8.�สมมุตฐิ าน�(Hypothesis) จ�กปัญห�ก�รวิจยั ถึงแผนก�รท�งทฤษฎี ขนั้ ตอนต่อไปคือก�รก�ำ หนดสมมุตฐิ �นของก�ร วจิ ยั สมมตุ ฐิ �นคอื ก�รค�ดก�รณห์ รอื ก�รเด�เกย่ี วกบั คว�มสมั พนั ธร์ ะหว�่ ง ตวั แปรสองตวั หรอื ม�กกว่� ซึง่ ข้นึ อยู่กบั ขอ้ มลู ท่มี ีอยู่ และจะถกู ทดสอบโดยก�รทดลองหรอื ก�รสังเกต สมมตุ ฐิ �นคือ ขอ้ สนั นิษฐ�นของผู้วจิ ัยเกยี่ วกบั ค�ำ ตอบทีจ่ ะได้รับจ�กก�รด�ำ เนินก�รวิจัย สมมุตฐิ �นเป็นข้อเสนอ ท่ีอธบิ �ยถึงชุดของขอ้ เท็จจริง ดว้ ยวิธที ่ีร่วมกัน สมมุติฐ�นจะถกู กำ�หนดต�มปญั ห�ก�รวจิ ัยหรอื คำ�ถ�ม ต�ร�งท่ี 2 คณุ ลกั ษณะของสมมตุ ิฐ�น สิง่ ทเี่ ป็นสมมุติฐาน ส่งิ ทีไ่ มใ่ ช่สมมุติฐาน สมมตุ ิฐ�นนำ�ท�งก�รวเิ คร�ะห์ สมมุติฐ�นไมใ่ ชส่ ิ่งท่ีก�ำ หนด เพื่อตอบ สนองคว�มต้องก�รเท่�น้นั สมมตุ ฐิ �นขน้ึ อยกู่ บั ก�รยอมรับก�รปฏเิ สธใน ไมม่ ีอะไรจะดำ�เนนิ ก�รเกย่ี วกบั ก�ร สิ่งทีข่ ้อเท็จจรงิ เปิดเผย พิสจู น์ ทัง้ ท่ีไดร้ ับก�รพิสูจน์ และหักล�้ ง สมมตุ ฐิ �นควรเกิดจ�กปัญห� สมมตุ ิฐ�นไมใ่ ช่สง่ิ ท่ีเกิดขึน้ โดยบงั เอิญ สมมตุ ิฐ�นจะเปลีย่ นรูปแบบเปน็ โมฆะ (ศูนย์) สำ�หรับก�รทดสอบก�รสถิติ ประเภทของสมมตุ ฐิ าน (Types of Hypothesis) สมมตุ ิฐานว่าง (Null hypothesis) หม�ยถงึ “ไม่มีอยจู่ ริง” ดงั น้นั สมมุติฐ�นว่�ง หม�ยถึง ก�รไม่มีผลกระทบของปฏิกริ ิย�สมั พนั ธ์ ไม่มผี ลกระทบของคว�มสมั พนั ธ์ และไม่มผี ลผลกระทบ ของคว�มแตกต�่ ง สมมตุ ิฐานทางเลอื ก (Alternative Hypothesis) เปน็ รปู แบบของก�รดำ�เนินก�รทไ่ี ด้ ระบไุ วใ้ นขอ้ ยนื ยันว�่ มีผลกระทบและมที �งเลอื กท่ีเปน็ ไปได้ของปฏกิ ริ ยิ �สมั พนั ธ์ ตัวอยา่ งของสมมุตฐิ าน ตวั อย่าง 1 คาำ ถามการวิจยั มีคว�มแตกต�่ งอย�่ งเป็นนัยสำ�คัญระหว่�งประสทิ ธผิ ลของก�รสอน แบบฐ�นสมรรถนะกับก�รสอนแบบดงั้ เดิมส�ำ หรับวิช�เทคโนโลยีโยธ� 4 หรือไม่ สมมตุ ฐิ านว่าง : ไมม่ ีคว�มแตกต่�งอย่�งเป็นนยั สำ�คัญระหว�่ งประสทิ ธิผลของก�ร สอบแบบฐ�นสมรรถนะกับก�รสอบแบบดงั้ เดมิ ส�ำ หรับวิช�เทคโนโลยีโยธ� 4 49
สมมตุ ิฐานทางเลือก : มคี ว�มแตกต่�งอย�่ งเปน็ นัยส�ำ คญั ระหว่�งก�รสอนแบบฐ�น สมรรถนะกับก�รสอนแบบด้งั เดิมสำ�หรับวชิ �เทคโนโลยโี ยธ� 4 ตัวอยา่ ง 2 คาำ ถามการวิจัย: มีองคป์ ระกอบ(ปจั จยั )ใดบ�้ งต่อไปนที้ ่ที ำ�น�ยหรอื มีผลกระทบต่อ ก�รจ�้ งง�นของผสู้ �ำ เรจ็ อ�ชีวศกึ ษ�ส�ข�ช�่ งอตุ ส�หกรรมมปี ัจจยั ไดแ้ ก่ ด้�นลักษณะ สว่ นบคุ คล(อ�ยุ สถ�นภ�พ คว�มส�ม�รถท�งอ�ชีพ ผลก�รเรียน ไอควิ สถ�นศกึ ษ�ที่ สำ�เร็จ ส�ข�วชิ �ท่ีส�ำ เรจ็ ) ด�้ นที่เกีย่ วขอ้ งกบั สถ�นศกึ ษ�ที่จบ(คว�มพอเพียงของวสั ดุ อปุ กรณแ์ ละเคร่ืองอ�ำ นวยคว�มสะดวก ระบบก�รจดั ก�รฝกึ ง�นคุณภ�พของครผู สู้ อน สมมตุ ฐิ านวา่ ง: ไมม่ อี งคป์ ระกอบ(ปจั จยั )ใดทท่ี �ำ น�ยหรอื มผี ลกระทบตอ่ ก�รจ�้ งง�นของผู้ สำ�เร็จอ�ชีวศกึ ษ�ส�ข�ช�่ งอุตส�หกรรม สมมุตฐิ านทางเลือก: มีองคป์ ระกอบ(ปจั จยั )ทท่ี �ำ น�ยหรือมีผลกระทบตอ่ ก�รจ้�ง ง�นของผูส้ �ำ เร็จอ�ชวี ศึกษ�ส�ข�ช�่ งอตุ ส�หกรรมได้แก่… (ดงั ทก่ี ล่�วในค�ำ ถ�ม ซ่งึ อ�จจะเปน็ ปัจจยั ท้งั หมด หรอื บ�งตวั ขึ้นอยู่กับขอ้ มูลและก�ร วเิ คร�ะห์ท�งสถติ ิ) 9.�คำ�จำ�กดั ความของคำ�ศัพท์�(Definition�of�Terms) คำ�จำ�กัดคว�มของคำ�ศัพท์ในก�รวิจัยควรกำ�หนดต�มที่ผู้วิจัยใช้คำ�ศัพท์เหล่�น้ันใน ก�รวจิ ยั ดังน้ันในก�รก�ำ หนดค�ำ จ�ำ กัดคว�มของค�ำ ศัพท์ ผวู้ จิ ัยอ�จหม�ยรวมคำ�ศพั ท์ที่เป็น แนวคดิ และค�ำ ศัพทท์ ่เี ป็นก�รด�ำ เนนิ ง�นเข้�ดว้ ยกันเพอื่ คว�มชัดเจนไมค่ ลุมเครอื บ�งครั้งจะมีก�รตีคว�ม คว�มหม�ยของคำ�ศัพท์ดว้ ยวธิ ีก�รต่�งๆกัน ซง่ึ ในก�รวจิ ัย ควรจะหลีก เลยี่ งก�รกระทำ�ดังกล่�ว เพร�ะจะส่งผลกระทบต่อคว�มน่�เชอื่ ถอื ของผลก�รวจิ ัย ค�ำ ศพั ทท์ ่ใี ช้ ในก�รวิจัยควรกำ�หนดต�มคว�มหม�ยทีผ่ ู้วิจัยต้องก�รให้ผู้อ่�นเข้�ใจเพือ่ หลีกเลี่ยงก�รตีคว�ม หม�ยผดิ และควรมีก�รก�ำ หนดค�ำ อธบิ �ยอย่�งชดั เจน โดยเฉพ�ะอย�่ งยงิ่ ถ้�คำ�ศัพทเ์ หล�่ นี้จะ ต้องถูกวดั โดยเคร่ืองมือก�รวิจัย 50
ตวั อยา่ ง 1. ผบู้ ริหาร กำ�หนดต�มแนวคิดหม�ยถงึ ผจู้ ดั ก�ร หรอื ผู้ควบคมุ ดแู ล อย่�งไรกต็ �ม ในสถ�บันก�รอ�ชีวศกึ ษ� ผู้วิจัยอ�จหม�ยถึงอ�จ�รย์ใหญห่ รือผ้อู �ำ นวยก�ร ดงั น้นั ผู้วจิ ยั อ�จรวมคำ�จ�ำ กัดคว�มทัง้ สองเข�้ ด้วยกัน เพอ่ื คว�มชัดเจนม�กขึน้ ผู้บรหิ �รต�มท่ใี ช้ในก�รศึกษ�วิจยั หม�ยถึงอ�จ�รยใ์ หญห่ รอื ผอู้ ำ�นวยก�รของ สถ�บันก�รอ�ชีวศึกษ� ซ่ึงได้รบั ก�รแตง่ ตัง้ โดยคณะกรรมก�รเพอื่ จัดก�ร และควบคุมดแู ลองคก์ ร 2.ครู กำ�หนดคว�มหม�ยต�มแนวคดิ คือผสู้ อนบคุ คลอน่ื ในก�รดำ�เนนิ ง�นผู้วจิ ัย อ�จกำ�หนดครู หม�ยถงึ ครเู ทคนิคทีม่ ปี ระสบก�รณ์ในก�รสอน ส�ข�วชิ �เทคโนโลยี ไฟฟ�้ เปน็ เวล� 3 ปี เป็นต้น 51
เกรด็ ความรใู้ นการทำาวิจยั (Practical Research Tips) เพือ่ ใหม้ กี �รศกึ ษ�วรรณกรรม เอกส�รง�นวจิ ยั ที่เก่ยี วขอ้ งได้อย�่ งมีระบบ จึงควรมกี �รด์ บนั ทึกข้อมลู เม่ือท�่ นค้นคว�้ ขอ้ มลู แต่ละเรอื่ งดงั น�ำ เสนอข้�งล�่ งน้ี ชอื่ ผู้แต่ง (ชอื่ น�มสกุล) ………………………………………………………. ช่ือเร่อื ง …………………………………….………………… ชอื่ แหล่งขอ้ มูล …………………………………………………….… (รวมถงึ ระบุ ฉบับที่ เดอื น ปี แหลง่ พิมพ์ จำ�นวนหน้�) เมืองท่ีแหลง่ พมิ พ์ วนั เดือน ปี …………………………………………………….… ผพู้ ิมพ์ ครงั้ ทพี่ ิมพ์ …………………………………………………….… ชอ่ื ห้องสมดุ /แหล่งข้อมลู …………………………………………………….… หม�ยเลขโทรศพั ท์ …………………………………………………….… ขอ้ คว�มทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ง�นวิจยั …………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. 52
แบบฝึกหดั ท่ี 3.1 อ�่ นขอ้ คว�มข้�งล่�งน้แี ล้วตอบค�ำ ถ�มทก่ี �ำ หนด Choppin, Bruce Aptitude testing at eighteen-plus, โดย Bruce Choppin and Lea Orr. Windsor, Berks, NFER Pub., 1976. ร�ยง�นน้เี ปน็ ก�รประเมนิ แบบทดสอบ คว�มถนัดเชิงวชิ �ก�ร( the Test of Academic Aptitudes-TAA) มรี �ยง�นทีบ่ อกถึงโครงสร้�ง และลักษณะบ�ง อย�่ งของ TAA ที่รวมอยู่ในภ�คผนวกของเล่มดว้ ย Collins, Harold W Educational measurement and evaluation: A worktest, by Harold W. Collins, John H. Johansen and James A. Johnson. 2nd ed. Glenview, Ill., Scott, Freeman, 1976. หนังสอื ตำ�ร�เลม่ น้เี ป็นก�รใหผ้ อู้ ่�น รู้เข้�ใจถงึ เทคนิคก�รวดั และประเมิน ผลเบ้ืองต้นได้แก่ วัตถุประสงคก์ �รสอน ก�รว�งแผน ก�รสอนและก�รวัดประเมนิ ก�รสร้�งแบบทดสอบ ก�รสร้�งขอ้ สอบชนิดต่�งๆ สถิติในก�รวเิ คร�ะห์ข้อสอบ ก�รใช้และปรบั ปรงุ ข้อสอบ กระบวนก�รที่นักเรียนมีส่วนรว่ ม ในก�รวดั และ ประเมินผลข้อสอบม�ตรฐ�น ก�รวัดทักษะด้�นต่�งๆ ก�รให้เกรด และร�ยง�นผล Conroy, William G. ed. A guide to evaluation: Massachusetts Information Feedback System for Vocational Education. Boston: Massachusetts Vocational Education Research Coordinating Unit, 1969. ร�ยง�นเชิงวิช�ก�รเล่มนีก้ ล�่ วถึงข้อมลู ทเี่ กี่ยวกับก�รพัฒน�ก�รจัด อ�ชีวศกึ ษ�ในระบบก�รศึกษ�ของรฐั แมสฃ�ชเู ฃตส์ ประกอบด้วยบทต่�งๆดงั น้ี 1) คว�มรเู้ บอ้ื งตน้ เกี่ยวกับก�รประเมินผล 2) ระบบก�รประเมนิ ก�รศึกษ�ของรัฐ แมสฃ�ชูเฃตส์ ใน 4 ระยะ 3) ระยะท่ี 1: โครงก�รก�รประเมนิ - a) ก�รเขยี น วัตถุประสงค์ และ b) ก�รท�ำ แบบทดสอบ 4) ระยะท่ี 2: กระบวนก�รวดั และ ประเมนิ 5) ระยะท่ี 3: ก�รประเมนิ ผลที่ได้รับ 6) ระยะท่ี 4: ร�ยง�นก�รประเมิน ผล ก�รให้ก�รรบั รอง และระบบก�รใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับ (Feedback) ของรฐั 53
แบบฝกึ หดั ท้ายบทท่ี 3.2 1. จ�กหวั ข้อก�รวจิ ยั ดงั ต่อไปน้ี จงสร้�งปัญห�ก�รวจิ ัย สมมตุ ิฐ�น และระบตุ วั แปรอสิ ระ และตัวแปรต�ม a. ผลกระทบของโปรแกรมก�รฝกึ อบรมต่อประสทิ ธิภ�พก�รสอนของครชู ่�งเทคนคิ b. สภ�พแวดลอ้ มก�รเรียน และก�รปฏบิ ตั งิ �นของนกั เรยี นในกิจกรรมโรงฝกึ ง�น c. วิธีปฏิบัตขิ องสถ�บันก�รศึกษ�เก่ยี วกับคว�มเครียด และประสทิ ธภิ �พของก�รสอน d. ก�รใชป้ ระโยชนจ์ �กเทคโนโลยีก�รศึกษ� และผลสัมฤทธข์ิ องนักเรียนของก�รวัดผล ของภ�ควิช� 2. จ�กหวั ขอ้ โครงก�รวจิ ยั สร้�งวตั ถุประสงคท์ ว่ั ไป และวตั ถปุ ระสงค์เฉพ�ะ 1. เครื่องแยกก�กผลไมท้ ่ีประกอบขึน้ 2. พฒั น�หน่วย Micro Controller จ�กเคร่ืองพลงั น�ำ้ 3. ระบบก�รตรวจสอบในระบบ LAN วชิ �วิศวกรรมเคร่อื งกล 4. พฒั น�เว็บ : สื่อก�รเรียนก�รสอนวชิ � Arc Welding …………………………………………………………………… 54
การวิจัยสังคมศาสตร์�และ การวิจัยเชิงพัฒนาเทคโนโลยี บทที่�4 กรอบการดำ�เนนิ งาน การวจิ ยั ทางสังคมศาสตร์ การวิจัยเชิงพฒั นาเทคโนโลยี เครอื่ งมือทางสถิติ มาตรการวัด ข้อผิดพลาดในการวจิ ัย 55
วัตถุประสงค์ การศึกษาบทนผ้ี ู้อา่ นจะสามารถ ð อธิบายกรอบการดำเนินงานของการวิจัยสองประเภทในการจัดการอาชีวศึกษา และฝกึ อบรมวชิ าชีพ ð อธบิ ายความแตกต่างของการวิจัยทางสังคมศาสตร์กับการวิจัยเชิงพัฒนา เทคโนโลยี ð อธบิ ายความแตกตา่ งของประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง ð เลอื กใช้เคร่อึ งมือทางสถติ ิไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ð ใช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู SPSS ช่วยในการวเิ คราะห์ข้อมลู ð อธิบายความแตกตา่ งของชนดิ ข้อมูล ð ระบุข้อผดิ พลาดในการวจิ ยั และการแกไ้ ข 56
1. กรอบการดำาเนินงานวิจยั ในบทน้จี ะม่งุ เน้นถึงวิธีก�รของก�รวิจัยโดยอธิบ�ยถึงวิธีก�รวิจัยและข้นั ตอนท่ี ตอ้ งดำ�เนินก�ร กำ�หนดโครงสร้�งและกลยุทธ์ที่จะทำ�ให้ก�รดำ�เนินง�นได้ผลบรรลุ วัตถปุ ระสงคท์ ต่ี ั้งไว้ ก�รออกแบบหรือก�รว�งแผนก�รวิจัยทีย่ ึดจุดประสงค์ที่กำ�หนดไว้เป็นหลักและกำ�หนด โครงสร�้ งวธิ กี �รและขน้ั ตอนวจิ ัยให้ชัดเจนเปน็ เหตุเปน็ ผลตอ่ เน่ืองกนั ในที่นี้จะอธิบ�ย เน้นก�รวิจัย 2 ประเภททีม่ กั จะใช้ในก�รจดั ก�รอ�ชวี ศึกษ�และก�รฝึกอบรมวิช�ชพี ได้แก่ ก�รวิจัยท�งสังคมศ�สตร์ (Social Science Research) และก�รวิจยั เชิงพัฒน�เทคโนโลยี (Technical Developmental Research) ในก�รออกแบบก�รวิจยั จะตอ้ งระบวุ ิธกี �รวิจัยใหช้ ดั เจน (ดูบทที่ 2 เกีย่ ว กับประเภท ของก�รวิจัย) และระบุขั้นตอนก�รวิจัยโดยเริ่มตั้งแต่กำ�หนดแหล่งที่ม� ของข้อมูลว่� จะเกบ็ ขอ้ มูลจ�กใครหรอื จ�กทใ่ี ด ระบุวธิ ีก�ร ข้นั ตอนก�รรวบรวมขอ้ มลู จ�กแหลง่ ขอ้ มลู นน้ั ๆ จะใชเ้ ครอ่ื งมอื อะไรในก�รเกบ็ ขอ้ มูล บอกวธิ กี �รสร�้ ง และตรวจสอบคว�มเท่ยี งตรง หรือคณุ ภ�พของเครอ่ื งมอื นนั้ ๆอย่�งชดั เจน รวมถึงก�รเลอื กใช้สถติ ทิ ี่ถูกต้อง เหม�ะสมใน ก�รวเิ คร�ะหข์ ้อมูลของก�รวิจยั 2 ประเภทดังกล่�ว 2.การวิจยั ทางสังคมศาสตร์ (Social Science Research) แหลง่ ที่มาของข้อมลู (Sources of Data) ในก�รออกแบบก�รดำ�เนนิ ก�รวิจยั ท่�นต้องกำ�หนดว่�จะศึกษ�หรือรวบรวมข้อมูล จ�กประช�กรหรอื จ�กกล่มุ ตัวอย่�งในแหล่งขอ้ มลู ที่จะศกึ ษ� และตอ้ งสอดคล้องกบั เรอื่ ง หรือปญั ห�ก�รวจิ ยั ท่ตี ั้งไวเ้ พอื่ ให้ไดผ้ ลก�รวิจยั ต�มทตี่ อ้ งก�ร นนั่ หม�ยถึงท�่ นจะตอ้ ง ส�ม�รถระบุก�รเก็บรวบรวมขอ้ มลู ท่ีจะนำ�ม�ศึกษ�ได้อย่�งเหม�ะสม อ�ทิเชน่ ] ใครหรอื อะไรคอื เป้�หม�ยหรอื ประช�กร กลมุ่ ตวั อย�่ งที่จะศกึ ษ� ] จะใชป้ ระช�กรทง้ั หมดหรอื ศกึ ษ�จ�กกลมุ่ ตวั อย�่ งทเ่ี ปน็ ตวั แทนของประช�กร ] จะใช้วิธีก�รอะไรในเลอื กกลุม่ ตัวอย�่ งประช�กร ความแตกต่างของประชากร และ กล่มุ ตวั อย่าง (Difference between Population and Sample) ] ประช�กร (Population) หม�ยถงึ กลมุ่ เป้�หม�ยหรือสม�ชิกทุกหน่วย ของสงิ่ ทต่ี อ้ งก�รศกึ ษ� ซงึ่ อ�จหม�ยถึงคน สงิ่ ของ เวล� หรือสถ�นท่ี แล้วแต่เร่ืองทเ่ี ร�จะเก็บข้อมูลม�เพอ่ื ทำ�ก�รวเิ คร�ะหผ์ ลก�รวิจยั ต�ม วัตถุประสงคท์ ีต่ ั้งไว้ 57
] กลมุ่ ตัวอย�่ ง (Sample) หม�ยถงึ ส่วนหนึ่งของประช�กรทน่ี �ำ ม�ศกึ ษ� ซึ่งมกี �รสมุ่ หรอื เลอื กม�เปน็ ตวั แทนของประช�กร ก�รเลอื กใช้วิธสี ่มุ กลุม่ ตัวอย่�งและขน�ดตวั อย่�งทเี่ หม�ะสม จะชว่ ยให้สรปุ ผลก�รวจิ ยั เปน็ ของ ประช�กรทศ่ี ึกษ�นัน้ ได้ ถ้�กลุ่มประช�กรมขี น�ดใหญ่ อยูก่ ระจดั กระจ�ย และหล�กหล�ย แต่ก�รวิจัยมีเวล� จ�ำ กัด ก�รเก็บขอ้ มลู กบั ประช�กรทกุ หน่วยอ�จทำ�ใหเ้ สยี เวล�และค�่ ใชจ้ �่ ยทีส่ งู จำ�เปน็ ตอ้ งเลอื กกลมุ่ ตัวอย่�งบ�งสว่ นของประช�กรม�ศึกษ� (Fraenkel and Wallen, 2007) ยกตวั อย่�งเช่น สมุ่ ตวั อย�่ งนักเรียนอ�ชวี ศึกษ� 200 คน จ�กประช�กร 1,000 คนทเ่ี รียนตอ่ ส�ข�ไฟฟ้�/เทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ ตน้ สง่ิ ควรทำา และไม่ควรทำาในการสุ่มตวั อยา่ ง 58
ต�ร�งขน�ดตัวอย�่ งต�มค�่ คว�มคล�ดเคลือ่ นอ้�งองิ จ�ก Sevilla et al., 1984 ดงั ข�้ งล่�ง ต�ร�งท่ี 3 ขน�ดตัวอย่�งจำ�แนกต�มค�่ คว�มคล�ดเคล่ือน ขนาด ตามคา่ ความคลาดเคลอื่ น ประชากร +/-1% +/-2% +/-3% +/-4% +/-5% +/- 10% 500 * ** * 222 83 1,500 * * 638 441 316 94 2,500 * 1250 769 500 345 96 3,000 * 1364 811 517 353 97 4,000 * 1538 870 541 364 98 5,000 * 1667 909 556 370 98 6,000 * 1765 938 566 375 98 7,000 * 1842 959 574 378 99 8,000 * 1905 976 580 381 99 9,000 * 1957 989 584 383 99 10,000 2000 1000 588 385 99 50,000 5000 100 8333 2381 1087 617 387 หม�ยเหตุ: (*)หม�ยถึงก�รแจกแจงขอ้ มลู แบบไมป่ กติ จงึ ต้องเกบ็ ขอ้ มลู จ�กประช�กรทง้ั หมด วธิ กี ารสมุ่ ตัวอย่าง (Strategies in Sampling) ก�รเลือกลุ่มตัวอย่�งมีหล�ยวิธีข้ึนอยู่กับกรณีของก�รวิจัยเพ่ือให้ได้ตัวแทนของประช�กรท่ี ศกึ ษ�อย�่ งแทจ้ รงิ ไดแ้ ก่ ก�รสมุ่ ตวั อย�่ ง (โดยใชต้ �ร�งของตวั เลขสมุ่ และก�รสมุ่ ตวั อย�่ งก�ร จบั สล�ก)ก�รสมุ่ ตวั อย�่ งอย�่ งมรี ะบบ ก�รสมุ่ ตวั อย�่ งแบบแบง่ ชน้ั ก�รสมุ่ ตวั อย�่ งแบบกลมุ่ และก�รเลอื กตวั อย�่ งแบบไมส่ มุ่ เปน็ ตน้ ] การสุม่ ตัวอยา่ งแบบง่าย (Simple Random Sampling) คอื วธิ ีก�ร ทำ�ใหแ้ ต่ละหน่วยสม�ชิกในประช�กรมีโอก�สที่จะถกู เลือกเป็นกลุม่ ตัวอย่�ง เท�่ กนั โดยมีวธิ กี �รต่�งๆดังนี้ ] การใชต้ าราง (Table of Random Numbers) ส่วนใหญ่จะมปี ร�กฏใน หนงั สือท�งสถติ ิและก�รวิจัย เพอื่ ก�รเลือกส่มุ ตวั อย�่ ง วิธกี �รนเี้ ป็นเทคนคิ ทม่ี กี �รใช้ม�กทสี่ ุดในก�รสุม่ เลอื กสม�ชกิ แตล่ ะหนว่ ยจ�กประช�กร ] การส่มุ แบบจบั สลาก (Lottery Sampling) หรอื สมุ่ แบบลอตเตอร่ี คอื ก�รสุม่ อย�่ งง่�ยโดยก�รกำ�หนดตวั เลขใหป้ ระช�กรแต่ละหน่วยลงในสล�ก แตล่ ะช้นิ มว้ นสล�กแลว้ ใสล่ งในภ�ชนะแล้วคนหรือเขย่�อย่�งสม�ำ่ เสมอ ให้สล�กแตล่ ะชน้ิ มีโอก�สถกู จับขน้ึ ม�เท�่ ๆกันในก�รสุม่ แต่ละคร้ัง 59
] การสมุ่ ตัวอย่างแบบเปน็ ระบบ (Systematic Sampling) เปน็ ก�รสุม่ ตัวอย�่ งอีกแบบหนง่ึ ท่โี ดยมีร�ยชื่อของทุกหน่วยประช�กรเรียง เป็นต�มบัญชเี รียกช่ือ แล้วสุม่ แบ่งประช�กรออกเป็นชว่ งๆท่เี ท�่ กนั ของจ�ำ นวน ตวั อย�่ งโดย สมุ่ ประช�กรหน่วยแรก สว่ นหนว่ ยต่อๆไปนบั จ�กชว่ งสดั สว่ นที่ คำ�นวณไว้ เช่น สุ่มร�ยช่ือทีช่ ว่ งๆทีห่ �่ ง 3 ร�ยชอ่ื หรอื 10 ร�ยชอ่ื เรือ่ ยๆ ไปจนครบต�มจำ�นวนกล่มุ ตวั อย�่ งที่กำ�หนดไว้ ] การสมุ่ ตัวอยา่ งแบบแบ่งช้ันภมู ิ (Stratified Sampling) วิธีนเ้ี ปน็ ก�รสมุ่ ตวั อย�่ งโดยแบง่ ประช�กรออกเปน็ กลมุ่ ยอ่ ยต�มลกั ษณะของแต่ละกลุม่ เชน่ แบ่งต�มเพศ อ�ยุ ปี ระดบั เงนิ เดือน ประสบก�รณ์ เป็นต้น แล้วส่มุ อย่�งง�่ ย เพอื่ ใหไ้ ด้จ�ำ นวนกลุม่ ตวั อย่�งต�มสัดส่วนของขน�ดกลุ่มตัวอย�่ งและกลมุ่ ประช�กร ] การสุ่มตวั อยา่ งแบบกลมุ่ (Cluster Sampling) เป็นก�รส่มุ ตวั อย่�งโดยแบง่ ประช�กรออกเป็นกล่มุ พ้นื ทโ่ี ดยประช�กรแตล่ ะกลุ่มพืน้ ที่มลี กั ษณะเดียวกนั วิธนี เี้ หม�ะกับก�รแบ่งกลมุ่ พืน้ ที่ เช่น ต�มภ�คภูมศิ �สตร์ ตวั อย�่ งเช่น จะศึกษ�เก่ยี วกบั ระบบอ�ชวี ศึกษ�หม�ยคว�มว่�สถ�นศกึ ษ�อ�ชวี ศึกษ� เปน็ กล่มุ ท่ีจะศกึ ษ� ทัง้ นอ้ี �จแบง่ สถ�นศึกษ�อ�ชวี ศึกษ�เปน็ กลุ่มอีกต�มประเภท สถ�นศึกษ� ต�มภ�คแล้วศึกษ�ทกุ แหง่ ต�มภ�คทสี่ ุ่มได้ เป็นตน้ ] การเลอื กกลุ่มตวั อย่างแบบไม่ใชก้ ารส่มุ (Non-Random Sampling) เปน็ ก�รเลือกกลุ่มตวั อย�่ งโดยไม่ไดค้ ำ�นงึ ถึงว่�ทุกหนว่ ยประช�กรมีโอก�ส ในก�รถกู เลอื กเท�่ กัน แต่ใชพ้ ิจ�รณ�คว�มเหม�ะสมว�่ กลุ่มตวั อย�่ งนน้ั จะเป็นตวั แทนทจ่ี ะให้ข้อมลู ขอ้ เทจ็ จรงิ ในเรื่องที่จะศึกษ�ไดต้ �มที่ต้องก�ร ม�กน้อยเพียงใด ซึ่งมีวิธกี �รเลือกหล�ยวธิ ีเชน่ กนั ได้แก่ ก�รเลอื กกลุม่ ตวั อย่�งแบบเจ�ะจง (Purposive or Deliberate Sampling) ก�รเลอื กกลุ่ม ตัวอย่�งแบบโควต้� (Quota Sampling or Convenience Sampling) ต�ร�งท่ี 4. ข้อดี ข้อเสียของก�รสมุ่ ตวั อย�่ งประเภทต่�งๆ ประเภทของการสมุ่ ตัวอยา่ ง ขอ้ ดี ขอ้ เสยี ก�รสุ่มตัวอย�่ ง กลุ่มตวั อย่�งขน�ดใหญ่ จะ กลุ่มตวั อย�่ งขน�ดใหญ่ ย�กตอ่ (Random Sampling) มีแนวโนม้ ทีจ่ ะเป็นตัวอย�่ ง ก�รเก็บรวบรวมข้อมูล ท่ดี ขี องประช�กร ก�รสุ่มตวั อย�่ งแบบแบ่งชั้นภมู ิ ได้กลมุ่ ตัวอย่�งจ�กแต่ละ กลมุ่ ทมี่ ีลักษณะเหมือนกัน (Stratified Sampling) และมแี นวโน้มทีจ่ ะเป็นตัว อย่�งท่ีดขี องประช�กร 60
ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง ข้อดี ข้อเสีย ก�รสมุ่ ตัวอย�่ งแบบกล่มุ วิธีน้ีส�ม�รถใช้ได้ดีในกรณี นกั วิจัยจะตอ้ งใช้คว�มพย�ย�ม (Cluster Sampling ) ทเี่ ก็บข้อมลู จ�กร�ยบุคคล เพมิ่ ขึน้ ได้ย�กหรือไมส่ �ม�รถท่ี ก�รสุ่มตัวอย่�งเปน็ ระบบ จะเลอื กแบบสุม่ ตัวอย�่ ง (Systematic Sampling) ของบคุ คล ซง่ึ จะใชต้ ัวแทน เปน็ กลุม่ เชน่ สถ�บนั จะดี กว�่ และใช้เวล�น้อยกว่� ประช�กรมีร�ยชื่อเปน็ มโี อก�สม�กทเี่ ลือกตัวอย่�งที่ ระบบท�ำ ให้ง่�ยต่อก�รสุ่ม ไมใ่ ช่ตวั แทนของประช�กร กลมุ่ ตัวอย�่ งทีเ่ ปน็ ร�ย บุคคล กระบวนการหรือขัน้ ตอนการวจิ ยั (Procedures) แนวคดิ บ�งประก�รของก�รว�งแผนและก�รด�ำ เนินก�รวจิ ยั ] ก�รด�ำ เนินก�รวิจัยควรท�ำ ต�มขั้นตอนของก�รวจิ ัยโดยผ�่ นก�รศึกษ�ขอ้ มลู วรรณกรรมทเี่ ก่ียวขอ้ ง ก�รใช้คว�มคดิ ไตร่ตรอง ก�รใชเ้ หตุผลและวิธกี �รท�ง วิทย�ศ�สตรเ์ ป็นพน้ื ฐ�นและจดั ท�ำ แผนเสมอื นเปน็ พิมพ์เขียวของก�รด�ำ เนนิ ง�น ] ก�รว�งแผนก�รวิจยั ตอ้ งกำ�หนดร�ยละเอยี ดของเทคนคิ วิธี และเครือ่ งมือต�่ งๆ ที่จะใช้ในก�รวิจยั ใหม้ �กที่สดุ เท่�ที่จะท�ำ ได้ ] ต้องจัดท�ำ แผนก�รด�ำ เนนิ ง�น แผนภมู ิ (flow chart) ท่จี ะช่วยเปน็ ประโยชนใ์ น ก�รดำ�เนินง�นต�มขนั้ ตอนได้อย�่ งสมบูรณ์ ] ในกรณขี องก�รวจิ ยั เชงิ ทดลองตอ้ งไมล่ มื ทจ่ี ะจดั ท�ำ ใบง�นหรอื คมู่ อื ก�รปฏบิ ตั งิ �น ให้แก่กลุม่ ตวั อย�่ งทง้ั กลมุ่ ควบคมุ และกลมุ่ ทดลองให้เป็นไปต�มแผนทก่ี ำ�หนดไว้ อย่�งรัดกมุ “โปรดจำ�ไว้ว่�แผนหรือขั้นตอนก�รวิจัยเป็นส่วนสำ�คัญที่จะบอกผู้อ่�นร�ยง�นก�รวิจัยให้ เข�้ ใจสิง่ ท่ที ่�นท�ำ วัตถุประสงค์และวิธวี ิจัย” 61
เครอื่ งมือรวบรวมขอ้ มูล (Data-Gathering Instruments) เคร่ืองมอื รวบรวมข้อมูลของก�รวิจัยท�งสังคมศ�สตร์ท่สี �ำ คญั ท่ใี ชก้ ันแพร่หล�ย ได้แก่ แบบ ทดสอบ แบบสอบถ�ม แบบสมั ภ�ษณ์ แบบบนั ทกึ รวมถึงต�ร�งก�รใชเ้ ครือ่ งมือที่เหม�ะสม ฯลฯ เครือ่ งมอื เหล่�น้ีควรจัดท�ำ หรอื สร�้ งขน้ึ โดยมกี �รตรวจสอบคณุ ภ�พ คว�มเชื่อถือได้ ทจ่ี ะ ส�ม�รถวดั ตวั แปรท่ศี ึกษ�ไดอ้ ย่�งเหม�ะสมและถกู ต้อง ท�่ นอ�จมีก�รปรบั ใช้เครือ่ งมอื ก�ร วจิ ัยทเ่ี ปน็ ม�ตรฐ�นแลว้ น�ำ ม�ใช้ในสถ�นก�รณข์ องท่�น หรือท�่ นส�ม�รถสร้�งเคร่ืองมือขึน้ ม�ใหมใ่ ห้เข�้ กบั สถ�นก�รณห์ รอื ตวั แปรท่ีศึกษ� ก�รตรวจสอบคุณภ�พของเครอ่ื งมือก�รวิจยั ควรตรวจสอบคุณภ�พ 5 ด้�นดังนี้ ] คว�มเชอ่ื มนั่ (Reliability) หรอื อ�จเรยี กว่�คว�มเทีย่ ง เป็นคุณสมบัตทิ ่ี แสดงใหเ้ หน็ ว�่ เครอื่ งมอื ก�รวจิ ัยทจ่ี ะใชเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มูลมคี ว�มคงที่ แม่นย�ำ หรือมคี ว�มถกู ตอ้ ง ไม่ว�่ จะใชว้ ดั ก่ีครั้งก็ต�ม ดังนนั้ จึงตอ้ งมีวิธกี �รห�ค่�ท�งสถติ ิ ท่แี สดงถึงระดบั คว�มเชื่อมน่ั คือ ค่�สัมประสทิ ธค์ ว�มเชื่อมน่ั (reliability coefficients) ] คว�มเทยี่ งตรง (Validity) เปน็ คณุ สมบัติท่ีแสดงใหเ้ หน็ ว่�เคร่ืองมอื ก�รวิจัย ที่ใชส้ �ม�รถวดั ในส่งิ ท่ตี อ้ งก�รวัด ซ่งึ มกี �รวัดคว�มตรงด้�นเนือ้ ห�ส�ระและ คว�มตรงต�มโครงสร�้ ง ก�รวจิ ัยท�งสังคมศ�สตรม์ กั ใช้วธิ ีให้ผเู้ ชย่ี วช�ญ พจิ �รณ�คว�มตรงด�้ นเนอื้ ห�ส�ระ (ในบ�งตำ�ร�เรยี กวิธี “Face validity”) ในเรื่องนัน้ ๆ โดยห�ดชั นคี ว�มสัมพนั ธ์ระหว่�งเครื่องมอื ก�รวจิ ัยกบั สงิ่ หรอื ตัวแปรที่ตอ้ งก�รศึกษ� ] คว�มเปน็ ปรนยั (Objectivity) เป็นคุณสมบัติทแ่ี สดงให้เหน็ ว�่ เคร่อื งมอื ก�รวิจัย ช่วยให้ผตู้ อบแบบสอบถ�มตอบโดยไมม่ ีคว�มลำ�เอียง ไมม่ อี คติ หรือใช้คว�มเช่อื ส่วนตวั ส�ม�รถแปลคว�มได้ตรงกัน มนี ยั เดียว ชดั เจน และมคี ว�มแน่นอน ลักษณะของขอ้ มลู กับวธิ ีการวจิ ัย (Nature of Data and Methodology) ลักษณะของขอ้ มลู กบั วธิ กี �รวิจยั มคี ว�มสมั พันธก์ ันม�ก ในฐ�นะนกั วจิ ยั ท่�นตอ้ งพจิ �รณ� ว่�ข้อเท็จจริงหรือข้อมูลในสถ�นก�รณ์นัน้ ๆจะต้องใช้ระเบียบวิธีก�รวิจัยแบบใดในก�รเก็บ รวบรวมข้อมลู ที่จะสะท้อนขอ้ เทจ็ จรงิ ทน่ี �ำ สขู่ ้อค้นพบทตี่ อ้ งก�รได้ชัดเจนยิ่งขน้ึ สรปุ ได้ว่�ชนดิ ของข้อมูลทม่ี อี ยู่ในลกั ษณะแตกต่�งกนั จะทำ�ให้เร�เลอื กใหว้ ธิ ีก�รหรอื กระบวน ก�รวิจัยท่แี ตกต�่ งกนั กล่�วอีกนัยหน่งึ คอื ลกั ษณะของข้อมลู หรอื ชนิดของข้อมูลบง่ บอกว�่ ควรจะใช้วธิ กี �รแบบใด ถ�้ ขอ้ มูลท่ีจะเกบ็ อยใู่ นลักษณะบันทึก ร�ยง�น และบญั ชี วธิ กี �รรวบรวมกเ็ ป็นแบบหนึ่ง ต�่ งจ�ก ขอ้ มูลเชงิ ปริม�ณทอ่ี �จใช้วิธีก�รวิจัยเชงิ เปรียบเทียบ เปน็ ตน้ 62
3. การวจิ ยั เชิงพฒั นาเทคโนโลยี (Technical Developmental Research) ก�รวิจยั เชงิ พฒั น�เทคโนโลยี ในทนี่ ีห้ ม�ยถึงก�รวิจยั เพอื่ พฒั น�เทคโนโลยี หรอื นวตั กรรม ที่เกย่ี วขอ้ งกบั ก�รศกึ ษ� โดยเฉพ�ะด้�นก�รเรยี นก�รสอน รวมถึงเป็นก�รวจิ ัยท่ที ำ�ใหเ้ กดิ ก�รเปลย่ี นแปลงขบวนก�ร วธิ กี �ร และแนวคว�มคิดใหมๆ่ ม�ใช้หรือพฒั น�ง�น เช่น ก�ร พัฒน�โครงก�รใหมๆ่ พัฒน�ตน้ แบบ ส่ือก�รเรยี นก�รสอน หรอื นวัตกรรมทเ่ี กยี่ วข้องเพอ่ื ใหก้ �รด�ำ เนินง�น เป็นไปอย่�งมปี ระสทิ ธิภ�พ การออกแบบโครงการ (Project Design) ก�รออกแบบโครงก�รวิจัยประเภทน้มี ีขัน้ ตอนเช่นเดยี วกับก�รวจิ ัยท�งสังคมศ�สตร์ แต่ อ�จแตกต่�งกันเล็กน้อยทีก่ �รวิจัยประเภทนี้ต้องก�รสร้�งหรือพัฒน�สิง่ ที่เป็นรูปธรรม ชดั เจน กระบวนก�รแตล่ ะขนั้ ตอนในรูปแผนภมู ขิ น้ั ตอนก�รด�ำ เนนิ ง�น flow chart มีร�ย ละเอยี ดเด่นชัดในเชงิ ก�รทดลอง มกี �รตรวจสอบผลและมขี ั้นก�รประเมินผล นอกจ�กน้ี ยังมีก�รเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ร�ยละเอียดของก�รทดลอง ทฤษฎปี ระกอบม�อธิบ�ย เพือ่ พัฒน�เทคโนโลยี นวตั กรรมน้นั ๆ ขนั้ ตอนการพัฒนาและการทดสอบ (Operation and Testing Procedures) ก�รดำ�เนินง�นเริ่มต้นด้วยก�รศึกษ�นวัตกรรมที่เกีย่ วข้องและตรวจสอบจนแน่ใจว่� ต้นแบบท่ีจะสร้�งหรือพัฒน� ตรงกบั คว�มต้องก�รทกี่ ำ�หนดไวใ้ นขนั้ ต้น โดยในข้ันตอนนจ้ี ะ มีก�รทดสอบซ่ึงอ�จม�กกว�่ หน่งึ รอบ น�ำ ปญั ห�ท่ีพบท�ำ ก�รปรับปรุงแกไ้ ขใหแ้ บบมคี ว�ม สมบรู ณ์ท่สี ดุ ตัวอย่�งเชน่ ในก�รพัฒน�ตน้ แบบของสิ่งใดส่ิงหน่ึงต้องเร่มิ ตน้ ด้วยก�รตรวจ สอบคว�มสอดคลอ้ ง ประสิทธผิ ลและประสทิ ธิภ�พของต้นแบบท่ีจะด�ำ เนนิ ก�รสร�้ ง โดย ผ�่ นผู้เชี่ยวช�ญ ทฤษฎตี ่�งๆทีเ่ กี่ยวข้อง ทง้ั นอี้ �จมีก�รตรวจสอบซำ�้ เพ่อื ขจัดข้อผดิ พล�ด ในขนั้ ตอนก�รสร�้ งและทดสอบจริง จนกระท่ังยอมรับในตน้ แบบทพ่ี ัฒน�ขึ้น ส�ำ หรบั โครงก�รง�นวจิ ยั ทต่ี อ้ งใชง้ บประม�ณสูง ควรสร้�งแบบจำ�ลองโดยใชโ้ ปรแกรม ซอฟต์แวรช์ ่วยในข้นั ตอนนี้ ส�ำ หรบั โครงก�รง�นวจิ ยั เชิงทดลองตอ้ งระบจุ ำ�นวนหรอื วธิ ีก�รทดลองว�่ มีกี่แบบ แต่ละแบบต้องอธบิ �ยวธิ กี �รทดลองและวัสดอุ ุปกรณก์ �รทดลอง และก�รทดสอบใหช้ ดั เจน ใหส้ อดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคข์ องก�รพัฒน�ที่สำ�คัญตอ้ งระบุ ม�ตรฐ�นทใ่ี ชใ้ นก�รเปรยี บเทียบประสทิ ธภิ �พ และ/หรือประสิทธผิ ลของโครงก�ร ข้นั ตอนการประเมินผล (Evaluation Procedure) ในขัน้ ตอนก�รประเมินผลโครงก�รขัน้ สุดท้�ยหลังจ�กก�รทดสอบประสิทธิภ�พของเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมมีคว�มสำ�คัญเพือ่ ตรวจสอบประสิทธิภ�พซึ่งเป็นพืน้ ฐ�นสำ�หรับก�รพัฒน�ของ ก�รวิจัยลักษณะนี้ ดังนน้ั จำ�เป็นตอ้ งก�ำ หนดเกณฑใ์ นก�รประเมินท่ีส�ม�รถประเมินผลก�ร พัฒน�ไดอ้ ย�่ งชดั เจน ท่สี ำ�คญั แบบประเมนิ ผลจะตอ้ งตรวจสอบคว�มเท่ียงตรง แม่นยำ� มี ประสิทธภิ �พ เพอ่ื ท�ำ ใหผ้ ลก�รวิจยั มีคว�มถกู ต้อง ส�ม�รถนำ�ม�ใชป้ ระโยชนต์ �มที่ก�ำ หนดไว้ 63
ต�ร�งท่ี 5 เปรียบเทยี บระหว�่ งก�รวจิ ยั ท�งสังคมศ�สตรแ์ ละก�รวิจยั พฒั น�ก�รท�งเทคโนโลยี ลกั ษณะของการวิจยั การวจิ ยั เชงิ สังคมศาสตร์ การวิจยั เชงิ พัฒนาเทคโนโลยี ร�ยละเอยี ดก�รบรรย�ย วิธีก�รท�งวทิ ย�ศ�สตร์เพื่อศึกษ� วธิ กี �รท�งวทิ ย�ศ�สตร์ เพื่อศึกษ�วทิ ย� (Description) พฤติกรรมของมนษุ ยแ์ ละสังคมและ ศ�สตรธ์ รรมช�ตแิ ละส่ิงต�่ งๆที่มนษุ ย์น�ำ ลักษณะทแี่ ตกต่าง สภ�พแวดลอ้ ม ม�ใช้ง�น เนือ้ ห�ก�รศกึ ษ�เรอื่ ง ท่ีวจิ ัย เน้นก�รวจิ ัยท�งสังคมเกย่ี วข้องกบั เนน้ ก�รวจิ ัยท�งเทคโนโลยกี ับ (Area of Study) พฤตกิ รรมของมนุษย์ ลกั ษณะสังคม วทิ ย�ศ�สตรธ์ รรมช�ติ คณิตศ�สตรแ์ ละ ก�รออกแบบก�รวิจัย สง่ิ แวดล้อม รวมถึงศึกษ�แนวโน้มทคี่ วร ก�รใช้ง�น (Research design) จะเป็น ลกั ษณะทีเ่ หมือนกัน ก�รออกแบบก�รวิจยั ท�งสังคมศ�สตร์ ก�รวจิ ยั เชิงเทคนคิ เป็นหลักเนอื่ งจ�ก ก�รออกแบบก�รวจิ ัย ใชห้ ลักท�งสถิติก�รส�ำ รวจและก�ร ก�รวจิ ยั ท�งวิทย�ศ�สตรม์ ีเครอ่ื งมือ (Research Design) วิเคร�ะหเ์ นื้อห�และใช้เครื่องมือ และอปุ กรณท์ ่ีเทย่ี งตรงและมีกฎเกณฑ์ วดั ท�งออ้ ม เชน่ ใช้แบบ ทดสอบ แนน่ อน ตลอดจนส�ม�รถควบคุมก�ร กระบวนก�รวิจัย แบบสอบถ�ม สัมภ�ษณ์ แบบวดั เจตคติ ทดลองไดเ้ พร�ะทำ�ก�รทดลองในห้อง (Research Process) แบบบนั ทึก เป็นตน้ ปฏิบตั กิ �ร จึงทำ�ใหผ้ ลก�รวจิ ัยท�งด้�น วิทย�ศ�สตร์ได้รับคว�มเชือ่ ถอื ม�ก ประโยชน์ของก�รวิจยั (Benefits from Re- ก�รออกแบบก�รวิจยั ทั้งสองประเภทไดน้ ำ�เอ�วิธกี �รท�งวิทย�ศ�สตรม์ �ชว่ ยในก�ร search) วิจัย ทำ�ใหผ้ ลก�รวิจัยเป็นที่น�่ เชอื่ ถือม�กยิ่งขึน้ มขี ัน้ ตอนเชน่ เดียวกัน ระเบียบวิธีก�รอืน่ ๆ ทใี่ ชไ้ ดแ้ ก่ ð สถ�นก�รณจ์ �ำ ลอง ð แบบจำ�ลองท�งคณติ ศ�สตร์ ð แบบจ�ำ ลองเชงิ คณุ ภ�พ l ก�รกำ�หนดช่ือเร่อื ง l ก�รระบปุ ญั ห�/วัตถปุ ระสงค์ l ก�รทบทวนวรรณกรรม l ก�รตงั้ สมมติฐ�น l ก�รกำ�หนดกรอบทฤษฎี / แนวคดิ ก�รวจิ ยั l ก�รรวบรวมขอ้ มลู l ก�รวเิ คร�ะหข์ ้อมูล l ก�รสรปุ ผลและข้อเสนอแนะ l ไดอ้ งค์คว�มรใู้ หม่ l ได้เทคโนโลยใี หม่ l ได้หลักสตู รหรือโปรแกรมก�รบริก�ร และก�รจดั ก�รท่เี กยี่ วขอ้ ง l ได้พฒั น�ประสทิ ธิภ�พ/ผลของระบบ 64
4. เครือ่ งมือทางสถิติ (Statistical Tools) ขอ้ มลู ท่รี วบรวมจะมีคว�มหม�ยก็ตอ่ เม่อื ไดม้ ีก�รใชส้ ถิตมิ �ทำ�ก�รวเิ คร�ะหข์ ้อมูล สถติ ิท่ี วเิ คร�ะห์จะแสดงให้เหน็ ภ�พข้อเท็จจรงิ (Leedy, 1980) ก�รวิเคร�ะหข์ ้อมูลจะตอบปัญห� ที่ระบไุ วห้ รอื ตอบวัตถุประสงค์ทตี่ ง้ั ไวอ้ ย�่ งตรงไปตรงม�โดยไมม่ ีอคติ แตส่ ิง่ สำ�คญั นักวจิ ัย จะต้องมคี ว�มร้ใู นก�รเลอื กใช้สถติ ิทเ่ี หม�ะสมกับชนิดของขอ้ มูล และประเภทของเคร่ืองมือ ก�รวิจัย จึงจะทำ�ให้ก�รแปลคว�มหม�ยของขอ้ มลู น้นั ถกู ต้อง ลกั ษณะของปญั ห� และคำ�ถ�มวิจัย จะเปน็ ตัวบ่งบอกว�่ จะใชส้ ถิติอะไร ชนดิ ไหน ตัวอย่�ง เช่น ถ้�ปญั ห�ทม่ี ลี กั ษณะห�คว�มสัมพนั ธ์ของตัวแปร ต้องเปน็ สถติ ิทใ่ี ชว้ ิเคร�ะห์ห�คว�ม สมั พนั ธ์ สำ�หรบั ปญั ห�ทซ่ี บั ซอ้ นม�กขน้ึ สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นก�รวจิ ยั กจ็ ะมีคว�มซับซอ้ นม�กขนึ้ เช่นกัน เช่น ก�รวิเคร�ะหพ์ หุตัวแปร (Multivariate Analysis) เปน็ ต้น สรุปได้ว�่ สถิตคิ ือเคร่ืองมอื หรอื เทคนคิ ในก�รวเิ คร�ะหข์ อ้ มลู ก�รท่ีจะใชส้ ถติ อิ ะไร ชนดิ ไหน ระดบั ใดขนึ้ อยูก่ ับปญั ห�ก�รวิจัย ประเภทและระดับของข้อมูลทเ่ี ก็บรวบรวมม�ทำ�ก�รวิจัย โดยทั่วไปสถติ แิ บง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ต�มฟังกช์ นั หรือวัตถปุ ระสงค์ท่ีใช้คือ ประเภทที่ 1 สถติ เิ ชงิ พรรณน� (Descriptive Statistics) เป็นค�่ สถิตทิ ่ีอธบิ �ยหรือ พรรณน� ลกั ษณะหรือแจกแจงข้อมลู ต�มท่ีได้รวบรวมม�เท่�นน้ั เชน่ ค่�คว�มถ่ี รอ้ ยละ สดั สว่ น เปอรเ์ ซนไทล์ ค�่ เฉล่ีย ค่�สหสัมพนั ธ์ระหว่�งตัวแปร ข้อสรปุ หรือผลท่ไี ดไ้ มส่ �ม�รถ น�ำ ไปใชใ้ นก�รอ้�งองิ เป็นตัวแทนได้ ประเภทที่ 2 สถิตเิ ชิงอ�้ งองิ (Inferential Statistics) เปน็ ค่�สถติ ทิ ใ่ี ช้ในก�รวเิ คร�ะห์ ขอ้ มลู จ�กกลมุ่ ตวั อย�่ ง (Sample) ของประช�กร แล้วน�ำ ข้อสรุปทไี่ ดไ้ ปค�ดคะเนหรอื สรุปอ้�งองิ ถงึ ลักษณะของประช�กร (Population) ทง้ั กลมุ่ วธิ กี �รท�งสถติ วิ เิ คร�ะหอ์ กี ประเภทหนง่ึ คอื พ�ร�เมตรกิ (Parametric Statistics) และ สถติ นิ อนพ�ร�เมตริก (Nonparametric Statistics) สถิติพ�ร�เมตรกิ (Parametric Statistics) มกั ใช้กับข้อมูลทม่ี ีก�รแจกแจงปกติ และ ขอ้ มลู ทีอ่ ย่ใู นม�ตร�เรยี งอนั ดบั (Ordinal Scale)ม�ตร�ช่วง (Interval Scale) สถติ ิ พ�ร�เมตริกที่นยิ มใช้ในก�รทดสอบสมมติฐ�น ไดแ้ ก่ Z-test, t-test, และ F-test สถติ ินอนพ�ร�เมตรกิ (Nonparametric Statistics) ใชก้ ับขอ้ มูลท่ีมีก�รแจกแจง ของประช�กรไม่เป็นปกติ และเปน็ ข้อมลู ระดับใดก็ได้ ส�ม�รถใชไ้ ด้กบั ข้อมูลท่ีมีก�รวดั ระดบั เชน่ ระดับม�ตร�น�มบญั ญตั ิ (Nominal Scale) และม�ตร�เรียงอันดับ (Ordinal Scale) ได้อีกด้วย 65
4.1 การใชโ้ ปรแกรมสาำ เร็จรูป SPSSในการวิเคราะหข์ อ้ มลู ในปัจจุบันเร�ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรช์ ว่ ยในก�รวิเคร�ะหข์ ้อมลู โดยก�รวจิ ัยท�งก�ร ศึกษ�นิยมใช้ซอฟแวร์ SPSS ซ่งึ ไดม้ กี �รพฒั น�อย�่ งต่อเนือ่ งและใชก้ นั แพรห่ ล�ย โปรแกรม คอมพวิ เตอร์ดังกล่�วเป็นเครื่องมอื ที่มปี ระสิทธิภ�พที่ช่วยให้ก�รวิเคร�ะห์เป็นไปอย่�ง รวดเร็วและมคี ว�มแมน่ ยำ� แมข้ อ้ มูลจะมจี ำ�นวนม�ก มขี น�ดใหญเ่ พยี งใดก็ต�ม โปรแกรมสำ�เรจ็ รูป SPSS ไดถ้ กู พฒั น�เริ่มแรกโดย Stanford doctoral candidate Norman Nie ในปีค.ศ.1968 (ในปี 2009, SPSS ได้เปลยี่ นเปน็ ซอฟแวร์ PASW - Predictive Analytics Software ภ�ยใต้ IBM) (http://www.spss.com/) 4.2 ขอ้ ดขี องการใชโ้ ปรแกรม SPSS โปรแกรม SPSS เป็นโปรแกรมหรือแพคเกจท�งสถิตทิ ี่ง�่ ยตอ่ ก�รใช้ และมกี �รพฒั น� เวอรช์ นั่ ใหมๆ่ ขึ้นม�ให้ใช้ได้สะดวกยงิ่ ขึน้ โดยแตล่ ะเวอร์ชน่ั มขี ้อแตกต�่ งกนั เลก็ นอ้ ย อย่�งไรก็ต�มนกั วิจยั ส�ม�รถใชโ้ ปรแกรม SPSS ดว้ ยตนเองจ�กคูม่ อื ก�รใชโ้ ดยทใ่ี ช้ได้ ง�่ ยจ�กเหตุผลดังตอ่ ไปน้ี ] ได้มกี �รใช้อย�่ งแพรห่ ล�ยตงั้ แตป่ ล�ย 1960s’ ] ใชไ้ ดง้ �่ ยต�มคู่มือก�รใช้ ] สะดวกในก�รแปลคว�มหม�ยของข้อมูล 4.3 คา่ สถติ ทิ รี่ วมอย่ใู นซอฟแวร์โปรแกรม SPSS ค�่ สถติ ทิ ีร่ วมอยูใ่ นซอฟแวรโ์ ปรแกรม SPSS มีม�กกว�่ 50 ค่�ต�มกระบวนก�รท�ง สถิติ รวมค�่ สถิติวิเคร�ะห์ทใี่ ช้ในก�รวิจัยตอ่ ไปน้ี: ] สถติ เิ ชงิ พรรณน� (Descriptive statistics) อ�ทิ ต�ร�งCross tabulation, Frequencies, Descriptive, Explore,Descriptive Ratio Statistics 66
] สถิตวิ ิเคร�ะหต์ งั้ แต่ 2 ตัวแปร (bivariate Statistics) เช่น Means, t-test, ANOVA, Correlation (bivariate, partial,distances),Nonparametric tests T-test และ ANOVA สมั ประสิทธิส์ หสมั พนั ธ์ ] สถิตกิ �รท�ำ น�ยขอ้ มูลเชิงเดีย่ ว (Prediction for numerical outcomes) เชน่ Linear regression ] สถติ ิก�รทำ�น�ยข้อมลู เชิงกล่มุ (Prediction for identifying groups) เช่น Factor analysis, cluster analysis (two - step, K - means, hierarchical), Discriminant analysis, (http://www.spss.com/). 4.4 ขนั้ ตอนหลัก 4 ข้นั ของการวเิ คราะห์ข้อมลู ของ SPSS ขัน้ ตอนหลกั ในก�รประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยโปรแกรม SPSS มี 4 ขั้นตอน โดยทีต่ ้องศกึ ษ�และทำ�ต�มคมู่ อื ดงั แสดงในรปู ท่ี 7 สรุปก�รดำ�เนินก�รดังนี้ ภ�พท่ี 7 4 ขน้ั ตอนพนื้ ฐ�นสำ�หรบั ก�รใช้โปรแกรม SPSS วิเคร�ะห์ขอ้ มูล ก�รป้อนขอ้ มลู ไปยงั โปรแกรม SPSS (Enter Data into SPSS) เมอ่ื เปดิ โปรแกรม SPSS ในคอมพวิ เตอร์ จะเห็นต�ร�งท่ีมีลักษณะคล�้ ย Spreadsheet ของ โปรแกรม Excel ท่�นส�ม�รถป้อนข้อมลู ในคอลัมภ์ Data View ในช่องตวั แปร (Var) ท�งด้�นล�่ งต�มจำ�นวนตัวแปรทศ่ี ึกษ�ในคอลมั ภ์ (Column) และจ�ำ นวนกลุ่มตวั อย่�ง ในแถว(Row) โดยท�่ นตอ้ งคลกิ สลบั ไปท่ี Variable View เพอื่ ป้อนข้อมลู ให้ถกู ตอ้ ง จ�ก นนั้ กดบันทกึ ข้อมูล (Save) ก�รแปลงข้อมูล (Transforming Data) ห�กท่�นตอ้ งก�ร แปลงขอ้ มูลทีป่ อ้ นเข้�เพ่ิมข้นึ เชน่ รวมข้อมลู บ�งตวั แปรเป็นตวั แปรใหม่ ก�รจดั ลำ�ดบั ก�รจัดประเภท ให้ไปทเ่ี มนู Transform จะมีโปรแกรมใหท้ �่ นเลือกดำ�เนนิ ก�ร และตอ้ งไม่ ลืมกดบันทกึ (Save) ขอ้ มูลทุกคร้ัง ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล (Analyze) ไปทเี่ มนู Analyze แล้วเลือกสถิติทีใ่ ช้ในก�รวิเคร�ะหข์ ้อมูลที่กำ�หนดไว้ซึ่งโปรแกรมจะบอกว่�ต้องทำ�อย�่ งไร เม่อื ท�่ นกด enter หรือโปรแกรมกจ็ ะทำ�ก�รค�ำ นวณให้ทันที ผลก�รวิเคร�ะห์ (Check Output) ในขน้ั นตี้ �ร�งสำ�เร็จรปู Output กจ็ ะปร�กฏออกม� เป็นผลก�รวิเคร�ะห์ท�ง สถิติที่ตอ้ งก�ร ท�่ นส�ม�รถนำ�ข้อมลู นไ้ี ปทำ�ก�รแปลผลที่ท่�นเตรียมไว้ 67
โดยสรปุ โปรแกรม SPSS เป็นซอฟต์แวรค์ อมพวิ เตอร์ท่ใี ชก้ ันอย่�งแพร่ หล�ยและใช้ง�นง�่ ย สำ�หรบั ก�รวิเคร�ะหท์ �งสถติ ทิ งั้ ในด�้ นวิทย�ศ�สตรท์ �งสังคม รวมทง้ั ในอ�ชวี และเทคนิคศึกษ� โดยส�ม�รถเลอื กสถิตใิ ชว้ ิเคร�ะห์ข้อมลู ไดม้ �กกว�่ 50 กระบวนก�รท�งสถิติ มีขั้นตอนสำ�คญั 4 ขัน้ ตอน เรมิ่ จ�กก�รป้อนขอ้ มูลไปทีเ่ มนู data ก�รแปลงขอ้ มลู ทเ่ี มนู Transform ก�รเลอื กโปรแกรมวิเคร�ะห์สถติ ิท่เี มนู Analyze แลว้ ก�รบนั ทึกผล และแปลคว�มหม�ย ออกม�เปน็ output 5. มาตรการวัด (Measurement Scales ) ข้อมลู ต่�งๆ จะใช้วิธีก�รท�งสถิติแบบใดในก�รวิเคร�ะห์นัน้ ส�ม�รถจ�ำ แนก ม�ตรก�รวดั ขอ้ มลู ออกได้เป็น 4 ระดบั คอื ] มาตรานามบัญญตั ิ (Nominal Scales) เป็นม�ตร�วดั ที่ใช้กับขอ้ มูลท่ีมี ลกั ษณะหย�บหรอื ต่�ำ ท่ีสดุ เป็นก�รก�ำ หนดสญั ลกั ษณ์หรอื ตัวเลขเพ่อื จำ�แนกประเภทสง่ิ ของหรือคณุ ลกั ษณะต่�งๆ เท่�นน้ั ไมส่ �ม�รถนำ�ตัวเลข เหล�่ นัน้ ม�บวก ลบ คณู ห�ร ได้ เช่น เพศ ท่ีแบง่ ออกไดเ้ ปน็ แค่ 2 ประเภท เท่�นนั้ คอื ช�ยและหญงิ โดยให้ 1 เปน็ สัญลักษณแ์ ทนเพศช�ย และ 2 แทน เพศหญงิ โดยที่ไมม่ คี ่�ท�งคณิตศ�สตร์ ] มาตราเรยี งอนั ดับ (Ordinal Scale) เป็นม�ตร�วดั ทสี่ ูงขน้ึ อีกระดับหน่ึงที่ ส�ม�รถจดั ลำ�ดับท่ขี องขอ้ มูลจ�กม�กสุดไปน้อยสุด หรือน้อยสุดไปห�ม�กสุด แต่ไมส่ �ม�รถบอกคณุ ลกั ษณะหรอื คณุ สมบัตทิ �งคณติ ศ�สตรว์ ่�มปี ริม�ณม�ก น้อยกว่�กันเท่�ใด และแตล่ ะลำ�ดับมีช่วงห�่ งที่ไมจ่ �ำ เปน็ ต้องเท่�กัน เช่น ไม่ส�ม�รถบอกได้ว�่ อนั ดบั ท่ี 1 2 3 ห�่ งกันเท�่ ใด ] มาตราอนั ตรภาคชั้น (Interval Scale) เป็นม�ตร�วดั ที่มีคุณสมบัติของ ม�ตร�วัดท้ังสองลำ�ดับข�้ งตน้ และมคี ว�มละเอยี ดก�รวัดสูงกว�่ เพร�ะก�รวดั ท่ี แตล่ ะช่วงในม�ตร�น้ีมคี �่ เท�่ ๆ กัน ทำ�ให้เร�ทร�บถงึ คว�มแตกต่�งทหี่ �่ งกัน เป็นชว่ งได้ ค่�ทไ่ี ด้จ�กก�รวัดนำ�ม�ค�ำ นวณท�งคณติ ศ�สตรไ์ ด้ อย่�งไรกต็ �ม ค่�ทก่ี �ำ หนดน้ีเป็นค่�ก�ำ หนดขึ้น ยังไม่ใชค่ �่ ศูนย์ที่แทจ้ รงิ เช่น อณุ หภมู ทิ ่ี 0o C ไมไ่ ด้ แปลว�่ ไมม่ ีคว�มร้อนเลย คนทีส่ อบได้ 0 คะแนนไม่ได้แปลว�่ ไมม่ คี ว�มรเู้ ลย ] มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) เปน็ ม�ตร�วัดทีด่ ีที่สุด และวัดไดอ้ ย�่ ง ละเอียดทีส่ ุด มคี ณุ สมบัติของม�ตร�อันตรภ�คช้นั ตวั เลขท่วี ัดได้ส�ม�รถส่ือ คว�มหม�ยตรงต�มค่�ของส่งิ ท่ีวัด และเป็นม�ตร�วดั ที่ข้อมูลมีค่�เป็นศูนยแ์ ท้ ไดแ้ ก่ เวล� อ�ยุ น้�ำ หนัก คว�มสูง ระยะท�ง ร�ยได้ เปน็ ต้น 68
ต�ร�งข�้ งล�่ งนเ้ี ปน็ ขอ้ แนะน�ำ ในก�รเลอื กใชส้ ถติ ทิ ดสอบทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปญั ห�ก�รวจิ ยั ตารางท่ี 6 ปญั หาการวจิ ัย ประเภทของข้อมูล และการทดสอบทางสถิติ ตัวอย่างปญั หา ประเภทของข้อมลู การทดสอบทางสถติ ิ มีคว�มแตกต�่ งระหว�่ งผลสัมฤทธท์ิ �ง อันตรภ�คชัน้ หรอื ม�ตร� z-test ก�รเรียนของนกั เรยี น 2 กลมุ่ ท่ีได้รบั อตั ร�สว่ น (กล่มุ ตวั อย่�งม�กกว่� 30) ก�รสอน 2 วธิ ีทแี่ ตกต่�งกนั อย่�งมนี ัยส�ำ คัญ t-test ทดสอบคว�มแตกต�่ งของ หรอื ไม่ อนั ตรภ�คช้ัน ขอ้ มลู 2 กลุ่มทีเ่ ป็นอสิ ระตอ่ กัน ดว้ ยค�่ มัฌชมิ เลขคณติ (2 กลมุ่ ) (กล่มุ ตัวอย�่ ง อย�่ งน้อย 30) อนั ตรภ�คชั้น t-test ทดสอบของขอ้ มูลทค่ี ่� (1 กลุ่ม) มัฌชมิ เลขคณติ ทไี่ ม่เปน็ อสิ ระ หรือสมั พนั ธก์ นั มคี ว�มแตกต่�งของระดับคว�มพึงพอใจ อันตรภ�คช้นั ของพนักง�น ครู และนกั เรียนทีม่ ตี อ่ ศนู ย์ (3 กลุ่มหรอื ม�กกว่�) ANOVA - ทดสอบคว�มแปรปรวน แนะแนวอ�ชพี ของวทิ ย�ลัยอย่�งมีนยั ส�ำ คญั Chi-square หรือไม่ ก�รทดลองสหสมั พนั ธแ์ บบ หลกั สตู ร the Food Trades เหม�ะสมเพียงพอ คว�มถ่ี หรอื ม�ตร�น�ม สำ�หรับก�รพฒั น�ทักษะผ้ปู ระกอบก�รของ บญั ญตั ิ Spearman Rank นักเรียนหรือไม่ Difference Method ม�ตร�เรียงอันดับ ทดสอบสมั ประสิทธสิ์ หสัมพนั ธ์ แบบเพียรส์ ัน (r) (Ordinal Scale) มคี ว�มสัมพนั ธร์ ะหว�่ งคว�มคดิ สร้�งสรรคข์ อง อันตรภ�คชัน้ ครแู ละผลสัมฤทธท์ิ �งก�รเรยี นของนักเรียน (Interval Scale) ช�่ งในวชิ �อย่�งมีนัยสำ�คัญหรอื ไม่ ม�ตร�อตั ร�ส่วน (Ratio Scale) 69
ต�ร�งท่ี 7 วิธกี �รท�งสถิติ นอนพ�ร�เมตริก(Non-Parametric) *แต่ละร�ยก�รในคอลัมนส์ ถิตทิ ่ใี ชท้ ดสอบจะข้นึ อยู่กับระดบั ก�รวัด เชน่ กรณขี องกลุ่ม ตัวอย�่ ง K ท่ไี มเ่ ปน็ อสิ ระต่อกันถ�้ ข้อมลู อยู่ในม�ตร�วดั อนั ดบั ชั้น ก็ส�ม�รถใชส้ ถิติ the Friedman two-way analysis of variance and the Cochran Q test ได้ 6. ข้อผิดพลาดท่ัวไปในการวิจยั (Common Errors in Research) ก�รทำ�วจิ ยั ไมไ่ ดเ้ ป็นง�นทง่ี ่�ยนกั ผ้วู ิจัยต้องมเี วล�พอสมควร และต้องมี คว�มพย�ย�ม ห�กมีก�รด�ำ เนินก�รคว�มผดิ พล�ดกต็ อ้ งเสยี เวล� และงบประม�ณ เพิ่มขึน้ แน่นอน ต�ร�งด�้ นล�่ งจงึ เป็นข้อแนะนำ�เพ่ือแก้ไขข้อผิดพล�ดบ�งประก�รทอี่ �จ เกดิ ขึน้ (http://sociology camden.rutgers.edu / JFM errors.htm) 70
ตารางท่ี 8 ขอ้ ผิดพลาดในการวิจยั และวิธีการหลกี เลี่ยง ขอ้ ผดิ พลาดท่วั ไป ข้อแนะนำา ก�รรวบรวมขอ้ มลู ทีอ่ �จเกิดคว�มลำ�เอยี ง มอี คติ ก�รทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องให้ม�กอย่�งละเอียด หรอื คว�มเช่อื สว่ นตวั จะช่วยให้พบง�นวิจัยหรือเรื่องที่ศึกษ�ท่ีจะช่วยท่�น ตดั สนิ ใจว�่ สง่ิ ใดควรใชห้ รอื ไมใ่ ช้ พจิ �รณ�ด�้ นต่�งๆใน แง่มมุ ทแ่ี ตกต่�งกันให้ม�ก (พย�ย�มศกึ ษ�ทฤษฎีก�ร ได้ม�ซึง่ กลุม่ ตัวอย่�ง ม�กกว่�ก�รคิดค�ดเด�) ก�รทไ่ี มบ่ นั ทึกขอ้ มลู อย่�งสม่ำ�เสมอ ทำ�ให้จ�ำ ก�รว�งแผนก�รวิจัยรวมถึงก�รบันทึกข้อมูลต่�งๆ ทเี่ กย่ี วข้อง ไม่ได้อ�ศัยข้อมลู จ�กเครอื่ งมือก�รวิจัย ขอ้ มูลบ�งอย่�งไมไ่ ด้ อย�่ งเดยี ว เมือ่ พบข้อมลู ทีเ่ กีย่ วขอ้ งตอ้ งบนั ทกึ ทันที ถ้�ปล่อยใหล้ ่วงเลยไปจะเสียเวล�ในก�รคน้ คว้� ภ�ยหลงั ม�ก ก�รสรุปผลหรือก�รอ้�งองิ เกินขอบเขตไม่ พึงระวังและตรวจสอบให้แนใ่ จว่�ก�รสรุปอ�้ งถึง เกีย่ วขอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ของก�รวิจัย หรือ กลุม่ ประช�กรทีศ่ ึกษ�โดยตรวจสอบกับทถษฏี เปน็ ก�รสรุปอ�้ งองิ ไปสปู่ ระช�กรกลุม่ อืน่ ที่ ผลก�รวิจัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง และ ขอบเขต ขอ้ จำ�กัด ไม่ใชป่ ระช�กรทีศ่ ึกษ� ของก�รวจิ ยั ทีต่ ้ังไว้ ก�รดำ�เนินก�รใช้ก�รค�ดเด�ม�กกว่�ก�รใช้ สอบถ�มคว�มคดิ เห็นของคนอนื่ หรือศกึ ษ� ทบทวน วิธีก�รหรือพืน้ ฐ�นท�งวทิ ย�ศ�สตร์ วรรณกรรมท�ำ อย่�งละเอียดทีจ่ ะช่วยให้คุณเข้�ใจ ผลลพั ธท์ คี่ วรจะเปน็ ควรพง่ึ พ�ก�รวิจยั หรือทฤษฎที ่ี เกีย่ วข้องเพือ่ เปน็ แนวท�งใหม้ �ก ก�รใช้เหตุผลสว่ นตวั ในก�รตดั สิน ต้องตัดสินใจอยูบ่ นก�รอ้�งองิ ข้อมูลทีค่ ้นพบเสมอ หรือมีขอ้ มลู อน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในก�รสรุปหรือตดั สินใจ ก�รใชอ้ ตั ต�เปน็ หลกั ในก�รท�ำ คว�มเข�้ ใจ ตคี ว�ม พย�ย�มท่ีจะเปน็ กล�ง และใช้วิธกี �รของทมี ชว่ ย ข้อมูลหรือก�รใช้คว�มคิดเห็นของนักวิจัยอ่ืน หรอื ใช้ผลก�รวิจัยอ่นื ชว่ ยในก�รตัดสินใจ เปน็ หลกั เมอื่ เร�ตัดสินใจว่�ก�รศึกษ�ครั้งนสี้ มบูรณ์ ควรพิจ�รณ�ห�ท�งเลือกหรือก�รวิจัยทีต่ ่อเนื่องเพื่อ แล้วไมต่ อ้ งก�รศกึ ษ�ในอน�คตอกี ตอ่ ไป เสนอแนะในก�รทำ�วจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้องตอ่ ไป 71
เกรด็ ความรใู้ นการทาำ วจิ ยั (Practical Research Tips) ตารางความกา้ วหนา้ การดำาเนินงานโครงการ/ งานวิจัย ต�ร�งทนี่ �ำ เสนอนีช้ ่วยในก�รดำ�เนนิ ก�รให้ง�นวิจัยเป็นไปต�มขั้นตอนต่�งๆและส�ม�รถตรวจ สอบคว�มส�ำ เร็จต�มที่ได้ว�งแผนไว้ และส�ม�รถตรวจสอบคว�มคืบหน้�ว่�ได้ด�ำ เนนิ ก�รถงึ ขนั้ ไหน เป็นไปต�มนน้ั หรือไม่หรอื จะต้องปรับแผนโดยก�รเพมิ่ เตมิ หรือลดบ�งส่ิงบ�งอย�่ งท่ี ไม่จำ�เปน็ แตต่ ้องระวงั ว�่ ก�รดำ�เนนิ ง�นตอ้ งอยใู่ นขอบเขตที่กำ�หนด ในขณะเดยี วกนั ข้อมลู ที่ บนั ทึกก�รด�ำ เนนิ ง�นช่วยในก�รเขียนร�ยง�นก�รวิจัยต่อไปด้วย ตารางความกา้ วหนา้ การดำาเนินงาน Problem/ Hypothesis Sources Statistics Findings Conclusion Recommen- Objective of data Used ข้อค้นพบท่ี สรปุ ข้อค้นพบ dations เริ่มต้นดว้ ย สมมตุ ฐิ �น ก�ร สถิติเชิง ตอบปญั ห�/ ต�มปญั ห� ขอ้ เสนอแนะท่ี ปัญห�/ ต�มทตี่ ง้ั ไว้ สัมภ�ษณ์ พรรณน� วตั ถุประสงค์ และสมมุตฐิ �น สอดคลอ้ งกับผล วตั ถุประสงค์ ก�ร และเชงิ ก�รวจิ ยั ทตี่ ัง้ และ ก�รวิจยั สำ�รวจ อ�้ งองิ ข้อสรุปก�รวิจัย วัตถุประสงค์ ยอ่ ยหรอื วัตถปุ ระสงค์ เฉพ�ะของก�ร วจิ ัย(ถ�้ ม)ี ก�รเขยี นแผนต้องใหม้ ีคว�มสัมพนั ธ์ท้ังในแนวตรงและแนวขว�ง เช่น ในชอ่ งท่ี 1 เก่ียวกบั ปญั ห�/ วตั ถุประสงค์ก�ร วิจัย ช่องท่ี 2 จะเปน็ สมมตุ ิฐ�นก�รวจิ ยั ชอ่ งที่ 3 เป็นแหลง่ ข้อมลู ของก�รวจิ ัยและคอลัมภ์ทร่ี ะบขุ ้ันตอนตอ่ ไปที่ สมั พนั ธ์กันไปเร่อื ยๆ อภิธานศพั ท(์ Glossary) ม�ตร�อนั ตรภ�คช้นั (Interval Scale) เปน็ ระดับก�รวัดทมี่ คี ณุ สมบัตขิ องม�ตร�วดั เรยี งอันดับ (ordinal scale)แตม่ คี ุณสมบตั ิ ท�งคณิตศ�สตรค์ ือแตล่ ะช่วงล�ำ ดบั ตวั เลขมคี �่ เท่�ๆกัน ตัวอย่�งเชน่ ค�่ อุณหภมู ิองศ�เซน็ ติเกรด และฟ�เรนไฮน์ เป็นต้น ม�ตร�น�มบัญญัติ (Nominal Scale) เปน็ ระดับก�รวดั ที่ตำ่�ท่ีสดุ โดยกำ�หนดสญั ลกั ษณ์ หรือตวั เลขเพือ่ จำ�แนกประเภทส่ิงของ หรือ คุณลกั ษณะต่�งๆ เท่�นนั้ บ�งทเ่ี รียกม�ตร� วัดแบบจ�ำ แนก โดยไมม่ ีค�่ ท�งคณติ ศ�สตร์ 72
คว�มเปน็ ปรนัย (Objectivity) ลักษณะของเครื่องมือทผี่ ้ตู อบ ตอบโดยไมม่ ี ม�ตร�เรยี งอนั ดบั (Ordinal scale) คว�มล�ำ เอยี งหรือมีอคติคำ�ถ�มตอบได้ ประช�กร (Population) ค�ำ ถ�มเดยี วและไมก่ ำ�กวม เปน็ ระดับก�รวัดที่ข้อมูลถูกนำ�ม�จดั ว�ง คว�มเชือ่ มั่น (Reliability) ล�ำ ดบั สูงไปตำ�่ หรอื ต่�ำ ไปสงู โดยมุง่ หวังในก�ร ม�ตร�อตั ร�ส่วน ( Ratio Scale ) ว�งต�ำ แหนง่ ของคนหรอื สิ่งของเท่�น้นั ค�่ สถติ ิ (Statistics) กลมุ่ ของคนหรอื ส่งิ ทุกหนว่ ยสม�ชกิ ท่ผี ้วู ิจยั ตอ้ งก�รศกึ ษ�ในก�รวจิ ัยเป็นกลุม่ ท่ีกลมุ่ ตวั อย่�ง ก�รวจิ ัยก็ได้ม�จ�กก�รเลือกจ�กประช�กร และผลก�รศึกษ�จ�กกลมุ่ ตัวอย�่ งจะอ้�งองิ เปน็ ผลของประช�กรทั้งหมด คว�มคงเสน้ คงว� คว�มแม่นย�ำ หรือคว�มถูกตอ้ ง ซงึ่ เปน็ คณุ สมบัติของเคร่อื งมอื ที่ใช้วิจยั เป็นม�ตร�วดั ทม่ี คี ณุ สมบัตขิ องม�ตร� อนั ตรภ�คชั้น แต่ละขอ้ มลู มีค่�เปน็ ศนู ย์แท้ ภ�ษ�ชนิดหนึ่งผ่�นสญั ลักษณ์พิเศษเปน็ ค่�ตวั เลขทใี่ ชแ้ ทนขอ้ มลู ขอ้ เท็จจริงทีส่ �ม�รถแปล ให้มีคว�มหม�ยได้ กล่มุ ตวั อย่�ง (Sample) กล่มุ เล็กท่เี ลือกม�จ�กกลุม่ ใหญห่ รอื กลุ่ม ประช�กรซง่ึ มีลกั ษณะของกล่มุ ประช�กรและ ก�รเลือกกล่มุ ตวั อย�่ งขึน้ อยกู่ บั ขอ้ มูลที่ศกึ ษ� คว�มตรง (Validity) คุณสมบตั ิของเครือ่ งมือก�รวจิ ยั ที่ส�ม�รถวดั ได้ ในสิ่งที่ตอ้ งก�รวัด ซ่ึงหม�ยคว�มว�่ ข้อมูลที่ได้ จ�กก�รวัดต้องสัมพันธ์กับตัวแปรทีต่ ้องก�รศึกษ� แบบฝึกหดั ท่ี 4.1 1. ให้ท่�นพิจ�รณ�ระบุสถิติทคี่ วรใชก้ บั ปญั ห� หรือปัญห�ย่อยของเร่ืองทีว่ ิจัยข�้ งล�่ งน้ี ก. คว�มสัมพนั ธ์ของทกั ษะของนักเรียนกบั ก�รเลอื กเรยี นส�ข�ต�่ งๆ คืออะไร ข. ปจั จัยดังตอ่ ไปนส้ี ง่ ผลกระทบต่อรูปแบบก�รเรยี นรู้ของนกั เรียนในโรงเรยี น Samson School of Technology หรอื ไม่ 73
] เช�วน์ปัญญ�ของนักเรียน ] คว�มสนใจของเช�วนป์ ัญญ�ของนักเรียน ] คว�มถนัดของนกั เรยี น ] ระดบั ก�รศึกษ�ของบดิ �ม�รด� ] บรรย�ก�ศก�รเรยี น ค. ขอ้ มูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถ�มมอี ะไรบ�้ ง ง. มีคว�มแตกต�่ งอย�่ งมีนยั สำ�คญั ของคะแนนผลสัมฤทธริ์ ะหว่�งกลุ่ม ของนกั ศึกษ�ทเี่ รยี นโดยวิธกี �รสอนแบบเดมิ กบั กลุ่มทเี่ รียนโดยวิธกี �รสอน แบบก�รสอนเชิงระบบ(Learning Approach) หรือไม่ จ. ระดับของแรงจงู ใจของครขู องในคณะวิศวกรรมคอมพวิ เตอรใ์ น มห�วิทย�ลัย เทคโนโลยีร�ชมงคลธญั บรุ คี อื อะไร ฉ. มีคว�มแตกต�่ งอย่�งมีนยั ส�ำ คัญของระดบั ค�่ เฉล่ียในวิช�คณติ ศ�สตร์ของกลมุ่ นกั ศึกษ�คณะวศิ วกรรมจ�กสถ�บนั ต่�งๆหรอื ไม่ แบบฝึกหัดที่ 4.2 (Practical Application 4.2) จงออกแบบก�รสมุ่ ตวั อย�่ งของสมมตุ ิฐ�นก�รวจิ ัยของประช�กรดงั นี้ 1. ก�ำ หนดกลุ่มประช�กรว�่ เปน็ ใคร จำ�นวนเท�่ ไหร่ (กลมุ่ คนหรอื สง่ิ ทตี่ อ้ งก�ร ศึกษ�ท้ังหมดท่สี มุ่ กลมุ่ ตัวอย�่ งจ�กกลุม่ ดงั กล่�ว) ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. 2. ก�ำ หนดกลุ่มตวั อย่�ง (ทใี่ ชใ้ นก�รวจิ ยั ) ประกอบด้วยใครบ้�ง (ระบจุ �ำ นวนดว้ ย) ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. 3. ข้อมูลทวั่ ไป (ลักษณะของกลุ่มตัวอย�่ ง) l ช่วงอ�ย.ุ ............................................................................................................. l เพศ.................................................................................................................... l กำ�หนดลกั ษณะอ่นื ท่ีต้องก�รศกึ ษ�.................................................................... 4. ประเภทของก�รวิจยั ท่ีจะศกึ ษ�.............................................................................. ............................................................................................................................... 5. วิธีก�รเกบ็ ขอ้ มลู ท่ีจะใชใ้ นก�รศกึ ษ�....................................................................... ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... 74
การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผล�และข้อเสนอแนะ บทที่�5 การนำ�เสนอผลการวจิ ยั � การสรปุ ผลการวิจัย ����การเขียนขอ้ สรุปจากผลงานวิจัย ���� ขอ้ เสนอแนะ 75
วัตถุประสงค์ ����การศกึ ษาบทนผ้ี ู้อา่ นจะสามารถ ð นำเสนอขอ้ ค้นพบของการวิจยั ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ð วเิ คราะหแ์ ละแปลผลการวจิ ัยได้อยา่ งถกู ต้อง และมที ักษะในการเขยี น นำเสนอ การวิเคราะห์ การสรปุ ขอ้ คน้ พบ ð เขยี นสรุปผลการวิจยั และขอ้ เสนอแนะ 76
ก�รวเิ คร�ะหข์ ้อมลู ก�รแปลผล ก�รสรุปผลก�รวจิ ยั และขอ้ เสนอแนะ จะชว่ ยให้ รู้จักวิธกี �รอธิบ�ย ก�รตคี ว�มขอ้ มูล ก�รจดั กระทำ�ข้อมูล และวิธกี �รท�งสถิติที่ ใชว้ ิเคร�ะห์ขอ้ มลู นั้นๆ ในบทที่ 4 ไดก้ ล�่ วถงึ สถติ สิ องประเภท คอื สถิติเชิงพรรณน� หรอื เชิงบรรย�ยและสถิตเิ ชิงอนุม�นหรือสถิตอิ �้ งอิง สถติ ิเชิงพรรณน�มีเป้�หม�ยใน ก�รอธบิ �ยค่�หรือลกั ษณะของตัวแปรท่ศี ึกษ� แต่สถิตเิ ชงิ อนมุ �นหรือสถิตอิ �้ งองิ จะ อธบิ �ยค่�และลักษณะของตัวแปรท่ีศึกษ�อ้�งอิงไปสลู่ กั ษณะของประช�กร สถติ ิเชิงพรรณน�สว่ นใหญ่น�ำ เสนอก�รวิเคร�ะห์ขอ้ มูลดว้ ยต�ร�ง กร�ฟ และแผนภูมิ ต�่ งๆเพื่อใหเ้ หน็ ลักษณะและแนวโน้มของเรื่องทศ่ี กึ ษ� สถิตทิ ่ใี ชส้ ว่ นใหญ่เกยี่ วกับก�ร วัดแนวโนม้ เข�้ สสู่ ่วนกล�ง (มัชฌิมเลขคณิต มธั ยฐ�น ค่�นิยม) และก�รวัดก�รกระจ�ย (ค่�พสิ ยั สว่ นเบย่ี งเบนม�ตรฐ�น และคว�มแปรปรวน) ส�ำ หรับสถิตเิ ชงิ อนุม�นสว่ นใหญจ่ ะใชส้ ถติ ิก�รทดสอบ เชน่ ค�่ t ( t-test) ค่� Z (Z test ) และค่� ไคสแควร(์ Chi Square test) เปน็ ตน้ 1. การนำาเสนอผลการวิจัย ร�ยง�นก�รวิจยั คือก�รสื่อส�รให้ผูอ้ นื่ รู้ถึงผลก�รวิจยั โดยก�รอธิบ�ยคว�ม หม�ยและนำ�เสนอผลก�รวิเคร�ะห์ข้อมลู ทีร่ วบรวมม�ด้วยค่�สถิติทีใ่ ช้และก�รสรุปผล ก�รน�ำ เสนอจึงตอ้ งเขียนใหเ้ ข้�ใจง�่ ย ชดั เจน และตรงไปตรงม�ไม่ล�ำ เอียง ทสี่ ำ�คญั ก�ร วิเคร�ะห์และก�รน�ำ เสนอจะต้องสอดคล้องกับปัญห�และวัตถุประสงค์ของก�รวิจัยท่ี ต้ังไว้ ก�รเขียนก�รวิเคร�ะห์ถ�้ เป็นค่�สถติ เิ ชงิ อ�้ งองิ จะนำ�ไปสู่ก�รอธิบ�ยอ้�งอิงไปสู่ ประช�กร ทัง้ น้ผี ลก�รวจิ ยั อ�จสอดคลอ้ งหรอื ไม่สอดคล้องกบั ผลก�รวจิ ัยทีเ่ กย่ี วขอ้ งที่ ได้ศึกษ�ม�ก่อนก็ได้ ซง่ึ ต้องมกี �รอภปิ ร�ยเปรียบเทียบใหเ้ ห็นเดน่ ชัด ขอ้ ควรทาำ และไมค่ วรทาำ ในการนาำ เสนอผลการวจิ ยั สิ่งที่ควรทาำ ส่ิงท่ีไมค่ วรทาำ ð น�ำ เสนอข้อมลู ที่เกย่ี วขอ้ งเท่�นัน้ ð ไม่น�ำ เสนอขอ้ มูลเป็นร�ยบคุ คล ð เลอื กรูปแบบก�รนำ�เสนอทเ่ี หม�ะสม ð ไมน่ ำ�ข้อมลู เป็นตวั อักษรอย�่ งเดยี ว ð อธิบ�ยต�ร�งหรอื แผนภูมิ ð อย่�นำ�เสนอต�ร�งหรือภ�พซำ�้ ซ้อน ð ระบหุ ม�ยเหตเุ พ่ิมเตมิ ð อย่�ละเลยผลก�รทดสอบท่ี ð อธบิ �ยผลก�รทดสอบทง้ั ทีต่ รงและ ไม่ตรงกับสมมตุ ฐิ �น ไม่ตรงกบั สมมุติฐ�น ð ระบจุ ุดออ่ นของแบบเทคนคิ หรือ วธิ กี �รวจิ ยั อย�่ งตรงไปตรงม� 77
สรปุ สง่ิ ทค่ี วรน�ำ เสนอในสว่ นก�รวเิ คร�ะหข์ ้อมลู ก�รสรปุ ผลและอภปิ ร�ยผล ได้แก่ ] ก�รอธิบ�ยคว�มหม�ยและคว�มมนี ยั ส�ำ คัญของก�รวิเคร�ะหข์ อ้ มูล ] ก�รอธบิ �ยอ้�งองิ ผลก�รวจิ ยั ไปสปู่ ระช�กร ] ก�รระบุข้อจ�ำ กัดของก�รวิเคร�ะห์ขอ้ มูล ] ก�รน�ำ ไปใช้และคว�มสำ�คัญของผลก�รวเิ คร�ะห์ ] ก�รอภิปร�ยผลเปรยี บเทยี บกับง�นวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ] ก�รระบุลักษณะเดน่ ทคี่ ้นพบ ] ก�รเสนอแนะก�รปรบั ปรงุ วิธีก�รวิจยั คร้ังต่อไป 1.1 ผลการวจิ ัยทางสงั คมศาสตร์ (Social Science Research Findings) ก�รนำ�เสนอก�รวิเคร�ะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมและสถิติทีน่ ำ�ไปใช้ต้องเป็นไปใน ลักษณะเป็นกล�ง ใช้ภ�ษ�ท่เี รียบง่�ยและตรงไปตรงม� ก�รน�ำ เสนอต้องเรยี งล�ำ ดบั ต�ม วัตถปุ ระสงค์หลัก วตั ถุประสงค์ยอ่ ย รวมท้ังเรยี งลำ�ดบั ต�มสมมุติฐ�นท่ีตั้งไวข้ องก�รวิจัย เชน่ กนั 78
] ในก�รร�ยง�นขอ้ มลู ที่เก่ียวข้อง ท�่ นอ�จใชต้ �ร�งและภ�พ เชน่ กร�ฟ แผนภ�พและแผนภูมิ ข้ึนอยกู่ บั คว�มเหม�ะสมในก�รส่อื คว�มหม�ย ให้เข้�ใจไดด้ ีทีส่ ุด ปัจจุบันท่�นส�ม�รถเลือกใชโ้ ปรแกรมก�รนำ�เสนอใน คอมพิวเตอร์ในก�รซง่ึ ใชไ้ ด้ง�่ ยและรวดเร็ว เช่น Microsoft Word หรอื Excel เป็นต้น ] ต้องตรวจสอบไม่ให้มีก�รร�ยง�นซ้�ำ ซอ้ นและข�ดก�รร�ยง�นในบ�งส่วน ] สิ่งส�ำ คญั คอื ต้องไม่อธบิ �ยต�ร�งหรือภ�พทใ่ี ช้ขอ้ คว�มซ�้ำ ๆ ทท่ี �ำ ให้เกดิ คว�มน�่ เบ่ือแก่ผูอ้ ่�นง�นวิจยั ก�รอธิบ�ยต�ร�งต้องเปน็ ก�รขย�ยคว�ม ใหม้ ีคว�มเข�้ ใจค�่ สถิตทิ ีใ่ ชใ้ หเ้ ข้�ใจย่ิงขึน้ ] อกี ประก�รหนึ่งทีส่ �ำ คัญเช่นกันคอื ก�รน�ำ เสนอต้องอย่บู นพนื้ ฐ�นของ คว�มจรงิ ต�มขอ้ มูลท่ปี ร�กฏและสถิติทว่ี ิเคร�ะหโ์ ดยไม่ลำ�เอียง หรือใชค้ ว�มคดิ เหน็ ของผู้วิจยั ตอ้ งไมพ่ ย�ย�มโนม้ เอียงใหส้ อดคล้องกบั ง�นวิจัยหรอื วรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องหรือพย�ย�มใหต้ อบวตั ถปุ ระสงค์หรอื สมมุติฐ�นทต่ี ง้ั ไว้ 1.2 ผลการวจิ ัยเชงิ พัฒนาเทคโนโลยี ก�รวิจัยเชิงพัฒน�เทคโนโลยีหรือพัฒน�นวัตกรรมส่วนใหญ่เป็นวิธีก�รวิจัยแบบทดลอง หรอื กง่ึ ทดลอง ดังน้ันก�รอธิบ�ยและสรุปผลก�รทดลองตอ้ งอยบู่ นพืน้ ฐ�นของข้อมลู รูปแบบและชนิดของสถติ ิทใ่ี ช้ ก�รอธบิ �ยผลก�รวเิ คร�ะห์ตอ้ งชัดเจน ตรงไปตรงม� และตอ้ งนำ�ไปสู่ก�รตอบคำ�ถ�มหรือวตั ถปุ ระสงค์ก�รวจิ ยั เสมอ ก�รน�ำ เสนอผลก�รวิเคร�ะห์ในก�รวจิ ยั ประเภทนีต้ อ้ งพย�ย�มอธบิ �ยค่�สถิติ ต�ร�ง หรือกร�ฟที่ประกอบก�รน�ำ เสนอให้ชัดเจน ตรงกบั ลกั ษณะของสถติ ทิ ่ีใช้ท้งั กบั ลกั ษณะ ของต้นแบบ แบบจ�ำ ลอง หรอื นวัตกรรมทสี่ ร้�งข้ึน และร�ยละเอียดลกั ษณะเฉพ�ะ ต�่ งๆด้วย ในกรณีของก�รวิจัยพฒั น�สอื่ ก�รเรยี นก�รสอนหรือพวกซอฟแวรค์ อมพวิ เตอร์ จำ�เป็น ต้องมกี ระบวนก�รห�คณุ ภ�พและประสทิ ธิภ�พของส่ือนน้ั ๆ จนกระทง่ั ไดผ้ ลต�มตอ้ งก�ร ในขณะเดียวกันต้องระบปุ ญั ห�และวิธกี �รแก้ปัญห�ระหว่�งก�รดำ�เนินง�นดว้ ย ห�ก โครงก�รวิจัยจะต้องมีก�รเทียบกับม�ตรฐ�นทีม่ ีอยูก่ ็ต้องแสดงถึงกระบวนก�รเหล่�นั้น ใหเ้ หน็ อย่�งชดั เจน 79
การสรุปผลการวิจยั สรปุ และข้อเสนอแนะ Summary, Conclusions and Recommendations 2. การสรปุ ผลการวิจยั ก�รสรุปผลก�รวิจัยคือก�รสรุปส่วนที่เป็นข้อค้นพบหลักๆที่ตอบโจทย์ของวัตถุประสงค์ ของก�รวจิ ยั โดยท่ีไมค่ วรอธิบ�ยร�ยละเอยี ดอื่นๆ ก�รเสนอข้อมูลดงั กล่�วเป็นบท สดุ ท�้ ยของร�ยง�นก�รวจิ ัย จงึ เป็นก�รเสนอภ�พรวมหรอื ก�รสรปุ ยอ่ ของก�รด�ำ เนินก�ร โปรดจ�ำ ไว้ว่�สว่ นน้ีจะไมม่ ีนำ�เสนอข้อมลู อื่นๆที่ไม่อยูใ่ นกระบวนก�รวจิ ัย จะกล่�ว เฉพ�ะประเด็นหลักเท่�นน้ั 3. การเขียนข้อสรปุ จากผลงานวจิ ยั ก�รเขียนขอ้ สรปุ จ�กผลก�รวจิ ัย เป็นสิง่ หน่งึ ทย่ี �กกว�่ เรอื่ งอ่ืนหลังจ�กก�รวจิ ยั เสรจ็ เรียบร้อยแลว้ ข้อส�ำ คัญก�รเขยี นขอ้ สรปุ ตอ้ งเขยี นให้เปน็ ก�รตอบวตั ถปุ ระสงค์หรอื สมมตฐิ �นเท่�น้นั และพย�ย�มหลกี เลีย่ งก�รอธิบ�ยคว�มท่ีสนบั สนนุ ขอ้ ค้นพบ ดงั นั้น จึงเปน็ ก�รเขียนสรปุ ผลก�รวิจยั ตรงกับวตั ถปุ ระสงคห์ รือสนับสนุนสมมตฐิ �น เปน็ ต้น ขอ้ ผิดพล�ดประเด็นหน่งึ ส�ำ หรับผทู้ เ่ี ริม่ ตน้ ท�ำ วจิ ยั คอื มักจะเขยี นสรุปขอ้ ค้นพบของ ก�รวิจัยไมเ่ ป็น มักจะเอ�ข้อค้นพบเกือบท้ังหมดม�เขียนซึ่งเป็นก�รเขยี นที่ซ�้ำ ซอ้ นและ ไม่ใช่ก�รสรปุ ก�รสรุปผลคือ ก�รสรุปประเด็นหลกั ต�มสมมตุ ฐิ �นหรือวัตถุประสงค์ เท่�นั้น เช่น ขอ้ คน้ พบประเด็นหรือขอ้ ใดท่ีตรงและขอ้ ใดทไี่ ม่ตรงกับวัตถุประสงค์หรือ สมมุตฐิ �น เปน็ ตน้ 4. ขอ้ เสนอแนะ (Recommendations) หลักสำ�คญั ของก�รเขียนข้อเสนอแนะคือตอ้ งเขียนบนพ้ืนฐ�นของปัญห� และสมมติฐ�น ท่ตี ั้งไว้ และจ�กขอ้ ค้นพบท่ีไดจ้ �กก�รวิจยั ซ่งึ เป็นคำ�ตอบของปญั ห� และสมมติฐ�น นัน้ ๆว�่ ควรจะมขี ้อเสนอแนะอะไรบ้�ง โดยทไ่ี ม่ตอ้ งกล�่ วถงึ ขอ้ สนบั สนุนจ�กแหล่ง ข้อมลู อ่นื โดยสว่ นใหญ่ขอ้ เสนอแนะตอ้ งนำ�ไปสู่ก�รกระท�ำ มีผลกระทบทจ่ี ะท�ำ ให้มกี �รน�ำ ผลก�ร วจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์ในก�รปรบั ปรงุ พัฒน� ปรบั ปรงุ กระบวนก�ร ระบบก�รจัดก�รศกึ ษ� รวมทั้งก�รพัฒน�ผลผลิต นวัตกรรมหรอื ก�รบรกิ �รทีเ่ กี่ยวขอ้ งท�งก�รศึกษ� สิ่งเหล่�น้ี แสดงใหเ้ ห็นถึงวงจรของก�รวิจยั ที่จะตอ้ งด�ำ เนินก�รตอ่ ไปเพ่ือก�รพัฒน�อย่�งต่อเนื่อง 80
เกรด็ ความรใู้ นการทำาวิจัย (Practical Research Tips) ขอ้ ผดิ พล�ดบ�งประก�รในก�รเขยี นขอ้ สรุปก�รวิจยั ] การอา้ งองิ ไมถ่ กู ต้อง เนื่องจ�กก�รเลอื กกล่มุ ตัวอย�่ งท่ไี มไ่ ดเ้ ป็นตัวแทนของ ประช�กร จึงควรใช้คว�มระมัดระวังในก�รเลอื กกล่มุ ตัวอย่�ง ] ความลำาเอยี ง จ�กข้อมูลที่รวบรวมม�อ�จมคี ว�มล�ำ เอยี งในก�รตอบโดยบ�งครง้ั ผตู้ อบ แบบสอบถ�มไม่ไดใ้ ห้ข้อมูลที่แทจ้ ริง อ�จเพ่ือป้องกันตนหรือองคก์ ร เพ่อื หลกี เลีย่ งปญั ห�น้ี ควรมีก�รเกบ็ ข้อมูลเสริมดว้ ยก�รสงั เกตหรอื ก�รสัมภ�ษณ์เพม่ิ เติม ] การวนิ จิ ฉัยผิด ก�รใหข้ อ้ สรปุ ผลท่กี ว้�งเกนิ ไปส�ำ หรบั กรณที ตี่ อ้ งก�รก�รเฉพ�ะเจ�ะจงท่ี ละเอยี ดกว�่ น้นั ] ตคี วามผดิ จากสถติ ผิ ิดพลาด จ�กก�รทมี่ ีคว�มเข�้ ใจในก�รใช้และแปลผลท�งสถิตทิ ี่ไม่ ถูกตอ้ ง ทำ�ใหก้ �รแปลผลก�รวจิ ยั คล�ดเคล่อื น 81
อภธิ านศัพท์ ก�รสรุปประเดน็ หลกั ๆของผลก�รวิจยั การสรปุ ผล ต�มวัตถปุ ระสงคก์ �รวจิ ยั อย่�งสมเหตุสมผล (Calderon และ Gonzales, 2008) การอา้ งองิ หรอื การอนมุ าน เป็นก�รสรุปคำ�ตอบที่สมั พนั ธก์ ับของปญั ห�วัตถุ ขอ้ เสนอแนะ ประสงค์หรือสมมุติฐ�นก�รวิจยั ก�รสรปุ ผลก�รวิจยั ท่ีน�ำ ไปสูก่ �รปฏิบตั หิ รอื น�ำ ไป ปรบั ปรงุ ง�นได้จรงิ เปน็ ข้อคว�มท่อี ธิบ�ยผล ก�รวจิ ัย ขอ้ เสนอแนะตอ่ บคุ คล ประช�ชนหรอื องคก์ ร หนว่ ยง�นท่ี เก่ยี วข้องเพ่อื แก้ปัญห�หรอื ชว่ ยแกป้ ญั ห�ค้นพบของก�รวจิ ยั แบบฝกึ หัดท้ายบทที่ 5 1 .โปรดสร�้ งต�ร�งของขอ้ มลู ต่อไปนี้ และอธิบ�ยข้อมลู ดังกล�่ ว จ�ำ นวนนกั เรยี นส�ข�เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ของสถ�นศึกษ�แหง่ หนง่ึ ในปีก�รศกึ ษ� 2007-2008 ปีที่ 1 : ช�ย 124 หญงิ 141 ปีท่ี 2 : ช�ย 115 หญงิ 139 ปที ี่ 3 : ช�ย 109 หญงิ 128 2. โปรดสร้�งกร�ฟของขอ้ มลู ในข้อ 1 82
����������������การจัดทำ�รายงานการวิจัย บทที�่ 6 สว่ นสำ�คัญของรายงานการวิจัย บทนำ� กรอบแนวคดิ ทฤษฎีและกรอบแนวคิดในการวิจยั กรอบวิธีดำ�เนินการวิจัย ข้อค้นพบและผลการวจิ ยั สรุปผลการอภปิ รายและขอ้ เสนอแนะ แบบการเขียนโครงร่างการวจิ ยั ลกั ษณะของโครงรา่ งการวจิ ัย สว่ นประกอบของโครงร่างการวิจยั 83
วัตถปุ ระสงค์ การศึกษาบทน้ผี ู้อา่ นจะสามารถ ð ระบถุ งึ สว่ นสำคัญของรายงานการวจิ ัย ð อธบิ ายรายละเอียดส่วนสำคญั ของรายงานการวจิ ัย ð บอกความแตกตา่ งของแบบการเขยี นรายงานการวจิ ยั ทาง สงั คมศาสตรก์ ับการวจิ ยั เชิงพัฒนาเทคโนโลยี ð เขียนโครงร่างการวิจัยไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ð เขยี นรายงานการวิจยั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 84
ก�รเขียนร�ยง�นวิจยั เป็นภ�รกจิ ข้นั สดุ ท้�ยผู้วิจัยจะต้องเขียนร�ยง�นเพ่ือเสนอผลง�น ทไี่ ดศ้ ึกษ�ใหผ้ ูอ้ ืน่ หรอื ผูเ้ กยี่ วขอ้ งทร�บว�่ ไดท้ ำ�ก�รศึกษ�อย่�งไร และได้ขอ้ คน้ พบ ขอ้ เท็จจริง ไดร้ ับคว�มรใู้ หมๆ่ ท่เี ปน็ ก�รแกป้ ญั ห�หรือพฒั น�ส่ิงท่ี ก�ำ หนดในวตั ถุประสงคข์ องก�รวจิ ยั ดังนน้ั เป็นเรอื่ งสำ�คัญที่ต้องเขียนร�ยง�นต�มรูปแบบก�รวจิ ยั อย�่ งมีระบบ มีก�รเรยี งลำ�ดับ คว�มต�มขั้นตอนก�รวิจยั ที่ต่อเนื่องอย่�งร�บรน่ื ใชภ้ �ษ�ทถี่ ูกตอ้ ง ส�ม�รถสือ่ ส�รกบั ผ้อู ่�น ใหเ้ ข้�ใจง่�ย ใช้ภ�ษ�ง่�ยๆและตรงไปตรงม� โดยมีก�รล�ำ ดับเหตุก�รณ์ ตรงกับสงิ่ ทเี่ ร� ตอ้ งก�รสื่อ และทำ�ให้ผอู้ ่�นเหน็ ภ�พไดอ้ ย่�งชดั เจน ก�รเขยี นร�ยง�นวิจยั มเี ป�้ หม�ยและลักษณะเฉพ�ะดงั นค้ี ือ ประก�รแรกต้องอธิบ�ยให้ผู้อ่�นรู้ถึงปัญห�หรือวัตถุประสงค์ก�รวิจยั ทีต่ ้องก�ร ทำ�ก�รวจิ ัยเพ่ือนำ�ผลไปใชแ้ กป้ ญั ห�หรือปรบั ปรุงพฒั น�ง�น ประก�รที่สองเขียนอธบิ �ยถึงวิธีดำ�เนินก�รขั้นตอนก�รวิจยั ให้ผูอ้ ่�นเห็นภ�พชัดเจน ประก�รที่ส�มพงึ ตระหนักถึงก�รเขียนที่เสนอแต่คว�มจรงิ ที่เกดิ ขึน้ ไมม่ คี ว�มล�ำ เอยี ง แมว้ ่�ผลก�รวจิ ยั ไม่ตรงกับที่ค�ดไว้ก็ต�ม ประก�รสุดท้�ยต้องเสนอผลก�รวิจัยให้มีคว�มสมบูรณ์ที่สุดรวมถึงข้อเสนอใน ก�รนำ�ผลก�รวจิ ยั ไปใช้ 1. สว่ นสาำ คัญของรายงานการวิจยั โดยทวั่ ไปร�ยง�นก�รวจิ ัยประกอบด้วยสว่ นส�ำ คญั 5 ส่วนได้แก่ บทนำ� ทฤษฎี เอกส�ร ทเี่ กี่ยวขอ้ งและกรอบแนวคดิ ในก�รวิจยั วธิ ีดำ�เนนิ ก�รวจิ ยั ก�รวิเคร�ะห์ข้อมลู และก�ร แปลผล สรุปผลก�รอภิปร�ย และข้อเสนอแนะ 1.1 บทนำา (Introduction) ก�รเขยี นเริ่มตน้ ด้วย บทท่ี 1 บทนำ� “Introduction” หรอื ปญั ห�และภมู หิ ลัง “The Problem and Its Background”แล้วแต่คว�มเหม�ะสม ประกอบด้วย หัวขอ้ ต่�งๆตอ่ ไปน้ี ] ความเปน็ มาของการวิจยั เปน็ ก�รสรปุ คว�มของเหตุผลคว�มสำ�คัญท่ีเลือกเรอ่ื งที่ ทำ� วิจัย ควรอธิบ�ยสถ�นก�รณ์ทีเ่ กยี่ วขอ้ งใหเ้ ห็นชัดเจน ] ปญั หา/วตั ถปุ ระสงค์ วตั ถุประสงคข์ องง�นวิจยั ควรจะเขยี นให้เห็นท่ีม�ซ่ึงเปน็ สิ่งทยี่ งั สงสัยหรือยังเปน็ ค�ำ ถ�มทต่ี ้องก�รห�คำ�ตอบ ก�รเขียนปญั ห�/วัตถปุ ระสงคต์ ้อง ให้เข�้ ใจชดั เจน แม่นยำ� ถกู ตอ้ ง ] ความสาำ คญั ของการวจิ ัย สว่ นนี้แสดงให้เหน็ ว่�ก�รวิจัยมคี ว�มส�ำ คัญอย�่ งไร ผลก�ร วจิ ยั จะนำ�ไปใช้ประโยชนอ์ ะไร แก่ใคร และหลงั จ�กใช้ผลก�รวิจัยจะเกิดก�รเปลย่ี นแปลง อะไร 85
]ขอบเขตและความจาำ กัดของการวิจัย เปน็ ก�รระบขุ อบเขตจ�ำ กดั ไปว�่ ทำ�ก�รวจิ ยั กบั ใคร (who)โดยระบปุ ระช�กร และกลุม่ ตวั อย�่ ง ศึกษ�อะไร (what) โดยระบตุ ัวแปรที่ ศึกษ� ทำ�เมื่อไหร(่ when)โดยระบชุ ่วงเวล�ท่ีดำ�เนินก�รและมวี ธิ ีด�ำ เนินก�รอย�่ งไร(how) โดยระบุข้นั ตอนก�รดำ�เนินง�น ทงั้ นี้ก�รเขยี นตอ้ งชดั เจนไมค่ ลุมเครือ ส�ำ หรับก�รวิจัย พัฒน�เทคโนโลยหี รือก�รวจิ ยั เชิงทดลองต้องระบตุ วั แปรทุกตวั ทศี่ กึ ษ� ระบุวสั ดุอุปกรณ ์ รวมถึงม�ตรฐ�นหรอื กฎเกณฑ์ทใ่ี ช้ 1.2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี / กรอบแนวคิดในการวิจัย ดังที่กล�่ วไวใ้ นบทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎีหรือแนวคดิ ก�รวจิ ยั โดยท่วั ไป เ ป็ น ค ว � ม คิดรวบยอดของก�รวิจัยที่สรุปม�จ�กแนวคิดทฤษฎที ีเ่ กีย่ วข้องที่นำ�ม�กำ�หนดปัญห� ตวั แปรท่ีศกึ ษ� และวิธกี �รวจิ ยั ทีน่ �ำ ม�ใช้ในก�รวจิ ยั ส�ระส�ำ คัญ ประกอบด้วย ] ก�รทบทวนเอกส�ร ง�นวจิ ยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง ] แผนภูมิแสดงกรอบทฤษฎีที่เกยี่ วข้อง หรอื คว�มสัมพนั ธ์ของตวั แปรท่ศี กึ ษ� ] สมมุตฐิ �น ] นยิ �มศพั ท์ 1.3 กรอบการดำาเนินงานหรอื วธิ ีดาำ เนนิ การวิจัย (Research Methodology) ดงั ทไ่ี ดก้ ล�่ วไวใ้ นบทท่ี 3 ร�ยละเอยี ดในก�รด�ำ เนนิ ง�นต�มขน้ั ตอนของระเบยี บวธิ วี จิ ยั มี ดงั น้ี 86
ก. การวิจยั ทางสังคมศาสตร์ ประกอบด้วย ] ก�รออกแบบก�รวิจัย หม�ยถงึ ร�ยละเอยี ดของแหล่งทม่ี �ของข้อมูล ] ก�รรวบรวมขอ้ มลู รวมขน้ั ตอนก�รสร�้ งเครอ่ื งมอื วจิ ยั ก�รประมวลผลขอ้ มลู ] ก�รใชว้ ิธกี �รท�งสถิตใิ นก�รวเิ คร�ะห์ขอ้ มูล ในสว่ นน้ีอ�จตอ้ งอธบิ �ยเหตผุ ลที่เลอื กใช้วิธกี �รวิจยั ในข้นั ตอนต่�งๆดว้ ย ข. การวจิ ยั เชงิ พฒั นาเทคโนโลยี ก�รวิจยั ท�งเทคโนโลยีประกอบด้วยข้นั ตอน ต่อไปน้ี ] ก�รออกแบบก�รวจิ ัย (ประเภท ลกั ษณะของเทคโนโลยี) ] ก�รสร�้ งตน้ แบบ (ระบุขนั้ ตอนก�รสร้�ง) ] ก�รทดลองต้นแบบ (ก�รห�คว�มเที่ยงตรงโดยผูว้ ิจัยดำ�เนินก�รเอง) ] ก�รวดั ประเมนิ ผล (ก�รทดลองกบั ผทู้ ี่จะใชเ้ ทคโนโลยที วี่ ิจัย) 1.4 ขอ้ ค้นพบและผลการวิจยั (Results and Findings) ดังทก่ี ล�่ วไว้ในบทที่ 4 ก�รเขียนข้อคน้ พบและผลก�รวิจัยมดี ังนี้ ก. การวิจยั ทางสังคมศาสตร์ ในส่วนนีเ้ ป็นก�รเขยี นสรปุ ข้อมลู ทไี่ ดจ้ �กก�รวิเคร�ะหส์ ถติ ิแลว้ และก�รนำ�เสนอผลก�ร วเิ คร�ะหข์ อ้ มูลจะต้องให้เข้�ใจไดง้ ่�ย โดยยดึ ลำ�ดับต�มวัตถปุ ระสงค์หลัก วัตถุประสงค์ ย่อยและสมมุติฐ�นของก�รวจิ ัย ข. การวิจัยเชิงพฒั นาเทคโนโลยี ก�รนำ�เสนอผลก�รวิเคร�ะหข์ ้อมูลในบทท่ี 4 ของก�รวจิ ยั เชิงพัฒน�เทคโนโลยี มีดังน้ี Z การอธบิ ายโครงการ หลังจ�กทม่ี ีก�รเขยี นโครงก�รทจี่ ะพัฒน�โครงก�รวจิ ัย เชิงพัฒน�เทคโนโลยีแลว้ ในส่วนนคี้ วรอธบิ �ยลกั ษณะของโครงก�รในเชงิ ก�รพัฒน� มีทฤษฎที ี่เกยี่ วข้องอ้�งอิงในก�รพัฒน� Z โครงสรา้ งโครงการ อธบิ �ยรปู ร�่ ง หรอื ลกั ษณะของโครงก�ร Z ส่วนประกอบและขอ้ จาำ กดั ของเทคโนโลยที ที่ ำาการวจิ ยั ควรอธิบ�ยถึงสิง่ ที่ ผู้วจิ ยั ตอ้ งก�รทำ� ส่งิ ท่ีทำ�ไดแ้ ละสง่ิ ที่ทำ�ไมไ่ ดส้ ่วนประกอบของโครงก�รและ คว�มแตกต�่ งจ�กง�นวจิ ัยอน่ื ๆ ที่มอี ยแู่ ล้ว Z การประเมินผลโครงการ ในก�รประเมินผลของก�รทดลองของโครงก�ร ควรอธบิ �ยแผนก�รประเมนิ ผล กลุ่มตวั อย�่ ง กระบวนก�รประเมิน เครือ่ งมือทใี่ ชป้ ระเมนิ วิธีก�รท�งสถิตทิ ีใ่ ช้ และผลของก�รประเมนิ ซ่ึงควร ร�ยง�นและสรปุ ถงึ ประสทิ ธภิ �พ ประสทิ ธิผล ก�รใช้ประโยชน์ และวธิ กี �รใช้สิง่ ท่ี พฒั น�ขนึ้ ก�รเขียนร�ยง�นตอ้ งยดึ กรอบแนวคดิ ก�รวจิ ยั เชน่ เดียวกับก�รวิจัยท�ง สงั คมศ�สตร์ 87
1.5 สรุปผล การอภิปราย และขอ้ เสนอแนะ (Summary,Conclusions and Recommendations) ร�ยง�นส่วนนเ้ี ปน็ ส่วนสุดท�้ ยของร�ยง�นก�รวจิ ัย เป็นก�รสังเคร�ะหก์ �รวิจยั ที่ ด�ำ เนนิ ก�รม�เท�่ นั้น ไม่เขยี นเพิ่มเตมิ ขอ้ มูลใหม่ท่ีไมไ่ ดก้ ล่�วถงึ ขอ้ ควรพิจารณาในการเขยี นรายงานในสว่ นนี้ ได้แก่ ] ไมค่ วรสรปุ ผลก�รวจิ ยั ห�กขอ้ มลู ไมเ่ พยี งพอ ] ควรกล�่ วถงึ จดุ ออ่ นของก�รออกแบบก�รวจิ ยั (ถ�้ ม)ี โดยอธบิ �ยถงึ คว�มคล�ดเคลอ่ื น ของก�รก�ำ หนดวธิ กี �รวจิ ยั ในขน้ั ตอนต�่ งๆ ทท่ี �ำ ใหก้ �รวจิ ยั นน้ั คล�ดเคลอ่ื น ] ควรกล�่ วอ�้ งองิ ผลก�รวจิ ยั ทส่ี �ม�รถน�ำ ไปประกอบก�รตดั สนิ ใจหรอื ใชใ้ นท�งปฏบิ ตั ิ ] ข้อเสนอแนะท่เี ขยี นตอ้ งอยูบ่ นพื้นฐ�นของผลก�รวจิ ัยทป่ี ร�กฏและต้องสมั พนั ธ์ กบั ปญั ห�ของก�รวจิ ยั ขอ้ เสนอแนะอ�จม�จ�กผลของก�รวจิ ยั ที่ควรน�ำ ไปพจิ �รณ� ท้งั ในเชงิ นโยบ�ยและในเชิงปฏิบัติ เพื่อพฒั น�ก�รวจิ ยั และควรกล่�วถึงคว�มรใู้ หม่ ทไ่ี ด้จ�กก�รวิจัยนี้ดว้ ย 2. การเขยี นโครงร่างการวิจัย โครงร่�งก�รวิจยั เปน็ เอกส�รโครงก�รวจิ ัยท่ีจดั ทำ�ขน้ึ ก่อนก�รดำ�เนนิ ก�รวิจยั เพ่ืออธบิ �ย ถึงสง่ิ ท่ผี ู้วจิ ยั ตอ้ งก�รทำ� แสดงร�ยละเอียดเทคนิควธิ กี �รวจิ ยั โดยเขียนต�มแบบก�ร เขียนโครงร่�งของก�รวจิ ยั ตงั้ แตค่ ว�มเปน็ ม� วตั ถุประสงคก์ �รวิจัย แผนก�รด�ำ เนนิ ก�ร ระยะเวล�ดำ�เนนิ ก�ร และงบประม�ณทจ่ี ะใช้ 88
2.1 ลักษณะของโครงรา่ งการวิจัย ในก�รเขยี นโครงร�่ งก�รวจิ ยั เพื่อรบั ก�รสนบั สนนุ หรือไมก่ ต็ �มจะตอ้ งเขยี นโดย ค�ำ นงึ ถงึ ส่ิงเหล�่ นี้ ] มีคว�มเชอ่ื ถอื ได้ ] คว�มเป็นเหตเุ ป็นผล มีคว�มเป็นไปได้ในก�รดำ�เนนิ ก�ร ] ก�รเขียนควรภ�ษ�ทชี่ ่วยในก�รสอื่ ส�รใหเ้ ข�้ ใจง�่ ย ชดั เจน ตรงไปตรงม�ไม่ซบั ซอ้ น ] มกี �รเรียบเรียงอย่�งดี 2.2 สว่ นประกอบของโครงรา่ งการวจิ ัย สว่ นประกอบของโครงร�่ งก�รวจิ ัยครอบคลมุ เน้อื ห�ส�มบทของร�ยง�นก�รวิจยั หวั ขอ้ เรอื่ งในโครงร่างการวิจยั ] การวจิ ัยทางสังคมศาสตร์ 2 ปญั ห�และท่ีม�ของปญั ห� Z บทน�ำ Z คว�มเปน็ ม�ของก�รวิจยั Z วตั ถปุ ระสงคก์ �รวิจยั Z คว�มสำ�คัญของก�รวจิ ยั Z ขอบเขตและคว�มจ�ำ กัดของก�รวจิ ัย 2 ทฤษฎแี ละกรอบแนวคดิ ก�รวจิ ัย Z ก�รทบทวนวรรณกรรมและง�นวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง Z กรอบแนวคดิ ก�รวิจยั Z ขัน้ ตอนก�รวจิ ัย Z สมมุติฐ�นก�รวิจยั Z นิย�มศพั ท์ 2 วิธีดำ�เนินก�รวิจยั หรือ กรอบก�รดำ�เนินง�นวิจยั Z แบบแผนก�รวจิ ัย Z แหลง่ ขอ้ มูลก�รวิจัย Z ขนั้ ตอนก�รดำ�เนินง�น Z เครอื่ งมือก�รวจิ ัย Z สถิตทิ ใ่ี ช้ในก�รวิจยั ] การวจิ ยั และพฒั นาเชงิ เทคโนโลยี 2 บทน�ำ Z คว�มเปน็ ม�ของก�รวิจัย Z วัตถุประสงค์ก�รวจิ ัย Z คว�มส�ำ คญั ของปัญห� Z ขอบเขตและคว�มจ�ำ กัดของก�รวจิ ัย 89
2 กรอบทฤษฎีก�รวิจัย Z ก�รทบทวนวรรณกรรมและง�นวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง Z กรอบแนวคิดก�รวจิ ัย Z กระบวนทศั นก์ �รวจิ ัย Z สมมุตฐิ �นก�รวิจัย Z นิย�มศพั ท์ 2 วิธดี �ำ เนินก�รวิจัย หรือ กรอบก�รด�ำ เนนิ ง�นวจิ ัย Z แบบแผนก�รวิจยั Z ก�รพฒั น�ต้นแบบ Z ก�รทดสอบและขนั้ ตอนก�รด�ำ เนนิ ง�น Z ก�รประเมนิ ผล สำ�หรับโครงร่�งก�รวิจัยทีต่ ้องก�รขอรับทุนสนับสนุนจะต้องให้คว�มสำ�คัญกับเหตุผลให้ม�ก โดยเริม่ จ�กก�รอธบิ �ยเปรียบเทียบสถ�นก�รณ์ในปัจจุบันกับสิ่งทีโ่ ครงก�รวิจัยที่จะ พัฒน�ข้ึน ท�ำ ก�รวเิ คร�ะหช์ ่องว�่ งทีจ่ ะชี้บ่งบอกถึงคว�มน�่ เช่ือถือของคว�มตอ้ งก�รและ ที่จะแกไ้ ขปัญห� ดงั น้ันเหตุผลจงึ ต้องระบหุ ัวขอ้ ได้แก่ สภ�พที่เปน็ ปัญห�หลกั และ คว�มจ�ำ เปน็ ของก�รวจิ ยั สิง่ สำ�คัญอีกประก�รหนึง่ คือโครงร่�งก�รวิจัยที่ต้องก�รขอรับทุนสนับสนุนต้องรวมถึง ก�รระบุประม�ณก�ร ระบงุ บประม�ณให้ชัดเจน พอเพียงเพ่ือให้ก�รด�ำ เนนิ ก�รวจิ ยั ร�บร่นื ท้ังนี้อ�จมรี �ยละเอียดก�รประม�ณก�รค่�ใช้จ่�ยแนบในภ�คผนวกของโครงก�ร เกร็ดความรใู้ นการทาำ วจิ ยั (Practical Research Tips) ขอ้ พิจ�รณ�สำ�คัญในก�รเตรยี มก�รเขียนร�ยง�นก�รวิจัย • การจัดรา่ งเค้าโครง เม่ือเรม่ิ ต้นเขียนร�ยง�นก�รวจิ ัยควรจัดทำ�เค้�โครงก�รเขียนเพ่อื ให้ ร�ยง�นก�รวจิ ยั มีก�รเรยี บเรยี งทด่ี แี ละมีคว�มสมบรู ณ์ และในระหว�่ ง เขียนอ�จมกี �รทบทวน หรอื มีก�รปรกึ ษ�ผเู้ ช่ียวช�ญ หรือเพ่ิมเตมิ ขอ้ มูล จ�กวรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ ง • รา่ งเคา้ โครง ส�ม�รถใชเ้ ป็นแนวท�งท่มี ีประโยชนอ์ ย่�งม�กในก�ร เขยี นร�ยง�นก�รวจิ ยั 90
อภิธานศัพท์ เปน็ แผนฉบับร�่ งหัวข้อของเอกส�รร�ยง�นที่จะเขยี นเป็นท่ี ร่างเค้าโครง เป็นล�ยลกั ษณ์อกั ษรทีม่ ักใช้เปน็ แนวท�งกอ่ นเขยี นร�ยง�น โครงรา่ งการวิจยั หม�ยถึง เอกส�รแผนก�รวจิ ัยท่จี ัดท�ำ ขึน้ ไวล้ ว่ งหน้�ก่อนเรม่ิ รายงานการวจิ ยั ด�ำ เนินก�รวจิ ัยเพือ่ ใชเ้ ป็นแนวท�งด�ำ เนนิ ก�รวจิ ยั ประกอบด้วย ก�รกำ�หนดร�ยละเอยี ดแบบแผนต�มกระบวนก�รวิจยั ท่จี ะ ส�ม�รถดำ�เนินก�รใหเ้ กดิ ผลส�ำ เรจ็ ก�รวจิ ยั ทถี่ กู ตอ้ ง (Leedy,1980). หม�ยถึง เอกส�รวิช�ก�รทีน่ ักวจิ ัยน�ำ เสนอผลก�รดำ�เนินง�น วิจัยใหแ้ กผ่ ้อู ่�นทส่ี นใจผลง�นทผ่ี วู้ จิ ยั ไดจ้ ัดทำ�ขน้ึ เป็นร�ยง�น ก�รด�ำ เนินก�รวจิ ยั จนได้ผลท่ตี อบปญั ห� หรอื วตั ถุประสงค์ ของก�รวจิ ยั ที่เข�้ ใจไดอ้ ย�่ งชัดเจน แบบฝกึ หดั ท่ี 6.1 ใหจ้ ดั ท�ำ โครงร�่ งก�รวจิ ยั อย�่ งยอ่ ส�ำ หรบั ก�รวจิ ยั ในชน้ั เรยี นเรอ่ื งหนง่ึ ต�มเค�้ โครงตอ่ ไปน้ี 1. ชื่อเรอ่ื ง 2. จัดทำ�โครงร�่ งต�มหัวข้อต�่ งๆต่อไปนี้ ภ�คผนวก A แบบก�รเขียนโครงร�่ งก�รวจิ ยั I. ชอื่ เรอื่ ง II. หนว่ ยง�น/ผสู้ นบั สนุนง�นวิจยั III. ที่อย(ู่ ของหนว่ ยง�น/ผู้สนบั สนุนง�นวจิ ยั ) IV. คว�มเป็นม�ของก�รวจิ ัย V. ก�รทบทวนวรรณกรรมและง�นวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง VI. กรอบแนวคดิ ก�รวจิ ยั VII. วตั ถุประสงคก์ �รวจิ ยั (ตอ้ งก�รทำ�อะไร หรอื ต้องก�รไดอ้ ะไรจ�กก�รวจิ ัย) VIII. ข้อตกลงเบ้อื งตน้ (อ�จมหี รอื ไม่มี) IX. คว�มส�ำ คัญของก�รวิจัย(กล�่ วถึงประโยชน์ท่ีจะไดร้ ับจ�กก�รวิจยั ) X. นยิ �มศพั ท(์ คว�มหม�ยของศพั ท์หรือของตวั แปรเฉพ�ะในก�รวจิ ยั ท่ีด�ำ เนินง�น) XI. ขอบเขตและคว�มจ�ำ กดั ของก�รวิจัย(กล�่ วถึง ก�รจำ�กดั หรอื กำ�หนดส่ิงทจ่ี ะท�ำ ในก�รวิจยั ในด้�นต�่ งๆ รวมถึงขอ้ จำ�กัดของก�รวิจยั ) 91
XII. วธิ ีด�ำ เนินก�รวจิ ัย หรือ ขนั้ ตอนก�รวจิ ยั (กล่�วถงึ มขี ัน้ ตอนก�รวิจัยอย่�งไร จะเก็บข้อมลู ดว้ ยอะไร จ�กใคร ท่ใี ด เมอ่ื ใด กล�่ วถงึ ประช�กร กลุม่ ตวั อย�่ ง และ ก�รสมุ่ เลอื กกลุม่ ตวั อย�่ ง ก�รรวบรวมข้อมูล ก�รวเิ คร�ะห์ข้อมลู ) XIII. บรรณ�นกุ รม (ร�ยชอ่ื หนังสือ/เอกส�ร/แหลง่ ขอ้ มูลของวรรณกรรมทศ่ี กึ ษ�) XIV. แผนปฏบิ ตั งิ �น (ประกอบดว้ ย กจิ กรรมเรยี งล�ำ ดบั ต�มขน้ั ตอนก�รวจิ ยั มรี �ยละเอยี ด ของแผนและก�รติดต�มผลระยะเวล�ก�รเรม่ิ ต้นและสิ้นสดุ ของแต่ละกิจกรรม) XV. ประม�ณก�รค�่ ใชจ้ ่�ย XVI. ผรู้ ว่ มด�ำ เนินง�นวจิ ัย (ระบจุ �ำ นวนคน ประวตั ิ หน้�ที่ของแตล่ ะคนในก�รวจิ ัย) XVII. ผลประโยชน์ที่ค�ดว่�จะไดร้ ับ (หม�ยถงึ จะน�ำ ผลของก�รวจิ ยั ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์เพมิ่ ขน้ึ จ�กเดิมอย่�งไร) XVIII. บคุ คลท่ีเปน็ ทปี่ รึกษ�/ผ้ทู มี่ สี ่วนเกยี่ วข้องในก�รดำ�เนนิ ง�น เสนอโดย…………………..………………………………… (ช่ือ น�มสกลุ ล�ยเซ็น) วันท่ี ............................................................. อนุมตั โิ ดย…………………………………………………………............. (ช่ือ น�มสกลุ ล�ยเซ็น) ต�ำ แหนง่ ……………………..................................... หนว่ ยง�น……………………................................... แบบฝึกหัดที่ 6.2 ท่�นส�ม�รถเลือกเขยี นโครงร�่ งก�รวจิ ัยไดห้ ล�ยแบบ ขอใหท้ �่ นลองเขียนโครงร่�งก�รวจิ ยั เกี่ยวกบั ก�รติดต�มผ้สู ำ�เรจ็ อ�ชวี ศึกษ� เพื่อให้ผ้บู รหิ �รหรือผู้เกีย่ วข้องทร�บและน�ำ ผลก�รวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์ 92
���การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ-การวิจัยออนไลน์ บทท�่ี 7 คกุณาสรมใบชัตเ้ สิทำ�คคัญโนขอโลงกกยาารรีสววาิจจิ รัยยั สออออนนนเไไลลทนนศ์์ –วิธกีดาำ�รเนวนิ จิกายั รอวจิ อยั นออไลนไนลน์ ใ์ นปัจจบุ นั การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 93
วตั ถุประสงค์ การศึกษาบทนผี้ ู้อา่ นจะสามารถ ð อธิบายความหมายของการวิจัยออนไลน์ ð อภิปรายข้อดแี ละข้อเสยี ของการวจิ ยั ออนไลน์ ð อธิบายอทิ ธิพลของอินเทอรเ์ น็ตต่อการวจิ ัยทางการศกึ ษา ð ระบปุ ระเภทของการวจิ ัยออนไลน์ ð อธบิ ายประโยชน์และขอ้ ดีของการวจิ ยั ออนไลน์ ð อภิปรายศักยภาพของการวิจัยออนไลนใ์ นการจัดการ อาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ 94
โลกของอนิ เตอรเ์ นต็ และเทคโนโลยสี �รสนเทศ ได้มผี ลเป็นอย�่ งม�กในก�รศึกษ� ในทศวรรษท่ี 21 น้ี โดยมบี ทบ�ทสำ�คัญตอ่ ก�รเรยี นก�รสอนและมีก�รวิวฒั น�ก�รก�รใช้ ICT อย�่ งต่อเน่อื งจนกระทั่งม�ถงึ ก�รนำ�ม�ใชป้ ระโยชนใ์ นก�รวิจยั ซงึ่ นับว�่ เป็นเรอ่ื งใหมใ่ น วงก�รศึกษ� นกั ก�รศกึ ษ� นกั วจิ ัย และนกั คดิ ได้พย�ย�มห�วิธีก�รใช้ ICT ในก�รวิจัยม� ตงั้ แต่ ปี 1980 และไดร้ บั คว�มสำ�เร็จม�เรอื่ ยๆ ท�ำ ใหม้ ีก�รคดิ คน้ พฒั น�โปรแกรมทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เพ่อื น�ำ ม�ใชใ้ นขน้ั ตอนของก�รวิจัยในหล�ยเรื่อง ก�รใช้ ICT ในหมู่นักวจิ ยั เพมิ่ ม�กขนึ้ ดว้ ยเหตุจงู ใจ ทีว่ ่� ส�ม�รถลดค่�ใชจ้ �่ ย ลดเวล� และมคี ว�มสะดวกรวดเรว็ ง่�ยกว่�ก�รดำ�เนินก�รในแบบ ดงั้ เดิม ในวงก�รวิจัยท�งก�รศึกษ�กเ็ ลง็ เหน็ ประโยชน์จ�กววิ ฒั น�ก�รนี้ (Loomber et al. 1997) ในบทนจ้ี ึงกล่�วถงึ เรื่องสำ�คญั เก่ียวกบั ก�รท�ำ วจิ ยั ออนไลน์ วิธกี �ร และประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ ของก�รวิจัยท�งก�รศึกษ� และกล่�วถึงกระบวนก�รที่จ�ำ เป็นของก�รวจิ ัยออนไลน์ ในก�รจัดก�ร อ�ชวี ศึกษ�และฝกึ อบรมวชิ �ชพี โดยเฉพ�ะก�รใช้ ICT ในก�รเก็บรวบรวมข้อมลู นอกจ�กที่ กล�่ วม� บทนจี้ ะไดพ้ จิ �รณ�ถงึ ประโยชน์และประสิทธภิ �พของก�รวจิ ัยออนไลน์ทด่ี ีกว�่ ก�ร วจิ ยั ธรรมด� ไมเ่ ฉพ�ะแต่ในก�รเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล แต่หม�ยถงึ ก�รใช้ประโยชนใ์ นสว่ นอ่นื ๆ ของขนั้ ตอนก�รวิจยั อ�ทเิ ช่น ก�รบันทึกขอ้ มลู ในส่วนต่�งๆ ก�รสบื ค้นวรรณกรรมและก�ร วจิ ัยทเี่ กีย่ วข้อง ก�รค�ำ นวณ ก�รวิเคร�ะหข์ ้อมลู ก�รใช้สถติ ิ และรปู แบบก�รนำ�เสนอข้อมลู เป็นตน้ ในปัจจบุ นั หนว่ ยง�นต่�งๆ รวมถึงก�รจัดก�รอ�ขวี ศึกษ�และฝกึ อบรมวิช�ชพี ในสถ�นศึกษ� ได้มีก�รพย�ย�มใหใ้ ช้ ICT และอนิ เทอร์เนต็ เป็นสือ่ กล�งในทกุ เร่ือง (Couper et al. 2000) จนกระทัง่ ไดร้ บั ก�รยอมรับและได้มีก�รวจิ ยั ออนไลนน์ เี้ กดิ ม�กยง่ิ ขนึ้ 1. การวจิ ยั ออนไลน์ (Online Research) ออนไลน์ หม�ยถงึ ก�รเชอื่ มตอ่ ผ่�นโมเด็ม หรอื เครอื ข่�ยไปยังคอมพิวเตอร์อ่นื ๆ ออนไลน์ ชว่ ยใหค้ ณุ เข้�ถงึ ทรพั ย�กรทีม่ อี ยใู่ นท่หี ่�งไกลออกไป ก�รเข�้ ถึง หม�ยถึง ท�่ นส�ม�รถ เช่อื มตอ่ ไปยงั ฐ�นข้อมูลซงึ่ เป็นแหล่งเก็บขอ้ มลู แบบบรู ณ�ก�รหรอื แบบอ�้ งอิงไขว้ (cross- referenced) ท่บี ุคคลต่�งๆ เชน่ นักเรยี น ผูบ้ รหิ �ร ครอู �จ�รย์ ผเู้ ชี่ยวช�ญในวิช�ชีพ ใชเ้ พ่อื วัตถุประสงคต์ �่ งๆ ก�รเข้�ถงึ สง่ิ ทอ่ี �ำ นวยคว�มสะดวกในก�รเช่อื มตอ่ กับเครอื ข่�ยหรือบริก�ร ออนไลน์ (เช่น ก�รบรกิ �รข้อมูลเชิงพ�ณิชยใ์ หก้ บั สม�ชิก หรืออินเทอรเ์ น็ตของเครอื ข่�ย ต�่ งๆ ของคอมพิวเตอร์ ซงึ่ เช่ือมตอ่ กับคอมพวิ เตอร์ของสถ�บนั ต�่ งๆ เชน่ สถ�บันก�รศกึ ษ� อุตส�หกรรม และวทิ ย�ศ�สตร์) วธิ กี �รวจิ ยั ออนไลน์ คอื วธิ ที ผ่ี วู้ จิ ยั เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ก�รโดยท�งอนิ เทอรเ์ นต็ ก�ร วจิ ยั บนเวบ็ ไซตซ์ ง่ึ เรม่ิ ตน้ ในส�ข�ก�รตล�ด คอื ก�รวจิ ยั ตล�ด ก�รวจิ ยั ออนไลนเ์ ปน็ วธิ ที ผ่ี วู้ จิ ยั เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ท�งอนิ เทอรเ์ นต็ วจิ ยั ออนไลนบ์ �งครง้ั ใชว้ ธิ กี �รสนทน�กลมุ่ ก�รวจิ ัยอน่ื ๆ ไมว่ ่�จะเปน็ ก�รวจิ ัยเชงิ ปรมิ �ณหรอื เชงิ คุณภ�พ ซึ่งด�ำ เนินก�รผ�่ นอนิ เทอรเ์ นต็ จดั ว�่ เปน็ ก�ร 95
วจิ ยั ออนไลน์ ก�รวิจัยออนไลน์เป็นพ�หะในก�รค้นห�คว�มจริง (เป้�หม�ยสงู สุดของก�รวจิ ยั ทุกประเภท) ในด้�นก�รจดั ก�รอ�ชวี ศกึ ษ�และฝึกอบรมวชิ �ชพี ซึ่งผู้วจิ ยั อ�จพบว่� อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นแหล่งทรัพย�กรอนั อดุ มสมบรู ณ์ ในก�รด�ำ เนินง�นวิจัย โดยเฉพ�ะท�งด�้ นก�รพฒั น�ซอฟแวร์ หรือโปรแกรมสำ�เรจ็ รปู และก�รบริก�ร สงิ่ ท่พี ฒั น�ข้ึนท�งออนไลน์ มสี ่วนชว่ ยใหม้ ีคว�มสะดวก รวดเรว็ และเผยแพรไ่ ดห้ ล�กหล�ยขึ้น (Couper, Travgott, Lamias et. al. 2001) 2. คณุ สมบตั ิสำาคญั ของการวิจัยออนไลน์ (Key Attributes of Online Research) 2.1 ร�ค�ถูก ประหยดั ค่�ใชจ้ �่ ยกว่�ก�รวจิ ัยแบบเดิมหรอื เรยี กว�่ ออฟไลน์ (ก�รเก็บ ข้อมลู ท�งโทรศพั ท์ หรือด้วยตนเอง) ก�รรวบรวมก�รสมั ภ�ษณอ์ อนไลน์เป็นไปโดยอัตโนมัติ ส�ม�รถได้ค�ำ ตอบจ�กกลุม่ เป้�หม�ยทว่ั ทกุ มมุ โลก โดยไม่ตอ้ งเสยี ค่�ใชจ้ �่ ยในก�รเดินท�ง 2.2 รวดเรว็ ประหยดั เวล� ลดเวล�ในก�รด�ำ เนนิ ง�น ส�ม�รถถ�มค�ำ ถ�มท่ีออ่ นไหว (sensitive questions) ได้ดกี ว่� แบบเผชญิ หน้�กนั ตรงๆ และส�ม�รถเปลย่ี นแปลงค�ำ ถ�มได้ ตลอดเวล� 2.3 ง่�ยและสะดวก ในขณะที่เทคนิคของออฟไลน์ต้องก�รทีมง�นหล�ยคน โครงก�รออนไลนส์ �ม�รถด�ำ เนินแบบต้นจนจบ (end-to-end) เพยี งคนเดียว วธิ กี �รของ ออฟไลน์ต้องก�รทมี ง�นม�ดำ�เนนิ ก�รในเรอ่ื งก�รศกึ ษ�ท�งโทรศัพท์ หรอื จัดส่งแบบสอบถ�ม และตอ้ งใช้บุคคลในก�รประมวลผลและปอ้ นขอ้ มูลในด�้ นก�รวเิ คร�ะห์ขอ้ มูล ซึง่ ในก�ร ด�ำ เนนิ ก�รดงั กล่�วน้เี สยี ค่�ใชจ้ ่�ยสงู และเปน็ ทีซ่ ำ�้ ซ�ก ก�รส�ำ รวจขอ้ มูลแบบดงั้ เดมิ ตอ้ งป้อน ข้อมลู ลงในคอมพวิ เตอรด์ ว้ ยมือ สิ่งเหล่�นต้ี ้องใช้แรงง�น เวล� และคว�มพย�ย�มอย่�งสงู และต้องมีวิธีก�รควบคุมทมี่ ีคณุ ภ�พ เพื่อใหไ้ ด้ขอ้ มลู ที่มคี ว�มเทย่ี งตรงและน�่ เชอ่ื ถอื ก�รสำ�รวจออนไลน์ เปน็ รูปแบบของอิเลก็ ทรอนิกส์ซึง่ ส�ม�รถลดค�่ ใชจ้ ่�ยในก�ร ด�ำ เนนิ ง�นและลดเวล�ของก�รไดผ้ ลก�รวิจัย เพร�ะข้อมูลท่ีไดจ้ �กก�รศกึ ษ�ออนไลนส์ �ม�รถ ประมวลผลเพ่อื ใช้ในของก�รวิเคร�ะห์ โปรแกรมก�รสำ�รวจออนไลนส์ ่วนใหญ่มเี คร่อื งมอื ส�ำ รวจอยู่ ในตวั เพื่อใหไ้ ดผ้ ลก�รวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง 3. วธิ ีการปัจจุบนั สาำ หรับดำาเนนิ การ การวจิ ยั ออนไลน์ อเี มล (text) หนง่ึ ในวธิ ที เ่ี ก่�แกท่ ส่ี ุดในก�รดำ�เนนิ ก�รส�ำ รวจผ�่ นอินเทอรเ์ น็ต หรือ ระบบภ�ยในองค์กร คอื ก�รส�ำ รวจขอ้ คว�มแบบง�่ ยๆ ท�งอเี มล ก�รส�ำ รวจโดยใช้แบบสอบถ�ม แบบดั้งเดิม ก�รวจิ ัยออนไลนม์ ีก�รควบคุมก�รโตต้ อบ หรือก�รทดสอบตรรกะนอ้ ยม�ก นอกจ�กน้ีในช่วงแรกแบบฟอรม์ ของอีเมลทส่ี ง่ ขอ้ คว�มไม่มีก�รบันทกึ ขอ้ มลู โดยอตั โนมัติ ซ่งึ หม�ยคว�มว่�เมอื่ อีเมลตอบกลบั ม� ผวู้ จิ ัยตอ้ งรบั อเี มลแลว้ พิมพอ์ อกม� แลว้ บันทึกขอ้ มลู ลงใน ฐ�นข้อมลู แตซ่ อฟแวรร์ ุน่ ใหมไ่ ด้ช่วยใหผ้ ้วู จิ ยั ป้อนรหัสขอ้ มลู ส�ำ หรบั ก�รส�ำ รวจแบบกิึ่งอัตโนมตั ิ 96
ข้อดขี องก�รส�ำ รวจท�งอเี มล คือ ดำ�เนินก�รได้ง�่ ย รวดเร็ว ค่�ใชจ้ ่�ยในก�รดำ�เนินก�รถกู ภ�พท่ี 8 ตัวอย่�งก�รส�ำ รวจออนไลนแ์ บบอีเมล กระดานขา่ ว (Bulleting Board) กระด�นข�่ วเปน็ ก�รวจิ ยั ออนไลนท์ ม่ี คี ว�มง�่ ย เรว็ และค�่ ใชจ้ �่ ยในก�รด�ำ เนนิ ก�รอยใู่ นระดบั ป�นกล�ง ก�รรวบรวม bulletin board เปน็ ประโยชน์ ส�ำ หรบั “ก�รดดั แปลงวธิ กี �รเดลไฟล”์ ส�ำ หรบั เกบ็ รวบรวมค�ำ ตอบในระยะเวล�หนง่ึ วธิ กี �รคอื เชญิ บคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ งไปยงั ทต่ี ง้ั ของเวบ็ ไซตท์ ก่ี �ำ หนด ซง่ึ ทน่ี ห่ี วั ขอ้ ก�รอภปิ ร�ยไดป้ ดิ ประก�ศ เมอ่ื มคี น ตอบค�ำ ถ�ม คนอน่ื ๆ จะมองเหน็ สง่ิ ทค่ี นอน่ื เขยี นและตอบกลบั ไปทค่ี �ำ ตอบเดมิ ดว้ ยวธิ นี ้ี ก�รสนทน� ทเ่ี กดิ ขน้ึ อย�่ งตอ่ เนอ่ื งจะส�นกลบั ไป-กลบั ม� เหมอื นกบั ก�รเคลอ่ื นไหวอย�่ งช�้ ๆ ของกลมุ่ บคุ คลท่ี ไดร้ บั เชญิ ม� ก�รสร�้ ง bulleting board ไมใ่ ชเ่ ปน็ สง่ิ ทย่ี �ก แตต่ อ้ งก�รทกั ษะม�กกว�่ ก�รส�ำ รวจโดย อเี มล ก�รส�ำ รวจดว้ ยวธิ นี ไ้ี มเ่ หมอื นกบั รปู แบบอน่ื ๆ จะไมม่ กี �รบนั ทกึ ขอ้ มลู แบบอตั โนมตั ิ ดงั นน้ั ค�่ ใชจ้ �่ ยในก�รด�ำ เนนิ ก�รคอ่ นข�้ งแพงกว�่ อเี มล เพร�ะตอ้ งก�รเวล�จดั ก�รกบั ใบแสดงคว�มคดิ เหน็ และค�ำ ตอบของรหสั ส�ำ หรบั ก�รประเมนิ ผลเชงิ ปรมิ �ณ ถงึ แมว้ �่ กร�ฟกิ และตวั กระตนุ้ อน่ื ๆ ทม่ี องเหน็ ส�ม�รถรวมเข�้ กบั ค�ำ ถ�มเดมิ แตร่ ปู แบบของระบบค�ำ ตอบจะต�ยตวั และมคี ว�มยดื หยนุ่ ไมม่ �ก เทคโนโลยแี บบนเ้ี ป็นสงิ่ ที่ดมี �ก เมื่อคณะผเู้ ชี่ยวช�ญเปน็ ผอู้ ภิปร�ยผลก�รวิจัยจำ�เปน็ ต้องประก�ศคำ�ตอบหรือคว�มพงึ พอใจต่อก�รอภปิ ร�ยใหค้ นอื่นๆทร�บอย�่ งรวดเร็ว วิธกี �รท่ผี สม ผส�นสว่ นประกอบของเทคนคิ เชิงปริม�ณ เชิงคุณภ�พ และก�รสนทน�เข้�ดว้ ยกันจะเปน็ แหลง่ ขอ้ มูลจำ�นวนมห�ศ�ล ผู้ท่ตี อบแบบสอบถ�มสำ�รวจออนไลนท์ กุ ประเภทมีแนวโน้มท่จี ะใหค้ ว�ม คิดเห็นย�วกว�่ คว�มคิดเห็นของผู้ตอบค�ำ ถ�มปล�ยเปดิ ของวธิ กี �รส�ำ รวจแบบดั้งเดิม 97
ภ�พที่ 9 ตัวอย�่ งก�รสำ�รวจแบบกระด�นข่�ว เวบ็ ไซต์ HTML รูปแบบทพ่ี บม�กทส่ี ดุ ของก�รสำ�รวจข้อมลู ออนไลน์คือรูปแบบ ก�รส�ำ รวจ HTML หรอื ประม�ณ 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ของก�รสำ�รวจออนไลนท์ ัง้ หมด ก�รส�ำ รวจ มลี ักษณะเปน็ กระด�ษย�วหน�้ เดียว ผตู้ อบแบบฟอรม์ นี้จะคลิกปุ่มและชอ่ งส่เี หล่ยี มกรอก ขอ้ มูลในกล่องขอ้ คว�ม และท้�ยที่สุดก็จะจัดสง่ ขอ้ มูลโดยทนั ที ก�รสำ�รวจแบบ HTML ตอ้ งใช้ ทักษะในก�รเขยี นโปรแกรมเพม่ิ เตมิ เพ่อื เกบ็ ขอ้ มลู ทเ่ี สนอม� ถึงแม้ก�รส�ำ รวจขอ้ มูลเหล�่ นไี้ ม่มกี �รควบคุมก�รโต้ตอบจริง (ไมม่ กี �รกระโดดข้�ม ไมม่ ีวิธจี �ำ กดั ก�รเปลี่ยนแปลงคำ�ถ�ม ไมม่ ีเวล�จริงในก�รตรวจสอบขอ้ ผดิ พล�ด ฯลฯ) ข้อจำ�กัด เหล�่ น้ีจะได้รบั ก�รชดเชยโดยก�รออกแบบท่ีมคี ว�มยืดหยนุ่ ม�กจึงจะสัมฤทธ์ิผล ใชก้ ร�ฟิก ออดิโอ และคลปิ วดี ิโอ ภ�พเคลือ่ นไหว และรปู แบบของมลั ติมเี ดียอ่นื ๆ ส�ำ หรบั ก�รศกึ ษ�ท่ตี อ้ งก�รคว�มรวดเรว็ และไมต่ ้องก�รเหตุผลที่ซบั ซอ้ น รูปแบบก�ร สำ�รวจ HTML จะเป็นท�งเลือกทีเ่ หม�ะสม รวดเรว็ ม�กกว่� มคี �่ ใชจ้ �่ ยตำ�่ กว่�วิธกี �รสำ�รวจ ดว้ ยเทคนคิ ทีซ่ ับซอ้ นม�กกว่� ก�รสำ�รวจแบบนีเ้ หม�ะส�ำ หรับก�รลงทะเบยี นผู้ใชก้ �รศึกษ�ที่ ท�ำ เปน็ โครงร่�ง และ/หรือก�รศึกษ�ทต่ี ้องก�รจดั แสดงนิทรรศก�ร เปน็ ก�รศกึ ษ�ท่ีไม่มเี หตผุ ล ทีซ่ ับซอ้ นหรอื ไมม่ ีก�รบังคบั 98
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124