ภ�พที่ 10 ตวั อย�่ งรปู แบบฟอรม์ ก�รส�ำ รวจแบบ HTML เว็บไซต์-เครือ่ งมือเขียนแบบโต้ตอบที่มีรูปแบบคงที่ (web-fixed-form) เวบ็ ไซต์ เครือ่ งมอื เขยี นแบบโตต้ อบรปู แบบคงท่ี (Web-fixed-form interactive authoring tools) เป็นรปู แบบใหมข่ องก�รวิจัยออนไลน์ ก�รวิจัยจะถูกขบั เคลือ่ นโดยเคร่อื งมือเขยี นแบบ วิจัย เครื่องมอื จ�ำ นวนม�กเหล�่ นี้ไดร้ ับก�รพัฒน�ม�จ�กซอฟแวรร์ ุ่นก่อนซง่ึ นำ�คอมพิวเตอร์ม� ชว่ ยก�รสัมภ�ษณ์ท�งโทรศัพท์ (CATI) หรือดิสก์โดยเมล์ (DBM) ซงึ่ ถกู ดดั แปลงเพื่อน�ำ ม�ใช้ “แสดง”คำ�ถ�มบนเว็บไซต์ เหมอื นกับก�รแสดงส�ำ หรับผู้สัมภ�ษณท์ ่ีสถ�นหี น่วยเลอื กตั้งท�ง ไกล (สถ�นีโทรคมน�คมหน่วยเลือกต้ัง) นวัตกรรมที่ยิ่งใหญ่นี้เป็นท�งเลือกทีช่ ่วยให้นักวิจัยแต่ละคนดำ�เนินก�รศึกษ�โครงก�ร ที่มีคว�มซับซ้อนเพร�ะซอฟแวร์เหล่�นี้ใส่ก�รควบคุมที่ซับซ้อนสำ�หรับก�รศึกษ�ท�งโทรศัพท์ เครือ่ งมือเหล่�นีส้ ่วนใหญ่มีโปรแกรมซอฟแวร์สำ�เร็จรูปอยูภ่ �ยในซึง่ ผู้วิจัยใช้โปรแกรมนี้กับ คอมพิวเตอรส์ ว่ นตัว (PC) ก�รเกดิ ของเว็บไซตใ์ หม่ทเี่ ป็นตวั เลอื กช่วยใหผ้ เู้ ขยี นออกแบบก�รวจิ ัยออนไลน์ ไม่จำ�เปน็ ต้องโหลดซอฟแวร์ ก�รออกแบบ เคร่อื งมอื เหล่�นีเ้ รียกว�่ “รูปแบบคงท”่ี เน่อื งจ�กถูกจำ�กัด ขอบเขตของตัวเลือกที่ก�รสำ�รวจส�ม�รถแสดงผลได้ในบ�งวิธีเฉพ�ะสำ�หรับก�รออกแบบหรือ ก�รแสดงค�ำ ถ�มแตล่ ะประเภท เวบ็ ไซต์อน่ื ๆมีรูปแบบทีย่ ดื หยุน่ ม�กข้ึน แตจ่ ำ�กัดจำ�นวน ค�ำ ถ�ม ที่น�ำ ม�แสดงบนหน้�เวบ็ ไซต์ท�งเลือกใดในสองท�งเลอื ก ซ่ึงจ�ำ กดั คว�มยดื หยุ่นก�รออกแบบ เครื่องมือมีต้งั แต่ง�่ ยม�ก (แต่ไมไ่ ด้ประสิทธิภ�พ) จนถงึ มปี ระสทิ ธภิ �พสงู (แต่ใช้ย�ก) นักวจิ ัย แตล่ ะคนจะต้องเลือกระหว่�งท�งเลอื กทีม่ ีปญั ห�น้ี 99
ภ�พท่ี 11 ตวั อย�่ งก�รใช้ web – fixed form การใช้ Web-customized interactive programming เปน็ รปู แบบก�ร สำ�รวจแบบใหม่ที่พัฒน�ข้นึ จ�กโปรแกรมแบบเดิมท่กี ล�่ วม�แล้ว ให้ส�ม�รถโต้ตอบกันได้ โดยใช้ท�งโทรศพั ทห์ รอื ท�งเมล แตก่ �รทำ�แพก็ เก็จแบบนี้ มีคว�มซบั ซ้อนและตอ้ งก�รทักษะ ในก�รพัฒน�ท่ียุง่ ย�กพอสมควร ซง่ึ ผพู้ ัฒน�โปรแกรมนี้ ไม่ต้องพ่งึ พ�โปรแกรมอน่ื เรียกว่� เปน็ โปรแกรมเฉพ�ะบุคคลในคอมพวิ เตอรส์ ว่ นบุคคล 100
ภ�พท่ี 12 ตวั อย�่ งเคร่ืองมือบ�งส่วนของ Web-customized interactive ภ�พที่ 13 ตัวอย�่ งของแบบ Downloadable Surveys 101
การดาวนโ์ หลดการสำารวจจากเว็บไซต์ (Downloadable Surveys) วธิ ีก�รสำ�รวจ ออนไลนอ์ ีกวิธีหนง่ึ ที่น�่ สนใจคือ ก�รด�วน์โหลดก�รสำ�รวจจ�กเว็บไซต์ และนำ�ม�ด�ำ เนินก�ร บนซอฟแวร์ ท่ีผวู้ จิ ัยไดต้ ดิ ต้งั ไว้กอ่ นหน้�น้ี ก�รกระท�ำ ดังกล่�วนีเ้ ป็นก�รย้�ยง�นคอมพวิ เตอร์ จ�กโปรแกรมบรกิ �รออนไลน์ (Server) ไปยงั คอมพิวเตอรข์ องผตู้ อบ ไฟลข์ ้อมูลจะถกู สร�้ งขนึ้ จ�กนน้ั ก็ส�ม�รถอพั โหลดครั้งต่อไปทีม่ ีก�รเข้�ถึงอินเทอร์เนต็ ผลทีไ่ ดค้ อื ก�รส�ำ รวจทด่ี ำ�เนินก�ร คล�้ ยคลึงกับก�รสำ�รวจทมี่ ีรูปแบบก�รโตต้ อบคงท่ี ก�รสำ�รวจโดยก�รด�วน์โหลดจ�กเวบ็ ไซตน์ ี้ จะแตกต่�งจ�กโปรแกรมทกี่ �ำ หนดแบบโตต้ อบเอง ซึง่ ส�ม�รถด�วนโ์ หลด ก�รส�ำ รวจทใ่ี ชเ้ พยี ง คร้งั เดยี ว เทคนิคน้ีจะชว่ ยก�รวิจยั เกย่ี วกบั ก�รควบคุมและคว�มยืดหยุ่นของท�งเลือกทไ่ี ด้ กล�่ วม�แล้ว ประก�รส�ำ คัญคือก�รส�ำ รวจไดป้ ระโยชน์อย�่ งเตม็ ทใ่ี นเชิงก�รควบคุม ตรรกะ และฟงั กช์ ่นั อนื่ ๆท่ีส�ม�รถดำ�เนินก�รได้กับระบบพีซี (PC) ก�รศึกษ�ดว้ ยวธิ ีก�รด�วน์โหลด ก�รส�ำ รวจน้ีอ�จมคี ่�ใช้จ�่ ยม�กกว่�และใชเ้ วล�ม�กกว�่ รปู แบบอ่ืนๆ ของก�รวิจัยออนไลน์ การสัมภาษณอ์ อนไลน์ (Online Interview) ต�มขอ้ มูลทรี่ ะบุในวกิ พิ เี ดีย ก�ร สมั ภ�ษณ์ออนไลนเ์ ป็นรปู แบบหน่งึ ของวิจัยออนไลน์ วิธกี �รน้จี ะนำ�ปญั ห�ต่�งๆท่ีเกิดขึ้นใน วธิ แี บบด้ังเดิมคอื ก�รเผชญิ หน�้ กันม�ปรับใช้ หลักส�ำ คัญของวิธีนีจ้ ะมุ่งเนน้ ทก่ี �รแลกเปล่ยี น แบบหนงึ่ ต่อหนึง่ และหนึง่ ต่อหล�ยคน ซง่ึ เรียกว�่ จดั กลมุ่ ออนไลน์ หรอื กล่มุ โฟกัสออนไลน์ ก�รสัมภ�ษณ์ออนไลน์มีหล�ยรูปแบบซ่ึงมีคว�มแตกต่�งกัน ได้แก่ ก�รสัมภ�ษณท์ ่ี เกิดข้นึ ในเวล�เดยี วกัน เชน่ ก�รสัมภ�ษณ์โดยใชเ้ ทคโนโลยีก�รพูดคยุ และก�รสัมภ�ษณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ในเวล�ท่ตี ่�งกนั เชน่ อเี มล นอกจ�กน้ยี งั แบง่ ก�รสมั ภ�ษณอ์ อนไลน์ต�มจ�ำ นวนของผใู้ ห้ สมั ภ�ษณ์ เช่น จัดกล่มุ สัมภ�ษณ์ออนไลน์ หรือจัดสัมภ�ษณ์แบบหนง่ึ ตอ่ หน่งึ เปน็ ต้น ขอ้ เสียของการสมั ภาษณ์ออนไลน์ ð คว�มย�กในก�รประเมนิ ปญั ห�เรอ่ื งก�รตคี ว�มหม�ยของคำ�ถ�ม แต่ละฝ�่ ยจะตีคว�มหม�ย ของค�ำ ถ�มอย�่ งไร เนื่องจ�กมองไม่เหน็ กนั ð ข�ดก�รสร้�งส�ยสัมพนั ธท์ ด่ี ี และระดบั คว�มไวว้ �งใจท�งส่ือคอมพิวเตอร์ระหว่�งผู้วจิ ยั และผ้ตู อบ ð ทักษะด้�นเทคนิคทีห่ ล�กหล�ยในกลุ่มทเ่ี ข�้ ร่วมก�รวจิ ยั ซ่งึ ไมส่ �ม�รถจะอนมุ �นได้ว่�ทุกคน มีระดับคว�มส�ม�รถด้�นเทคนคิ ที่จ�ำ เปน็ ส�ำ หรับวธิ กี �รวิจยั ð ผตู้ อบมีทกั ษะในเชงิ เทคนิคไมเ่ ท่�กัน อ�จทำ�ใหไ้ ด้ข้อมูลท่ีไม่ตรงกนั ย�กต่อก�รแปล และ สรุปผลในตอนท�้ ย ð ก�รใช้ “ทีพ่ บกัน” ออนไลน์ บ�งแหง่ ซึง่ คนทัว่ ไปส�ม�รถจะเข้�ถึงได้ง�่ ย (เช่น Chatroom หรอื Board discussion) แตส่ ำ�หรับผู้เข้�รว่ มก�รอภปิ ร�ยท่ีมศี กั ยภ�พบ�งคนอ�จไม่พอใจ ð คว�มจ�ำ เป็นต้อง “โฆษณ�” แบบสอบถ�มไปยงั ผใู้ ช้ซึ่งอ�จมกี �รด�ำ เนินก�รผ่�นกลมุ่ ข่�วท่ี เกี่ยวข้อง และท่สี �ำ หรบั อภปิ ร�ย ถึงแม้ว่�บรรย�ยเครอื ข�่ ยต้องก�รให้ปฏบิ ตั ิ 102
ขอ้ ดีของการสมั ภาษณอ์ อนไลน์เมื่อเปรียบเทยี บกับการสมั ภาษณ์ทางโทรศพั ท์ ð มขี ้อคำ�ถ�มใหเ้ หน็ และท�ำ คว�มเข้�ใจได้ง่�ยกว่�ท�งโทรศัพท์ ð ต�มปกตจิ ะไม่มีค่�ใช้จ่�ยเพ่ิม เช่น ค�่ ใช้จ่�ยของโทรศพั ท์ ð ก�รสมั ภ�ษณ์ออนไลนท์ ่ีไมต่ รงกนั ชว่ ยให้คนทอ่ี ยู่ในโซนเวล�ที่ต่�งกนั ส�ม�รถตดิ ต่อกนั ไดส้ ะดวกม�กขนึ้ และก�รวิจัยไม่จำ�เป็นต้องออนไลน์ในเวล�เดยี วกัน ปกตกิ �รสมั ภ�ษณ์ เหล�่ นจ้ี ะใชเ้ ทคโนโลยอี ีเมล แต่เทคโนโลยอี น่ื กใ็ ช้ได้ ขอ้ ดขี องการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ เมอื่ เปรยี บเทียบกับการสัมภาษณ์ออนไลน์ ð ส�ม�รถไดร้ ับและใหค้ �ำ แนะน�ำ ด้วยว�จ� ð ก�รพูดเร็วกว่�ก�รพิมพ์ ð ผสู้ ัมภ�ษณ์ส�ม�รถน�ำ ก�รสมั ภ�ษณก์ ลบั ไปยงั หัวขอ้ ก�รสมั ภ�ษณ์ไดอ้ ย่�งรวดเรว็ การจดั กลุม่ สนทนาออนไลน์ (Online Focus Group) เป็นชดุ ยอ่ ยของก�รวิจัย ออนไลนต์ �มวิธีนีผ้ ูด้ ำ�เนนิ ก�รสนทน�จะเชิญผู้ตอบคำ�ถ�มซึง่ มีคุณสมบัติเหม�ะสมในก�ร เป็นตวั แทน เข�้ สู่ (Log in) ระบบซอฟแวร์ก�รประชุมและเข้�รว่ มกล่มุ สนทน� กลุ่มสนทน� จะมีจ�ำ นวน 8-10 คน ผวู้ ิจัยบ�งคนเสนอให้สงิ่ จงู ใจเพ่ือใหเ้ ข้�ร่วมประชมุ แต่ก�รกระท�ำ ดัง กล่�วจะกอ่ ให้เกิดปญั ห�ด้�นจริยธรรมม�กม�ย ก�รอภิปร�ยจะใช้เวล� 60-90 น�ที ผดู้ �ำ เนิน ก�รจะนำ�ก�รอภิปร�ยโดยค�ำ ถ�มที่กำ�หนดไว้ ก�รประชมุ กลุม่ ทด่ี ีท่สี ุด จะมกี �รโต้ตอบกนั ระหว่�งผู้เข้�ร่วมประชุมกับผู้ดำ�เนินก�รเพือ่ สร้�งคว�มเข้�ใจอย่�งลึกซึ้งกับประเด็นปัญห� ก�รสนทน�กลุม่ ออนไลน์มคี ว�มเหม�ะสมสำ�หรับก�รวจิ ัยผบู้ ริโภค ก�รวิจยั ธุรกิจ ก�รวิจยั ก�รเมือง ขอ้ ดขี องก�รโตต้ อบผ�่ นเว็บไซตค์ อื ไมต่ อ้ งเสียค�่ ใช้จ�่ ยในก�รเดินท�ง ชว่ ยให้ผู้ ตอบแบบสอบถ�มท่วั ทุกมมุ โลกม�รวมกันด้วยวธิ กี �รอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ในก�รสนทน�ออนไลน์ สม�ชิกจะพดู อย่�งเปิดเผยม�กกว่�เมอ่ื เข�ตอบแบบสอบถ�มด้วยตนเอง ซ่งึ เปน็ ประโยชน์ ส�ำ หรับเรอ่ื งทีอ่ อ่ นไหว (Sensitive) ก�รสนทน�กลุม่ ออนไลนจ์ ะด�ำ เนนิ ก�รได้รวดเร็วกว่�กลุ่ม แบบดั้งเดิมเพร�ะจะมีก�รคัดเลือกผู้ที่จะม�เข้�สนทน�กลุ่มออนไลน์ม�จ�กสม�ชิกซ่ึงมีคุณสมบัติ เหม�ะสมต�มเกณฑข์ องก�รวิจยั การสัมภาษณ์แบบสนทนาตอบแบบทันที (Web-moderated interviewing) เปน็ ก�รสมั ภ�ษณ์ท�งออนไลน์ทมี่ ีก�รสนทน�ตอบแบบทันที (real-time chat interviews) บ�งคนอ�จเหน็ ว่�เป็นเหมือนก�รสนทน�กลมุ่ (Online Focus Group)ดังที่กล�่ วม� แต่ที่จริง มลี กั ษณะแตกต�่ งกัน คือส�ม�รถตอบโต้-ปฏิสมั พนั ธไ์ ดท้ นั ทีและตลอดเวล� ระบบนจ้ี ำ�เป็น ต้องใช้ผูด้ ำ�เนินก�รทีม่ ีทักษะในก�รควบคุมเทคนิคสูงและใช้ทักษะก�รพิมพ์อย่�งรวดเร็วกว่�เป็น ทวคี ูณ 103
ภ�พที่ 14 ก�รสมั ภ�ษณอ์ อนไลน์ ก�รสมั ภ�ษณแ์ บบออนไลน์เหล่�น้ีบคุ คลไม่ตอ้ งพบกนั ไดข้ ้อมลู รวดเร็วจ�กผู้ตอบ โดยไม่ต้องเสียเวล�และค�่ ใชจ้ �่ ยต่�งๆ ก�รเดนิ ท�ง 4. การรวบรวมข้อมลู ทางออนไลน์ (Collecting Information Online) 4.1 แบบสอบถามออนไลน์ (Online Questionnaire) เมอื่ ก�รใช้อนิ เทอร์เน็ตเพิม่ ม�กขึ้นทำ�ให้มีก�รนิยมเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถ�ม ท�งออนไลนม์ �กขนึ้ ต�มม� ดังนนั้ จงึ ต้องแนใ่ จว�่ แบบสอบถ�มมีคุณภ�พเพยี งพอทจ่ี ะให้ผู้ ตอบส�ม�รถตอบค�ำ ถ�มตรงกบั ท่ีตอ้ งก�ร กล่�วคือตอ้ งมีก�รสร�้ งและทดลองใช้ ตรวจสอบ คุณภ�พในเรอื่ งของแบบฟอรม์ รูปแบบของค�ำ ถ�ม คำ�ช้ีแจงในก�รตอบ วธิ กี �รด�ำ เนนิ ก�ร อย�่ งไรก็ต�มยังคงลักษณะและคุณสมบตั ทิ ดี่ ขี องแบบสอบถ�มโดยทั่วไป ผู้วิจยั มเี หตผุ ล หล�ยประก�รทีเ่ ลือกใช้แบบสอบถ�มออนไลน์ ลองม�ดูข้อดีและข้อเสียของวิธีก�รนี้โดยสรปุ ดังน้ี ข้อดี 1. นกั วจิ ยั เป็นผดู้ ูแลระบบมคี ว�มยืดหยนุ่ ม�กข้ึนในก�รแสดงค�ำ ถ�มผ่�นช่องท�งเหล�่ นี:้ » ท�ำ เครอื่ งหม�ยในกล่อง » เลอื กร�ยก�ร » Pop up เมนู » หน�้ จอ Help » กร�ฟกิ 104
2. ช่วยใหไ้ ด้ค�ำ ตอบรวดเร็ว 3. ถกู กว่� ไมต่ อ้ งเสียค�่ วัสดใุ นก�รพิมพ์ ค�่ ไปรษณีย์ ค่�แสตมป์ เป็นตน้ 4. ส�ม�รถน�ำ ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมแปลงเข�้ สกู่ �รก�รวเิ คร�ะหด์ ว้ ยคอมพวิ เตอร์ ไดท้ นั ที 5. แบบสอบถ�มออนไลน์ท�ำ ใหง้ �่ ยตอ่ ก�รแกไ้ ขข้อผิดพล�ด ขอ้ เสยี 1. กลุ่มเป�้ หม�ยทุกหน่วยไม่ได้มกี �รเข�้ ถงึ อนิ เทอร์เน็ต จึงไดผ้ ู้ตอบจำ�นวนจ�ำ กดั 2. หล�ยคนไม่เคยชนิ กับก�รตอบแบบสอบถ�มออนไลน์ 3. ก�รวจิ ยั พบว่�กลมุ่ ผูเ้ ข้�ชมทตี่ อบสนองตอ่ ก�รตอบแบบสอบถ�มออนไลน์จะ มคี ว�มล�ำ เอยี งเพร�ะสว่ นใหญ่เปน็ คนในกลมุ่ ท่ีมอี �ยนุ อ้ ย 4.2 การออกแบบแบบสอบถามออนไลน์ การเกบ็ รวบรวมและจัดลำาดับความสำาคญั ของขอ้ มลู » จ�ำ เปน็ ตอ้ งทบทวนวัตถุประสงคใ์ ห้รอบคอบเพอื่ กำ�หนดข้อมูลทต่ี ้องก�รเก็บรวบรวม » ควรจัดลำ�ดบั คว�มส�ำ คญั ของขอ้ มลู ทีจ่ ะเกบ็ รวบรวม ไม่ทำ�ให้เกดิ คว�มยงุ่ ย�ก สับสน ในก�รตอบ แนวทางการสรา้ งแบบสอบถามออนไลน์ ในก�รส�ำ รวจแต่ละครั้ง มีค�ำ ถ�มท่ีตอ้ งก�ร คำ�ตอบในหล�ยประเด็น วิธที ีจ่ ะสร้�งแบบสอบถ�มให้ง่�ยขึ้น ไดแ้ ก่ » เรม่ิ จ�กค�ำ ถ�มหลัก » ใช้ค�ำ ถ�มแบบสัน้ และเข้�ใจง่�ย » ไมต่ ั้งคำ�ถ�มในเชิงลบ » ใชค้ �ำ ถ�มทต่ี อ่ เนอ่ื งในเรอื่ งที่เกีย่ วข้องกนั » เรม่ิ ดว้ ยค�ำ ถ�มทง่ี �่ ย จะท�ำ ใหผ้ ตู้ อบอย�กท�ำ ตอ่ » รวมค�ำ ถ�มเรอื่ งเดียวกนั ไวใ้ นกลมุ่ เดียวกัน » ค�ำ ถ�มควรเริ่มจ�กค�ำ ถ�มทั่วไปแลว้ จึงต่อดว้ ยคำ�ถ�มเฉพ�ะเร่ือง » ถ�มเก่ยี วพฤตกิ รรมกอ่ นถ�มเรือ่ งแนวคดิ » ถ�มค�ำ ถ�มง�่ ยๆ เช่น ขอ้ มูลทัว่ ไป เม่ือใกล้จบก�รส�ำ รวจออนไลน์ » ถ้�จำ�เปน็ ต้องถ�มค�ำ ถ�มในประเด็นทมี่ ีอ่อนไหว ใหถ้ �มเมอื่ ใกลจ้ บก�รสำ�รวจออนไลน์ จรรยาบรรณเกี่ยวกับแบบสอบถามออนไลน์ ประเด็นด้�นจรรย�บรรณในก�รรวบรวมข้อมูลจ�กกลุม่ เป้�หม�ยโดยคำ�นึงถึงสิทธิ ของผู้ตอบ ไดแ้ ก่ » ผ้ตู อบมสี ทิ ธ์ิที่จะไมต่ อบคำ�ถ�มบ�งอย่�งในแบบสอบถ�ม » ควรใช้แรงจงู ใจในก�รตอบเท�่ ท่ีจ�ำ เป็น » แบบสอบถ�มไม่ควรให้มีก�รระบชุ ื่อ 105
» ห�กเปน็ ไปได้อ�จใส่หม�ยเลขทกี่ ำ�กบั แบบสอบถ�มเพื่อก�รตดิ ต�มโดยตอ้ ง ชี้แจงใหผ้ ู้ตอบเข�้ ใจชัดเจน » ต้องไมเ่ ปดิ เผยขอ้ มูลของผู้ตอบเป็นร�ยบุคคลและระบใุ นแบบสอบถ�มให้ผู้ ตอบทร�บ » ควรมคี �ำ ถ�มท่ีมตี วั เลอื ก “ไมท่ ร�บ” หรอื ตวั เลอื กทห่ี ม�ยถงึ คว�มเป็นกล�ง เพือ่ ใหผ้ ู้ตอบร้สู ึกว่�เข�มโี อก�สท่จี ะตอบสงิ่ ที่เข�ไมร่ ู้หรอื แสดงคว�มเปน็ กล�ง เพอ่ื ได้ข้อมลู ทเ่ี ปน็ จรงิ » ไมค่ วรมีค�ำ ถ�มลวงผู้ตอบ พวกเข�ควรส�ม�รถตอบอย่�งตรงไปตรงม� » ควรใหผ้ ู้ตอบควรรูถ้ งึ วัตถุประสงคข์ องก�รตอบแบบสอบถ�มและก�รใชข้ ้อมูล ในบ�งกรณีแบบสอบถ�มควรจะถูกตรวจสอบด้�นจรรย�บรรณโดยคณะกรรมก�ร หรือ บคุ คลภ�ยนอก ทง้ั น้เี พอ่ื ให้แน่ใจว่�ผตู้ อบส�ม�รถตอบได้โดยไมร่ ู้สึกอดึ อดั รปู แบบของแบบสอบถามออนไลน์ » แบบสอบถ�มควรเริม่ ตน้ ดว้ ยคำ�ชีแ้ จงถึงวัตถุประสงคข์ องก�รวิจยั ส้ันๆ » เลือกใช้ประเภทคำ�ถ�มในแบบสอบถ�มให้เหม�ะสมทส่ี ุดทเ่ี อื้อต่อก�รทำ�คว�ม เข�้ ใจง่�ยและไดค้ �ำ ตอบทต่ี รงต�มต้องก�ร » เพ่ือลดคว�มซำ�ซ้ ้อน ควรเลอื กใช้ข้อค�ำ ถ�มแบบ”smart branching” เชน่ ในขอ้ ใดเลอื กตอบว�่ “ใช่” ใหข้ ้�มโดยอัตโนมัตไิ ปท่ขี ้อทเี่ กีย่ วข้องต่อไป » ควรเขยี นขอบคุณในตอนท้�ยของแบบสอบถ�ม ความยาวแบบสอบถาม โดยทั่วไปแบบสอบถ�มควรใช้เวล�ตอบไม่เกนิ 5 น�ที » โดยท่วั ไปค�ำ ถ�มแบบเลอื ก 4 ตัวเลือก ใช้เวล�ตอบ 1 น�ที » ค�ำ ถ�มทีเ่ ขยี นค�ำ ตอบสัน้ ๆ 1 ขอ้ จะเทยี บเท�่ กับ 3 ข้อค�ำ ถ�มแบบเลอื กตอบ การทดลองใชแ้ บบสอบถาม ควรกระท�ำ อย�่ งนอ้ ยกบั กลมุ่ ตวั อย�่ ง 5 คน พร้อมกบั ข้อพิจ�รณ�และแนะนำ�เพื่อก�รปรับปรงุ กอ่ นใช้จรงิ ดงั น้ี » ข้อพิจ�รณ�เสนอแนะเกี่ยวกบั คว�มเหม�ะสมของคำ�ถ�มหลกั ๆในแบบสอบถ�ม » ขอ้ แนะน�ำ ส�ำ หรบั ก�รเขยี นค�ำ ช้แี จงในก�รตอบทีเ่ หม�ะสม » ผวู้ จิ ัยควรใส่ใจและปรบั ปรงุ ร่�งแบบสอบถ�มต�มขอ้ แนะนำ�สำ�หรบั ข้อท่ีสำ�คัญ รปู แบบของคำาถาม (Question Formats) ในก�รสร้�งแบบสอบถ�มและขอ้ คำ�ถ�มต้องใชท้ ั้งศ�สตร์และศลิ ป์เฉกเช่นนกั ศลิ ปะ หรือ บรรด�ศิลปนิ ทเี่ ลอื กใชส้ ีให้สวยง�ม ก�รวจิ ัยเชน่ กันทต่ี อ้ งเลอื กใช้ชนดิ ของข้อคำ�ถ�มที่เหม�ะสมใน ก�รไดม้ �ซงึ่ ข้อมูลที่ถกู ต้องจ�กผู้ตอบท่ีมีลักษณะและสถ�นภ�พต�่ งๆ ดังนนั้ ในก�รออกแบบและ สร�้ งข้อค�ำ ถ�มจงึ ตอ้ งอ�ศัยหลักก�รประเมนิ ผลอยู่ตลอดเวล�ซึง่ รปู แบบค�ำ ถ�มหล�ยชนดิ ดังนี้ 106
ก) ปุ่มวงกลมหรอื วทิ ยุ (Radio Button) ผู้ตอบจะต้องคลกิ ไปท่ีป่มุ วงกลมทเ่ี ลือก จดุ วงกลมด�ำ กจ็ ะปร�กฎในวงกลมนัน้ แบบนี้เป็นก�รเลือกตอบเพยี งค�ำ ตอบเดยี ว » เป็นคำ�ถ�มเฉพ�ะเจ�ะจง » ควรตรวจสอบให้แนใ่ จว่�ไม่มีตวั เลอื กทผ่ี ิดใหเ้ ลือกตอบ » ต้องคลกิ ให้ถูกต้อง ข) กลอ่ งเครื่องหม�ย (Check Boxes) ผู้ตอบจะต้องคลกิ ทก่ี ลอ่ งท่ีอยู่ถัดไปหรือหน้�คำ�ตอบ ที่ตรงกบั ตวั เลอื กที่ตอ้ งก�รเครื่องหม�ย จะปร�กฎในกลอ่ งเมือ่ มกี �รคลิกไปทีก่ ล่องนั้น และ ก�รใช้กลอ่ งเครื่องหม�ยชนดิ นเี้ ลือกได้ ค�ำ ตอบเดยี ว » ถ�้ มตี ัวเลือกจำ�นวนม�ก แนะนำ�ให้ใชต้ �ร�งเมทรกิ ซ์ » ถ้�ส�ม�รถเลือกไดม้ �กกว�่ หน่งึ ตวั เลอื ก ตอ้ งชแ้ี จงใหช้ ัดเจน » ถ้� “ไมม่ คี �ำ ตอบข้�งต้น” ให้ใช้ปมุ่ ตวั เลือกเพ่อื ปอ้ งกนั ขอ้ ผดิ พล�ด 107
ค) กลอ่ งร�ยก�รเลือก (Drop Down Menus) ผ้ตู อบตอ้ งคลิกท่ลี กู ศรด้�นขว�ของ กลอ่ งร�ยก�ร แลว้ ร�ยก�รคำ�ตอบจะปร�กฏ แลว้ เลือ่ นลกู ศรเพ่ือคลิกตวั เลือกท่ีใส่ไว้ แล้วที่ต้องก�รตอบ คำ�ตอบท่เี ลอื กจะปร�กฏในกล่องให้เห็น กลอ่ งประเภทน้ีใชก้ บั ก�ร เลือกไดค้ �ำ ตอบเดียวเท�่ นน้ั »»» เหม�ะส�ำ หรบั ร�ยก�รใหเ้ ลอื กตอบจำ�นวนม�ก เช่น เลอื กประเทศ รฐั หรอื จังหวัด เป็นตน้ ไม่ควรใช้กบั ก�รตอบที่พิมพ์ไดเ้ รว็ กว่� ในก�รออกแบบ ไม่ควรมีตัวเลือกอันแรกในกล่อง เพร�ะอ�จท�ำ ให้ผู้ตอบเข�้ ใจผดิ ได้ ง) คำ�ตอบปล�ยเปิด (Open-ended questions) ค�ำ ตอบปล�ยเปิด เป็นค�ำ ตอบที่ ผ้ตู อบจะพมิ พ์ข้อคว�มใสเ่ ข้�ไปในกล่องขอ้ คว�มท่ีเตรยี มไวส้ ำ�หรบั ค�ำ ตอบ โดยมีคำ�ถ�ม อยู่ในกรอบใหญ่ ดังรปู ก�รตอบค�ำ ถ�มปล�ยเปิด ต�มคว�มเหน็ อิสระของผตู้ อบ ซงึ่ เหม�ะ ส�ำ หรับก�รถ�มคว�มคดิ เห็น , ก�รชอบหรือไมช่ อบอย�่ งไร ก�รบรรย�ยเหตกุ �รณ์ หรือ ขอ้ เสนอแนะต่�งๆ แบบน้ี ผตู้ อบจะตอ้ งคลิกไปในกลอ่ งขอ้ คว�ม ซงึ่ จะมเี คร่อื งหม�ยเลือ่ น cursor ใหพ้ มิ พ์ » เลือกแบบและขน�ดของตวั อกั ษรที่จะพมิ พ์ ซง่ึ ข้นึ อยกู่ ับก�รออกแบบและจำ�นวน ขอ้ มลู ท่ตี ้องก�รของผ้ตู อบ » ตอ้ งมีคำ�ชแ้ี จงให้ผูต้ อบคำ�ถ�มดำ�เนนิ ก�รไดอ้ ย�่ งชัดเจน จ) ม�ตร�ส่วนประม�ณค่� (Rating Scale) ผู้ตอบจะเลอื กตอบจ�กระดบั ค่�ระดับใด ระดบั หนง่ึ เชน่ ต่ำ� ป�นกล�ง ดี หรอื ดมี �ก ม�ตร�สว่ นประม�ณค�่ เป็นก�รวัดทต่ี ้อง เปรยี บเทียบค่�ของตัวแปรท่ีศกึ ษ� » ในก�รใช้แบบนี้ ก�รก�ำ หนดค่�ของระดับม�ตร�ส่วนประม�ณค่�ใหค้ งท่ี เหมือนกนั ทุกหวั ข้อ » ควรใชเ้ ลขค่ีในก�รให้ค�่ ระดบั ม�ตร�ส่วน เพ่ือง่�ยต่อก�รวิเคร�ะห์ และเปล่ยี นค่� เปน็ ตรงกนั ข�้ ม ถ�้ คว�มหม�ยของขอ้ คว�มเปน็ เชิงลบ » พย�ย�มจ�ำ กัด จ�ำ นวนขอ้ คำ�ถ�มย่อยใหน้ อ้ ยกว่� 10 ข้อ เพร�ะถ้�ม�กกว่�นัน้ จะอ่�นย�ก และจะแสดงผลย�กข้นึ ในบ�งเร่ือง การบริหารจัดการแบบสอบถามออนไลน์ เม่อื ตัดสนิ ใจจะใชแ้ บบสอบถ�มออนไลน์ และจำ�เปน็ ที่ตอ้ งตอ้ งติดต่อกบั ผู้ท่เี ป็นเป้�หม�ยในก�รตอบโดยอ�จใช้วธิ ตี ่อไปนี้ คือ n จดหม�ยข่�ว n อีเมล n สอ่ื โฆษณ� n สื่อสง่ิ พมิ พ์ต่�งๆ n ก�รใหค้ �่ ตอบแทน n ก�รให้ส่วนลดหรือส่ิงจงู ใจ วิธีดงั กล�่ วเปน็ ก�รทำ�ให้ผสู้ นใจ ตั้งใจทจ่ี ะให้ขอ้ มูลอย่�งแทจ้ ริง ตอบขอ้ มลู ที่ตอ้ งก�ร 108
การวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากแบบสอบถามออนไลน์ (Analysis of Online Questionnaire) ขอ้ ได้เปรยี บที่สำ�คัญของก�รเก็บขอ้ มูลโดยใชแ้ บบสอบถ�มออนไลน์ คือ ส�ม�รถท�ำ ก�รวิเคร�ะห์ขอ้ มลู จ�กขอ้ มูลทรี่ วบรวมม�ไดท้ นั ที ซึง่ ต้องออกแบบสถิตทิ ี่จะใช้วิเคร�ะหแ์ ละก�รแสดงผล (output) ไป พรอ้ มกบั ตอนออกแบบแบบสอบถ�ม ดงั น้นั ก�รแปลและร�ยง�นผลก็จะทำ�ได้ง�่ ยและรวดเรว็ ตวั อย่�งผลของก�รวิเคร�ะหจ์ �กแบบสอบถ�มออนไลน์ ดงั แสดงข้�งล�่ งน้ี ภ�พท่ี 15 ตวั อย่�งของก�รสร้�งก�รแสดงผลก�รวเิ คร�ะห์ข้นั สูง เครื่องมือในการสาำ รวจทางออนไลน์ (Online Survey Tools) เครื่องมอื สำ�รวจส�ำ เรจ็ รูป ตอ่ ไปน้ี ใช้ส�ำ หรบั ก�รสำ�รวจโดยไมเ่ สยี ค่�ใชจ้ ่�ยใดๆ สำ�หรบั บ�งมห�วทิ ย�ลยั และบ�งหน่วยง�น • Zoomerang เป็นซอฟท์แวร์ก�รส�ำ รวจออนไลนโ์ ปรแกรมแรกทส่ี ร�้ งขึ้น ซ่งึ มี ทงั้ ทไ่ี ม่เสียและเสยี ค่�ใชจ้ ่�ย และอ�จมกี �รลดร�ค�ของซอฟทแ์ วรส์ �ำ หรับสถ�บันก�ร ศกึ ษ� มห�วทิ ย�ลัย หรือองค์กรส�ธ�รณประโยชน์ • Bristol online Survey (BOS) สร้�งขึน้ โดย Institute for Learning and Research Technology (ILRT) , มห�วิทย�ลยั Bristol • Survey Console • ahaSurvey ผลติ โดย webDNA ซึง่ ใหบ้ ริก�รก�รสำ�รวจท่ีมคี ว�มก�้ วหน�้ และใชก้ นั ม�กทสี่ ุด • Survey Monkey • QuestionPro (QP) ผลติ โดย Survey Analytics LLC และใหก้ �รบรกิ �รเรอ่ื งใหมๆ่ ทนั สมยั 4.3 ประโยชนข์ องการวิจัยออนไลน์ (Online Research Benefits) • ก�รวิจัยออนไลน์ ประหยดั เวล�และค่�ใชจ้ �่ ย ไดผ้ ลอย่�งรวดเร็วในทุกข้นั ตอน ของก�รวจิ ยั เม่ือเทียบกับก�รเกบ็ ขอ้ มูลแบบส่งแบบสอบถ�มธรรมด�โดยวิธดี ัง้ เดิม ก�รวิจยั ออนไลนส์ �ม�รถเข�้ ถึงผู้ตอบท่ีอยูไ่ กลไดอ้ ย่�งรวดเรว็ พอกับท่ีอยใู่ กล้ นักวจิ ัยส�ม�รถใช้เวล� ในก�รด�ำ เนินก�รอย�่ งอ่ืนได้ เชน่ ก�รเขยี นร�ยง�นก�รวจิ ัย โดยใช้ข้อมลู หรือแบบก�รร�ยง�น ผลโดยตรงจ�กวิจยั ออนไลน์ดังกล่�ว • อินเทอร์เน็ตจะเข้�ถึงบุคคลและกลุม่ คนที่ไม่ส�ม�รถใช้ได้โดยวิธีอืน่ (Garton et.al., 1999) ยกตัวอย�่ งเชน่ บุคคลบ�งกลุ่มไมก่ ล้�พอที่จะใหข้ ้อมลู แบบก�รสัมภ�ษณต์ วั ตอ่ ตัวได้ เปน็ ตน้ • บ�งกรณอี �จพบว�่ ผู้ตอบบ�งร�ยไม่ชอบก�รรบกวนแบบวธิ ีทต่ี อ้ งตอบแบบสอบถ�ม หรอื สัมภ�ษณ์โดยตรง แตส่ ะดวกท่ีจะตอบท�งออนไลน์ม�กกว�่ 109
• ย่งิ ไปกว่�นน้ั ผูต้ อบแบบออนไลน์ จะให้ข้อมลู ทต่ี รงและเป็นคว�มจริงไดม้ �กกว่� • ก�รรวบรวมข้อมลู ออนไลน์ มีค่�ใชจ้ �่ ยน้อยและไม่ตอ้ งเสยี ค�่ ใช้จ่�ยของวัสดอุ ปุ กรณ์ เช่น กระด�ษ เคร่อื งพิมพ์ หมึกพิมพ์ ค�่ จัดส่ง ทส่ี �ำ คญั ไม่ต้องจ้�งผู้ช่วยเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล • ผ้ตู อบท�งออนไลนม์ ีอิสระในก�รตอบและในก�รใหค้ ว�มคดิ เหน็ ต�่ งๆ • ข้อดอี ืน่ ๆ เช่น ก�รได้ข้อมลู ทันทีทนั ใด ก�รวิเคร�ะห์ได้รวดเร็ว ปรบั จ�ำ นวนกลุ่ม ตวั อย่�งได้รวดเรว็ ใชพ้ วกมลั ติมิเดีย และกร�ฟกิ ในก�รนำ�เสนอได้ง่�ยรวดเรว็ และถกู ต้องกว่� สรปุ ประโยชนห์ ลกั ของการวิจยั ออนไลน์ ð เร�ส�ม�รถสำ�รวจโดยใชภ้ �ษ�ไดห้ ล�ยภ�ษ� ð เร�ส�ม�รถรู้ผลในขณะทสี่ ำ�รวจ ð เร�ส�ม�รถดูข้อมูลร�ยบุคคล ð เร�ส�ม�รถใช้รปู แบบของก�รตอบได้หล�ยประเภท (กล่องก�เครื่องหม�ย, ก�รเลือกเมนู , ปุ่มวทิ ยุ , spreadsheet เปน็ ตน้ ) ð เร�ส�ม�รถส�ำ รวจผ�่ นอเี มล หรือ tracking ð เร�ใชก้ �รตอบของผตู้ อบเป็นเกณฑ์ ð เร�ส�ม�รถระบวุ นั สิ้นสุดก�รส�ำ รวจโดยอัตโนมตั ิ ð เร�ส�ม�รถประหยดั เวล�และค�่ ใชจ้ �่ ย ขอ้ เสียเปรยี บของการวิจัยออนไลน์ แมว้ �่ ก�รวิจยั ออนไลนม์ ขี อ้ ดหี ล�ยประก�รดงั กล�่ วแลว้ แตย่ งั มบี �งเร่ืองทต่ี อ้ งค�ำ นงึ ถึง ได้แก่ 1. เร�อ�จไม่ทร�บถึงประช�กรทีส่ �ม�รถตอบผ่�นออนไลน์ทีจ่ ะส�ม�รถเลือกแบ่ง กล่มุ ตวั อย่�ง หรอื ใชป้ ระช�กรทงั้ หมด แต่ปัจจบุ ันอ�จต้องมีก�รสำ�รวจเบอ้ื งตน้ ใหท้ ร�บจ�ำ นวนผู้ ทสี่ �ม�รถตอบแบบส�ำ รวจออนไลน์ หรอื จ�กก�รส�ำ รวจกอ่ นหน้�ก�รวจิ ยั บ�งคร้งั พบคว�มซำ้�ซอ้ น ของทีอ่ ยู่ หรือผูต้ อบ 2. ในบ�งครั้งผ้วู จิ ัยเป็นผู้ติดต่อกบั ผู้ตอบเองในก�รตอบเก็บข้อมูลออนไลน์ ผู้ทต่ี อบ อ�จรูจ้ กั ผ้วู จิ ยั ดังนน้ั ทำ�ใหเ้ กิดข้อมูลล�ำ เอยี งท้งั ในท�งลบและท�งบวกได้ 4.4 แนวโน้มการวจิ ัยออนไลนใ์ นการจดั การอาชวี ศกึ ษาและฝกึ อบรมวชิ าชีพ ปัจจุบนั ผูว้ ิจัยในหล�ยส�ข�ใช้ก�รเก็บขอ้ มูลท�งออนไลนม์ �กขนึ้ ดงั น้นั จงึ มีคว�ม เปน็ ไปไดท้ ่ใี นวงก�รอ�ชีวศกึ ษ�ทจ่ี ะใช้เทคโนโลยีในก�รวิจัยออนไลน์ม�กข้ึนกว�่ เดิม โดยเฉพ�ะ ก�รวิจยั ท�งสงั คมศ�สตร์ อ�จเก็บข้อมูลเก่ยี วกับคว�มคดิ เหน็ เกี่ยวกับเร่ืองท่ีเกย่ี วข้อง เช่น ก�รติดต�มผ้สู �ำ เร็จอ�ชวี ศึกษ�หรอื ก�รเก็บข้อมูลเพอ่ื ก�รปรับปรุงก�รจดั ก�รอ�ชวี ศกึ ษ� เปน็ ต้น ก�รวิจัยออนไลน์ จ�ำ เป็นต้องใชผ้ ู้เช่ยี วช�ญท�งด�้ นไอซีที (ICT) ม�ชว่ ยออกแบบ หรอื พฒั น�ซอฟทแ์ วร์ เฉพ�ะเรือ่ งในก�รสำ�รวจขอ้ มูลออนไลนเ์ ก่ยี วกบั อ�ชีวศึกษ� ซ่งึ ปจั จบุ ัน ส�ม�รถใช้ซอฟท์แวรส์ ำ�เร็จรูปในก�รส�ำ รวจตล�ดดังกล�่ ว คมู่ อื นก้ี ็อ�จเป็นสว่ นหนึง่ ทจ่ี ะชว่ ย กระตุน้ ให้มกี �รทำ�วิจยั ออนไลนข์ องอ�ชวี ศึกษ� ดว้ ยข้อดีและประโยชน์ท�งวิช�ก�ร ดงั กล�่ ว ม�ข้�งตน้ ส�ำ หรบั ในระดบั สถ�นศกึ ษ�จะส�ม�รถใชร้ ะบบออนไลนด์ งั ขอ้ เสนอแนะตอ่ ไปน้ี 110
ð ก�รคน้ คว้�วรรณกรรมและง�นวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ð »»»»»»»»»»»ในกกสกกศคศกกกก��������ำ�กวึกึรรรรรรรรร�ทษษศศศพพศศวมำ���จึกกกึึกกึึัฒฒัควผปหษจิษษษษิดลรนนรยั�����ะเก��ือผหกกคคสมมรตลน็ำ��ววิทะ��รลกิด��เทตตธกยมมรังติภบรรีย่คะอสเ�ฐฐป�ขทวนมมำ���พอน็กบเดรกนนรกงไับับห�้�็จววปก�กนรรกิชชิขรไ�ือม�อ���ดอฝรรรแชชงี�ปข้งกึพพ�นพีีพชผอรอนฒััฒวีวใขเู้บังบนทรโศอหนปนนยีรส�ำกึงล�ร้ม�มนข�อษโงุกันอกขขทม�ห�สว�อ�งช่ปีเรตัรงตูผดงวี รอืพ�กครสู้ลศะนพัฒใรร�ำกกึกหใฒัรเู �นนษ–อรมมรนจ็�ว�บอ่ๆกแทงก�อ��กกตีห่ม�จร�้ป�ร�ีอลเ�ชรรศมญัริทักีพอียยกึคหธสอตุนษ์วิพู�ตสิสก��ลรรม��สตะหรต�่อสก้อขกอรง��รนกวรมชิ�จร�ัดขตกอ�่ �งงรๆตอล��ชดีวแศรึกงษง��แนละ ฝึกอบรมวิช�ชพี อย่�งไรกต็ �ม มีขอ้ ทค่ี วรคำ�นงึ ถงึ ส�ำ หรับผู้วจิ ัยในสถ�นศึกษ�เกยี่ วกบั ก�รวจิ ยั ออนไลน์ »»» ก�รวจิ ยั ออนไลน์ขึน้ อยกู่ บั เร่ืองทีศ่ กึ ษ� ค�ำ นงึ ถึงกลุ่มประช�กรผใู้ ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เก่ยี วกบั ก�ร ใชว้ ิธีก�รวเิ คร�ะห์สถิติท�งด้�นพ�ร�มิเตอร์ และนอนพ�ร�มเิ ตอร์ เชน่ วิจยั ทัว่ ไป »»» ก�รวิจยั ท�งออนไลนไ์ ม่ใช่ก�รแก้ปัญห�ได้ทกุ อย�่ ง บ�งคร้ังอ�จพิสจู นไ์ ดว้ ่�ก�รใชอ้ อนไลนอ์ �จดีกว่�วิธกี �รเดิมในบ�งเร่อื ง ในก�รรวบรวมขอ้ มลู ควรหลีกเลย่ี งก�รเกบ็ จ�กกล่มุ ตวั อย�่ งบ�งกลุ่มเท่�นนั้ ต้องใหค้ รอบคลมุ ประช�กรของเรอ่ื งที่ศึกษ� เกร็ดความร้ใู นการทำาวิจัย (Practical Research Tips) แนวทางทั่วไปในการทำาวิจยั ออนไลน์ ð ก�รค้นคว�้ แบบสอบถ�ม/เคร่อื งมอื ก�รวิจัยทพ่ี ฒั น�แล้ว ð ใช้คำ�ถ�มของขอ้ มูลท่ัวไปส�ำ หรบั ทกุ แบบสำ�รวจ ð พย�ย�มเขียนขอ้ คว�มใหส้ น้ั และรดั กมุ ทสี่ ดุ ð ใชช้ นิดของค�ำ ถ�มออนไลน์เท่�ท่จี ำ�เปน็ ð พย�ย�มหลกี เลย่ี งคำ�ถ�มน�ำ ð พย�ย�มหลกี เลีย่ งก�รใช้ร�ยก�รเลือก (drop down menu) ð ใชว้ ิธีก�รทเี่ หม�ะสมกบั ข้อคำ�ถ�มหรอื เรอื่ งทจี่ ะวิจัย ð ควรทดสอบแบบสอบถ�มก่อนน�ำ ไปใช้ 111
อภธิ านศัพท์ กระด�นข่�ว (Bulletin Board) เทคนคิ ทีเ่ ชิญสม�ชิกม�ร่วมแสดงคว�มคิดเห็น ก�รสนทน�พดู คุย (Chatting) เสนอแนะเรอื่ งทกี่ ำ�หนดในเว็บไซตท์ ีต่ ้ังข้นึ ม� เว็บไซต์สำ�หรับสนทน�หรือพูดคุยโต้ตอบกันในทันที ทันใด (real-time) ซ่ึงน�ำ ม�ใชก้ บั ก�รวิจัยออนไลน์ อีเมล (E-mail) จดหม�ยท�งอเิ ล็กทรอนิกส์ ก�รสนทน�กล่มุ (Focus group) เป็นวิธีก�รหนง่ึ ของก�รวิจัย โดยท่ผี ู้ดำ�เนนิ ก�รจะ เชญิ ผูเ้ กยี่ วขอ้ ง ผู้เช่ยี วช�ญในหัวข้อเรอื่ งทีจ่ ะวจิ ัย เข�้ ม� login โดยก�รกำ�หนดเวล�ใหแ้ ต่ละคนได้ สนทน� และสว่ นม�กใช้เวล�ในก�รสนทน�กลมุ่ ออนไลน์ประม�ณไม่เกิน 90 น�ที ICT (ไอซีท)ี เทคโนโลยีส�รสนเทศเพ่ือก�รสื่อส�ร (Information and Communication Technology) ก�รวิจยั ออนไลน์ (Online Research) ก�รท�ำ วจิ ัยเชงิ ปรมิ �ณและคณุ ภ�พผ่�นระบบ ก�รส�ำ รวจ (Survey) อนิ เทอรเ์ นต็ เว็บ (Web) ก�รส�ำ รวจคว�มจรงิ ของพฤตกิ รรมของผู้ตอบแบบ สอบถ�มเก่ียวกบั ก�รปฏบิ ัติคว�มเชอื่ เจตคติ คว�มคดิ เหน็ ก�รตัดสนิ ใจ คว�มสนใจ เป็นต้น เครอื ข�่ ยท�งอินเทอร์เน็ต แบบฝกึ ปฏิบตั ทิ า้ ยบทท่ี 7 1. »»อธิบไอ�มยนิ ่วขเ�่ทอ้ วอคธิ รกีว์เ��นมรต็ วตจจิ อ่ ะัยไเปอปอนน็ น้ีเคไลรือ่นง์หมรืออื ใกน�กร�วรจิ รัยวธบรรรวมมดข�อ้ กม็จูละมได�ก้ผขลึน้สรุปเดจยี นวกกรันะทงั่ อ�จกล�ยเปน็ เรื่องปกติส�ำ หรับก�รวจิ ัย 2. ก�รจัดก�รอ�ชีวศึกษ�และฝึกอบรมวชิ �ชีพจะใชป้ ระโยชนจ์ �กก�รวจิ ยั ออนไลนไ์ ด้อย่�งไรบ้�ง 112
บรรณานกุ รม Bailey, Kenneth D.(1994). Methods of social research. (4th ed.). New York: The Free Press, A division of Macmillian, Inc. Best, John W. and Kahn, James V (1998). Research in education (8th Edition). Boston: Allyn and Bacon. Bogdan R.C. and Biklen, S.K.(1998). Qualitative research for education : An introduction to theory and methods, (3rd ed.) Boston: Allyn and Bacon. Catane, Juliet A. (1998). Types of research and research methodology, Philippine Journal of Industrial Education and Technology, vol 8, Nos 1&2 pp12-41 Calderon J.F. and Gonzales, E.C (2008). Methods of research and thesis writing. Philippines: National Book Store. Cho, H. & LaRose, R.(Winter, 1999). Privacy issues in Internet surveys. Social Science Computer Review, Vol17(4), pp421-434. Colombo Plan Staff College.(1984) Developing skills in technician education research. Singapore: CPSC. Coomber, R. (June 30 ,1997). Using the Internet for survey research. Sociological Research Online, Vol2(2), pp14-23. Couper, M.P.(2000). “Web-base surveys: A Review of Issues and Approaches.” Public opinion quarterly vol 64, pp464-494. Couper, M.P., Traugott, M. W., & Lamias, M.J (2001). “Web survey design and administration.” Public opinion quaterly vol 65, pp230-253. Couper, M.P., Blair, J & Triplett, T .(1998). A comparison of mail and e-mail for a survey of employees in federal statistical agencies. Journal of Official Statistics vol15(1), pp39-56. Fraenkel, J.R. and Wallen, N.E. (2007). How to design and evaluate research in education. (International Edition). New York: McGraw - Hill Co., Inc. Gall, M.D., Borg, W.R.,& Gall, J.P.(2003). Educational research: An introduction (7th ed.) White Plains, NY: Longman. Kehoe, C.M., Pitkow, J.E.& Morton, K.(1997). “Eighth WWW user survey [online-line]. Available: http://www.gvu.gatech.edu/user_surveys/survey-1997-10” Kerlinger, Fred N. (1973). Foundations of behavioral research. (2nd Edition). New York: Holt, Rinehart and Winstorn, Inc. Bailey, Kenneth D.(1994). Methods of social research. (4th ed.). New York: The Free Press, A division of Macmillian, Inc. Best, John W. and Kahn, James V (1998). Research in education (8th Edition). Boston: Allyn and Bacon. Bogdan R.C. and Biklen, S.K.(1998). Qualitative research for education : An introduction to theory and methods, (3rd ed.) Boston: Allyn and Bacon. Catane, Juliet A. (1998). Types of research and research methodology, Philippine Journal of Industrial Education and Technology, vol 8, Nos 1&2 pp12-41 Calderon J.F. and Gonzales, E.C (2008). Methods of research and thesis writing. Philippines: National Book Store. 113
บรรณานกุ รม Cho, H. & LaRose, R.(Winter, 1999). Privacy issues in Internet surveys. Social Science Computer Review, Vol17(4), pp421-434. Colombo Plan Staff College.(1984) Developing skills in technician education research. Singapore: CPSC. Coomber, R. (June 30 ,1997). Using the Internet for survey research. Sociological Research Online, Vol2(2), pp14-23. Couper, M.P.(2000). “Web-base surveys: A Review of Issues and Approaches.” Public opinion quarterly vol 64, pp464-494. Couper, M.P., Traugott, M. W., & Lamias, M.J (2001). “Web survey design and administration.” Public opinion quaterly vol 65, pp230-253. Couper, M.P., Blair, J & Triplett, T .(1998). A comparison of mail and e-mail for a survey of employees in federal statistical agencies. Journal of Official Statistics vol15(1), pp39-56. Fraenkel, J.R. and Wallen, N.E. (2007). How to design and evaluate research in education. (International Edition). New York: McGraw - Hill Co., Inc. Gall, M.D., Borg, W.R.,& Gall, J.P.(2003). Educational research: An introduction (7th ed.) White Plains, NY: Longman. Kehoe, C.M., Pitkow, J.E.& Morton, K.(1997). “Eighth WWW user survey [online-line]. Available: http://www.gvu.gatech.edu/user_surveys/survey-1997-10” Kerlinger, Fred N. (1973). Foundations of behavioral research. (2nd Edition). New York: Holt, Rinehart and Winstorn, Inc. Leedy, Paul.(1980). Practical research. New York: Macmillan Publishing Co., Inc. Runkel, Jakob.(1998). Basic methods and rules in social research. Jakarta, Indonesia: Ministry of Education and Culture. Sanchez, Custodiosa A. (2002). Methods and techniques of research (Third Ed.). Philippines: Rex Book Store. Sanchez, Manuel Jr. A. (2009). Technological research module. Iloilo City, Philippines: WVCST Publishing Center. Sevilla, et al. (1984) Introduction to research methods. Manila, Philippines: Rex Book Store. Siegel, Sidney. Nonparametric Statistics for the Behavioral Sciences (International Student Edition). Tokyo: MacGraw - Hill Kogakusha Ltd. Slavin, Robert E. (1984). Research methods in education. A practical quide. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice - Hall, Inc. Tuckman, Bruce W. (1994). Conducting educational research. New York: Harcourt Brace Javanovich, Inc. Vockell, Edward L. (1983). Education research. New York: Macmillan Publishing Company Inc. Zhang, Y. (January, 2000). Using the Internet for survey research: A case study. Journal of the American Society for Information Science, vol51(1), pp57-68. Internet Sources l www.wikipedia.com l www.smart-survey.co.uk l www.questionpro.com 114
ภ�คผนวก แนวก�รตอบแบบฝกึ หดั ท�้ ยบท แบบฝึกหัดท้�ยบทท่ี 1 1. ขอ้ คว�มน้เี กย่ี วข้องกบั ก�รวจิ ัยหรอื ไม่ ใช่ ไมใ่ ช่ ü 1. กิตตจิ ดั ท�ำ ใบตรวจสอบร�ยก�รอุปกรณ์ในโรงฝกึ ง�น ü 2. บอ๊ บพฒั น�ชดุ ก�รเรียนรใู้ นก�รแกไ้ ขปัญห�คอมพวิ เตอร์ ü 3. ฟ�ริด�ไดท้ ำ�ก�รทดลองวธิ กี �รสอน 2 วิธี โดยห�ประสทิ ธิภ�พ และ ü ตีคว�มผลต�มสมมตฐิ �นท่ตี ง้ั ไว้ 4. ม�รลิ นี ได้จดั ท�ำ โปรแกรมก�รฝึกอบรมส�ำ หรับช�่ งครูจ�กท่ไี ด้ศกึ ษ� ตัวอย่�งเอกส�รก�รฝึกอบรมและตัวอย่�งที่เกยี่ วขอ้ งและวรรณกรรม จ�กหอ้ งสมุด 5. พโี ดรได้ท�ำ ก�รห�คว�มสัมพนั ธร์ ะหว�่ ง ทกั ษะของผู้ส�ำ เรจ็ อ�ชศี ึกษ�กับ ü ทักษะท่ีอุตส�หกรรมต้องก�ร 2. ก�รวิจยั มคี ว�มสำ�คัญต่อก�รจดั ก�รอ�ชวี ศกึ ษ�และฝกึ อบรมวชิ �ชพี เชน่ เดยี วกบั ระบบก�ร ศกึ ษ�อน่ื เพร�ะผลก�รวจิ ยั เปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐ�นในก�รตดั สนิ ใจในก�รด�ำ เนนิ ก�ร เชน่ ในก�ำ หนด นโยบ�ย ก�รจดั ก�รเรยี นก�รสอน เปน็ ตน้ 3. ปัญห�ทีต่ ้องก�รวจิ ยั ในก�รจดั ก�รอ�ชวี ศกึ ษ�และฝกึ อบรมวชิ �ชพี ทอ่ี �จระบสุ ถ�นก�รณ์ใน รูปแบบของค�ำ ถ�ม เชน่ n ปัจจัยทีเ่ ปน็ ส�เหตทุ ท่ี �ำ ใหผ้ ูส้ �ำ เรจ็ ก�รศกึ ษ�สอบไดค้ ะแนนทดสอบระดบั ช�ตอิ ยใู่ นระดับต�ำ่ n สอนแบบใดท่ีจะยกระดับคณุ ภ�พก�รเรียนก�รสอนของครูและนักเรยี นวชิ �ชีพส�ข� อิเลก็ ทรอนิกส์ n อะไรคอื ม�ตรฐ�นวชิ �ชพี ของก�รท�ำ ง�นในโรงง�นอตุ ส�หกรรมและจะเปรยี บเทยี บกบั สมรรถนะของผสู้ �ำ เรจ็ ก�รศกึ ษ�อย�่ งไรเปน็ ตน้ แบบฝกึ หัดท�้ ยบทที่ 2 1. จ�กสว่ นหนง่ึ ของบทคดั ยอ่ ง�นวจิ ยั ตอ่ ไปน้ี ใหท้ �่ นระบวุ �่ เปน็ ก�รวจิ ยั ประเภทใด เร่ืองท่ี ประเภท เหตุผลทเ่ี ลอื กประเภทการวิจยั น้ี การวิจยั จ�กส่วนหน่งึ ของบทคดั ย่อง�นวจิ ยั ตอ่ ไปนี้ ให้ท�่ นระบวุ �่ เปน็ ก�รวจิ ัยประเภทใด 1 ก�รวิจัยพ้นื ฐ�น ตวั อย่�งนี้พบว�่ ก�รวจิ ัยมีจดุ มุ่งหม�ยท่จี ะพฒั น�เป็นทฤษฎเี ร่อื งหนึง่ (Basic Research) ไมใ่ ช่เพอ่ื ก�รแกป้ ัญห� เนอื่ งจ�กเปน็ ก�รวิจยั บกุ เบกิ ไม่มีง�นวิจยั ลักษณะน้ีม�ก่อน กระทำ� ก�รทดลองในห้องทดลองท่กี �ำ หนด 115
เร่ืองท่ี ประเภท เหตผุ ลทเี่ ลอื กประเภทการวิจัยน้ี การวิจยั 2 ก�รวิจัยประยกุ ต์ ตวั อย่�งนพ้ี บว่�ก�รวิจัยมจี ดุ มงุ่ หม�ยทจี่ ะแก้ปญั ห�ในสถ�นก�รณท์ ี่เกิด (Applied Research) ข้นึ เพอื่ พัฒน�กระบวนก�รเรยี นก�รสอน 3 ก�รวจิ ยั เชิงพฒั น� ก�รวิจยั นีม้ จี ุดมุง่ หม�ยทจี่ ะห�รปู แบบของกระบวนก�รสอบทม่ี ี เทคโนโลยี ประสิทธิภ�พ โดยก�รสร้�งระบบหรือกระบวนก�รสอบออนไลน์ (Developmental Research) 4 ก�รวิจัยปฏบิ ตั กิ �ร ตัวอย�่ งก�รวจิ ัยลกั ษณะน้ีเป็นก�รวจิ ัย ทีผ่ ู้วจิ ยั (อ�จ�รย์ เดอร์ล� ครูส- (Action Research) Mr. Dela Cruz) ) ต้องก�รทีจ่ ะแก้ปญั ห�ของเข� เป็นปัญห�เฉพ�ะที่ เกดิ ขึ้นในสถ�นก�รณห์ น่ึง 2.ตอ่ ไปน้ีเป็นสถ�นก�รณท์ ีท่ ำ�ให้ท�่ นต้องทำ�วิจยั เพอื่ แกป้ ญั ห�เหล�่ น้นั ขอใหท้ ่�นระบวุ ่�จะเลอื กใช้ก�ร วิจยั ประเภทใด จงึ จะไดผ้ ลก�รวจิ ัยม�ใชแ้ กป้ ัญห�เหล�่ นนั้ ได้ 5 ก�รวจิ ยั เชิงทดลอง ในกรณนี ี้ก�รวิจัยจะทำ�ก�รทดลองโดยทำ�ก�รเปรียบเทยี บกลมุ่ สอง (Experimental กล่มุ โดยก�รใชว้ ธิ ีก�รสอนแบบใหมท่ ีพ่ ฒั น�ขน้ึ กบั นกั เรยี นเคร่อื งกล Research) กลุ่มหนง่ึ สว่ นอีกกลุ่มหนง่ึ ท่ีมคี ณุ สมบตั ิเหมอื นกนั ทกุ ประก�รยังสอน วธิ ีเดิม แล้วใชแ้ บบทดสอบเดียวกนั ทดสอบกอ่ นและหลังก�รเรยี น ก�รสอนทง้ั 2 กลุ่มนำ�ม�เปรียบกัน 6 ก�รวจิ ัยเชิง วิธีวจิ ยั ที่เหม�ะสมส�ำ หรบั กรณนี คี้ ือศกึ ษ�ขอ้ มูลวิวฒั น�ก�รของ ประวตั ิศ�สตร์ โรงเรยี น X แลว้ วิเคร�ะหจ์ ุดออ่ นจุดแขง็ ของโรงเรยี น และส�ม�รถ (Historical สมั ภ�ษณแ์ บบเจ�ะลกึ ของผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ของโรงเรียน Research) 7 ก�รวจิ ยั เชิงส�ำ รวจ ก�รวิจัยนท้ี ำ�ก�รสำ�รวจในอตุ ส�หกรรมรถยนตเ์ พือ่ ห�สมรรถนะที่ (Survey ต้องก�รสำ�หรับช่�งทจ่ี บอ�ชวี ศึกษ� โดยแบบส�ำ รวจสง่ ไปยงั ฝ่�ย Research) บคุ คล และผจู้ ดั ก�รระดบั กล�ง จ�กนนั้ ใช้สถิตเิ ชิงบรรย�ยในก�ร วิเคร�ะหแ์ ละแปลผลก�รวจิ ยั 8 ก�รวจิ ัยเชงิ ตัวอย�่ งนีเ้ ปน็ ก�รศกึ ษ�คว�มสมั พนั ธร์ ะหว่�งตัวแปรทเ่ี ก่ียวข้องโดยห� สหสมั พนั ธ์ ว่�ตัวแปรต้น เช่น ขอ้ มลู ท่วั ไปของนักเรียน เชน่ ผลก�รเรยี นเฉลยี่ วชิ � (Correlational คณติ ศ�สตร์ทีผ่ �่ นม�ในระดบั มัธยม คว�มสนใจ ด้�นคว�มส�ม�รถของ Research) ครู วธิ กี �รสอนทใี่ ช้ มผี ลตอ่ ตวั แปรต�มได้แก่ผลก�รเรียนหรอื ผลสัมฤทธิ์ ของก�รเรยี นวชิ �แคลคลู สั หรอื ไม่ 9 ก�รวจิ ยั เชงิ ยอ้ นรอย ก�รวจิ ัยเชิงยอ้ นรอยน�่ จะเหม�ะสมท่สี ุดส�ำ หรบั กรณนี เ้ี พร�ะ (Expost facto ตอ้ งก�รศึกษ�เหตุก�รณท์ ่เี กิดขนึ้ ที่ผ�่ นม�ว�่ ผลกระทบของก�รใช้ Research) ทักษะภ�ษ�อังกฤษทีม่ ตี อ่ ก�รท�ำ ง�นของผจู้ บอ�ชีวศกึ ษ�โดยทักษะ ก�รสอื่ ส�รมีคว�มสำ�คัญทพ่ี นกั ง�นจะตอ้ งมีในทุกง�นทงั้ ท�งก�ร เขยี นและก�รพูด โดยเฉพ�ะพบว�่ ผจู้ บอ�ชวี ศึกษ�มปี ญั ห�ท�งด้�นน้ี 10 กรณศี กึ ษ� ก�รวิจัยนี้ควรเป็นกรณีศึกษ�ซึ่งเป็นก�รบรรย�ยก�รพัฒน�ก�รประกอบ อ�ชพี อสิ ระทปี่ ระสบคว�มสำ�เร็จของโจเซฟ ซึ่งตดิ ต�มและเกบ็ ขอ้ มูล และวเิ คร�ะหใ์ ห้เหน็ โมเดลก�รพฒั น�ของเข� 116
แบบฝกึ หัดท้ายบทที่ 3.1 จ�กเอกส�ร 3 ฉบบั ทเี่ กี่ยวกับก�รทดสอบและประเมนิ ผล เหน็ ว�่ ง�นวิจยั ของท่�นเกี่ยวกบั ก�ร ประเมนิ ผลก�รจัดก�รอ�ชวี ศึกษ�และก�รฝกึ อบรมวชิ �ชพี ควรเป็นของ Corroy เพร�ะมีเน้อื ห� ขอ้ มลู ทจี่ ะน�ำ ม�ใชป้ ระโยชนใ์ นง�นวจิ ัยก�รประเมินก�รอ�ชวี ศึกษ� 1. ร�ยละเอียดส่วนของเอกส�รท่เี ก่ยี วขอ้ งโดยตรงกับง�นวจิ ยั ดังกล�่ ว ไดแ้ ก่ ข้อมลู ใน บทท่ี 1 6 และ 7 2. คำ�ตอบสองขอ้ อ�จรวมถึงประเด็นต่อไปนี้คือ • เอกส�รที่จัดทำ�ในปี 1969 ซึ่งขอ้ มลู บ�งส่วนอ�จไมท่ ันสมยั • ก�รพิจ�รณ�ระบบ ก�รตอบกลบั ของขอ้ มูลส�ธ�รณะ ซึ่งอ�จไม่เก่ียวข้องกับ เร่ืองทจ่ี ะวิจยั แตไ่ ด้ประโยชน์ในแงร่ ะบบก�รประเมินผล • เอกส�รทปี่ ระเมนิ เรอื่ งก�รจัดก�รอ�ชวี ศึกษ�แต่ไม่ได้กล�่ วถงึ ในส่วนก�รฝกึ อบรม วิช�ชพี และใหท้ ่�นลองสร�้ งวตั ถปุ ระสงคท์ ว่ั ไป และวตั ถุประสงค์เฉพ�ะจ�ก หวั ขอ้ วิจยั ต่อไปน้ี ก. ก�รสร�้ งเครอื่ งแยกก�กผลไมท้ ี่ประกอบขึ้น ข. ก�รพัฒน� Micro Controller จ�กเครอ่ื งพลังน้ำ� ค. ระบบก�รตรวจสอบในระบบ LAN วิช�วิศวกรรมเครอื่ งกล ง. ก�รพัฒน�เวบ็ วัสดกุ �รเรยี นก�รสอนวชิ � Arc Welding แบบฝกึ หัดท้ายบทที่ 3.2 1. ก�ำ หนด (1) วตั ถุประสงค/์ ปัญห�ก�รวจิ ยั (2) สมมตุ ิฐ�นก�รวิจยั และ (3) ตัวแปรต้นและตวั แปรต�ม ในแตล่ ะหัวขอ้ เรอื่ งของก�รวิจัยต่อไปนี้ เรื่อง ปญั หาการวิจัย สมมุติฐาน ตัวแปรอิสระ ตวั แปรตาม 1 ที่ ผลกระทบของหลกั สตู รก�ร หลักสูตรที่ฝึกอบรมมีผลต่อ - เนอ้ื ห�และวธิ กี �ร ประสทิ ธภิ �พก�รสอนของ ฝกึ อบรมต่อประสทิ ธิภ�พ ประสิทธิภ�พของก�รสอน - ระยะเวล�ก�รฝกึ ครทู ่ผี �่ นก�รฝึกอบรม ของก�รสอนของครูช�่ ง ของครูช่�งเทคนิคอย่�งมีนัย อบรม ผ ล ก � ร เ รี ย น แ ล ะ ก � ร เทคนิคเป็นอย่�งไร สำ�คญั ปฏบิ ัตงิ �นของนกั เรียน 2 มคี ว�มสัมพนั ธ์ระหว่�ง มคี ว�มสมั พนั ธอ์ ย�่ งมี - วธิ จี ดั ก�รเรยี นก�ร ผลก�รปฏิบตั กิ �รสอน สภ�พแวดล้อมของก�ร นยั สำ�คัญระหว�่ งสภ�พ สอน ของครู เรียนก�รสอนกับผลก�ร แวดลอ้ มของก�รเรยี นก�ร - ระยะเวล�ของ เรยี น และก�รปฏบิ ตั งิ �น สอนกับผลก�รเรยี น และ หลักสตู ร ของนกั เรียนหรอื ไม่ ก�รปฏบิ ัตงิ �นของนกั เรียน 3 ผลของคว�มกงั วลในก�รใช้ คว�มกังวลในก�รใชเ้ คร่อื ง วธิ ีลดคว�มกงั วล เคร่อื งมือเครื่องจักรของครู มือเคร่อื งจักรของครมู ีผล ต่อก�รสอน อย�่ งมีนัยสำ�คัญต่อก�ร ปฏบิ ัตกิ �รสอนของครู 117
เร่อื ง ปญั หาการวิจยั สมมุตฐิ าน ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม 4 ท่ี มีคว�มสัมพนั ธ์ระหว่�ง ผลสัมฤทธิก์ �รเรยี นของ มคี ว�มสัมพนั ธอ์ ย�่ งมนี ยั ชนิดของเทคโนโลยี นักเรยี นในภ�ควชิ � ชนดิ ของเทคโนโลยที ี่ครูใช้ ส�ำ คญั ระหว่�งชนดิ ของ ทค่ี รูใช้ในก�รสอนใน ในก�รสอนกบั ผลสัมฤทธิ์ เทคโนโลยที ่คี รใู ช้ในก�รสอน ภ�ควิช� ก�รเรียน ของนักเรยี นใน กับผลสัมฤทธ์ิก�รเรยี น ของ ภ�ควิช�หรือไม่ นกั เรยี นในภ�ควิช� 2. สร้�งวัตถุประสงค์ท่วั ไป และวัตถปุ ระสงคเ์ ฉพ�ะจ�กหวั ข้อวิจยั ต่อไปน้ี หัวข้อวิจัย วตั ถุประสงค์ท่วั ไป วัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ 1 ก�รสร�้ งเครอ่ื งแยกก�กผล วสัสร้�ดงตุ เน้ครทือ่ ุนงตแำ�่ยกก�กผลไม้โดยใช้ 1. ศึกษ�ข้อมูลท่เี กยี่ วข้องในก�รสร�้ งเคร่อื ง ไม้ทป่ี ระกอบขน้ึ แ2.ยคกุณก�สกมผบลัตไิขมอ้ งวสั ดุตน้ ทนุ ต่�ำ ท่จี ะส�ม�รถน�ำ ม�สร�้ งเครอ่ื งแยกก�กผลไม้ 3. ดำ�เนนิ ก�รออกแบบและสร้�งเครื่องแยก ก�กผลไมต้ �มทฤษฎีที่กำ�หนด 4. ทดสอบและประเมินผลก�รใชเ้ ครือ่ งแยก ก�กผลไมท้ ่ีสร้�ง 5. ประเมนิ ผลและกำ�หนดม�ตรฐ�นของ เครอื่ งแยกก�กผลไม้ที่สร้�ง 2 ก�รพัฒน�Micro Controller ดำ�เนนิ ก�รพัฒน�เต� Micro 1.ศึกษ�ข้อมลู ท่ีเกีย่ วขอ้ งในก�รพัฒน� จ�กพลังน้ำ�โดยใชโ้ ปรแกรม Controller จ�กพลงั นำ้�โดยใช้ เต� Micro Controller จ�กพลังนำ้�โดยใช้ คอมพวิ เตอร์ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 2.ด�ำ เนนิ ก�รออกแบบและพฒั น�เต� Micro Controller จ�กพลังนำ้�โดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ 3.ดำ�เนินก�รทดสอบและประเมินเปรียบ เทียบผลกบั ส่ิงที่มีอยู่แลว้ 4.ประเมนิ ผลและกำ�หนดม�ตรฐ�น 3 ก�รพัฒน�ก�รสอบโดยใช้ ดำ�เนนิ ก�รพฒั น�ก�รสอบ 1.ร�่ งบททดสอบสำ�หรบั วชิ �เคร่อื งกล 1 ระบบ LAN ในวิช�เคร่ืองกล 1 โดยใชร้ ะบบ LAN ในวชิ � 2.พฒั น�โปรแกรมส�ำ หรบั ก�รสอบโดยใชร้ ะบบ LAN เครอ่ื งกล 1 3.ตรวจสอบโปรแกรมโดยผเู้ ชย่ี วช�ญ 4.ประเมนิ ก�รน�ำ ระบบไปใชโ้ ดยครผู สู้ อนวชิ � เครอ่ื งกล 1 4 ก�รพัฒน�โปรแกรม WBI: 1.สัมภ�ษณค์ รูผูส้ อนเก่ียวกับปัญห�ในก�รสอน วสั ดุก�รเรยี นก�รในก�รสอน เร่ือง Arc Welding เร่ือง Arc Welding 2.ร่�งหวั ข้อและออกแบบทจี่ ะพฒั น�โปรแกรม WBI ส�ำ หรบั ก�รสอน Arc Welding 3.พัฒน�โปรแกรม WBI และเนื้อห�ผ�่ นก�ร ตรวจสอบและประเมนิ คว�มเทยี่ งตรงของผู้ เชี่ยวช�ญ 4.ทำ�ก�รทดลองใช้โปรแกรม 5.ประเมินผลก�รพฒั น� 118
แบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 4.1 ระบุสถติ ทิ ่ีควรใชก้ ับปญั ห� หรือปญั ห�ย่อยของเรื่องทว่ี ิจัย Pearson Product-Moment Correlation a. Pearson Product-Moment Correlation b. Descriptive Statistics เชน่ Means Percentages c. T test หรอื Z test d. Descriptive Statistics เชน่ Means Percentages e. Analysis of variance –ANOVA แบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 4.2 ศึกษ�และก�ำ หนดประช�กรและกลุม่ ตวั อย�่ งท่ีเหม�ะสมโดยดูคำ�แนะนำ�ในเร่อื ง ขอ้ ควรท�ำ และไมค่ วรท�ำ ในก�รเลอื กกล่มุ ตวั อย�่ ง และต�ร�งท่ี 1 และ 2 แบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 5 1.จำ�นวนนักเรยี นส�ข�เทคโนโลยคี อมพิวเตอรข์ องสถ�นอ�ชีวศึกษ�แห่งหนึง่ ในปี ก�รศึกษ� 2007 ปที ี่ ชาย เปอรเ์ ซ็นต์ หญิง เปอรเ์ ซน็ ต์ รวม เปอรเ์ ซน็ ต์ 1 124 47 141 53 265 35 2 115 45 139 55 254 34 3 109 46 128 54 237 31 รวม 348 408 756 100 จ�กต�ร�งแสดงใหเ้ หน็ ว่� • ในปีก�รศึกษ� 2007 นักเรียนหญิงมีจำ�นวนม�กกว�่ นักเรียนช�ยในส�ข�เทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์ทุกชนั้ ปี • จ�ำ นวนนกั เรยี นในช้ันปที ี่สงู ขึน้ มีจ�ำ นวนลดลงต�มล�ำ ดับ 2. แผนภูมิแสดงปริม�ณของนกั เรียนช�ยและหญิงจ�ำ แนกต�มช้ันปี 119
แบบฝกึ หัดท้ายบทที่ 6.1 และ 6.2 แบบแผนในก�รดำ�เนนิ ง�นก�รวจิ ยั และน�ำ ม�เขียนร�ยง�นก�รวจิ ัยสว่ นใหญ่มี ลกั ษณะคล�้ ยกนั โดยมีเน้อื ห�เรยี งลำ�ดบั ต�มที่กล�่ วไวใ้ นบทท่ี 6 แบบฝึกหดั ทา้ ยบทที่ 7 1. ไมว่ ่�วธิ ีก�รวจิ ยั ออนไลนห์ รือก�รวจิ ัยธรรมด�ก็จะได้ผลสรุปเดียวกนั หม�ยคว�มว�่ ไม่มคี �ำ ตอบทถ่ี กู หรอื ผิดส�ำ หรบั ผลก�รวิจัย สง่ิ ส�ำ คญั อยู่ที่ว่�ผลก�รวิจยั น้นั มีคว�มเช่ือถือและ เปน็ เหตุเป็นผลหรอื ไมม่ �กนอ้ ยเพยี งใด 2. ก�รจดั ก�รอ�ชีวศกึ ษ�จะใชป้ ระโยชน์จ�กก�รวิจัยออนไลน์ อ�ทเิ ชน่ • อินเทอร์เนต็ จะเป็นเครื่องมือในก�รรวบรวมขอ้ มลู ม�กขนึ้ จนกระทั่งอ�จกล�ย เป็นเรอื่ งปกตสิ ำ�หรับก�รวิจยั • ก�รวิจยั ออนไลนส์ �ม�รถเข้�ถงึ กลมุ่ เป�้ หม�ยทใ่ี ชก้ �รวจิ ัยปกตไิ มส่ ะดวกและ ส�ำ หรบั บคุ คลทม่ี งี �นยงุ่ โดยเฉพ�ะกลมุ่ ทท่ี �ำ ง�นในอตุ ส�หกรรม หรอื ทอ่ี ยตู่ �่ งประเทศ • ก�รวจิ ยั ท�งสังคมศ�สตรเ์ ชงิ ส�ำ รวจมีโอก�สใชก้ �รวิจัยออนไลน์ อ�ทิเช่น ในเรอื่ ง ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับก�รพฒั น�หลักสูตร ก�รพฒั น�นโยบ�ย ก�รปรบั ปรุงกระบวนก�ร เรียนก�รสอน ก�รพัฒน�ครูและบคุ ล�กร เปน็ ต้น • เหม�ะกบั วธิ กี �รวจิ ยั ทศ่ี กึ ษ�แนวโนม้ ของเรอ่ื งเชน่ เทคนคิ เดลฟ�ยด์เปน็ ตน้ • ประหยัดค�่ ใชจ้ ่�ยและเวล�ในก�รเก็บรวบรวมข้อมลู • ชว่ ยยกระดับประสิทธิภ�พของก�รวิจยั อ�จไดข้ ้อมูลทเ่ี ป็นจริงส�ำ หรบั ก�รวจิ ยั ที่ ตอ้ งก�รคำ�ตอบทต่ี รงไปตรงม� ……………………… 120
คณะผู้จดั ท�ำ ทีป่ รกึ ษ� ดร.ชัยพฤกษ์ เสรรี กั ษ์ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ดร.อกนิษฐ์ คลังแสง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา นายวณิชย์ อ่วมศรี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ดร.ศริ พิ รรณ ชมุ นุม ทป่ี รึกษาสำานักวิจยั และพัฒนาการอาชีวศึกษา คณะบรรณ�ธกิ �ร ดร.มงคลชยั สมอุดร หัวหนา้ บรรณาธกิ าร ผู้อำานวยการสำานกั วิจยั และพัฒนาการอาชวี ศึกษา ดร.จริยา ทพั พะกุล ณ อยธุ ยา ดร.รจนา จันทรากุล นางบษุ กร ภทั รพิศาล ดร.ปณุ ญิสา อินทรโชติ ผู้แปล ดร.จริยา ทพั พะกุล ณ อยธุ ยา อาจารยฉ์ ว ี บญุ คุม้
สำนักวจิ ยั และพฒั นาการอาชวี ศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ถนนรามอินทรา กม.5-6 แขวงทา แรง เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10230 โทรศพั ท : 0-2510-9552-4 โทรสาร : 0-2510-9552-4 ตอ 170 website : http://ver.vec.go.th
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124