Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

แผนการสอนวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

Published by rujirat.empia, 2021-11-30 01:18:38

Description: แผนการสอนวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

Search

Read the Text Version

1 แผนการจดั การเรียนรู้ มงุ่ เนน้ สมรรถนะตามคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคแ์ ละหลักปรัชญาเศษฐกิจ พอเพยี ง วชิ าอาชวี อนามยั และความปลอดภัย รหัสวิชา 20001-1001 นายโกวทิ ย์ เคาเลิศ ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย ครปู ระจำแผนกวิชาเทคนคิ พนื้ ฐาน วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์(ชลบุร)ี สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยที่ 1 ชอ่ื วิชา อาชีวอนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001-1001 เวลาเรียนรวม 36 คาบ ช่ือหน่วย ความรูเ้ บือ้ งตน้ เก่ียวกบั อาชวี อนามยั สอนครง้ั ท่ี 1/18 และความปลอดภยั จานวน 2 คาบ ชอื่ เรอ่ื ง หัวข้อเรอ่ื ง 1.5 แนวทางในการปอ้ งกนั การประสบอนั ตราย 1.6 บคุ ลากรท่เี กี่ยวขอ้ งกบั งานอาชวี อนามยั และ 1.1 ความหมายของอาชีวอนามยั 1.2 ความสาคญั ของงานอาชวี อนามยั และ ความปลอดภยั 1.7 ประโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั จากการจดั การอาชวี - ความปลอดภยั 1.3 การสญู เสยี ท่เี กิดจากงานอาชีวอนามยั และ อนามยั และความปลอดภยั ความปลอดภยั 1.4 สาเหตขุ องการเกดิ ความไมป่ ลอดภยั จากการทางาน สาระสาคัญ/แนวคดิ สาคัญ งานอาชวี อนามยั และความปลอดภยั คือ งานบรกิ ารสาธารณะสขุ ท่เี กดิ จากความตระหนกั ถงึ ภยั อนั ตราย ท่เี กดิ ขนึ้ จากการทางาน ท่ที าใหเ้ กิดความสญู เสยี ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม กระทบตอ่ สงั คมเศรษฐกิจโดยรวมของ ประเทศ งานอาชีวอนามยั และความปลอดภยั จงึ เป็นงานท่ตี อ้ งมีองคก์ รและบคุ ลากรหลายฝ่ายดาเนนิ งานทงั้ ดา้ น การปอ้ งกนั และบรรเทาเหตใุ หเ้ กดิ อนั ตรายและลดการสญู เสยี ใหน้ อ้ ยท่สี ดุ และเกิดผลดตี อ่ ผปู้ ฏิบตั งิ านโดยตรงและ สถานประกอบการ สมรรถนะย่อย แสดงความรูเ้ บอื้ งตน้ และปฏิบตั ิเกี่ยวกบั อาชีวอนามยั และความปลอดภยั จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. บอกความหมายของอาชีวอนามยั 2. บอกความสาคญั ของงานอาชีวอนามยั และความปลอดภยั 3. จาแนกการสญู เสียท่เี กิดจากงานอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 4. อธิบายสาเหตขุ องการเกิดความไม่ปลอดภยั จากการทางาน 5. บอกแนวทางในการปอ้ งกนั การประสบอนั ตราย 6. จาแนกบทบาทหนา้ ท่ขี องบคุ ลากรท่เี ก่ียวขอ้ งกบั งานอาชีวอนามยั และความปลอดภยั 7. บอกประโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั จากการจดั การอาชีวอนามยั และความปลอดภยั ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสตั ย์ สจุ ริต ความมีนา้ ใจ, แบ่งบนั

3 เนือ้ หาสาระ 1.1 ความหมายของอาชีวอนามยั อาชีวอนามยั หมายถึง การส่งเสรมิ และการดารงรกั ษาสขุ ภาพรวมทงั้ การควบคมุ และป้องกัน โรค ตลอดจนอุบัติเหตุ จากการทางานของผูป้ ระกอบอาชีพทุกอาชีพ การอาชีวอนามัย จึงเป็นการดูแล สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพการทางาน เช่น อาชีพด้านเกษตรกรร ม อตุ สาหกรรม พาณิชกรรม เหมืองแร่ ป่ าไม้ ประมง และอาชีพก่อสรา้ ง หรืออาชีพอ่ืนใดย่อมไดร้ บั การดูแล ในดา้ นสขุ ภาพอนามยั และความปลอดภยั ทงั้ สนิ้ 1.2 ความสาคญั ของงานอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 1.3 การสญู เสยี ท่เี กิดจากงานอาชีวอนามยั และความปลอดภยั 1.3.1 ความสญู เสียทางตรง หมายถึง จานวนเงินท่ีตอ้ งจา่ ยไปอนั เก่ียวเน่ืองกบั ผไู้ ดร้ บั บาดเจ็บ โดยตรงจากการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ ไดแ้ ก่ ค่ารกั ษาพยาบาล คา่ เงนิ ทดแทน คา่ ทาขวญั ค่าทาศพ ค่าประกนั ชวี ิต 1.3.2 ความสูญเสียทางออ้ ม หมายถึง ค่าใชจ้ ่ายอ่ืน ๆ ซ่ึงส่วนใหญ่จะคานวณเป็นตัวเงินได้ นอกเหนือจากค่าใชจ้ ่ายทางตรงสาหรบั การเกิดอบุ ตั ิเหตแุ ต่ละครงั้ เช่น การสญู เสียเวลาทางานของคนงาน หรือผบู้ าดเจบ็ เพ่อื รกั ษาพยาบาล คนงานอ่นื หรอื เพ่อื นรว่ มงานท่ตี อ้ งหยุดชะงกั ช่วั คราว เป็นตน้ 1.4 สาเหตขุ องการเกิดความไมป่ ลอดภยั จากการทางาน การเกิดความไม่ปลอดภัยจากการทางานมีอยู่ 2 สาเหตุใหญ่ ๆ คือ การปฏิบัติงานท่ีไม่ ปลอดภยั ของคนงาน (Unsafe Act) และสภาพของงานท่ไี มป่ ลอดภยั (Unsafe Condition) 1.5 แนวทางในการปอ้ งกนั การประสบอนั ตราย การกาหนดมาตรการความปลอดภยั การตรวจความปลอดภยั การศึกษาวิจยั ความปลอดภัย การฝึกอบรมความปลอดภยั การปรบั ปรุงสภาพการทางานและส่ิงแวดลอ้ มในการทางาน เป็นตน้ 1.6 บคุ ลากรท่เี กี่ยวขอ้ งกบั งานอาชีวอนามยั และความปลอดภยั 1.7 ประโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั จากการจดั การอาชีวอนามยั และความปลอดภยั กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 1/18) 1. ครูและนกั เรียนกาหนดกติกาในการเรียนรว่ มกนั การวดั ผลและประเมินผล ครูอธิบายจดุ ประสงค์ การเรียนรูห้ น่วยท่ี 1 และสอดแทรกความรูเ้ ร่อื งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เศรษฐกิจพอเพียง 2. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรยี น 3. ครูสอนและอธิบายเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรียนช่วยกนั สรุปเรื่องท่ีเรียน โดยใชผ้ งั ความคดิ บนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น 6. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรยี น

4 การวดั ผลและประเมนิ ผล การประเมินผล (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวดั ผล (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) (ใชเ้ ครอ่ื งมือ) เกณฑผ์ ่าน 50% 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หนว่ ยท่ี 1 เกณฑผ์ า่ น 50% 2. แบบสงั เกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ า่ น 50% 3. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หน่วยท่ี 1 5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ งานทมี่ อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเวลาเรียน ไมม่ ี ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเรจ็ ของผเู้ รยี น 1. ผลการนาเสนองานกลมุ่ 2. คะแนนจากแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 1 เอกสารอ้างองิ 1. หนงั สือเรยี นวิชาอาชีวอนามยั และความปลอดภยั รหสั วิชา 20001–1001 บรษิ ัทศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย จากดั 2. เว็บไซตแ์ ละส่ือสง่ิ พมิ พท์ ่เี กี่ยวขอ้ งกบั เนือ้ หาบทเรียน

5 บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

6 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 หน่วยที่ 2 ชื่อวิชา อาชีวอนามยั และความปลอดภยั รหสั 2001–1004 เวลาเรยี นรวม 36 คาบ ชือ่ หน่วย การปอ้ งกนั และควบคมุ มลพิษจากสภาพ- สอนครง้ั ท่ี 2/18 แวดลอ้ มในการทางาน จานวน 2 คาบ ช่อื เร่ือง หัวขอ้ เรอื่ ง 2.1 ความหมายของสภาพแวดลอ้ มในการทางาน 2.2 ปัจจยั สภาพแวดลอ้ มในการทางาน 2.3 ความสาคญั ของสงิ่ แวดลอ้ มในการทางาน 2.4 หลกั การตรวจประเมนิ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน 2.5 หลกั การปรบั ปรุงและควบคมุ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน สาระสาคัญ/แนวคดิ สาคัญ การจัดสภาพแวดลอ้ มในการทางานให้ปลอดภัย ถือเป็นประเด็นสาคัญในการดาเนินงานความ ปลอดภัยในการทางาน ซ่ึงจะตอ้ งใหก้ ารมุ่งเน้นและนาลงสู่การปฏิบตั ิอย่างจริงจัง เพ่ือการพัฒนาความ ปลอดภยั และคณุ ภาพชีวิตของผปู้ ฏิบตั ิงาน โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก ท่มี กั พบว่ามีปัญหาการจดั การสภาพแวดลอ้ มในการทางาน นอกจากนี้ รูปแบบการทางานและกระบวนการ ผลิต ยงั นามาซ่งึ อนั ตรายหรอื ความเสี่ยงในทางาน ไม่วา่ จะเป็นการสมั ผสั ปัจจยั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ หรอื สภาพการทางาน ดงั นนั้ จงึ เป็นการจาเป็นอย่างยง่ิ ท่ที กุ ฝ่าย ทงั้ นายจา้ ง ลกู จา้ ง รวมถึงผทู้ ่ี เก่ียวข้อง จะตอ้ งใหค้ วามร่วมมือในการดาเนินมาตรการเชิงควบคุมและป้องกันใหม้ ีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธิผลสงู สดุ สมรรถนะยอ่ ย แสดงความรูแ้ ละปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั การปอ้ งกนั และควบคมุ มลพษิ จากสภาพแวดลอ้ มในการทางาน จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. บอกอนั ตรายจากมลพิษในสภาพแวดลอ้ มการทางาน 2. บอกหลกั การปอ้ งกนั และควบคมุ มลพิษในสภาพแวดลอ้ มการทางาน 3. อธิบายวธิ ีการปอ้ งกนั และควบคมุ มลพิษในสภาพแวดลอ้ มการทางานดา้ นชวี ภาพ 4. อธิบายวิธีการปอ้ งกนั และควบคมุ มลพิษในสภาพแวดลอ้ มการทางานดา้ นกายภาพ

7 5. อธิบายวธิ ีการปอ้ งกนั และควบคมุ มลพษิ ในสภาพแวดลอ้ มการทางานดา้ นเคมี 6. บอกประโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั จากการจดั การอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสตั ย์ สจุ รติ ความมนี า้ ใจ, แบ่งบนั เนือ้ หาสาระ 2.1 ความหมายของสภาพแวดลอ้ มในการทางาน สภาพแวดล้อมในการทางานโดยท่ัวไป หมายถึง สภาพต่าง ๆ ท่ีอยู่ล้อมรอบตัวผู้ปฏิบัติงาน ในขณะท่ีทางาน เช่น หัวหนา้ ผูค้ มุ งาน เพ่ือนร่วมงาน เครื่องจักร เคร่ืองกล เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ อากาศท่ีหายใจ แสงสว่าง เสียง ความส่นั สะเทือน รงั สี ความรอ้ น ความเย็น ก๊าซ ไอ ฝุ่น ฟูม ละออง และ สารเคมีอ่นื ๆ และยงั รวมถงึ เชอื้ โรคและสตั วต์ า่ ง ๆ เป็นตน้ 2.2 ปัจจยั สภาพแวดลอ้ มในการทางาน ปัจจัยสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ปัจจยั สภาพแวดลอ้ มทางเคมี ปัจจัยสภาพแวดลอ้ มทาง ชีวภาพ ปัจจยั ทางเออรก์ อนอมิกสแ์ ละจติ วิทยาสงั คม 2.3 ความสาคญั ของส่งิ แวดลอ้ มในการทางาน อันตรายจากปัจจัยสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ อันตรายจากปัจจัยสภาพแวดลอ้ มทางเคมี อนั ตรายจากปัจจยั สภาพแวดลอ้ มทางชีวภาพ อนั ตรายจากปัจจยั เออรก์ อนอมคิ สแ์ ละจิตวทิ ยาสงั คม 2.4 หลกั การตรวจประเมินสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ขั้นตอนการตรวจประเมินสภาพแวดล้อมในการทางาน การตรวจวัดระดับแสงสว่าง การ ตรวจวดั ระดบั ความดงั เสยี ง การตรวจวดั สภาพความรอ้ น การตรวจประเมนิ ระดบั ความเขม้ ขน้ ของสารเคมี 2.5 หลกั การปรบั ปรุงและควบคมุ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน การควบคมุ ทางดา้ นวศิ วกรรม การควบคมุ โดยการบรหิ ารจดั การ กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาหท์ ี่ 2/18) 1. ครูทบทวนเนือ้ หาโดยสรุปของหน่วยท่ี 1 2. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรยี น 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียนในหนว่ ยท่ี 2 และดาเนนิ การสอนตามเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรยี นชว่ ยกนั สรุปเร่ืองท่ีเรียน โดยใชผ้ งั ความคิดบนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น 6. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบหลงั เรยี น 7. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั แบบทดสอบและสรุปผล

8 การวดั ผลและประเมนิ ผล การประเมินผล (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวดั ผล (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) (ใชเ้ ครอ่ื งมือ) เกณฑผ์ ่าน 50% 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หนว่ ยท่ี 2 เกณฑผ์ า่ น 50% 2. แบบสงั เกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ า่ น 50% 3. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หน่วยท่ี 2 5. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ งานทมี่ อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเวลาเรียน ไมม่ ี ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเรจ็ ของผเู้ รยี น 1. ผลการนาเสนองานกลมุ่ 2. คะแนนจากแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 2 เอกสารอ้างองิ 1. หนงั สือเรยี นวิชาอาชีวอนามยั และความปลอดภยั รหสั วิชา 20001–1001 บรษิ ัทศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย จากดั 2. เว็บไซตแ์ ละส่ือสง่ิ พมิ พท์ ่เี กี่ยวขอ้ งกบั เนือ้ หาบทเรียน

9 บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพ่ี บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

10 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 หน่วยที่ 3 ชื่อวิชา อาชีวอนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001–1001 เวลาเรียนรวม 36คาบ ชื่อหน่วย อปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล สอนครงั้ ท่ี 3/18 ช่ือเรอ่ื ง อปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล จานวน 2 คาบ หัวข้อเรือ่ ง 3.1 อปุ กรณป์ อ้ งกนั ศีรษะ 3.2 อปุ กรณป์ อ้ งกนั หู 3.3 อปุ กรณป์ อ้ งกนั ตา 3.4 อปุ กรณป์ อ้ งกนั ใบหนา้ 3.5 อปุ กรณป์ อ้ งกนั มอื และนวิ้ มือ 3.6 อปุ กรณป์ อ้ งกนั เทา้ และขา 3.7 อปุ กรณป์ อ้ งกนั ลาตวั 3.8 อปุ กรณป์ อ้ งกนั ระบบการหายใจ 3.9 อปุ กรณช์ ่วยชีวิตในการทางาน 3.10 อปุ กรณป์ อ้ งกนั รา่ งกาย 3.11 การสง่ เสรมิ ใหค้ นงานใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล สาระสาคญั /แนวคดิ สาคญั การทางานในสภาวะท่ีจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายไม่ว่าจะเป็ นอวัยวะส่วนใดตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า จาเป็นตอ้ งสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วน บุคคลจะตอ้ งมีมาตรฐาน สามารถป้องกนั อนั ตรายได้ และไม่ขดั ขวางการปฏิบตั ิงาน สถานประกอบการตอ้ ง จดั หาและสง่ เสรมิ ใหพ้ นกั งานใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั อันตรายสว่ นบคุ คล สมรรถนะย่อย เลือกใชเ้ ครอ่ื งปอ้ งกนั อนั ตรายตามสถานการณ์ จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. บอกชนิดของอปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล 2. อธิบายการใชแ้ ละการบารุงรกั ษาอปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายส่วนบุคคล 3. อธิบายหลกั การสง่ เสรมิ ใหค้ นงานใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสตั ย์ สจุ ริต ความมีนา้ ใจ, แบ่งบนั

11 เนือ้ หาสาระ 3.1 อปุ กรณป์ อ้ งกนั ศรี ษะ ประกอบดว้ ย หมวกแขง็ นริ ภยั และวสั ดคุ ลมุ ผม 3.2 อปุ กรณป์ อ้ งกนั หู ประกอบดว้ ย เครื่องอดุ รูหู เคร่อื งปิดหู 3.3 อุปกรณ์ป้องกันตา ประกอบดว้ ย ครอบแว่น แว่นตานิรภัย ครอบป้องกนั สารเคมี ครอบกันฝุ่น ชนิดหนา้ กากหนงั ครอบตาสาหรบั งานเหมอื ง ครอบตาสาหรบั งานหลอมโลหะ ครอบตาสาหรบั งานเช่ือม 3.4 อปุ กรณป์ ้องกันใบหนา้ ประกอบดว้ ย กะบงั ป้องกันใบหนา้ หนา้ กากกรองแสง หมวกครอบกัน กรด หมวกครอบแบบจา่ ยอากาศ 3.5 อปุ กรณ์ป้องกนั มือและนิว้ มือ ประกอบดว้ ย ถงุ มือใยหิน ถุงมือใยโลหะ ถุงมือยางนีโอพรีนหรือ ไว-นิล ถงุ มอื ยาง ถงุ มือหนงั ถงุ มือหนงั ววั เสรมิ เหล็ก ถุงมือผา้ หรือใยทออย่างอ่ืน ๆ ถงุ มือใยทอเคลือบนา้ ยา ถงุ มอื ยางสาหรบั งานไฟฟ้าแรงสงู หนงั หมุ้ มือหรอื เบาะรองมอื 3.6 อปุ กรณ์ป้องกันเทา้ และขา ประกอบดว้ ย รองเทา้ หุม้ ขอ้ รองเทา้ หุม้ แข็ง รองเทา้ พืน้ โลหะใชใ้ น งานก่อสรา้ ง รองเทา้ พืน้ ไม้ รองเทา้ หวั โลหะ 3.7 อปุ กรณป์ อ้ งกนั ลาตวั 3.8 อปุ กรณป์ อ้ งกนั ระบบการหายใจ ประกอบดว้ ย เคร่อื งกรองอากาศ เคร่อื งช่วยหายใจ 3.9 อปุ กรณช์ ่วยชวี ิตในการทางาน ประกอบดว้ ย เข็มขดั นริ ภยั ท่ใี ชง้ านท่วั ไป เขม็ ขดั นิรภยั ประเภทท่ี ตอ้ งใชป้ อ้ งกนั การตกจากท่สี งู กระเชา้ ชงิ ชา้ สายรดั ลาตวั เชือกนิรภยั 3.10 อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย ประกอบดว้ ย ผ้าท่ีฉาบด้วยอะลูมิเนียม ผา้ ท่ีทอดว้ ยใยหิน ผ้าฝ้าย ปอ้ งกนั ไฟ ผา้ ใยแกว้ วสั ดกุ นั ซมึ ฯลฯ 3.11 การสง่ เสรมิ ใหค้ นงานใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาหท์ ่ี 3/18) 1. ครูทบทวนเนือ้ หาโดยสรุปของหน่วยท่ี 2 2. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบก่อนเรยี น 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นในหนว่ ยท่ี 3 และดาเนนิ การสอนตามเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรียนช่วยกนั สรุปเร่ืองท่ีเรยี น โดยใชผ้ งั ความคดิ บนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียน 6. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบหลงั เรยี น 7. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั แบบทดสอบและสรุปผล

12 การวดั ผลและประเมนิ ผล การประเมนิ ผล (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวัดผล (ไวเ้ ปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) (ใชเ้ ครอ่ื งมือ) เกณฑผ์ า่ น 50% 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หนว่ ยท่ี 3 เกณฑผ์ ่าน 50% 2. แบบสงั เกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ า่ น 50% 3. แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 3 เกณฑผ์ า่ น 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 3 5. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ งานทม่ี อบหมาย งานท่มี อบหมายนอกเวลาเรียน ไมม่ ี ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาเร็จของผูเ้ รยี น 1. ผลการนาเสนองานกลมุ่ 2. คะแนนจากแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 3 เอกสารอา้ งองิ 1. หนงั สือเรยี นวิชาอาชีวอนามยั และความปลอดภยั รหสั วชิ า 20001–1001 บรษิ ัทศนู ยห์ นงั สอื เมืองไทย จากดั 2. เว็บไซตแ์ ละสื่อส่งิ พิมพท์ ่เี กี่ยวขอ้ งกบั เนือ้ หาบทเรยี น

13 บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรยี น ครูผสู้ อน

14 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 หน่วยที่ 4 ชอื่ วชิ า อาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001–1001 เวลาเรียนรวม 36 คาบ ชอื่ หน่วย สีและสญั ลกั ษณเ์ พ่อื ความปลอดภยั สอนครงั้ ท่ี 4/18 ช่ือเรื่อง สแี ละสญั ลกั ษณเ์ พ่อื ความปลอดภยั จานวน 2 คาบ หัวข้อเรอื่ ง 4.1 สเี พ่อื ความปลอดภยั 4.2 สญั ลกั ษณเ์ พ่อื ความปลอดภยั 4.3 การตดิ ตงั้ ปา้ ยสญั ลกั ษณค์ วามปลอดภยั สาระสาคัญ/แนวคดิ สาคญั สีและสัญลักษณ์เพ่ือความปลอดภัยนามาใช้เพ่ือแสดงให้ทราบถึงหน้าท่ีของอุปกรณ์ควบคุม เคร่ืองจักร สภาวะปลอดภัยหรืออันตราย และให้ปฏิบัติตามหรือหา้ มปฏิบัติแล้วแต่กรณี การใช้สีและ สญั ลกั ษณค์ วามปลอดภยั ในอตุ สาหกรรมจะตอ้ งแสดงไวใ้ นตาแหนง่ ท่เี หมาะสมสามารถมองเหน็ ไดช้ ดั เจน สมรรถนะย่อย อา่ นและปฏิบตั ิตามเคร่ืองหมายและสญั ลกั ษณค์ วามปลอดภยั จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. บอกความหมายของสีเพ่อื ความปลอดภยั 2. บอกความหมายของสญั ลกั ษณเ์ พ่อื ความปลอดภยั 3. บอกความหมายของสญั ลกั ษณเ์ ตอื น 4. บอกความหมายของสญั ลกั ษณแ์ สดงสภาวะความปลอดภยั 5. บอกความหมายของสญั ลกั ษณก์ ารปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั 6. บอกความหมายของสญั ลกั ษณบ์ งั คบั ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสตั ย์ สจุ ริต ความมีนา้ ใจ, แบ่งบนั

15 เนือ้ หาสาระ ตวั อย่างการใชง้ าน สตี ัด สขี าว 4.1 สีเพ่อื ความปลอดภยั สีขาว สเี พอ่ื ความปลอดภยั ความหมาย สขี าว – เครอื่ งหมายหยดุ หยดุ – เครอ่ื งหมายอปุ กรณห์ ยดุ ฉกุ เฉิน – เคร่ืองหมายหา้ ม บงั คบั ใหต้ อ้ งปฏบิ ตั ิ – บงั คบั ใหต้ อ้ งสวมเคร่อื งป้องกนั ส่วนบคุ คล – เครื่องหมายบงั คบั – ทางหนี – ทางออกฉกุ เฉิน แสดงสภาวะปลอดภยั – ฝักบวั ชาระลา้ งฉกุ เฉิน – หน่วยงานปฐมพยาบาล – หน่วยกภู้ ยั – เครื่องหมายสารนเิ ทศเก่ียวกบั ภาวะปลอดภยั ระวงั มีอนั ตราย – ชีบ้ ง่ วา่ มอี นั ตราย (เชน่ ไฟ วตั ถรุ ะเบิด กมั มนั ตภาพรงั สี สดี า วตั ถมุ ีพษิ และอืน่ ๆ) – ชีบ้ ง่ ถึงเขตอนั ตราย ทางผา่ นท่มี อี นั ตราย เครอ่ื งกีดขวาง – เครื่องหมายเตอื น 4.2 สญั ลกั ษณเ์ พ่อื ความปลอดภยั ดงั เช่น ประเภท รูปแบบ สที ใี่ ช้ หมายเหตุ สญั ลกั ษณห์ า้ ม สพี นื้ : สขี าว – พนื้ ท่ขี องสีแดงตอ้ งมอี ยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 35 สีของแถบตามขอบวงกลม ของพืน้ ท่ที งั้ หมดของสญั ลกั ษณ์ และแถบขวาง : สแี ดง สญั ลกั ษณภ์ าพ : สีดา สญั ลกั ษณบ์ งั คบั สพี นื้ : สีฟา้ – พืน้ ท่ีของสีฟ้าตอ้ งมีอย่างน้อยรอ้ ยละ 50 สีของสญั ลกั ษณภ์ าพ : สีขาว ของพนื้ ท่ที ง้ั หมดของสญั ลกั ษณ์

16 สญั ลกั ษณส์ ารนิเทศ สพี นื้ : สีเขียว – พืน้ ท่ีของสีเขียวตอ้ งมีอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 50 เกี่ยวกบั สภาวะปลอดภยั สีของสญั ลกั ษณภ์ าพ : สีขาว – ของพนื้ ท่ที ง้ั หมดของสญั ลกั ษณ์ อาจใชร้ ูปแบบเป็นส่เี หลี่ยมผนื ผา้ ได้ สญั ลกั ษณเ์ ตือน สีพนื้ : สีเหลอื ง สขี องแถบตามขอบ : สีดา – พนื้ ท่ขี องสีเหลืองตอ้ งมอี ยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 50 สขี องสญั ลกั ษณภ์ าพ : สดี า ของพืน้ ท่ที งั้ หมดของสญั ลกั ษณ์ 4.3 การตดิ ตงั้ ปา้ ยสญั ลกั ษณค์ วามปลอดภยั ในสถานประกอบการหรือโครงการก่อสร้างจะต้องแสดงป้ายสัญลักษณ์ความปลอดภัย ในตาแหน่งท่ีสามารถเห็นไดช้ ดั เจน ใหพ้ นักงานและบุคคลท่วั ไปสงั เกตเห็นได้ เพ่ือใหป้ ฏิบตั ิตามไดถ้ กู ตอ้ ง และเกดิ ความปลอดภยั กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาหท์ ี่ 4/18) 1. ครูทบทวนเนือ้ หาโดยสรุปของหนว่ ยท่ี 3 2. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบก่อนเรยี น 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นในหน่วยท่ี 4 และดาเนินการสอนตามเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรียนช่วยกนั สรุปเรื่องท่ีเรยี น โดยใชผ้ งั ความคิดบนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น 6. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรยี น 7. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั แบบทดสอบและสรุปผล

17 การวดั ผลและประเมนิ ผล การประเมนิ ผล (นาผลเทยี บกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวัดผล (ไวเ้ ปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) (ใชเ้ ครอ่ื งมือ) เกณฑผ์ ่าน 50% 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หนว่ ยท่ี 4 เกณฑผ์ ่าน 50% 2. แบบสงั เกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ ่าน 50% 3. แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 4 เกณฑผ์ า่ น 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 4 5. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ งานทม่ี อบหมาย งานท่มี อบหมายนอกเวลาเรียน ไมม่ ี ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาเร็จของผูเ้ รยี น 1. ผลการนาเสนองานกลมุ่ 2. คะแนนจากแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 4 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 4 เอกสารอา้ งองิ 1. หนงั สือเรยี นวิชาอาชีวอนามยั และความปลอดภยั รหสั วิชา 20001–1001 บรษิ ัทศนู ยห์ นงั สอื เมืองไทย จากดั 2. เว็บไซตแ์ ละสื่อส่งิ พิมพท์ ่เี กี่ยวขอ้ งกบั เนือ้ หาบทเรยี น

18 บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

19 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 หน่วยที่ 5 ชอ่ื วชิ า อาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001–1001 เวลาเรียนรวม 36 คาบ ชือ่ หน่วย ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องมอื และเครือ่ งจกั ร สอนครง้ั ท่ี 5/18 ช่อื เรอื่ ง ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งมอื และเครือ่ งจกั ร จานวน 2 คาบ หัวขอ้ เรอ่ื ง 5.1 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งมอื 5.2 ความปลอดภยั ในการใชเ้ คร่อื งจกั ร สาระสาคัญ/แนวคิดสาคัญ อบุ ตั ิเหตทุ ่ีเกิดจากการใชเ้ ครือ่ งมือและเครื่องจกั รในงานอตุ สาหกรรมนนั้ มีสถิติท่เี กดิ ขึน้ สงู ท่ที าใหเ้ กิด การบาดเจบ็ ตงั้ แตเ่ ล็กนอ้ ย สาหสั จนกระท่งั เสียชีวติ เพ่อื ใหเ้ กิดความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอื่ งมือเครื่องจกั ร จึงต้องศึกษาถึงสาเหตุและการป้องกัน ข้อห้ามและข้อควรปฏิบัติในการใช้เครื่องมือเคร่ืองจักร การใช้ อปุ กรณป์ อ้ งกนั เพ่อื ใหเ้ กิดความปลอดภยั ในการปฏิบตั งิ าน สมรรถนะย่อย ใชเ้ คร่อื งมอื เคร่อื งจกั รเพ่ือใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในการปฏิบตั งิ าน จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. อธิบายสาเหตแุ ละการปอ้ งกนั อนั ตรายในการใชเ้ คร่ืองมือ 2. อธิบายสาเหตแุ ละการปอ้ งกนั อนั ตรายในการใชเ้ ครื่องจกั ร 3. วเิ คราะหอ์ นั ตรายจากเครื่องจกั ร 4. บอกประเภทของอนั ตรายจากเคร่ืองจกั ร 5. บอกช่อื อปุ กรณก์ ารปอ้ งกนั อนั ตรายจากเครอ่ื งจกั ร 6. อธิบายหลกั และวธิ ีปอ้ งกนั อนั ตรายจากเครอ่ื งจกั ร ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสตั ย์ สจุ ริต ความมนี า้ ใจ, แบง่ บนั

20 เนือ้ หาสาระ 5.1 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งมอื ใชเ้ ครื่องมือใหเ้ หมาะกับงาน การบารุงรกั ษาใหเ้ ครื่องมืออยู่ในสภาพท่ีดีและใชก้ ารอยู่ไดเ้ สมอ ใชเ้ ครื่องมือให้ถูกตอ้ งหรือใชเ้ คร่ืองมือตามขั้นตอนหรือวิธีการท่ีกาหนดไว้ เก็บรกั ษาเครื่องมือในท่ีเก็บท่ี เหมาะสมและปลอดภยั 5.2 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งจกั ร การวิเคราะหอ์ นั ตรายจากเครื่องจกั ร ประเภทของอนั ตรายจากเคร่ืองจกั ร อปุ กรณก์ ารปอ้ งกนั อนั ตรายจากเครอ่ื งจกั ร การปอ้ งกนั อนั ตรายจากเคร่ืองจกั ร ขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ ครอื่ งจกั ร กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 5/18) 1. ครูทบทวนเนือ้ หาโดยสรุปของหนว่ ยท่ี 4 2. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบก่อนเรยี น 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียนในหนว่ ยท่ี 5 และดาเนนิ การสอนตามเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรียนช่วยกนั สรุปเรื่องท่ีเรียน โดยใชผ้ งั ความคิดบนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น 6. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรยี น 7. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั แบบทดสอบและสรุปผล การวดั ผลและประเมินผล การประเมนิ ผล (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวัดผล (ไวเ้ ปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรยี น) (ใชเ้ ครื่องมือ) เกณฑผ์ า่ น 50% 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หน่วยท่ี 5 เกณฑผ์ า่ น 50% 2. แบบสงั เกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ ่าน 50% 3. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 5 5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ งานทมี่ อบหมาย งานท่มี อบหมายนอกเวลาเรียน ไม่มี ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาเรจ็ ของผเู้ รยี น ผลการนาเสนองานกลมุ่ คะแนนจากแบบฝึกหดั คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test)

21 บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

22 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 หน่วยที่ 6 ชือ่ วิชา อาชีวอนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001–1001 เวลาเรยี นรวม 36 คาบ ชื่อหน่วย ความปลอดภยั ในการเคล่ือนยา้ ยวสั ดุ สอนครง้ั ท่ี 6/18 ช่อื เรื่อง ความปลอดภยั ในการเคล่ือนยา้ ยวสั ดุ จานวน 2 คาบ หัวขอ้ เร่ือง 6.1 การเคลือ่ นยา้ ยวสั ดโุ ดยใชก้ าลงั คน 6.2 การเคลือ่ นยา้ ยวสั ดโุ ดยใชเ้ ครอ่ื งจกั ร สาระสาคญั /แนวคดิ สาคญั การยกและเคลื่อนยา้ ยวสั ดโุ ดยท่วั ๆ ไป จะก่อใหเ้ กิดการบาดเจ็บไดถ้ ึงรอ้ ยละ 20 – 25 ของการ ประสบอันตรายทงั้ หมด การใหพ้ นักงานไดศ้ ึกษาวิธีการเคลื่อนยา้ ยวสั ดุอย่างถูกวิธีทงั้ การยกดว้ ยแรงกาย อย่างเดียวและการใชเ้ คร่ืองจักรกลตลอดจนอุปกรณ์ผ่อนแรงต่าง ๆ จะช่วยลดอันตรายจากการยกและ เคล่อื นยา้ ยวสั ดไุ ด้ สมรรถนะยอ่ ย แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั ความปลอดภยั ในการเคลื่อนยา้ ยวัสดุ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. บอกวธิ ีการเคล่ือนยา้ ยวสั ดโุ ดยใชก้ าลงั คน 2. บอกวิธีการเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดโุ ดยใชเ้ ครื่องจกั รหรืออปุ กรณ์ 3. อธิบายขนั้ ตอนการยกของอยา่ งถกู วิธีและปลอดภยั 4. บอกวิธีการใชร้ ถยกอย่างปลอดภยั 5. บอกวธิ ีการใชป้ ้ันจ่นั อยา่ งปลอดภยั ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ความมนี า้ ใจ, แบง่ บนั เนือ้ หาสาระ 6.1 การเคลอ่ื นยา้ ยวสั ดโุ ดยใชก้ าลงั คน การยก ถือ และแบกหาม การใชร้ ถเขน็ และอปุ กรณผ์ อ่ นแรงอ่นื ๆ

23 6.2 การเคล่ือนยา้ ยวสั ดโุ ดยใชเ้ ครอ่ื งจกั ร เคร่ืองมือทุ่นแรงง่าย ๆ เช่น คาน รางเล่ือน ลูกกลิง้ เป็นตน้ ปั้นจ่ันและรอกผ่อนแรง อุปกรณ์ ลาเลียง เช่น สายพาน เป็นตน้ ฯลฯ กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 6/18) 1. ครูทบทวนเนือ้ หาโดยสรุปของหน่วยท่ี 5 2. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบก่อนเรียน 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียนในหนว่ ยท่ี 6 และดาเนนิ การสอนตามเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรยี นชว่ ยกนั สรุปเร่ืองท่ีเรยี น โดยใชผ้ งั ความคิดบนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น 6. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรยี น 7. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั แบบทดสอบและสรุปผล การวัดผลและประเมนิ ผล การประเมนิ ผล (นาผลเทยี บกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวัดผล (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรยี น) (ใชเ้ คร่อื งมือ) เกณฑผ์ า่ น 50% 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หนว่ ยท่ี 6 เกณฑผ์ ่าน 50% 2. แบบสงั เกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ า่ น 50% 3. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 6 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 6 5. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ งานทม่ี อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเวลาเรียน ไมม่ ี ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเร็จของผเู้ รยี น ผลการนาเสนองานกลมุ่ คะแนนจากแบบฝึกหดั คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) เอกสารอ้างองิ 1. หนงั สือเรียนวิชาอาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั วชิ า 20001–1001 บรษิ ัทศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย จากดั 2. เวบ็ ไซตแ์ ละสื่อสิ่งพิมพท์ ่เี ก่ียวขอ้ งกบั เนือ้ หาบทเรยี น

24 บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรยี นของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพ่ี บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรยี น ครูผสู้ อน

25 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 หน่วยที่ 7 ชอ่ื วิชา อาชีวอนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001–1001 เวลาเรียนรวม 36 คาบ ชือ่ หน่วย ความปลอดภยั เก่ียวกบั ไฟฟา้ สอนครงั้ ท่ี 7/18 ชอ่ื เร่ือง ความปลอดภยั เกี่ยวกบั ไฟฟ้า จานวน 2 คาบ หวั ขอ้ เรื่อง 7.1 สาเหตสุ าคญั ของการเกิดอบุ ตั ิเหตจุ ากไฟฟา้ 7.2 ขอ้ ควรระวงั ในการทางานเกี่ยวกบั ไฟฟา้ 7.3 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครอ่ื งมอื และอปุ กรณไ์ ฟฟ้า 7.4 ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในการซ่อมอปุ กรณไ์ ฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ 7.5 อนั ตรายท่เี กดิ จากไฟฟ้าผ่านรา่ งกาย 7.6 วธิ ีชว่ ยคนถกู ไฟดดู สาระสาคัญ/แนวคิดสาคัญ อุบัติเหตุท่ีเกิดจากไฟฟ้ามีสถิติเกิดขึน้ บ่อยมากและนาความสูญเสียขั้นรา้ ยแรงเสมอ ทั้งบาดเจ็บ เสยี ชีวิตจากไฟฟ้าดดู โดยตรงและเกิดจากเพลิงไหมท้ ่มี าจากไฟฟา้ ลดั วงจร ซง่ึ สาเหตขุ องอบุ ตั เิ หตมุ าจากตวั ผปู้ ฏิบตั ิงานขาดความรูค้ วามเขา้ ใจถึงอนั ตรายท่ีมาจากไฟฟ้า หลกั และวิธีการในการใชแ้ ละการซ่อมไฟฟ้า ตลอดจนระบบการบริหารจัดการควบคุมดูแลท่ีถูกต้องตามหลักวิชาการ เพ่ือให้การใช้ไฟฟ้าเกิดความ ปลอดภยั ตอ้ งระมดั ระวงั ปฏบิ ตั ติ ามหลกั การและขอ้ ควรปฏิบตั ิทงั้ ผใู้ ชแ้ ละผซู้ ่อมเคร่ืองมือเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า สมรรถนะย่อย แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั ความปลอดภยั เก่ียวกบั ไฟฟ้า จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. บอกสาเหตสุ าคญั ของการเกดิ อบุ ตั ิเหตจุ ากไฟฟา้ 2. บอกขอ้ ควรระวงั ในการทางานเก่ียวกบั ไฟฟา้ 3. บอกความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องมือและอปุ กรณไ์ ฟฟ้า 4. บอกขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในการซ่อมอปุ กรณไ์ ฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 5. บอกอนั ตรายท่เี กิดจากไฟฟา้ ผ่านรา่ งกาย 6. อธิบายวิธีชว่ ยคนถกู ไฟดดู ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ความมีนา้ ใจ, แบง่ บนั

26 เนือ้ หาสาระ 7.1 สาเหตสุ าคญั ของการเกิดอบุ ตั ิเหตจุ ากไฟฟ้า สาเหตจุ ากตวั ผปู้ ฏิบตั ิงาน จากระบบการบรหิ ารจดั การทางวิศวกรรม 7.2 ขอ้ ควรระวงั ในการทางานเก่ียวกบั ไฟฟ้า 1) เม่อื พบว่าฝาครอบกลอ่ งสวิตชช์ ารุดเสียหาย ควรรบี เปล่ียนและซอ่ มแซมทนั ที 2) รกั ษาความสะอาดเรียบรอ้ ยของบรเิ วณท่มี ีสวติ ชอ์ ยใู่ กล้ ๆ 3) ตรวจสอบภายในแผงสวิตช์ ตคู้ วบคมุ ไมใ่ หม้ ีเศษท่นี าไฟฟ้าอยู่ หา้ มนาฟิวสอ์ อกจากตคู้ วบคมุ ฯลฯ 7.3 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครือ่ งมือและอปุ กรณไ์ ฟฟา้ 1) ตรวจสอบสายไฟฟา้ ถา้ ชารุดใหใ้ ชเ้ ทปพนั เป็นฉนวนหุม้ ใหเ้ รยี บรอ้ ยและตรวจจดุ ต่อสายดว้ ย 2) ไม่ต่อเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้ากบั เตา้ เสยี บพรอ้ มกนั หลายเคร่ือง ฯลฯ 7.4 ขอ้ ควรปฏบิ ตั ใิ นการซอ่ มอปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 1) ก่อนปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟ ฟ้าให้ถือว่า อุปกรณ์เหล่านั้นมีไฟ จ่ายอยู่ จนกว่าจะไดท้ าการทดสอบจนแน่ใจก่อน 2) อย่าปฏบิ ตั ิงานเกี่ยวกบั ไฟฟ้าในขณะมือเปียกหรือยืนอย่บู นพืน้ ท่เี ปียก 3) ควรสวมถงุ มอื ฉนวนทกุ ครงั้ เม่ือปฏบิ ตั ิงานเกี่ยวกบั ไฟฟ้า ฯลฯ 7.5 อนั ตรายท่เี กดิ จากไฟฟ้าผ่านรา่ งกาย การช็อก (Shock) แผลไหม้ (Burns) การระเบิด (Explosion) การบาดเจ็บท่ีดวงตา (Eye Injuries) การบาดเจ็บของรา่ งกาย 7.6 วธิ ีช่วยคนถกู ไฟดดู กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ี่ 7/18) 1. ครูทบทวนเนือ้ หาโดยสรุปของหน่วยท่ี 6 2. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียนในหน่วยท่ี 7 และดาเนนิ การสอนตามเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรยี นช่วยกนั สรุปเรื่องท่ีเรยี น โดยใชผ้ งั ความคดิ บนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียน 6. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรยี น 7. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั แบบทดสอบและสรุปผล

27 การวดั ผลและประเมนิ ผล การประเมนิ ผล (นาผลเทยี บกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวัดผล (ไวเ้ ปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรยี น) (ใชเ้ ครอ่ื งมือ) เกณฑผ์ า่ น 50% 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หนว่ ยท่ี 7 เกณฑผ์ า่ น 50% 2. แบบสงั เกตการทางานกลมุ่ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ ่าน 50% 3. แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 7 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หน่วยท่ี 7 5. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ งานทม่ี อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเวลาเรียน ไมม่ ี ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาเร็จของผู้เรียน ผลการนาเสนองานกลมุ่ คะแนนจากแบบฝึกหดั คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) เอกสารอา้ งองิ 1. หนงั สอื เรยี นวชิ าอาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั วิชา 20001–1001 บรษิ ัทศนู ยห์ นงั สอื เมืองไทย จากดั 2. เวบ็ ไซตแ์ ละส่ือส่งิ พิมพท์ ่ีเก่ียวขอ้ งกบั เนือ้ หาบทเรยี น

28 บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพ่ี บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

29 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 หน่วยท่ี 8 ชื่อวชิ า อาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001–1001 เวลาเรยี นรวม 36 คาบ ชอ่ื หน่วย ความปลอดภยั ในงานก่อสรา้ ง สอนครง้ั ท่ี 8/18 ชอ่ื เรอื่ ง ความปลอดภยั ในงานกอ่ สรา้ ง จานวน 2 คาบ หัวข้อเรอื่ ง 8.1 อนั ตรายจากการขนสง่ วสั ดแุ ละอปุ กรณก์ ่อสรา้ ง 8.2 อนั ตรายจากการตกหลน่ ของวสั ดแุ ละเครื่องมอื 8.3 อนั ตรายจากการพลดั ตกจากท่สี งู 8.4 อนั ตรายจากการใชน้ ่งั รา้ น 8.5 อนั ตรายจากการใชไ้ ฟฟ้าในงานกอ่ สรา้ ง 8.6 อคั คีภยั 8.7 แสงเจดิ จา้ 8.8 ความรอ้ น ความเย็น และความชนื้ 8.9 ฝ่นุ และฟมู 8.10 อนั ตรายจากความส่นั สะเทือนเฉพาะท่ี สาระสาคญั /แนวคดิ สาคัญ งานก่อสรา้ งเป็นงานท่ีตอ้ งใชเ้ ครื่องมือเครื่องจักรมากและมีขนาดใหญ่ มีคนทางานจานวนมาก จึงมีอนั ตรายท่ีแฝงอย่มู าก ทงั้ จากเคร่ืองจกั รกล การขนยา้ ยวสั ดุ ยานพาหนะ การทางานในท่ีสงู ไฟฟ้าท่ีใช้ ในงานก่อสรา้ ง ผูป้ ฏิบตั ิงาน ช่างควบคุมงาน ตอ้ งใชค้ วามระมัดระวัง และใชอ้ ปุ กรณ์ป้องกนั อย่างถูกตอ้ ง และเหมาะสม ผู้บริหารโครงการต้องให้ความเอาใจใส่กากับดูแลและจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ป้องกัน อนั ตรายใหเ้ พียงพอ สมรรถนะย่อย แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั ความปลอดภยั ในงานก่อสรา้ ง จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. อธิบายอนั ตรายจากการขนสง่ วสั ดแุ ละอปุ กรณก์ ่อสรา้ ง 2. อธิบายอนั ตรายจากการตกหลน่ ของวสั ดแุ ละเครื่องมือ 3. อธิบายอนั ตรายจากการพลดั ตกจากท่สี งู 4. อธิบายอนั ตรายจากการใชน้ ่งั รา้ น 5. อธิบายอนั ตรายแฝงอ่นื ๆ ในงานกอ่ สรา้ ง

30 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสตั ย์ สจุ ริต ความมีนา้ ใจ, แบ่งบนั เนือ้ หาสาระ 8.1 อนั ตรายจากการขนสง่ วสั ดแุ ละอปุ กรณก์ ่อสรา้ ง ปั้นจ่นั (Crane) ลิฟตข์ นสง่ รถขดุ รถแทรกเตอร์ 8.2 อนั ตรายจากการตกหลน่ ของวสั ดแุ ละเคร่ืองมอื 1) อปุ กรณท์ ่มี ขี นาดเล็ก เชน่ โบลต์ นอต ควรใสใ่ นภาชนะท่ีแข็งแรง 2) วสั ดอุ ปุ กรณท์ กุ ชนดิ จะตอ้ งไม่วางกีดขวางทางเดนิ 3) จดั เกบ็ เศษวสั ดทุ ่เี หลือใชไ้ วใ้ นภาชนะท่ีแขง็ แรง ฯลฯ 8.3 อนั ตรายจากการพลดั ตกจากท่สี งู 8.3.1 การป้องกันอันตรายจากการตกจากท่ีสูงจากการเดิน เคล่ือนยา้ ย หรือเปล่ียนพื้นท่ี ปฏิบตั ิงาน 8.3.2 การป้องกันอันตรายจากการตกจากที่สูงจากการทางานในพื้นท่ีท่ีเป็นลูกระนาด ลาดเอยี งและงานตดิ ตงั้ หลงั คาท่มี คี วามลาดเอียง 8.3.3 การป้องกนั อนั ตรายจากการตกจากท่ีสูงจากการทางานในพืน้ ท่ีท่ีเป็นสนั ขอบอาคาร และพนื้ ท่เี ปิดโลง่ 8.4 อนั ตรายจากการใชน้ ่งั รา้ น 8.4.1 อนั ตรายจากน่งั รา้ นและคา้ ยนั 8.4.2 การปอ้ งกนั อบุ ตั ิเหตจุ ากน่งั รา้ น 8.5 อนั ตรายจากการใชไ้ ฟฟ้าในงานก่อสรา้ ง 8.6 อคั คีภยั 1) การใชไ้ ฟฟ้าเกินขนาด ทาใหไ้ ฟฟา้ ลดั วงจร 2) การสบู บหุ ร่ขี องคนงานใกลว้ สั ดไุ วไฟ 3) ไฟจากบา้ นพกั คนงาน เช่น การประกอบอาหาร ฯลฯ 8.7 แสงเจดิ จา้ 8.8 ความรอ้ น ความเย็น และความชนื้ 8.9 ฝ่นุ และฟมู 8.10 อนั ตรายจากความส่นั สะเทือนเฉพาะท่ี กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 8/18) 1. ครูทบทวนเนือ้ หาโดยสรุปของหนว่ ยท่ี 7 2. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบก่อนเรียน

31 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นในหนว่ ยท่ี 8 และดาเนินการสอนตามเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรียนช่วยกนั สรุปเรื่องท่ีเรียน โดยใชผ้ งั ความคิดบนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น 6. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบหลงั เรยี น 7. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั แบบทดสอบและสรุปผล การวดั ผลและประเมินผล การประเมินผล (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวัดผล (ไวเ้ ปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรยี น) (ใชเ้ คร่ืองมือ) เกณฑผ์ ่าน 50% 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หน่วยท่ี 8 เกณฑผ์ า่ น 50% 2. แบบสงั เกตการทางานกลมุ่ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ า่ น 50% 3. แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 8 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หน่วยท่ี 8 5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ งานทม่ี อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเวลาเรียน ไม่มี ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเร็จของผู้เรยี น ผลการนาเสนองานกลมุ่ คะแนนจากแบบฝึกหดั คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) เอกสารอ้างองิ 1. หนงั สือเรียนวิชาอาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั วิชา 20001–1001 บรษิ ัทศนู ยห์ นงั สอื เมืองไทย จากดั 2. เว็บไซตแ์ ละสื่อสิ่งพมิ พท์ ่เี ก่ียวขอ้ งกบั เนือ้ หาบทเรียน

32 บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพ่ี บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรยี น ครูผสู้ อน

33 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9 หน่วยที่ 9 ชือ่ วชิ า อาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001–1001 เวลาเรยี นรวม36 คาบ ชือ่ หน่วย การปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั สอนครง้ั ท่ี 9/18 ชอ่ื เร่อื ง การปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั จานวน 2 คาบ หวั ข้อเรอ่ื ง 9.1 องคป์ ระกอบของการตดิ ไฟ 9.2 สาเหตขุ องการเกิดเพลงิ ไหม้ 9.3 การแบง่ ประเภทของเพลงิ ไหม้ 9.4 ประเภทของสารดบั เพลงิ 9.5 ขอ้ ปฏิบตั ดิ า้ นความปลอดภยั เกี่ยวกบั การป้องกนั และระงบั อคั คภี ยั 9.6 การใชอ้ ปุ กรณด์ บั เพลงิ อย่างถกู วิธี 9.7 ขอ้ ควรปฏิบตั ิในกรณีฉกุ เฉินเม่ือพบเหตเุ พลงิ ไหม้ 9.8 ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ม่อื ไดย้ ินเสยี งสญั ญาณแจง้ เหตเุ ตือนภยั สาระสาคญั /แนวคดิ สาคญั ไฟเป็นพลงั งานชนิดหนึ่งซง่ึ ก่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อมนุษยอ์ ย่างมหาศาล เพราะไฟเป็นตน้ กาเนดิ ของพลงั งาน ต่าง ๆ ท่ีมนุษยน์ าไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั แต่ “ไฟ” อาจก่อใหเ้ กิดภยั อย่างมหนั ตไ์ ด้ หากขาดความรูห้ รือขาดความ ระมดั ระวงั ในการใชแ้ ละการควบคมุ ดแู ลแหลง่ กาเนิดไฟ ดงั นน้ั การเรียนรูภ้ ยนั ตรายจากไฟไหมเ้ พ่ือจะไดม้ ีแผนการ ควบคมุ การใชไ้ ฟ การใชค้ วามรอ้ นอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ปลอดภยั และวธิ ีการปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั สมรรถนะยอ่ ย วางแผนดาเนนิ การเบอื้ งตน้ ในการปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. จาแนกองคป์ ระกอบของการติดไฟ 2. บอกสาเหตขุ องการเกิดเพลิงไหม้ 3. จาแนกประเภทของเพลิงไหม้ 4. บอกประเภทของสารดบั เพลิง 5. อธิบายเกี่ยวกบั ขอ้ ปฏิบตั ิดา้ นความปลอดภยั การปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั 6. อธิบายวิธีการใชอ้ ปุ กรณด์ บั เพลงิ อยา่ งถกู วธิ ี 7. อธิบายเกี่ยวกบั ขอ้ ควรปฏิบตั ใิ นกรณีฉกุ เฉินเม่ือพบเหตเุ พลงิ ไหม้ 8. อธิบายเกี่ยวกบั ขอ้ ปฏบิ ตั ิเม่อื ไดย้ ินเสยี งสญั ญาณแจง้ เหตเุ ตือนภยั

34 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสตั ย์ สจุ รติ ความมีนา้ ใจ, แบง่ บนั เนือ้ หาสาระ 9.1 องคป์ ระกอบของการตดิ ไฟ 1) เชือ้ เพลงิ (Fuel) 2) ออกซเิ จน (Oxyen/Air) 3) ความรอ้ น (Heat) 4) ปฏิกริ ยิ ายาตอ่ เน่ือง (Uninhibited Chain Reaction) 9.2 สาเหตขุ องการเกิดเพลิงไหม้ ไฟท่ีเกิดจากกระแสไฟฟ้า (Electric Fires) ไฟท่ีเกิดจากการสูบบุหรี่ (Smoking) ไฟท่ีเกิดจาก การเสียดสี (Friction) ไฟท่ีเกิดจากวัสดทุ ่ีรอ้ นจดั หรือผิวโลหะรอ้ น (Overheated Materials and Hot Surfaces) อัค คีภัยท่ี เกิดจากการจุดหัวเผา (Bunner Flames and Combustible Sparks) ไฟ ท่ี ติดขึ้น ได้เอง (Spontaneous Ignition) การตดั หรือการเช่อื มโลหะ (Cutting and Welding) 9.3 การแบ่งประเภทของเพลิงไหม้ ประเภท ลักษณะ สัญลักษณ์ ไฟประเภท A เป็นไฟท่ีเกิดจากเชื้อเพลิงท่ีเป็นของแข็ง เช่น พวกไม้ กระดาษ เสือ้ ผา้ เป็นตน้ สามารถดบั ไดด้ ว้ ยการใหค้ วามเย็น โดยการใชน้ า้ ฉีด เ ป็ น ฝ อ ย ห รื อ ฉี ด พุ่ ง ต ร ง ไ ป ยั ง ฐ า น ของเพลงิ นนั้ ๆ ไฟประเภท B ไฟประเภทนีเ้ กิดจากเชือ้ เพลิงท่ีเป็นของเหลว พวกนา้ มนั หรือแก๊ส ตา่ ง ๆ จาระบี เป็นตน้ ซ่งึ จะดบั ไดด้ ว้ ยวธิ ีปอ้ งกนั มิใหอ้ ากาศเขา้ ไป รวมตัวกับเชื้อเพลิง การคลุมผิวหน้าของเชื้อเพลิงหรือการลด อณุ หภมู ขิ องเชือ้ เพลงิ โดยใชโ้ ฟม ผงเคมี หรือคารบ์ อนไดออกไซด์ ไฟประเภท C เป็ นไฟท่ีเกิดจากการไหม้อุปกรณ์ เคร่ืองมือไฟฟ้าต่าง ๆ ไฟประเภท D ซ่งึ การดบั เพลงิ ก่อนอ่ืนตอ้ งตดั วงจรไฟฟ้าเสยี ก่อน เพ่อื ลดอนั ตราย ลง ส่วนการดับเพลิงต้องใช้เครื่องมือท่ีไม่เป็ นสื่อไฟฟ้า เช่น คารบ์ อนไดออกไซดห์ รือเคมีแหง้ เป็นตน้ เป็นไฟท่เี กิดจากโลหะตดิ ไฟ เชน่ แมกนีเซยี ม โซเดยี ม โพแทสเซียม เป็นตน้ การดบั ไฟประเภท D ใหใ้ ชส้ ารเคมีจาพวก โซเดียมคลอไรด์ (ผงเกลอื แกง) หรือทรายแหง้ ขอ้ ควรระวงั หา้ มใช้ นา้ เขา้ ทาการดบั ไฟ ประเภท D โดยเดด็ ขาด ซ่งึ จะทาใหเ้ กิดการ ระเบิดอยา่ งรุนแรง

35 9.4 ประเภทของสารดบั เพลิง 9.5 ขอ้ ปฏบิ ตั ดิ า้ นความปลอดภยั เก่ียวกบั การป้องกนั และระงบั อคั คภี ยั 9.6 การใชอ้ ปุ กรณด์ บั เพลิงอย่างถกู วิธี 9.7 ขอ้ ควรปฏิบตั ใิ นกรณีฉกุ เฉินเม่ือพบเหตเุ พลงิ ไหม้ 9.8 ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ม่อื ไดย้ นิ เสียงสญั ญาณแจง้ เหตเุ ตอื นภยั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 9/18) 1. ครูทบทวนเนือ้ หาโดยสรุปของหน่วยท่ี 8 2. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรยี น 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียนในหนว่ ยท่ี 9 และดาเนนิ การสอนตามเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรียนช่วยกนั สรุปเร่ืองท่ีเรียน โดยใชผ้ งั ความคิดบนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียน 6. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบหลงั เรยี น 7. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั แบบทดสอบและสรุปผล การวัดผลและประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมนิ ผล (ใชเ้ ครือ่ งมือ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หน่วยท่ี 9 (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) 2. แบบสงั เกตการทางานกลมุ่ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ ่าน 50% 3. แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 9 เกณฑผ์ า่ น 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หน่วยท่ี 9 เกณฑผ์ า่ น 50% 5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผ์ า่ น 50% งานทมี่ อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเวลาเรียน ไม่มี ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเรจ็ ของผูเ้ รยี น ผลการนาเสนองานกลมุ่ คะแนนจากแบบฝึกหดั คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) เอกสารอ้างองิ หนงั สอื เรยี นวชิ าอาชีวอนามยั และความปลอดภยั รหสั วชิ า 20001–1001

36 บันทกึ หลังการสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรยี น ครูผสู้ อน

37 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 10 หน่วยท่ี 10 ชอ่ื วิชา อาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001–1001 เวลาเรียนรวม 36คาบ ช่ือหน่วย การสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั ของพนกั งาน สอนครง้ั ท่ี 10/18 ชอ่ื เร่อื ง การสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั ของพนกั งาน จานวน 2 คาบ หัวข้อเรอื่ ง 10.1 ความหมายและความสาคญั ของสขุ ภาพ 10.2 ความหมายของคาว่าการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 10.3 หลกั การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 10.4 วิธีสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั ใหแ้ กพ่ นกั งาน 10.5 ประโยชนข์ องการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพในสถานประกอบการ สาระสาคญั /แนวคดิ สาคัญ การส่งเสรมิ สุขภาพอนามยั ของพนักงาน คือ งานสง่ เสริมและธารงรกั ษาสุขภาพและความสามารถ ในการทางานของคนงาน ปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ มและการทางานใหด้ ีขึน้ การพฒั นาองคก์ รและวฒั นธรรม ขององคก์ ร เพ่ือใหพ้ นกั งานมสี ขุ ภาพอนามยั ท่ีดอี นั จะส่งผลต่อองคก์ รหลายดา้ นทงั้ ดา้ นผลผลิต ภาพลกั ษณ์ ขององคก์ ร สมรรถนะย่อย วางแผนปรบั ปรุงสภาพการทางานเพ่อื สง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั ของพนกั งาน จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. บอกความหมายและความสาคญั ของสขุ ภาพ 2. บอกความหมายของการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 3. อธิบายหลกั การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 4. อธิบายวิธีการสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั ใหแ้ กพ่ นกั งาน 5. บอกประโยชนข์ องการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพในสถานประกอบการ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ความมีนา้ ใจ, แบง่ บนั

38 เนือ้ หาสาระ 10.1 ความหมายและความสาคญั ของสขุ ภาพ สาหรบั นิยามคาวา่ สุขภาพ ขององคก์ ารอนามยั โลก “Health is complete physical mental, social and spiritual well being\" ซ่ึงหมายถึง สุขภาวะท่ีสมบูรณ์ทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิต วิญญาณ 10.2 ความหมายของคาวา่ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ องคก์ ารอนามัยโลก ไดใ้ หค้ วามหมายไวว้ ่า “การส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง เป็นกระบวนการ ต่อเน่ือง เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตการทางาน สุขภาพ และความเป็นอยู่ท่ีดีของประชากร คนงานทงั้ มวล โดยการปรบั ปรุงส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพ สงั คม จิตวิทยา องคก์ ร และเศรษฐกิจ การเสรมิ สรา้ งพลงั อานาจ แกป่ ัจเจกบคุ คล และความเจรญิ เติบโตแก่บคุ คลเหล่านนั้ ” (WHO, 1998) 10.3 หลกั การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ประเด็นท่สี าคญั เพ่ือใหค้ รอบคลมุ การดแู ลสขุ ภาพของประชาชนแรงงานไว้ 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1) การสง่ เสรมิ และธารงรกั ษาสขุ ภาพและความสามารถในการทางานของคนงาน 2) การปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ มและการทางานใหด้ ขี ึน้ 3) การพฒั นาองคก์ รและวฒั นธรรมขององคก์ ร 10.4 วธิ ีสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั ใหแ้ กพ่ นกั งาน 10.5 ประโยชนข์ องการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพในสถานประกอบการ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ่ี 10/18) 1. ครูทบทวนเนือ้ หาโดยสรุปของหน่วยท่ี 9 2. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียนในหน่วยท่ี 10 และดาเนินการสอนตามเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรยี นช่วยกนั สรุปเร่ืองท่ีเรยี น โดยใชผ้ งั ความคิดบนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียน 6. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบหลงั เรยี น 7. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั แบบทดสอบและสรุปผล

39 การวดั ผลและประเมนิ ผล การประเมินผล (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวดั ผล (ไวเ้ ปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรยี น) (ใชเ้ ครือ่ งมือ) เกณฑผ์ า่ น 50% 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หน่วยท่ี 10 เกณฑผ์ ่าน 50% 2. แบบสงั เกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ ่าน 50% 3. แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 10 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หนว่ ยท่ี 10 5. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ งานทมี่ อบหมาย งานท่มี อบหมายนอกเวลาเรียน ไม่มี ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเร็จของผู้เรยี น ผลการนาเสนองานกลมุ่ คะแนนจากแบบฝึกหดั คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) เอกสารอ้างองิ หนงั สอื เรยี นวชิ าอาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั วิชา 20001–1001

40 บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรยี นของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

41 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 11 หน่วยท่ี 11 ช่ือวชิ า อาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001–1001 เวลาเรียนรวม 36คาบ ชอ่ื หน่วย การเฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั โรคจากการทางาน สอนครง้ั ท่ี 11/18 ชือ่ เรื่อง การเฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั โรคจากการทางาน จานวน 2 คาบ หวั ขอ้ เรอื่ ง 11.1 ความหมายของโรคจากการทางาน 11.2 สาเหตขุ องโรคจากการทางาน 11.3 ประเภทของโรคจากการทางาน 11.4 หลกั การปอ้ งกนั โรคจากการทางาน สาระสาคัญ/แนวคดิ สาคัญ การเฝ้าระวังและการป้องกันโรคจากการทางานเป็นงานท่ีต้องจัดให้มีขึน้ ในสถานประกอบการ โดยเป็นงานทั้งฝ่ ายวิศวกรรมท่ีมีหน้าท่ีออกแบบเครื่องมือและวิธีการทางานใหป้ ลอดภัยจากสิ่งแวดลอ้ ม เช่น สารเคมี ฝ่นุ ฟูม ไอระเหยของโลหะหนัก เป็นตน้ ฝ่ ายสขุ ศาสตรม์ ีหนา้ ท่ีเฝ้าระวังสิ่งแวดลอ้ มตลอดจน บุคลากรทางการแพทยท์ ่ีทาหน้าท่ีตรวจสขุ ภาพพนกั งานและทาทะเบียนเวชศาสตรเ์ พ่ือเป็นขอ้ มลู ในการ ปอ้ งกนั โรค สมรรถนะย่อย วางแผนดาเนินการเบอื้ งตน้ ในการเฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั โรคจากการทางาน จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. บอกความหมายของโรคจากการทางาน 2. อธิบายสาเหตขุ องโรคจากการทางาน 3. บอกประเภทของโรคจากการทางาน 4. อธิบายหลกั การปอ้ งกนั โรคจากการทางาน ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ความมนี า้ ใจ, แบ่งบนั

42 เนือ้ หาสาระ 11.1 ความหมายของโรคจากการทางาน โรคจากการทางาน หมายถึง การเกิดโรคหรือความเจ็บป่ วยของผปู้ ระกอบอาชีพหรือคนงาน อันเน่ืองมาจากการทางานท่ีเกี่ยวข้องหรือสัมผัสกับอันตรายท่ีมีอยู่ในสภาพแวดล้อมการทางานนั้น ๆ โดยประกาศกระทรวงแรงงานฯ ได้มีการกาหนดชนิดของโรคท่ีเก่ียวเน่ืองกับการทางานไว้ 32 โรค แต่จะยกตวั อย่างเพียงบางโรคท่มี ีอตั ราการเป็นมากเทา่ นนั้ เช่น โรคปอด โรคผิวหนงั โรคมะเรง็ เป็นตน้ 11.2 สาเหตขุ องโรคจากการทางาน ส่งิ ท่ที าใหเ้ กิดโรคหรอื ตวั เหตขุ องโรคไดแ้ ก่ ปัจจยั ทางสงิ่ แวดลอ้ มการทางาน 1) ตวั ผปู้ ฏิบตั ิงาน ไดแ้ ก่ การปฏบิ ตั ิตน พฤติกรรม ปัจจยั สว่ นบคุ คล 2) สภาพการทางานและสภาพแวดลอ้ มอ่ืน ๆ ไดแ้ ก่ ปัจจยั เสรมิ /กระตนุ้ เช่น การจดั พืน้ ท่ีการ ทางาน การบรหิ ารจดั การ ฯลฯ 11.3 ประเภทของโรคจากการทางาน 1) โรคปอดจากการทางาน 2) โรคผิวหนงั จากการทางาน 3) โรคมะเรง็ จากการทางาน 4) โรคจากการทางานท่เี กดิ จากปัจจยั ทางเคมี 5) โรคจากการทางานท่เี กดิ จากปัจจยั ทางกายภาพ 6) โรคจากการทางานท่เี กิดจากปัจจยั ทางชวี ภาพ 11.4 หลกั การปอ้ งกนั โรคจากการทางาน 11.4.1 การเฝา้ ระวงั ทางสิง่ แวดลอ้ มการทางาน 11.4.2 การเฝา้ ระวงั ดา้ นสขุ ภาพของคนงาน กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 11/18) 1. ครูทบทวนเนือ้ หาโดยสรุปของหน่วยท่ี 10 2. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรยี น 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นในหน่วยท่ี 11 และดาเนนิ การสอนตามเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรียนช่วยกนั สรุปเรื่องท่ีเรียน โดยใชผ้ งั ความคิดบนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียน 6. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรยี น 7. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั แบบทดสอบและสรุปผล

43 การวดั ผลและประเมนิ ผล การประเมินผล (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวดั ผล (ไวเ้ ปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรยี น) (ใชเ้ ครือ่ งมือ) เกณฑผ์ า่ น 50% 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หน่วยท่ี 11 เกณฑผ์ ่าน 50% 2. แบบสงั เกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ ่าน 50% 3. แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 11 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หนว่ ยท่ี 11 5. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ งานทมี่ อบหมาย งานท่มี อบหมายนอกเวลาเรียน ไม่มี ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเร็จของผู้เรยี น ผลการนาเสนองานกลมุ่ คะแนนจากแบบฝึกหดั คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) เอกสารอ้างองิ หนงั สอื เรยี นวชิ าอาชีวอนามยั และความปลอดภยั รหสั วิชา 20001–1001

44 บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรยี นของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

45 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 12 หน่วยท่ี 12 ชื่อวชิ า อาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001–1001 เวลาเรียนรวม 36 คาบ ชอ่ื หน่วย การปฐมพยาบาล สอนครง้ั ท่ี 12/18 ชอื่ เรือ่ ง การปฐมพยาบาล จานวน 2 คาบ หวั ขอ้ เร่ือง 12.1 ความหมายของการปฐมพยาบาล 12.2 หลกั เบอื้ งตน้ ของการปฐมพยาบาล 12.3 การปฐมพยาบาล สาระสาคญั /แนวคดิ สาคัญ การปฐมพยาบาลเป็นการช่วยเหลือผูบ้ าดเจ็บจากอบุ ตั ิเหตุต่าง ๆ หรือเจ็บป่ วยกะทนั หนั ณ สถานท่ี เกิดเหตุ ใหพ้ ้นอันตราย ก่อนท่ีจะส่งไปใหแ้ พทย์รกั ษาต่อไป โดยใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือเท่าท่ีหาได้ใน ขณะนั้น ทั้งนีเ้ พ่ือป้องกันอันตรายท่ีจะเกิดขึน้ ในระยะต่อไปและพยายามช่วยชีวิตไว้ เพ่ือลดความรุนแรง ภาวะไม่พงึ ประสงค์ และป้องกนั ความพิการ ตลอดจนบรรเทาความเจ็บปวดทรมานและช่วยใหก้ ลบั ส่สู ภาพ เดมิ โดยเรว็ สมรรถนะยอ่ ย ปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ ตามหลกั การและกระบวนการ จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. บอกความหมายของการปฐมพยาบาล 2. อธิบายหลกั เบอื้ งตน้ ของการปฐมพยาบาล 3. อธิบายวธิ ีการและขนั้ ตอนการเคลื่อนยา้ ยผปู้ ่ วย 4. อธิบายวธิ ีปฐมพยาบาลผบู้ าดเจบ็ ในลกั ษณะตา่ ง ๆ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสตั ย์ สจุ รติ ความมนี า้ ใจ, แบง่ บนั

46 เนือ้ หาสาระ 12.1 ความหมายของการปฐมพยาบาล การปฐมพยาบาล หมายถึง การใหก้ ารช่วยเหลือผูบ้ าดเจ็บจากอบุ ตั ิเหตุต่าง ๆ หรือเจ็บป่ วย กระทันหัน ณ สถานท่ีเกิดเหตุให้พ้นอันตราย ก่อนท่ีจะส่งไปให้แพทย์รักษาต่อไป โดยใช้อุปกรณ์หรือ เครื่องมือเท่าท่หี าไดใ้ นขณะนนั้ ทงั้ นีเ้ พ่อื 1) เพ่อื ปอ้ งกนั อนั ตรายท่จี ะเกิดขนึ้ ในระยะตอ่ ไปและพยายามชว่ ยชีวติ ไว้ 2) เพ่อื ลดความรุนแรง ภาวะไมพ่ งึ ประสงค์ และปอ้ งกนั ความพิการ 3) เพ่อื บรรเทาความเจ็บปวดทรมานและชว่ ยใหก้ ลบั สสู่ ภาพเดมิ โดยเรว็ 12.2 หลกั เบอื้ งตน้ ของการปฐมพยาบาล 12.2.1 ส่ิงท่ีเกี่ยวขอ้ งสาคญั โดยท่ัวไปมักมีสิ่งท่ีเก่ียวขอ้ งสาคัญของการปฐมพยาบาลอยู่ 3 ประการ ไดแ้ ก่ ผทู้ ่ใี หก้ ารช่วยเหลือ ผทู้ ่ไี ดร้ บั บาดเจ็บ (ผปู้ ่วย) และสิ่งแวดลอ้ ม 12.2.2 วธิ ีปฏบิ ตั ิเม่อื แรกพบผบู้ าดเจบ็ 1) อย่าเคลื่อนยา้ ยผูบ้ าดเจ็บจากตาแหน่งเดิมท่ีพบ ใหท้ าการปฐมพยาบาลตรงท่ีเกิดเหตุ ยกเวน้ ในกรณีท่อี าจมีอนั ตรายทงั้ ผบู้ าดเจ็บและผปู้ ฐมพยาบาล 2) ตรวจดกู ารหายใจ การทางานของหวั ใจพรอ้ มทงั้ ใหก้ ารชว่ ยเหลอื 3) ปอ้ งกนั อนั ตรายท่อี าจเกิดขนึ้ กบั ผบู้ าดเจ็บในขนั้ ต่อไป ฯลฯ 12.2.3 การเคลื่อนยา้ ยผปู้ ่วย 12.3 การปฐมพยาบาล กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 12/18) 1. ครูทบทวนเนือ้ หาโดยสรุปของหน่วยท่ี 11 2. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบก่อนเรียน 3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียนในหนว่ ยท่ี 12 และดาเนินการสอนตามเนอื้ หาสาระ 4. นกั เรียนช่วยกนั สรุปเร่ืองท่ีเรียน โดยใชผ้ งั ความคิดบนกระดานหนา้ หอ้ งเรียน แลว้ จดบนั ทกึ 5. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหดั เป็นกลมุ่ ย่อยและนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น 6. ครูใหน้ กั เรยี นทดสอบหลงั เรยี น 7. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั แบบทดสอบและสรุปผล

47 การวดั ผลและประเมนิ ผล การประเมินผล (นาผลเทียบกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวดั ผล (ไวเ้ ปรยี บเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรยี น) (ใชเ้ ครือ่ งมือ) เกณฑผ์ า่ น 50% 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หน่วยท่ี 12 เกณฑผ์ ่าน 50% 2. แบบสงั เกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ ่าน 50% 3. แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 12 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หนว่ ยท่ี 12 5. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ งานทม่ี อบหมาย งานท่มี อบหมายนอกเวลาเรียน ไม่มี ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเร็จของผู้เรยี น ผลการนาเสนองานกลมุ่ คะแนนจากแบบฝึกหดั คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) เอกสารอ้างองิ หนงั สอื เรยี นวชิ าอาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั วิชา 20001–1001

48 บันทกึ หลังการสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ผลการเรยี นของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพ่ี บ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรยี น ครูผสู้ อน

49 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 13 หน่วยท่ี 13 ช่อื วชิ า อาชวี อนามยั และความปลอดภยั รหสั 20001–1001 เวลาเรียนรวม36 คาบ ชื่อหน่วย การวเิ คราะหแ์ ละปรบั ปรุงสภาพงานตามหลกั การยศาสตร์ สอนครงั้ ท่ี 13/18 ชื่อเรื่อง จานวน 2 คาบ หัวขอ้ เรือ่ ง 13.1 ความหมายของการยศาสตร์ 13.2 ความสาคญั ของการยศาสตร์ 13.3 วทิ ยาการท่เี ป็นองคป์ ระกอบของการยศาสตร์ 13.4 หลกั การของการยศาสตร์ 13.5 การปรบั ปรุงทา่ ทางการทางานตามหลกั การยศาสตร์ 13.6 เครอื่ งมอื และอปุ กรณค์ วบคมุ 13.7 ขนาดรา่ งกายของคนงาน สาระสาคญั /แนวคิดสาคญั การวิเคราะห์งานท่ีเป็นสาเหตุทาให้เกิดการเม่ือยล้า เจ็บป่ วย หรือไม่สบายจากการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครอื่ งจกั ร ตลอดจนท่าทางการทางานท่ีไม่ถูกตอ้ งตามหลกั การยศาสตร์ เพ่ือนามาปรบั ปรุงแกไ้ ข ใหถ้ กู ตอ้ ง จะช่วยลดปัญหาการเจ็บป่ วยจากสาเหตดุ งั กล่าวของพนกั งาน ทาใหก้ ารทางานมีประสิทธิภาพ สง่ ผลต่อผลผลติ ขององคก์ ร สมรรถนะย่อย วางแผนปรบั ปรุงสภาพการทางานตามหลกั การยศาสตร์ จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะ 1. บอกความหมายการยศาสตร์ 2. อธิบายความสาคญั ของการยศาสตร์ 3. อธิบายวทิ ยาการท่เี ป็นองคป์ ระกอบของการยศาสตร์ 4. อธิบายหลกั การของการยศาสตร์ 5. อธิบายการปรบั ปรุงทา่ ทางการทางานตามหลกั การยศาสตร์ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ความมีนา้ ใจ, แบง่ บนั

50 เนือ้ หาสาระ 13.1 ความหมายของการยศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถานไดบ้ ัญญัติศัพทข์ องคา Ergonomics ไวค้ ือ การยศาสตรโ์ ดยอธิบายว่า การยเป็นคาในภาษาสนั สกฤต หมายถึง งาน (Work) และศาสตรเ์ ป็นวิทยาการ (Science) รวมความเป็น Work Science การยศาสตร์ หมายถงึ วทิ ยาการเกี่ยวกบั งานหรอื การทางาน สมาคมการจัดการแห่งประเทศไทย บัญญัติศัพท์ Ergonomics ไวว้ ่า “สมรรถยศาสตร์ ซ่ึง หมายถึง วิทยาการเกี่ยวกบั ความสามารถของมนุษยท์ ่ีจะทางานในลกั ษณะต่าง ๆ (Human Performance Engineering)” 13.2 ความสาคญั ของการยศาสตร์ 13.2.1 ผลดที ่เี กิดขนึ้ เม่ือไดม้ ีการออกแบบงานใหเ้ หมาะสมกบั คน 13.2.2 ประโยชนข์ องวทิ ยาการจดั สภาพงาน 13.3 วทิ ยาการท่เี ป็นองคป์ ระกอบของการยศาสตร์ 13.3.2 การวดั ขนาดมนษุ ย์ (Anthropometry) 13.3.3 จิตวิทยา (Psychology) 13.3.4 สขุ ศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม (Industrial Hygiene) ฯลฯ 13.4 หลกั การของการยศาสตร์ การยศาสตรจ์ ะเก่ียวขอ้ งกับคนและเครื่องจักรในเรื่องท่าทางการทางานและขนาดร่างกาย ของคนงาน 13.5 การปรบั ปรุงทา่ ทางการทางานตามหลกั การยศาสตร์ 1) ศีรษะควรอยู่ในลกั ษณะสมดุลคือ อยู่กึ่งกลางบนไหล่ทงั้ สองขา้ งและสายตามองในระดบั ความสงู ของโตะ๊ งาน 2) ไหลท่ งั้ สองขา้ งควรจะอย่ใู นลกั ษณะธรรมชาติ (ทา่ พกั ) 3) ลาตัวควรอยู่ในแนวดิ่งหรือเอียงไปขา้ งหลังเล็กนอ้ ยโดยมีท่ีรองรบั หลงั อย่างเหมาะสมใน ระดบั เอว ฯลฯ 13.6 เครอ่ื งมอื และอปุ กรณค์ วบคมุ 13.7 ขนาดรา่ งกายของคนงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook