Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สอน

สอน

Published by สายชล แหยมมั่น, 2019-03-14 22:42:00

Description: สอน

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี และผลงานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง จากการศกึ ษารวบรวมข้อมลู ท่ีเก่ียวข้องกบั ตวั แปรตา่ งๆ ของการวจิ ยั เรื่อง “ บุคลิกการเป็ นผู้ประกอบการ ภมู คิ วามรู้ความชานาญ กลยุทธ์ในการดาเนินธุรกจิ และ ความสาเร็จในการประกอบธุรกิจของผ้ ูประกอบการร้ านขายยาคุณภาพในเขตกรุงเทพ เเละปริมณฑล ” มีแนวคดิ ทฤษฎีและผลงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง ดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. แนวคดิ เกี่ยวกบั ผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneur) 2. แนวคิดเกี่ยวกบั บคุ ลกิ การเป็ นผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneurial Orientation) 3. แนวคดิ เก่ียวกบั ภมู ิความรู้ความชานาญ (Human Capital) 4. แนวคดิ เก่ียวกบั กลยทุ ธ์ในการดาเนนิ ธรุ กิจ (Strategic Process) 5. แนวคดิ เกี่ยวกบั ความสาเร็จในการประกอบธุรกิจ (Entrepreneurial Success) 6. ผ้ปู ระกอบการร้านยาคณุ ภาพ 1. แนวคิดเก่ียวกับผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ความเป็ นผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneurship or Entrepreneurial Orientation) เกิด จากแนวคดิ ทางด้านการวางแผนและการจดั การเชงิ กลยทุ ธ์ (Lumpkin & Dees, 1996) โดยมินท์ เบริ ์ก (Mintzberg,1973) ได้ระบวุ า่ ปัจจยั ด้านความเป็นผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneurship) เป็น สว่ นหนงึ่ ที่สาคญั ของแนวทางด้านกลยทุ ธ์ขององคก์ าร ซง่ึ นอกจากนนั้ ยงั มีปัจจยั อ่ืนๆ อีก 2 ปัจจยั ได้แก่ ปัจจยั ด้านความเป็นนกั วางแผน (Planning) และความเป็นนกั ปรับตวั (Adaptive) มิลเลอร์ (Miller, 1983) ได้ให้คานิยามของความเป็นผ้ปู ระกอบการในเชงิ กลยทุ ธ์ไว้ วา่ ความเป็นผ้ปู ระกอบการเป็นการดาเนินงานเพื่อพฒั นาให้เกิดผลิตภณั ฑ์ หรือนวตั กรรมและ มองหาชอ่ งทางใหมๆ่ ส่ตู ลาด เพื่อเอาชนะคแู่ ขง่ ให้ได้ในทกุ สถานการณ์ โดยมลิ เลอร์ระบวุ า่ องค์ประกอบที่สาคญั ของความเป็นผ้ปู ระกอบการมี 7 ประการ คือ 1. การริเริ่มและการขยายธุรกิจ 2. การริเร่ิมสิง่ ใหมๆ่ ในธุรกิจ 3. การรับรู้การควบคมุ ตนเอง 14

15 4. การรับรู้การยอมรับทางธรุ กิจ 5. มมุ มองทางธรุ กิจ 6. การยอมรับความเสี่ยงและความไมแ่ นน่ อน 7. ความเป็นอิสระ สร้างสรรค์ มีมมุ มองท่ีเอือ้ ตอ่ การจดั หาทรัพยากรใหม่ หรืออาจนาความสามารถเดมิ ไปรวมกนั เป็นโอกาส และแนวคดิ ลกั ษณะใหม่ เพื่อเป้ าหมายในการ สร้างสรรค์ความมนั่ คง่ั และความมนั่ คงแก่กิจการ 1.1 ความหมายของผู้ประกอบการ คาวา่ ผ้ปู ระกอบการ ภาษาองั กฤษเรียกวา่ Entrepreneurs มีรากศพั ท์มาจากภาษา ฝรั่งเศส โดยนกั เศรษฐศาสตร์ชาวไอริช Richard Cantillon แปลวา่ รับอาสาทามา ”Undertake” คอื ทาให้มีส่งิ ใหมเ่ กิดขนึ ้ ( Cantillon, Richard. Essay on the Nature of Trade in General, Henry Higgs ed., 1959, pp. 334-360.) สว่ นในพจนานกุ รมภาษาองั กฤษ หมายถึง บคุ คลที่ ยอมรับความเส่ียงตงั้ องค์กรธุรกิจขนึ ้ มาเพื่อหวงั จะได้ผลกาไร ซึ่งในความหมายดงั กลา่ วนีจ้ ะเน้นท่ี ตวั บคุ คลท่ีเป็นผ้ดู าเนินกิจการเป็นหลกั แตแ่ ตกตา่ งกนั ในความหมาย ประเดน็ ของบทบาท หน้าท่ี หรือลกั ษณะของเนือ้ งานท่ีเกี่ยวข้องกนั อยู่ (Webster Dictionary, 2000, p. 112) ชาร์มา และคริสแมน (Sharma & Chrisman, 1999, p.12) ได้ให้ความหมายของ ผ้ปู ระกอบการ คือ บคุ คลท่ีสามารถนาเสนอสงิ่ ใหมๆ่ โดยการผสมผสานสนิ ค้า กระบวนการตลาด รูปแบบองค์การ หรือแหลง่ ผ้ผู ลิตสนิ ค้า นอกจากนี ้ผ้ปู ระกอบการ หมายถึง ผ้สู ร้างกระบวนการ ของการกาหนดโอกาสทางการตลาด และความสามารถในการใช้ทรัพยากรให้สอดคล้องกบั โอกาส และสร้างข้อผกู พนั ทงั้ ทางด้านการปฏิบตั แิ ละการใช้ทรัพยากรอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เพ่ือผลกาไรใน ระยะยาว (Sexton & Bowman-Upton, 1991, p. 4) นอกจากนีย้ งั มีนกั วจิ ยั และนกั วิชาการ ได้ให้ความหมายของผ้ปู ระกอบการในหลาก แงม่ มุ ซงึ่ สามารถสรุปได้ดงั นี ้ ในเชิงเศรษฐศาสตร์และทางการตลาด มีผ้ใู ห้ความหมายของผ้ปู ระกอบการไว้ว่า ผ้ปู ระกอบการ คือ ผ้ทู ่ีนาเอาปัจจยั การผลิต ได้แก่ ทนุ ที่ดนิ และแรงงาน มาทาการผสมผสาน จดั สรร ทาการเสี่ยง และตดั สินใจเพ่ือดาเนินการอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ (Kilby, 1971, p. 2) เพ่ือมอง หาโอกาสท่ีจะทากาไร โดยการผลติ สนิ ค้าชนิดใหมข่ นึ ้ มาเสนอขายในตลาด มีการนา ขบวนการผลิตใหมๆ่ ที่มีประสทิ ธิภาพที่ดกี วา่ เดมิ เข้ามาปรับใช้เพ่ือปรับปรุงองคก์ าร ผ้ปู ระกอบการ เป็นผ้แู สวงหาเงินทนุ รวบรวมปัจจยั ในการผลติ และการจดั การบริหารเพื่อให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์

16 ขององค์การ (นิมติ ร นนทพนั ธวาทย์ อ้างถงึ ในกรมสง่ เสริมอตุ สาหกรรม 2529, น. 4) รวมถงึ เป็นผู้ ขบั เคลื่อนระบบเศรษฐกิจและตลาดในอตุ สาหกรรมตา่ งๆได้อยา่ งอสิ ระ โดยอาศยั ความคดิ ท่ีโดด เดน่ เหนือคแู่ ขง่ ขนั ในการกอ่ ให้เกิดสนิ ค้าและบริการใหมๆ่ ขนึ ้ มา เพ่ือตอบสนองตอ่ ความต้องการท่ี เปลี่ยนแปลงไปของผ้บู ริโภค (ธีรยสุ วฒั นาศภุ โชค, 2542, น. 66) ในเชงิ การบริหาร ให้ความหมายวา่ ผ้ปู ระกอบการ คอื ผ้ทู ่ีเหน็ โอกาสทางธรุ กิจและ ยอมรับเสี่ยงในการเร่ิมต้นธุรกิจเป็นการเอาประโยชน์จากโอกาสหรือความคดิ (Heatten and Coulter, 1997, p. 31) รวมทงั้ เสาะแสวงหาโอกาสในการดาเนนิ ธรุ กิจ และพยายามอยา่ งเต็มท่ี เพื่อก้าวไปสคู่ วามสาเร็จของธุรกิจโดยมงุ่ หวงั ในเรื่องของผลกาไรเป็นสาคญั (Kuratko & Hodgetts, 1998, p. 30) อีกทงั้ เป็นผ้กู ระต้นุ ในการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ โดยเป็นผ้ทู ี่มีเป้ าหมาย มีการวางแผนอยา่ งเป็ นระบบ รอบคอบ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ในเชิงจิตวิทยา ให้ความหมายวา่ ผ้ปู ระกอบการ คือ ผ้ทู ี่มีกระบวนการสร้างสรรคท์ ่ี แตกตา่ งกนั ในด้านคณุ คา่ มีความเป็ นอสิ ระ อทุ ิศเวลา และความอตุ สาหะ รวมถงึ เส่ียงเพ่ือหวงั ผล กาไรและความพงึ พอใจ (Hisrich and Peter, 2002, p.9) และมองวา่ ผ้ปู ระกอบการเป็ นปัจจยั สาคญั และจาเป็นตอ่ ความสาเร็จในการประกอบการ (อาทิตย์ วฒุ ิคะโร, 2543, น.40) ขณะที่ ไมเคลิ เฟรเซอร (Frese,2000,p.56) นายกสมาคมจิตวทิ ยาประยกุ ต์ นานาชาติ (International Association of Applied Psychology : IAAP) ได้ให้นิยามไว้วา่ ผ้ปู ระกอบการ คือ บคุ คลผ้ซู ง่ึ เร่ิมกอ่ ตงั้ กิจการ เป็นเจ้าของ หรือห้นุ สว่ น และดาเนนิ กิจการโดย ยอมรับความเส่ียงที่อาจจะเกิดขนึ ้ ในการดาเนนิ ธรุ กิจ เพ่ือผลกาไรและความพอใจ จากความหมายของผ้ปู ระกอบการที่รวบรวมไว้ข้างต้น พอสรุปได้วา่ ผ้ปู ระกอบการ เป็นผ้ทู ี่มีความกระตือรือร้น ขวนขวายที่จะเอาปัจจยั การผลิตตา่ ง ๆ มาผสมผสานด้วยหลกั การ จดั การ ทาให้เกิดเป็นสนิ ค้าแปลกใหม่ เกิดผ้บู ริโภคใหม่ มีการเสาะแสวงหาตลาด หรือชอ่ งทาง ที่ทาให้เกิดกาไร เป็นผ้ทู ่ีมีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรคส์ ิง่ แปลกใหมใ่ ห้กบั สนิ ค้าตวั เดมิ อยเู่ สมอ หรือ ปรับปรุงกระบวนการผลิตเดมิ ให้ดขี นึ ้ เกิดการลดต้นทนุ การผลติ ในการบริหารงานการจดั องคก์ ร โดยหาข้อบกพร่อง แล้วทาการปรับปรุงให้ดีขนึ ้ ตดิ ตามข่าวสารสถานการณ์และวทิ ยาการใหมๆ่ ท่ี สามารถนามาปรับใช้และพฒั นาให้มีความก้าวหน้าเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สงู สดุ แก่องคก์ าร 1.2 ความสาคัญของผู้ประกอบการ ปัจจยั สาคญั ที่สดุ ที่ทาให้ธุรกิจประสบความสาเร็จ คือ ผ้ปู ระกอบการ ขณะท่ีปัจจยั ด้านอ่ืนๆเป็ นเพียงสภาวะแวดล้อมท่ีเป็นเพียงปัจจยั เสริมชว่ ยให้เกิดความสมบรู ณ์ (อาทิตย์ วฒุ ิคะ

17 โร, น. 40) ทงั้ นี ้เพราะผ้ปู ระกอบการเป็ นผ้กู าหนดทิศทาง วิสยั ทศั น์ นโยบาย และกลยทุ ธ์ตา่ งๆให้ เหมาะสมกบั สง่ิ แวดล้อมและสงั คมท่ีตนดาเนินอยู่ เพ่ือผลกั ดนั ธรุ กิจให้เกิดการพฒั นาความสาเร็จ ตามท่ีคาดหวงั ไว้ (Coulter, 2003, p. 23) เมื่อพิจารณาถงึ บทบาทหน้าที่ของผ้ปู ระกอบการในการดาเนินธรุ กิจ จะพบว่า ผ้ปู ระกอบการมีหน้าท่ีท่ีสาคญั มากมาย (Wickham, 2001, pp. 7-11)ได้แก่ 1. บทบาทหน้าที่การเป็นผ้กู ่อตงั้ องคก์ ร : ผ้ปู ระกอบการเป็นผ้ทู ี่ทาหน้าที่กอ่ ตงั้ องค์กร ทางธุรกิจ เป็นผ้มู ีหน้าท่ีในการนาปัจจยั แวดล้อมตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเป็น คน ทรัพย์สนิ ทรัพยากรการ ผลิตตา่ งๆ มารวมกนั โดยจดั การกบั ปัจจยั เหล่านนั้ ให้เกิดประสิทธิภาพมากท่ีสดุ 2. บทบาทหน้าที่การเป็นเจ้าขององค์กร : ผ้ปู ระกอบการเป็นทงั้ ผ้ลู งทนุ และถือห้นุ ในกิจการ ซงึ่ ต้องเป็นผ้จู ดั การธรุ กิจนนั้ ๆ 3. บทบาทการเป็นผ้นู า : ผ้ปู ระกอบการจาต้องมีบทบาทในการเป็ นผ้นู าอยา่ งเดน่ ชดั โดยต้องเป็นผ้บู กุ เบกิ ริเร่ิมงานใหมๆ่ รวมทงั้ ปรับปรุงประสิทธิภาพ เละผลกั ดนั ให้เกิดการทางานเป็ น ทีม โดยอาศยั ศลิ ปะในการปกครอง ตลอดจนสง่ เสริมขวญั และกาลงั ใจแกล่ กู น้อง ให้พร้อมท่ีจะ รับมือและก้าวทนั ความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขนึ ้ ดงั นนั้ การเป็นผ้นู าถือเป็ นปัจจยั ที่สาคญั มากตอ่ ความสาเร็จของการเป็นผ้ปู ระกอบการ เพราะการเป็นผ้นู าถือเป็นหวั ใจสาคญั ของความสาเร็จใน การบริหารจดั การ 4. บทบาทการเป็นผ้จู ดั การ : ในหลากหลายสถานการณ์ ผ้ปู ระกอบการจงึ มีบทบาท หน้าท่ีท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป ไมว่ า่ จะเป็นบทบาทใดก็ตาม รวมทงั้ บทบาทการเป็นผ้จู ดั การ 5. บทบาทการเป็นผ้นู าความรู้ความชานาญมาใช้ : ผ้ปู ระกอบการจาต้องนาความรู้ ความชานาญท่ีมีอยมู่ าใช้ในการดาเนนิ งาน จดั การกบั ทรัพยากรที่มีอยู่ สร้างสรรค์ส่ิงใหมๆ่ และ มองหาชอ่ งทางหรือโอกาสทางธรุ กิจ 6. บทบาทหน้าที่การเป็นผ้รู ะบโุ อกาสทางการตลาด : ผ้ปู ระกอบต้องวิเคราะห์ทิศทาง ของตลาด เพื่อหาชอ่ งทาง ซงึ่ ชอ่ งทางนนั้ เป็นตลาดท่ีมีศกั ยภาพในโลกธุรกิจ 7. บทบาทหน้าที่การเป็นผ้นู านวตั กรรมใหมเ่ ข้าสตู่ ลาด : ผ้ปู ระกอบการต้องหา นวตั กรรมใหมม่ าปรับใช้ในองค์การ โดยนวตั กรรมนนั้ อาจจะนามาปรับใช้ในหลายๆด้าน ไมว่ า่ จะ เป็นเร่ืองของผลติ ภณั ฑ์ แนวทางการบริหารจดั การผลผลิต การบริหารจดั การทรัพยากรบคุ คล การ บริการ และ การขนสง่ 8. บทบาทของผ้สู ร้างสรรค์สงั คม : เม่ือธรุ กิจได้มีการเตบิ โตและขยายตวั ออกไป นอกจากเป็นการตอบสนองความต้องการของลกู ค้าแล้ว ผ้ปู ระกอบการยงั สามารถกระทาเพ่ือ

18 รับผิดชอบตอ่ สงั คมโดยไม่ได้ดาเนินธรุ กิจแบบมงุ่ กาไรเพียงอยา่ งเดียว หรือทาธุรกิจท่ีก่อให้เกิด ผลเสียตอ่ ผ้บู ริโภคหรือประชาชน จงึ จะได้ช่ือวา่ เป็นผ้ปู ระกอบการท่ีมีคณุ คา่ สมควรแก่การยกยอ่ ง ของสงั คม และการสนบั สนนุ ของประชาชนหรือลกู ค้าตอ่ ไป (Longenecker et al., 1994) 2. แนวคิดเก่ียวกับบุคลกิ การเป็ นผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Orientation) บคุ ลกิ ภาพ ตามความหมายของคนทวั่ ไป มกั จะหมายถงึ ลกั ษณะรูปร่าง หน้าตา ทา่ ทาง การพดู เป็นต้น โดยบคุ ลกิ ภาพมกั จะใช้เพ่ือการวางตวั ให้ถกู ต้องตามกาลเทศะ เมื่อมีการ ปฏิสมั พนั ธ์กบั บคุ คลอ่ืน เพราะบคุ ลิกภาพเป็นสง่ิ ท่ีปรากฏแก่สายตาและอาจบง่ บอกถงึ พฤตกิ รรม หลกั ๆของบคุ คลนนั้ ได้ ซง่ึ แตล่ ะบคุ คลตา่ งก็มีบคุ ลกิ ภาพตามรูปแบบของพฤตกิ รรมที่แสดงออกมา แตกตา่ งกนั สว่ นความหมายของบคุ ลิกภาพในทางจติ วิทยา ได้มีผ้ใู ห้ความหมายไว้มากมาย ซง่ึ สามารถสรุปได้ดงั นี ้บคุ ลกิ ภาพ เป็นส่ิงกาหนดทิศทางการประพฤติปฏิบตั ิของบคุ คลนนั้ เป็นปัจจยั สาคญั ตอ่ ความสาเร็จของงาน ไมว่ า่ จะเป็นบคุ ลิกภาพจากภายใน อนั ได้แก่ สตปิ ัญญา การ วเิ คราะห์ ความมีเหตผุ ล ความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ ความสนใจใฝ่ รู้ และแรงจงู ใจ มกั เป็นสว่ นชว่ ย ผลกั ดนั สกู่ ารวางแผนงานได้ถกู ทศิ ทาง และทาให้เกิดการลงทนุ ลงแรงในการปฏิบตั งิ านให้บรรลุ เป้ าหมายได้อย่างเตม็ ท่ี สว่ นบคุ ลิกภาพภายนอก ด้านการวางตน การแตง่ กาย กิริยาทา่ ทาง การ พดู และภาษาพดู มกั เป็นภาพลกั ษณ์และจดุ เดน่ อีกประการหนง่ึ ท่ีชว่ ยสร้างมนษุ ยสมั พนั ธ์ สร้าง ความนา่ เชื่อถือ และจงู ใจลกู ค้าให้มาใช้บริการ บคุ ลิกภาพของผ้ปู ระกอบการ คือ ทศั นคตแิ ละลกั ษณะพฤตกิ รรมที่ผ้ปู ระกอบการได้ ปฏิบตั ใิ นการดาเนนิ ธุรกิจ ซง่ึ บคุ ลิกภาพผ้ปู ระกอบการนนั้ แตกตา่ งกบั ลกั ษณะทางบคุ ลกิ ตรงท่ี ลกั ษณะของบคุ ลกิ จะคงที่ตลอดเวลาและทกุ สถานการณ์ แตบ่ คุ ลิกภาพผ้ปู ระกอบการอาจเกิดการ เปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา ซง่ึ เกิดมาจากการถกู วางเง่ือนไขทางวฒั นธรรมและถกู กระทบโดย ส่ิงแวดล้อม (Zimmerer and Scarborough, 1996, p. 6) ในหลายปี ที่ผา่ นมา ได้มีการศกึ ษาลกั ษณะบคุ ลิกภาพของการเป็นผ้ปู ระกอบการที่ ประสบความสาเร็จไว้หลากหลายแนวคิด ซง่ึ ผลการวจิ ยั ตามแนวคดิ ของนกั วิชาการและนกั วิจยั ทงั้ ในและตา่ งประเทศที่ได้นนั้ แตกตา่ งกนั ไปตามเงื่อนไขแวดล้อมของกลมุ่ ตวั อยา่ งนนั้ ๆ ซง่ึ ผู้วิจยั ได้รวบรวมแนวคดิ ดงั กลา่ วท่ีนา่ สนใจไว้ ดงั ตอ่ ไปนี ้ ซมิ เมอร์เรอร์ และสคาร์โบโรช (Zimmerer and scarborough, 2003, pp. 4-9) ได้ สรุปบคุ ลกิ ภาพของผ้ปู ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จไว้ดงั นี ้

19 1. ต้องการเป็นผ้รู ับผิดชอบตอ่ การกระทาของตนเอง 2. ชอบความเสี่ยงในระดบั ปานกลาง 3. มีความเช่ือมน่ั ในความสามารถท่ีจะประสบความสาเร็จได้ 4. ต้องการข้อมลู ย้อนกลบั ในทนั ทีท่ีทางานเสร็จ 5. มีพลงั งานสงู เพ่ือทมุ่ เทในการทางาน 6. ให้ความสาคญั กบั เรื่องอนาคต 7. มีทกั ษะด้านการจดั การ 8. มีคา่ นยิ มของความต้องการความสาเร็จมากกวา่ เงินตรา 9. มีระดบั ความยดึ มน่ั สงู 10. อดทนตอ่ ความกากวม ไมช่ ดั เจน 11. ยอมรับการเปล่ียนแปลงตา่ งๆที่จะเกิดขนึ ้ 12. มีความยืนหยดั ไมย่ อ่ ท้อ และคงทนตอ่ ทกุ สถานการณ์ ครู ัตโค และฮอดเกตตส์ (Kuratko and Hodgetts, 2001, p. 97) ทาการรวบรวม งานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องกบั คณุ ลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จ และจดั แบง่ กลมุ่ คณุ ลกั ษณะดงั กลา่ ว ได้ 11 ประการ ดงั นี ้ 1. ความยดึ มน่ั และมมุ านะ 2. แรงขบั เพ่ือความสาเร็จและความก้าวหน้า 3. ใสใ่ จกบั โอกาสและเป้ าหมาย 4. มีความคดิ ริเร่ิม และความรับผิดชอบ 5. ยืนหยดั แก้ปัญหา 6. ยดึ ถือความเป็นจริงและเหตผุ ล 7. ค้นหาและใช้ผลสะท้อนกลบั 8. ความเช่ือในอิทธิพลจากการควบคมุ ภายใน 9. คานวณความเส่ียงและค้นหาความเสี่ยง 10. ต้องการอานาจต่า 11. มีความนา่ เช่ือถือ แลมบงิ และคลู (Lambing and Kuehl, 2003, pp. 24-29) ได้อธิบายความเป็น ผ้ปู ระกอบการท่ีดแี ละประสบความสาเร็จ ว่าต้องมีลกั ษณะร่วมกนั หลายประการ ได้แก่ 1. มีความต้องการอย่างแรงกล้าในการทาธรุ กิจ เพราะความต้องการนีจ้ ะเป็น

20 แรงผลกั ดนั ให้ผ้ปู ระกอบการสามารถบรรลเุ ป้ าหมายได้ 2. มีความยดึ มน่ั ไมย่ อ่ ท้อตอ่ ความล้มเหลว และอปุ สรรคตา่ งๆที่เข้ามา ต้องคดิ วา่ ความผิดพลาดหรือความล้มเหลวที่เกิดขนึ ้ เป็นประโยชน์ 3. มีความเช่ือมนั่ ในความสามารถของตน และแนวคดิ การดาเนินธรุ กิจ และเชื่อวา่ จะสามารถสาเร็จได้ถ้าลงมือทา 4. สามารถตดั สินใจด้วยตนเอง และเช่ือวา่ ความสาเร็จหรือความล้มเหลวขนึ ้ อยกู่ บั การกระทาตนเอง หรือเป็นผลมาจากตน 5. มีความสามารถจดั การกบั ความเสี่ยงได้ และมกั จะมองความเส่ียงแตกตา่ งไปจาก ผ้อู ื่น และผ้ปู ระกอบการจะประเมินสถานการณ์ความเส่ียง หาวธิ ีดาเนนิ การจดั การกบั ความเส่ียง นนั้ ก่อนจะตดั สินใจ และจะดาเนินการเฉพาะบนความเส่ียงท่ียอมรับได้ 6. มองการเปล่ียนแปลงเป็นโอกาส ตา่ งกบั บคุ คลทวั่ ไปที่มองวา่ เป็นสิ่งที่ควร หลีกเลี่ยง 7. มีความอดทนตอ่ ความคลมุ เครือไมม่ ีสง่ิ ประกนั ความสาเร็จ มีแตป่ ัจจยั ที่ไม่ สามารถควบคมุ ได้ เชน่ เศรษฐกิจ สภาพภมู อิ ากาศ และการเปลี่ยนแปลงรสนิยมของลกู ค้า และ ผ้ปู ระกอบการจะต้องอยไู่ ด้อยา่ งสบายกบั ความไมแ่ นน่ อน 8. มีความริเริ่มส่งิ ใหม่ และต้องการความสาเร็จ สว่ นใหญ่ผ้ปู ระกอบการท่ีประสบ ความสาเร็จจะต้องมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรคแ์ ตกตา่ งจากผ้อู ื่น และมีความปรารถนาอยา่ งแรง กล้าท่ีจะประสบความสาเร็จมากกวา่ บคุ คลทว่ั ไป 9. ใสใ่ จกบั รายละเอียดและต้องการงานที่สมบรู ณ์ ผ้ปู ระกอบการมกั จะต้องการให้ งานตนออกมาด้วยความเป็ นเลศิ และสมบรู ณ์ 10. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของเวลาท่ีผา่ นไปอยา่ งรวดเร็ว เพราะเวลาเป็นสงิ่ ที่มีคา่ มาก 11. มีความคิดสร้างสรรค์ เป็ นหนง่ึ ในเหตผุ ลของความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ มี ความสามารถมองเห็นโอกาสท่ีคนอื่นไมเ่ ห็น และมีจินตนาการในแบบตา่ งๆที่บคุ คลอ่ืนไมส่ ามารถ มองเห็นได้ 12. มองภาพใหญ่ในขณะที่ผ้อู ื่นมองภาพเพียงบางสว่ นเทา่ นนั้ สว่ นฮอดเกตตส์ และเคอเรทโก (Hodgetts and Kuratko, 1998, pp. 44-54) ได้ระบุ คณุ ลกั ษณะสาคญั พืน้ ฐานของผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จไว้ดงั นี ้ 1. ความรู้ความสามารถในธุรกิจที่ดาเนินการ ซงึ่ เป็ นคณุ ลกั ษณะสาคญั ท่ีสดุ สาหรับการดาเนนิ ธรุ กิจขนาดยอ่ ม

21 2. ความสามารถทางความคดิ สามารถเข้าใจถึงความสมั พนั ธ์ของงานทงั้ หมด และมีความรู้อยา่ งกว้างขวาง 3. ทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คล เป็ นทกั ษะการสื่อสารในการตดิ ตอ่ หรือ ดาเนินงานกบั บคุ คลอ่ืนๆ เช่น พนกั งาน ลกู ค้า องค์กรตา่ งๆ รวมทงั้ ทกั ษะการจงู ใจและความเป็น ผ้นู า 4. แรงจงู ใจใฝ่ สมั ฤทธ์ิสงู เป็นความรู้สกึ ที่ต้องการจะทาการใดๆให้สมั ฤทธ์ิผล ด้วยตนเอง พิกเกิล้ (Pickle, 1964, p. 34) พบวา่ ผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จนนั้ มี คณุ ลกั ษณะท่ีสาคญั 5 ประการ คอื 1. ความพยายามที่จะบรรลผุ ลสาเร็จ (Drive) คอื การมีแรงจงู ใจในการทางานให้ ประสบความสาเร็จ ซง่ึ ประกอบด้วย ความรับผิดชอบ มีความวอ่ งไว มีความคดิ ริเร่ิม มีความตงั้ ใจ ท่ีจะทา ไมท่ ้อถอย และมีความทะเยอทะยาน 2. ความสามารถในการคดิ เป็ น (Thinking Ability) ประกอบด้วยองค์ประกอบที่ สาคญั ๆ เชน่ ความเฉลียวฉลาด มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ แก้ปัญหาเฉพาะหน้า และมี ความสามารถในการวเิ คราะห์ข้อมลู 3. ความสามารถทางด้านมนษุ ยสมั พนั ธ์ (Human Relation Ability) ประกอบด้วย ความมีอานาจหรืออทิ ธิพล มีอารมณ์มน่ั คง มีความเป็นมติ รเข้ากบั คนได้ มีความรอบคอบ ใส่ใจ ในความรู้สึกผ้อู ื่น มีความร่าเริง 4. ความสามารถในการตดิ ตอ่ สื่อสาร ส่ือข้อความ ในการประกอบธุรกิจ การตดิ ตอ่ ระหวา่ งบคุ คลจะเกิดขนึ ้ อยตู่ ลอดเวลา ทงั้ ทางวาจา หรือลายลกั ษณ์อกั ษร เมื่อจาเป็นต้องมีการ สง่ั งาน ซงึ่ ต้องมีความชดั เจนและความเข้าใจตรงกนั ทงั้ นีเ้พื่อชว่ ยให้การทางานมีประสทิ ธิภาพ และบรรลเุ ป้ าหมายเดยี วกนั 5. ความสามารถทางด้านเทคนิค (Technical Knowledge) ผ้ปู ระกอบการที่คิดจะ ลงทนุ ในธุรกิจใดก็ตาม จะต้องมีความสามารถและความเข้าใจในเร่ืองธรุ กิจท่ีประกอบการลงทนุ เป็นอยา่ งดี นอกจากนกั วจิ ยั หรือนกั วิชาการทางตะวนั ตกเทา่ นนั้ ท่ีนา่ สนใจศกึ ษาลกั ษณะของ ผ้ปู ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จ ในเอเชียเองก็มีผ้สู นใจศกึ ษาด้วยเชน่ กนั โดยโอกาวา่ (Ogawa, 1994, p. 4-5) ทาการศกึ ษาลกั ษณะของผ้นู าของธุรกิจขนาดเลก็ ในญ่ีป่ นุ พบวา่ ผ้ปู ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จ ต้องประกอบไปด้วย 3 ลกั ษณะด้วยกนั คือ

22 1. ต้องเป็นผ้มู ีความสามารถในด้านเทคโนโลยี คือ ตองเป็นผ้เู ช่ียวชาญเฉพาะใน การปฏิบตั งิ านธรุ กิจที่ทาอยู่ ซง่ึ ประกอบด้วย ความเชี่ยวชาญในด้านการตลาด และสดุ ท้ายคือต้อง เชี่ยวชาญในด้านการบริหารจดั การทางการเงิน 2. ต้องเป็นผ้มู ีความสามารถในการจงู ใจ เน่ืองจากการปฏิบตั งิ านของพนกั งานใน ธรุ กิจขนาดยอ่ มนีม้ ีผลตอ่ ความสาเร็จโดยตรงของธุรกิจ ดงั นนั้ หากขวญั และกาลงั ใจของพนกั งาน อยใู่ นระดบั สงู พนกั งานจะปฏิบตั หิ น้าที่เกินกวา่ ความคาดหวงั ของบริษทั แตใ่ นทางกลบั กนั หาก ขวญั และกาลงั ใจของพนกั งานอยใู่ นระดบั ต่า ก็อาจก่อผลให้เกิดเสียกบั ธรุ กิจได้ 3. ต้องเป็นผ้มู ีความสามารถในการวางกลยทุ ธ์ เนื่องจากในปัจจบุ นั ประเทศญ่ีป่ นุ ได้รับอิทธิพลจากเศรษฐกิจโลก เพราะเป็นประเทศในกล่มุ ผ้นู าทางเศรษฐกิจในกลมุ่ ประเทศเอเชีย ทาให้ธรุ กิจขนาดยอ่ มจะต้องตดิ ตามการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขนึ ้ ให้ทนั ทว่ งที ดงั นนั้ ผ้นู าของธุรกิจ ต้องมีความสามารถในการตดั สินใจเชงิ กลยทุ ธ์ ไมเ่ พียงแตน่ กั วิชาการหรือนกั วิจยั ในตา่ งประเทศเทา่ นนั้ ที่สนใจศกึ ษา และได้จาแนก ลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จเท่านนั้ ยงั มีนกั วชิ าการไทยจานวนมาก ที่ได้ ทาการศกึ ษาและได้จาแนกลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการ ไว้เชน่ กนั เชน่ ปราโมทย์ เจนการ (2533, น.122) ได้ทาการศกึ ษาเรื่อง การศกึ ษาอบรมกบั ความเป็ นผ้ปู ระกอบการ พบวา่ คณุ ลกั ษณะท่ี สาคญั ของผ้ปู ระกอบการนนั้ มีด้วยกนั 10 ลกั ษณะ คือ 1. ความกล้าเส่ียงอย่างสมเหตสุ มผลในแงข่ องการลงทนุ 2. คณุ ลกั ษณะคดิ ค้นประดิษฐ์ด้วยความมีเหตผุ ล 3. ความสามารถในการเสาะหาและกล้าเสี่ยงท่ีจะดาเนนิ ธรุ กิจ 4. ความสามารถในการรับรู้และมองเหน็ ชอ่ งทางดาเนินธรุ กิจ 5. แรงจงู ใจและคา่ นิยมที่ดใี นการทางาน 6. แรงจงู ใจในความเป็ นเลิศด้วยความมีเหตผุ ลทางเศรษฐศาสตร์ 7. ความเชื่อมนั่ ในตนเอง (ความเช่ือในอทิ ธิพลจากการควบคมุ ภายในตน) 8. ความไมเ่ ชื่อเก่ียวกบั โชคลาง 9. ความเป็ นผ้นู า 10.ความสามารถและเช่ือมนั่ ในด้านสงั คมเชิงธรุ กิจ อาทิตย์ วฒุ ิกะโร (2543, น. 40 - 45) ทาการศกึ ษาประวตั ขิ องผ้ปู ระกอบการท่ี ประสบความสาเร็จทงั้ ในระดบั ประเทศและระดบั โลก รวมถึงจากการรวบรวมผลการวจิ ยั ที่ เกี่ยวข้อง โดยแบง่ คณุ ลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการได้เป็น 19 ประการ ได้แก่

23 1. มีความกล้าเสี่ยง (Risk Taking) ในระดบั ปานกลาง ธรุ กิจกบั ความเสี่ยงเป็นของ คกู่ นั ผ้ปู ระกอบการมกั ชอบทางานที่ท้าทายตอ่ ความรู้ ความสามารถของตน และมีความเสี่ยงอยู่ ในระดบั ปานกลางที่มีโอกาสจะประสบความสาเร็จหรืออาจล้มเหลวได้ และประเมินแล้ววา่ ไมเ่ กิด ความสามารถ 2. มีความมงุ่ มน่ั ในความสาเร็จ (Need for Achievement) คือ ผ้ปู ระกอบการจะ เป็นผ้กู ระหายในความสาเร็จ มงุ่ มนั่ ท่ีจะทมุ่ เทสตปิ ัญญา พลงั ความสามารถ ความมมุ านะทงั้ หมด เพ่ือทางานทกุ อยา่ งให้บรรลผุ ลสาเร็จ 3. มีความผกู พนั ตอ่ เป้ าหมายท่ีตงั้ ไว้ เม่ือผ้ปู ระกอบการตงั้ เป้ าหมายไว้ เขาจะ แสวงหาความสาเร็จ และทมุ่ เทให้ทงั้ หมดโดยคิดวางแผน และวางกลยทุ ธ์ลว่ งหน้าไว้ พร้อมทงั้ มี ความกลวั ความล้มเหลว จงึ มีการเตรียมตวั ป้ องกนั ปัญหาและอปุ สรรคนนั้ 4. มีความสามารถในการโน้มน้าวจติ ใจผ้อู ่ืน ซง่ึ เป็นส่วนสาคญั ท่ีจะชว่ ยทาให้ ผ้ปู ระกอบการประสบความสาเร็จ 5. มีความมานะและทางานหนกั ผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จจะต้องเป็นผ้ทู ่ี ทมุ่ เทให้บรรลเุ ป้ าหมายอยา่ งเตม็ พละกาลงั และความสามารถ แม้จะต้องเผชญิ อปุ สรรคอยา่ ง หนกั 6. มีความกระตอื รือร้นและไมห่ ยดุ นงิ่ ผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จจะเป็นผู้ ท่ีเตม็ ไปด้วยพลงั ทางานหนกั ไมห่ ยดุ นิ่ง ตลอดจนไมร่ ู้สึกเบ่อื หนา่ ยกบั งานท่ีทาซา้ ซากจนเป็นงาน ประจา 7. มีความสามารถในการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Attempt to learn from problem and mistake) คือ การนาเอาความรู้ ประสบการณ์ และผลสะท้อนท่ีเกิดจากการ ปฏิบตั งิ านในอดตี นามาประยกุ ตใ์ ช้กบั การทางานในปัจจบุ นั และอนาคต และมองเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ เป็ นโอกาสที่ได้เรียนร้ ู 8. มีความรับผดิ ชอบ เป็นผ้รู ับผิดชอบตอ่ งานท่ีทาอยา่ งเตม็ ท่ี เป็นผ้นู าและกระทา สงิ่ ตา่ งๆที่เกิดขนึ ้ ริเร่ิมด้วยความคดิ และลงมือกระทา หรือมอบหมายให้ผ้อู ่ืนทาโดยอยใู่ นความ ดแู ล เขาจะทาอยา่ งดที ี่สดุ เพื่อให้งานสาเร็จลลุ ่วงไปได้ด้วยดีตามเป้ าหมายท่ีวางไว้ 9. มีความเช่ือมน่ั ในตนเอง (Autonomy) ผ้ทู ี่ประสบความสาเร็จในการประกอบการ มกั จะเป็นผ้ทู ่ีมีความเชื่อมน่ั ในความสามารถของตนเอง ชอบอิสระ และพง่ึ ตนเอง มีความมน่ั ใจ ตงั้ ใจเดด็ เด่ียวเข้มแข็ง มีลกั ษณะเป็นผ้นู า มีความเช่ือมนั่ ที่จะพชิ ติ สภาวะแวดล้อมที่นา่ กลวั ได้ 10. มีความสนใจแสวงหาความรู้เพิม่ เตมิ ในอดีตผ้ปู ระกอบการมกั ไมไ่ ด้เป็นผ้สู าเร็จ

24 การศกึ ษาระดบั สงู แตเ่ ขาได้เรียนรู้จนมีความชานาญและความเชี่ยวชาญในผลิตภณั ฑ์ท่ีเขาทา การผลิต ผ้ปู ระกอบการท่ีดีจะต้องขวนขวายหาความรู้เพิ่มเตมิ ตลอดเวลา 11. มีความสามารถในการบริหาร ผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จจะต้องมี ลกั ษณะเป็นผ้นู า และมีวสิ ยั ทศั น์ในการทางาน 12. มีความคดิ สร้างสรรค์ (innovativeness) ผ้ปู ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จ จะต้องเป็นผ้ทู ่ีมีความคดิ สร้างสรรค์ (Creativity Thinking) ไมพ่ อใจในสิ่งท่ีเป็นอยใู่ นปัจจบุ นั และ นาเอาประสบการณ์ที่ผา่ นมาประยกุ ตใ์ ช้ในการสร้างสรรคห์ าวิธีการใหมๆ่ ท่ีดกี วา่ เดมิ ในการทางาน 13. มีความสามารถในการปรับสภาพแวดล้อม ผ้ปู ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จ จะต้องเป็นผ้ทู ่ีเชื่อในความสามารถของตนว่าจะเป็นผ้ปู รับสภาพแวดล้อมให้เป็นไปตามความ ต้องการมากกวา่ ปล่อยให้เป็ นไปตามธรรมชาติ 14. มีความกล้าตดั สนิ ใจ ผ้ปู ระกอบการที่ต้องการความสาเร็จจะต้องเป็นผ้ทู ่ีมีความ กล้าหาญในการตดั สินใจ เม่ือได้ศกึ ษาหาข้อมลู อย่างถอ่ งแท้แล้ว มีความเชื่อมนั่ ในตนเอง 15. มีความสามารถในการคดิ และวเิ คราะห์แผนธรุ กิจหรือโครงการลงทนุ 16. มีความสามารถในการสร้างพนั ธมติ ร 17. มีความซ่ือสตั ย์ (Integrity) ความซ่ือสตั ย์เป็นคณุ ธรรมประการหนง่ึ ท่ีทาให้ ผ้ปู ระกอบการประสบความสาเร็จ 18. มีความประหยดั เพื่ออนาคต คือ การรู้จกั การเก็บออมเพื่อขยายกิจการในอนาคต 19. มีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม ผ้ปู ระกอบการ คือ พลงั สาคญั ที่ทาให้เกิดการ เปล่ียนแปลงทางสงั คม ทาให้ประเทศเกิดการพฒั นา เป็ นผ้สู ร้างให้สงั คมมีความเป็นอยทู่ ี่ดีขนึ ้ สร้างงานให้คนทา สร้างรายได้ให้แก่ประชาชน โดยเป็ นผ้ปู ระดษิ ฐ์คิดค้นวธิ ีการทางานใหมๆ่ รวมทงั้ การผลิตสนิ ค้าแบบใหมๆ่ ด้วย เชน่ เดียวกบั โชคชยั ชยั ธวชั (2546, น. 12-13) ท่ีกลา่ วถงึ คณุ สมบตั ทิ ่ีเป็นตวั ผลกั ดนั ให้ผ้ปู ระกอบการประสบความสาเร็จ ซงึ่ มีอยดู่ ้วยกนั 15 คณุ สมบตั ิ คอื 1. รักการเรียนรู้ รู้จกั หาความรู้เพ่มิ เตมิ 2. มีความรู้ในการทาธรุ กิจ 3. รู้จกั รอคอยโอกาสท่ีเหมาะสม 4. รู้จกั ถอ่ มตน ไมค่ ยุ โอ้อวดถึงความฉลาดและความสามารถของตน 5. มีความเยือกเย็นสขุ มุ เที่ยงธรรมและเป็นระเบยี บ 6. มีความยืดหย่นุ ในการทางาน

25 7. ต้องแยกความรู้สกึ สว่ นตวั ออกจากงาน 8. รักความก้าวหน้า 9. คอ่ นข้างก้าวร้าว ไมย่ อ่ ท้อ พร้อมเผชญิ ปัญหาและอปุ สรรค 10. รู้จกั หาทางออกในเชงิ สงั คมได้ดี 11. หาเหตผุ ลมาเข้าข้างตนเองเป็น รู้จกั หาเหตผุ ลในรูปแบบตา่ งๆ 12. มีความคล่องตวั สงู 13. มีการตดั สนิ ใจที่ดี เช่ือมนั่ ตนเองในสง่ิ ที่ถกู 14. มีความสามารถในการจงู ใจสงู 15. มีความรับผิดชอบสงู ถาวร – ธนะเวช ศรีสขุ ะโต (2543, น. 25) ได้ศกึ ษาและรวบรวมข้อมลู จากแหลง่ ตา่ งๆ และสรุปไว้วา่ ผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จ มกั จะมีลกั ษณะดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. เป็นนกั วเิ คราะห์โอกาส ชอบค้นคว้าหาความรู้ แสวงหาโอกาสเพื่อไปสู่ ความสาเร็จ มกั จะหาหนทางท่ีดีกว่าในการทางานด้านตา่ งๆ 2. เป็นนกั แก้ปัญหา สามารถเข้าถงึ ปัญหาและแก้ไขด้วยความมน่ั ใจ คือ เข้าใจได้ อยา่ งชดั เจนและสามารถแก้ปัญหาได้อยา่ งรวดเร็ว รู้วา่ จะหาทางออกโดยวธิ ีการใดท่ีง่าย รวดเร็ว และเกิดความเสียหายน้อยท่ีสดุ 3. เป็นนกั คดิ ที่มีเหตผุ ล กล้ายอมรับในสง่ิ ที่ตนกระทา เม่ือเกิดข้อผิดพลาด ผ้ปู ระกอบการจะพบวธิ ีการแก้ปัญหา และนาวิธีการคดิ ท่ีจะแก้ปัญหาไปให้ผ้ทู รงคณุ วฒุ ชิ ว่ ยดู เพ่ือ หลีกเลี่ยงการตดั สินปัญหาที่เข้าข้างตวั เอง และยอมรับการปรับปรุงด้วยวธิ ีที่ดกี วา่ 4. เป็นนกั บริหารตามวตั ถปุ ระสงค์ เข้าใจงานท่ีละเอียดเพ่ือผลสาเร็จของงานท่ีต้อง บรรลผุ ลตามเป้ าหมายท่ีตงั้ ไว้ จงึ จาเป็นต้องมีการวางแผน การตดั สินใจทางกลยทุ ธ์ที่ดีท่ีสดุ เพ่ือให้ งานสาเร็จดงั ท่ีตงั้ เป้ าหมายเอาไว้ 5. เป็นนกั ทางาน ชอบทากิจกรรมและต้องทาให้สาเร็จ เวลาสว่ นตวั จะเป็นเวลางาน ไปด้วยและจะทาทกุ อยา่ งเทา่ ที่จะทาได้ 6. เป็นนกั ควบคมุ ผ้ปู ระกอบการชอบที่จะควบคมุ งานและควบคมุ ตนเอง สามารถ ทางานได้โดยลาพงั มีความมงุ่ มน่ั ท่ีจะประสบความสาเร็จ สาหรับผ้ปู ระกอบการท่ีประสบความล้มเหลวนนั้ คือ ผ้ปู ระกอบการที่ขาด ประสบการณ์ด้านการบริหาร วางแผนทางการเงินผิดพลาด วิเคราะห์ทาเลท่ีตงั้ ผดิ ควบคมุ กิจการ ไมไ่ ด้ คา่ ใช้จา่ ยสงู บริหารลกู หนีไ้ มม่ ีประสิทธิภาพ ไมท่ มุ่ เท และขยายกิจการเกินตวั

26 นอกจากนี ้บรุ ิม โอทกานนท์ (2552. ออนไลน์) ได้อธิบายความเป็ นผ้ปู ระกอบการท่ี ประสบความสาเร็จได้นนั้ จาต้องมีคณุ ลกั ษณะร่วมกนั หลายประการ ดงั นี ้ 1. เป็นผ้ทู ่ีมีเป้ าหมายในการทาธรุ กิจท่ีชดั เจน 2. มีความมงุ่ มน่ั สงู ท่ีจะทาสิ่งนนั้ ให้สาเร็จ 3. มีความอ่อนน้อม ไมถ่ ือตวั 4. มีภาวะผ้นู า กล้าเส่ียง และกล้าที่จะตดั สินใจ 5. ทางานเร็ว รวมถงึ มีสมั ผสั ท่ีเร็วตอ่ โอกาส ปัญหา และอปุ สรรค 6. มีความฝัน ความคดิ ริเร่ิม และความคดิ ที่จะปรับปรุงสินค้าและบริการให้ดีขนึ ้ ตลอดเวลา 7. ไมค่ ดิ วา่ ธรุ กิจที่ทาอยเู่ ป็ นงานท่ีต้องทา แตเ่ ป็นงานท่ีอยากทา 8. เก่งท่ีรู้จกั เลือกหาทีมงานท่ีไว้ใจได้ 9. มีความรู้สกึ ยนิ ดี เมื่อต้องให้ ในประเทศไทยนอกจากนกั วิชาการท่ีศกึ ษาถงึ ลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการที่ประสบ ความสาเร็จแล้ว ยงั มีสถาบนั ใหญ่ๆหลายสถาบนั ที่ศกึ ษาและทาการวิจยั ในหวั ข้อนี ้เชน่ สถาบนั พฒั นาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (2549, ออนไลน์) ได้ทาการศกึ ษาคณุ ลกั ษณะของ ผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จในเขตกรุงเทพและปริมณฑล พบคณุ ลกั ษณะของ ผ้ปู ระกอบการที่สาคญั ดงั นี ้ 1. มีมนษุ ย์สมั พนั ธ์ 2. มีความเชื่อมน่ั ในตนเอง 3. มีความซื่อสตั ย์ 4. มีความรู้พืน้ ฐานและประสบการณ์ในธรุ กิจที่ทา 5. มีความขยนั ทมุ่ เทให้กบั ธรุ กิจ 6. มีวฒุ ภิ าวะทางอารมณ์ 7. มีวิสยั ทศั น์ 8. ประหยดั 9. พฒั นาและฝึกอบรมพนกั งานอยา่ งตอ่ เนื่อง 10. มีความเชื่อเร่ืองโชค อีกหนว่ ยงานหนง่ึ ท่ีให้ความสนใจในการศกึ ษาคณุ ลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการที่ ประสบความสาเร็จ คือ กรมสง่ เสริมอตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม (ชตุ ภิ า โอภาสนนท์,

27 2543, น.16-22) โดยจาแนกคณุ ลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จ ไว้ถึง 21 ลกั ษณะ คือ 1. ความกล้าเส่ียง 2. ความต้องการมงุ่ ความสาเร็จ 3. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4. รู้จกั ผกู พนั ตอ่ เป้ าหมาย 5. ความสามารถในการโน้มน้าวจติ ใจผ้อู ่ืน 6. ยืนหยดั ตอ่ ส้ทู างานหนกั 7. เอาประสบการณ์ในอดตี มาเป็นบทเรียน 8. มีความสามารถในการบริหารและเป็นผ้นู าท่ีดี 9. มีความเชื่อมนั่ ในตนอง 10. มีวสิ ยั ทศั น์กว้างไกล 11. มีความรับผิดชอบ 12. มีความกระตอื รือร้นและไมห่ ยดุ นิง่ 13. ใฝ่ หาความรู้เพม่ิ เตมิ 14. กล้าตดั สนิ ใจและมีความมมุ านะพยายาม 15. ไมต่ งั้ ความหวงั ไว้กบั ผ้อู ่ืน 16. มองเหตกุ ารณ์ปัจจบุ นั เป็นหลกั 17. สามารถปรับตวั ให้เข้ากบั สงิ่ แวดล้อม 18. ทาอะไรเกินตวั คือความล้มเหลว 19. ต้องมีความร่วมมือและการแขง่ ขนั 20. ประหยดั เพื่ออนาคต 21. มีความซื่อสตั ย์ นอกจากหนว่ ยงานราชการแล้ว สถาบนั การศกึ ษาอยา่ งสถาบนั ทรัพยากรมนษุ ย์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ (ไว จามามาน, 2544) ก็ให้ความสนใจศกึ ษาลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการ ที่ประสบความสาเร็จ เพ่ือนาข้อมลู ท่ีได้มาสร้างและพฒั นาทกั ษะการเป็นผ้ปู ระกอบการ โดยจาก การศกึ ษากบั ผ้ปู ระกอบการกลมุ่ ผ้ผู ลิตผลติ ภณั ฑ์สาเร็จรูป ผ้คู ้าปลีก ค้าสง่ นาเข้าและสง่ ออก รวม ไปถงึ ผ้ผู ลติ ชนิ ้ สว่ น พบวา่ ลกั ษณะของเจ้าของกิจการท่ีประสบความสาเร็จ คือ มีแนวโน้มท่ีจะ พง่ึ ตนเอง ใฝ่ ฝันสงู ชอบให้วิจารณ์ มีความอดทน ชอบแข่งขนั กบั ตนเอง เชื่อมน่ั ในตนเอง เรียนรู้

28 จากความล้มเหลว มกั จะทาเรื่องใดเร่ืองหนงึ่ ให้สาเร็จเสมอ จากคณุ ลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จท่ีได้มีการศกึ ษาทงั้ ใน ตา่ งประเทศและในประเทศไทย พบว่ามีการจาแนกคณุ ลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการไว้มากกวา่ 10 ลกั ษณะ ซงึ่ โดยสว่ นมากคณุ ลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จที่หยบิ ยกขนึ ้ มานนั้ มาจากการศกึ ษาที่อยบู่ นแนวทางเดยี วกนั คือ การศกึ ษาคณุ ลกั ษณะทางจิตวิทยา โดยผ้ทู ี่ให้ ความสนใจศกึ ษาลกั ษณะทางจติ วทิ ยาของผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จ คือ ดร.เฟรเซอ (Frese, 2000, pp. 18-19) โดย ดร.เฟรเซอ เรียกลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการวา่ บคุ ลิกการเป็น ผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneur Orientation) ประกอบด้วยคณุ ลกั ษณะที่สาคญั 6 ลกั ษณะ คือ 1. ลกั ษณะความเป็นตวั ของตวั เอง (Autonomy Orientation) หมายถงึ ความสามารถและความตงั้ ใจที่จะนาตนเองไปสโู่ อกาส บคุ คลท่ีมีลกั ษณะความเป็นตวั ของตนเอง จะเป็นคนที่มีความสามารถทางานได้ด้วยตนเองและสามารถตดั สินใจได้ในภาวะที่บีบบงั คบั หรือ มีความจากดั ผ้ปู ระกอบการที่มีความเป็ นตวั ของตนเองจะยงั มีความสามารถในการตอ่ รอง หรือ เผชญิ กบั ผ้จู ดั จาหนา่ ยหรือบริษทั ใหญ่ๆได้ 2. ลกั ษณะความมีนวตั กรรม (Innovativeness Orientation) หมายถึง การมี ความคดิ ริเร่ิมเกี่ยวกบั สินค้าใหมๆ่ การบริการ และเทคโนโลยีใหมๆ่ 3. ลกั ษณะความกล้าเส่ียง (Risk taking Orientation) หมายถงึ การกล้าเส่ียง สามารถแบง่ ได้เป็น 3 ลกั ษณะ ได้แก่ การกล้าเส่ียงตอ่ สิ่งที่ไมร่ ู้ การกล้าใช้ทรัพย์สนิ จานวนมาก สาหรับการก่อตงั้ ธรุ กิจ และการกล้าก้ยู ืมเงินจานวนมาก ซ่งึ ความกล้าเสี่ยงดงั กลา่ วเก่ียวข้องกบั ลกั ษณะการหลีกเลี่ยงความไมแ่ นน่ อน (Uncertainty avoidance) 4. ความก้าวร้าวในการแขง่ ขนั (Competitive Aggressiveness Orientation) หมายถงึ คณุ ลกั ษณะท่ีทาให้คแู่ ขง่ ยากที่จะเข้ามาในตลาดเดียวกนั ผ้ปู ระกอบการที่มีลกั ษณะ ก้าวร้าวจะมีความมงุ่ มน่ั สงู ในการพยายามก้าวลา้ หน้า ทาให้คแู่ ขง่ หมดประสิทธิภาพ และทาการ ตา่ งๆให้เหนือกวา่ คแู่ ขง่ ในตลาด 5. ลกั ษณะความสม่าเสมอและใฝ่ ใจในการเรียนรู้ (Stability and learning Orientation) หมายถึง ลกั ษณะที่มีความมน่ั คง ไมห่ วน่ั ไหวกบั สถานการณ์หรือความผิดพลาดที่ เกิดขนึ ้ และนาข้อบกพร่องดงั กลา่ วมาเป็นประสบการณ์ที่ดีในการเรียนรู้ในอนาคต 6. ความใฝ่ ใจในความสาเร็จ (Achievement Orientation) หมายถึง ลกั ษณะท่ี ผ้ปู ระกอบการค้นหาหนทาง หรือให้ความสาคญั ในหนทางท่ีนาไปสคู่ วามสาเร็จ เป็นผ้ทู ี่ชอบงานท่ี มีความท้าทาย และมีแรงจงู ใจที่จะทางานนนั้ ๆให้ดกี วา่ เดมิ และประสบความสาเร็จ

29 จากบคุ ลิกการเป็นผ้ปู ระกอบการที่รวบรวมไว้ข้างต้น ซงึ่ มีหลากหลายแนวคดิ ดงั นนั้ ในการศกึ ษาวิจยั ครัง้ นี ้จงึ เลือกทาการศกึ ษาวจิ ยั ตามแนวคดิ บคุ ลกิ การเป็นผ้ปู ระกอบการของ ดร.เฟรเซอ ซงึ่ ได้รวบรวมบคุ ลกิ การเป็ นผ้ปู ระกอบการในแนวจติ วิทยาท่ีสาคญั ไว้อยา่ งเหมาะสม นอกจากนีย้ งั สอดคล้องกบั นิยามของผ้ปู ระกอบการท่ีใช้ในการศกึ ษาครัง้ นี ้ งานวจิ ัยท่ีเก่ียวกับบุคลิกการเป็ นผู้ประกอบการและความสาเร็จ 1. ความเป็ นตวั ของตวั เอง (Autonomy Orientation) งานวิจยั ในตา่ งประเทศท่ีทาการศกึ ษาความสมั พนั ธ์ความเป็นตวั ของตวั เองกบั ความสาเร็จในการประกอบการ โดยเออร์เบอร์ก (Ehrenberg, 1971, p. 48) ได้ทาการวิจยั ตรวจสอบความแตกตา่ งด้านทศั นคติและบคุ ลิกภาพอื่นๆระหวา่ งผ้ปู ระกอบการกบั พนกั งาน องคก์ ร พบวา่ ผ้ปู ระกอบการต้องการเป็นอิสระสงู กวา่ พนกั งานทวั่ ไป และเฟรเซอ ,แบรดเ์ จส และ ฮอร์น (Frees, Brantjes and Hoorn, 2002, p. 259-282) ท่ีทาการศกึ ษาปัจจยั ความสาเร็จของ ธุรกิจขนาดยอ่ มในนามีเบีย พบวา่ ลกั ษณะการเป็ นผ้ปู ระกอบการมีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จของธุรกิจทงั้ ในมมุ ของการวดั ความสาเร็จโดยตวั ผ้ถู กู วิจยั , ขนาดของธรุ กิจและ ความสาเร็จในอตั ราการเตบิ โต ขณะที่งานวจิ ยั ของวตั กิน้ (Watkin, 1976 quoted in Caird, 1993, p. 12) ที่ศกึ ษาเปรียบเทียบระหว่างผ้ปู ระกอบการผวิ ขาวและผิวดา เพื่อหาลกั ษณะจาเป็นที่ ผ้ปู ระกอบการควรมี พบวา่ ความเป็นตวั ของตนเองไมม่ ีความแตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สาคญั ระหวา่ ง ผ้ปู ระกอบการ 2 กลมุ่ อีกทงั้ ผลการสารวจข้อมลู ผ้ปู ระกอบธุรกิจสว่ นตวั ของไบรเลย์ และเวสต์ เฮด (Birley and Westhesd, 1994, pp.7-31) เพ่ือหาสาเหตจุ งู ใจตอ่ การเร่ิมทาธรุ กิจ พบวา่ ความ ต้องการเป็นอสิ ระของผ้ปู ระกอบการมีผลตอ่ การเข้าสธู่ รุ กิจสว่ นตวั น้อยมากเม่ือเทียบกบั ปัจจยั อื่นๆ สว่ นงานวิจยั ในประเทศไทยท่ีทาการศกึ ษาความสมั พนั ธ์ความเป็ นตวั ของตนเองกบั ความสาเร็จในการประกอบการนนั้ ไมม่ ีความสมั พนั ธ์กนั ไมว่ า่ จะเป็นผ้ปู ระกอบการในธรุ กิจ OTOP ระดบั 4-5 ดาวประเภทอาหาร (จริยา ตนั ตพิ งศ์อนนั ต์, 2549, น. 91) เชน่ เดียวกบั ผ้ปู ระกอบการในธรุ กิจของผ้ปู ระกอบการสินค้าหนง่ึ ตาบล หนงึ่ ผลิตภณั ฑ์ ระดบั 3-5 ดาว ประเภท สมนุ ไพรท่ีไมใ่ ชอ่ าหาร (กญั ญวชั ร ธนะจนั ทร์, 2552, น. 127) 2. ความมีนวัตกรรม (Innovativeness Orientation) งานวจิ ยั ในตา่ งประเทศ ได้มีการศีกษาเก่ียวกบั ความมีนวตั กรรมวา่ มีความสมั พนั ธ์ กบั ความสาเร็จในการประกอบการ โดยการศกึ ษาของมิทตนั (Miiton, 1989) พบวา่ ความคดิ ในเชงิ

30 นวตั กรรมเป็นจดุ สาคญั ของความเป็ นผ้ปู ระกอบการ เน่ืองจากผ้ปู ระกอบการธรุ กิจมีส่วนในการ ผลกั ดนั การขยายตวั ของภาพรวมเศรษฐกิจ ซงึ่ จากผลการวิจยั เห็นว่าผ้ปู ระกอบการจะมีความคดิ ในเชิงนวตั กรรมมากกว่าผ้ทู ี่ไมไ่ ด้เป็นผ้ปู ระกอบการอยา่ งมีนยั สาคญั (Koh, 1996) นอกจากนนั้ เฟรเซอ , เคราส์และฟรายดชิ (Frese, Krauss and Friedrich, 2000) ศกึ ษาผ้ปู ระกอบการใน ประเทศซมิ บบั เว พบวา่ ความมีนวตั กรรมเป็นคณุ ลกั ษณะหลกั ท่ีมีความสมั พนั ธ์กบั ควาสาเร็จ เชน่ เดยี วกบั ที่มีการศกึ ษาในประเทศแซมเบียของเคย์เซอร์ ครุฟ และเฟรเซอ (Keyser, Kruit and Frese, 2000) พบวา่ ความมีนวตั กรรมมีความสมั พนั ธ์กบั ความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ และมี ความสอดคล้องกบั ท่ีทกุ คนเช่ือวา่ ผ้ปู ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จเป็นผ้รู ิเร่ิมในสถานการณ์ที่ ผ้อู ่ืนไมท่ า และสมคั รใจท่ีจะทาตามความคดิ ท่ีมกั จะแตกตา่ งจากผ้อู ื่นท่ีไมใ่ ชผ่ ้ปู ระกอบการ เพราะ ผ้คู นสว่ นใหญ่มกั มีความคดิ ท่ีดี แตไ่ มส่ ามารถเปลี่ยนเป็ นการกระทาได้ (Lambing and Kuehl, 2003, p. 27) เสนอวา่ ผ้ปู ระกอบการเป็ นผ้มู ีความคิดเชงิ นวตั กรรมมากกวา่ ผ้ทู ี่ไมไ่ ด้เป็น ผ้ปู ระกอบการ เชน่ เดียวกบั งานวิจยั ของออลสนั และโบเกอร์ (Olson & Boker, 1995) ท่ีพบวา่ ความมีนวตั กรรมเป็นสิ่งสาคญั ตอ่ ความสาเร็จ แตต่ ้องพจิ ารณาปัจจยั รูปแบบการวางแผนเป็นตวั แปรกากบั แสดงวา่ ความมีนวตั กรรมเป็นสิง่ สาคญั ตอ่ ความสาเร็จ แตต่ ้องพิจารณาปัจจยั รูปแบบ การวางแผนร่วมด้วย สว่ นงานวิจยั ในประเทศไทยนนั้ ได้มีการศกึ ษาของภาสกรและภาณี (2545, 2546) ท่ีพบวา่ ผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จสงู จะมีคา่ เฉลี่ยในด้านความกล้าริเริ่มสงู กวา่ ผ้ปู ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จตา่ เชน่ เดียวกบั ผ้ปู ระกอบการในธรุ กิจอาหารแชแ่ ขง็ กลมุ่ ผลติ ภณั ฑ์จากสตั ว์นา้ เสนอวา่ ความมีนวตั กรรมมีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จในการ ประกอบการ (อรการ พฒุ ิภาสพาณิช, 2550, น.101) ขณะที่มีบางงานวจิ ยั ในประเทศไทย ท่ีไมพ่ บความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความมีนวตั กรรม กบั ความสาเร็จในการประกอบธรุ กิจของผ้ปู ระกอบการ OTOP 4-5 ดาว ประเภทอาหาร เพราะ อาจเนื่องจากการที่รัฐชว่ ยให้ข้อมลู และคาปรึกษาเพื่อแนะแนวโน้มของสนิ ค้าในตลาดเป้ าหมาย (เดลนิ วิ ส์, 2547, น. 4) ทาให้ผ้ปู ระกอบการจงึ ไมม่ ีความคิดริเริ่มในสง่ิ ใหมๆ่ เอง ไม่ต้องตดั สนิ ใจ เกี่ยวกบั สนิ ค้าในตลาดมากนกั เพราะมีรัฐบาลที่คอยชว่ ยตดั สินใจให้ทกุ อยา่ ง (จริยา ตนั ตพิ งศ์ อนนั ต,์ 2549, น. 91) 3. ความกล้าเส่ียง (Risk taking Orientation) แมนคโู ซ (Mancuso, 1975) พบวา่ บคุ คลที่จะสร้างธรุ กิจของตนเองมกั จะมี

31 คณุ สมบตั ริ ับความเส่ียงในระดบั กลางๆ ซงึ่ มีความเส่ียงนีส้ ามารถแบง่ ออกได้เป็ น 3 องค์ประกอบ คอื แนวโน้มรับความเสี่ยงแบบทวั่ ๆไป การประเมนิ โอกาสท่ีกิจการนนั้ ๆจะล้มเหลว และการ ประเมินผลท่ีจะตามมา หากธรุ กิจนนั้ ๆล้มเหลว และการศกึ ษาของมิลล์ (Mill, 1984) พบวา่ การ จดั การกบั ความเส่ียงถือเป็ นองค์ประกอบสาคญั ในการจาแนกความแตกตา่ งระหวา่ ง ผ้ปู ระกอบการกบั ผ้จู ดั การ รวมทงั้ สจ๊วตและร๊อท (Stewart & Roth, 2001) ได้ทาการศกึ ษา เก่ียวกบั ความเส่ียง โดยวจิ ยั เปรียบเทียบความกล้าเส่ียงระหวา่ งผ้ปู ระกอบการธรุ กิจที่เป็นเจ้าของ กิจการ กบั ผ้จู ดั การธุรกิจที่ไมใ่ ชเ่ จ้าของกิจการ พบว่าผ้ปู ระกอบการท่ีเป็นเจ้าของกิจการมีความ กล้าเสี่ยงสงู กวา่ ผ้ปู ระกอบการที่ไมใ่ ชเ่ จ้าของกิจการ และการศกึ ษาของมาสเตอร์ และไมเยอร์ (Master & Meier, 1988) ซง่ึ ทาการศกึ ษาความเตกตา่ งระหวา่ งผ้ปู ระกอบการหญิงและชาย อเมริกนั ในความกล้าเส่ียง และพบวา่ ผ้บู ริหารท่ีเป็ นเจ้าของกิจการและผ้บู ริหารท่ีไมไ่ ด้เป็นเจ้าของ กิจการ ก็ไมม่ ีความแตกตา่ งกนั ในความกล้าเส่ียงด้วย นอกจากนี ้ชอเวอร์ และยเู ซอร์ (Schwer & Yucer, 1984) ทาการศกึ ษาถึงความกล้าเสี่ยงในกลมุ่ ผ้ปู ระกอบการธรุ กิจขนาดยอ่ มในเวอร์มอนต์ พบวา่ ความกล้าเสี่ยงมีความแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตใิ นด้านอายุ การศกึ ษา และ ประสบการณ์ในการทาธรุ กิจ หากอายุ การศกึ ษาและประสบการณ์ในการทาธรุ กิจมีมาก จะมี ความกล้าเส่ียงมาก ดงั นนั้ ผ้ปู ระกอบการจะมีลกั ษณะท่ีพร้อมรับมือกบั ความเส่ียงจากการดาเนิน ธุรกิจของตนเองได้เป็ นอย่างดี สว่ นงานวจิ ยั ในประเทศไทย พบวา่ กลมุ่ ผ้ปู ระกอบการมีความกล้าเส่ียงอยา่ ง สมเหตสุ มผลสงู กวา่ และกล่าวสรุปวา่ คณุ ลกั ษณะแหง่ ความกล้าเสี่ยงอยา่ งสมเหตสุ มผลเป็น คณุ ลกั ษณะที่จาเป็นยงิ่ สาหรับผ้มู ีอาชีพประกอบการ เพราะต้องอยใู่ กล้ชิดกบั ความเส่ียง และ ภาวการณ์ที่ไมแ่ นน่ อนตลอดเวลา (ปราโมทย์ เจนการ, 2523, น. 89) ในขณะที่วรรณา ฉายา วฒั นะ (2544) ปาริชาต บณุ ยะโรจน์ (2544) จริยา ตนั ติพงศ์อนนั ต์ (2549) พบว่าความกล้าเสี่ยง ไมม่ ีความสมั พนั ธ์กบั ความสาเร็จในการประกอบการ เชน่ เดียวกบั ที่ชเู กียรติ จากใจชน (2546) พบวา่ ไมม่ ีความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความชอบเส่ียงกบั การเจริญเตบิ โตขององค์กร 4. ความก้าวร้าวในการแข่งขัน (Competitive Aggressiveness Orientation) จากการศกึ ษาของเฟรเซอ (Frese, 2000, p. 106) มีการศกึ ษาผ้ปู ระกอบการธรุ กิจ ขนาดเลก็ ชาวแอฟริกา พบวา่ ไมค่ อ่ ยลกั ษณะความก้าวร้าวในการแขง่ ขนั ทงั้ นีเ้น่ืองจากลกั ษณะ ทางสงั คมของชาวแอฟริกา เป็นแบบพหสุ งั คม อยา่ งไรก็ดีสมมตฐิ านด้านความก้าวร้าวในการ แขง่ ขนั ก็มีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จ ขณะที่การศกึ ษาของเฟรเซอส ครอสส์ และ ฟรายดชิ (Frese, Krauss and Freiedrich, 2000) ซง่ึ ทาการศกึ ษาผ้ปู ระกอบการขนาดยอ่ มของ

32 ประเทศซิมบมั เว พบว่าความแขง็ แกร่งในการแขง่ ขนั ไมม่ ีความสมั พนั ธ์กบั ความสาเร็จ งานวจิ ยั ในประเทศไทย ที่ได้ศกึ ษาลกั ษณะผ้ปู ระกอบการของประกอบการ อตุ สาหกรรมขนาดยอ่ มในอตุ สาหกรรมแมพ่ ิมพ์โลหะและพลาสตกิ ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล (วรรณา ฉายาวฒั นะ, 2544, น.92) และการศกึ ษาบคุ ลกิ ที่เป็นผ้ปู ระกอบการ และ ความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการสินค้าหนง่ึ ตาบล หนงึ่ ผลิตภณั ฑ์ระดบั 3-5 ดาว ประเภทสมนุ ไพรที่ ไมใ่ ชอ่ าหาร (กญั ญวชั ร ธนะจนั ทร์, 2552, น.127) พบวา่ ไมม่ ีความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความก้าวร้าว ในการแขง่ ขนั กบั ความสาเร็จเชน่ กนั 5. ความสม่าเสมอและใฝ่ ใจในการเรียนรู้ (Stability and learning Orientation) จากการศกึ ษาแบรดส์ แตเตอร์ (Brandstaetter, 1997) พบวา่ ความสม่าเสมอและ ใฝ่ ใจในการเรียนรู้มีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จทางบวกกบั ความสาเร็จ เชน่ เดียวกบั การศกึ ษาของเฟรเซอ (Frese, 2000, p.125) รวมทงั้ การศกึ ษาของแซลล่ี พี คาร์ด (Sally P. Caird, 1993) ท่ีทาการวดั บคุ ลิกภาพผ้ปู ระกอบการโดยใช้ Honey and Mumford Measure of Learning พบวา่ ผ้ปู ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จและเตบิ โตในกิจการขนาดเลก็ สว่ นมากมีการ เรียนรู้จากการกระทาและทดลองปฏิบตั มิ ากกวา่ เรียนรู้จากทฤษฎี สว่ นงานวจิ ยั ในประเทศไทยที่ทาการศกึ ษากบั ผ้ปู ระกอบการในธุรกิจอตุ สาหกรรม โลหะพลาสตกิ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบวา่ บคุ ลิกการเป็นผ้ปู ระกอบการในด้าน ความสม่าเสมอและความใฝ่ ใจในการเรียนรู้มีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จในการดาเนนิ ธรุ กิจอยา่ งมีนยั สาคญั (วรรณา ฉายาวฒั นะ, 2544, น.88) ซงึ่ ขดั แย้งกบั งานวจิ ยั ผ้ปู ระกอบการใน ธุรกิจประเภทท่ีพกั ในเขตพืน้ ท่ีประสบภยั สนึ ามใึ นประเทศไทย (ปลีนา บางกรวย, 2550, น. 96) เชน่ เดยี วกบั ผ้ปู ระกอบการ OTOP (4-5 ดาว) ประเภทอาหาร และผ้ปู ระกอบการในธุรกิจร้าน หนงั สือ (จริยา ตนั ตพิ งศ์อนนั ต,์ 2549, น. 86 และ ปาริชาต บณุ ยะโรจน์, 2544, น.88) 6. ความใฝ่ ใจในความสาเร็จ (Achievement Orientation) จากการศกึ ษาตามทฤษฎีของ McClelland (1987) ได้เสนอวา่ ความต้องการใฝ่ สมั ฤทธ์ิมีความสมั พนั ธ์กบั ความเป็นผ้ปู ระกอบการและการเตบิ โตทางธุรกิจ และเป็นตวั กาหนด ศกั ยภาพของผ้ปู ระกอบการอีกด้วย ความต้องการใฝ่ สมั ฤทธ์ิสงู ได้รับการให้คาจากดั ความวา่ เป็น ผลทางบวกในการปลกุ สถานการณ์ที่เก่ียวข้องกบั การแข่งขนั กบั มาตรฐานความเป็นเลศิ และมี ความสมั พนั ธ์กบั คณุ ลกั ษณะมากมาย (Caird, 1993, p.14) ซง่ึ สอดคล้องกบั ผลการวิจยั ของ คปู รอย และเฟรเซอ (Koop, Reuvand Frese, 2000, pp. 158-175) ที่ศกึ ษาพบวา่ ความใฝ่ ใจใน ความสาเร็จมีคา่ เฉล่ียสงู และมีความสมั พนั ธ์ในทางบวกกบั ความสาเร็จในการประกอบการ และ

33 เป็นไปในทิศทางเดยี วกบั งานวจิ ยั ของเบก็ เลย์ บอยด์ และคณะ (Begley, Boyd et al., 1998, p. 138) ที่พบวา่ ความต้องการใฝ่ สมั ฤทธิ์มีความเกี่ยวข้องกบั ผ้ปู ระกอบการ ซงึ่ พวกเขาจะกาหนด เป้ าหมายท่ีท้าทาย และให้ข้อมลู ย้อนกลบั เป็นวิธีประเมนิ การบรรลุเป้ าหมาย และผ้ทู ี่ประสบ ความสาเร็จในการลงทนุ มีความต้องการใฝ่ สมั ฤทธิ์สงู กวา่ ผ้ทู ่ีไมไ่ ด้เป็นก่อตงั้ และผ้จู ดั การบริษทั สอดคล้องกบั คปู เปอร์ และจิเมโนขเกสคอน (Cooper and Gimeno-Gascon, 1992) ทาการศกึ ษากบั ผ้ปู ระกอบการธรุ กิจขนาดเล็ก พบวา่ 3 ใน 4 ของการศกึ ษายืนยนั ว่าความใฝ่ ใจใน ความสาเร็จมีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จของธรุ กิจขนาดเล็ก ขณะที่บอนเนท และเฟิร์น แฮม (Bonnett and Furnham, 1991) ทาการศกึ ษาไมพ่ บความแตกตา่ งของความใฝ่ ใจใน ความสาเร็จระหวา่ งผ้กู ่อตงั้ กิจการ และผ้ทู ่ีไมใ่ ชผ่ ้กู ่อตงั้ กิจการ สว่ นงานวิจยั ในประเทศไทยท่ีได้ทาการศกึ ษา พบวา่ ผ้ปู ระกอบการที่ประสบ ความสาเร็จสงู จะมีความใฝ่ ใจในความสาเร็จสงู กวา่ ผ้ปู ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จต่า (ภาส กร แชม่ ประเสริฐ, 2545, น.87) และผ้ปู ระกอบการมีความต้องการใฝ่ สมั ฤทธิ์สงู กวา่ กลมุ่ ลกู จ้าง และสรุปวา่ ความต้องการใฝ่ สมั ฤทธ์ิเป็นคณุ ลกั ษณะด้านจิตใจท่ีชว่ ยสง่ เสริม และกระต้นุ ให้บคุ คล ใช้ความสามารถและอตุ สาหะในการดาเนินกิจการให้ก้าวหน้ามนั่ คง (ปราโมทย์ เจนการ, 2523, น. 98) ขณะท่ีงานวจิ ยั ของปลีนา บางกรวย (2550, น.96) จริยา ตนั ตพิ งษ์อนนั ต์ (2549, น.95) วรรณา ฉายาวฒั นะ (2544, น. 94) และ กญั ญวชั ร (2552, น.127) ไมพ่ บความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ความใฝ่ ใจในความสาเร็จกบั ความสาเร็จในการประกอบธุรกิจ 3. แนวคิดเก่ียวกับภูมิความรู้ความชานาญ (Human Capital) ภมู ิความรู้ความชานาญ หรือ ทุนมนุษย์ มีแนวคิดพืน้ ฐานมาจากนกั เศรษฐศาสตร์ รางวลั โนเบิล (Nobel Price) ปี ค.ศ.1992 คือ แกรี่ เบคเกรอร์ (Gary Becker, Professor of Economics and Sociology at the University of Chicago) และ โรส – แมรี่ และแจค อาร์ แอน เดอร์สนั (Rose – Marie and Jack R Anderson, 1994) Becker, Gary. 1994) ซึ่งมีนกั เศรษฐศาสตร์ได้ให้ความหมายของคาว่าทนุ มนุษย์ ไว้ตรงกนั ว่า ทุนมนุษย์ ประกอบด้วย ทกั ษะ ประสบการณ์ และความรู้ (ศิระ โอภาสพงษ์ , 2543, น.32) ทนุ มนษุ ย์เป็ นสินทรัพย์ชนิดหน่งึ และ เป็ นสินทรัพย์ท่ีไม่มีตวั ตน (Intangible) ซึ่งตามปกติแล้วไม่สามารถวัดเทียบค่าทางธุรกิจ แต่ก็ สามารถแปรสภาพให้กลายเป็ นสินทรัพย์ท่ีสามารถวัดเทียบคณุ ค่าออกมาได้ เม่ือเทียบคุณค่า ออกมาได้ ก็สามารถวดั ได้ และก็สามารถจดั การได้

34 การจัดการในทุนมนุษย์ คือ การลงทุนมนุษย์ เป็ นการลงทุนในตัวบุคคล เพิ่ม ศกั ยภาพบุคคล เพ่ือไปเพิ่มคณุ ค่าผลผลิตในรูปของการสร้ างคณุ ค่าและการฝึ กอบรม เป็ นการ ลงทุนทรัพย์ที่สาคญั ที่สดุ (Becker, 2006, P1) ในการลงทนุ ทรัพยากรมนษุ ย์ คนงานได้รับการ ฝึ กฝนและเรียนรู้จากภายนอกโรงเรียน โดยทกั ษะจากการทางาน เป็ นการเพิ่มประสบการณ์ จึง เป็นการสะสมทนุ มนษุ ย์ นอกจากนนั้ การดแู ลรักษาทางการแพทย์ถือว่าเป็ นการรักษาสขุ ภาพสว่ น บคุ คลให้สมบรู ณ์ ทนุ มนษุ ย์จงึ ประกอบด้วยทงั้ ศกั ยภาพและสขุ ภาพของมนษุ ย์ การเพ่ิมทุนมนุษย์ นาไปสู่ผลการผลิตและการบริการท่ีมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ การศึกษาเกี่ยวกบั ทนุ มนุษย์เพ่ือนาไปส่กู ารพัฒนาทุนมนุษย์จึงถือว่าเป็ นปัจจยั ที่มีความสาคญั เป็นอย่างย่ิงตอ่ ความสาเร็จขององค์กร จึงกล่าวได้วา่ ความสาเร็จขององค์กรขนึ ้ อยกู่ บั ทนุ มนษุ ย์ ในองคก์ ร จะเห็นได้ว่ามีผู้ทาการศึกษาทฤษฎีเร่ืองทุนมนุษย์ไว้เป็ นจานวนมาก และต่างให้ แนวคดิ ในหลากหลายแง่มมุ ซงึ่ ผ้วู จิ ยั ได้ทาการรวบรวมไว้ดงั นี ้ แนวคิดของเบคเกอร์ (Bekker, 1993, p.179) ได้แยกแนวคดิ ของทุนมนุษย์ไว้สอง ลกั ษณะคือ ลักษณะเฉพาะ(specific) และลักษณะท่ัวไป (general) ลักษณะทุนมนุษย์เฉพาะ เกี่ยวข้องกบั ทกั ษะหรือความรู้ท่ีมีประโยชน์เฉพาะคนเดียวนนั้ ในขณะทนุ มนษุ ย์ทว่ั ไปมีประโยชน์ ตอ่ ทกุ คน เม่ือวเิ คราะห์ทนุ มนษุ ย์จะมีลกั ษณะท่ีเก่ียวข้อง เชน่ ทนุ ทางสงั คม(social capital) การ แลกเปลี่ยนความรู้หรือทนุ ทางความรู้ (instruction capital) ภาวะผ้นู าของบุคคล และความคิด สร้างสรรค์หรือทนุ สว่ นบคุ คล (individual capital) ลกั ษณะความแตกตา่ งทางทนุ ตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วนี ้ ประยกุ ต์ไปสกู่ ารดาเนินการทางเศรษฐกิจ คาว่า ทนุ มนษุ ย์จงึ ครอบคลมุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ดงั กลา่ ว ด้วย โดยสรุปสาระสาคัญของทุนมนุษย์ดังกล่าวคือ การเพิ่มคุณค่านาไปสู่การเพิ่ม ศกั ยภาพบคุ คล เพื่อเพ่มิ คณุ คา่ ทางผลผลิต ดงั นนั้ การลงทนุ หรือเพิ่มทนุ มนษุ ย์โดยการศกึ ษาและ การฝึ กอบรมจากการให้ความรู้และการดแู ลสขุ ภาพให้เกิดศกั ยภาพท่ีมีคณุ ภาพก่อนจะก่อให้เกิด การเพม่ิ ผลผลติ ในด้านนนั้ ๆ จากแนวคิดด้านทนุ มนษุ ย์ท่ีมีการพฒั นาความเข้าใจตอ่ เน่ือง และจากแนวคิดของ เบคเกอร์ดงั กล่าวข้างต้น รวมทงั้ บอริส กรอยส์เบอร์ก และแอนดรู เอนแมคลีน และนิตนิ นอร์เรีย (Boris Groysberg Andrew N Mclean and Nitin Nohria, 2006 ) ได้สรุปแนวคดิ ทฤษฏีทนุ มนษุ ย์ วา่ ทนุ มนษุ ย์ควรกาหนดรูปเค้าโครงเป็นรูปแบบ มีทกั ษะและผลลพั ธ์ สามารถถ่ายโอนได้ เรียกว่า Portfolio Model of Human capital ซง่ึ มี 5 ลกั ษณะ คือ

35 1. ทุนมนุษย์ด้านการจดั การทว่ั ไป (General management human capital) หมายถึง ความสามารถในการจดั การทวั่ ไป ซ่ึงเป็ นระบบการบริหารที่นาไปสู่การปฏิบตั ิ ในด้าน ต่าง ๆ เช่นด้านการเงิน ด้ านเทคนิค และการจัดการทรัพยากรมนุษย์ รวมถึงภาวะผู้นา ความสามารถในการตดั สนิ ใจจดั การ พนั ธกิจ ลกั ษณะของการจดั การทว่ั ไปนี ้สามารถถ่ายโอนได้ สงู ผ้บู ริหารในทกุ องค์กรเมื่อก้าวหน้าเข้าส่ตู าแหนง่ ผ้จู ดั การพนั ธกิจในองค์การใหม่ ถือวา่ เป็ นการ ถา่ ยโอนการจดั การความรู้จากที่เดมิ มาส่ทู ี่ใหม่ เป็นการถา่ ยโอนทงั้ ความรู้และประสบการณ์ 2. ทนุ มนษุ ย์ด้านกลยทุ ธ์ (Strategic human capital) ทนุ มนษุ ย์ท่ีมีศกั ยภาพหรือ ความสามารถด้านกลยทุ ธ์หรือทกั ษะยทุ ธศาสตร์เฉพาะด้าน เชน่ กลยทุ ธ์การลดต้นทนุ กลยทุ ธ์ การตลาด กลยทุ ธ์การขบั เคลื่อนการเปลี่ยนแปลง (change management) ทนุ มนษุ ย์ลกั ษณะนี ้ สามรถถ่ายโอนไปยงั องค์กรอ่ืนหรือโรงงาน ท่ีมีสถานการณ์ท่ีเผชิญหน้าคล้ายกนั สามารถปรับปรุง สภาพแวดล้อมให้สามรถจดั การตอ่ ไปได้ โดยใช้กลยทุ ธ์ขบั เคล่ือนการดาเนินการมีความสามารถ ในการวเิ คราะห์สถานการณ์เพื่อกาหนดกลยทุ ธ์ 3. ทนุ มนษุ ย์ด้านอตุ สาหกรรม (Industrial human capital) หมายถึงทนุ มนษุ ย์ท่ีมี ความสามารถในการเรียนรู้และถ่ายทอดรายละเอียดในการประกอบอาชีพด้านอุตสาหกรรม จะ ประกอบด้วยการเรียนรู้และการสร้างหรือกาหนดกฎเกณฑ์ การให้บริการลกู ค้า การสง่ มอบของสู่ งานอุตสาหกรรม กล่าวโดยสรุป ก็คือความรู้ชนิดนีห้ รือทุนท่ีมีเหมาะสาหรับการปฏิบตั ิในงาน อตุ สาหกรรม 4. ทนุ มนษุ ย์ด้านความสมั พนั ธ์ (Relationship human capital) หมายถึงทนุ มนษุ ย์ ด้านความสมั พนั ธ์สะท้อนสมรรถภาพของผ้บู ริหาร ในการสร้างความสมั พนั ธ์กบั ทีมงานหรือเพื่อน ร่วมงานสามารถช่วยให้เกิดความสาเร็จในการบริหารงานในหน่วยงานใหม่การสร้ างเครือข่าย เพื่อนร่วมกนั ทางาน 5. ทนุ มนุษย์ด้านความสามารถเฉพาะงาน (Company specific) หมายถึงความรู้ เก่ียวกับเกี่ยวกับงานที่ทาและวิธีการโครงสร้ างขององค์การ วัฒนธรรมองค์กร ระบบและ กระบวนการท่ีมีลกั ษณะเฉพาะองคก์ ร ทนุ มนษุ ย์แบบนีถ้ ่ายโอนไปสอู่ งค์กรอื่นได้น้อยท่ีสดุ จากลกั ษณะของทนุ มนษุ ย์ทงั้ 5 ลกั ษณะดงั กลา่ วข้างต้น ทนุ มนษุ ย์ลกั ษณะที่ 1 คือ ทนุ มนุษย์ด้านจดั การทวั่ ไปสามารถถ่ายโอนไปส่อู งค์การอ่ืนๆ ได้ ง่ายที่สดุ ใน 5 ลกั ษณะเร่ือยลง มาตามลาดบั คือ ลักษณะทุนมนุษย์ด้านกลยุทธ์ ทุนมนุษย์ด้านอุตสาหกรรม ทุนมนุษย์ด้าน ความสมั พนั ธ์ และทนุ มนษุ ย์ด้านความสามารถเฉพาะงาน ในการศกึ ษากรอยส์เบอร์ก และคณะ เพื่อตรวจสอบความสามารถของผู้บริหารใน การถา่ ยทอดความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ในการบริหารหรือทนุ มนษุ ย์ ในหนว่ ยงานอื่น

36 ในระหว่างปี ค.ศ.1989-2001 พบว่ามีเพียง 3 คนเทา่ นนั้ ท่ีประสบความสาเร็จในการบริหารงาน อตุ สาหกรรมท่ีมีกติกาและกฎเกณฑ์ท่ีแตกตา่ งจากองค์กรเดมิ เม่ือพิจารณารายละเอียด ลกั ษณะ ที่ถ่ายทอดพบว่า ความรู้ด้านเทคนิคเก่ียวกับแพทย์ วิศวกรรม หรือ ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ ของ งานอตุ สาหกรรมบางประเภทบางครัง้ ไมเ่ กิดประโยชน์กบั งานอตุ สาหกรรมที่มีเทคโนโลยีไม่ซบั ซ้อน ในทานองเดียวกนั ประสบการณ์การค้าขายในธุรกิจขนาดใหญ่จะไม่เหมาะกบั การนามาใช้ในงาน อตุ สาหกรรมยอ่ ย ๆ ในยุคปัจจุบนั การแข่งขันศักยภาพของมนุษย์ในด้านความรู้ ถือว่าเป็ นตัวบ่งชีท้ ่ี สาคญั ของผลผลติ สว่ นบคุ คลและประเทศชาติ ตวั อยา่ งที่ชดั เจนท่ีมีการลงทนุ ทางมนษุ ย์ทงั้ ในเร่ือง การศึกษา การฝึ กอบรมและสุขภาพ เช่น ญี่ป่ นุ ไต้หวัน ฮ่องกง เกหลีใต้ และประเทศอื่น ๆ อีก หลายประเทศ ซึ่งได้ให้ความสาคญั ในการพฒั นาทนุ มนุษย์มาก ผลปรากฏว่าประชาชนมีความ ศึกษาดี สุขภาพดี มีความสามารถสูง และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ได้เป็ นปัจจัยนาพาประเทศไปสู่ ความสาเร็จ การสร้างเสริมความรู้ทางทฤษฎีทนุ มนษุ ย์จะเป็ นแนวทางการพฒั นาศกั ยภาพของ มนษุ ย์เพ่ือเพิม่ ทนุ มนษุ ย์ นาไปสกู่ ารพฒั นาองค์กรและสงั คม ดงั นนั้ ทุนมนุษย์จึงเป็ นวิธีการกาหนดและจัดแบ่งทักษะและความสามารถของ บคุ คลท่ีนาไปใช้ในการทางานหรืออย่างอื่นท่ีช่วยให้มีรายได้ นกั ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ในยุคหน่ึง กลา่ ววา่ “แรงงาน” ถือเป็นองค์ประกอบอย่างหนงึ่ ของผลผลติ ดาเวนพอร์ต (2543, น. 32-39) ได้แยกองค์ประกอบของภูมิความรู้ความชานาญ ออกเป็น 4 องค์ประกอบหลกั คอื 1. ความสามารถ (Ability) หมายถงึ ความชานาญในชดุ ของกิจกรรม หรืองาน รูปแบบใด ความสามารถจะประกอบด้วยสว่ นย่อยอีก 3 สว่ น คือ 1.1 ความรู้ (Knowledge) เปี่ ยมด้วยความรู้ในข้อเท็จจริงท่ีจาเป็นสาหรับทางาน หนงึ่ ๆ ความรู้นีม้ ีลกั ษณะกว้างขวางกวา่ ทกั ษะ เพราะความรู้บง่ บอกถงึ ขอบเขตสติปัญญาภายใน งาน หรือภารกิจที่บคุ คลหนง่ึ กระทาอยู่ 1.2 ทกั ษะ (Skill) หมายถงึ ความคลอ่ งแคลว่ รู้จกั ขนั้ ตอนและวิธีการสาหรับ ปฏิบตั ภิ ารกิจใดภารกิจหนงึ่ ให้ลลุ ว่ งได้เป็นอยา่ งดี ทกั ษะนีม้ ีตงั้ แตค่ วามแข็งแกร่งทางกายภาพ ไป จนถึงความปราดเปรียวคลอ่ งแคลว่ กบั การเรียนรู้เฉพาะเร่ือง 1.3 ความสามารถเฉพาะตวั หรือพรสวรรค์ (Talent) เป็นคณุ สมบตั สิ าหรับ ทางานใดงานหนงึ่ อยา่ งเดน่ ชดั ตดิ ตวั มาแตก่ าเนิด จากนนั้ ฝึกฝนตนเองจนคลอ่ งแคลว่ ชานาญ คา วา่ พรสวรรค์นี ้มีความหมายทว่ั ไป ก็คือ ความสามารถตามธรรมชาตนิ น่ั เอง 2. พฤตกิ รรม (Behavior) หมายถึง ลกั ษณะการแสดงออกที่มีสว่ นตอ่ ความสาเร็จ

37 ของงานท่ีสงั เกตได้ พฤติกรรมรวมเอาการตอบสนองท่ีมีมาแตเ่ ดิม และที่ได้รับการฝึ กฝนอบรมมา ใหม่ ที่คนคนหนึง่ จะแสดงกบั สถานการณ์ ตลอดจนปัจจยั กระต้นุ เชิงสถานการณ์ตา่ งๆ ลกั ษณะ อาการที่เราแสดงออกไปจะแสดงถึงค่านิยม จริยธรรม ความเชื่อ และปฏิกิริยาตอ่ โลกที่เราอาศยั อยู่ 3. ความพยายาม (Effort) คือ การนาเอาทรัพยากรทางกาย และความคดิ ไปใช้ด้วย ความมีสติ เพื่อบรรลเุ ป้ าหมายเฉพาะบางอย่าง ความพยายามเป็ นหวั ใจของจรรยาบรรณในการ ทางาน โดยความพยายามจะเป็ นตัวกระตุ้นผลักดันให้ เกิดทักษะ ความรู้ และความสามารถ เฉพาะตวั ตลอดจนพฤติกรรมท่ีได้รับการควบคมุ หากปราศจากความพยายาม ก็เปรียบเสมือนรถ จกั ร 4. เวลา (Time) หมายถึง ปัจจยั ด้านลาดบั เวลาของการลงทนุ ในทนุ มนษุ ย์ เวลาถือ เป็ นทรัพยากรพืน้ ฐานท่ีอยู่ภายใต้การควบคมุ ของบุคคล คนทางานที่มีความสามารถเฉพาะตวั ทักษะ มีความรอบรู้และทุ่มเทมากที่สุด จะไม่สามารถสร้ างผลงานใดๆออกมาได้เลย หาก ปราศจากเรื่องของเวลาในการทางานนนั้ ๆ จากองค์ประกอบตา่ งๆสามารถเขียนแสดงความสมั พนั ธ์เป็นสมการได้ดงั นี ้ การลงทุนในทุนมนุษย์ = ความสามารถ x ความพยายาม x เวลา ความรู้ ทกั ษะ ความสามารถเฉพาะตวั ดร.เฟรเซอ (Frese, 2000, p.25) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับการวัดภูมิความรู้ความ ชานาญวา่ สว่ นใหญ่เป็ นการชีว้ ดั ทางอ้อม การวดั คา่ ภมู ิความรู้ความชานาญแบบดงั้ เดมิ จะทาการ โดยดจู ากระยะเวลาที่ใช้ในการเรียนในโรงเรียน หรือในสถานศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน การทางานอตุ สาหกรรมเฉพาะด้าน และการเป็นผ้นู า นอกจากนีก้ ารที่เคยทากิจกรรมส่วนตวั หรือ การที่บ้านมีกิจการก็ใช้เป็ นตวั ชีว้ ดั ผ้รู ิเร่ิมก่อการธุรกิจได้โดยทางอ้อม ภูมิความรู้ความชานาญมี

38 ความสัมพนั ธ์กับความสาเร็จของผู้ริเริ่มก่อการธุรกิจพอสมควร ถึงแม้จะไม่สูงนกั อีกประการท่ี นา่ สนใจ คอื ลกู หลานของครอบครัวหรือตระกลู ที่มีกิจการสว่ นตวั จะมีตวั อยา่ งที่ดีในการเป็ นผ้รู ิเริ่ม กิจการ สง่ ผลให้มีความต้องการท่ีจะเป็ นเจ้าของกิจการเอง และเป็ นผ้รู ู้ถึงความหมายของการเป็ น ผ้รู ิเริ่มก่อการธุรกิจได้ดี รวมไปถงึ การที่บคุ คลเหล่านีอ้ าจจะได้รับความชว่ ยเหลือทางครอบครัว ทา ให้ตงั้ ตวั ในธุรกิจใหมไ่ ด้เร็วกว่า ดงั นนั้ การวดั ภูมิความรู้ความชานาญตามแนวคิดของเฟรเซอ จะ ทาการวดั ใน 3 องค์ประกอบด้วยกนั คือ จานวนปี ท่ีใช้ในการศกึ ษา (Education year) , ความ ชานาญในวิชาชีพ (Skill) และประสบการณ์ในการทางาน (Experience in management) การวดั ตามวิธีของเฟรเซอนนั้ ครอบคลมุ องค์ประกอบของทนุ มนษุ ย์ทงั้ 4 สว่ นที่กล่าวมาข้างต้น รวมทงั้ ใน รายละเอียดข้อยอ่ ยด้วย ดงั นนั้ ในการวิจยั ครัง้ นี ้จึงเลือกใช้แนวทางของ ดร.เฟรเซอ เป็ นดชั นีวดั ภมู คิ วามรู้ความชานาญของผ้ปู ระกอบการ งานวิจัยท่ีเก่ียวกับภูมิความรู้ความชานาญและความสาเร็จ 1. จานวนปี ท่ใี ช้ในการศึกษากับความสาเร็จในการประกอบการ (Education Year) จากการศกึ ษาวจิ ยั ของ บรูซ และฮีสริช (Brush and Hisrich, 1991, pp. 27-55) ที่ ศกึ ษาปัจจยั ที่มีอทิ ธิพลตอ่ ธรุ กิจ โดยมีกลมุ่ ตวั อยา่ งเป็นผ้ปู ระกอบการหญิงจานวน 172 คน พบวา่ ผ้ปู ระกอบการหญิงท่ีประสบความสาเร็จสงู จะมีระดบั การศกึ ษาสงู ด้วย ซง่ึ สอดคล้องกบั การศกึ ษาของเว็สเพอร์ (Vesper, 1990, pp. 27-55) ที่พบวา่ ระดบั การศกึ ษามีความสมั พนั ธ์กบั ผล กาไร เชน่ เดียวกบั เฟรเซอ , เคราส์ และฟริดริช (Frese, Krauss and Freidrich, 2000, pp. 104- 130) ทาการศกึ ษาวิจยั กบั ผ้ปู ระกอบการพบวา่ การศกึ ษามีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จ โดยกลมุ่ ผ้ปู ระกอบการที่มีการศกึ ษาวทิ ยาลยั หรือมหาวิทยาลยั (มีอายกุ ารศกึ ษามากกกวา่ 13 ปี ) จะประสบความสาเร็จมากกวา่ กลมุ่ ผ้ทู ี่มีการศกึ ษาตา่ กว่า ซง่ึ มีผลการวิจยั ตรงกบั การศกึ ษาของเด เนียล และคณะ(Daniels et al, 1995, quoted in Frese and Kruit, 2000) ท่ีศกึ ษากบั ผ้ปู ระกอบการในประเทศซมิ บบั เว พบวา่ ภมู ิความรู้ความชานาญมีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ ซง่ึ สอดคล้องกบั ผลงานวิจยั ของคเู ปอร์ และดนั เกลเบอร์ก (Cooper and Dunkelberg, 1992, p. 306) ทาการศกึ ษากบั ผ้ปู ระกอบการจานวน 1,805 ราย พบวา่ คา่ เฉล่ียของระดบั การศกึ ษาอยทู่ ่ีระดบั 13 ถึง 15 ปี ของการเรียนในโรงเรียนซง่ึ สงู กวา่ บคุ คลทวั่ ไป และผลการศกึ ษาของบรูม และลองเกนเนคเกอ (Broom and Longenecker, 1971, pp. 103- 108) พบวา่ สาเหตหุ นง่ึ ท่ีสาคญั ของความล้มเหลวในการประกอบธรุ กิจขนาดยอ่ มมาจาก

39 ผ้ปู ระกอบการขาดการศกึ ษาที่เพียงพอ สว่ นงานวจิ ยั ในประเทศไทยท่ีทาการวิจยั เกี่ยวกบั ปัจจยั ปัจจยั ท่ีสง่ เสริมให้สตรีใน ภาคใต้ของไทยประสบความสาเร็จทางธรุ กิจ โดยพบวา่ ระดบั การศกึ ษาเป็นปัจจยั หนงึ่ ที่สง่ เสริมให้ ประสบความสาเร็จทางธรุ กิจ (บษุ บง ชยั เจริญวฒั นะ, 2535, น.118) ขณะที่งานวิจยั ของวรรณา ฉายาวฒั นะ (2544, น.95) การศกึ ษากบั ผ้ปู ระกอบการอตุ สาหกรรมขนาดยอ่ มแมพ่ ิมพ์โลหะและ พลาสตกิ ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล พบวา่ จานวนปี ท่ีใช้ในการศกึ ษาไมม่ ีความสมั พนั ธ์กบั ความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ เชน่ เดียวกบั ปลีนา บางกรวย (2550, น.97) ศกึ ษาผ้ปู ระกอบการ ธรุ กิจประเภทที่พกั ในเขตพืน้ ที่ประสบภยั สนึ ามิ , จริยา ตนั ตพิ งศอ์ นนั ต์ (2549, น.92) ศกึ ษา ผ้ปู ระกอบการ OTOP (4-5 ดาว) ประเภทอาหาร และกญั ญวชั ร ธนะจนั ทร์ (2552, น.128) ที่ ศกึ ษาผ้ปู ระกอบการสินค้าหนงึ่ ตาบล หนง่ึ ผลติ ภณั ฑ์ระดบั 3-5 ดาว ประเภทสมนุ ไพรที่ไมใ่ ช่ อาหาร 2. ความชานาญในวิชาชีพ (Skill) จากงานวิจยั ของโรบนิ สนั และเชก็ ตนั (Robinson & Sexton, 2539, น.10) ได้ ทาการศกึ ษาพบวา่ ผ้ปู ระกอบการท่ีมีประสบการณ์ในงานนนั้ ๆมาก่อน มีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จ ซงึ่ สอดคล้องกบั งานวิจยั ของปาร์คเกอร์ (Parker, 1996, quoted in Frese, 2000, p.25) ทาการศกึ ษาผ้ปู ระกอบการขนาดยอ่ มในประเทศแซมเบยี พบว่าประสบการณ์ในการทางาน และประสบการณ์ในด้านอตุ สาหกรรมมีความสมั พนั ธ์กบั ผลกาไรของผ้ปู ระกอบการ และการได้รับ การฝึกอบรม ก็มีความสมั พนั ธ์กบั ความสาเร็จของธุรกิจด้วยเชน่ กนั สว่ นงานวิจยั ของประเทศไทย ท่ีได้ศกึ ษาแนวโน้มการทางานของเยาวชนไทยเกี่ยวกบั การประกอบอาชีพอสิ ระ พบวา่ เยาวชนไทยสว่ นใหญ่เข้าสกู่ ารดาเนินกิจการโดยรับชว่ งธุรกิจจาก พอ่ แม่ หรือการเป็นลกู จ้างพอชานาญงานแล้วจงึ เปิ ดกิจการของตนเอง (เฉลียว บรุ ีภกั ดี, 2539, น. 185-187) สอดคล้องกบั งานวจิ ยั เร่ืองการประกอบกาชีพอิสระสว่ นตวั ในกรุงเทพมหานคร พบวา่ ผ้ปู ระกอบการเร่ิมกิจการ โดยอาศยั ความรู้ความชานาญจากการทางานมาเป็ นเวลานานมากกวา่ ที่จะอาศยั จากสถาบนั การศกึ ษา (ประดิษฐ์ ชาสมบตั ,ิ 2531, น.82-102) ขณะที่การศกึ ษาถึงความแตกตา่ งของภมู คิ วามรู้ความชานาญระหวา่ งกลมุ่ ผ้ปู ระกอบการท่ีมีระดบั ความสาเร็จตา่ งกนั พบวา่ ผ้ปู ระกอบการที่ประสบความสาเร็จมากมีความ ชานาญในงานเดมิ สงู กวา่ ผ้ปู ระกอบการที่ไมป่ ระสบความสาเร็จ และผ้ปู ระกอบการที่ประสบ ความสาเร็จน้อยมีความชานายจากงานเดมิ สงู กวา่ ผ้ปู ระกอบการที่ไมป่ ระสบความสาเร็จอยา่ งมี นยั สาคญั ทางสถิติ (สนุ ทร อจุ จ์ศรี, 2544, น.93) แตไ่ มพ่ บความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความชานาญใน

40 วชิ าชีพกบั ความสาเร็จในการประกอบธุรกิจของผ้ปู ระกอบการสนิ ค้าหนงึ่ ตาบล หนงึ่ ผลิตภณั ฑ์ ระดบั 3-5 ดาว ประเภทสมนุ ไพรท่ีไมใ่ ชอ่ าหาร (กญั ญวชั ร ธนะจนั ทร์, 2552, น.128) เชน่ เดียวกบั การศกึ ษาความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการอตุ สาหกรรมขนาดย่อมในโลหะพลาสตกิ ในเขตกรุงเทพ และปริมณฑล (วรรณา ฉายาวฒั นะ, 2544,vน.94) 2. ประสบการณ์ในการบริหาร (Experiment in Management) งานวิจยั ของปาร์คเกอร์ (Parker, 1996, p. 25) ได้ทาการศกึ ษากบั ผ้ปู ระกอบการ ธุรกิจขนาดยอ่ มในประเทศแชมเบยี พบวา่ ประสบการณ์ในการบริหารมีความสมั พนั ธ์กบั ความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ สอดคล้องกบั งานวจิ ยั ของคปู ,รอย และเฟรเซอ (Koop, Reu, and Frese, 2000, pp. 138-141) พบวา่ ประสบการณ์ในการบริหารเป็นปัจจยั ท่ีมีความสาคญั และมี ความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จในการประกอบการ เชน่ เดียวกบั งานวิจยั ของพาปาเนค (Papanek, 1971, p. 50) พบวา่ ธุรกิจขนาดยอ่ มจานวนมากท่ีต้องปิ ดกิจการไป เนื่องจากประสบ ความล้มเหลวในการดาเนนิ งาน และร้อยละ 88 ของความล้มเหลวดงั กลา่ วมาจากการท่ี ผ้ปู ระกอบการขาดทกั ษะในการบริหาร ความเป็นผ้นู า และการมองโลกในแงด่ ี และจากการ รวบรวมงานวิจยั ของสจ๊วต และอเบต็ ติ (Stuart and Abetti, 1970, pp. 110-119) พบวา่ ประสบการณ์ในการบริหารมีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความก้าวหน้า แตเ่ ป็นกิจการที่ต้องใช้ ความรู้ทางเทคนิค ขณะท่ีงานวจิ ยั ของคเู ปอร์ จมิ โิ น-แกสคอน และว(ู Cooper, Gimeno-Gascon and Woo, 1991) พบวา่ ประสบการณ์ในการบริหารซง่ึ วดั จากจานวนปี ของประสบการณ์และชนิด ของประสบการณ์ในการทางานมีผลทางบวกน้อยมาก และมี่ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประสบการณ์ ทว่ั ไปกบั ความเจริญก้าวหน้า ยิ่งกวา่ นนั้ งานวจิ ยั ของดนั ค์เบอร์ก คเู ปอร์ วู และเดนนสิ (Dunkelberg , Cooper, Woo and Dennis, 1987, pp. 148-157) พบความสมั พนั ธ์ทางลบ ระหวา่ งประสบการณ์ทางด้านการจดั การและความเจริญก้าวหน้า สว่ นงานวจิ ยั ในประเทศไทย ที่ได้ศกึ ษากบั ผ้ปู ระกอบการอตุ สาหกรรมขนาดยอ่ ม แมพ่ ิมพ์โลหะและพลาสตกิ ในเขตกรุงเทพ และปริมณฑล พบวา่ ประสบการณ์ในการบริหารมี ความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จ (วรรณา ฉายาวฒั นะ, 2544, น. 96) เชน่ เดียวกบั งานวิจยั ของ รณรงค์ ศรีจนั ทรนนท์ (2544, น. 92) ขณะท่ีการศกึ ษาผ้ปู ระกอบการประเภทที่พกั ในเขต พืน้ ที่ประสบภยั สนึ ามิ (ปลีนา บางกรวย, 2550, น. 97) , การศกึ ษาความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ OTOP (4-5 ดาว) ประเภทอาหาร (จริยา ตนั ตพิ งษ์อนนั ต์, 2549, น.102 และ อรรจิต พลายงาม, 2550, น. 95) โดยพบวา่ ประสบการณ์ในการบริหารไมม่ ีความสมั พนั ธ์กบั ความสาเร็จของ ผ้ปู ระกอบการ

41 4. แนวคิดเก่ียวกับกลยทุ ธ์ในการดาเนินธุรกจิ (Strategic Process) 4.1 ความหมายของกลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์ (Strategy) มีรากศพั ท์มาจากภาษากรีกวา่ “Strategos” ความหมายดงั้ เดมิ เป็นภาษาทางการทหารท่ีใช้อธิบายยทุ ธวธิ ีของแมท่ พั ในการจดั ทพั และเคล่ือนย้ายกาลงั พล คาร์ล วอน คลสู วทิ ซ์ (Carl von Clausewitz) นกั ทฤษฎีด้านยทุ ธการแหง่ ศตวรรษท่ี 19 ได้อธิบายถึงกล ยทุ ธ์ไว้วา่ “กลยทุ ธ์” เป็น กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกบั การสร้างแผนการทาสงคราม และการกาหนด รูปแบบการตอ่ ส้ใู นสมรภมู ิ ในปัจจบุ นั ได้มีการปรับคาวา่ กลยทุ ธ์ มาใช้ในกิจกรรมในหลายสาขา จงึ มีการให้นิยามใหมว่ า่ กลยทุ ธ์ คือรูปแบบของกิจกรรมที่มงุ่ ไปสคู่ วามสาเร็จ ตามเป้ าหมายของ องคก์ ร และในระยะเวลายาว กลยทุ ธ์นีม้ ีการปรับตามโอกาส ทรัพยากร และการดาเนินงานให้เข้า กบั สภาพแวดล้อมท่ีเปล่ียนแปลงไป (Strategy, 2007, online) สว่ นคาวา่ กลยทุ ธ์ในการดาเนนิ ธรุ กิจได้มีผ้ใู ห้แนวคดิ ในแง่มมุ ตา่ งๆ โดยมีแนวคิดที่ผ้วู ิจยั ได้รวบรวมความสาคญั ไว้ดงั นี ้ Learned, Christensen, Kenneth, and Bower (1973, p. 107) ให้ความหมายกล ยทุ ธ์ไว้วา่ กลยทุ ธ์ หมายถึง แบบของวตั ถปุ ระสงค์ ความมงุ่ หมายหรือเป้ าหมาย และนโยบายหลกั รวมทงั้ แผนงานตา่ งๆในอนั ท่ีจะชว่ ยให้สามารถบรรลผุ ลสาเร็จตามเป้ าหมายตา่ งๆ ได้หรือถ้าจะ กลา่ วอีกนยั หนง่ึ ก็คือ การพิจารณาวา่ องค์กรธุรกิจของเราอยหู่ รือควรจะอยใู่ นธุรกิจประเภทใด และ องคก์ ารของเราจาเป็นองคก์ รธุรกิจชนดิ ใดจงึ จะเหมาะสมและดีที่สดุ มอร์ริสนั ,ริมมิงตนั และวิลเล่ียม (Moriison, Rimmington & Williams, 1999, p. 195) กลา่ วว่า กลยทุ ธ์ของผ้ปู ระกอบการ เป็นกระบวนการบริหารอย่างไมห่ ยดุ นิง่ ในการที่จะ ดาเนินการกบั ธุรกิจเพื่อให้บรรลถุ งึ ความพอดรี ะหวา่ งองค์ประกอบของผ้ปู ระกอบการ องค์กรและ สงิ่ แวดล้อม อนั จะนาไปสคู่ วามสาเร็จที่ยง่ั ยืนทางธุรกิจ เฟรเซอ (Frese, 2000, p. 12) ได้ให้ความหมายคาวา่ กลยทุ ธ์ วา่ หมายถงึ ลาดบั ของ การกระทาตา่ งๆเพื่อให้บรรลถุ งึ เป้ าหมายที่ตงั้ ไว้ ซง่ึ จะถกู นามาใช้ในการจดั การกบั สถานการณ์ หรือเหตกุ ารณ์ท่ีมีความไมแ่ นน่ อน Tregoe and Zimmerman (1987, p. 17) ได้สรุปวา่ กลยทุ ธ์ หมายถงึ กรอบของ เรื่องราวท่ีใช้นาทางทางเลือกทงั้ หลาย ซงึ่ จะเป็นตวั กาหนดลกั ษณะและทิศทางขององค์การ โดย ทางเลือกเหลา่ นนั้ ก็คือ เรื่องท่ีเกี่ยวกบั ขอบเขตความกว้างของผลิตภณั ฑ์หรือบริการท่ีองคก์ ารเสนอ ขาย ตลาดท่ีบริษัทกาลงั ทมุ่ เททาการค้าอยู่ การเตบิ โต ผลตอบแทนที่ได้รับจากการดาเนินงานและ การแบง่ ทรัพยากรขององค์กร

42 ศริ ิวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ (2542, น. 38) กลา่ วถงึ กลยทุ ธ์วา่ กลยทุ ธ์เป็นรูปแบบ ของการกระทาซง่ึ ผ้จู ดั การใช้เพื่อให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ ององค์การ เป็นกลยทุ ธ์ที่เป็นจริงซง่ึ บริษทั ได้วางแผนไว้ และใช้โต้ตอบตอ่ การเปล่ียนแปลงสถานการณ์ ผ้กู าหนดกลยทุ ธ์เป็นบคุ คลซงึ่ มีความ รับปิ ดชอบตอ่ ความสาเร็จหรือความล้มเหลวขององคก์ าร เชน่ ผ้บู ริหารระดบั สงู ของบริษทั ประธานบริษทั เจ้าของกิจการ ประธานกรรมการ ผ้อู านวยการบริหาร และผ้ปู ระกอบการ ซงึ่ สรุปวา่ กลยทุ ธ์ประกอบด้วย เป้ าหมาย (Goal) นโยบาย (Policies) และแผน (Plans) ผ้บู ริหารท่ี ต้องการประสบความสาเร็จในอนาคต จะต้องศกึ ษาการบริหารเชงิ กลยทุ ธ์ เพราะโลกในการ บริหารธรุ กิจมีความสลบั ซบั ซ้อน และมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ธุรกิจจะต้องปรับตวั ให้ สอดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงนนั้ ถ้าผ้บู ริหารขาดความชานาญในการกาหนดกลยทุ ธ์และการ ปฏิบตั ติ ามกลยทุ ธ์จะทาให้ธุรกิจตอ่ ส้กู บั คแู่ ขง่ ไมไ่ ด้ ดงั นนั้ ผ้บู ริหารในระดบั องค์การตา่ งๆจงึ ให้ ความสาคญั เก่ียวกบั ความรับผิดชอบในการกาหนดกลยทุ ธ์และกระบวนการวางแผนกลยทุ ธ์ มลั ลกิ า ต้นสอน (2544, น. 14) ได้ให้ความหมายในเชงิ การบริหารธรุ กิจวา่ กลยทุ ธ์ หมายถงึ แผนรวมขององค์การ ซง่ึ บรู ณาการและเชื่อมโยงข้อได้เปรียบในด้านตา่ งๆของธุรกิจเข้า ด้วยกนั โดยสามารถนาเอาจดุ เดน่ ของแตล่ ะส่วนงานเข้ามาประสานเข้าด้วยกนั อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ เพ่ือปรับลดจดุ ด้อยหรือข้อจากดั ซงึ่ จะทาให้องคก์ ารอยรู่ อดและเติบโต ภายใต้การ เปลี่ยนแปลงและความผนั ผวนของสภาพแวดล้อมตา่ งๆ โดยสรุป กลยทุ ธ์ หมายถงึ แผนการท่ีได้ถกู กาหนดขนึ ้ โดยผ้ปู ระกอบการหรือผ้บู ริหาร ในระดบั สงู ขององค์กร ภายใต้เง่ือนไขสภาพการณ์และสง่ิ แวดล้อมของธรุ กิจ เพื่อใช้เป็ นแนวทางใน การปฏิบตั งิ านและสร้างความแตกตา่ งให้กบั หนว่ ยธุรกิจ อนั นาไปสคู่ วามได้เปรียบทางการแขง่ ขนั ทงั้ นีใ้ นการศกึ ษาวจิ ยั ครัง้ นีไ้ ด้ให้ความหมายของกลยทุ ธ์ตามแนวคดิ ของ ดร.เฟรเซอ (Frese, 2000, p.12) วา่ หมายถึง ลาดบั การกระทาเพื่อให้บรรลถุ ึงเป้ าหมาย ซงึ่ จะถกู นามาใช้ในการ จดั การกบั สถานการณ์ที่มีความไมแ่ นน่ อน กลยทุ ธ์นนั้ เป็นการนาไปสกู่ ารบรรลเุ ป้ าหมาย หรือการประสบความสาเร็จ (Miller, Galanter & Pribram, 1996) บทบาทของกลยทุ ธ์นนั้ มีความเก่ียวข้องกบั สถานการณ์ที่ไมแ่ นน่ อน เน่ืองจากวา่ กลยทุ ธ์นนั้ สามารถที่จะนาไปประยกุ ต์ใช้ในสถานการณ์ที่แตกตา่ งกนั ดงั นนั้ กลยทุ ธ์ จงึ มีสว่ นเก่ียวข้องกบั ความสามารถท่ีถกู จากดั ของมนษุ ย์ (Frese & Zapf, 1994 : Hacker, 1989 : Kahneman, 1973) ทาให้กลยทุ ธ์ในการดาเนินธุรกิจของผ้ปู ระกอบการแตล่ ะคนไมเ่ หมือนกบั บคุ ลิกภาพ และไมข่ นึ ้ อยกู่ บั สถานการณ์ท่ีได้เกิดขนึ ้

43 4.2 ประเภทของกลยุทธ์ ในการศกึ ษาเกี่ยวกบั กลยทุ ธ์ในการดาเนินธุรกิจนนั้ ได้มีผ้จู าแนกกลยทุ ธ์ออกเป็ น ประเภทตา่ งๆ ไว้น่าสนใจ ดงั นี ้ ไมเคลิ อี.พอตเตอร์ (Porter, 1998) ได้แบง่ กลยทุ ธ์การแข่งขนั ออกตามขอบเขตของ การแขง่ ขนั ท่ีมีตลาดเป้ าหมายเป็นตลาดมวลชน และการมงุ่ ตลาดเฉพาะออกเป็น 1. การเป็นผ้นู าด้านต้นทนุ (Cost Leadership) กลยทุ ธ์การเป็นผ้นู าทางด้านนี ้ องคก์ รจะพยายามทาให้ต้นทนุ ของตนตา่ กวา่ คแู่ ขง่ ในอตุ สาหกรรมเดียวกนั โดยอาศยั ประสทิ ธิภาพทางด้านการผลิต เทคโนโลยี วตั ถดุ บิ เป็นต้น 2. การสร้างความแตกตา่ ง (Differentiation) กลยทุ ธ์การสร้างความแตกตา่ งนนั้ องค์กรจะพยายามค้นหาสิง่ ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ท่ีแตกตา่ งออกไปจากสิ่งที่มีอย่ใู น อตุ สาหกรรมเดยี วกนั และเป็ นการสร้างมลู เพม่ิ ให้แกผ่ ้ซู ือ้ การจากดั ขอบเขต (Focus) ในกลยทุ ธ์การจากดั ขอบเขตนี ้องค์กรจะเลือกเฉพาะ บางสว่ นของตลาดโดยรวมเทา่ นนั้ ซง่ึ เป็นส่วนท่ีองค์กรมีความเช่ียวชาญ โดยอาศยั การเป็นผ้นู า ทางต้นทนุ หรือการสร้างความแตกตา่ งหรือทงั้ สองอยา่ งร่วมกนั ไมเคลิ เฟรเซอ (Frese, 2000, pp. 11-19) ได้ให้ความสาคญั กบั กลยทุ ธ์ในการ ดาเนนิ งาน เพราะกลยทุ ธ์สามารถทานายความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการได้โดยตรง โดยกลยทุ ธ์นนั้ หมายถึง ขบวนการของการกระทาที่จะทาให้บรรลจุ ดุ หมาย และเป็นแนวทางที่สามารถประยกุ ต์ใช้ ได้กบั สถานการณ์ตา่ งๆซงึ่ จะเป็นการชว่ ยในเรื่องของการจดั การ โดยเฟรเซอ ได้เสนอแนวคิดอธิบายมมุ มองในการดาเนนิ ธุรกิจไว้วา่ ในการดาเนิน ธรุ กิจ สามารถแบง่ ออกได้เป็ น 3 มิติ โดยแตล่ ะมิตมิ ีความเป็นอิสระไมข่ นึ ้ ตอ่ กนั มติ ิตา่ งๆได้แก่ 1. มิตทิ ่ี 1 : คณุ ลกั ษณะของผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneurial Orientation) เป็นการพจิ ารณาถึงกระบวนการที่อยเู่ บือ้ งหลงั วา่ ทาไมผ้ปู ระกอบการจงึ มีรูปแบบการกระทาที่ แนน่ อน ซง่ึ เป็นเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกบั คา่ นยิ ม ความเชื่อ และการปรับตวั ให้เข้ากบั สิ่งแวดล้อม 2. มติ ทิ ่ี 2 : เนือ้ หาของกลยทุ ธ์ (Strategic Content) เป็นเรื่องที่เกี่ยวกบั ลกู ค้า ผ้ขู ายสนิ ค้า พนกั งาน ตวั สนิ ค้า องค์ประกอบการผลติ การตลาด ทนุ คแู่ ขง่ กฎหมาย และ กฎเกณฑ์ทางการค้า ตวั อยา่ งของกลยทุ ธ์ในมิตนิ ี ้ได้แก่ การลดต้นทนุ การเพ่มิ ยอดขาย การจ้าง พนกั งาน การลดขนาด การผลติ เป็นต้น 3. มิตทิ ี 3 : กลยทุ ธ์ในการดาเนินงาน (Strategic Process) เป็นกลยทุ ธ์ท่ี เก่ียวข้องกบั การกาหนดวธิ ีการดาเนินธรุ กิจ การดาเนนิ งาน การตดั สินใจ ซง่ึ ดร.เฟรเซอ ได้ศกึ ษา

44 กลยทุ ธ์การดาเนินงาน 4 รูปแบบ ได้แก่ 3.1 การวางแผนล่วงหน้าอยา่ งสมบรู ณ์ (Complete Planning) หมายถึง การที่ผ้ปู ระกอบการวางแผนการทางานล่วงหน้า โดยครอบคลมุ สถานการณ์ตา่ งๆที่อาจเกิดขนึ ้ รวมถึงข้อผิดพลาดท่ีอาจเกิดขนึ ้ ได้ บคุ คลท่ีใช้กลยทุ ธ์นี ้จะวางแผนลว่ งหน้าและสร้างสถานการณ์ ได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ ข้อดีของการวางแผนลว่ งหน้าอยา่ งสมบรู ณ์ คือ สามารถที่จะเตรียมรับกบั สถานการณ์ที่จะเกิดขนึ ้ ได้อยา่ งมีโครงสร้าง ทาให้มีความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์ แตม่ ีข้อเสีย คือต้องใช้เวลา และคา่ ใช้จา่ ยมาก 3.2 การวางแผนเฉพาะสง่ิ สาคญั (Critical Point Planning) หมายถงึ การ วางแผนการทางานให้เฉพาะกบั งานที่สาคญั ที่สดุ ซงึ่ รวมถึงกลยทุ ธ์ การแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขนึ ้ เป็น การวางแผนระยะสนั้ โดยแก้ปัญหาได้แล้วจงึ คอ่ ยวางแผนตอ่ ไปทีละขนั้ ข้อดีของการวางแผน เฉพาะสงิ่ สาคญั นี ้คือ ใช้เวลาและคา่ ใช้จา่ ยน้อย 3.3 การแสวงหาโอกาส (Opportunistic Strategy) หมายถึง วธิ ีการ ดาเนนิ งานโดยไมม่ ีการวางแผนลว่ งหน้า แตส่ อดสอ่ งเสวงหาโอกาสในการทาธุรกิจอย่ตู ลอด เวลา ข้อดี คือผ้ทู ่ีคอยแสวงหาโอกาส มกั จะไมพ่ ลาดโอกาสในการทาธรุ กิจ เม่ือมีช่องทางและไม่ ต้องวางแผนล่วงหน้า ข้อเสีย คอื โอกาสท่ีเกิดขนึ ้ อาจไมต่ รงกบั เป้ าหมายทางธรุ กิจที่วางไว้ 3.4 การตงั้ รับ (Receive Strategy) หมายถึง วิธีดาเนินงานโดยไมม่ ีการ วางแผนลว่ งหน้า แตค่ อยตอบสนองความต้องการหรือสถานการณ์จากภายนอกท่ีเกิดขนึ ้ ทงั้ นีเ้ฟรเซอ (Frese, 2000, pp. 11-19) ได้ให้ความสาคญั กบั กลยทุ ธ์ในการ ดาเนนิ งานอยา่ งมาก เพราะกลยทุ ธ์ สามารถทานายความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการได้โดยตรง โดยได้มีการดาเนนิ การศกึ ษาวจิ ยั ในเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกบั ผ้ปู ระกอบการธรุ กิจขนาดยอ่ มในหลาย ประเทศของทวีปแอฟริกา เชน่ ประเทศแชมเบยี แอฟริกาใต้ ซิมบกั เว พบวา่ กลยทุ ธ์การวางแผน ลว่ งหน้าโดยสมบรู ณ์ การวางแผนเฉพาะสิง่ สาคญั และการแสวงหาโอกาส มีความสมั พนั ธ์ ทางบวกกบั ความสาเร็จ ในขณะท่ีกลยทุ ธ์แบบตงั้ รับมีความสมั พนั ธ์กบั ความล้มเหลวในการ ดาเนนิ ธรุ กิจ ฉะนนั้ การจดั ทาหรือวางแผนกลยทุ ธ์นนั้ มีความสาคญั และมีข้อดีท่ีนา่ สนใจอยหู่ ลาย ประการ ซง่ึ สามารถสรุปได้ดงั นี ้ 1. การประยกุ ต์แนวความคดิ เชิงกลยทุ ธ์ในการบริหาร จะชว่ ยให้ผ้บู ริหารสามารถ มองเหน็ ภาพรวมและขอบเขตของการทาธุรกิจได้กว้างขวาง และชดั เจนเป็นรูปธรรมมากขนึ ้ เพราะ การดาเนินงานเชงิ กลยทุ ธ์จะมีความลกึ ซงึ ้ ในกาวิเคราะห์ปัญหาในระดบั ที่มีนยั สาคญั ตอ่ อนาคต ขององค์การ ซง่ึ เราสามารถกลา่ วได้วา่ การบริหารเชงิ กลยทุ ธ์เป็นงานของผ้บู ริหารระดบั สงู อยา่ ง

45 แท้จริง 2. กลยทุ ธ์ขององค์การจะสง่ เสริมและสนบั สนนุ การกาหนด และการดาเนินกิจกรรม ตา่ งๆภายในองคก์ ารตามทศิ ทางที่ชดั เจน ซง่ึ จะเป็ นกรอบความคดิ และเป็นเครื่องชีน้ าทางท่ีเป็น รูปธรรมสาหรับสมาชกิ ในองคก์ าร โดยกลยทุ ธ์ชว่ ยให้สมาชกิ เข้าใจในวิสยั ทศั น์ วตั ถปุ ระสงคแ์ ละ ทศิ ทางท่ีแนน่ อนขององคก์ าร ไมก่ อ่ ให้เกิดความสบั สนหรือความขดั แย้งในการทางาน หรือกลา่ วได้ วา่ กลยทุ ธ์เป็นเครื่องมือที่สาคญั ที่ทาให้องค์การสามารถบรรลเุ ป้ าหมายและวตั ถปุ ระสงค์ที่ ต้องการอยา่ งมีประสิทธิภาพ 3. กลยทุ ธ์องคก์ ารที่เปิ ดเผยตอ่ สาธารณะ จะเป็นประโยชน์ตอ่ องคก์ ารในการสร้าง ความเข้าใจระหวา่ งธุรกิจและบคุ คลทกุ ฝ่ ายท่ีเก่ียวข้อง โดยเฉพาะผ้มู ีสว่ นได้เสียของธุรกิจ เชน่ ผู้ ถือห้นุ ชมุ ชน กลมุ่ ผลประโยชน์ และหนว่ ยราชการที่จะสามารถติดตามตรวจสอบการดาเนนิ งาน และความสาเร็จในการบรรลเุ ป้ าหมายขององคก์ าร 4. การจดั การเชิงกลยทุ ธ์จะชว่ ยให้องค์การสามารถดาเนินงานและใช้ทรัพยากรใน การแขง่ ขนั อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและได้ผลสาเร็จดกี วา่ บริหารงานตามปกติ เน่ืองจากการ ดาเนนิ งานเชิงกลยทุ ธ์จะมีการศกึ ษา วิเคราะห์ และจดั ระบบความสมั พนั ธ์เชงิ กลยทุ ธ์ขององค์การ อยา่ งรัดกมุ และชดั เจน ทาให้การดาเนินงานและการจดั สรรทรัพยากรเป็นไปอยา่ งมีระบบและมี ประสทิ ธิภาพ 4.3 กระบวนการจัดการเชงิ กลยทุ ธ์ ขนั้ ตอนสาคญั ของกระบวนการจดั การเชงิ กลยทุ ธ์ แบง่ ออกเป็น 4 ขนั้ ตอน ดงั นี ้ 1. การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกจิ หรือการวิเคราะห์ SWOT ( SWOT – คือ การสร้างความสอดคล้องระหว่างจดุ แข็งและจดุ ออ่ นกบั โอกาสและอปุ สรรค โดย  S = Strength จดุ แข็ง คือ ความได้เปรียบท่ีองค์การมีอยู่ เชน่ ความสามารถในการจดั การและจดุ แขง็ เชิงกลยทุ ธ์ ซง่ึ จะชว่ ยให้องค์การเป็นตอ่ ในการแขง่ ขนั ใน ระยะยาว  W = Weakness จดุ ออ่ น คือ ความเสียเปรียบท่ีองคก์ ารมีอยู่ ขนึ ้ อยู่ กบั สถานการณ์ในการแขง่ ขนั จดุ ออ่ นเชิงกลยทุ ธ์ คอื การท่ีองค์การไมส่ ามารถดาเนินกลยทุ ธ์ที่จะ สร้างให้เกิดความได้เปรียบและเป็นตอ่ ได้  O = Opportunity โอกาส คือ ปัจจยั หรือสถานการณ์ภายนอกท่ีเป็น สว่ นหนง่ึ ในการชว่ ยให้องค์การสามารถใช้เพ่ือทาให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ที่วางไว้

46  T = Threat อปุ สรรค คอื การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมในด้านตา่ งๆวา่ มี อะไรที่จะเป็นสง่ ผลเสียตอ่ องคก์ ร ซง่ึ อาจจะสง่ ผลกระทบในแงล่ บจนอาจจะทาให้องค์กรไม่ สามารถดาเนินการตอ่ ไปได้) โดยการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจเป็นการศกึ ษาปัจจยั แวดล้อมที่มีผลตอ่ การ ดาเนนิ และอนาคตขององคก์ าร โดยสามารถแบง่ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมออกเป็น 2 ระดบั (ศิ ริวรรณ เสรีรัตน์ และคนอื่นๆ, 2541, น. 37) ได้แก่ 1.1 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ ซง่ึ ประกอบด้วยปัจจยั แวดล้อมที่จะบง่ ชีโ้ อกาสหรือข้อจากดั ของธุรกิจ ได้แก่ เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง เทคโนโลยี การ ตา่ งประเทศ และสภาพแวดล้อมในการดาเนินงาน เชน่ ชมุ ชน ผ้ขู ายวัตถดุ บิ ลกู ค้า และคแู่ ขง่ ขนั เป็ นต้น 1.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์การ เป็นการตรวจสอบและ ประเมนิ ศกั ยภาพ ความสามารถ และความพร้อมขององคก์ าร โดยจะสะท้อนออกมาในรูปของจดุ แขง็ และจดุ ออ่ นของธุรกิจ 2. การกาหนดกลยทุ ธ์เป็นการกาหนดเป้ าหมายและกรอบความคดิ เชงิ กลยทุ ธ์ท่ีเป็น รูปธรรม โดยปกตจิ ะมีการจดั ลาดบั กลยทุ ธ์ไว้ 3 ลาดบั ได้แก่ 2.1 กลยุทธ์ระดับองค์กร หรือ ระดับบริษัท (Corporate Strategy) มงุ่ พิจารณาขอบเขตในการบริหารงานขององค์กรวา่ จะดาเนินธรุ กิจอะไรบ้าง จะทา ธุรกิจเดียว หรือ หลายธรุ กิจ จะอยใู่ นอตุ สาหกรรมเดียว หรือ หลายอตุ สาหกรรม และ องค์กรควร จะจดั สรรทรัพยากรไปยงั แตล่ ะธรุ กิจอยา่ งไร กลยทุ ธ์ระดบั องค์กร อาจเป็นการเตบิ โต การอยคู่ งท่ี หรือ การตดั ทอนก็ได้ การดาเนนิ กลยทุ ธ์ระดบั บริษัท จะพิจารณาถงึ ขอบเขตการดาเนนิ ธรุ กิจโดยรวมของ องคก์ รวา่ องคก์ รจะดาเนินธุรกิจใดบ้าง หรือ เข้าไปแขง่ ขนั ในอตุ สาหกรรมใด จะทาธรุ กิจใน อตุ สาหกรรมประเภทเดยี ว หรือ หลายประเภทอตุ สาหกรรม และ ระบทุ ิศทางการเคลื่อนไหวใน อนาคตวา่ จะขยายตวั คงท่ี หรือ หดตวั ถ้าขยายตวั จะขยายตวั เข้าไปในธุรกิจเดมิ หรือ ขยายตวั ไปสธู่ ุรกิจใหมท่ ่ีเกี่ยวข้องกบั ธรุ กิจเดมิ หรือ ขยายตวั ไปยงั ธุรกิจใหมท่ ่ีไมเ่ ก่ียวข้องกบั ธุรกิจเดมิ เพ่ือ บรรลเุ ป้ าหมายท่ีกาหนดไว้ของบริษทั กลยุทธ์ระดับบริษัท โดยท่ัวไป ได้แก่ (1) การเติบโต หรือ ขยายตวั (2) การอยคู่ งที่ หรือ คงตวั (3) การตดั ทอน หรือ หดตวั

47 2.2 กลยทุ ธ์ระดบั ธุรกิจ (Business Strategy) จะมงุ่ การปรับปรุงฐานะการแขง่ ขนั ของผลิตภณั ฑ์ ของบริษัทภายในอตุ สาหกรรมให้สงู ขนึ ้ บริษัท จะรวมกลมุ่ ผลิตภณั ฑ์ที่คล้ายคลงึ กนั ไว้ภายในหนว่ ยธุรกิจเชงิ กลยทุ ธ์ (Strategic Business Unit: SBU) เดียวกนั มีตลาด มีคแู่ ขง่ และ ภารกิจท่ีแตกตา่ งจากหนว่ ยธรุ กิจอื่น โดยทว่ั ไป SBU ของ บริษัทจะเป็ นหนว่ ยงานคอ่ นข้างอสิ ระ สามารถพฒั นากลยทุ ธ์ของตนขนึ ้ มาได้ภายใต้เป้ าหมาย และกลยทุ ธ์ระดบั บริษัท กลยทุ ธ์ระดบั ธุรกิจ โดยมงุ่ การเพิ่มกาไรในการผลิตและจาหนา่ ย ผลิตภณั ฑ์ของตนให้สงู ขนึ ้ บางครัง้ จะเรียกกลยทุ ธ์ระดบั นีว้ า่ กลยทุ ธ์การแขง่ ขนั (Competitive Strategy) กลยทุ ธ์ระดบั ธุรกิจ โดยทว่ั ไปจะมีอยู่ 3 อยา่ ง คือ 1. การเป็นผ้นู าทางต้นทนุ 2. การสร้างความแตกตา่ ง และ 3. การจากดั ขอบเขต 2.3 กลยุทธ์ระดับหน้าท่ี (Functional Strategy) จะมงุ่ การใช้ทรัพยากรของบริษัทให้มีประสทิ ธิภาพสงู สดุ โดยแผนกงานตามหน้าท่ีจะ พฒั นากลยทุ ธ์ของแผนกขนึ ้ มาเอง ภายใต้ข้อจากดั ของกลยทุ ธ์ระดบั บริษัทและหนว่ ยธุรกิจ กลยทุ ธ์ระดบั บริษทั ระดบั ธุรกิจ และ ระดบั หน้าที่ ทงั้ สามระดบั นี ้จะประกอบกนั ขนึ ้ เป็ น ลาดบั ของกลยทุ ธ์ ภายในบริษทั ท่ีมีหนว่ ยธุรกิจหลายหนว่ ย กลยทุ ธ์เหล่านีจ้ ะมีผลกระทบซงึ่ กนั และกนั และต้องประสานเข้าด้วยกนั เป็นอยา่ งดี เพ่ือการบรรลเุ ป้ าหมายโดยรวมขององคก์ ร 3. การปฏบิ ัตติ ามกลยทุ ธ์ เป็นการแปรรูปกลยทุ ธ์และนโยบายไปสแู่ ผนการ ดาเนินงาน งบประมาณ และขนั้ ตอนการปฏิบตั ทิ ่ีเป็นรูปธรรม ซง่ึ ถือเป็ นหวั ใจสาคญั ใน ความสาเร็จของการจดั การเชิงกลยทุ ธ์ เน่ืองจากเป็นขนั้ ตอนในการแปรปรวนแนวความคดิ และ สมมตุ ฐิ านให้เป็ นผลลพั ธ์ที่เป็นรูปธรรม 4. การประเมินและการควบคุมกลยุทธ์ เป็นกระบวนการกาหนดเกณฑ์ และ มาตรฐาน การติดตาม ตรวจสอบ แก้ไขและปรับปรุงให้การดาเนินงานเป็นไปตามแนวทางที่ กาหนด โดยสอดคล้องกบั ความเป็นจริงและข้อจากดั ในแตล่ ะเหตกุ ารณ์ จากกระบวนการจดั การเชงิ กลยทุ ธ์นนั้ จะเหน็ ได้วา่ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอกองคก์ าร เป็นสิ่งสาคญั ท่ีต้องทาเป็ นอนั ดบั แรก เพื่อให้รู้ศกั ยภาพของตนเอง เม่ือเทียบกบั คแู่ ขง่ ขนั ดงั คากลา่ วที่ว่า รู้เขารู้เรา รบร้อยครัง้ จงึ จะชนะร้อยครัง้ จากความสาคญั ดงั กลา่ ว กลยทุ ธ์จงึ มีบทบาทสาคญั ท่ีชว่ ยให้ผ้ปู ระกอบธรุ กิจสามารถประกอบการได้อยา่ งมี ประสทิ ธิผลและมีประสิทธิภาพ ซงึ่ สามารถชว่ ยกาหนดทิศทางของการประกอบการรวมไปถงึ ตวั แปรตา่ งๆที่นาไปส่คู วามสาเร็จขององค์การ โดยการศกึ ษาวิจยั ครัง้ นี ้ผ้วู จิ ยั จะทาการประเมินกล

48 ยทุ ธ์ทางธรุ กิจที่ผ้ปู ระกอบการใช้ตามลกั ษณะของไมเคลิ เฟรเซอ (Frese, 2000) ท่ีได้เสนอรูปแบบ ของกลยทุ ธ์ในการดาเนนิ งาน 4 รูปแบบ ได้แก่ กลยทุ ธ์การวางแผนลว่ งหน้าอยา่ งสมบรู ณ์ , กล ยทุ ธ์การวางแผนเฉพาะสงิ่ สาคญั , กลยทุ ธ์การแสวงหาโอกาส และกลยทุ ธ์การตงั้ รับ งานวจิ ัยท่เี ก่ียวกับกลยทุ ธ์ในการดาเนินธุรกจิ และความสาเร็จ การศกึ ษาเก่ียวกบั กลยทุ ธ์ทางธุรกิจ สามารถแบง่ ได้ตามกลยทุ ธ์ดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. การวางแผนอย่างสมบูรณ์ (Complete Planning) งานวิจยั ของเคย์เซอร์ ,ครุฟ และเฟรเซอ (Keyser, Kruif and Frese, 2000, pp. 31- 53) ได้ทาการศกึ ษาผ้ปู ระกอบการขนาดยอ่ มในประเทศแชมเบยี พบว่า การวางแผนล่วงหน้าอยา่ ง สมบรู ณ์และการแสวงหาโอกาส มีความสมั พนั ธ์ทางบวกอยา่ งสงู กบั ความสาเร็จของ ผ้ปู ระกอบการ และในทางตรงกนั ข้าม พบว่ากลยทุ ธ์การตงั้ รับมีความสมั พนั ธ์ทางลบกบั ความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ ซงึ่ สอดคล้องกบั งานวิจยั ของ เฟรเซอส , ครอส และ ฟริดดริช (Frese,Krauss and Freidrich, 2000, pp. 104-130) ท่ีได้ทาการศกึ ษากบั ผ้ปู ระกอบการขนาด ยอ่ มในประเทศชิมบบั เว และฮมิ สทา,แวน เดอครู ์และเฟรเซอ (Hiemstra, Van der Kooy and Frese, 2006, p. 474) ที่ทาการศกึ ษาผ้ปู ระกอบการขนาดยอ่ มในธรุ กิจร้านอาหาร ในประเทศ เวียดนาม เชน่ เดียวกบั งานสารวจของรูและอิบาฮิม (Rue and Ibrahim, 1998, p. 25) พบ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความเชี่ยวชาญในการวางแผนและผลประกอบการธรุ กิจขนาดเลก็ ที่ ประกอบไปด้วย แผนงาน วตั ถปุ ระสงค์เชงิ ตวั เลข ข้อพิจารณาด้านสภาพแวดล้อมทงั้ ภายในและ ภายนอก งบประมาณ และขนั้ ตอนในการตรวจสอบ ลาดบั ความเชี่ยวชาญสามารถจดั ได้เป็น 3 ประเภท ตงั้ แตอ่ งคก์ รที่ไมม่ ีแผนงานไปจนถึงองค์กรที่พฒั นาแผนงานด้วยวตั ถปุ ระสงค์เชิงตวั เลข แผนการเฉพาะในบางเร่ืองพร้อมงบประมาณ การระบถุ ึงปัจจยั ของสภาพแวดล้อมภายนอกและ ขนั้ ตอนในการคาดการณ์หรือตรวจสอบผลตา่ งระหวา่ งแผนงานท่ีวางไว้กบั ผลปฏิบตั งิ านจริง มี การวดั ผลการปฏิบตั ดิ ้วยการเปรียบเทียบเชงิ คณุ ภาพกบั คา่ เฉลี่ยของอตุ สาหกรรมนนั้ อตั ราการ เจริญเตบิ โตของยอดขาย และผลตอบแทนจากการลงทนุ การค้นพบท่ีเหน็ ได้ชดั คือองค์กรท่ีม่ี ความเชี่ยวชาญในการวางแผนมากกวา่ องค์กรอ่ืนๆจะมีการอตั ราการเตบิ โตของยอดขายที่ มากกวา่ องค์กรอื่นๆเชน่ เดยี วกนั สว่ นงานวิจยั ในประเทศไทย โดยปรมาภรณ์ เอกอมรพนั ธ์ (2550, น. 106) ท่ีศกึ ษา ผ้ปู ระกอบการธรุ กิจประเภทที่พกั ในเขตพืน้ ที่ประสบภยั คลื่นสนึ ามิ ปี พ.ศ.2547 และ อรรจติ พลาย งาม (2550, น. 68) ท่ีศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลยทุ ธ์ทางธรุ กิจ ภมู คิ วามรู้ความชานาญ และ

49 ความสาเร็จในการประกอบธุรกิจหนง่ึ ตาบลหนง่ึ ผลิตภณั ฑ์ (4-5ดาว) ประเภทธุรกิจอาหาร ในเขต กรุงเทพมหานคร พบวา่ กลยทุ ธ์ด้านการวางแผนอยา่ งสมบรู ณ์มีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ผ้ปู ระกอบการ ในขณะท่ีงานวจิ ยั ของอภิสิทธ์ิ ประวตั เิ มือง (2544, น. 77) ท่ีศกึ ษาผ้ปู ระกอบการ ธุรกิจขนาดยอ่ มในธุรกิจร้านหนงั สือ และสนุ ทร อจุ จ์ศรี (2544, น. 73) ท่ีศกึ ษาผ้ปู ระกอบการธุรกิจ ขนาดยอ่ มจาหนา่ ยเมล็ดข้าวโพด โดยไมพ่ บความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลยทุ ธ์การวางแผนลว่ งหน้า อยา่ งสมบรู ณ์กบั ความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ 2. การวางแผนเฉพาะส่งิ สาคัญ (Critical Point Planning) สตกี เคเลนเบริ ์ก , ลอร์ , เฟรเซอ และวสิ เซอร์ (Steekelenberg, Lauw, Frese and Visser, 2000, pp. 77-101) ได้ทาการวจิ ยั ผ้ปู ระกอบการขนาดยอ่ มในประเทศแอฟริกาใต้ พบวา่ การวางแผนเฉพาะสงิ่ สาคญั รวมถงึ การแสวงหาโอกาส มีความสมั พนั ธ์ทางบวกกบั ความสาเร็จ ของผ้ปู ระกอบการ ในทางตรงกนั ข้ามพบวา่ กลยทุ ธ์การตงั้ รับ มีโอกาสท่ีจะประสบความล้มเหลว สงู และเฟรเซอ แวน เกลเดอเรน และออมบาร์ค (Frese, Van Gelderen and Ombach, 1998, p. 29) ได้ศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลยทุ ธ์ทางธรุ กิจกบั ความสาเร็จในการประกอบการ พบวา่ กล ยทุ ธ์การวางแผนเฉพาะสงิ่ สาคญั จะถกู ใช้ในระยะแรกของการประกอบธุรกิจและความสาเร็จที่ ได้รับจะทาให้มีการใช้กลยทุ ธ์การวางแผนอยา่ งสมบรู ณ์มากขนึ ้ งานวจิ ยั ในประเทศไทย โดยนวรัตน์ ชนาพรรณ (2550, น. 111) ท่ีศกึ ษา ผ้ปู ระกอบการธรุ กิจอาหารแชแ่ ขง็ กลมุ่ ผลติ ภณั ฑ์จากสตั ว์นา้ และสลกั จิต พรหมห้วย (2552, น. 121)ที่ศกึ ษาผ้ปู ระกอบการประเภทโรงแรมชะอาและหวั หิน พบวา่ ผ้ปู ระกอบการท่ีมี ความสาเร็จมากมีการวางแผนกลยทุ ธ์เฉพาะสิ่งสาคญั สงู กวา่ ผ้ปู ระกอบการที่ไมป่ ระสบ ความสาเร็จ ในขณะท่ีรณรงค์ ศรีจนั ทรนนท์ (2544, น. 104) ที่ศกึ ษาผ้ปู ระกอบการวิสาหกิจขนาด ยอ่ มในอตุ สาหกรรมแมพ่ ิมพ์โลหะ ไมพ่ บความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลยทุ ธ์การวางแผนเฉพาะส่ิง สาคญั กบั ความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ 3. การแสวงหาโอกาส (Opportunistic Strategy) งานวิจยั ของเฟรเซอ , ครอส และฟริดดริช (Frese, Krauss, and Freidrich, 2000, pp. 104-130) ได้ทาการศกึ ษาผ้ปู ระกอบการธุรกิจขนาดยอ่ มในประเทศซิมบบั เว, เคย์เซอร์,ครุฟ และเฟรเซอ (Keyser, Kruif, and Frese, 2000, pp. 31-53) ได้ทาการศกึ ษาผ้ปู ระกอบการธุรกิจ ขนาดยอ่ มในประเทศแชมเบีย พบวา่ กลยทุ ธ์การแสวงหาโอกาสมีความสมั พนั ธ์กบั ความสาเร็จของ ผ้ปู ระกอบการ ในขณะที่มีงานวิจยั ของเฟรเซอ บรันเจส และฮอน (Frese, Brantjes, and Hoorn, 2002, p.1) ที่ศกึ ษาผ้ปู ระกอบการธรุ กิจขนาดย่อมในประเทศนามิเบีย และงานวจิ ยั ในประเทศไทย โดยอภิสทิ ธิ์ ประวตั เิ มือง (2544, น. 77) ที่ได้ทาการศกึ ษาผ้ปู ระกอบการขนาดยอ่ มในธุรกิจร้าน

50 หนงั สือ ไมพ่ บความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลยทุ ธ์การแสวงหาโอกาสกบั ความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ 4. การตงั้ รับ (Receive Strategy) เฟรเซอ แวน เกลเดอเรน และ ออมบาร์ค (Frese, Van Gelderen and Ombach, 1998, p. 29) ได้ศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลยทุ ธ์ทางธุรกิจกบั ความสาเร็จในการประกอบการ พบวา่ กลยทุ ธ์การตงั้ รับมีความสมั พนั ธ์ในทางลบกบั ความสาเร็จ นอกจากนีย้ งั มีงานวจิ ยั บางงาน พบวา่ การวางแผนสมั พนั ธ์กบั ความสาเร็จของธุรกิจขนาดยอ่ ม ทงั้ นี ้ ไมเคลิ เฟรเซอ (1998) ได้ทา การสารวจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลยทุ ธ์ในการดาเนนิ งานกบั ความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ พบวา่ รูปแบบของกลยทุ ธ์สามารถทานายความสาเร็จและความล้มเหลวของผ้ปู ระกอบการ กลยทุ ธ์การ ตงั้ รับนาไปสคู่ วามสาเร็จท่ีลดลง วลิ เลียม และ เซ (William and Tse, 1995, p. 25) ท่ีพบวา่ กลยทุ ธ์การตงั้ รับตอ่ การ เปล่ียนแปลง แตไ่ มส่ ามารถปรับตวั เข้ากบั การเปล่ียนแปลงได้ เป็นด้านท่ีผ้ปู ระกอบการใช้น้อย ท่ีสดุ และไมส่ ามารถใช้ได้ในระยะยาว 5. แนวคิดเก่ียวกับความสาเร็จในการประกอบธุรกิจ (Entrepreneurial Success) เป้ าหมายสงู สดุ ในการประกอบธรุ กิจท่ีผ้ปู ระกอบการต้องการ คอื ความสาเร็จในการ ทาธรุ กิจ ซง่ึ เกณฑ์ในการพจิ ารณาวา่ จะประสบความสาเร็จในการประกอบการนนั้ มีอยหู่ ลายวิธี วิธีหนงึ่ ที่ท่ีนิยมใช้กนั มาก คอื การดจู ากการเติบโตของธุรกิจหรือผลกาไรของทางธรุ กิจ ในบาง ธรุ กิจอาจใช้วธิ ีกาหนดเป้ าหมายและวดั จากการประสบความสาเร็จโดยการเทียบผลงานกบั เป้ าหมายท่ีกาหนด ผู้ประกอบการบางคนท่ีทากิจการเกี่ยวกบั งานศลิ ปกรรม อาจพจิ ารณา ความสาเร็จของตนจากความสาเร็จในการคดิ ค้นหรือออกแบบผลิตภณั ฑ์ใหม่ การที่เกณฑ์การ พิจารณาความสาเร็จของธรุ กิจมีหลากหลายนี ้ผ้ปู ระกอบการที่มองวา่ ตนเองประสบความสาเร็จ อาจถกู มองวา่ ไมป่ ระสบความสาเร็จในสายตาของบุคคลอ่ืน (Foley & Green, 1989, pp. 1-2) ใน การวดั ความสาเร็จของธรุ กิจ มีนกั วิชาการให้แนวความคิดไว้ดงั นี ้ เคปแลนด์และนอร์ตนั (Kaplan & Norton, 1992, pp. 71-79) ได้กลา่ วเกี่ยวกบั ระบบการวดั ผลสาเร็จทางธรุ กิจแบบดงั้ เดมิ วา่ เป็นการมงุ่ เน้นการวดั ด้านการเงินเป็นหลัก แตก่ าร วดั ด้านการเงินเป็นเพียงการบอกเรื่องราวของเหตกุ ารณ์ในอดีต ซงึ่ เหมาะสมกบั ยคุ ธุรกิจ อตุ สาหกรรมที่ลงทนุ ในกาลงั การผลติ ในระยะยาว และความสมั พนั ธ์กบั ลกู ค้า ซง่ึ ไมใ่ ชจ่ ดุ สาคญั ท่ี นาไปสคู่ วามสาเร็จได้ทงั้ หมด เม่ือธรุ กิจก้าวเข้าสยู่ คุ เทคโนโลยี ธรุ กิจจาเป็นต้องสร้างคณุ คา่ ใน

51 อนาคต โดยผา่ นการลงทนุ ด้านลกู ค้า ผ้รู ่วมค้า พนกั งาน กระบวนการธุรกิจ เทคโนโลยีและ นวตั กรรม ดงั นนั้ การท่ีจะวดั ผลสาเร็จขององค์กรนนั้ นอกจากจะวดั ผลสาเร็จทางด้านการเงินแล้ว ยงั จะวดั ผลสาเร็จทางด้านลกู ค้า ด้านกระบวนการภายในธรุ กิจ และด้านการเรียนรู้กบั การเตบิ โต หรือด้านการเรียนรู้และนวตั กรรมประกอบกนั ด้วย นอกจากนี ้ครักเกอร์ (Drucker, 2545, pp. 18-21) ยงั ได้เสนอ “ตวั วดั ” ความสาเร็จ ของธรุ กิจในระดบั กลยทุ ธ์ (Strategic Goals) โดยระบเุ ป็ น “ตวั แปร” หรือ “ผลงานสาคญั ” (Major Result Areas) ด้านตา่ งๆ ดงั นี ้ 1. ด้านสถานภาพทางตลาด (Market Position) คอื วดั จากเป้ าหมายและการ บรรลเุ ป้ าหมายด้านฐานะการตลาด “Market Standing” สว่ นแบง่ ตลาด “Market Share” ทงั้ ตลาดปัจจบุ นั และตลาดใหม่ รวมทงั้ สินค้าใหมแ่ ละบริการที่มงุ่ สร้างความภกั ดจี ากลกู ค้า (Customer Loyalty) 2. คณุ ภาพ (Quality) คือ รักษาและพฒั นาระดบั คณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์และ/หรือ บริการของบริษัท 3. นวตั กรรม (Innovation) มีสมั ฤทธิ์ภาพในการบรรลถุ งึ ระดบั ของการพฒั นา ผลิตภณั ฑ์และบริการใหมๆ่ รวมทงั้ กระบวนการใหมๆ่ ซงึ่ หมายถึง ทกั ษะและกิจกรรมท่ีจาเป็น จะต้องมี เพ่ือเพิม่ พนู สมรรถนะของบริษัทในเชิงแขง่ ขนั ได้อยา่ งยงั่ ยืนในระยะยาว 4. ความรับผิดชอบตอ่ สงั คม (Social responsibility) ทะนบุ ารุงรักษาพฤตกิ รรมอนั ประกอบไปด้วยจริยธรรม รวมทงั้ แสดงความรับผิดชอบตอ่ สงั คมในด้านตา่ งๆ เชน่ มีสว่ นร่วมในการ รักษาสภาพแวดล้อมและคณุ ภาพชีวติ โดยรวม เป็นต้น 5. ทรัพยากรมนษุ ย์ (Human Resources) สรรหา พฒั นา และบารุงรักษา ทรัพยากรบคุ คลทกุ ระดบั ให้มีคณุ ภาพสงู ทงั้ ด้านความรู้ ความสามารถ ทกั ษะและทศั นคติ รวมทงั้ พนกั งานสมั พนั ธ์ และความสมั พนั ธ์กบั สหภาพแรงงาน (ถ้ามี) 6. ทรัพยากรทางการเงิน (Financial Resources) จดั หา เก็บรักษาและจดั การ ทรัพยากรการเงินอยา่ งเหมาะสม 7. ทรัพยากรทางกายภาพ (Physical Resource) จดั หา สร้าง และซอ่ ม บารุงรักษาทรัพยากรทางกายภาพ เชน่ อาคาร สถานที่ โรงงาน เครื่องจกั ร อปุ กรณ์และเทคโนโลยี ท่ีจาเป็นในการดาเนินธรุ กิจ รวมทงั้ นามาใช้อยา่ งเหมาะสม 8. ประสิทธิภาพด้านต้นทนุ (Cost Efficiency) มีการใช้ทรัพยากรทกุ ประเภท ทกุ ชนิดอยา่ งมีประสิทธิภาพ เป็ นผลให้บริษัทสามารถผลิตสินค้า และ/หรือบริการด้วยต้นทนุ ต่า

52 9. การทากาไร (Profitability) ระดบั กาไรจะต้องเหมาะสม ไมต่ า่ และสงู เกินไป รวมทงั้ ดชั นีตวั บง่ ชีอ้ ่ืนๆท่ีแสดงถงึ ฐานะการเงินที่ดี ทงั้ นี ้“ผลงานสาคญั ” ด้านตา่ งๆทงั้ 9 ประการข้างต้น อาจแบง่ ออกได้เป็ น 3 กลมุ่ ใหญ่ๆด้วยกนั คอื 1. กลมุ่ เสริมสร้างสมรรถภาพทางการตลาดประกอบด้วย 4 ตวั แปร คอื สถานภาพทางการตลาด การพฒั นาและรักษาคณุ ภาพ การมีนวตั กรรม และความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม 2. กลมุ่ บริหารทรัพยากร ประกอบด้วย 3 ตวั แปร คอื ทรัพยากรมนษุ ย์ ทรัพยากร ทางการเงิน และทรัพยากรทางกายภาพ 3. กลมุ่ เศรษฐกิจ ประกอบด้วย 2 ตวั แปร คือ ประสทิ ธิภาพด้านต้นทนุ และการ ทากาไร นิตย์ สมั มาพนั ธ์ (2542, น. 10-21) ประธานและเจ้าหน้าที่บริหารสงู สดุ สถาบนั คณุ ภาพไทย ได้ให้แนวคดิ ในการวดั ความสาเร็จของธุรกิจไว้ดงั นี ้ 1. พิจารณาจากผลิตภาพ (Productivity) หมายถึง อตั ราสว่ นระหวา่ งผลงาน (Outputs) ขององค์กรในรูปของสินค้าและบริการตอ่ จานวนปัจจยั (Inputs) ท่ีใช้ในความหมายนี ้ สามารถเขียนเป็นสตู รได้ดงั นี ้ ผลติ ภาพ = ผลงาน (Outputs) ปัจจยั (Inputs) ซง่ึ ทาให้ผลิตภาพมีความหมายเดยี วกนั กบั ประสทิ ธิภาพ คอื ความสามรถท่ีจะนา ทรัพยากรท่ีมีอย่อู อกมาใช้ได้อยา่ งที่สดุ ในการพยายามที่จะบรรลเุ ป้ าหมาย 2. พจิ ารณาจากกาไร (Profit) ซงึ่ การใช้กาไรเป็นเกณฑ์ในการวดั นี ้มกั จะเป็นเรื่อง ระยะสนั้ อยา่ งมากคือ 1 ปี และเมื่อรู้วา่ มีกาไรมากหรือน้อย ก็เป็ นเร่ืองของอดีตไปแล้ว ดงั นนั้ จงึ มี การกลา่ วถงึ กาไรสงู สดุ (Profit maximization) หมายถงึ การทากาไรสงู สดุ โดยพิจารณา ระยะเวลาประกอบเป็นกาไรสงู สดุ ระยะยาว (Long-term Profit Maximization) จะเหน็ ได้วา่ เกณฑ์การพิจารณาความสาเร็จของธรุ กิจนนั้ มีหลากหลายแนวทาง ซง่ึ จาเป็นต้องนามาพิจารณาเพ่ือการตดั สินใจในการนาไปปรับใช้ โดยไมเคลิ เฟรเซอ (Frese,2000,pp.149-155) ผ้ทู ่ีทาการศกึ ษากบั ผ้ปู ระกอบการขนาดยอ่ ม ได้เสนอวธิ ีการวดั

53 ความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการ โดยใช้เกณฑ์ในการพิจารณาด้วยกนั 4 วิธี ได้แก่ 1. ให้ผ้ปู ระกอบการประเมนิ ความสาเร็จของตนเอง โดยจะใช้ความเหน็ ในด้าน การเงินเป็นตวั สะท้อนธรุ กิจ และความพงึ พอใจจากรายได้ท่ีมาจากการดาเนินธรุ กิจ 2. ทาการวดั เศรษฐกิจ โดยการพิจารณาข้อมลู ทางธรุ กิจ ได้แก่ การเพ่มิ ขนึ ้ หรือ ลดลงของจานวนลกู ค้า ผลกาไร และยอดขายในชว่ ง 1 หรือ 2 ปี ท่ีผา่ นมา 3. ใช้แบบสอบถามด้วยภาพของ บรูเดร์ล เพรสเซนเดอร์ฟเฟอร์ และซกิ เกลอร์ (Beuederl, Presisendoefer & Ziegler, 1992) ในการวดั แนวโน้มธุรกิจโดยรวม ซงึ่ จะให้ ผ้ปู ระกอบการประเมนิ ความสาเร็จของธุรกิจในชว่ งปี ท่ีผา่ นมาวา่ มีลกั ษณะการเปลี่ยนแปลง โดยรวมอย่างไรด้วยภาพ 4. ให้ผ้สู มั ภาษณ์ทาการประเมินผลสาเร็จ โดยรวมคะแนนของผ้ปู ระกอบการ ออกเป็น 5 ระดบั ยอ่ ย คือ ระดบั ท่ี1 หมายถงึ ไมป่ ระสบความสาเร็จ ระดบั ท่ี2 หมายถึง คอ่ นข้างไม่ ประสบความสาเร็จ ระดบั ที่ 3 หมายถงึ ประสบความสาเร็จปานกลาง ระดบั ที่4 หมายถึง คอ่ นข้าง ประสบความสาเร็จ และระดบั ที่ 5 หมายถึง ประสบความสาเร็จ ซง่ึ ผ้สู มั ภาษณ์จะทาการประเมิน ความสาเร็จโดยรวมจากการสงั เกตของผ้สู มั ภาษณ์ เฟรเซอ ชีว้ า่ การวดั ความสาเร็จด้วยการประเมนิ ผลสาเร็จโดยรวม ให้ผลการวดั ท่ีเป็ น ประโยชน์ เนื่องจากผลจากการวดั ท่ีได้เป็นอิสระจากความคดิ เห็นของผ้ปู ระกอบการเอง แม้วา่ การ วดั ทางเศรษฐกิจดจู ะให้ผลการวดั ที่นา่ จะเป็นรูปธรรมมากกวา่ แตก่ ็ยงั มีปัญหาอย่บู ้าง เชน่ เมื่อ ต้องการข้อมลู ทางธุรกิจย้อนหลงั 2 หรือ 3 หรือ 5 ปี แตป่ รากฏธุรกิจหรือองค์กรเพง่ิ กอ่ ตงั้ มาเพียง 1 หรือ 2 ปี เทา่ นนั้ ทาให้ข้อมลู ที่ได้ไมส่ มบรู ณ์และไมส่ ามารถนาข้อมลู ขององคก์ รนีม้ าใช้ในการ วิเคราะห์ได้ จากข้อมลู ข้างต้น ทาให้พอสรุปนิยามความสาเร็จได้วา่ ความสาเร็จ หมายถงึ ความสามารถในการดาเนนิ ธุรกิจให้บรรลเุ ป้ าหมายหรือได้ผลเป็นท่ีพงึ พอใจ โดยวดั จากแนวโน้ม ของกาไร แนวโน้มของจานวนลกู ค้า แนวโน้มของยอดขาย แนวโน้มของธรุ กิจโดยรวม ความพงึ พอใจจากมมุ มองของผ้อู ื่น ความพงึ พอใจของความสาเร็จเม่ือเทียบกบั คแู่ ขง่ ความพงึ พอใจใน ฐานะเจ้าของกิจการ ความพึงพอใจในรายได้ จานวนพนกั งานในปัจจบุ นั มลู คา่ เครื่องจกั ร และ อปุ กรณ์หากมีการขายกิจการ และการประเมนิ โดยผ้ถู กู สมั ภาษณ์ ในการศกึ ษาวิจัยครัง้ นีจ้ ะทา การประเมินความสาเร็จของผ้ปู ระกอบการตามแนวคิดของ ไมเคลิ เฟรเซอส (Frese, 2000) เป็น ฐานในการวิจยั

54 6. ผู้ประกอบการร้านยาคุณภาพ 6.1 ความสาคัญและท่มี าของร้านยาคุณภาพ ร้านขายยาหรือร้านยา คอื สถานประกอบการจาหนา่ ยยาและให้บริการข้อมลู ด้านยา และด้านสขุ ภาพ ซงึ่ มีววิ ฒั นาการคกู่ บั สงั คมไทยมานานและมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงเพื่อให้ สอดคล้องกบั สภาวการณ์ด้านสาธารณสขุ และการค้มุ ครองผ้บู ริโภคมากขนึ ้ ทงั้ นีเ้น่ืองจากใน ปัจจบุ นั ประชาชนเริ่มตระหนกั และต่ืนตวั ในเรื่องการดแู ลสขุ ภาพโดยเฉพาะในเร่ืองของการใช้ยา จากผลสารวจท่ีผา่ นมาพบวา่ ร้านยาเป็นสถานบริการด้านสขุ ภาพแหง่ แรกที่ประชาชนมกั จะนกึ ถึง เม่ือเกิดอาการเจ็บป่ วยเบอื ้ งต้นสงู ถงึ ร้อยละ 60-80 ที่อยใู่ นขอบเขตที่ผ้ปู ่ วยจะสามารถซือ้ ยามา เพื่อรักษาตนเองได้ (สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา, กองพฒั นาศกั ยภาพผ้บู ริโภค, 2553. ออนไลน์) ดงั นนั้ ร้านยาจงึ มใิ ชเ่ ป็นเพียงแหลง่ ในการจาหนา่ ยหรือกระจายยาเทา่ นนั้ แตย่ งั มี บทบาทในการเป็นที่พง่ึ ด้านสขุ ภาพของคนในชมุ ชน ร้านยาแผนปัจจบุ นั มีการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่องตงั้ แตอ่ ดีตมาจนถงึ ปัจจบุ นั แต่ เนื่องจากร้านยาในประเทศไทยมีมากถงึ 8,225 แหง่ ซง่ึ กระจายในเขตตา่ งๆทวั่ ประเทศ (กอง ควบคมุ ยา,2546) จงึ มีรูปแบบการให้บริการท่ีหลากหลายแตกตา่ งกนั ทงั้ ในเรื่องของที่ตงั้ ขนาด พืน้ ที่ร้าน การตกแตง่ ร้าน ประเภทสนิ ค้าท่ีจาหนา่ ยในร้าน ราคายา ผ้ใู ห้บริการเป็ นเภสชั กรหรือ บคุ คลอื่น เป็นต้น ทาให้เกิดความแตกตา่ งของคณุ ภาพและมาตรฐานในการให้บริการ ซงึ่ เป็น ประเดน็ ท่ีสงั คมให้ความสนใจทงั้ นีเ้พ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนในแง่ของการควบคมุ คณุ ภาพการบริการของร้านยา สภาเภสชั กรรมจงึ ได้จดั ทามาตรฐานร้านยาในโครงการพฒั นาและ รับรองคณุ ภาพร้านยา ซง่ึ เป็ นโครงการร่วมระหวา่ งสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กบั สภาเภสชั กรรม ซง่ึ พฒั นามาจากข้อมลู รูปแบบร้านยาพงึ ประสงค์ท่ีสอดคล้องกบั การปฏิรูป ระบบสขุ ภาพของประเทศ โดยมงุ่ หมายให้มีการพฒั นาร้านยาให้บริการที่ดมี ีคณุ ภาพ และสามารถ เป็นหนว่ ยบริการหนง่ึ ในเครือขา่ ยระบบบริการสขุ ภาพปฐมภมู ภิ ายใต้การสร้างหลกั ประกนั สขุ ภาพ ทว่ั หน้า โดยมีประเดน็ สาคญั ในการดาเนนิ การคอื ระบบตรวจสอบเละควบคมุ คณุ ภาพบริการ อีก ทงั้ การวางระบบให้ร้านยาคณุ ภาพเข้ามาเป็นหนงึ่ ในระบบสาธารณสขุ ขนั้ พืน้ ฐานที่สามารถรองรับ การให้บริการทางเภสชั กรรมแก่ประชาชนโดยทวั่ ไปในอนาคต เทียบเทา่ กบั ระบบร้านยา มาตรฐานสากล โดยการยกระดบั มาตรฐานร้านยาทวั่ ประเทศให้เป็ นมาตรฐานเดียวกนั ทาให้ ประชาชนได้รับยาที่ดี มีคณุ ภาพ สะดวกรวดเร็ว และท่ีสาคญั คอื การลดภาระความแออดั จาก ผ้ปู ่ วยที่มารับยาในโรงพยาบาล สามารถมารับยาได้ท่ีร้านยาคณุ ภาพเทา่ นนั้

55 6.2 ความเป็ นมาของเกณฑ์มาตรฐานร้านยาในโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพร้าน ยา ร้านยาแผนปัจจบุ นั ร้านแรกในประเทศไทยเกิดขนึ ้ ในปี พ.ศ.2378 โดยแพทย์ ชาวตะวนั ตก ช่ือ “บรัดเลย์” ซงึ่ อยใู่ นสมยั ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ และได้มีการพฒั นาปรับเปลี่ยน รูปแบบเรื่อยมา โดยมีหนว่ ยงานของรัฐบาลควบคมุ การกากบั การขายยา มีการตรากฎหมาย เกี่ยวกบั การขายยา เรียกวา่ “พระราชบญั ญตั กิ ารขายยา” ฉบบั ท่ี 1 ในปี พ.ศ.2493 และได้มีการ ปรับปรุงเนือ้ หาในตวั บทกฎหมายหลายฉบบั โดยในปี พ.ศ.2498 มีการออกพระราชบญั ญตั กิ าร ขายยา (ฉบบั ท่ี 2) , พระราชบญั ญตั ิการขายยา (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2499 , พระราชบญั ญัตกิ ารขายยา (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2500 และฉบบั สดุ ท้ายพระราชบญั ญัตกิ ารขายยา (ฉบบั ที่ 5) พ.ศ.2505 แต่ เนื่องจากตวั บทของกฎหมายดงั กลา่ วมีเนือ้ หาเกี่ยวกบั การผลติ ยา ขายยา และนาเข้าหรือสงั่ เข้ามา ในราชอาณาจกั รตลอดจนการควบคมุ ให้มีเภสชั กรรับผิดชอบเก่ียวกบั การขายยาอนั ตรายและสว่ น อ่ืนๆท่ียงั ไมร่ ัดกมุ และเหมาะสมกบั สภาวะปัจจบุ นั จงึ ได้มีการปรับปรุงกฎหมายวา่ ด้วยการขายยา และทาการยกเลิกพระราชบญั ญตั กิ ารขายยาทงั้ หมด และทาการประกาศใช้พระราชบญั ญตั ยิ า พ.ศ.2510 (ซงึ่ ตามกฎหมายได้กาหนดให้เฉพาะร้านขายยาแผนปัจจบุ นั ท่านนั้ ที่สามารถขายยา อนั ตราย ขายยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 3 และ 4 และขายยาวตั ถอุ อกฤทธิ์ตอ่ จติ และประสาทได้ ซงึ่ ต้องมีเภสชั กรควบคมุ และประจาการตลอดเวลาทาการของร้านยา) ในประเภทของร้านยาแผน ปัจจบุ นั ก็ยงั แบง่ ยอ่ ยออกเป็ น ร้านยาเด่ียวๆที่อยชู่ มุ ชน(มีทงั้ ที่มีเภสชั กรประจาตลอดเวลาทาการ ซงึ่ หมายถงึ ร้านยาเภสชั กรชมุ ชน มีเภสชั กรเป็นครัง้ คราว และไมม่ ีเภสชั กรประจาการ ซง่ึ สอง ประเภทหลงั ถือวา่ ผิดกฎหมายและไมส่ ามารถขายยาอย่างอ่ืนได้นอกจากยาบรรจเุ สร็จเทา่ นนั้ ) พระราชบญั ญตั ยิ า พ.ศ.2510 กาหนดการจา่ ยยาให้เหมาะสมในร้านยานนั้ เป็น หน้าที่ของผ้มู ีหน้าที่ปฏิบตั ิการอนั ได้แก่ เภสชั กร พยาบาลหรือบคุ ลากรท่ีผา่ นการอบรมของ กระทรวงสาธารณสขุ ขนึ ้ อย่กู บั ประเภทของร้านยาโดยจะต้องใช้ความรู้เพ่ือให้ผ้บู ริโภคได้รับยาที่ เหมาะสมและได้รับความปลอดภยั จากการใช้ยา โดยจะต้องใช้ความรู้เพ่ือให้ผ้บู ริโภคได้รับยาที่ เหมาะสมและได้รับความปลอดภยั จากการใช้ยา แตท่ ่ีผา่ นมาพบปัญหาการใช้ยาในสว่ นของร้าน ยา และยงั พบวา่ ร้านยาสว่ นใหญ่ไมอ่ ยทู่ าหน้าท่ีตามท่ีกฎหมายกาหนด แสดงว่าการบงั คบั ใช้ กฎหมายในสว่ นนีย้ งั ไมส่ มั ฤทธ์ิผลเพราะเป็นกฎหมายท่ีเกิดขนึ ้ มานานไมเ่ หมาะกบั ยคุ สมยั ท่ี เปลี่ยนแปลงไป เพื่อลดปัญหาดงั กลา่ วจงึ เกิดแนวคิดเกี่ยวกบั การรับรองคณุ ภาพร้านยา เพ่ือคดั กรองร้านยาที่ให้บริการได้ตามมาตรฐานการบริการเภสชั กรรมในระดบั ชมุ ชน เพื่อที่จะได้ ประชาสมั พนั ธ์ให้บคุ คลทว่ั ไปได้ทราบ และเลือกใช้บริการจากร้านยามาตรฐานเหลา่ นี ้เพ่ือเป็น

56 มาตรการทางอ้อมให้ร้านยาต้องปรับปรุงมาตรฐาน ซงึ่ แนวคิดนีส้ านกั งานคณะกรรมการอาหาร และยาได้ริเร่ิมตงั้ แต่ พ.ศ.2530 แตข่ าดการปฏิบตั ทิ ่ีตอ่ เนื่องจนเปล่ียนมาเป็นการดาเนินการโดย สภาเภสชั กรรมซงึ่ เร่ิมในปี พ.ศ.2545 เพ่ือผลกั ดนั ให้โครงการพฒั นาและรับรองคณุ ภาพร้านยาเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ การกระจายอยา่ งทวั่ ถึงทงั้ ประเทศ จงึ ได้มีการลงนามข้อตกลงร่วมมือระหวา่ งสานกั งาน คณะกรรมการอาหารและยาและหนว่ ยงานหลกั 5 หนว่ ยงาน ได้แก่ สภาเภสชั กกรม สภาเภสชั กรรมชมุ ชน(ประเทศไทย) สมาคมร้านยา ชมรมร้านยาแหง่ ประเทศไทย และศนู ย์ประสาน การศกึ ษาเภสชั ศาสตร์ เพ่ือให้บรรลเุ ป้ าหมาย คือสามารถมีร้านยาคณุ ภาพ 500 ร้าน ภายใน ระยะเวลา 3 ปี นอกจากนีส้ านกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ยงั สง่ เสริมให้ประชาชนทว่ั ไป เลือกใช้บริการจากร้านยาคณุ ภาพที่มีเคร่ืองหมายติดไว้หน้าร้านอยา่ งเดน่ ชดั ซงึ่ จะมนั่ ใจได้วา่ จะ ได้รับยาท่ีมีคณุ ภาพดีและมีเภสชั กรให้คาแนะนาทงั้ เร่ืองยาและด้านสขุ ภาพตลอดเวลาที่ร้านยา เปิดดาเนนิ การ โดยร้านยาที่จะเป็นร้านยาคณุ ภาพได้นนั้ จะต้องผา่ นมาตรฐานท่ีสภาเภสชั กรรม กาหนดไว้ ซงึ่ “ มาตรฐานร้านยา ” ท่ีสภาเภสชั กรรมกาหนดขนึ ้ เกิดจากการรวบรวมมาตรฐานที่ เป็นสากลของประเทศตา่ งๆ ร่างมาตรฐานของสมาคมเภสชั กรรมชมุ ชน (ประเทศไทย) ร่าง มาตรฐานของสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา โดยมีการระดมสมองของนกั วชิ าการและ เภสชั กรผ้ปู ฏิบตั งิ านจากทว่ั ประเทศแล้วร่างเป็นมาตรฐานร้านยา โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือใช้เป็น แนวทางในการบริบาลทางเภสชั กรรมของวิชาชีพในร้านยา และให้ประชาชนและสงั คมได้มีการใช้ ยาและผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพตา่ งๆได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสมและเกิดความปลอดภยั มาตรฐานร้านยาประกอบด้วยมาตรฐานต่างๆ ดังนี้ มาตรฐานท่ี 1 : สถานท่ี อุปกรณ์ และส่งิ สนับสนุนบริการ ความมงุ่ หมายของ มาตรฐานนี ้เพ่ือให้มีองคป์ ระกอบทางกายภาพท่ีเหมาะสมและสนบั สนนุ ให้เกิดการบริการที่มี คณุ ภาพ โดยมีการจดั แบง่ พืน้ ท่ีเป็นสดั สว่ นท่ีเพียงพอและเหมาะสมสาหรับการให้บริการอื่นๆ มี การจดั หมวดหมขู่ องยา ผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพ และการเก็บรักษาที่เอือ้ ตอ่ การรักษาคุณภาพของ ผลติ ภณั ฑ์ ตลอดจนต้องจดั หาอปุ กรณ์ และสิ่งสนบั สนนุ การให้บริการที่ดแี ก่ประชาชน โดยมี รายละเอียดของมาตรฐานดงั นี ้ 1.1 สถานท่ี - มีความมน่ั คง แข็งแรง มีพืน้ ที่เพียงพอ มีความสะอาด มีแสงสวา่ ง อากาศถ่ายเท

57 มีอาณาบริเวณแยกจากกิจการอื่น จดั สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมตอ่ การใช้บริการและรักษา คณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ รวมถงึ ควรมีระบบการป้ องกนั อคั คภี ยั - มีบริเวณให้คาปรึกษาและบริเวณท่ีเรียงยาที่ต้องจา่ ยโดยเภสชั กรเทา่ นนั้ โดยทงั้ สองสว่ นนีจ้ ะต้องจดั แยกออกเป็นสดั สว่ น และมีป้ ายแสดงให้ผ้รู ับบริการได้เห็นเดน่ ชดั - มีบริเวณแสดงส่ือให้ความรู้เรื่องสขุ ภาพที่ไมม่ งุ่ การโฆษณา 1.2 ป้ ายสัญลักษณ์ - มีป้ ายแสดงวา่ เป็ นร้านยา - มีป้ ายแสดงชื่อ รูปถา่ ย เลขที่ใบประกอบวชิ าชีพและเวลาปฏิบตั ิการของเภสชั กร ที่ปฏิบตั หิ น้าที่ไว้ในที่เปิ ดเผย - มีป้ ายสญั ลกั ษณ์ท่ีเป็ นไปตามข้อกาหนดของใบอนญุ าตและประเภทของยา 1.3 อุปกรณ์ - มีอปุ กรณ์ในการให้บริการสขุ ภาพท่ีเหมาะสมเพื่อประโยชน์ในการตดิ ตามผล จากการใช้ยา เชน่ เคร่ืองชง่ั นา้ หนกั ท่ีวดั สว่ นสงู ท่ีวดั อณุ หภมู ิร่างกาย เครื่องวดั ความดนั โลหิต และเครื่องวดั ระดบั นา้ ตาลในเลือด เป็นต้น - มีอปุ กรณ์นบั เม็ดยา อยา่ งน้อย 2 ชดุ แยกตามกลมุ่ ยาที่จาเป็นในการให้บริการ เพื่อป้ องกนั การปนเปื อ้ นจากยาตา่ งชนิดกนั เชน่ ยาปฏิชีวนะ กลมุ่ เพนนิซิลิน ยาซลั โฟนาไมค์ ฯลฯ พร้อมทงั้ ทาความสะอาดทกุ ครัง้ ท่ีมีการจา่ ยยา - มีต้เู ย็นเก็บเวชภณั ฑ์ท่ีเป็ นสดั สว่ นเพียงพอ และมีการบนั ทกึ อณุ หภมู ิอยา่ ง สม่าเสมอ 1.4 ภาชนะบรรจุ - เลือกใช้ภาชนะบรรจยุ าที่เหมาะสม ตามปริมาณ ระยะเวลาในการใช้ และ คานงึ ถงึ ความคงสภาพของยา เป็นต้น - ยาท่ีมีไว้เพ่ือบริการ ควรอยใู่ นภาชนะเดมิ มีฉลากครบถ้วน 1.5 ส่งิ สนับสนุนบริการ - มีแหลง่ ข้อมลู ตารา และเอกสารอ้างอิงอ่ืนๆที่เหมาะสม - มีฉลากชว่ ยและ/หรือ เขียนเพม่ิ เตมิ พร้อมทงั้ เอกสารความรู้เพื่อสนบั สนนุ การ บริการให้เกิดการใช้ยาอยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม มาตรฐานท่ี 2 : การบริหารจัดการเพ่อื คุณภาพ ความมงุ่ หมายของมาตรฐานนี ้ เพื่อเป็นการประกนั วา่ กระบวนการท่ีดาเนินการจะเป็นไปตามกระบวนการคณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนื่อง ตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของผ้รู ับบริการและป้ องกนั ความเส่ียงท่ีอาจเกิดขนึ ้ จากการ

58 ประกอบวิชาชีพมาตรฐานนีค้ รอบคลมุ บคุ ลากร กระบวนการคณุ ภาพที่มงุ่ เน้นให้ร้านยามี กระบวนการและเอกสารท่ีสามารถเป็นหลกั ประกนั คณุ ภาพบริการ โดยมีรายละเอียดของ มาตรฐานดงั นี ้ 2.1 บุคลากร 2.1.1 ผ้มู ีหน้าท่ีปฏิบตั กิ าร ก. เป็นเภสชั กรท่ีสามารถประกอบวิชาชีพตามใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพเภสชั กรรม โดยอยปู่ ฏิบตั หิ น้าที่ตลอดเวลาที่เปิ ดทาการ ข. ต้องแสดงตนให้สาธารณชนทราบว่า เป็ นเภสชั กรผ้มู ีหน้าที่ปฏิบตั กิ าร โดย สวมเคร่ืองแบบตามข้อกาหนดของสภาเภสชั กรรม มีมนษุ ยสมั พนั ธ์ และมีทกั ษะในการส่ือสารท่ี เหมาะสม ค. มีสขุ ภาพอนามยั ดี ไมเ่ ป็ นแหลง่ แพร่เชือ้ แก่ผ้รู ับบริการ 2.1.2 ผ้ชู ว่ ยปฏิบตั ิการ (ถ้ามี) ก. แสดงตนและแตง่ กายให้สาธารณชนทราบวา่ เป็นผ้ชู ว่ ยเภสชั กร ข. ปฏิบตั งิ านภายใต้การกากบั ดแู ลของเภสชั กรผ้มู ีหน้าที่ปฏิบตั กิ าร ค. มีสขุ ภาพอนามยั ดี ไมเ่ ป็ นแหลง่ แพร่เชือ้ แก่ผ้รู ับบริการ 2.2 กระบวนการคุณภาพ 2.2.1 มีเอกสารคณุ ภาพที่จาเป็นและเหมาะสม เชน่ ใบสง่ั ยา กฎหมายข้อบงั คบั ที่เกี่ยวข้องแยกเป็นหมวดหม่ตู ามประเภทมาตรฐาน หรือแนวทางการดแู ลผ้ปู ่ วยท่ีนา่ เช่ือถือ (standard practice guidelines) เป็นต้น 2.2.2 มีระบบการจดั การเอกสารคณุ ภาพและข้อมลู ท่ีจาเป็นและเหมาะสม 2.2.3 มีการประกาศสิทธิผ้ปู ่ วยท่ีควรได้รับจากการบริการ 2.2.4 มีการวเิ คราะห์และระบคุ วามเส่ียงที่อาจเกิดขนึ ้ พร้อมทงั้ แนวทางการ บริหารจดั การที่เป็นรูปธรรม เชน่ ความปลอดภยั ของการให้บริการ การจา่ ยยาผิด เป็นต้น 2.2.5 มีการค้นหาความต้องการที่แท้จริงของลกู ค้า เชน่ ก. ระบผุ ้รู ับบริการท่ีแท้จริง ข. ระบคุ วามต้องการและความคาดหวงั 2.2.6 มีบนั ทกึ การให้บริการสาหรับผ้รู ับบริการท่ีต้องตดิ ตามตอ่ เน่ือง เชน่ แฟ้ ม ประวตั ิ การใช้ยา หรือเอกสารคณุ ภาพ เชน่ รายงานอบุ ตั ิการณ์ รายงานการเฝ้ าระวงั อาการอนั ไม่ พงึ ประสงค์จากการใช้ยาและผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพ

59 2.2.7 มีการตรวจสอบชา้ (double check) ในแตล่ ะขนั้ ตอนที่เกี่ยวข้องกบั ผ้รู ับบริการเพื่อลดความคลาดเคล่ือนที่อาจเกิดขนึ ้ 2.2.8 มีตวั ชีว้ ดั คณุ ภาพท่ีสาคญั เชน่ ความยอมรับหรือความพงึ พอใจของ ผ้รู ับบริการร้อยละของการค้นหา หรือระบปุ ัญหาท่ีแท้จริงของผ้รู ับบริการที่เรียกหายา จานวน ผ้ปู ่ วยที่มีการบนั ทกึ ประวตั ิการใช้ยา เป็นต้น 2.2.9 มีการเพิ่มเตมิ ความรู้เก่ียวข้องกบั การปฏิบตั งิ าน มาตรฐานท่ี 3 : การบริการเภสัชกรรมท่ดี ี ความมงุ่ หมายของมาตรฐานนีเ้พ่ือให้ ผ้มู ีหน้าที่ปฏิบตั กิ ารให้บริการเภสชั กรรมบนพืน้ ฐานมาตรฐานวิชาชีพเภสชั กรรมอยา่ งมีคณุ ภาพ และก่อให้เกิดความพงึ พอใจเกินความคาดหวงั ของผ้รู ับบริการ โดยมีรายละเอียดของมาตรฐาน ดงั นี ้ 3.1 การจัดหา การควบคุมยาและเวชภัณฑ์ การบริหารเวชภณั ฑ์ทกุ ขนั้ ตอน นบั ตงั้ แตก่ ารจดั หา การเก็บ การควบคมุ และ การกระจาย จะต้องดาเนินการอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและความปลอดภยั 3.1.1 มีเกณฑ์ในการเลือกสรรยา และผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพที่นามาจาหนา่ ย เช่น การจดั หาผลติ ภณั ฑ์ท่ีผ่านการรับรองตามมาตรฐานการผลิตท่ีดี (GMP) และมาจากแหลง่ ท่ี นา่ เช่ือถือ 3.1.2 มีการเก็บรักษาซงึ่ มีเป้ าหมายให้ยาคงประสทิ ธิภาพในการรักษาที่ดี และปลอดภยั ตลอดเวลา 3.1.3 มีบญั ชีควบคมุ และกากับยาหมดอายุ 3.1.4 ต้องมีระบบควบคมุ ยาเสพติดให้โทษ วตั ถอุ อกฤทธ์ิตอ่ จิตประสาท และ ยาควบคมุ พเิ ศษอ่ืนๆที่รัดกมุ และสามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา 3.1.5 มีการสารองยาและเวชภณั ฑ์ท่ีจาเป็นตอ่ การปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น การ ชว่ ยชีวติ ยาต้านพิษท่ีจาเป็น หรือการสารองยาและเวชภณั ฑ์ ท่ีสอดคล้องกบั ความจาเป็นของ ชมุ ชน 3.2 แนวทางการให้บริการทางเภสัชกรรม 3.2.1 มีการสง่ เสริมให้มีการใช้ยาอย่างเหมาะสม เชน่ การไมจ่ าหนา่ ยยาชดุ การ คานงึ ถงึ ความค้มุ คา่ ในการใช้ยา 3.2.2 ต้องระบผุ ้รู ับบริการที่แท้จริง และค้นหาความต้องการและความคาดหวงั จากการซกั ถามอาการ ประวตั กิ ารใช้ยา รวมถึงศกึ ษาจากแฟ้ มประวตั กิ ารใช้ยา (ถ้ามี) ก่อนการสง่ มอบยาทกุ ครัง้ เพื่อให้เหมาะสมกบั ผ้ปู ่ วยเฉพาะรายการตามมาตรฐานการดแู ลผ้ปู ่ วย

60 3.2.3 มีแนวทางการประเมินใบสงั่ ยา ก. ต้องมีความสามารถในการอา่ นวิเคราะห์ และประเมนิ ความเหมาะสมของ ใบสงั่ ยา ข. มีการสอบถามและได้รับความเหน็ ชอบจากผ้สู ง่ั จา่ ยยาทกุ ครัง้ เมื่อการ ดาเนนิ การใดๆ ที่เกี่ยวข้องกบั การแก้ไข หรือการปรับเปลี่ยนใบสงั่ ยา 3.2.4 แนวทางการสง่ มอบยา ก. มีเภสชั กรเป็ นผ้สู ง่ มอบยาให้แก่ผ้รู ับบริการโดยตรง ข. มีฉลากยาซง่ึ ประกอบด้วย ช่ือ สถานบริการ ช่ือผ้ปู ่ วย วนั ที่จา่ ย ช่ือการค้า ช่ือ สามญั ทางยา ข้อบง่ ใช้ วธิ ีใช้ ข้อควรระวงั และวนั หมดอายุ ค. ต้องอธิบายการใช้ยาและการปฏิบตั ิตวั ของผ้มู ารับบริการอยา่ งชดั เจน ทงั้ โดย วาจาและลายลกั ษณ์อกั ษร เมื่อสง่ มอบยา ง. ไมค่ วรสง่ มอบยาให้เดก็ ท่ีมีอายตุ ่ากวา่ 12 ปี โดยไมท่ ราบวตั ถปุ ระสงค์ ใน กรณีจาเป็นควรมีแนวทาง และวธิ ีปฏิบตั ทิ ี่ชดั เจนและความเหมาะสม จ. ห้ามสง่ มอบยาเสพตดิ ให้โทษ และวตั ถอุ อกฤทธ์ิตอ่ จิตและประสาท ให้กบั เดก็ ที่มีอายตุ ่ากวา่ 12 ปี ในทกุ กรณี 3.2.5 จดั ทาประวตั ิการใช้ยา (patient’s drug profile) ของผ้รู ับบริการที่ติดตาม การใช้ยาอยา่ งตอ่ เนื่อง 3.2.6 ตดิ ตามผลการใช้ยาในผ้ปู ่ วย ปรับปรุงและแนะนากระบวนการใช้ยา ตาม หลกั วิชาและภายใต้ขอบเขตของจรรยาบรรณ ทงั้ นีเ้พื่อมงุ่ ให้ผลการใช้ยาเกิดขนึ ้ โดยสงู สดุ 3.2.7 กาหนดแนวทางและขอบเขตการสง่ ตอ่ ผ้ปู ่ วยท่ีเป็นรูปธรรม 3.2.8 มีแนวทางการให้คาแนะนาปรึกษาสาหรับผ้ปู ่ วยที่ตดิ ตามอยา่ งตอ่ เน่ือง 3.2.9 เฝ้ าระวงั อาการอนั ไมพ่ งึ ประสงค์จากการใช้ยาและผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพ และ รายงานอาการอนั ไมพ่ งึ ประสงคท์ ี่พบไปยงั หนว่ ยงานท่ีรับผดิ ชอบ 3.2.10 ร่วมมือกบั แพทย์หรือบคุ ลากรสาธารณสขุ อ่ืนๆ เพ่ือเป้ าหมายสงู สดุ ในการ รักษา มาตรฐานท่ี 4 : การปฏิบัตติ ามกฎ ระเบียบ และจริยธรรม ความมงุ่ หมายของ มาตรฐานนีเ้พื่อเป็นการควบคมุ กากบั ให้ร้านยาเกิดการปฏิบตั ทิ ี่สอดคล้องกบั กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง และมงุ่ หมายให้เกิดการปฏิบตั ิที่เป็นไปตามจรรยาบรรณแหง่ วชิ าชีพ โดยรายละเอียดของ มาตรฐานดงั นี ้

61 4.1 ต้องไมถ่ กู เพกิ ถอนใบอนญุ าต หรืออยใู่ นระหว่างการพกั ใช้ใบอนญุ าตท่ี เก่ียวข้อง 4.2 ต้องมีการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและระเบยี บ (laws and regulations) รวมถงึ การจดั ทารายงานเอกสารในสว่ นท่ีเก่ียวข้อง 4.3 ต้องไมม่ ียาท่ีไมต่ รงกบั ประเภทที่ได้รับอนญุ าต ไมม่ ียาท่ีไมถ่ กู ต้องตาม กฎหมาย 4.4 ต้องเก็บใบสงั่ ยา และเอกสารท่ีเกี่ยวข้องไว้เป็นหลกั ฐาน ณ สถานที่จา่ ยยาเป็น เวลาอย่างน้อย 1 ปี และทาบญั ชีการจา่ ยยาตามใบสง่ั ยา 4.5 ต้องให้ความเคารพและเก็บรักษาความลบั ข้อมลู ของผ้ปู ่ วย (patient confidentiality) โดยจดั ระบบป้ องกนั ข้อมลู และรายงานท่ีเป็นของผ้ปู ่ วย 4.6 ไมจ่ าหนา่ ยยาที่อยใู่ นความรับผดิ ชอบของเภสชั กร ในขณะที่เภสชั กรไมอ่ ยู่ ปฏิบตั หิ น้าท่ี 4.7 ต้องไมป่ ระพฤตปิ ฏิบตั กิ ารใดๆที่สง่ ผลกระทบในทางเส่ือมเสียตอ่ วชิ าชีพ เภสชั กรรมและวชิ าชีพอ่ืนๆ มาตรฐานท่ี 5 : การให้บริการและการมีส่วนร่วมในชุมชนและสังคม ความ มงุ่ หมายของมาตรฐานนีเ้พ่ือให้ร้านยาให้บริการแกช่ มุ ชน ตลอดจนให้เกิดการมีสว่ นร่วมกบั ชมุ ชน ในการดาเนินการค้นหา และแก้ไขปัญหาท่ีเกี่ยวข้องด้านยาและสขุ ภาพของชมุ ชนโดยตรง โดยมี รายละเอียดของมาตรฐานดงั นี ้ 5.1 มีบริการข้อมลู และให้คาแนะนาปรึกษาเกี่ยวกบั สารพิษ ยาเสพตดิ ทงั้ ใน ด้านการป้ องกนั บาบดั รักษา รวมทงั้ มีสว่ นในการรณรงค์ตอ่ ต้านยาและสารเสพตดิ 5.2 ให้ความร่วมมือกบั ราชการในการแจ้งเบาะแส หรือให้ข้อมลู ท่ีเกี่ยวข้องกบั ยาและ สารเสพตดิ 5.3 มีบริการข้อมลู และให้คาแนะนาปรึกษาเร่ืองยาและสขุ ภาพให้กบั ชมุ ชนเพ่ือ ประโยชน์ในการป้ องกนั โรค การรักษาสขุ ภาพ การสร้างเสริมสขุ ภาพ และบทบาทอื่นๆในการ สง่ เสริมสขุ ภาพ และสขุ ศกึ ษาของชมุ ชน 5.4 สง่ เสริมการใช้ยาอยา่ งเหมาะสมในชมุ ชน เชน่ การร่วมในโครงการรณรงค์ด้าน สขุ ภาพตา่ งๆ 5.5 มีสว่ นร่วมในการป้ องกนั ปัญหาท่ีเกิดจากการใช้ยาที่ไมเ่ หมาะสมในชมุ ชน 5.6 จะต้องไมม่ ีผลติ ภณั ฑ์ท่ีบนั่ ทอนตอ่ สขุ ภาพ เชน่ บหุ รี่ สรุ า เคร่ืองด่มื ท่ีมีแอลกฮอล์

62 เป็นต้น ให้อยใู่ นบริเวณที่รับอนญุ าต ดงั นนั้ โดยสรุปอาจกลา่ วได้วา่ ร้านยาคณุ ภาพ คอื ร้านยาท่ีผา่ น “การรับรองจาก สภาเภสชั กรรม” (ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานทงั้ 5) วา่ มีมาตรฐานการให้ “บริการด้านยาและสขุ ภาพที่ดี มีคณุ ภาพ” โดยมีการพฒั นามาตรฐานด้านตา่ ง ๆ มากกวา่ เกณฑ์ที่สานกั งานคณะกรรมการ อาหารและยากาหนดในกฎหมาย ทงั้ นีส้ ภาเภสชั กรรมเป็นผ้ใู ห้การรับรองคณุ ภาพดงั กลา่ ว เหมือน เครื่องหมาย “ISO” หรือ “HA” ที่รับรองระบบและการบริการของโรงพยาบาลหรือองคก์ รตา่ ง ๆ ซง่ึ การรับรองคณุ ภาพร้านยาในแตล่ ะครัง้ จะมีระยะเวลารับรอง 2-3 ปี หรือตามท่ีคณะกรรมการ รับรองคณุ ภาพร้านยากาหนดเงื่อนไขไว้ ภาพที่ 2.1 : โลโก้ร้านยาทไี่ ด้รับการรับรองวา่ เป็ นร้านยาคณุ ภาพ ร้านยาคณุ ภาพมีการบริหารที่แตกตา่ งจากร้านขายยาทวั่ ไป คือ เป็นบริการท่ีไมไ่ ด้ มงุ่ เน้นเฉพาะการขายยา แตม่ ีหน้าที่บริการทงั้ ในสว่ นของผลติ ภณั ฑ์และในสว่ นของบริการข้อมลู และข้อแนะนา สง่ ผลให้เกิดการใช้ยาที่เหมาะสมในชมุ ชน เกิดการพฒั นาคณุ ภาพของระบบบริการ สขุ ภาพโดยรวม เพ่ือคณุ ภาพชีวิตและสขุ ภาพที่ดขี นึ ้ ของประชาชน(สานกั งานโครงการพฒั นาร้าน ยา, 2550) ข้อแตกต่างระหว่างร้านยาคุณภาพกับร้านยาท่วั ไป ข้อแตกตา่ งระหวา่ งร้านยาคณุ ภาพกบั ร้านยาทว่ั ไป มีดงั นี ้(สานกั งานโครงการ พฒั นาร้านยา, 2550) 1. มีเครื่องหมายร้านยาคณุ ภาพ แสดงท่ีด้านหน้าร้านขายยา 2. มีเภสชั กรให้บริการทกุ วนั ในชว่ งเวลาท่ีมีป้ ายบอกเดน่ ชดั 3. รู้ได้อยา่ งชดั เจนวา่ คนท่ีให้บริการทา่ นนนั้ เป็นเภสชั กรหรือผ้ชู ว่ ย 4. เภสชั กรจะชว่ ยเลือกยาท่ีเหมาะสมปลอดภยั แตไ่ มต่ ามใจท่านหากทา่ นเลือกซือ้ ยาท่ีไมเ่ หมาะสมและอนั ตราย 5. มีการบอกชื่อยา สรรพคณุ วิธีใช้ คาเตอื น ข้อบง่ ชีใ้ นการใช้ยาโดยระบบุ นซองยา

63 และฉลากให้ความรู้เพม่ิ เตมิ 6. เภสชั กรจะให้คาแนะนาการใช้ยาท่ีจาเป็ น หากมีปัญหาด้านการใช้ยาหรือเรื่อง เก่ียวกบั สขุ ภาพ 7. สาหรับผ้เู ป็ นโรคเรือ้ รังที่ต้องมารับบริการตอ่ เนื่อง จะมีแฟ้ มประวตั การใช้ยาเพื่อ เพ่มิ ประสิทธิภาพและความปลอดภยั จากการใช้ยา 8. ในกรณีผ้ปู ่ วยเป็นโรคและมีอาการท่ีมากเกินความสามารถของเภสชั กรให้การ ดแู ลรักษา จะมีการสง่ ตอ่ ให้แพทย์ดู 9. มีส่ือให้ความรู้ด้านสขุ ภาพ และมีประกาศสิทธิผ้ปู ่ วยให้เห็นชดั เจน 10. มีการจดั ยาเป็นหมวดหมู่ ให้รู้วา่ ยาใดซือ้ ไปใช้ได้ด้วยตนเองและยาใดมีอนั ตราย ต้องให้เภสชั กรชว่ ยเลือก บทบาทของเภสชั กรในร้านยาจะให้บริการด้านคาแนะนาเพม่ิ เตมิ ในกรณีท่ีผ้มู าใช้ บริการร้องขอหรือประเมินแล้วผ้ปู ่ วยขาดข้อมลู ท่ีจาเป็น ซึ่งคาแนะนาที่จาเป็นสาหรับผ้ปู ่ วยกลมุ่ ดงั กลา่ วมีมากมาย เชน่ ข้อบง่ ใช้ของยา เป็ นต้น ข้อบง่ ใช้ของยา มีรายละเอียดการอธิบาย ดงั นี ้(สานกั งานโครงการพฒั นาร้านยา, 2550) 1. การปฏิบตั ติ วั เฉพาะของผ้ปู ่ วยกลมุ่ ตา่ งๆ 2. อาการแทรกซ้อนที่จะตามมา 3. การใช้และรับประทานยาท่ีถกู ต้อง 4. ผลข้างเคียงท่ีอาจจะเกิดขนึ ้ 5. ปฏิกิริยาของยาอื่นๆท่ีผ้ใู ช้อยเู่ ป็นประจากบั ยาที่มาหาซือ้ 6. สว่ นอ่ืนๆท่ีนา่ สนใจ เชน่ การแก้ไขเบอื ้ งต้นในอาการแทรกซ้อนที่จะเกิดจากการใช้ ยา เป็นต้น 7. การปรับวิถีชีวิตและการปฏิบตั ติ วั เฉพาะของผ้ปู ่ วยกลมุ่ ตา่ งๆ 8. ความจาเป็นในการพบแพทย์ และชว่ งเวลาท่ีควรไปพบแพทย์ครัง้ ตอ่ ไป โดยการ ประเมนิ จากประสบการณ์สว่ นตวั ของเภสชั กรวา่ โรคนนั้ ๆ คนไข้รายนนั้ ๆควรไป พบแพทย์เม่ือใด บอ่ ยแคไ่ หน แพทย์นดั เมื่อไหร่ นอกจากบทบาทตามภาระหน้าท่ีของเภสชั กรในร้านยาที่ดแี ล้ว บริการเพม่ิ เตมิ ท่ีร้าน ยาคณุ ภาพจะมีให้ผ้ปู ่ วยที่ใช้บริการ เชน่ 1. การเก็บบนั ทึกประวตั ผิ ้ปู ่ วยเรือ้ รังท่ีมีปัญหาจากการใช้ยาหรือป่ วยเป็ นโรคเรือ้ รัง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook