A Guide to Research & Innovation Management for TVET 2560 ค่มอื การบรหิ าร ขจัดการวจิ ัยและนวตั กรรม องคค์ วามรู้การอาชีวศกึ ษา A Guide to Research & Innovation Management for TVET สานักวจิ ัยและพฒั นาการอาชวี ศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
คูม ือบริหารจดั การ วจิ ยั และนวตั กรรมองคความรกู ารอาชวี ศกึ ษา
คาํ นาํ ดวยสังคมโลกในยุคปจจุบันกําลังเผชิญกับความทาทายการแขงขันที่ สูงข้ึน ความกาวหนาของเทคโนโลยี และมลภาวะสิ่งแวดลอมโลกท่ีเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว ดังนั้นการที่จะรับมือกับสถานการณดังกลาว ประเทศที่มีการจัดเก็บ ขอมูลที่เปนระบบ และความสามารถในการประเมินสภาพแวดลอมอยางแมนยํา นับเปนสิ่งสําคัญย่ิง จึงอาจกลาวไดวาการวิจัยเปนเคร่ืองมือของการพัฒนาท่ีทรง ประสิทธิภาพของนานาประเทศในโลกยุคปจจบุ ันอยางแทจ รงิ ประเทศไทยภายใตการบริหารงานของคณ ะรัฐมนตรีไดมีการนํา กระบวนการวิจัยมาบูรณาการใชในการบริหารและวางกรอบยุทธศาสตรในการ พัฒนาประเทศ การอาชีวศึกษาไดทวีบทบาทและมีความสําคัญในฐานะกําลัง สําคัญของการพัฒนาศักยภาพของชาติ การจัดการอาชีวคึกษาจึงไดถูกเรงรัด พัฒนาโดยอาศัยรากฐานสติปญญา ภูมิปญญา องคความรู กระบวนการคิด วิเคราะหและสรางสรรค และกระบวนการคนควาวิจัย ดวยความตระหนักวา การอาชีวศึกษา คือหัวใจของสังคมใหม ในยุคของความกาวหนา ทางเทคโนโลยี สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กําหนดนโยบายการพัฒนาการ วิจัยเพ่ือสรางและสงผานองคความรูและเทคโนโลยีวิชาชีพ สรางนักวิจัยและ สนับสนุนใหบุคลากรขององคกรทําวิจัย เพื่อบูรณาการการวิจัยในการพัฒนาการ บริหารจัดการการเรียนการสอนอาชีวศึกษามุงเนนการพัฒนาและผลิตปริมาณและ คุณภาพกําลังคนอาชีวศึกษา สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษาในฐานะ หนวยงานหลักในการสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการวิจัยอาชีวศึกษา จึงได จัดทําคูมือการบริหารจัดการวิจัยและนวัตกรรมองคความรูการอาชีวศึกษาเลมนี้ข้ึน เพ่ือเปนคูมือบริหารโครงการวิจัยใหมีคุณภาพใหไดตามมาตรฐานที่กําหนด และ หวังวาคูมือเลมนี้จะเปนประโยชนตอบุคลกร หนวยงาน และผูสนใจในการทําวิจัย ทง้ั ภาครัฐแลเอกชนในการผลิตนวัตกรรมและองคความรใู หมตอ ไป สํานกั วจิ ยั และพฒั นาการอาชีวศกึ ษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กนั ยายน 2560 II
สารบญั หนา ii คํานาํ iii สารบญั iv สารบัญภาพ v สารบัญตาราง 1 บทนาํ 16 วัตถปุ ระสงค 17 ขอบเขต 18 คาํ จํากดั ความ 22 ตอนที่ 1 การบริหารจดั การงานวิจยั อาชวี ศกึ ษา 39 ตอนที่ 2 การจัดทาํ ขอ เสนอการวิจัยอาชวี ศกึ ษา ตอนที่ 3 แนวทางการพิจารณาการประเมนิ ขอ เสนอการวิจยั 68 78 เพอ่ื การสนบั สนนุ งบประมาณ 83 ตอนท่ี 4 การประเมินผลการวิจยั อาชวี ศึกษา 86 เอกสารอา งองิ 92 ภาคผนวก 99 112 - แบบเสนอแผนบรู ณาการ 136 - แบบเสนอโครงการวิจยั 139 - แบบเสนอชุดโครงการวจิ ยั 149 - แบบรายงานความกา วหนา (แบบ ต-1ช/ด) 162 - ขอตกลงรบั ทนุ วจิ ัย 163 - แบบประเมินผลหลงั สน้ิ สดุ การวิจัยรายโครงการ - เวบ็ ไซตแหลง ทนุ วจิ ยั อ่ืน iii คณะทาํ งาน
สารบัญภาพ หนา ภาพท่ี 1 การเชื่อมโยงของยทุ ธศาสตรช าตแิ ละยุทธศาสตรห ลักของประเทศ 6 ในการจดั ทํากรอบยทุ ธศาสตรวจิ ยั และนวัตกรรมแหงชาติ 7 7 ภาพที่ 2 กรอบยุทธศาสตรวจิ ัยและนวตั กรรมแหงชาติ แผนงานหลกั 1 8 ภาพท่ี 3 กรอบยุทธศาสตรว ิจยั และนวตั กรรมแหง ชาติ แผนงานหลกั 2 9 ภาพท่ี 4 กรอบยุทธศาสตรวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ แผนงานหลกั 3 ภาพที่ 5 แผนพฒั นาการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) 11 ภาพท่ี 6 งบประมาณโครงการวจิ ัยอาชีวศกึ ษาตามหมวดเงินอุดหนนุ ท่ัวไป 27 ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2535 - 2560 ภาพท่ี 7 กรอบการเชือ่ มโยงการบรหิ ารจดั การงานวจิ ยั 31 34 ของสาํ นกั วจิ ยั และพฒั นาการอาชวี ศึกษา กับหนว ยงานอ่นื ภาพที่ 8 การเชอื่ มโยงยทุ ธศาสตรก ารวจิ ยั และนวัตกรรมองคค วามรกู ารอาชวี ศกึ ษา 35 88 กับนโยบายและยทุ ธศาสตรก ารวจิ ัยของประเทศ ภาพที่ 9 เสน ทางการจดั ทําขอ เสนอการวจิ ยั อาชวี ศึกษา ภาพท1ี่ 0 ระบบบริหารจดั การการจดั ทาํ ขอ เสนอการวิจัยอาชีวศึกษา เพอ่ื เสนอขอรบั งบประมาณ ระดบั สถานศกึ ษา ภาพที่ 11 การเสนอของบประมาณการวิจยั และนวัตกรรมป 2562 iv
สารบญั ตาราง หนา ตารางแสดงการเช่อื มโยงยทุ ธศาสตรก ารวิจัยและนวัตกรรมองคความรกู ารอาชีวศกึ ษา 29 กับนโยบายและยทุ ธศาสตรก ารวิจยั ของประเทศ 49 ตารางปฏบิ ตั งิ านโดยใช Gantt Chart ตวั อยา งรายละเอียดงบประมาณการวจิ ัยของขอเสนอการวิจัย 135 จาํ แนกตามงบประเภทตา งๆ แบบฟอรม แผนการเบกิ จา ยเงนิ งบประมาณ ประเภทเงนิ อดุ หนนุ ท่ัวไป 146 ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 256_ 147 แบบฟอรมแผนกิจกรรมการวจิ ยั และระยะเวลาดําเนนิ การวิจัย 148 ตวั อยา งแผนกจิ กรรมการวจิ ยั และระยะเวลาดาํ เนนิ การวิจัย v
บทนาํ หลักการและเหตผุ ล 1.วิธีและกระบวนการวิจัยเปนเครื่องมือสําคัญในการเพ่ิมศักยภาพในการ แขง ขันของประเทศในตลาดโลก การศึกษาวิจัยจํานวนมากพบวาการวิจัยและพัฒนามีบทบาทสําคัญอยางย่ิงตอ ความไดเปรียบเชิงแขงขันและการพัฒนาอยางยั่งยืนขององคกรในภาคธุรกิจท่ัวโลก (Gu, 2016) นับแตอดีตเปนตนมาประเทศสหรัฐอเมริกา หน่ึงในผูนําเศรษฐกิจโลกตระหนักเปนอยาง ย่งิ ถึงความสําคญั ของการลงทนุ ในการวิจยั และพัฒนาตอการเพิม่ สมรรถนะทางการแขงขันของ ประเทศในตลาดโลก จงึ ไดจัดสรรงบประมาณจํานวนมหาศาลซ่งึ นับเปนลาํ ดบั ตน ๆของโลกเพ่ือ ลงทุนในการวิจัยและพัฒนา โดยเฉพาะการวิจัยพัฒนาในสาขาวิทยาศาสตรพ้ืนฐานและ วิทยาศาสตรประยกุ ต ไมเพยี งแตประเทศผูนําทางเศรษฐกิจในโลกตะวนั ตกเทาน้นั มหาอํานาจ ใหมของโลกเชนประเทศจีนก็ใหความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนาไมนอยกวากัน ดังจะเห็นได จากประเทศจีนจัดใหการวิจัยและพฒั นาเปนยทุ ธศาสตรห ลกั ในการเพ่ิมสมรรถนะในการเติบโต ทางเศรษฐกจิ (Cannon, Ulferts, & Howard, 2014) ในสวนของประเทศไทยก็ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการวิจัยไมย่ิงหยอนไปกวากัน จึงไดมีการจัดทํากรอบยุทธศาสตรชาติระยะยาว 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) โดยกําหนดใหการ ลงทุนในการวิจัยและพัฒนาเปนกรอบแนวทางสําคัญกรอบหน่ึงในดานการสรางความสามารถ ในการแขงขันของประเทศ และยังมีนโยบายในการปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ โดยมุงเนน ประเด็นวจิ ยั อันไดแก ดา นการเกษตรและอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ (Bio-based) ดานระบบโลจิ สติกส ดานเศรษฐกิจดิจิตัล และดานอุตสาหกรรมเปาหมาย 2 ประเภท อันไดแก การตอยอด อตุ สาหกรรมเดิมท่มี ีศกั ยภาพ (First S-curve) 5 อุตสาหกรรมอนั ไดแก 1. อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม (Next-generation Automotive) 2. อุตสาหกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกสอ จั ฉริยะ (Smart Electronics) 3. อุตสาหกรรมทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Affluent Medical and Wellness Tourism) 4. อุตสาหกรรมดจิ ิทัล (Digital) และ 1
5. อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร (Madical Hub) ((ราง) นโยบายและยุทธศาสตร การวจิ ัยของชาติ ฉบบั ท่ี 9 พ.ศ. 2560 - 2564, 2559) และการลงทุนการวจิ ัยและพัฒนาใน 5 อุตสาหกรรมอนาคต (New S-curve) ไดแ ก 1.อุตสาหกรรมหุนยนต (Robotics) 2.อตุ สาหกรรมหนุ ยนต (Aviation and Logistics) 3.อตุ สาหกรรมเชือ้ เพลงิ ชวี ภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels arch Biochem Icas) 4.อตุ สาหกรรมดจิ ติ อล (Digital) 5.อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร (Medical Hub) 2.วิธแี ละกระบวนการวจิ ัยเปน กลไกของการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาประเทศ ตามการเปลยี่ นแปลงสภาพเศรษฐกิจ สังคม สถานการณ และเทคโนโลยี ดวยในสภาวะโลกในปจจบุ นั มีความผนั ผวนและมกี ารเปลี่ยนแปลงทางดา นเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง และสิง่ แวดลอ มโดยเฉพาะความกาวหนาของเทคโนโลยีอนั สง ผลตอการพัฒนา และเกิดการแขงขันขึ้นในแตละประเทศ เพ่ือใหไดตามมาตรฐานสากล การเปล่ียนแปลง ดังกลาวไดสงผลกระทบตอการปฏิรูปการจัดการศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพของประเทศไทย โดยเฉพาะการผลิตกําลังคนและบริการทางวิชาชีพใหตรงกับความตองการของตลาดแรงงาน และการเปล่ียนแปลงดังกลาว ดังน้ันการดําเนินการวิจัยเปนกลไกวิธีการหน่ึงในการไดมาของ ขอมูลพื้นฐานเพื่อกําหนดแนวทางและนโยบายการพัฒนาการจัดการศึกษาและฝกอบรม วิชาชีพใหสามารถขับเคล่ือนตามการเปล่ียนแปลงขางตน นอกจากน้ัน นานาประเทศไดมีการ สนับสนุนและผลักดันใหการวิจัยเปนเคร่ืองมือของการปรับเปล่ียนและพัฒนาประเทศตาม กระแสโลกาภวิ ัฒนและเขา สรู ะดบั สากล (Globalization & Internationalization) รั ฐ บ า ล ท่ี ผ า น ม า จ น ถึ ง ป จ จุ บั น ไ ด บ ริ ห า ร ป ร ะ เ ท ศ โ ด ย ใ ช ข อ มู ล พื้ น ฐ า น แ ล ะ กระบวนการวิจัย เปนเคร่ืองมือในการดําเนินการกําหนดยุทธศาสตรและทิศทางการพัฒนา ประเทศใหไ ปสูเ ปาหมายท่ีกาํ หนด อันสามารถสง ผลตอ การพฒั นาและแกไขปญ หาของประเทศ ไดแก การแกไขปญหาความยากจน การขยายโอกาสทางการศึกษาใหท่ัวถึง การลดภาระหนี้ ตา งประเทศ การพฒั นาศักยภาพและโอกาสการแขง ขันของประเทศ และสภาพสงั คมมีคณุ ภาพ ที่ดีขึ้นของประเทศไทย เปนตน โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับบที่12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ไดกําหนดใหการพัฒนานวัตกรรม และการนํามาใชขับเคลื่อนการพัฒนาในทุก มิติเพ่ือยกระดับศักยภาพของประเทศ ประเด็นการสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรม เปนประเด็นหลักสองประเด็นในย่ีสิบประเด็นบูรณาการ เพ่ือซอมแซมจุดออนของประเทศและดําเนินยุทธศาสตรเชิงรุกมุงเนนพัฒนาตอยอดบนจุดแข็ง ของประเทศไทย 2
ในสวนของการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาใหเขมแข็งนั้นจําเปนตองใชรากฐาน สติปญญา ความรูความคิด การคนควาการวิจัยเพื่อผลักดันทักษะ มุงเนนดานฐานความ ชํานาญ (Skill Based) ฐานความรู (Knowledge Based) ฐานเทคโนโลยี (Technology Based) และฐานคุณธรรมและจรยิ ธรรม (Ethical Based) ตลอดจนกลาวไดว า การอาชวี ศกึ ษา คอื หวั ใจของสังคมใหม สังคมเทคโนโลยที ี่กาวหนา และ เปน กญุ แจท่ีสาํ คัญอนั หน่ึงในการพฒั นาการศกึ ษา (มตชิ นรายวัน, 2548) (UNESCO-UNEVOC, 2005 และ 2013) 3. นโยบายและยุทธศาสตรของประเทศกาํ หนดใหม ีการพัฒนา ขีดความสามารถ ในการพัฒนาการวจิ ัยและพฒั นาองคก ร สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติไดมีนโยบายใหหนวยงาน/องคกรหลักของ ภาครัฐกําหนดและจัดทําแผนยุทธศาสตรการวิจัยและพัฒนาขององคกรใหสอดคลองตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 –2564) และ (ราง) นโยบาย และยทุ ธศาสตรการวจิ ัยของชาตฉิ บับท่ี 9 (พ.ศ. 2560-2564) ไวดังนี้ ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 1 เรงสงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อใหบรรลุเปาหมายและ สนองตอบตอประเด็นเรงดวน ตามยุทธศาสตรและแผนพัฒนาประเทศและภารกิจของ หนวยงาน โดยรัฐลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาเพิ่มข้ึนอยางตอเน่ือง โดยมีเปาประสงคเพื่อให หนว ยงานและนกั วจิ ัยผลิตผลงานวิจยั องคค วามรนู วตั กรรม และเทคโนโลยีจากงานวจิ ัย ท้งั การ วิจัยพื้นฐาน การวิจัยและพัฒนา และการวิจัยเพ่ือพัฒนางานประจําท่ีมีทั้งคุณภาพ ปริมาณ และมุงเปาสนองตอบตอเปาหมายและประเด็นเรงดวนตามยุทธศาสตรชาติและภารกิจของ หนวยงาน ใหสอดคลองกับ (ราง) ยุทธศาสตรการวิจัยแหงชาติ 20 ป และแผนปฏิรูประบบวิจัย แบบบูรณาการของประเทศ (ราง) กรอบยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) และ (รา ง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ยุทธศาสตรการวิจัยท่ี 2 สงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชน โดยมีเปาประสงคเพ่ือสงเสริมและสนับสนุนภาคเอกชน เพิ่มพูนศักยภาพ เพิ่มการลงทุนและ ขยายการวิจัยและพัฒนา จนเกิดผลงานวิจัย องคความรู นวัตกรรม และเทคโนโลยี จาก งานวิจัยใหเปนประโยชนดานการผลิต การพาณิชยและบริการ ท่ีสนองตอบตอความตองการ 3
ของภาคเอกชนและการพัฒนาประเทศ รวมถึงสามารถชวยลดตนทุนการผลิต เพิ่มผลิตภาพ และขดี ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 3 สงเสริมกลไกและกิจกรรมการนํากระบวนการวิจัย ผลงานวิจัย องคค วามรู นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจัยไปใชประโยชนอยางเปนรูปธรรม โดยความรวมมือของภาคสวนตาง ๆ โดยมีเปาประสงคเพ่ือใหอุตสาหกรรมและพาณิชย สังคม และชุมชน วิชาการ และนโยบาย ใชประโยชนจากกระบวนการวิจัย ผลงานวิจัย องคความรู นวัตกรรม และเทคโนโลยจี ากงานวิจัยอยา งเปน รูปธรรม และตรงตามความตองการท่สี อดคลอง กับแนวทางการพฒั นาประเทศ ยุทธศาสตรการวิจัยท่ี 4 เรงรัดพัฒนาระบบวิจัยแบบบูรณาการของประเทศให เขมแข็ง เปนเอกภาพ และยั่งยืน รวมถึงสรางระบบนิเวศการวจิ ัยที่เหมาะสม โดยมีเปาประสงค เพื่อใหประเทศมีระบบวิจัยท่ีมีการบูรณาการ เขมแข็ง เปนเอกภาพ และย่ังยืน รวมท้ังมีการ ปฏิรูปหนวยงานหลักในระบบวิจัยตามแนวทางการปฏิรูปประเทศ (ราง) ยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) และ (ราง) ยุทธศาสตรการวิจัยแหงชาติ 20 ป และแผนปฏิรูประบบ วิจัยแบบบูรณาการของประเทศ โดยเฉพาะอยางย่ิง การบริหารจัดการการวิจัย ระบบ งบประมาณดานการสงเสริมการวิจัยและพัฒนาในลักษณะบูรณาการ การพัฒนาและปรับปรุง ระบบนเิ วศการวจิ ัยที่เหมาะสม และระบบติดตามและประเมนิ ผลการวิจัย โดยมงุ เนน การมีสวน รวมอยางจริงจังของเครือขายวิจัย และหนวยงานผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวนและทุกระดับ ใหมีการบริหารจัดการการวิจัยท่ีมีเอกภาพ ความรับผิดรับชอบ (Accountability) ประสิทธิภาพ รวมถึงการพจิ ารณาอนุมัติโครงการและจดั สรรงบประมาณการวิจยั ทร่ี วดเร็ว ระบบงบประมาณ ดานการสงเสริมการวิจัยและ พัฒนาในลักษณะบูรณาการ การประเมินผลในระบบวิจัย และ แนวทางตดิ ตาม ประเมนิ ผลการวจิ ัยเชงิ สรา งสรรค (Constructive Monitoring and Evaluation System) ยุทธศาสตรการวิจัยท่ี 5 พัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของโครงสรางพื้นฐาน ดานการวิจัยและพัฒนาของประเทศ โดยมีเปาประสงคเพื่อใหโครงสรางพ้ืนฐานดานการวิจัย และพัฒนาของประเทศมีความเขมแข็ง มีประสิทธิภาพ จํานวนเพียงพอ และคุณภาพได มาตรฐานในระดับชาตแิ ละนานาชาติ 4
1) โครงสรางพื้นฐานทางกายภาพ เชน หองปฏิบัติการทดลอง เครื่องมือ/อุปกรณ วิจัย ศูนยความเปนเลิศดานการวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา ศูนยปฏิบัติการทดสอบ (laboratory testing centers) ศูนยวิจัยแหงชาติ โรงงานตนแบบ (Pilot Plant) หนวยบมเพาะ (Incubator) อุทยานวิทยาศาสตร (Science Park) ศูนยขอมูลและระบบสารสนเทศการวิจัยที่ ครอบคลุม เช่ือมโยง และใชป ระโยชนไ ดทั่วประเทศ 2) โครงสรา งพ้นื ฐานทางคณุ ภาพ เชน ระบบการใหบ ริการเทคนคิ ดา นวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยี (MSTQ) ไดแก ระบบมาตรวิทยา (Metrology) การกําหนดมาตรฐาน (Standardization) การทดสอบ (Testing) การรบั รองคณุ ภาพ (QualityAssurance) 3) โครงสรา งพ้ืนฐานทางกลไก เชน ระบบการสราง แรงจูงใจผานมาตรการการเงิน อาทิ ระบบการใหทุนสนับสนุน แรงจูงใจทางการเงิน สิทธิประโยชนเรงรัดการลงทุน มาตรการ การคลงั รวมถงึ มาตรการทางภาษี รวมท้ังระบบการจัดการทรัพยสินทางปญญา และการจัดซื้อ จัดจางภาครัฐ มาตรฐานการวิจยั และทดลองตา ง ๆ เชน มาตรฐานการวจิ ัยในคน มาตรฐานการ เลี้ยงและใชสัตวทดลองเพ่ืองานทางวิทยาศาสตร มาตรฐานหองปฏิบัติการวิจัย มาตรฐาน ความปลอดภัยทางชีวภาพ และคณะกรรมการประเมินคุณภาพ เปนตน เพื่อสงเสริมและ สนับสนุนการวจิ ัยและพฒั นาใหมีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล มคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน เปนที่ ยอมรบั ระดบั สากลและเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขนั ของประเทศ ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 6 เพิม่ จํานวนและพัฒนาศกั ยภาพของบุคลากรดา นการ วิจัยและพัฒนา เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยมีเปาประสงคเพ่ือให ประเทศมีบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาท่ีมีคุณภาพในจํานวนเพียงพอในทุกภาคสวนและ ทุกระดับ รวมถึงเสริมสรางสมรรถนะและสนับสนุนนักวิจัยรุนใหม เพื่อการขับเคลื่อนงานวิจัย และการใชประโยชนในวงกวาง และเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแขงขันของประเทศ อีกท้ัง พัฒนาศักยภาพดานการวิจัยใหเยาวชนและ บุคลากรในทองถิ่น เพ่ือเปนทรัพยากรบุคคลท่ี สามารถคิดวิเคราะห แกปญหา และตัดสินใจโดยใชขอมูล และเปนฐานการสรางบุคลากรดาน การวิจยั และพฒั นา ยุทธศาสตรการวิจัยที่ 7 พัฒนาความรวมมือของเครือขายวิจัยในประเทศและ ระหวางประเทศ โดยมีเปาประสงคเพื่อใหเครือขายวิจัยในระดับชาติ ภูมิภาค ทองถิ่น และ เครือขายวิจัยของภาคสวน ตาง ๆ เชน ภาคอุตสาหกรรม ภาควิชาการ และภาคทองถ่ินมีความ 5
เขมแข็งและมี สวนรว มในการขับเคล่ือนนโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยแหงชาติ การวิจัยและ พัฒนา การใชประโยชนจากงานวิจัย การบริหารจัดการ และการสนับสนุนทุนวิจัย รวมท้ังมี ความรวมมอื อยางตอเนอื่ งระหวา งเครอื ขา ยในประเทศและระหวา งประเทศ นอกจากน้ีสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ (สวนช.) ไดกําหนดทิศทางการ พัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม ภายใตยุทธศาสตรชาติ ภายใตการพัฒนา ประเทศไทย 4.0 ซึ่งไดวิเคราะหถึงการเปลี่ยนผานโครงสรางการพัฒนาทั้งระบบใน 5 สาขา เปาหมาย 5 มิติของการเปล่ียนแปลง และ5 ระเบียบวาระการพัฒนา โดยการเปล่ียนผาน ประเทศไทยสูเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม และไดยก “ราง” กรอบยุทธศาสตรการ พัฒนาประเทศดวยการวิจัยและนวัตกรรม ในระยะ 20 ปขางหนา ดังภาพความเชื่อมโยงของ ยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตรหลักของประเทศในการจัดทํากรอบยุทธศาสตรวิจัยและ นวัตกรรมแหง ชาติ (ภาพท่ี 1) ตามกรอบยทุ ธศาสตรวิจยั และนวตั กรรม ดงั ภาพท่ี 2 – 4 ภาพที่ 1: การเช่อื มโยงของยทุ ธศาสตรชาติและยทุ ธศาสตรห ลักของประเทศในการ จดั ทาํ กรอบยทุธศาสตรว ิจยั และนวัตกรรมแหงชาติ ทีม่ า: สาํ นกั งานคณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม แหง ชาติ, 2560 6
ภาพท่ี 2 กรอบยทุ ธศาสตรว ิจยั และนวัตกรรมแหง ชาติ แผนงานหลัก 1 ภาพที่ 3 กรอบยุทธศาสตรว จิ ัยและนวัตกรรมแหงชาติ แผนงานหลัก 2 7
ภาพท่ี 4 กรอบยุทธศาสตรวิจัยและนวตั กรรมแหง ชาติ แผนงานหลกั 3 นอกจากนี้กระทรวงศึกษาธิการภายใตวิสัยทัศนของแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) ไดก าํ หนดวสิ ยั ทัศน คอื “คนไทยทุกคนไดร ับการศึกษาและเรยี นรูตลอด ชีวิตอยางมีคุณภาพ ดํารงชีวิตอยางเปนสุข สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21” โดยกําหนดยทุ ธศาสตรที่ 2 ดา นการ ผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสรางขีดความสามารถในการแขงขันของ ประเทศ ซ่งึ ไดมีแนวทางพฒั นา ไดแก 1.ผลิตและพัฒนากําลังคนใหมีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความตองการของตลาด งานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2.สงเสริมการผลติ และพฒั นากาํ ลังคนท่ีมคี วามเชย่ี วชาญและเปนเลศิ เฉพาะดา น 3.สงเสริมการวจิ ัยและพัฒนา เพ่ือสรางองคความรู และนวัตกรรมที่สรา งผลผลิตและ มูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจ (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560) ดังกรอบแผนพัฒนา การศึกษาแหงชาติ ภาพท่ี 5 8
ภาพท่ี 5 แผนพัฒนาการศกึ ษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) ดังน้ัน กระบวนการเรงรัดการพัฒนาการวิจัย นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ และเทคโนโลยี เพ่ือ เพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถการแขงขันของประเทศจะเปนแนวทาง หนึ่งในการพัฒนา ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลการจัดการศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพไดอยางย่ังยืน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งตอการพัฒนาคุณภาพผูสําเร็จการอาชีวศึกษาใหสามารถประกอบวิชาชีพไดตรงกับความ ตองการของตลาดแรงงาน และสถานการณ ความกาวหนาของเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงอยาง รวดเร็ว ตลอดจนการพัฒนาประสิทธิภาพของผูสอนใหสามารถถายทอดความรูและประสบการณ ไดอยางมีคณุ ภาพ 4. สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ไดก ําหนดกลยทุ ธท ีเ่ ปนรปู ธรรมในการ ดําเนินการการจัดการศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพ เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล ปจจุบัน โดยเฉพาะตามเกณฑมาตรฐาน/ตัวชี้วัดท่ีกําหนดข้ึนของสํานักมาตรฐานการศึกษา แหงชาติ การประเมินคุณภาพภายนอกดานการอาชีวศึกษา โดย สํานักงานมาตรฐานการศึกษา แหงชาติ (สมศ.) ไดกําหนดใหงานวิจัยอาชีวศึกษาเปนมาตรฐานหนึ่งใน 6 มาตรฐาน คือ 9
มาตรฐานท่ี 2 การวิจัยและนวัตกรรมวิชาชีพ ตัวบงช้ี 2.1 รอยละของผลงานวิจัยและนวัตกรรม วิชาชพี ทไี่ ดร ับการเผยแพรตออาจารยประจําท้ังหมด คิดเปน รอยละ 10 ของการประเมินทั้งหมด 6 มาตรฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดใหความสําคัญกับการพัฒนา เผยแพร นวัตกรรมองคความรู เทคโนโลยีเพื่อสรางและพัฒนาอาชีพใหเกิดประโยชนในเชิงพาณิชย สง เสรมิ สนับสนนุ การวิจัย สรางนวัตกรรม พัฒนาองคค วามรู เพื่อการพัฒนาอาชีพ โดยกําหนด นโยบายการพัฒนาการอาชีวศึกษาในเชิงมิติ คือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในดานการเรียน การสอน คือการวิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ าร เพ่อื พัฒนาระบบการเรยี นรูสูการเปนผปู ระกอบการ ท้ังนี้การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาถายทอดองคความรูและเทคโนโลยี เพ่ือใหการ อาชีวศึกษาเปนองคกรแหงการเรียนรู ตั้งแตการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ใหเอ้ือตอการ เรียนรู การสรางองคความรู และนวัตกรรมทางวิชาชีพ การเชื่อมโยงการวิจัยกับกระบวนการ จดั การเรยี นการสอนวิชาชพี มีกลไกนําผลการวจิ ัยไปใชประโยชนได 5. ผลการดําเนินงานในชวงการปฏริ ูปการศึกษาที่ผานมา สาํ นักวิจัยและพฒั นาการ อาชีวศึกษาไดดําเนินการปฏิรูปการอาชีวศึกษาตามกรอบ และนโยบายท่ีเก่ียวของกับการ วิจัย โดยไดดําเนินการสงเสริมและพัฒนาการดําเนินโครงการวิจัยอยางเปนระบบใน สถานศึกษา สามารถสรปุ ผลการดาํ เนินงาน ไดดงั ตอไปน้ี 5.1 การสนับสนุนสถานศึกษาดําเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการ เรียนการสอน มุงเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอาชีวศึกษา สงเสริมใหงานวิจัยและ พัฒนา ซ่ึงเปนหนวยงานในสถานศึกษาเปนกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาการวิจัย โดยมี การสนับสนุนใหครู อาจารยพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยการทําวิจัยในช้ันเรียน (Action Research) ภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในปงบประมาณ พ.ศ. 2549 มีการจัดทําคูมือและผลิตนักวิจัย เครือขายสงผลใหขาราชการครูอาชีวศึกษาสามารถใชกระบวนการวิจัยเพื่อแกไขและ พัฒนาการสอนในชั้นเรียนไดเปนอยางดียิ่ง นอกจากน้ีไดสงเสริมใหขาราชการพลเรือน ครูและ บุคลากรทางการอาชีวศึกษา และผูบริหารสถานศึกษาดําเนินโครงการวิจัยภายใตหมวดเงิน 10
อุดหนุนท่ัวไปของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยผานการพิจารณาตรวจสอบ ขอ เสนอโครงการวจิ ัยใหม ีคณุ ภาพจากสํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ ในสวนของการไดรับงบประมาณสนับสนุนการดําเนินโครงการวิจัยของสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาในชวงปงบประมาณ พ.ศ. 2535 - 2560 พบวามีแนวโนมสูงขึ้น ในชวงงบประมาณ ปงบประมาณ พ.ศ. 2548 – 2555 โดยปงบประมาณท่ีไดรับงบประมาณ สนับสนุนมากท่ีสุด คือปงบประมาณ 2555 ในวงเงิน 21,253,000 บาท และนอยท่ีสุดคือไมได รับการสนับสนุนงบประมาณเลย เมื่อปงบประมาณ พ.ศ. 2547 นอกจากน้ี พบวางบประมาณ การวิจัยประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555- 2557 การไดรับงบประมาณการวิจัยมีแนวโนมลดลง แมในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 งบประมาณสนับสนุนการดําเนินโครงการวิจัยของสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจะเพ่ิมสูงข้ึนแตก็ลดตํ่าลงในปงบประมาณถัดมา และเพ่ิมสูงข้ึน อีกคร้ังในปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ในวงเงิน 12,768,500 บาท 25,000,000 21,253,000 20,000,000 19,939,000 18,970,000 15,000,000 13,957,300 1310381020,768,500 10,000,000 9,070,900 11,190,800 10574400 7,561,100 8,729,900 5,000,000 1,833,100 4,500,000 4,584,000 797,16,02022,200 1,926,2001,006,200791,400 658,200 1,800,000 0 624,100 816,800 561,000 147,700 0 ภาพท่ี 6 งบประมาณโครงการวิจัยอาชวี ศกึ ษาตามหมวดเงนิ อดุ หนนุ ทั่วไป ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2535-2560 11
จะเห็นไดวาการไดรับการจัดสรรงบประมาณการวิจัยน้ัน ข้ึนอยูกับคุณภาพของการ จัดทําขอเสนอการวิจัยของผูเสนอของบประมาณการวิจัย ท้ังนี้สํานักงานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ เปนหนวยงานที่ดําเนินการตรวจสอบคุณภาพการจัดทําขอเสนอการวิจัยนั้น พบวา ผูจัดทําขอเสนอการวิจัยนั้น ในชวงปหลังมีคุณภาพลดลง โดยเหตุผลท่ีขอเสนอการวิจัยไมผาน จากการตรวจสอบของผูทรงคุณวุฒิ ไดแ ก - ความชัดเจนของของวตั ถปุ ระสงคก ารวิจยั วธิ ีการวจิ ัย - ความเชีย่ วชาญและจาํ นวนของทมี งานวจิ ยั - หัวขอเรื่องเกิดประโยชนในวงจํากัด เปนเทคโนโลยีพื้นฐาน เชน การผลิตกาซ ชวี ภาพในครวั เรอื น เปนตน - ขาดความเชอ่ื มโยงของการเขยี นประเดน็ และกรอบการวิจัย - ขาดการตรวจสอบเอกสารอางอิงท่ีจะนําไปสูการดําเนินการวิจัยใหประสบ ผลสําเรจ็ หัวขอเร่ืองไมใชการดําเนินการวิจัย แตเปนการดําเนินโครงการปฏิบัติ เชน การ พัฒนาปาชายเลนโดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใน... ซ่ึงเปนการจัดทําแหลงเรียนรู มากกวา หรือ การประเมินโครงการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงคของ นกั ศกึ ษาใน..... เปนตน - ไมระบุความสําคัญของปญหาและวัตถุประสงคที่ชัดเจน เชน สภาพปญหาและ ปจจัยที่สงเสริมความสําเร็จของการดําเนินโครงการส่ิงประดิษฐของคนรุนใหมของนักศึกษาใน แผนงานและแผนเงินไมสอดคลองกนั - การกาํ หนดประชากร กลุมตัวอยา งของการเขียนโครงการวิจัย - งบประมาณสูงมากเกนิ ความจาํ เปน - งานวิจยั ดา นหลักสตู รตองเขา ใจและมคี วามเชย่ี วชาญในการดาํ เนนิ โครงการวิจยั นอกจากน้ีกลุมวิจัยนโยบายและยุทธศาสตร สํานักวิจัยและพัฒนาการจัดการ อาชีวศึกษา ไดริเร่ิมการจัดประชุมวิชาการงานวิจัยอาชีวศึกษา(Symposium on Vocational Education Research) ซ่งึ สาํ นกั วิจัยและพัฒนาการอาชีวศกึ ษาไดดาํ เนินการจดั ประชุมผลงาน วิชาการวิจัยอาชีวศึกษาประจําปมาอยางตอเนื่อง โดยมีเปาหมายเพื่อเปดโอกาสใหนักวิจัย 12
อาชีวศึกษาไดนําเสนอผลงานวิจัยวิชาการอาชีวศึกษา อันนํามาซึ่งการแลกเปลี่ยนความรูและ ประสบการณงานวิจัยอาชีวศึกษาอันจะนําไปสูการประยุกตใชผลงานวิจัยอาชีวศึกษาใหเกิด ประโยชนส ูงสุดตอ ไป การสรา งนักวจิ ัยเครือขา ยอาชวี ศกึ ษา (Thailand Voctional Education Research Network: T-Vern) มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาศักยภาพนักวิจัยอาชีวศึกษาใหสามารถดําเนินโครงการวิจัย ไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลมากที่สุดตอการจัดการศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2551 รวมถึงการแลกเปลี่ยนความรูและ ประสบการณการวิจัยท่ีเกี่ยวของ ไดรับความรูและความเขาใจในการดําเนินโครงการวิจัย เพม่ิ ข้นึ 5.2 การสง เสรมิ การบรู ณาการการวิจัยเพอ่ื การพฒั นาคดิ คน ส่งิ ประดิษฐนวัตกรรม อาชีวศึกษามุงเนนการพัฒนานักประดิษฐคิดคนอาชีวศึกษา โดยการจัดทําโครงการความ รวมมือระหวางสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสํานักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศึกษา (สอศ.) เพอื่ พฒั นาทักษะการคดิ คน ของผูเ รยี นบนพ้นื ฐานการวิจยั ตามโครงการวจิ ัย และพัฒนานวัตกรรมส่ิงประดิษฐอาชีวศึกษา (Innovation Research for Vocational Education) (IRVE) โดยกลุมวจิ ยั การจัดการอาชวี ศึกษา นอกจากนี้การจัดประชุมวิชาการ ภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช (มสธ.) และสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาโดยการจัดงาน “มหกรรม ยอ นรอยสง่ิ ประเดิษฐน วตั กรรมอาชวี ศึกษา” สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดดําเนินการพัฒนานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ และเทคโนโลยีภายใตความรว มมือกับภาคเอกชน ไดแ กบ ริษทั ลอ็ กซเลย จํากัด(มหาชน) บริษทั เดอะมอลลกรุป จํากัด บริษัทโปรเฟสชั่นนัล คอมพิวเตอร บริษัทล็อกซเลย เทรดด้ิง จํากัด และ สมาคมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน) เปนตน โดยกลุมวิจัยนวัตกรรมการอาชีวศึกษา ดําเนินการ จัดการประกวดสิ่งประดิษฐของคนรุนใหม ซ่ึงไดเร่ิมดําเนินการมาต้ังแตป พ.ศ. 2533 จนถึง ปจจุบัน มีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาทรัพยากรมนุษยและเสริมสรางความแข็งแกรงดานวิทยา ศาสตร และเทคโนโลยี มงุ เนนใหผูเ รยี นอาชีวศึกษาสามารถประยุกตความรูและใชท กั ษะในการ คิดคนนวัตกรรมและส่งิ ประดิษฐของคนรุนใหมและการพัฒนาหุนยนตอาชีวศกึ ษา อันสงผลตอ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศโดยรวม 13
ปจจุบันสํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษาไดดําเนินการจัดการองคความรูและ ตระหนักเรื่องสิทธิประโยชนของนักประดิษฐคิดคนอาชีวศึกษาเปนอยางย่ิง โดยไดจัดทําเว็บไซต เผยแพรขอมูลสงิ่ ประดิษฐคดิ คนไวเพอื่ ประโยชนใ นดานการสบื คน ขอ มูลและจําหนา ยสิ่งประดษิ ฐ อาชวี ศึกษา โครงการสรา งนกั วจิ ยั รนุ ใหมอ าชวี ศึกษา โครงการพัฒนาศกั ยภาพนักวิจยั อาชวี ศกึ ษา โครงการวจิ ยั บนฐานปญหาการวจิ ยั เปน ตน 5.3 ขยายและสรางความเขมแข็งเครือขายความรวมมือการวิจัยระหวาง ประเทศ สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษาไดดําเนินการจัดประชุมวิจัยนานาชาติโดยมี วตั ถุประสงค คือ 4.3.1 เพ่ือพัฒนาและแลกเปล่ียนความรู/ประสบการณการวิจัยอาชีวศึกษา ระหวา งนักวิจยั ไทยกับนานาชาติ 4.3.2 เพื่อจดั ทาํ ฐานขอ มูลการวิจยั อาชวี ศกึ ษาระหวา งประเทศ 4.3.3 เพ่ือประยุกตและพัฒนายุทธศาสตรและนโยบายการอาชีวศึกษาบน พนื้ ฐานการวจิ ยั 4.3.4 เพ่ือขยายและสรางความรวมมือการวิจัยอาชีวศึกษาทั้งในระดับภูมิภาคและ สากล การเขา รว มประชมุ นานาชาติ ไดแก - ปการศึกษา 2547 ไดดําเนินการจัดประชุมนานาชาติ เร่ือง “International Research Conference on Vocational Education and Training” ระหวางวันที่ 13 -14 สงิ หาคม 2547 ณ ศนู ยก ารแสดงสินคาและการประชุม อิมแพคเมืองทองธานี กรุงเทพมหานคร ประเทศผูเขารวมประชุม ไดแก Australia, Negara Brunei Darussalam, England, France, The Federal Republic of Germany, Japan, Republic of Korea, Malaysia, Pakistan, The United States of America, Thailand จํานวนประมาณ 200 คน 10 ประเทศ - ปการศึกษา 2549 ไดดําเนินการจัดประชุมนานาชาติ เรื่อง “Integrating Sustainable Development Issues into TVET: Poverty Alleviation, and Skills for Employability, Citizenship and Conservation” ระหวางวันท่ี 10 – 13 สิงหาคม 2549 ณ ศูนยการแสดงสินคาและการประชุม อิมแพคเมืองทองธานี กรุงเทพมหานคร ประเทศผูเขารวม ประชุม ไดแก Australia, Bangladesh, Bhutan, Brunei Darussalam, Cambodia, China, 14
Finland, France, Republic of Germany, India, Indonesia, Iran, Korea, Lao PDR, Malaysia, Mongolia, Mynmar, Nepal, Netherland, New Zealand, Pakistan, Papua New Guinea, the Philippines, South America, Sri Lanka, Taiwan จํานวนประมาณ 200 คน 26 ประเทศ - การประชุมผูเช่ียวชาญวิจัยนานาชาติ เร่ือง “International Consultation on Education for Sustainable development: TVET Towards Teacher Education towards Sustainability” ระหวางวนั ท่ี 19 – 25 สงิ หาคม 2550 ณ โรงแรมรอยลั ออคิด จงั หวัดเชียงใหม ประเทศผูเขารวมประชุมไดแก Australia, Brunei Darussalam, Canada, China, Cyprus, Republic of Germany, Hong Kong, India, Latvia, Lao P.D.R., Mynmar, Nepal, Netherlands, Pakistan, Sri Lanka, Vietnam จาํ นวน 60 คน รวม 16 ประเทศ - การเขารวมประชุมวิจัยนานาชาติ Expert Meeting at Teacher’s International Conference in Bangkok ระหวา งวนั ที่ 25 – 28 ธันวาคม 2555 - การเขารวมแขงขันหุนยนตระดับโลก (World RoboCup 2013) ณ ประเทศ เนเธอรแ ลนด ไดร ับรางวัลลาํ ดับที่ 2 ของประเภทหนุ ยนตกภู ยั - การเขารวมประชุมเสนอผลงานวิจัยสิ่งประดิษฐ ณ กรุงโซล ประเทศสาธารณรัฐ เกาหลใี ต ปงบประมาณ พ.ศ. 2555 และ 2556 องคก รความรว มมือกับการวจิ ัยกับตา งประเทศ คือ UNESCO-UNEVOC, APEID, InWent, York University (Canada), UNESCO (Bangkok), Colombo Plan Staff College for Technician Education, แ ล ะ SEAMEO VOCTECH 15
วัตถุประสงค 1. เพ่ือเปนกรอบแนวทางการบริหารจัดการงานวิจัยอาชีวศึกษาในสถานศึกษา สถาบันการอาชวี ศกึ ษา และสาํ นักในสังกัดสํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 2. เพ่ือเปนแนวทางการดําเนินงานการวิจัยอาชีวศึกษาสูการรองรับการประเมิน คุณภาพภายนอกดานอาชีวศึกษา ในมาตรฐาน 2 การวิจัยและนวัตกรรมวิชาชีพ และสราง ผลงานวิจยั อาชีวศึกษาใหมคี ณุ ภาพ มาตรฐานเปน ท่ยี อมรบั ในวงวชิ าการ 3. เพื่อเปนหลักการในการตัดสินใจและประเมินผลงานวิจัยอาชีวศึกษาใหมีคุณภาพ ไดม าตรฐาน สูการนําไปใชป ระโยชนเชงิ วิชาการ เชิงสาธารณะ เชิงนโยบาย และเชิงพาณิชย 4. เพื่อเปนหลักการในการพิจารณาการจัดสรรงบประมาณเพ่ือสงเสริม สนับสนุน ขอเสนอ/โครงการวิจัยในสถานศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษา และสํานักในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา 5. เพ่ือเสริมสรางความเขมแข็ง การแลกเปลี่ยนประสบการณในเชิงวิชาการดานการ วิจัยอาชีวศึกษาใหแกผูเรียน ผูสอนและผูใชผลงานวิจัยไดมีความรู ความสามารถงานวิจัยและ พฒั นาการอาชีวศึกษาท่มี คี ุณคา ตอการนําไปใชใหเ กดิ ประโยชนสูงสุด ขอบเขต คูมือบริหารจัดการวิจยั และพัฒนานวัตกรรมองคค วามรูการอาชวี ศึกษานี้ มีขอบเขต ดานเน้ือหาในข้ันตอนการจัดทําขอเสนอการวิจัย การบริหารจัดการ และการดําเนิน โครงการวจิ ยั อาชีวศกึ ษา โดยแบง ออกเปน 4 ตอน คอื ตอนท่ี 1 การบริหารจัดการงานวจิ ัยอาชีวศกึ ษา ตอนท่ี 2 การจัดทาํ ขอ เสนอ/โครงการวิจัยอาชวี ศึกษา ตอนท่ี 3 แนวทางการพิจารณาการประเมินขอเสนอ/โครงการวิจัยเพื่อขอรับการ สนบั สนนุ งบประมาณการวจิ ัยของสาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ตอนที่ 4 การประเมินผลงานวจิ ัยอาชวี ศึกษา 16
คาํ จาํ กัดความ การวิจัยอาชีวศึกษา (Vocational Educational Research) หมายถึง การศึกษา คนควา วิเคราะห ทดลองอยางเปนระบบ เพ่ือคนพบขอเท็จจริง หรือหลักการไปใชในการต้ังกฎ ทฤษฎี หรือแนวทางในการปฏิบัติ โดยมุงเนนในการพัฒนาองคความรูดานการพัฒนา ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการจัดการอาชีวศึกษา เพ่ือนําไปใชประโยชนในการปรับปรุง แกไ ขปญ หา และสงเสริมดานวิชาการทางการจดั การศึกษาและฝก อบรมวชิ าชพี ก า ร กํ า ห น ด ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ก า ร วิ จั ย (Type of Research) อาจขึ้นอยูกับ วตั ถปุ ระสงคข องการดําเนินการวิจยั การนาํ ไปใช ชนิดของการวิเคราะหขอมลู การวจิ ัย หรือตาม สาขาวิชา ดังนั้น เพ่ือใหการดําเนินโครงการวิจัยอาชีวศึกษา เปนไปตามหลักสากล และเปนไป ในทิศทางเดียวกนั กับการพจิ ารณาตรวจสอบขอเสนอการวจิ ัยของสํานกั งานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ (2558) ซึง่ อางถึงการแบงประเภทของการวิจัย ดงั น้ี 1. การวิจัยพื้นฐาน (basic research หรือ pure research หรือ theoretical research) เปน การศึกษาคนควาในทางทฤษฎี หรือในหองทดลองเพ่ือหาความรูใหม ๆ เกี่ยวกับสมมุติฐานของ ปรากฏการณ และความจริงที่สามารถสังเกตได หรือเปนการวิเคราะหหาคุณสมบัติโครงสรางหรือ ความสัมพันธตาง ๆ เพ่ือตั้งและทดสอบสมมุติฐาน (hypothesis) ทฤษฎี (theories) และกฎตาง ๆ (laws) โดยมิไดม งุ หวังทจี่ ะใชประโยชนโ ดยเฉพาะ 2. การวิจัยประยุกต (applied research) เปนการศึกษาคนควาเพ่ือหาความรูใหม ๆ และมีวัตถุประสงคเพื่อนําความรูนั้นไปใชประโยชนอยางใดอยางหน่ึง หรือเปนการนําเอา ความรูและวิธีการตาง ๆ ท่ีไดจากการวิจัยข้ันพ้ืนฐานมาประยุกตใชอีกตอหน่ึง หรือหาวิธีใหม ๆ เพือ่ บรรลเุ ปา หมายท่ไี ดระบุไวแ นชดั ลว งหนา 3. การพัฒนาทดลอง (experimental development) เปนงานที่ทําอยางเปนระบบ โดยใชความรูท่ีไดรับจากการวิจัยและประสบการณที่มีอยู เพ่ือสรางวัสดุ ผลิตภัณฑและ 17
เคร่ืองมือใหม เพื่อการติดต้ังกระบวนการ ระบบและบริการใหม หรือเพื่อการปรับปรุงสิ่งตาง ๆ เหลาน้ันใหด ีขึน้ สาขาวิชาการ หมายถึง สาขาวิชาการ และกลุมวิชาของสภาวิจัยแหงชาติ ประกอบดว ย 1. สาขาวิทยาศาสตรกายภาพและคณิตศาสตร ประกอบดวยกลุมวิชา คณิตศาสตร และสถิติ ฟสิกส ดาราศาสตร วิทยาศาสตรเกี่ยวกับโลกและอวกาศ ธรณีวิทยา อทุ กวทิ ยา สมทุ รศาสตร อุตุนยิ มวทิ ยา ฟส กิ สข องส่ิงแวดลอม และอื่น ๆ ทเ่ี ก่ียวของ 2. สาขาวิทยาศาสตรการแพทย ประกอบดวยกลุมวิชาวิทยาศาสตรการแพทย แพทยศาสตร สาธารณสุข เทคนิคการแพทย พยาบาลศาสตร ทันตแพทยศาสตร สังคมศาสตร การแพทย และอื่น ๆ ที่เกย่ี วขอ ง 3. สาขาวิทยาศาสตรเคมีและเภสัช ประกอบดวยกลุมวิชา อนินทรียเคมี อินทรีย เคมีชวี เคมี เคมีอุตสาหกรรม อาหารเคมี เคมีโพลเิ มอร เคมวี เิ คราะห ปโตรเลียม เคมีสิ่งแวดลอม เคมีเทคนิค นิวเคลียรเคมี เคมีเชิงฟสิกส เคมีชีวภาพ เภสัชเคมีและเภสัชวิเคราะห เภสัช อตุ สาหกรรม เภสัชกรรม เภสชั วิทยาและพษิ วทิ ยา เคร่อื งสาํ อาง เภสชั เวช เภสัชชีวภาพ และอื่น ๆ ท่เี กย่ี วขอ ง 4. สาขาเกษตรศาสตรและชีววิทยา ประกอบดวยกลุมวิชา ทรัพยากรพืช การ ปองกันกําจัดศัตรูพืช ทรัพยากรสัตว ทรัพยากรประมง ทรัพยากรปาไม ทรัพยากรนํ้าเพ่ือ การเกษตร อุตสาหกรรมเกษตร ระบบเกษตร ทรัพยากรดิน ธุรกิจการเกษตร วิศวกรรมและ เครื่องจักรกลการเกษตร ส่ิงแวดลอ มทางการเกษตร วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ และอนื่ ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ ง 5. สาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย ประกอบดวยกลุมวิชา วิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีพ้ืนฐานทางวิศวกรรมศาสตร วิศวกรรมอุตสาหกรรมวิจัย และ อ่ืน ๆ ที่เกย่ี วขอ ง 6. สาขาปรัชญา ประกอบดวยกลุมวิชา ปรัชญา ประวัติศาสตร โบราณคดี วรรณคดี ศลิ ปกรรม ภาษา สถาปต ยกรรม ศาสนา และอ่นื ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ ง 18
7. สาขานิติศาสตร ประกอบดวยกลุมวิชา กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายเศรษฐกิจ กฎหมายธุรกิจ กฎหมายระหวางประเทศ กฎหมายวิธี พจิ ารณาความ และอ่ืน ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ ง 8. สาขารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร ประกอบดวยกลุมวิชา ความสัมพันธ ระหวางประเทศ นโยบายศาสตร อุดมการณทางการเมือง สถาบันทางการเมือง ชีวิตทาง การเมือง สังคมวิทยาทางการเมือง ระบบการเมือง ทฤษฎีการเมือง รัฐประศาสนศาสตร มติ สาธารณะ ยทุ ธศาสตรเ พอ่ื ความม่ันคง เศรษฐศาสตรการเมอื ง และอ่ืน ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ ง 9. สาขาเศรษฐศาสตร ประกอบดวยกลมุ วชิ า เศรษฐศาสตร พาณชิ ยศาสตร บริหารธุรกจิ การบญั ชี และอื่น ๆ ที่เกยี่ วขอ ง 10. สาขาสังคมวทิ ยา ประกอบดวยกลมุ วิชา สงั คมวทิ ยา ประชากรศาสตร มานุษยวิทยา จิตวิทยาสังคม ปญหาสังคม สังคมศาสตร อาชญาวิทยา กระบวนการยุติธรรม มนุษย นิเวศวิทยาและนิเวศวิทยาสังคม พัฒนาสังคมภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิศาสตรสังคม การศึกษา ความเสมอภาคระหวา งเพศ คตชิ นวทิ ยา และอน่ื ๆ ทเ่ี กีย่ วของ 11. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร ประกอบดวยกลุมวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร โทรคมนาคม การสื่อสารดวยดาวเทียม การส่ือสารเครือขาย การสํารวจ และรับรูจ ากระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร สารสนเทศศาสตร นิเทศศาสตร บรรณารกั ษ ศาสตร เทคนิคพิพธิ ภณั ฑแ ละภณั ฑาคาร และอืน่ ๆ ท่เี กีย่ วขอ ง 12. สาขาการศึกษา ประกอบดวยกลุมวิชา พื้นฐานการศึกษา หลักสูตรและการ สอนการวัดและประเมินผลการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา บริหารการศึกษา จิตวิทยาและการ แนะแนวการศกึ ษา การศกึ ษานอกโรงเรยี น การศึกษาพเิ ศษ พลศึกษา และอน่ื ๆ ท่เี กย่ี วขอ ง สาขาวชิ าการวิจัยทเ่ี กีย่ วขอ งกับการวิจัยอาชวี ศกึ ษา สาขาวิชาการที่ไดดําเนินการวิจยั อาชีวศึกษา อาจสามารถจําแนกออกเปนสาขาวิชา การทีเ่ ก่ยี วขอ ง ไดด งั ตอไปนี้ 1. สาขาวิทยาศาสตรกายภาพและคณิตศาสตร ประกอบดวยการวิจัยที่เก่ียวของกับ พัฒนาคมู ือการสอนในสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เปน ตน 19
2. สาขาวิทยาศาสตรเคมี ประกอบดวยการวิจัยทางดานปโตรเลียม ปโตรเคมี และ เคมีสิ่งแวดลอ ม เปน ตน 3. สาขาเกษตรศาสตร ประกอบดวยการวิจัยทางดานสาขาพืชศาสตร สัตวศาสตร การปองกันกําจัดศัตรูพืช การประมง ทรัพยากรดิน วิศวกรรมและเครื่องจักรกลการเกษตร สิง่ แวดลอ มทางการเกษตร 4. สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมการวิจัย ประกอบดวยการวิจัย ทางดานเทคโนโลยีพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร วิศวกรรมอุตสาหกรรมวิจัย และการผลิต คิดคนสิง่ ประดษิ ฐ เปน ตน 5. สาขาปรัชญา ประกอบดวยการวจิ ัยทางดานวฒั นธรรม ภาษา วรรณคดีทอ งถนิ่ 6. สาขาเศรษฐศาสตร ประกอบดวยการวิจัยทางดานการพัฒนากําลังคนดาน อาชีวศึกษา ความตอ งการกําลังคนดานการอาชวี ศกึ ษา และแนวโนมการผลิตกําลงั คน เปน ตน 7. สาขาสังคมวิทยา ประกอบดวยการวิจัยสังคมวิทยา ประชากรศาสตร ปญหา สงั คม พัฒนาสงั คม และภูมิปญ ญาทองถนิ่ เปนตน 8. สาขาการศึกษา ประกอบกวยการวิจัยดานเทคโนโลยีการอาชีวศึกษา การวัดและ ประเมินผลการอาชีวศึกษา บริหารการอาชีวศึกษา หลักสูตรและการสอนอาชีวศึกษา พ้ืนฐาน การอาชีวศกึ ษา และการอาชีวศึกษาเพื่อคนพิการ เปนตน การบริหารจัดการการวิจัยอาชีวศึกษา (TVET Research Management) หมายถึง การจัดการงานวิจัยอาชีวศกึ ษาใหบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคที่กําหนดไวอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการอาชีวศึกษา เชน การพัฒนาขอเสนอการวิจัย การติดตาม ประเมนิ ผลการประชุมสัมมนาหรอื ฝกอบรมท่ีเกย่ี วกับการวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศการ วิจยั การเผยแพรผ ลงานวิจยั และกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกีย่ วขอ ง รวมถงึ การสงเสรมิ การนาํ องคค วามรู เทคโนโลยี นวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ ไปใชพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ และการเรียนการ สอน และสามารถนําไปสูในการพัฒนาเชิงพาณิชย ตลอดจนการพัฒนาระบบบริหารจัดการ เครอื ขายงานวิจยั และการจัดการความรูงานวจิ ยั อาชวี ศกึ ษาท้ังในประเทศ และระดบั นานาชาติ ขอเสนอการวิจัยอาชีวศึกษา (Vocational Education Research Proposal) หมายถึง เคาโครงสาระสําคัญขององคประกอบตาง ๆ ของการวิจัย ซ่ึงโดยทั่วไปจัดทําข้ึนใน 20
ระดับโครงการวิจัย (Research Project) หรือแผนงานวิจัย หรือชุดโครงการวิจัย (Research Program) เพ่ือขอทําวิจัยตามความมุงหมาย ระเบียบและขอกําหนดของสํานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา โครงการวิจัยอาชีวศึกษา (Vocational Education Research Project) หมายถึง เคาโครงสาระสําคัญในการศึกษาคนควา วิเคราะหหรือทดลองอยางมีระบบท่ีแนนอน โดยมีรายละเอียดหัวขอในการดําเนินงาน เชน ช่ือเร่ือง ความสําคัญของปญหา วัตถุประสงค ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ระเบียบวิธีการวิจัย งบประมาณคาใชจาย ระยะเวลาดําเนินงาน หนว ยงานทร่ี ับผดิ ชอบในสงั กดั สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เปน ตน แผนงานวิจัยอาชีวศึกษา (Vocational Education Research Program) หมายถึง การวิจัยขนาดใหญ ท่ีมีความเชื่อมโยงกันหลายแผนงานวิจัยยอย (Research Sub- programs) หรือหลายโครงการวิจัย (Research Projects)ท่ีสอดคลอง สัมพันธ สนับสนุนกัน เปนสหสาขาวิชาการหรือครบวงจร นําไปสูเปาหมายและวัตถุประสงคของการวิจัยรวมกันเปน หน่ึงเดียว โดยมีหนวยงานรวมดําเนินการหลายหนวยงาน เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการ พัฒนาการอาชวี ศกึ ษาในระดับประเทศ นั ก วิ จั ย อ า ชี ว ศึ ก ษ า (Vocational Education Researcher) หมายถึง ขาราชการพลเรือน ครูและบุคลากรทางการอาชีวศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ผูซึ่งขอรบั ทําวิจัยโดยการไดรับการสนับสนุนงบประมาณการวิจัยจากสถานศึกษา/ สํานัก/สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา การประเมินผลการวิจัยอาชวี ศึกษา (Vocational Education Research Evaluation) หมายถึง กระบวนการที่ผูวิจัยใชในการประเมินการปฏิบัติงานวิจัยอาชีวศึกษา เพื่อทาํ ใหทราบวา ผลงานวิจัยไดผลดมี ากนอ ยเพยี งใด เปนการบอกแนวทางวา “จะวัดความสําเร็จ ไดดวยวิธีใด” จะใชวิธีการอยางไรจึงจะเหมาะสม ซึ่งผลการประเมินสามารถนํามาพิจารณา ประกอบการดาํ เนินการหรอื เตรียมโครงกาวจิ ยั ใหมีคุณภาพและมาตรฐาน 21
1ตอนท่ี การบริหารจดั การงานวจิ ัยอาชวี ศึกษา 22
การบรหิ ารจัดการงานวจิ ัยอาชวี ศึกษา สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาประสิทธภิ าพ และประสิทธิผลการจัดการศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพไดอยางยั่งยืน โดยมีเทคนิคกลยุทธและ มาตรการในการดําเนินงานท่ีสําคญั คือความสามารถในการบูรณาการกระบวนการวิจัยในการ บริหารจัดการโครงการวิจัยอาชีวศึกษา ดังน้ันภายใตการบริหารจัดการอาชีวศึกษาจึงได กําหนดใหมีสํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาขึ้น เพ่ือทําหนาที่สงเสริมและสนับสนุนหนวยงานระดับสํานักและสถานศึกษาใน สังกัด ใหมีความรูความเขาใจสามารถดําเนินการวิจัยและพัฒนาอยางบูรณาการในสวนที่ เก่ียวของกับการจัดการอาชีวศึกษา โดยมุงเนนพัฒนาคุณภาพของผูเรียนอาชีวศึกษาทั้งทาง ทักษะทางดานวิชาการ (Academic Skills) และทักษะทางดานการทํางาน (Employability Skills) ตลอดจนการพฒั นาการสรางเครือขา ยการวจิ ัยอาชีวศกึ ษาทงั้ ในและตา งประเทศ สํานกั วจิ ัยและพฒั นาการอาชีวศึกษา ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และ กฎกระทรวงการแบง สว นราชการของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มผี ลบังคบั ใชทํา ใหกรมอาชีวศึกษาเปลี่ยนแปลงเปน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา พรอมทั้งแบงสวน ราชการและหนวยงานภายในเปล่ียนแปลงเปนสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ 4/2546 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2546 และภายใตการปฏิรูประบบราชการ สํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดมีการปรับโครงสรางภายใน สํานักวิจัยและพัฒนาการ อาชวี ศึกษาจงึ ไดมกี ารปรับภารกิจ บทบาท และภาระหนา ที่ ดงั น้ี 23
บทบาทและภาระหนา ที่ มอี ํานาจหนา ที่ ดงั ตอไปนี้ 1. วิจัยและพัฒนาองคความรูดานตางๆ ท่ีเก่ียวกับการอาชีวศึกษาเพ่ือ ประกอบการเสนอแนะแนวนโยบาย แผนงาน โครงการ ความตองการกาํ ลงั คนดา นอาชีวศึกษา และฝกอบรมวชิ าชีพ 2. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเรียนการสอนและการบริหารจัดการการอาชีวศึกษา ของสถานศกึ ษา 3. สงเสริม ผลิต พัฒนาและเผยแพรนวัตกรรมส่ิงประดิษฐทางการอาชีวศึกษาและ วชิ าชพี เพื่อพฒั นาเทคโนโลยีการอาชีวศกึ ษาและคุณภาพของนกั เรยี นนกั ศกึ ษา 4. รวบรวมการศกึ ษา วเิ คราะห สงั เคราะห จัดทําสารสนเทศงานวิจัยอาชวี ศึกษา 5. ปฏิบัติงานรวมกบั หรือสนบั สนุนการปฏิบตั ิงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวขอ งหรือ ไดรบั มอบหมาย แบงงานภายในออกเปน 5 กลุม ประกอบดว ย - กลุมบริหารงานทั่วไป - กลุมวิจยั นโยบายและยุทธศาสตร - กลมุ วิจยั การจัดการอาชวี ศึกษา - กลมุ วิจยั และพฒั นานวตั กรรมอาชีวศกึ ษา - กลุม เผยแพรแ ละสงเสริมสทิ ธปิ ระโยชน มหี นา ท่ีและความรบั ผดิ ชอบดังน้ี 1. กลมุ บรหิ ารงานทว่ั ไป มีหนา ที่และความรบั ผิดชอบ 1.1 ดําเนินการและประสานงานเกี่ยวกับงานบริหารหรือจัดการทั่วไป สารบรรณ ธุรการ การเงินและงบประมาณ พัสดุ ครุภัณฑ ยานพาหนะ พิมพเอกสารราชการ และวชิ าการ 1.2 ดําเนนิ การและประสานงานเก่ียวกับงานบคุ ลากร ประชาสัมพนั ธ และเผยแพร ฝกอบรมและพฒั นางาน สถิตขิ อมลู และระบบเครือขายสารสนเทศการวิจยั 24
1.3 วิเคราะห รวบรวม ติดตาม รายงานผลการดําเนินงานและหรือปฏิบัติงาน ตามแผนงาน โครงการ กิจกรรมและงบประมาณในภาพรวมของสํานัก หนวยงานที่ไมอยูใน ความรับผดิ ชอบของกลมุ กลมุ งานใดเปนการเฉพาะ 1.4 ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ๆ ที่เก่ยี วของหรือได รับมอบหมาย 2. กลมุ วจิ ยั นโยบายและยทุ ธศาสตร มหี นา ทแี่ ละความรบั ผิดชอบ 2.1 วิเคราะห วิจัย สังเคราะหองคความรูตางๆ และสงเสริมสนับสนุนการวิจัย ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมแนวทางการจัดอาชีวศึกษา ทั้งในและตางประเทศโดยมุงเนนตนแบบและรูปแบบที่เหมาะสมหรือประสบผลสําเร็จ เพ่ือเปน ขอมูลและแนวทางในการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรในการพัฒนาการอาชีวศึกษา การ วางแผนการผลติ กาํ ลงั คนตามความตอ งการของตลาดแรงงาน 2.2 จัด รวบรวม องคความรูที่ตรงหรือเก่ียวกับงานในหนาท่ีความรับผิดชอบ เพื่อจัดทาํ เปนคูม ือ แนวทางหรือสอ่ื ประเภทอน่ื ๆ ในการใหบรกิ ารและเผยแพรสสู าธารณะ 2.3 เสริมสรางความเขมแข็ง ขยาย และพัฒนาเครือขายวิจัยนโยบายและ ยุทธศาสตรก ารอาชีวศกึ ษา 2.4 ใหคําปรึกษา แนะนํา ชแี้ จงเกย่ี วกบั งานในหนาทค่ี วามรบั ผิดชอบ 2.5 ปฏบิ ตั ิงานอน่ื ๆ ท่เี กย่ี วของหรอื ไดร ับมอบหมาย 3. กลมุ วจิ ยั การจัดการอาชีวศกึ ษา มีหนา ทีแ่ ละความรับผิดชอบ 3.1 วิเคราะห วิจัย สังเคราะห องคความรูตางๆและสงเสริมสนับสนุน การวิจัย เพื่อกําหนดรูปแบบ แนวทาง องคความรูใหมเก่ียวกับการบริหาร การจัดการเรียนการสอน อาชีวศกึ ษา การจัดการคาใชจ าย ดชั นชี ีว้ ดั การจดั ทรัพยากร ส่ือ การพัฒนาความรว มมอื การตลาด การวิจัยอยางงาย วิจัยในช้ันเรียน การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ คุณวุฒิวิชาชีพ เสนทางอาชีพ และการพฒั นากาํ ลังคนอาชีวศกึ ษา 3.2 จัด รวบรวม องคความรูที่ตรงหรือเก่ียวกับงานในหนาท่ีความรับผิดชอบ เพอื่ จัดทาํ เปน คมู อื แนวทางหรือสอ่ื ประเภทอนื่ ๆ ในการใหบริการและเผยแพรสสู าธารณะ 3.3 เสริมสรางความเขมแข็ง ขยายและพัฒนาเครือขายวิจัยการจัดการ อาชวี ศึกษา 25
3.4 ใหคาํ ปรึกษา แนะนําชแี้ จงเกยี่ วกับงานในหนา ท่คี วามรบั ผดิ ชอบ 3.5 ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วของหรอื ไดรับมอบหมาย 4. กลุมวจิ ยั และพัฒนานวตั กรรมอาชวี ศกึ ษา มหี นาที่และความรับผดิ ชอบ 4.1 ศึกษา วเิ คราะห วจิ ยั และสงเสรมิ พฒั นาสงิ่ ประดษิ ฐ นวัตกรรม หนุ ยนต อาชวี ศึกษา ทงั้ ตอยอดและตนแบบ เพือ่ เสรมิ สรา ง และพฒั นาขดี ความสามารถและศักยภาพ ของครู ผูสอน ผเู รียน และผสู ําเรจ็ การอาชวี ศกึ ษา 4.2 จัด รวบรวม องคความรทู ต่ี รงหรือเกยี่ วกับงานในหนา ทีค่ วามรับผิดชอบ เพอ่ื จดั ทาํ เปน คูมอื แนวทางหรือสอ่ื ประเภทอื่น ๆ ในการใหบ รกิ ารและเผยแพรสสู าธารณะ 4.3 ใหค ําปรกึ ษา แนะนาํ ชี้แจงเก่ยี วกับงานในหนา ท่คี วามรบั ผิดชอบ 4.4 ปฏิบัติงานอนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งหรือไดรับมอบหมาย 5. กลุม งานเผยแพรและสงเสริมสทิ ธปิ ระโยชน มหี นา ทแ่ี ละความรับผิดชอบ 5.1 ศึกษาวิเคราะหวิจัยสงเสริม ดําเนินการและประสานงานดานโครงงาน วิทยาศาสตร การคุมครองทรัพยสินทางปญญา และการจัดการเชิงพาณิชย ธุรกิจ การตลาด นาํ ไปสกู ารผลติ เพ่ือจําหนา ย การพัฒนาทักษะนกั ศกึ ษาใหเ ปน ผูป ระกอบการ 5.2 จัดทําสารสนเทศทางวิชาชีพและขอมูลสิ่งประดิษฐอาชีวศึกษา พรอมท้ัง จัดรวบรวม องคความรูที่ตรงหรือเก่ียวกับงานในหนาที่ความรับผิดชอบ เพ่ือจัดทําเปนคูมือ แนวทางหรือส่ือประเภทอื่น ๆ ในการใหบ รกิ ารและเผยแพรส สู าธารณะ 5.3 ใหคําปรึกษา แนะนํา ชแ้ี จงเกี่ยวกบั งานในหนาที่ความรับผดิ ชอบ 5.4 ปฏิบตั ิงานอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ียวของหรือไดร บั มอบหมาย 26
ภาพที่ 7 กรอบการเชื่อมโยงการบรหิ ารจดั การงานวิจยั ของสาํ นกั วจิ ยั และ พัฒนาการอาชวี ศึกษา กบั หนวยงานอน่ื 27
วิสยั ทัศนก ารวจิ ัยและนวตั กรรม องคค วามรูก ารอาชีวศึกษา สอศ.จะเปน องคก รหลกั การบูรณาการและสรางองคความรู การวิจยั และนวัตกรรมวิชาชพี เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพการผลติ และพฒั นากาํ ลงั คน ใหส อดคลองกบั เปา หมายการพฒั นาประเทศไทย ภายใตปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พนั ธกิจ 1. พฒั นาศักยภาพและขีดความสามารถดา นการวิจยั และพฒั นาของ บุคลากรนกั วจิ ยั อาชวี ศกึ ษา 2. สง เสริมและสนบั สนนุ การวิจัยและนวัตกรรมองคค วามรูวชิ าชพี เพอื่ การพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา 3. พฒั นาการจัดการองคค วามรูการวจิ ยั อาชวี ศึกษา เชื่อมโยง อตุ สาหกรรม สังคมและภมู ปิ ญ ญาทองถนิ่ 4. สง เสรมิ สทิ ธปิ ระโยชนและคุมครองทรพั ยสินทางปญญาการ อาชีวศึกษา 5. พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการเครือขา ยนวัตกรรมองคค วามรวู ชิ าชพี ยทุ ธศาสตร ยทุ ธศาสตรท ี่ 1: การสรา งและพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรนกั วิจัยอาชีวศกึ ษา มงุ เนน สาขาวชิ า เพ่ือการพฒั นานวตั กรรมวชิ าชพี ยทุ ธศาสตรท่ี 2: การสง เสริมการวจิ ยั แบบบูรณาการ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นอาชีวศึกษา มงุ เนน กระบวนการพฒั นาการคิดคดิ สรางสรรคและเปนระบบ ยทุ ธศาสตรท่ี 3: การวิจยั และพัฒนาตามเปา หมายหลักของอตุ สาหกรรม ตามโมเดล Thailand 4.0 เพ่อื สรางความเขมแข็งทางเศรษฐกจิ และแขง ขันไดอ ยางย่งั ยืน 28
ยุทธศาสตรท ่ี 4: การสง เสริมการมีสว นรว มการวจิ ยั ของทกุ ภาคสว นเพอ่ื การพัฒนาสังคม สง่ิ แวดลอ มและภูมิปญญาทอ งถนิ่ ยทุ ธศาสตรท ่ี 5: การสง เสริมและการใชประโยชนเ ชงิ พาณิชยดา นวจิ ัยและพฒั นา อาชวี ศึกษาเพอื่ ความมน่ั คง ยทุ ธศาสตรท ี่ 6: การพฒั นาระบบการบริหารจดั การและเครอื ขา ยการวิจัย อาชีวศึกษาทง้ั ในและตางประเทศเพ่ือการพฒั นาทางวทิ ยาการ การเชอื่ มโยงยทุ ธศาสตรก ารวจิ ยั และนวตั กรรมองคความรกู ารอาชวี ศกึ ษา กับนโยบายและยุทธศาสตรก ารวิจัยของประเทศ ยุทธศาสตร ยทุ ธศาสตรก าร แผนการศึกษา (ราง) (ราง) ชาตริ ะยะ 20 พัฒนาประเทศตาม แหง ชาติ ยทุ ธศาสตรก าร ยทุ ธศาสตรการวจิ ยั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ (พ.ศ. 2560- วิจัยและนวัตกรรม และนวตั กรรมองค ป และสังคมแหงชาติ 2574) 3/ แหงชาติ 4/ ความรูก ารอาชวี ศึกษา (พ.ศ. 2560 – ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. (พ.ศ. 2560-2564) 2560-2564)2/ 3. การพัฒนา 1. การวจิ ยั และ 2579) 1/ 1.การเสรมิ สรางและ ศักยภาพคนทุกชวง นวตั กรรม เพอื่ สรา ง 1. การสรางและพัฒนา 3. ยทุ ธศาสตร พฒั นาศักยภาพทนุ วัยและการสรา ง ความม่งั คง่ั ทาง ศกั ยภาพบุคลากร นกั วจิ ัย ดา นการพฒั นา มนุษย สงั คมแหง การเรียนรู เศรษฐกิจ อาชีวศกึ ษามุงเนน สาขาวิชา และเสรมิ สราง เพ่ือการพัฒนานวัตกรรม กําลงั คน 2. การสรา งความเปน 4. การสรา งโอกาส วชิ าชพี ธรรมลดความเหล่ือม ความเสมอภาคและ 4. ยุทธศาสตร ล้ําทางสังคม ความเทาเทยี มทาง 2. การสง เสริมการวจิ ัยแบบ ดานการสราง การศกึ ษา บรู ณาการ เพ่อื พัฒนา โอกาสความ 3.การสรา งความ คุณภาพผูเรยี นอาชวี ศึกษา เสมอภาคและ เขม แข็งทางเศรษฐกิจ 2. การผลิตและ มงุ เนนกระบวนการพัฒนา ความเทาเทยี ม และแชงขนั ไดอยา ง พฒั นากาํ ลงั คน การ การคดิ คดิ สรางสรรคและเปน กนั ในสงั คม ย่งั ยนื วิจัยและนวตั กรรม ระบบ 2. ยทุ ธศาสตร เพอื่ สรา งขีด ดาน ความสามารถในการ 3. การวิจัยและพัฒนาตาม ความสามารถ แขง ขนั ของประเทศ เปา หมายหลกั ของ ในการแขง ขัน อุตสาหกรรม ตามโมเดล Thailand 4.0 เพอ่ื สราง ความเขม แขง็ ทางแศรษฐกจิ และแขง ขนั ไดอยา งยง่ั ยืน 29
5. ยุทธศาสตร 4.การเตบิ โตที่เปน มิตร 5. การจดั การศกึ ษา 2. การวจิ ัยและ 4. การสง เสรมิ การมี ดานการสราง กบั สิง่ แวดลอมเพ่อื การ เพ่ือสรางเสริม นวัตกรรม เพ่อื การ สวนรวมการวจิ ัยของทุก ความเติบโตบน พัฒนาท่ียั่งยืน คุณภาพชีวติ ทีเ่ ปน พัฒนาสังคมและ ภาคสว น เพอื่ การพฒั นา คุณภาพชวี ิตท่ี มิตรกบั ส่งิ แวดลอ ม ส่งิ แวดลอ ม สงั คม สิง่ แวดลอมและภมู ิ เปน มติ รตอ 5. ความมน่ั คง ปญ ญาทอ งถน่ิ ส่ิงแวดลอ ม 1. การจดั การศกึ ษา 3. การวจิ ยั และ เพ่ือความม่ันคงและ นวตั กรรม เพอ่ื การ 5. การสง เสริมและการใช 1. ยทุ ธศาสตร ประเทศชาติ สรา งองคค วามรู ประโยชนเ ชงิ พาณิชยดาน ดา นความ พื้นฐานของประเทศ วจิ ัยและนวัตกรรม มั่นคง อาชวี ศึกษา เพ่ือความ มน่ั คง 6. ยุทธศาสตร 6. การเพิ่มประสิทธภิ าพ 6. การพัฒนา 4. การพัฒนา 6. การพฒั นาระบบการ โครงสรา งพ้นื ฐาน บริหาร จดั การและเครอื ขา ย ดานการปรับ การบริหารจดั การใน ประสิทธภิ าพของ บุคลากร และระบบ การวิจยั อาชวี ศึกษาทง้ั ใน วจิ ัยและนวัตกรรม และตา งประเทศเพื่อการ สมดุลและพฒั นา ภาครัฐและธรรมาภบิ าล ระบบการบรหิ ารจัด ของประเทศ พฒั นาทางวิทยาการ ระบบการบรหิ าร ในสงั คมไทย การศกึ ษา จัดการภาครัฐ 7. การพัฒนา โครงสรางพ้ืนฐานและ ระบบโลจสิ ติกส 8. วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยและ นวัตกรรม 9. การพัฒนาภูมิภาค เมอื ง และพ้ืนท่เี ศรษฐกิจ 10. ความรว มมอื ระหวา งประเทศ เพื่อการ พัฒนา 1/ ยทุ ธศาสตรชาตริ ะยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) 2/ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2560-2564) 3/ แผนการศกึ ษาแหงชาติ (พ.ศ. 2560-2574) 4/ (ราง) ยุทธศาสตรการวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) 30
31
32
เสน ทางการจดั ทาํ ขอเสนอ/โครงการวิจยั อาชีวศกึ ษา (Road Map for Research Project/Program for TVET) การบริหารจัดการงานวิจัยอาชีวศึกษา สามารถกําหนดแนวทางการบริหารจัดการ โดยกําหนดเปนภาพของเสนทางการจัดทําขอเสนอโครงการวิจัยเพ่ือขอรับการสนับสนุน งบประมาณหมวดเงินอุดหนุนท่ัวไป ภายใตงบประมาณของสํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษา ดังภาพที่ 9 กลาวคือ กลมุ วิจยั นโยบายและยทุ ธศาสตร มงุ เนนการดาํ เนินการ ดงั น้ี 1. พัฒนาศักยภาพนักวิจัยและสรางองคความรู เพื่อสนับสนุนใหผูสนใจจัดทําขอเสนอ การวิจัยอาชีวศึกษา โดยอาจเปนโครงการวิจัยเด่ียว (ว1 ด) หรือชุดโครงการวิจัย ( ว1 ช) จากนนั้ ผวู ิจยั เสนอผานผูบ รหิ ารสถานศึกษาตามลําดบั สงสํานกั วิจยั และพฒั นาการอาชีวศึกษา พิจารณาตรวจสอบคุณภาพขอเสนอการวิจัยอาชีวศึกษา โดยคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิใน ระดับสํานกั งานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา และรวบรวมเสนอเพอ่ื พจิ ารณาอนุมัติจากเลขาธกิ าร คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 2. เสนอขอมูลตอสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ โดยผานระบบทาง อินเทอรเน็ต ภายใตการบริหารจัดการของหัวหนาผูประสานงานและผูประสานงานของกลุม วจิ ัยนโยบายและยุทธศาสตร สาํ นักวิจยั และพฒั นาการอาชวี ศึกษา 3. สํานักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหง ชาติพิจารณาตรวจสอบคุณภาพขอเสนอการวิจัย ตามหลกั ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ตามประเภทและสาขาการวิจยั 4. สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษาประสานงานสํานักงบประมาณ เพ่ือพิจารณา ของบประมาณการวิจยั ในการผลักดนั และสนับสนุนการเสนอของบประมาณการวจิ ัยสรา งองค ความรูการวจิ ัยอาชีวศึกษา 5. แจง ผลโครงการวจิ ัยที่ผา นการไดร ับการพจิ ารณาอนุมตั ิตอสถานศึกษา 6. ประสานสํานักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา เพื่อโอนงบประมาณโครงการวิจัย ตอผไู ดรับการพจิ ารณาจัดสรรงบประมาณการวจิ ัย นอกจากน้ี มีความจําเปนตองติดตามผลการดําเนินโครงการวิจัย เพื่อควบคุมคุณภาพ ผลงานวิจัยอาชีวศึกษา รวมถึงการจัดเวทีวิชาการเพื่อเปดโอกาสใหนักวิจัยนําเสนอผลงานวิจัย สูสาธารณะ เพื่อตรวจสอบคุณภาพงานวิจัยอีกระดับหนึ่ง ท้ังนี้ในปจจุบันสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนดนโยบายการสนับสนุนการวิจัย โดยนักวิจัยสามารถสง ขอเสนอการวิจัย เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณการวิจัยอาชีวศึกษาในหมวดงบประมาณ ดําเนนิ การ 33
34
35
ภาระหนาที่การบรหิ ารจดั การในสถานศึกษา/สถาบนั การอาชีวศึกษา การบริหารจัดการวิจยั ในสถานศกึ ษา สามารถแบง ความรับผิดชอบท่ีเกย่ี วของได ดงั นี้ 1. สถานศกึ ษา มหี นาที่ ดังน้ี 1.1 สงเสริมสนับสนนุ และพัฒนาการดาํ เนินการวิจยั อาชีวศึกษาใหแกขา ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา 1.2 จัดทําแผนงบประมาณประจาํ ปใหครอบคลมุ กับภาระงานวจิ ยั อาชีวศึกษา 1.3 นาํ เสนอแผนงานวิจัยอาชวี ศึกษาตอ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา 1.4 นาํ แผนทไ่ี ดร ับการอนมุ ัตแิ ลว แจงผทู ี่เก่ยี วของเพ่อื ดําเนนิ การ 1.5 ควบคุมกํากับการใชเงินงบประมาณเพ่ือการวิจัยอาชีวศึกษาใหเปนไปตาม แผนงบประมาณเพอ่ื การพัฒนาการวจิ ยั 1.6 กาํ กบั นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการวิจัยอาชวี ศึกษา 2. นักวจิ ยั อาชีวศกึ ษา มหี นา ท่ี ดงั นี้ 2.1 ศึกษารายละเอียด รูปแบบ วิธีการ และแนวทางการจัดทําขอเสนอ/ โครงการวิจัย 2.2 จัดทําขอเสนอ/โครงการวิจัยใหไดคุณภาพ ตามระเบียบวิธีวิจัยเพ่ือการ พฒั นาการอาชีวศกึ ษา 2.3 เสนอโครงการวิจัยตามขนั้ ตอน และระยะเวลาที่กาํ หนด 2.4 ดําเนินโครงการวิจัยที่ไดรับอนุมัติแลวใหแลวเสร็จตรงตามวัตถุประสงค ของโครงการวิจยั 2.5 เขียนรายงานการวิจยั ฉบบั สมบรู ณตามรูปแบบท่กี ําหนด 2.6 นําเสนอรายงานการวิจัยตอผูบริหารสถานศึกษา และหนวยงานท่ี เก่ยี วขอ ง 2.7 นาํ เสนอ และเผยแพรผลงานวิจัยในระดับสถานศกึ ษา และระดับอื่นๆตาม ความเหมาะสม 36
3. หวั หนางานวจิ ัย มีหนา ท่ี ดงั นี้ 3.1 สงเสริมและประสานงานขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาให ไดร บั ทราบความเคล่อื นไหวการวิจัยและพฒั นาการอาชีวศกึ ษา รวมถึงการเลง็ เหน็ ความสําคญั 3.2 รวบรวมขอเสนอ/โครงการวจิ ัยจากนักวิจยั 3.3 ตรวจสอบเอกสารโครงการวิจยั ใหเ ปน ไปตามระเบยี บและขอ กาํ หนด 3.4 เสนอเอกสารโครงการวจิ ัยตอคณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษาตามลําดับ เพื่อพจิ ารณาการขอรับการสนับสนุนการดาํ เนนิ โครงการวจิ ัย 3.5 สง เสรมิ และประสานงานเพอื่ เผยแพรผ ลงานวิจยั ในรูปแบบตาง ๆ 3.6 จดั ทาํ ระบบฐานขอ มลู งานวิจัยของสถานศึกษาใหเปนหมวดหมูปจจบุ ัน 4. รองผอู าํ นวยการฝายแผนงานและความรว มมือ มีหนา ท่ี ดังนี้ 4.1 กํากับแผนบริหารงานวิจัยประจําปงบประมาณของสถานศึกษา 4.2 รวบรวมและตรวจสอบคุณภาพโครงการวิจัยตามระเบียบวธิ วี จิ ยั 4.3 จําแนกประเภทงานวจิ ัยตามแผนงานและงบประมาณ 4.4 เลขานุการคณะกรรมการพิจารณาการสนับสนุนงบประมาณสถานศึกษา ในการดาํ เนินโครงการวจิ ัย 4.5 ติดตาม ควบคุม ใหคําแนะนําปรึกษาและรายงานผลความกาวหนาการ ดาํ เนนิ โครงการวิจยั 4.6 ตรวจสอบการจัดทํารายงานผลการวิจัย 4.7 สงเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธเก่ียวกับการพัฒนาการดําเนิน โครงการวจิ ัยอาชวี ศึกษาในสถานศกึ ษา 5. ผูบริหารสถานศกึ ษา มีหนาที่ ดงั น้ี 5.1 อนุมัติโครงการวิจัยอาชีวศึกษาท่ีไดรับการสนับสนุนการดําเนินโครงการ จากงบประมาณของสถานศกึ ษา 5.2 กรณีโครงการวิจัยที่ใชแหลงทุนวิจัยจากภายนอกสถานศึกษาใหพิจารณา ดําเนนิ การตามขน้ั ตอนและเปน ไปตามระเบียบของแหลงทุนวจิ ยั 37
ประโยชน 5.3 สนับสนนุ ภาระงานทเี่ กีย่ วของกับการวจิ ยั อาชวี ศกึ ษา 5.4 แสวงหาความรว มมอื และแหลง สนับสนนุ การวิจัย 5.5 สงเสริมและสนับสนุนใหมีเวทีนําเสนอผลงานวิจัยอาชีวศึกษาสูการใช 5.6 สรา งแรงจงู ใจ ใหขวัญและกําลังใจแกน กั วจิ ัย 38
2ตอนท่ี การจัดทําขอเสนอการวจิ ัยอาชีวศกึ ษา 39
การจดั ทาํ ขอเสนอ/โครงการวจิ ัยอาชวี ศกึ ษา สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา ไดรับมอบหมายใหเปนผูประสานงานและ สนับสนุนการดําเนินโครงการวิจัยในหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซ่ึงการดําเนินการข้ันตอนการพิจารณาจัดสรรงบประมาณการ วิจัยใหแกหนวยงานในสังกัด จําเปนที่จะตองดําเนินการพิจารณาและรวบรวมขอเสนอ/ โครงการวิจัยตอผูบริหารระดับสูงของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และสงตอไปยัง สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติเพ่ือพิจารณาและตรวจสอบขอเสนอ/โครงการวิจัยให เปนไปอยางมีคุณภาพไดมาตรฐานการวิจัยระดับสากล ดังน้ัน รูปแบบการจัดทําขอเสนอ/ โครงการวิจัยอาชีวศึกษา จึงใชแบบฟอรมขอเสนอ/โครงการวิจัยตามรูปแบบของสํานักงาน คณะกรรมการวิจยั แหงชาติ ดงั รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก องคประกอบของการจัดทําขอเสนอ/โครงการวิจัย เพื่อขอรับการสนับสนุน งบประมาณการดาํ เนนิ โครงการวจิ ยั ประจาํ ป ตามมติคณะรัฐมนตี ประกอบดวย • รายละเอยี ดวธิ ีการทาํ งานของแตล ะขน้ั ตอนยอย • เอกสาร/ระเบียบ ทใ่ี ชป ระกอบการดาํ เนินการ • แบบฟอรม • ผูรบั ผดิ ชอบ รายละเอยี ดวิธีการทาํ งานของแตล ะขนั้ ตอนยอ ย มีข้ันตอนดงั ตอ ไปนี้ • จดั ทําขอเสนอ/โครงการวจิ ยั • ดําเนนิ โครงการวจิ ยั • รายงานความกา วหนาของการดําเนินโครงการวิจยั • จัดทํารายงานผลการวจิ ยั การจัดทําขอเสนอ/โครงการวิจัย ผูวิจัยจะตองเสนอโครงการวิจัยตาม แบบฟอรมทีก่ ําหนดดงั ตอ ไปนี้ 40
ผูว ิจัยจะทําการวิจัย จะตองมีการวางแผนงานเกยี่ วกับเรื่องที่จะทําการวิจัยไวลวงหนา การเขียนขอเสนอ/โครงการวิจัย นอกจากจะทําใหผ วู ิจยั ทราบข้ันตอนและรายละเอียดในแตละ ข้ันตอนของการทําวิจัยแลว ยังใชเปนเครื่องมือในการพิจารณาขออนุมัติทุนวิจัย หรือขอทุน สําหรับทําวิจัยอีกดวย เพ่ือใหผูพิจารณาอนุมัติเชื่อวา การวิจัยที่จะทํานั้นมีระเบียบวิธีการวิจัยที่ ดี มีความเปนไปไดในการดําเนินโครงการวิจัยใหสําเร็จ และเกิดประโยชนสามารถนําไป ป ร ะ ยุ ก ต ใ ช ไ ด ซ่ึ ง ส ม ค ว ร ไ ด รั บ ก า ร อ นุ มั ติ ใ ห ทํ า ก า ร วิ จั ย ไ ด ( www. E- learning.vec.go.th/elearning/ .../reseachProposalWriting.doc) องคป ระกอบของโครงการวจิ ยั โครงการวิจยั ควรมอี งคป ระกอบสาํ คัญดงั นี้ 1. ชือ่ เรอื่ ง 2. ความสําคญั และท่มี าของปญหาการวจิ ัย 3. วัตถุประสงคของการวจิ ยั 4. คําถามของการวจิ ยั 5. ทฤษฎีและงานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วขอ ง 6. สมมติฐาน* และกรอบแนวความคดิ ในการวจิ ัย* 7. ขอบเขตของการวิจัย 8. การใหคาํ นยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตทิ ี่จะใชใ นการวจิ ัย* 9. ประโยชนท คี่ าดวาจะไดรับจากการวิจยั 10. ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย 11. ระยะเวลาในการดําเนนิ งาน 12. งบประมาณคาใชจ า ยในการวจิ ัย 13. บรรณานกุ รม 14. ภาคผนวก* 15. ประวัติของผดู าํ เนินการวจิ ยั * ไมจ ําเปน ตอ งมที กุ โครงการ 41
รายละเอียดขององคป ระกอบขอเสนอ/โครงการวิจัย 1.ชือ่ เร่อื ง (Title) ชือ่ เรอ่ื งควรมคี วามหมายสนั้ กะทัดรัดและชัดเจน เพอ่ื ระบุถงึ เร่ืองท่ีจะทําการศึกษา วจิ ยั วา ทาํ อะไร กบั ใคร ท่ไี หน อยา งไร เมอื่ ใด หรือตองการผลอะไร ในกรณที จ่ี าํ เปน ตองใชชอ่ื ที่ ยาวมากๆ อาจแบงชื่อเรอ่ื งออกเปน 2 ตอน โดยใหช อ่ื ในตอนแรกมนี าํ้ หนกั ความสาํ คญั มากกวา และตอนที่สองเปนเพียงสวนประกอบหรอื สว นขยาย นอกจากนี้ ควรคํานึงดวยวาชื่อเร่ืองกับเนื้อหาของเร่ืองท่ีตองการศึกษาควรมี ความสอดคลองกันการเลือกเร่ืองในการทําวิจัยเปนจุดเริ่มตนที่สําคัญ ที่ตองพิจารณา รายละเอียดตางๆ หลายประเด็น โดยเฉพาะประโยชนที่จะไดรับจากผลของการวิจัย ในการ เลือกหัวเร่ืองของการวิจัย ขอ ควรพิจารณา 4 หัวขอ คือ 1.1 ความสนใจของผูวิจัย ควรเลือกเรื่องที่ตนเองสนใจ มีความเชี่ยวชาญ ในเรอ่ื งนั้น และควรเปนเรื่องทไ่ี มย ากจนเกินไปในกรณีท่เี ปนนักวิจัยมือใหม 1.2 ความสําคัญของเรื่องท่ีจะทําวิจัย ควรเลือกเร่ืองที่มีความสําคัญ และ นําไปใชปฏิบัติหรือสรางแนวความคิดใหมๆ ได โดยเฉพาะเกี่ยวกับงานดานการแกปญหา การ ปรับปรุงและพฒั นาการอาชวี ศึกษา 1.3 ผลกระทบท่ีเกิดข้ึน ควรเปนเร่ืองท่ีสามารถทําวิจัยไดเร่ืองที่เลือกตอง อยูในวิสัยที่จะทําวิจัยได โดยไมมีผลกระทบอันเนื่องจากขอจํากัดอันสงผลตอการดําเนิน โครงการวิจัย เชน ดานจริยธรรม งบประมาณการดําเนินโครงการวิจัย ตัวแปรหรือปจจัยท่ี เกี่ยวของ การเก็บรวบรวมขอมูล ระยะเวลาและการบริหาร การเมือง หรือความสามารถของ ผูวจิ ัย เปน ตน 1.4 ควรเปนเร่ืองที่ไมซํ้าซอนกับงานวิจัยท่ีทํามาแลว ซึ่งอาจมีความ ซา้ํ ซอ นในประเด็นตางๆ ซ่งึ ตองพิจารณาเพื่อหลกี เลี่ยง ไดแ ก ชื่อเรือ่ ง ความสําคัญของปญหาที่ ทําการวิจัย สถานท่ีท่ีทําการวิจัย ระยะเวลาที่ทําการวิจัย วิธีการ หรือ ระเบียบวิธีของการวิจัย เปน ตน 42
2. ความเปนมาและความสาํ คญั ของปญหา (Background and Rationale) ในสวนนอ้ี าจเรยี กตางๆกนั เชน หลกั การและเหตุผล ภมู ิหลังของปญหา ความ จําเปนท่ีจะทําการวิจัย หรือ ความสําคัญของโครงการวิจัย ฯลฯ ไมวาจะเรียกอยางไร ตองระบุ วาปญหาการวิจัยคืออะไร มีความเปนมาหรือภูมิหลังอยางไร มีความสําคัญ รวมทั้งความ จําเปน คุณคา และประโยชน ท่ีจะไดจากผลการวิจัยในเรื่องนี้ โดยผูวิจัยควรเริ่มจากการเขียน ปูพื้นโดยมองปญหาและวิเคราะหปญหาอยางกวางๆ กอนวาสภาพทั่วๆไปของปญหาเปน อยางไร และภายในสภาพท่ีกลาวถึง มีปญหาอะไรเกิดข้ึนบาง ประเด็นปญหาท่ีผูวิจัยหยิบยก มาศึกษาคืออะไร ระบุวามีการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาแลวหรือยัง ท่ีใดบาง และการศึกษาท่ี เสนอนจ้ี ะชวยเพ่ิมคุณคา ตองานดานน้ี ไดอยางไร ซงึ่ ควรเขียนเปน ภาพกวางลงมาสูมุมมองใน พ้นื ท่เี ปา หมายท่ีตองการศึกษา 3. วัตถปุ ระสงคของการวิจัย (Objectives) เปนการกําหนดวาตองการศึกษาในประเด็นใดบาง ในเร่ืองที่จะทําวิจัย ตอง ชัดเจน และเฉพาะเจาะจง ไมคลุมเครือ โดยบงชี้ถึง สิ่งที่จะทํา ท้ังขอบเขต และคําตอบที่คาดวาจะ ไดรับ ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว การต้ังวตั ถปุ ระสงค ตองใหสมเหตสุ มผลกับทรัพยากรทเี่ สนอขอ และเวลาท่จี ะใช จําแนกไดเ ปน 2 ชนิด คือ 3.1 วัตถุประสงคท่ัวไป (General Objective) กลาวถึงสิ่งที่ คาดหวัง (implication) หรือส่ิงที่คาดวาจะเกิดขึ้น จากการวิจัยนี้ เปนการแสดงรายละเอียด เกี่ยวกับ จดุ มงุ หมาย ในระดบั กวา ง จึงควรครอบคลุมงานวจิ ยั ท่จี ะทาํ ทง้ั หมด 3.2 วัตถุประสงคเฉพาะ (Specific Objective) จะพรรณนาถึงสิ่งที่จะ เกิดข้ึนจริง ในงานวิจัยน้ี โดยอธิบายรายละเอียดวา จะทําอะไร โดยใคร ทํามากนอยเพียงใด ที่ ไหน เมื่อไร และเพ่อื อะไร โดยการเรยี งหวั ขอ ควรเรียงตามลาํ ดบั ความสําคญั กอ น หลงั 4. คาํ ถามของการวจิ ัย (Research Question) เปนสิ่งสําคัญท่ีผูวิจัยตองกําหนดข้ึน (Problem Identification) และใหนิยาม ปญหานั้น อยางชัดเจน เพราะปญหาที่ชัดเจน จะชวยใหผูวิจัยกําหนดวัตถุประสงค ต้ังสมมติฐาน ใหนิยามตัวแปรท่ีสําคัญ ๆ ตลอดจน การวัดตัวแปรเหลานั้นได ถาผูวิจัยต้ัง 43
คําถามท่ีไมช ดั เจนจะสะทอนใหเ ห็นวา ตนเองยังไมแนใ จ วาจะศึกษาอะไร ทําใหการวางแผนใน ขั้นตอ ไป สามารถเกิดความสบั สนได คําถามของการวิจัยตองเหมาะสม (relevant) หรือสัมพันธ กับเรื่องท่ีจะศึกษา โดยควรมีคําถามที่สําคัญท่ีสุดซ่ึงผูวิจัยตองการคําตอบมากท่ีสุด เพียงคําถามเดียว เรียกวา คําถามหลัก (Primary Research Question) ซึ่งคําถามหลักนี้จะนํามาใชเปนขอมูลในการ คํานวณขนาดของตัวอยาง(Sample Size) แตผูวิจัยอาจกําหนดใหมีคําถามรอง (Secondary Research Question) อีกจํานวนหนึ่งก็ได ซึ่งคําถามรองน้ีเปนคําถามท่ีเราตองการคําตอบ เชนเดียวกันแตมีความสําคัญรองลงมาโดยผูวิจัย ตองระลึกวาผลของการวิจัย อาจไมสามารถ ตอบคําถามรองนี้ได ท้ังน้ีเพราะ การคํานวณขนาดตัวอยางไมไดคํานวณเพื่อตอบคําถามรอง เหลานี้ 5. ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยท่ีเก่ียวขอ ง (Review of Related Literatures) อาจเรียกวา การทบทวนวรรณกรรม สวนนี้เปนการเขียนถึงสิ่งที่ผูวิจัยไดมา จากการศึกษาคนควาเอกสารตางๆ ทั้งทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของไดแก ทฤษฎี หลักการ ขอเท็จจริงตางๆ แนวความคิดของผูเชี่ยวชาญ ตลอดจนผลงานวิจัยตางๆ ท่ีเก่ียวขอ งกับปญหา ของผูวิจัย รวมท้ังมองเห็นแนวทางในการดําเนินการศึกษารวมไปกับผูวิจัยดวย โดยจัดลําดับ หัวขอหรือเนื้อเร่ืองท่ีเขียนตามตัวแปรที่ศึกษา และในแตละหัวขอเนื้อเรื่องก็จัดเรียงตามลําดับ เวลาดวย เพ่ือใหผูอานไดเห็นพัฒนาการตางๆ ท่ีเกี่ยวกับปญหา นอกจากน้ีผูวิจัยควรจะตองมี การสรุปไวดวย เพื่อใหผูอานไดเห็นความสัมพันธท้ังสวนที่สอดคลองกัน ขัดแยงกัน และสวนที่ ยังไมไดศึกษาท้ังในแงประเด็น เวลา สถานที่ วิธีการศึกษาฯลฯ การเขียนสวนนี้ทําใหเกิด ประโยชนตอการตั้งสมมติฐานดวย หลังจากท่ีผูวิจัยไดเขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรมแลว ควรมีการ ประเมินงานเขียนเรียบเรียงน้ันอีกครั้งหนึ่ง วามีความสมบูรณท้ังเนื้อหา ภาษา และความ ตอ เน่ืองมากนอยแคไ หน โดยสามารถพจิ ารณาแนวทาง ดังตอไปน้ี 5.1 การเช่ือมโยงปญหาที่ศึกษากับปญหาวิจัยที่เก่ียวของ ซ่ึงไดศึกษามา กอ นแลว หรอื ไม 44
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170