจะไดส้ ามารถใช้ได้ด้วยความคล่องแคล่วและม่นั ใจ ๓.๔.๒ การทดลองใช้ไมโครโฟนท่ีสภุ าพทสี่ ดุ คอื ให้ใช้ปลายเลบ็ ของน้วิ ชี้ขูดลงเบา ๆ ท่ีส่วนปลาย ของไมโครโฟน แล้วฟังเสยี งดวู า่ ดังหรอื ไม่ อย่าใชม้ ือเคาะทส่ี ว่ นใดส่วนหนงึ่ ของไมโครโฟน หรอื พูดวา่ “ ฮัลโหล ๆ ” เปน็ อนั ขาด เพราะอาจทาใหไ้ มโครโฟนเสยี หายแลว้ ยังเป็นการเสียมารยาทอีกด้วย
๓.๕ การใช้เสียง ๓.๕.๑ น้าเสียง ตอ้ งมีการเน้นหนัก เบา ดัง คอ่ ยให้เปน็ ไปตามเน้ือเรื่องที่อา่ นจึงจะทาใหก้ าร ฟงั มรี สชาติ นา่ สนใจท่ีจะติดตามฟงั เพราะน้าเสยี งนอกจากจะช่วยสอื่ ความหมายแล้วยังทาใหผ้ ู้ฟังไดอ้ ารมณ์ในการ ฟังอีกดว้ ย อย่าอ่านระดับเสยี งเดียวกันโดยตลอดจะทาใหห้ มดรสชาตใิ นการฟัง และน่าเบื่อหน่ายอย่างยิง่ ๓.๕.๒ ความดังของเสียง ระดบั ความดังของเสยี งจะขน้ึ อย่กู ับจานวนผ้ฟู ังกับระยะหา่ งระหวา่ ง ผอู้ า่ นและผู้ฟงั ถา้ ห้องท่ใี ช้อ่านเปน็ ห้องใหญ่มคี นฟงั มาก เราก็ต้องอ่านให้ดังชดั เจนเพียงพอทีผ่ ูฟ้ ังท่ีอยู่แถวหลังได้ยิน อยา่ งชดั เจน แต่อยา่ ตะโกนเปน็ อันขาด เพราะจะทาให้เสียงกระด้างไมน่ ่าฟงั ผู้อ่านออกเสยี งต้องสงั เกตอาการ ตอบสนองของผู้ฟงั ทีน่ ่งั แถวหลงั สุด ถ้าบุคคลเหล่านั้นพูดคยุ กันเอง ไม่สนใจจะตดิ ตามรบั ฟงั หรือนง่ั หลับ จะ เปน็ การแสดงวา่ เสยี งของผู้อ่านดงั ไม่เพยี งพอ ถ้ามเี คร่ืองขยายเสยี ง ผู้อ่านออกเสยี งต้องลดระดับเสยี งลงบา้ ง เพราะเสยี งที่ดงั เกินควรจะถกู ขยาย จนพร่าผู้ฟังจะไม่รู้ ๓.๕.๓ จงั หวะในการอา่ น ถ้าผอู้ ่านออกเสยี งอ่านช้าลง ผ้ฟู งั เข้าใจคาพูดได้แจ่มแจง้ มากกวา่ การอา่ นเร็ว ๆ แต่ต้องระวงั โดยพยายามอ่านใหไ้ ด้จังหวะทีพ่ อดี ถ้าอา่ นช้าเกินไปผู้ฟงั จะเกิดความเบ่อื หนา่ ย แต่ ถา้ อ่านคลอ่ งแคล่วรวดเรว็ ไปแล้ว ผู้ฟังอาจตดิ ตามรับฟังไม่ทนั การอ่านไดจ้ ังหวะ การเว้นวรรคตอน และการทอดเสยี งอยา่ งเหมาะเจาะจะชว่ ยใหอ้ ่านไพเราะน่าฟัง ขนึ้ ๓.๖ อา่ นออกเสยี งใหถ้ ูกต้องตามอักขรวธิ ี คาทเี่ รามักอ่านออกเสียงผิดพลาดไม่ชัดเจน ได้แก่ ๓.๖.๑ พยัญชนะ ร กับ ล พยัญชนะทง้ั สองน้ี เรามกั อ่านผิดพลาดและสบั สนกนั เสมอ ผ้อู ่านออกเสียงจงึ ต้องระมดั ระวังโดยการอ่านแยกความแตกต่างใหช้ ัดเจน การอา่ นพยัญชนะ ร ให้ปลายล้นิ กกั ลมท่ี ปุ่มเหงอื ก หอ่ ลิ้นยกตัวไปท่เี พดานแขง็ รัวลนิ้ หลาย ๆ คร้งั สาหรบั ผูท้ ่ีมีลน้ิ ค่อนขา้ งแขง็ ไม่สามารถบังคับล้นิ ให้อ่อนพลิ้วขณะทีล่ มผา่ นลิ้นออกมาได้ ควรฝกึ การ เปลง่ เสียง “ รอื ” บอ่ ย ๆ โดยในการเปล่งเสยี งแตล่ ะครั้งควรทอดเสียงได้นานสัก ๑๐ - ๒๐ วนิ าที แล้วจงึ เปลง่ คาทพี่ ยัญชนะ ร ในภายหลัง การอา่ นพยญั ชนะ ล ให้ปลายลิ้นแตะปุ่มเหงือกปลอ่ ยลมออกมาทางข้างลนิ้ ๓.๖.๒ การอ่านออกเสียงคาควบกลา้ คาควบกล้าคือ คาที่มีพยญั ชนะ ต้น ๒ ตัว พยญั ชนะต้นตัวที่สองจะตอ้ งเป็น ร ล หรอื ว การเปล่งเสยี งคาควบกลา้ น้ันเราต้องออกเสยี ง พยัญชนะตน้ ทั้งสองตวั ไปพร้อม ๆ กับ การเปลง่ เสียงเพียงครง้ั เดยี ว ตวั อย่างคาควบกลา้ ได้แก่ กรอง กลอง กวาง เปน็ ตน้ คาท่ีมี คร ในประโยค เสียงดงั อึกทึกครึกโครม คณุ ครูมาหาใครครบั ตะไครก้ อใหญ่ของใคร เสียงใครรอ้ งครวญคราง เครง่ ครัดนักมกั ตึงเครียด เขาชอบทาตวั เปน็ คนครา่ ครึ ทหารเครง่ ครัดในเคร่ืองแบบ เคราะหด์ ีทเี่ ขาไมถ่ ูกไฟคลอกตาย ปลาชักครอกแผ่ครีบ เขาชอบสนุกครืน้ เครงเปน็ ครั้งคราว วนั นร้ี สู้ กึ ครั่นเนื้อครั่นตวั คล้ายจะไม่สบาย
ชมไพร ชมไพรสะพร่งั พฤกษ์ ลว้ นพันลกึ แลเพลิดเพลนิ ไคลคลามาแนวเนิน ยลยูงยา่ งช่างเพริศเพรา เพราะพริ้งหร่งิ เรไร แวว่ ไกลไกลพาหงอยเหงา เดินเดียวแสนเปลยี่ วเปลา่ เพราะพลดั พรากจากเคหา ค่าเชา้ เฝา้ คร่าครวญ ตรกึ ตรองหวนอาลัยลา ดอกไมเ้ กล่ือนกลาดตา ไมป่ ลดเปลื้องเรอ่ื งโศกศัลย์ ดวงเดือนกเ็ คลอ่ื นคล้อย นา้ คา้ งย้อยพร้อยพราวพรรณ กลางไพรไกข่ านขนั ปลกุ ให้ฟ้ืนตื่นนิทรา ๓.๖.๓ คาบางคาทมี่ กั อา่ นออกเสียงไม่ถกู ต้อง นอกจากคาท่ีมกั อ่านผิดพลาดไมช่ ัดเจนดังกลา่ วแลว้ ยังมี คาบางคาทอี่ ่านออกเสยี งไม่ถูกตอ้ ง ดงั นั้น เพอ่ื การรักษามาตรฐานของภาษาตอ้ งฝกึ การออกเสยี งคาอ่านจาก พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นหลัก ๓.๗ การเวน้ วรรคตอนในการอา่ นออกเสียง มีข้อท่ีควรจาวา่ ถ้าเว้นวรรคตอนผดิ ความหมายจะผิดไป ดว้ ย ขอใหน้ ักเรยี นลองสงั เกตประโยคต่อไปนี้ ๑. อาจารยฟ์ องสนานสวมแว่นตากรอบทอง / เหลืองวาววบั ( กรอบทอง – รวย ) อาจารยฟ์ องสนานสวมแวน่ ตากรอบทองเหลือง / วาววับ( กรอบทองเหลือง– จน ) ๒. นกั เรยี นชัน้ ม ๑ ทาขนมขายหนา้ / หอ้ งภาษาไทย ( ขายขห้ี นา้ ) นักเรยี นช้นั ม ๑ ทาขนมขาย / หน้าห้องภาษาไทย ( ขายทีห่ น้าห้อง ) ๓. ลงุ ดาเปน็ พอ่ ค้าข้าวสารหอมมะลิ ( พ่อค้าข้าวสาร ) ลงุ ดาเป็นพ่อค้าขา้ ว / สารหอมมะลิ ( ขายทั้งขา้ ว และ สารหอมมะลิ ) ๔. หมอเบริ ์ตนางสาวไทยไปดลู ะครนอก / เรื่องสงั ขท์ อง ( ละครนอก ) หมอเบริ ์ตนางสาวไทยไปดูละครนอกเร่ือง / สงั ข์ทอง ( ละครนอกเรื่อง ) ฉะนนั้ ก่อนทจ่ี ะอ่าน จะต้องทดลองแบ่งวรรคตอน แบ่งคา แบง่ ประโยคให้ถกู ต้องเสียกอ่ นเสมอ ซงึ่ อาจใช้ เครือ่ งหมาย / แบ่งคาให้ ๓.๘. การใชส้ ายตา มคี ากลา่ วา่ “ ดวงตาเปน็ หน้าตา่ งแห่งดวงใจ ” ฉะน้นั ขณะอา่ นไม่ควรกม้ หนา้ ก้ม ตาอ่านแต่อย่างเดยี ว ไมค่ วรมองเหม่ออกนอกหนา้ ต่างหรือเหลือบตาไปมองทเ่ี พดานห้อง ควรสบตาผ้ฟู งั เปน็ ระยะ ๆ แต่ไม่ควรจอ้ งจับท่บี ุคคลหน่งึ ตลอดเวลา ควรเปล่ยี นไปด้านซา้ ยบ้าง ด้านขวาบ้าง ระวังอย่าสอดสา่ ยสายตามาก เกนิ ไป จะดตู ลกขบขันคล้ายการหมุนของพดั ลมได้ การสบตาน้เี ป็นการแสดงว่า ผู้อ่านเห็นวา่ ผูฟ้ ังเป็นบุคคลที่สาคญั คนหน่งึ มิใช่ผฟู้ ังเป็นเพียงเคร่ืองแต่งห้อง ช้นิ ใดช้นื หน่งึ ในห้องเท่าน้นั ผู้อา่ นออกเสียงอาจสบตากับผู้ฟงั โดยอ่านประโยคสุดท้ายของข้อความไวล้ ว่ งหน้าแล้วอา่ นออก เสยี งประโยคดังกลา่ วจากความทรงจาของตน และโดยทั่วไปแล้วประโยคสดุ ท้ายของข้อความมักจะเปน็ ประโยคสรปุ ใจความสาคญั การเงยหนา้ ข้นึ สบตากบั ผฟู้ ัง จึงเป็นการยา้ เตือนผฟู้ ังถงึ ความสาคญั ของประโยคท่จี ะกล่าวอกี ด้วย
นอกจากน้ี ผอู้ า่ นอาจสบตาผฟู้ งั ในคาทส่ี ามารถจดจาได้ หรอื ในคายาว ๆ ท่ีใชซ้ ้ากนั มาโดยตลอด เช่น ชือ่ และนามสกุลของนายกรัฐมนตรี ตาแหนง่ ประจาของบุคคลสาคัญ ปพี ทุ ธศักราชปัจจบุ ัน ฯ ล ฯ แตต่ อ้ งระวังการ หลงบรรทดั อนั อาจเกิดขึ้นทุกขณะทีผ่ อู้ ่านเงยหน้าสบตาผ้ฟู ั ใบงานท่ี 1 ๑. คาชีแ้ จง ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มช่วยกนั วเิ คราะหข์ อ้ ความตอ่ ไปนลี้ งในตารางทกี่ าหนดให้ ในงานมงคล เช่น งานแต่งงาน ดอกไมท้ ี่ใช้ต้องเปน็ ดอกรกั ดอกบานไม่รู้โรย ดอก พทุ ธรักษา ดาวเรือง ซ่ึงลว้ นเป็นดอกไม้ทมี่ ีชอ่ื ดเี ป็นมงคลทงั้ สนิ้ และไมว่ ่าจะเปน็ สง่ิ ของเครอ่ื งใช้ คาพูด หรือกิจกรรมใดๆทป่ี รากฏในงานมงคล จะตอ้ งเลือกทม่ี ีช่ือดที ้งั หมด เป็นหลักประกนั ความม่นั คงของชวี ิต ครอบครัวตอ่ ไป การทลี่ ่นั ทมเปลี่ยนชื่อมาเป็น ลลี าวดี แลว้ ทาให้กลายเป็นทน่ี ยิ มแทนที่จะเป็นทรี่ งั เกยี จอยา่ งท่ี เปน็ มานาน การหา้ มปลูกไม้ผลไม้ใบ ไมด้ อกหลายชนิดในบ้าน หรือการเลอื กดอกไม้บางชนิดใชใ้ นงาน มงคล ล้วนพิจารณาจากช่ือเปน็ สาคัญ ปรากฏการณ์ดังกลา่ วน้ีทาให้เขา้ ใจสงั คมไทยได้ว่า เปน็ สังคมท่ี ผูกพันกบั ภาษาอย่างย่งิ เสียงและความหมายของถ้อยคามอี ิทธิพลต่อความรสู้ ึกและตอ่ จติ ใจของคนเราจน อาจทาใหเ้ ปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมได้ ภาษามพี ลงั เหนอื จิตใจเรามากทีเดยี ว ข้อเท็จจรงิ ขอ้ คดิ เหน็ แผนการจัดการเรียนรู้ ช่อื .................................................................เลขท่ี ............ ชนั้ ...............
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เรอ่ื ง ภาษามีพลัง แผนจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 เร่ือง การสะกดคา รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท 21101 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 นา้ หนกั เวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์ เวลาที่ใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1 ชวั่ โมง ........................................................................................................................... ............................... 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจทค่ี งทน) มาตราตัวสะกด เป็นพนื้ ฐานสาคญั ในการเรยี นรู้ภาษาไทย การเขียนสะกดคาได้ถูกต้องจะทาใหผ้ สู้ ่งสารและ ผรู้ บั สารเข้าใจความหมายตรงกัน กอ่ ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ทั้งดา้ นการฟัง การพดู การอา่ น และการเขยี น 2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั ชั้นป/ี ผลการเรียนร/ู้ เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ใหต้ รงกบั หลกั สตู รแกนกลาง 2551 ปรับปรงุ 2560) มาตรฐาน มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ ตัวช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ ม.๑ / ๒ สรา้ งคาในภาษาไทย 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge นักเรียนสามรถอ่านบอกมาตราตัวสะกดในภาษาไทย 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรียนสามรถอา่ นเขียนคาได้ถูกตอ้ งตามมาตรา ตัวสะกด 3.3 คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ : Attitude ผเู้ รยี นมเี จตคตทิ ่ดี ีตอ่ วิชาภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร ผู้เรยี นสามารถใชภ้ าษาไทยมาตรฐานสอื่ สารในชวี ิตประจาวัน 4.2 ความสามารถในการคิด ผู้เรียนมีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ผูเ้ รยี นมีกระบวนการปฏิบตั ิ 5. คุณลักษณะของวิชา ความรบั ผดิ ชอบ ความรอบคอบ กระบวนการกลุ่ม 6. คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มีวินยั 4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยูอ่ ย่างพอเพียง 6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 7. รักความเปน็ ไทย 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : ๑.ใบความรู้ การอา่ นออกเสียง ๒. แบบฝกึ หดั การอ่าน ๓. แบบทดสอบก่อนเรยี น 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ครูใชว้ ธิ ีวิธสี อนแบบกระบวนการกลุ่ม และวธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการปฏิบตั ิ) ชว่ั โมงที่ 1 1.ขน้ั นา ๑. นักเรียนได้รับแจกกระดาษเปลา่ จากครูคนละ ๑ แผ่น ครูใหเ้ วลา ๓ นาที ให้ทุกกลมุ่ เขียนพนั ธต์ุ ้นไม้ เกี่ยวกบั สวนพฤกศาสตร์ กลุ่มละ ๑๐ ชือ่ พร้อม ๒. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงาน พร้อมทั้งอธิบายพนั ธ์ไุ มเ้ พมิ่ เติม ๒.ขนั้ สอน ๑. ครสู ่มุ ให้นกั เรยี นบอกตัวสะกดในคาศัพท์ทีเ่ ขยี นไดว้ า่ แต่ละคาสะกดด้วยพยัญชนะตัวใดบ้าง โดยเขียนแยก เป็นคาๆ เชน่ ลนั ทมคาแรก มตี วั น เปน็ ตัวสะกด คาหลงั มีตัว ม เปน็ ตัวสะกด ครูแจกใบความรู้ เร่อื งมาตรา ตัวสะกด ๒. ครูแจกใบความรู้ เร่ืองมาตราตวั สะกด ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษา แล้วเปรยี บเทยี บว่าตัวสะกดในคาศัพท์ของ ตนเองอยใู่ นมาตราแม่สะกดใดบ้าง แยกออกเป็นคาๆ ๓. ให้นกั เรยี นศึกษาเรื่องมาตราตัวสะกดเพ่ิมเติมในหนงั สือเรียนภาษาไทยชน้ั ม.๑ ชุดวิวิธภาษา หนา้ ๙ – ๑๑ ข้อ ๖ – ๑๐ โดยการอา่ นออกเสยี ง ๔. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มทาแบบฝกึ หัด การหาคาท่ีมีตัวสะกดตามมาตราที่กาหนดให้ เสร็จแล้วนาส่งครู ตรวจสอบและประกาศผลเป็นคะแนน ๓.ข้นั สรุป ๑. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ เรอ่ื งมาตราตัวสะกด 9. ส่อื การเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้
รายการสอื่ จานวน สภาพการใช้ส่อื 1. ใบความรู้ 1 ชดุ ขั้นตรวจสอบความร้เู ดิม 2. แบบฝึกหัดชดุ ท่ี 1 1 ชดุ ข้นั สรา้ งความสนใจ 3. แบบฝึกหัด ชุดท่ี 2 1 ชดุ ขน้ั ขยายความรู้ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรยี นรู้ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ชนิ้ งาน/ภาระงาน วิธีวัด เคร่อื งมือวดั ฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน ผ้เู รียนสามารถ แบบทดสอบ ผู้เรียนอา่ น แบบประเมินการอา่ น ร้อยละ 60 บอกหลกั เกณฑ์ หลงั เรยี น ประจาหน่วย ออกเสียง ในการอ่านออกเสยี ง ครสู งั เกต บทออกเสยี ง ผ่านเกณฑ์ ไดถ้ ูกต้อง(K) การเรียนรู้ที่ 1 การอา่ น พฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ ออกเสยี ง การทางานกลมุ่ แบบประเมินการ ผู้เรียน การทางานกลุ่ม 2 ผา่ นเกณฑ์ ทาแบบทดสอบ อา่ นออกเสยี ง หลงั เรยี น แบบทดสอบ แบบสงั เกต พฤติกรรมการทางาน หลังเรยี น กลุ่ม
11. การบรู ณาการตามจดุ เน้นของโรงเรยี น (ตัวอยา่ ง) หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ ครู ผเู้ รียน พอเพียง - - 6. - - - 7. - - - 8. - - 9. - - 10. - - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผเู้ รียน -นกั เรียนไดร้ ับแจก -นกั เรยี นได้รับแจกกระดาษ -นกั เรียนทางานตามท่ีรบั มอบหมาย กระดาษเปลา่ จากครูคนละ ๑ เปล่าจากครูคนละ ๑ แผ่น ครูให้ แผ่น ครใู หเ้ วลา ๓ นาที ให้ เวลา ๓ นาที ใหท้ ุกกลุ่มเขียนพันธ์ุ ทุกกลมุ่ เขียนพันธ์ุตน้ ไม้ ตน้ ไมเ้ กี่ยวกบั สวนพฤกศาสตร์ กลมุ่ เก่ียวกับสวนพฤกศาสตร์ กลุ่ม ละ ๑๐ ช่อื พร้อม ละ ๑๐ ชอ่ื พร้อม สิง่ แวดล้อม ครู ผู้เรยี น - - - ลงชอื่ ..................................................ผู้สอน (............................................)
เรอื่ งมาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกด คือ แม่บทการแจงลูก ท่ีใช้ในการสะกดภาษาไทย แบง่ ออกเป็น ๙ มาตราตวั สะกด ในภาษาไทยมที ั้งหมด ๙ มาตรา คอื แม่ ก กา แม่ กก แม่ กง แม่ กด แม่ กน แม่ กบ แม่ กม แม่ เกย และ แม่ เกอว ใน ๙ มาตรา จะมอี ยู่ ๔ มาตรา ทม่ี ีตัวสะกดไมต่ รงมาตรา ซงึ่ ได้แก่ แม่ กก แม่ กด แม่ กน และแม่ กบ แม่ กด คอื พยางค์ทีอ่ อกเสยี งเหมอื นมตี วั “ ต” สะกด มตี ัวสะกดทไ่ี ม่ตรงมาตราทัง้ หมด ๒๕ ตัว คือ จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส ฒิ ติ ธิ ตุ ชร ตร ทร รถ ( ตวั ฉ และ ฌ เปน็ ตัวสะกดที่ ไม่มใี ชเ้ ป็นสามัญ ) เชน่ กรวด ตารวจ ราชการ กฎหมาย รัฐบาล ครฑุ พัฒนา อนญุ าต รถ มารยาท วันพุธ ประเทศ ทาโทษ ศาสนา เป็นต้น แม่ กบ คือ พยางคท์ อ่ี อกเสยี งเหมอื นมตี ัว “ บ” สะกด มีตัวสะกดทไ่ี มต่ รงมาตราทง้ั หมด ๔ ตวั คอื ป พ ฟ ภ เชน่ กราบไหว้ รูปร่าง เคารพ ยีราฟ โชคลาภ เป็นต้น แม่ กน คือพยางค์ท่ีออกเสยี งเหมือนมตี วั “น” สะกด ตัวสะกดท่ีไม่ตรงมาตามมที ั้งหมด ๕ ตวั คือ ญ ณ ร ล ฬ เชน่ เรียน บาเพ็ญ ปญั ญา ขอบคณุ ทหาร อาการ ผลไม้ พยาบาล ฟตุ บอล ปลาวาฬ ขา้ วสาร เป็นตน้ แม่ กก คอื พยางค์ทอี่ อกเสียงเหมอื นมตี วั “ ก” สะกด มตี ัวสะกดที่ไม่ตรงมาตราทงั้ หมด ๕ ตวั คือ ข ค ฆ กร คร เวลาอ่านจะออกเสยี งเหมือนมี “ก” สะกด เชน่ สุขภาพ ประโยค บรจิ าค มรรค สมคั ร จกั ร เมฆ วิหค โรค พญานาค อบายมุข โทรเลข
ใบงาน คาชีแ้ จง ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ เขียนคาศัพทต์ ามหัวข้อทก่ี าหนดใหต้ อ่ ไปนี้ ขอ้ ละ ๕ คา ๑. คาท่ีตวั สะกดในแม่ กน ไมต่ รงตามมาตรา..........…………………………………… ๒. คาทมี่ ตี วั สะกดในแม่ เกอว..........................………………………………………... ๓. คาท่ีมตี วั สะกดในแม่ กบ ไมต่ รงตามมาตรา …………………………………….. ๔. คาทีม่ ตี ัวสะกดในแม่ เกย …………………………………………………………. ๕. คาที่มตี วั สะกดในแม่ กด ไม่ตรงตามมาตรา ……………………………………. ๖. คาทมี่ ีตัวสะกดในแม่ กง ………………………………………………………… ๗. คาที่มตี ัวสะกดในแม่ กก ไมต่ รงตามมาตรา ……………………………………… ๘. คาท่มี ีตวั สะกดในแม่ กก ตรงตามมาตรา ………………………………………… ๙. คาทม่ี ตี วั สะกดในแม่ กด ตรงตามมาตรา ………………………………………… ๑๐. คาท่ีมีตัวสะกดในแม่ กม ………………………………………………………… กล่มุ ................................................... สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................ ๓. .............................................. ๔. ............................................... ๕. .............................................. ๖. ...............................................
ใบงาน คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนบอกวา่ ในคาต่อไปน้มี ตี ัวสะกดในแมใ่ ดบ้าง ๑. จรญู ศลิ ป์ ตัวสะกดในพยางคท์ ่ี ๑แม่……………พยางคท์ ่ี ๒ คือ…………… ๒. หายตัว ตวั สะกดในพยางคท์ ี่ ๑แม่……………พยางค์ที่ ๒ คือ…………… ๓. เวรกรรม ตวั สะกดในพยางคท์ ี่ ๑แม่……………พยางค์ที่ ๒ คือ…………… ๔. ยกเมฆ ตัวสะกดในพยางค์ท่ี ๑แม่……………พยางค์ท่ี ๒ คือ…………… ๕. ก้อนข้าว ตัวสะกดในพยางค์ที่ ๑แม่……………พยางค์ที่ ๒ คือ…………… ๖. มวยวดั ตวั สะกดในพยางค์ท่ี ๑แม่……………พยางคท์ ่ี ๒ คือ…………… ๗. ห้ามปราม ตัวสะกดในพยางค์ที่ ๑แม่……………พยางคท์ ่ี ๒ คือ…………… ๘. กองทพั ตวั สะกดในพยางค์ท่ี ๑แม่……………พยางค์ท่ี ๒ คือ…………… ๙. พัวพัน ตัวสะกดในพยางคท์ ี่ ๑ แม่……………พยางค์ที่ ๒ คือ…………… ๑๐ พอเพียง ตวั สะกดในพยางค์ที่ ๑แม่……………พยางค์ท่ี ๒ คือ…………… ช่อื .................................................................เลขท่ี ..................... ชนั้ ...............
แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลมุ่ ประกอบแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๒ รายการตรวจและให้คะแนน ๑. การหาคาศพั ท์ ๒. การพูดรายงาน ๓. การทาแบบฝกึ เสริมทักษะ ๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม ๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุม่ ชือ่ กลมุ่ รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ ประเมนิ ๑๒๓๔๕ ๕๕๕๕๕ ๒๕ ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถงึ ดี เกณฑร์ ะดบั คะแนน ๒๐ – ๒๕ = ๒ ๑ หมายถึง ๐ หมายถึง พอใช้ ๑๕ – ๑๙ = ๑ ปรบั ปรุง ๐ - ๑๔ = ๐ เกณฑ์การผา่ น ได้คะแนน ๑ ขน้ึ ไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมนิ ( .............................................. )
แบบบันทกึ ผลการประเมินการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ชดุ ววิ ธิ ภาษา บทท่ี ๑ ภาษามีพลัง ประกอบแผนการเรยี นรทู้ ี่ ๒ การสะกดคา เลข ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ด้านผลงาน ที่ ชื่อ – สกุล ีมความรอบคอบในการทางาน เป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดีได้ ัรกและภู ิมใจในภาษาไทย ใช้ภาษาได้ถูกต้องตามบ ิรบท ู้รจักประห ัยดอดออม รวมคะแนนด้าน ุคณลักษณะ ฯ การพูดรายงานห ้นาชั้น การทาแบบฝึกหัด ชุดที่ ๘ รวม ผ่าน / ไม่ผ่าน ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ความหมายระดับคณุ ภาพ ๒ หมายถงึ ดี เกณฑร์ ะดบั คะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒ ๑ หมายถงึ ๐ หมายถงึ พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑ ปรับปรุง ๐ - ๑๗ = ๐ เกณฑก์ ารผ่าน ได้คะแนน ๑ ขึน้ ไป ลงช่อื ...........................................ผปู้ ระเมิน ( ............................. )
แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง ภาษามพี ลัง แผนจัดการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรื่อง คาหรอื พยางคท์ ่ีไม่มรี ปู สระกากับ รายวชิ าภาษาไทยรหัสวชิ า ท 21101 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 นา้ หนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชัว่ โมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1 ชัว่ โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคญั (ความเขา้ ใจที่คงทน) คาหรือพยางคบ์ างคาในภาษาไทยมเี สยี งสระแต่ไม่มีรปู สระ เรียกกลุ่มคาน้ีว่าสระลดรปู เราต้องใชว้ จิ ารณญาณ ในการอ่าน ขอ้ สาคัญตอ้ งอาศยั การฝกึ ประสบการณแ์ ละเรียนรูก้ ฎเกณฑ์ทางภาษาใหแ้ มน่ ยาจึงจะทาให้อ่านใช้ภาษาได้ ถูกต้องตามบริบท 2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัดช้นั ป/ี ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ (ใหต้ รงกับหลักสตู รแกนกลาง 2551 ปรับปรุง 2560) มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ ตัวชี้วดั ตัวช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ ม.๑/๒ สร้างคาในภาษาไทย 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอื้ หาสาระหลัก : Knowledge สร้างคาในภาษาไทยไดถ้ กู ต้องตามอักขรวิธแี ละสามารถบอกใจความ สาคญั ของเร่ืองท่ีอา่ นได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นกั เรียนสามรถสร้างคาในภาษาไทยไดถ้ ูกต้องตามอักขรวธิ ีและสามารถบอกิ ใจความสาคญั ของเรื่องทีอ่ า่ นได้ 3.3 คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude ผู้เรยี นมีเจตคติทดี่ ตี อ่ วชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร ผเู้ รยี นสามารถใชภ้ าษาไทยมาตรฐานสอ่ื สารในชวี ติ ประจาวนั 4.2 ความสามารถในการคิด ผู้เรยี นมที ักษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ผู้เรียนมีกระบวนการปฏิบัติ 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา ความรับผดิ ชอบ ความรอบคอบ
6. คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มวี นิ ัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6. มุ่งม่ันในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน : ๑.ใบความรู้ ๒. แบบฝึกหัดการอ่าน 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ครใู ช้วธิ วี ิธีสอนแบบกระบวนการกลมุ่ และวธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการปฏิบตั ิ) ชว่ั โมงท่ี 1 1.ขัน้ นา ๑.ครูทบทวนความรู้เดิมของนกั เรียนเร่ือง “ การอา่ นพยญั ชนะที่ไมม่ ีรูปสระกากบั ” ๒.ข้ันสอน ๑.นกั เรียนทุกคนศึกษาความรู้เรื่อง “ การอา่ นพยญั ชนะท่ีไมม่ ีรูปสระกากบั ” จากหนงั สือเรียนภาษาไทย ชุด ววิ ธิ ภาษา ม.๑ หนา้ ๘ – ๑๑ โดยอา่ นในใจอยา่ งละเอียด ๒.ครูอธิบายเก่ียวกบั คาหรือพยางคท์ ่ีไม่มีรูปสระแตม่ ีเสียงสระ ๓. ครูต้งั คาถามใหน้ กั เรียนแขง่ ขนั กนั ตอบ ๓ – ๕ คาถาม ๔.นกั เรียนแต่ละกลุ่มทาแบบฝึกหดั เขียนคาอ่านของคาท่ีกาหนดให้ เสร็จแลว้ ส่งครูตรวจสอบและประเมินผล ๓.ข้ันสรุป ๑. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเร่ืองการอา่ นพยญั ชนะที่ไม่มีรูปสระกากบั 9. ส่อื การเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ จานวน สภาพการใช้ส่ือ รายการสื่อ 1 ชุด ข้ันสร้างความสนใจ 1 ชดุ ข้ันขยายความรู้ 1. ใบงาน 1 2. ใบความรู้การอ่านออกเสียง
10. การวดั ผลและประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ ประเด็น/ การเรยี นรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน วธิ ีวดั เคร่อื งมือวัดฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน ผู้เรียนสามารถ แบบทดสอบ ผู้เรียนอา่ น แบบประเมินการอ่าน ร้อยละ 60 บอกหลักเกณฑ์ หลังเรยี น ประจาหน่วย ออกเสยี ง ในการอ่านออกเสียง การเรียนรู้ที่ 1 การอา่ น ครสู ังเกต บทออกเสยี ง ผา่ นเกณฑ์ ได้ถูกตอ้ ง(K) ออกเสียง พฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ แบบประเมนิ การ การทางานกลมุ่ อา่ นออกเสียง ผูเ้ รยี น การทางานกลุ่ม 2 ผ่านเกณฑ์ แบบสังเกต ทาแบบทดสอบ แบบทดสอบ พฤติกรรมการทางาน หลังเรียน กลมุ่ หลังเรยี น
11. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรยี น (ตัวอย่าง) หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรยี น พอเพียง - - 11. - - - - 12. - - 13. - - - 14. - - ผู้เรยี น 15. - - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรียน - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (............................................)
ตวั อย่างคาทไ่ี ม่มรี ูปสระกากบั ชดุ ท่ี ๑ มหาราช ปฏริ ปู สัตบุรุษ อคั รราชทูต ปรมั ปรา พลาธิการ พลานามัย สรณะ ปณธิ าน ผรสุ วาท กรกฎาคม อปุ สรรค เยาวชน เอกลักษณ์ กตญั ญู ปรเมศวร์ สารภาพ นราธปิ สุนทรี กลั ปาวสาน ปลาสนาการ ชุดที่ ๒ สถปู ปรกั หกั พง ปลัด ถนน สนับสนนุ แนน่ ขนัด สลาตัน ถนอม ถลก สลัก สลอน ตลก ตลอด จรสั อรริ าช ผวา ฝรงั่ ศาสนา ตวาด ปรติ ร ผลิตผล ผงาด สนม ขยัก ผยอง เผยอ แอร่ม อรอ่ ย
แบบฝึ กหัด คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนคาอ่านของคาท่ีกาหนดใหต้ ่อไปน้ี ที่ คาทก่ี าหนดให้ คาอ่าน ๑ วปิ ราศ ๒ กรมธรรม์ ๓ สรณคมน์ ๔ ปลาสนาการ ๕ อุษณา ๖ อคั รราชทูต ๗ อุบตั ิภยั ๘ ปริตร ๙ สุนทรพจน์ ๑๐ สมรรถนะ ๑๑ กรกฎาคม ๑๒ สาธารณชน ๑๓ ทรชน ๑๔ ปรัมปรา ๑๕ กนกนคร
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง ภาษามีพลัง แผนจดั การเรียนร้ทู ี่ 4 เรือ่ ง การสะกดคา รายวชิ าภาษาไทยรหัสวิชา ท 21101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนกั เวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1 ช่ัวโมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน) มาตราตวั สะกด เปน็ พื้นฐานสาคัญในการเรยี นรู้ภาษาไทย การเขยี นสะกดคาได้ถกู ต้องจะทาให้ผูส้ ่งสารและผรู้ บั สารเขา้ ใจความหมายตรงกัน กอ่ ให้เกิดประโยชน์ต่อการนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ทง้ั ดา้ นการฟัง การพดู การอ่าน และ การเขียน 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัดชั้นปี/ผลการเรยี นรู/้ เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ใหต้ รงกับหลกั สูตรแกนกลาง 2551 ปรบั ปรงุ 2560) มาตรฐาน ท ๔.๑เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ ตวั ชว้ี ัด ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ ม.๑/๓ วเิ คราะห์ชนิดและหนา้ ที่ของคาในประโยค 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge เขียนสะกดในภาษาไทยได้ถูกต้องตามอกั ขรวธิ แี ละสามารถบอกใจความ สาคญั ของเรื่องท่ีอ่านได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นกั เรยี นสามรถเขียนสะกดได้ถูกต้องตามอกั ขรวธิ ีและสามารถบอกิ ใจความสาคญั ของเร่ืองทอี่ า่ นได้ 3.3 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude ผเู้ รยี นมเี จตคตทิ ดี่ ีต่อวิชาภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคญั ของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร ผเู้ รยี นสามารถใชภ้ าษาไทยมาตรฐานสอื่ สารในชีวิตประจาวัน 4.2 ความสามารถในการคิด ผู้เรยี นมที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ ผเู้ รยี นมีกระบวนการปฏิบัติ 5. คุณลกั ษณะของวชิ า ความรับผดิ ชอบ ความรอบคอบ
6. คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มีวนิ ัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมนั่ ในการทางาน 7. รักความเปน็ ไทย 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน : ๑.ใบความรู้ 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ครใู ช้วิธวี ิธสี อนแบบกระบวนการกลุ่ม และวธิ ีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏบิ ตั )ิ ชัว่ โมงท่ี 1 1.ขน้ั นา ๑.นักเรยี นได้รบั แจกกระดาษเปล่าจากครคู นละ ๑ แผ่น ครูใหเ้ วลา ๓ นาที ให้ทุกกลุม่ เขยี นคาศัพท์ท่เี กนิ ๒ พยางค์ จาก เร่อื ง“ภาษามีพลงั ”ให้ได้มากทสี่ ุดพอหมดเวลาให้แตล่ ะกลุม่ นบั ดคู าศัพทท์ เี่ ขียนได้ วา่ มที ้ังหมดกีค่ า ๒.ขนั้ สอน ๑.ครูสุม่ ให้นักเรยี นบอกตัวสะกดในคาศพั ท์ทเ่ี ขยี นไดว้ า่ แตล่ ะคาสะกดดว้ ยพยญั ชนะตวั ใดบ้าง โดยเขยี นแยก เปน็ คาๆ เช่น ลนั ทมคาแรก มีตัว นเปน็ ตัวสะกด คาหลัง มตี ัว ม เปน็ ตวั สะกด ครูแจกใบความรู้ เรื่องมาตรา ตัวสะกด ๒.ครูแจกใบความรู้ เรือ่ งมาตราตัวสะกด ให้แต่ละกลุ่มศกึ ษา แลว้ เปรยี บเทยี บว่าตัวสะกดในคาศัพทข์ อง ตนเองอยู่ในมาตราแม่สะกดใดบา้ ง แยกออกเปน็ คาๆ ๓. ให้นักเรยี นศกึ ษาเร่ืองมาตราตัวสะกดเพิม่ เติมในหนงั สือเรียนภาษาไทยช้ัน ม.๑ ชดุ วิวิธภาษา หนา้ ๙ – ๑๑ ข้อ ๖ – ๑๐ โดยการอ่านออกเสยี ง ๔.นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ทาแบบฝกึ หัด การหาคาท่มี ีตัวสะกดตามมาตราทกี่ าหนดให้ เสรจ็ แลว้ นาส่งครตู รวจสอบ และประกาศผลเป็นคะแนน ๓.ขน้ั สรุป ๑. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปเรอื่ งมาตราตัวสะกด
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรยี นรู้ จานวน สภาพการใช้สอ่ื รายการส่อื 1 ชดุ ขัน้ สร้างความสนใจ 1. ใบงาน 1 1 ชดุ ขน้ั ขยายความรู้ 2. ใบความรู้การอา่ นออกเสยี ง 10. การวัดผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ ประเดน็ / การเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน วิธีวัด เครอ่ื งมอื วดั ฯ เกณฑ์การให้ คะแนน ผู้เรียนสามารถ แบบทดสอบ ผเู้ รยี นอ่าน แบบประเมินการอา่ น รอ้ ยละ 60 บอกหลกั เกณฑ์ หลังเรยี น ประจาหนว่ ย ออกเสยี ง ในการอ่านออกเสียง การเรยี นรทู้ ่ี 1 การอา่ น ครูสังเกต บทออกเสียง ผ่านเกณฑ์ ได้ถูกตอ้ ง(K) ออกเสยี ง พฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ แบบประเมนิ การ การทางานกลุ่ม อา่ นออกเสียง ผู้เรยี น การทางานกลุ่ม 2 ผา่ นเกณฑ์ แบบสังเกต ทาแบบทดสอบ พฤติกรรมการทางาน แบบทดสอบ หลงั เรยี น กล่มุ หลงั เรยี น
11. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรยี น (ตัวอย่าง) หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรยี น พอเพียง - - 16. - - - - 17. - - 18. - - - 19. - - ผู้เรยี น 20. - - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรียน - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (............................................)
ใบความรู้ เรื่องมาตราตวั สะกด มาตราตวั สะกด คือ แม่บทการแจงลูก ที่ใชใ้ นการสะกดภาษาไทย แบง่ ออกเป็น ๙ มาตราตวั สะกดใน ภาษาไทยมีท้งั หมด ๙ มาตรา คือ แม่ ก กา แม่ กก แม่ กง แม่ กด แม่ กน แม่ กบ แม่ กม แม่ เกย และแม่ เกอว ใน ๙ มาตรา จะมีอยู่ ๔ มาตรา ท่ีมีตวั สะกดไม่ตรงมาตรา ซ่ึงไดแ้ ก่ แม่ กก แม่ กด แม่ กน และแม่ กบ แม่ กด คือ พยางคท์ ี่ออกเสียงเหมือนมีตวั “ ต” สะกด มีตวั สะกดที่ไมต่ รงมาตราท้งั หมด ๒๕ ตวั คือ จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส ฒิ ติ ธิ ตุ ชร ตรทร รถ ( ตวั ฉ และ ฌ เป็นตวั สะกดท่ีไม่มีใชเ้ ป็นสามญั ) เช่น กรวด ตารวจ ราชการ กฎหมาย รัฐบาล ครุฑ พฒั นา อนุญาต รถ มารยาท วนั พุธ ประเทศ ทาโทษ ศาสนา เป็นตน้ แม่ กบ คือ พยางคท์ ี่ออกเสียงเหมือนมีตวั “ บ” สะกด มีตวั สะกดท่ีไมต่ รงมาตราท้งั หมด ๔ ตวั คือ ป พ ฟ ภ เช่น กราบไหว้ รูปร่าง เคารพ ยรี าฟ โชคลาภ เป็ นตน้ แม่ กน คือพยางคท์ ี่ออกเสียงเหมือนมีตวั “น” สะกด ตวั สะกดที่ไม่ตรงมาตามมีท้งั หมด ๕ ตวั คือ ญ ณ ร ล ฬ เช่น เรียน บาเพญ็ ปัญญา ขอบคุณ ทหาร อาการ ผลไม้ พยาบาล ฟุตบอล ปลาวาฬ ขา้ วสาร เป็นตน้ แม่ กก คือพยางคท์ ี่ออกเสียงเหมือนมีตวั “ ก” สะกด มีตวั สะกดท่ีไม่ตรงมาตราท้งั หมด ๕ ตวั คือ ข ค ฆ กร คร เวลาอ่านจะออกเสียงเหมือนมี “ก” สะกด เช่น สุขภาพ ประโยค บริจาค มรรค สมคั ร จกั ร เมฆ วหิ ค โรค พญานาค อบายมุข โทรเลข
แบบฝึ กหดั คาชี้แจง ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มเขียนคาศพั ทต์ ามหวั ขอ้ ท่ีกาหนดใหต้ ่อไปน้ี ขอ้ ละ ๕ คา คาท่ีมีตวั สะกดใน แมก่ น ไม่ตรงตามมาตรา..........…………………………………… คาที่มีตวั สะกดใน แม่กบ ไม่ตรงตามมาตรา..........…………………………………… คาที่มีตวั สะกดใน แม่กด ไมต่ รงตามมาตรา..........…………………………………… คาท่ีมีตวั สะกดใน แม่กก ไมต่ รงตามมาตรา..........…………………………………… คาท่ีมีตวั สะกดใน แมก่ ก ตรงตามมาตรา..........……………………………………… คาท่ีมีตวั สะกดใน แมก่ ด ตรงตามมาตรา..........……………………………………… คาท่ีมีตวั สะกดใน แมก่ ม……………………………………………………………… คาท่ีมีตวั สะกดใน แม่เกอว..........................………………………………………..... คาท่ีมีตวั สะกดใน แม่เกย …………………………………………………………… คาที่มีตวั สะกดในแม่กง ……………………………………………………………
ผงั มโนทัศน์ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท 21101 ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 เรือ่ ง วิถีงามความพอเพียง จานวน 3 ช่ัวโมง : 10 คะแนน ชอ่ื เรื่อง การเขยี นเรียงความ ช่ือเร่อื ง การพจิ ารณาคณุ คา่ ของการอา่ น จานวน 1 ช่วั โมง : 3 คะแนน จานวน 1 ชั่วโมง : 3 คะแนน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 เร่อื ง วถิ ีงามความพอเพยี ง จานวน 4 ชวั่ โมง ชื่อเร่ือง การเลอื กอ่านสือ่ สารสนเทศ ช่ือเรอื่ ง อักษรท่ีไม่ออกเสียง จานวน 1 ชวั่ โมง : 3 คะแนน จานวน 1 ชว่ั โมง : 3 คะแนน
แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เร่อื ง ภาษามีพลัง แผนจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง เขยี นเรียงความ รายวชิ าภาษาไทยรหัสวิชา ท 21101 ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 น้าหนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ช่วั โมง/สัปดาห์ เวลาทีใ่ ช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1 ช่วั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั (ความเขา้ ใจทค่ี งทน) การเขียนเรยี งความคือการเรียบเรียงถอ้ ยคา สานวน และประโยคตดิ ต่อเชอื่ มโยงกันใหเ้ ปน็ เร่อื งราวตามโครงเร่ืองที่ กาหนดไว้ ผู้เขยี นต้องศึกษาหลักการ รปู แบบข้นั ตอน วธิ กี าร และเนื้อหาสาระที่ตรงกับหัวข้อทจี่ ะเขียนเรยี งความ นอกจากน้ี ผูเ้ ขยี นเรียงความที่ดีตอ้ งมที ักษะในเรื่องศิลปะการใช้ภาษา จึงจะเขยี นเรียงความได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัดชน้ั ป/ี ผลการเรียนร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ใหต้ รงกับหลักสูตรแกนกลาง 2551 ปรบั ปรุง 2560) มาตรฐาน ท ๒.๑ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนสื่อสาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรือ่ งราวในรปู แบบต่างๆ เขียน รายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ตัวชว้ี ัด ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ม.๑/๔ เขียนเรียงความ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge เขยี นเรยี งความในภาษาไทยได้ถูกต้องตามอกั ขรวิธีและสามารถบอกใจความ สาคญั ของเร่ืองท่ีอา่ นได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรียนสามรถเขยี นเรยี งความได้ถกู ต้องตามอักขรวธิ แี ละสามารถบอกิ ใจความสาคญั ของเร่ืองที่อา่ นได้ 3.3 คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ : Attitude ผเู้ รียนมีเจตคติท่ีดตี อ่ วชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการสอื่ สาร ผ้เู รียนสามารถใชภ้ าษาไทยมาตรฐานสื่อสารในชวี ติ ประจาวนั 4.2 ความสามารถในการคิด ผเู้ รียนมที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ผู้เรียนมีกระบวนการปฏบิ ตั ิ 5. คุณลักษณะของวิชา ความรับผดิ ชอบ ความรอบคอบ 6. คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6. มงุ่ ม่ันในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน : ๑.ใบความรู้ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ครูใชว้ ธิ ีวิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม และวิธสี อนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการปฏิบตั ิ) ชวั่ โมงที่ 1 1.ขั้นนา ๑. ครูสุ่มนกั เรียนออกมาเล่าเรอื่ ง วถิ ีงามความพอเพยี ง ท่ีเตรยี มกนั ไว้ จากน้ันร่วมกันวิจารณก์ ารเลา่ เร่ืองของ แตล่ ะกลุ่ม ๒.ครูนาตัวอย่างเรยี งความของนกั เรียนรุน่ ปีท่แี ลว้ ใหน้ ักเรยี นดูตัวอยา่ งเรยี งความ ให้เวลานกั เรียนอา่ นพิจารณา จากน้ันให้ นักเรียนร่วมกนั อภิปรายเก่ียวกบั คาจากัดความของเรยี งความ ๒.ขนั้ สอน ๑.ให้แตล่ ะคนศึกษาเร่ืองหลักการเขยี นเรยี งความจากใบความรแู้ ละหนงั สือเรียน ๒. ครูให้แต่ละคนจบั สลากอภิปรายตามหวั ข้อทกี่ าหนดให้ ดงั นี้ หลักการเขียนเรียงความ ส่วนประกอบของเรยี งความ แนวปฏิบตั ิเก่ียวกบั การใช้ภาษาในเรยี งความ ๓. นกั เรยี นแตล่ ะคนอภปิ รายหวั ข้อทต่ี นเองได้รับ โดยครจู ะใช้วิธีการสมุ่ ๔.ครบู อกข้อบง่ พร้องและอธิบาย แก้ไขเพิ่มเติมเก่ยี วกบั หลักการเขยี นเรียงความ ๕.ครแู ละนกั เรียนช่วยกันสรุปความรู้เร่อื ง เรยี งความ ดังนี้ ๑) การเขยี นเรยี งความ เปน็ การนาถ้อยคามาผกู ประโยค เรียบเรียงเปน็ เรื่องราวเพื่อแสดงความรู้ความ เขา้ ใจ ความคดิ เหน็ และความรสู้ กึ ของผู้เขียน ใหผ้ ู้อน่ื เขา้ ใจเรื่องราวทีเ่ ขียนด้วยสานวนภาษาที่ สละสลวย ๒) หลกั การเขยี นเรียงความ ตงั้ ชอ่ื เรอื่ ง วางโครงเร่อื งให้สัมพันธก์ ับชือ่ เรือ่ ง และลาดับเร่ืองราวก่อนหลงั ควรแบง่ การเขียนเป็นยอ่ หน้าคานา เนื้อเร่ือง และสรุปในสว่ นของเนื้อเรือ่ ง อาจมีย่อหน้าหลายยอ่ หนา้ ได้ และควรเขียนยอ่ หน้าให้ตรงกัน เขยี นดว้ ยลายมือท่ีชัดเจน อ่านงา่ ย และถูกตอ้ งตามหลักการเขียน
๓) ส่วนประกอบของเรียงความ ไดแ้ ก่ คานา เนือ้ เร่ือง และสรุป ๔) คานา อยสู่ ว่ นแรกของเรียงความ มีความยาวพรอประมาณ แสดงหลักการและเหตผุ ลของเร่ืองท่จี ะเขยี น รวมท้งั ความคิดเหน็ ของผเู้ ขียน ๕) เนื้อเรื่อง เป็นสว่ นสาคัญของเร่ือง อยู่ต่อจากคานา โดยเขียนตามลาดับ โครงเรื่องท่ีวางไวโ้ ดยมีการ อธบิ าย พรรณนาส่วนท่ีเปน็ เน้ือหา มีการอ้างองิ ยกตัวอยา่ งและอุทาหรณป์ ระกบ ๖) สรปุ เปน็ สว่ นสดุ ทา้ ยของเรยี งความ เปน็ การรวบรวมเนื้อหา ยอ่ ลงให้ไดใ้ จความสาคัญ หรืออ้างองิ คาคม สุภาษิต บทรอ้ ยกรองสน้ั ๆ ที่เกี่ยวกับข้อสรปุ ของเน้ือหา อาจมกี ารเสรมิ ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั สนั้ ๆ ๗) แนวปฏิบัตเิ ก่ียวกับการใช้ภาษาในเรียงความ สังเกตภาษา เลอื กใช้คาทเี่ หมาะสม คิดให้แจม่ แจง้ แต่งประโยคสั้น ๆ สัมพนั ธเ์ รอ่ื งราว ๓.ขั้นสรปุ ๑. ครูให้นักเรียนเขียนเรียงความ เกี่ยวกับวันภาษาไทยแห่งชาติ โดยเร่ิมจากกาหนดเรื่อง วางโครงเร่ือง และ แต่งเรื่องโดยแยกงานเปน็ ๒ ช้ิน คือแผนภาพโครงเรือ่ งและเรียงความ ๒. ครูคอยช่วยเหลอื และใหค้ าแนะนาเพมิ่ เตมิ นอกเวลา 9. สือ่ การเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ จานวน สภาพการใชส้ ื่อ รายการส่ือ 1 ชุด ขน้ั สรา้ งความสนใจ 1. ใบงาน 1 1 ชดุ ขน้ั ขยายความรู้ 2. ใบความรู้
10. การวดั ผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ ประเด็น/ การเรยี นรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน วธิ ีวดั เคร่อื งมือวัดฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน ผู้เรียนสามารถ แบบทดสอบ ผู้เรียนอา่ น แบบประเมินการอ่าน ร้อยละ 60 บอกหลกั เกณฑ์ หลังเรยี น ประจาหน่วย ออกเสยี ง ในการอ่านออกเสียง การเรียนรู้ที่ 1 การอา่ น ครสู ังเกต บทออกเสยี ง ผา่ นเกณฑ์ ได้ถูกตอ้ ง(K) ออกเสียง พฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ แบบประเมนิ การ การทางานกลมุ่ อา่ นออกเสียง ผูเ้ รยี น การทางานกลุ่ม 2 ผ่านเกณฑ์ แบบสังเกต ทาแบบทดสอบ แบบทดสอบ พฤติกรรมการทางาน หลังเรียน กลมุ่ หลังเรยี น
11. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรยี น (ตัวอย่าง) หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรยี น พอเพียง - - 21. - - - - 22. - - 23. - - - 24. - - ผู้เรยี น 25. - - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรียน - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (............................................)
ใบความรู้ เรอ่ื ง หลักการเขยี นเรยี งความ การเขยี นเรยี งความ การเขยี นเรียงความ เป็นการเขยี นแสดงความคิด ความรู้สึก โดยใช้คาสานวนภาษาทถี่ กู ต้องเหมาะสมกบั เร่ือง ส่วนประกอบของเรียงความ เรยี งความประกอบด้วยส่วนสาคญั ๓ ส่วน คอื คานา เนื้อเร่ือง และสรุป ดงั น้ี คานาหรือสว่ นนาของเร่ือง ผู้เขียนจะต้องเขียนจงู ใจใหผ้ ูอ้ ่านติดตามอา่ นเนอ้ื เรื่อง อาจนาด้วยสานวนภาษา คาคม บทร้อยกรอง หรือ คาถาม ชวนตดิ ตามหาคาตอบ โดยพยายามให้มีการเชอื่ มโยงไปสูเ่ นือ้ เรอื่ ง เน้อื เรือ่ ง ผเู้ ขียนจะต้องเรียบเรียงถ้อยคาสานวนในการเสนอข้อเทจ็ จริง และรายละเอยี ดท่ีสอดคล้องกับช่ือเรอ่ื งหรือ แนวคดิ ของเรอ่ื งทีก่ าลงั เขยี น การลาดับความมีความสาคญั มาก หากมีเร่ืองทีจ่ ะกลา่ วถงึ หลายเร่ืองใหจ้ ัดลาดบั และ เขียนเปน็ ย่อหน้า โดยแต่ละย่อหนา้ มใี จความสาคัญเพยี งใจความเดียว ความของแตล่ ะย่อหน้าต้องต่อเน่ืองเปน็ เรื่อง เดียวกัน สรปุ ผู้เขียนจะต้องสรปุ ความคดิ และความต้องการของผเู้ ขียน อาจนาสภุ าษิตคาคม บทร้อยกรองทสี่ อดคล้องกับ แนวคิดหรอื เน้ือเร่ืองมาลงท้ายไว้ ลักษณะของเรยี งความท่ดี ี ๑. รูปแบบถกู ต้อง คือ มคี านา เนื้อเรื่อง สรปุ ๒. การลาดับความคดิ ดี ต่อเน่ือง ไม่วกวน ๓. เนอ้ื หาชัดเจน ตรงกบั ช่ือเร่ืองหรือแนวคิดของเร่ือง ๔. ใช้ภาษาถกู ต้องตามหลกั ภาษาไทย สานวนภาษาสละสลวย สภุ าษติ บทรอ้ ยกรองที่นามาใช้ประกอบเน้อื เรอ่ื ง สอดคล้องกัน ๕. มกี ารใชข้ ้อคิดเห็น หรือแสดงความคดิ เชิงสรา้ งสรรค์ หรอื แปลกใหม่ ขน้ั ตอนการเขยี นและพัฒนาการเขียน ข้นั ตอนการเขียนเรยี งความ เหมือนกบั การเขยี นสารคดี บทความ และเรื่องราวต่าง ๆ คอื ขัน้ การวางแผน/ เตรียมการเขยี น ข้นั เขยี นเรื่อง/การลาดบั ความ และขั้นตรวจสอบปรับปรุงสานวนภาษา เพอ่ื ให้ได้ผลงานท่ีถกู ต้อง สมบูรณท์ ่สี ดุ และเพ่อื พัฒนางานเขยี นเรยี งความใหด้ ีขึ้น นอกจากจะต้องฝกึ เขียนสม่าเสมอแล้ว ผเู้ ขียนจะต้องอา่ น หนังสอื มาก ๆ และนาสงิ่ ท่ดี ีมาประยุกต์ใช้ในการเขยี นของตนเอง
การศกึ ษาและพฒั นางานเขียน ๑. อา่ นเรียงความทช่ี นะการประกวดหลาย ๆ สานวน และทาแผนภาพความคิดหัวข้อย่อยทีผ่ ้เู ขียนนาเสนอ ๒. เปรยี บเทยี บแผนภาพความคิดของเรยี งความแตล่ ะเร่ืองทีน่ ามาศกึ ษา ๓. เลือกรูปแบบการนาเสนอท่ีสนใจ ลองเปลี่ยนเร่ืองและกาหนดหัวข้อยอ่ ย ลงในแผนภาพความคดิ ของตนเอง ๔. เขียนเร่อื งตามแผนภาพความคิดของตนเอง โดยคานึงถึงลักษณะของเรียงความท่ดี ี ๕. ปรับปรงุ ผลงาน และฝึกเขียนเรียงความจนเกิดทักษะ สามารถกาหนดวิธกี ารนาเสนอเร่อื งราวโดยใชส้ านวน ภาษาท่สี ละสลวยไดด้ ้วยตนเองทงั้ หมด ขอ้ ระวังในการเขียน การเขียนคาทมี่ ีมากกว่า ๑ พยางค์ โดยแยกไวต้ ่างบรรทัดกนั เรียกว่า การฉีกคา ทาใหค้ วามหมายของคา คลาดเคลอ่ื น จงึ ควรเขยี นคาทั้งคาไว้ในบรรทดั เดยี วกนั หากไม่มเี นื้อที่เพียงพอให้เล่ือนคานัน้ ไปเขียนในบรรทดั ต่อไป เชน่ คาเหล่านเ้ี พื่อนคดิ ว่ามาจากสา ควรเขียนดงั นี้ คาเหล่าน้ีเพ่อื นคดิ ว่ามาจาก เนยี งภาษาใด สาเนยี งภาษาใด …พแ่ี ปง้ ต้องชว่ ยบอกข้นั ควรเขียนดังน้ี …พีแ่ ปง้ ต้องชว่ ยบอก สรุป การเขยี นสรุป ผเู้ ขยี นต้องเขียนใหเ้ กดิ ความประทบั ใจ เชน่ ฝากข้อคิดเห็น สรุปดว้ ยสุภาษิต คาคม บทร้อย กรอง หรือลงทา้ ยดว้ ยการตอบคาถามหรือตง้ั คาถาม เป็นต้น ในการเขียนเรียงความ ผู้เขียนจะต้องจัดทาโครงเร่ืองก่อน เพอ่ื ช่วยใหเ้ ขยี นเรยี งความได้ดี เรยี งความท่ีดีควร ประกอบดว้ ย ๑. ถกู ต้องตามรูปแบบของการเขียนเรียงความ คือ มีคานา เนอื้ เรอ่ื ง และสรปุ ๒. เน้อื เรอ่ื งมสี าระแจม่ ชัด ตรงประเด็น ๓. ลาดบั ความคดิ ไดด้ ี มีความต่อเนือ่ ง ไมว่ กวน ๔. ใชภ้ าษาไดถ้ ูกต้องตามหลักภาษา ๕. มกี ารใชข้ ้อคิดหรือแสดงความคดิ เห็นทแ่ี ปลกใหม่ ๖. สานวนภาษาสละสลวย อาจมีการใช้สานวน ภาษติ บทร้อยกรอง ประกอบการเขยี น
แบบฝกึ หดั คาชี้แจง ให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ เขียนแผนผงั มโนทัศน์ประกอบหวั ข้อเร่ืองท่จี ะเขยี นเรียงความ
แบบฝกึ หดั เรียงความเรื่อง .......................... ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่อื ง ภาษามพี ลัง แผนจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 เรื่อง การพจิ ารณาคณุ คา่ ของการอ่าน รายวิชาภาษาไทยรหัสวชิ า ท 21101 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 นา้ หนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ เวลาที่ใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1 ชวั่ โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจทคี่ งทน) การอ่านจะเกดิ ประโยชน์สูงสดุ ถ้าผู้อา่ นสามารถนาสารประโยชนท์ ่ีได้รับไปประยุกต์ใช้เพ่ือพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าข้นึ ทงั้ ในการศกึ ษาเล่าเรียนการประกอบอาชีพและการดาเนินชีวติ การเลอื กหนงั สืออา่ นผู้อ่านต้องรูว้ ่าหนังสอื ประเภทใดใหส้ าระ เก่ียวกับเรือ่ งใด จึงจะเลือกอ่านได้ถูกต้องตรงประเดน็ 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัดช้นั ปี/ผลการเรยี นรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ให้ตรงกับหลักสูตรแกนกลาง 2551 ปรับปรุง 2560) มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพือ่ นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมนี ิสยั รักการอ่าน ตัวชว้ี ัด ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ม.๑/๘ วเิ คราะหค์ ณุ ค่าที่ไดร้ บั จากการอ่านงานเขยี นอย่าง หลากหลายเพ่อื นาไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวติ 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge พจิ ารณาคุณคา่ ของการอ่านในภาษาไทยไดถ้ ูกต้องตามอกั ขรวิธแี ละสามารถบอก ใจความสาคญั ของเร่อื งทอ่ี า่ นได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นกั เรยี นสามรถพจิ ารณาคุณค่าของการอา่ นไดถ้ ูกต้องตามอักขรวธิ ีและสามารถบอก ใจความสาคัญของเร่ืองทีอ่ า่ นได้ 3.3 คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude ผูเ้ รยี นมเี จตคติที่ดีต่อวิชาภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคญั ของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการสอื่ สาร ผูเ้ รียนสามารถใช้ภาษาไทยมาตรฐานสอื่ สารในชีวิตประจาวนั 4.2 ความสามารถในการคิด ผเู้ รยี นมที ักษะการคิดวเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ผูเ้ รียนมีกระบวนการปฏิบัติ 5. คุณลกั ษณะของวิชา ความรบั ผดิ ชอบ ความรอบคอบ
6. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มีวนิ ัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 6. มุง่ ม่นั ในการทางาน 7. รกั ความเป็นไทย 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : ๑.ใบความรู้ 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ครูใชว้ ิธีวิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม และวธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏิบตั )ิ ช่ัวโมงที่ 1 1.ข้นั นา ๑. ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเร่ือง “การพิจารณาคุณค่าของเร่ืองท่ีอ่าน” ในหนังสือเรยี นภาษาไทย ชุด ววิ ิธ ภาษา หนา้ ๒๑ – ๒๔ จากนั้นชว่ ยกันสรุปสาระและรายละเอยี ดของหนังสอื แต่ละเภท ๒.ขั้นสอน ๑. ครนู าหนังสอื แต่ละประเภทให้นกั เรยี นดูพร้อมทง้ั แนะนาว่าหนังสือนั้นจดั อยูใ่ นประเภทใด ๒. ครใู หแ้ ตล่ ะคนจับสลากเลือกอธิบายรายละเอยี ดของหนังสอื แตล่ ะประเภทดังนี้ ตาราเรียน หนังสอื วิชาการ หนงั สอื พิมพร์ ายวัน นติ ยสาร สารคดี บทความ ความเรียง นทิ าน นวนยิ าย เรอื่ งสน้ั ประวัตศิ าสตร์ ชวี ประวัติ ๓. ครใู หเ้ วลานักเรยี นแต่ละคนเข้าไปศกึ ษาเพม่ิ เติมรายละเอียดปลีกยอ่ ยตา่ งๆของหนังสอื เหล่าน้ีทห่ี ้องสมดุ โรงเรยี น แล้วกลับเขา้ หอ้ ง แตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนนาเสนอขอ้ มลู การค้นคว้าเก่ยี วกับประเภทหนังสือที่ไดจ้ บั สลากได้ ๔. ให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัด บอกช่ือหนังสือทีเ่ รยี นรจู้ ักตามประเภทที่กาหนดให้ ๓.ข้ันสรุป ๑. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปเร่อื ง การพจิ ารณาคุณคา่ ของเรือ่ งที่อา่ น ๒. ครคู อยช่วยเหลือและใหค้ าแนะนาเพม่ิ เตมิ นอกเวลา 9. สอ่ื การเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้
รายการส่ือ จานวน สภาพการใช้ส่ือ 1. ใบงาน 1 ชุด ขน้ั สร้างความสนใจ 2. ใบความรู้ 1 ชดุ ขนั้ ขยายความรู้ 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/ การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน วธิ วี ัด เครื่องมือวัดฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน ผู้เรยี นสามารถ แบบทดสอบ ผเู้ รยี นอา่ น แบบประเมนิ การอา่ น ร้อยละ 60 บอกหลกั เกณฑ์ หลังเรียน ประจาหน่วย ออกเสยี ง ในการอ่านออกเสียง ครูสังเกต บทออกเสยี ง ผา่ นเกณฑ์ ได้ถูกต้อง(K) การเรียนรูท้ ี่ 1 การอ่าน พฤติกรรม ออกเสียง การทางานกลุม่ แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ แบบประเมนิ การ ผูเ้ รยี น อ่านออกเสียง ทาแบบทดสอบ การทางานกลุ่ม 2 ผา่ นเกณฑ์ แบบสังเกต พฤติกรรมการทางาน หลังเรยี น แบบทดสอบ กลมุ่ หลงั เรยี น
11. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรียน (ตัวอย่าง) หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรยี น พอเพียง - - 26. - - - - 27. - - 28. - - - 29. - - ผู้เรยี น 30. - - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรียน - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (............................................)
แบบฝึ กหัด คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบอกชื่อหนงั สือท่ีนกั เรียนรู้จกั ตามประเภทของหนงั สือที่กาหนดใหต้ อ่ ไปน้ี ประเภทละ ๒ ช่ือ ที่ ประเภทหนังสือ ช่ือหนังสือ ๑ หนงั สือพิมพร์ ายวนั ๒ นิตยสารรายสปั ดาห์ ๓ การ์ตูนขาขนั ๔ สารคดี ๕ วารสาร ๖ เร่ืองส้ัน ๗ ชีวประวตั ิ ๘ นวนิยาย ๙ บทละคร ๑๐ บทกวนี ิพนธ์ ๑๑ เร่ืองอิงประวตั ิศาสตร์ ๑๒ บทความ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109