Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนป.1 เทอม 1 หน่วย 1 วรชนันท์ กราบบุญมา

แผนป.1 เทอม 1 หน่วย 1 วรชนันท์ กราบบุญมา

Published by วรชนันท์ กราบบุญมา, 2022-08-28 06:23:49

Description: แผนป.1 เทอม 1 หน่วย 1 วรชนันท์ กราบบุญมา

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื สตั ว์

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรือ่ งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบุญมา หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ตัวเรา พืช และสตั ว์ เวลา 28 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของ โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 1.2 ป.1/1 ระบุช่ือ บรรยายลักษณะและบอกหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์ และพืช รวมท้ังบรรยายการทาหน้าที่ร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ ในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ จากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้ ว 1.2 ป.1/2 ตระหนักถึงความสาคัญของส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายตนเอง โดยการดูแลส่วนต่าง ๆ อยา่ งถูกต้อง 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 1) ลักษณะของอวยั วะภายนอกรา่ งกายของมนษุ ย์ 2) ลกั ษณะของอวัยวะภายในรา่ งกายของมนุษย์ 3) ระบชุ อื่ อวัยวะภายนอกรา่ งกายของมนุษย์ 4) ระบชุ ือ่ อวยั วะภายในรา่ งกายของมนษุ ย์ 5) ความหมายของอวยั วะภายนอกและอวยั วะภายใน 6) บอกชอ่ื และระบตุ าแหน่งของอวัยวะภายนอกและอวัยวะภายใน 7) หนา้ ท่ขี องอวยั วะแตล่ ะส่วน 8) การทางานรว่ มกนั ของอวัยวะ 9) การดูแลรกั ษาอวัยวะของรา่ งกาย 10) ส่วนต่าง ๆ ของพืช 11) หนา้ ทข่ี องสว่ นต่าง ๆ ของพชื 12) ความสาคญั ของสว่ นต่าง ๆ ของพชื ท่ีมีผลต่อการดารงชวี ติ ของพืช 13) สว่ นต่าง ๆ ของพืชท่ีมีลักษณะทคี่ ล้ายคลงึ กนั หรือแตกต่างกนั 14) อวัยวะภายนอกของสัตว์ตา่ ง ๆ 1

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เร่อื งตัวเรา พชื และสัตว์ นางวรชนันท์ กราบบุญมา 15) หนา้ ทอี่ วยั วะภายนอกของสตั ว์ 16) ลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกันของอวัยวะภายนอกของสตั ว์ 2.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่ (พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา) 3. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด มนุษย์มีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและหน้าท่ีแตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสมในการดารงชีวิต เช่น ตามีหน้าท่ี ไว้มองดู โดยมีหนังตาและขนตาเพื่อป้องกันอันตรายให้กับตา หูมีหน้าที่รับฟังเสียง โดยมีใบหูและรูหูเพื่อเป็น ทางผ่านของเสียง สมองมีหน้าที่ควบคุมการทางานของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเป็นก้อนอยู่ในกะโหลกศีรษะ โดยสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายจะทาหนา้ ท่ีรว่ มกนั ในการทากจิ กรรมในชวี ิตประจาวนั มนุษย์ใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการทากิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือการดารงชีวิต มนุษย์จึงควรใช้ส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยู่เสมอ เช่น ใช้ตามองตวั หนังสือในท่ีที่มีแสงสว่าง เพยี งพอ ดแู ลตาใหป้ ลอดภัยจากอนั ตรายและรกั ษาความสะอาดตาอยเู่ สมอ พืชมีสว่ นต่าง ๆ ทีม่ ีลกั ษณะและหน้าท่ีแตกต่างกัน เพ่อื ให้เหมาะสมในการดารงชีวิต เชน่ ราก มีลกั ษณะ เรียวยาว และแตกแขนงเป็นรากเล็ก ๆ ทาหน้าที่ดูดน้า ลาต้น มีลักษณะเป็นทรงกระบอกตั้งตรงและมีก่ิงก้าน ทาหนา้ ทช่ี ูก่ิง กา้ น ใบ และดอก เปน็ ต้น สัตว์มีหลายชนิด สัตว์แต่ละชนิดมีส่วนต่าง ๆ ท่ีมีลักษณะและหน้าท่ีแตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสม ในการดารงชวี ติ เชน่ ปลามีครบี เปน็ แผน่ สว่ นกบ เตา่ แมว มีขา 4 และมเี ท้า สาหรบั ใช้ในการเคลือ่ นที่ 4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มีวนิ ยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทางาน 1) ทักษะการระบุ 2) ทักษะการสังเกต 3) ทกั ษะการจาแนกประเภท 4) ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 5) ทกั ษะการสารวจคน้ หา 6) ทักษะการเปรียบเทยี บ 7) ทกั ษะการนาความรูไ้ ปใช้ 8) ทักษะการทางานรว่ มกัน 9) ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์ 2

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่องตัวเรา พชื และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบญุ มา 10) ทักษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1) ชน้ิ งานแผน่ ปา้ ยรณรงคก์ ารวางแผนดูแลรักษาอวยั วะภายนอกของรา่ งกายในชีวิตประจาวนั 2) ชนิ้ งานสมุดภาพอวยั วะภายนอกของสตั ว์ชนดิ ต่าง ๆ 6. การวัดและการประเมนิ ผล รายการวัด วิธีวัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน - ระดับคุณภาพ 2 6.1 การประเมนิ ช้ินงาน/ - ตรวจผลงานปา้ ยรณรงค์ - แบบประเมินชิ้นงาน/ ผ่านเกณฑ์ ภาระงาน (รวบยอด) การวางแผนดแู ลรกั ษา ภาระงาน - ระดบั คณุ ภาพ 2 อวัยวะภายนอกของ ผา่ นเกณฑ์ รา่ งกายใน - ประเมินตามสภาพจรงิ ชีวติ ประจาวนั - แบบประเมินช้ินงาน/ - ตรวจผลงานสมดุ ภาพ ภาระงาน อวัยวะภายนอกของสตั ว์ ชนดิ ตา่ งๆ 6.2 การประเมนิ กอ่ นเรียน - แบบทดสอบก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ก่อนเรียน หนว่ ยการ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ตัวเรา พชื และ สตั ว์ เรียนรู้ที่ 1 6.3 การประเมินระหว่าง - ตรวจสมดุ ประจาตัว - สมดุ ประจาตัวนักเรยี น - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การจัดกจิ กรรม นักเรียนหรอื แบบฝึกหดั หรอื แบบฝึกหัด - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1) บนั ทึกผลการทา วิทยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 กจิ กรรม 1 2 3 และ 4 (บทท่ี 1) - ตรวจสมดุ ประจาตัว - สมดุ ประจาตัวนักเรียน 2) บันทึกผลการทา นักเรยี นหรือแบบฝึกหดั หรอื แบบฝึกหดั กิจกรรม 1 2 และ3 3

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา รายการวัด วธิ ีวัด เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ (บทที่ 2) วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 วิทยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 3) กิจกรรมนาสู่การ - ตรวจแบบฝกึ หดั - สมุดแบบฝึกหดั - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ เรยี น (บทท่ี 1) - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 4) กจิ กรรมนาสกู่ าร วิทยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เรยี น (บทที่ 2 ) - ตรวจแบบฝกึ หดั - สมดุ แบบฝึกหดั - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 5) เติมอวัยวะท่ีหายไป 6) รา่ งกายของเรา วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 วิทยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7) ความสาคญั ของ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - ตรวจใบงานที่ 1.1 - ใบงานที่ 1.1 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ อวยั วะตอ่ การ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ดารงชวี ติ ของเรา - ตรวจใบงานท่ี 1.2 - ใบงานท่ี 1.2 8) หน้าท่ีของอวัยวะ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ภายใน - ตรวจใบงานท่ี 1.3 - ใบงานที่ 1.3 9) รู้จกั ลกั ษณะส่วน - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตา่ ง ๆ ของพชื - ตรวจใบงานท่ี 1.4 - ใบงานที่ 1.4 10) น่ีคือสตั วช์ นดิ ใด - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 11) กิจกรรมพัฒนาการ - ตรวจใบงานที่ 1.5 - ใบงานที่ 1.5 เรยี นรู้ท่ี 1 และ 2 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ (บทที่ 2) - ตรวจใบงานท่ี 1.6 - ใบงานที่ 1.6 12) กจิ กรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมุดประจาตัว - สมุดประจาตัวนักเรียน - ระดับคณุ ภาพ 2 13) กิจกรรมสรปุ ความรู้ นักเรียน ประจาบทที่ 1 และ บทที่ 2 - ตรวจสมดุ ประจาตวั - สมดุ ประจาตัวนักเรยี น 14) กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ นักเรยี นหรือแบบฝึกหัด หรือแบบฝกึ หดั บทที่ 1 และบทที่ 2 วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 วิทยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 15) กจิ กรรมทา้ ทายการ คิดขน้ั สงู บทที่ 1 - ตรวจสมุดประจาตวั - สมุดประจาตัวนักเรยี น และบทที่ 2 นกั เรยี นหรือแบบฝึกหัด หรือแบบฝกึ หดั 16) การนาเสนอผลงาน/ วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 - ตรวจสมุดประจาตวั - สมดุ ประจาตวั นกั เรยี น นกั เรียนหรือแบบฝึกหัด หรอื แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 ป.1 เลม่ 1 - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมินการนาเสนอ 4

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื งตัวเรา พืช และสัตว์ นางวรชนนั ท์ กราบบุญมา รายการวดั วิธีวัด เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน ผลการทากิจกรรม ผลงาน/ผลการทา ผลงาน ผ่านเกณฑ์ กจิ กรรม 17) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2 การทางาน การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ รายบุคคล - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2 18) พฤตกิ รรม การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม - สงั เกตความมีวนิ ยั การทางานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่นั 19) คณุ ลกั ษณะ ในการทางาน - แบบประเมิน - ระดบั คุณภาพ 2 อันพึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ 6.4 การประเมนิ หลังเรยี น - แบบทดสอบท้าย - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบทดสอบหลัง วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 ป.1 เลม่ 1 เรียนหนว่ ยการ เรียนร้ทู ่ี 1 ตวั เรา - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน พชื และสตั ว์ หลงั เรียน หน่วยการ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรียนรทู้ ่ี 1 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ เวลา 2 ชั่วโมง  เรื่องท่ี 1 : รา่ งกายและอวัยวะของเรา เวลา 2 ชัว่ โมง เวลา 2 ชว่ั โมง แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es) เวลา 4 ชว่ั โมง เวลา 2 ชั่วโมง  เรอ่ื งที่ 2 : สารวจอวัยวะของเรา เวลา 2 ช่ัวโมง แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธสี อน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es)  เรอ่ื งที่ 3 : เรยี นร้อู วยั วะของเรา แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ สี อน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es)  เร่ืองท่ี 4 : หนา้ ท่ีของอวยั วะ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es)  เร่ืองท่ี 5 : การทางานร่วมกนั ของอวยั วะ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es)  เรอ่ื งท่ี 6 : การดแู ลรักษาอวัยวะ 5

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ งตัวเรา พืช และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบญุ มา แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ สี อน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es) เวลา 2 ชว่ั โมง เวลา 1 ช่ัวโมง  เรอ่ื งที่ 7 : ตัวเรา เวลา 3 ชั่วโมง เวลา 2 ชั่วโมง แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ สี อน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es) เวลา 2 ชั่วโมง เวลา 2 ช่วั โมง  เรอ่ื งท่ี 8 : พืชและสัตว์น่ารู้ เวลา 2 ช่ัวโมง แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ สี อน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es)  เรื่องที่ 9 : รูจ้ กั ส่วนต่าง ๆ ของพชื แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ สี อน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es)  เร่ืองท่ี 10 : ส่วนต่าง ๆ ทแี่ ตกต่างกนั ของพืช แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธสี อน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es)  เรื่องท่ี 11 : รู้จักอวยั วะภายนอกของสัตว์ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es)  เรอ่ื งท่ี 12 : หนา้ ที่ของอวัยวะภายนอกของสัตว์ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ สี อน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es)  เรื่องที่ 13 : ลกั ษณะอวัยวะทีแ่ ตกตา่ งกนั ของสตั ว์แต่ละชนดิ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ สี อน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es) (รวมเวลา 28 ชวั่ โมง) 8. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ตัวเรา พืช และสตั ว์ 2) แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ตวั เรา พืช และสตั ว์ 3) วัสดุ-อุปกรณ์การทดลองในกจิ กรรม เรื่อง สารวจอวยั วะของเรา 4) วสั ดุ-อุปกรณ์การทดลองในกิจกรรม เร่ือง หน้าทข่ี องอวยั วะ 5) วัสดุ-อุปกรณ์การทดลองในกิจกรรม เรอ่ื ง การทางานร่วมกันของอวยั วะ 6) วสั ดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกจิ กรรม เรอ่ื ง การดแู ลรักษาอวยั วะ 7) วสั ดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกิจกรรม เรอ่ื ง รู้จกั สว่ นตา่ ง ๆ ของพืช 8) วสั ดุ-อุปกรณ์การทดลองในกจิ กรรม เร่อื ง รู้จกั อวยั วะภายนอกของสตั ว์ 9) วัสดุ-อุปกรณ์การทดลองในกิจกรรม เรือ่ ง หนา้ ทขี่ องอวัยวะภายนอกของสัตว์ 10) วัสดุ-อุปกรณ์ที่ใชใ้ นกิจกรรมสร้างสรรค์ผลงาน บทท่ี 1 11) วัสดุ-อุปกรณ์ท่ใี ช้ในกิจกรรมสร้างสรรคผ์ ลงาน บทท่ี 2 12) PowerPoint เร่อื ง อวยั วะภายนอกของเรา 13) PowerPoint เรื่อง อวยั วะภายในของเรา 6

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่องตัวเรา พชื และสัตว์ นางวรชนนั ท์ กราบบญุ มา 14) PowerPoint เรื่อง หนา้ ที่ของอวัยวะภายนอก 15) PowerPoint เรือ่ ง โครงสร้างภายนอกของพืช 16) PowerPoint เรื่อง ลกั ษณะสว่ นต่าง ๆ ของพชื 17) PowerPoint เร่ือง โครงสรา้ งภายนอกของสัตว์ 18) PowerPoint เรอ่ื ง อวัยวะเฉพาะตัวของสตั ว์แต่ละชนิด 19) ใบงานที่ 1.1 เรอื่ ง เตมิ อวยั วะทหี่ ายไป 20) ใบงานที่ 1.2 เร่อื ง รา่ งกายของเรา 21) ใบงานที่ 1.3 เร่อื ง ความสาคญั ของอวยั วะตอ่ การดารงชีวติ ของเรา 22) ใบงานท่ี 1.4 เร่ือง หน้าท่ีของอวยั วะภายใน 23) ใบงานที่ 1.5 เรอ่ื ง รู้จกั ลักษณะส่วนตา่ ง ๆ ของพืช 24) ใบงานท่ี 1.6 เรอ่ื ง น่คี ือสตั ว์ชนิดใด 25) สมดุ ประจาตวั นักเรยี น 26) QR Code เร่ือง การทางานรว่ มกนั ของอวยั วะ 27) QR Code เร่อื ง การดูแลรักษาอวัยวะ 28) บตั รภาพอวยั วะสว่ นต่าง ๆ ของคน 29) บัตรภาพอวยั วะสว่ นต่าง ๆ ของสัตว์ 30) บตั รภาพอวยั วะภายใน 31) บตั รภายอวยั วะภายนอก 32) บัตรภาพตน้ พืช 33) บตั รภาพสัตว์ 34) บัตรขอ้ ความอวยั วะภายนอกและอวยั วะภายใน 35) บัตรข้อความหนา้ ท่ีของอวัยวะภายนอกของสัตว์ 36) บตั รคาอวยั วะภายนอก 37) บัตรคาอวยั วะภายใน 38) แผนภาพอวยั วะภายใน 39) ตะกร้า 40) ลกู บอล 5 ลกู 41) ต้นพืชขนาดไม่ใหญม่ าก 1 ตน้ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) หอ้ งเรยี น 3) ป้ายนิเทศ 4) อินเทอรเ์ น็ต 7

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เร่ืองตัวเรา พืช และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบญุ มา แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. อวัยวะใดท่ีทาใหเ้ รามองเหน็ สิ่งต่าง ๆ ได้ 6. จากภาพหมายเลข 1 คืออวัยวะใด ก. ตา ข. ค้วิ หมายเลข 2 ค. เปลอื กตา หมายเลข 3 2. หนา้ ทข่ี องหู คอื ขอ้ ใด ก. ใชส้ มั ผสั หมายเลข 1 ข. ใช้ดมกลิน่ ค. ใชฟ้ งั เสียง ก. ปาก ข. ตา 3. เป็ดใชอ้ วยั วะใดในการวา่ ยนา้ ค. ขา ก. ปาก 7. ในการรับประทานอาหาร อวัยวะส่วนใดบ้าง ข. ตา ที่ทางานสมั พนั ธก์ นั ค. ขาและเทา้ ก. ตา ปาก ท้อง ข. ตา มือ ปาก 4. ค. ตา ล้นิ ฟัน 8. ถา้ เราขาหัก จะส่งผลตอ่ การดารงชวี ิตของเรา ภาพที่1 ภาพที่2 ภาพที่3 ภาพที่4 อย่างไร ก. เดนิ ไม่ได้ จากภาพ หมายเลขใด ไม่ใช่ อวยั วะภายนอกของ ข. นัง่ ไม่ได้ พชื ค. นอนไม่ได้ ก. ภาพท่ี 1 9. รากมีความสาคญั ต่อตน้ ไมอ้ ย่างไร ข. ภาพที่ 2 ก. ชว่ ยในการสบื พันธุ์ ค. ภาพท่ี 3 ข. ชว่ ยดดู น้ามาเลีย้ งลาต้น 5. ถ้าเรามีนา้ มูก เราควรปฏบิ ตั ิอยา่ งไร ค. ช่วยชกู ิง่ ก้าน ใบให้ไดร้ ับแสงแดด ก. ใช้สาลอี ุดจมกู ไว้ 10. ใครดูแลอวัยวะไดถ้ ูกต้อง ข. สั่งน้ามกู เบา ๆ ก. แก้วใช้ไม้แคะขหี้ ูออกใหห้ มด ค. บีบจมูกแรง ๆ ข. เก่งตัดเล็บมือให้สน้ั อยเู่ สมอ ค. กอ้ ยใช้ฟันฉกี ถงุ ขนม เฉลย 1. ก 2. ค 3. ค 4. ก 5. ข 6. ค 7. ข 8. ก 9. ข 10. ข 8

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่อื งตัวเรา พชื และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบญุ มา แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 คาชแี้ จง ให้นักเรยี นเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. หนา้ ทขี่ องหู คือข้อใด 6. ถ้าเราขาหัก จะส่งผลต่อการดารงชีวิตของเรา ก. ใชส้ มั ผัส อยา่ งไร ข. ใชด้ มกล่นิ ก. เดนิ ไม่ได้ ค. ใช้ฟงั เสยี ง ข. นั่งไม่ได้ 2. เป็ดใช้อวยั วะใดในการว่ายน้า ค. นอนไม่ได้ ก. ปาก 7. ใครดแู ลอวยั วะไดถ้ ูกตอ้ ง ข. ตา ก. แกว้ ใชไ้ มแ้ คะข้ีหูออกให้หมด ค. ขาและเท้า ข. เก่งตัดเลบ็ มือใหส้ ัน้ อย่เู สมอ 3. ในการรับประทานอาหาร อวัยวะส่วนใดบ้างท่ี ค. ก้อยย้อมสผี มเป็นประจา ทางานสมั พันธก์ นั 8. ถ้าเรามีนา้ มูก เราควรปฏิบัตอิ ย่างไร ก. ตา ปาก ทอ้ ง ก. ใช้สาลีอดุ จมูกไว้ ข. ตา มอื ปาก ข. สงั่ น้ามูกเบา ๆ ค. ตา ล้นิ ฟัน ค. บีบจมกู แรง ๆ 4. จากภาพหมายเลข 1 คือ อวยั วะใด 9. อวยั วะใดท่ีทาใหเ้ รามองเห็นส่ิงต่าง ๆ ได้ หมายเลข 2 ก. ตา หมายเลข 3 ข. ค้วิ ค. เปลือกตา หมายเลข 1 10. ก. ปาก ภาพที่1 ภาพที่2 ภาพที่3 ภาพที่4 ข. ตา ค. ขา จากภาพ หมายเลขใด ไม่ใช่ โครงสรา้ งของพืช 5. รากมีความสาคญั ต่อต้นไมอ้ ย่างไร ก. ภาพที่ 1 ก. ช่วยในการสืบพันธ์ุ ข. ภาพท่ี 2 ข. ช่วยดูดน้ามาเลย้ี งลาต้น ค. ภาพท่ี 3 ค. ช่วยชูกิง่ กา้ น ใบ ให้ไดร้ บั แสงแดด เฉลย 1. ค 2. ค 3. ข 4. ค 5. ข 6. ก 7. ข 8. ข 9. ก 10. ก 9

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอื่ งตัวเรา พืช และสัตว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 7 แบบประเมินผลงานแผน่ ป้ายรณรงคก์ ารดแู ลรักษาอวยั วะภายนอกของรา่ งกาย ระดับคณุ ภาพ ลาดับท่ี รายการประเมิน 32 1 (ดี) (พอใช)้ (ปรบั ปรุง) 1 ตรงกับจดุ ประสงคท์ ่ีกาหนด   2 มคี วามถูกตอ้ งของเน้ือหา 3 มีความคิดสรา้ งสรรค์   4 มีความเปน็ ระเบียบ 5 กาหนดเวลาสง่ งาน       รวม ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมิน ............./.................../.............. 10

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่อื งตวั เรา พชื และสัตว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา เกณฑ์การประเมินแผ่นป้ายรณรงคก์ ารดแู ลรกั ษาอวยั วะภายนอกของร่างกาย (แผนฯ ที่ 7) รายการประเมิน คาอธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดบั คะแนน 1. ผลงานตรงกับจดุ ประสงคท์ ่ี ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) กาหนด 2. ผลงานมีความถูกต้องของ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้อง ผลงานไม่สอดคล้อง เน้ือหา จดุ ประสงค์ทุก กับจุดประสงค์ กับจุดประสงค์ 3. ผลงานมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ประเด็น บางประเด็น 4. ผลงานมคี วามเปน็ ระเบียบ เน้ือหาการดูแลรักษา เนื้อหาการดูแลรกั ษา เน้ือหาการดูแลรักษา 5. กาหนดเวลาสง่ งาน อวยั วะภายนอกของ อวัยวะภายนอกของ อวัยวะภายนอกของ ร่างกายของผลงานมี รา่ งกายของผลงานมี รา่ งกายของผลงานไม่ ความถูกต้องครบถ้วน ความถกู ตอ้ ง ถูกต้องเปน็ สว่ นใหญ่ เป็นบางประเดน็ ผลงานแสดงออก ผลงานมีความ ผลงานไมแ่ สดง ถึงความคดิ นา่ สนใจ แต่ยังไม่มี แนวคดิ ใหม่ สรา้ งสรรคแ์ ปลกใหม่ แนวคิดแปลกใหม่ และเป็นระบบ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่ ระเบยี บแสดงออกถึง เปน็ ระเบียบ แตม่ ี ไม่เป็นระเบยี บ ความประณีต ข้อบกพร่องบางสว่ น และมขี ้อบกพร่อง มาก ส่งชิน้ งานภายในเวลา สง่ ช้นิ งานชา้ กวา่ ส่งชิ้นงานชา้ กว่า ทกี่ าหนด กาหนด 1-2 วัน กาหนดเกนิ 3 วนั ขึน้ ไป เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรบั ปรงุ 11

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรื่องตัวเรา พชื และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบุญมา การประเมนิ ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ท่ี 13 แบบประเมินผลงานสมดุ ภาพอวัยวะภายนอกของสัตว์ชนดิ ต่าง ๆ ระดบั คุณภาพ ลาดบั ที่ รายการประเมิน 32 1 (ด)ี (พอใช้) (ปรบั ปรุง) 1 รูปเลม่ /การสรา้ งผลงาน   2 ความถกู ตอ้ งของเนอื้ หา 3 มคี วามเป็นระเบยี บ   4 กาหนดเวลาส่งงาน     รวม ลงชื่อ...................................................ผ้ปู ระเมิน ............./.................../.............. 12

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ืองตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบุญมา เกณฑ์การประเมนิ ผลงานสมดุ ภาพอวัยวะภายนอกของสตั ว์ชนิดตา่ ง ๆ (แผนฯ ที่ 13) รายการประเมิน คาอธบิ ายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน 1. การจดั ทาสมดุ ภาพ/ ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) การสรา้ งผลงาน สมุดภาพมีขนาดเหมาะสม สมุดภาพมขี นาด สมดุ ภาพมีขนาด 2. ความถกู ต้องของ เน้ือหา รปู แบบนา่ สนใจ ตกแต่งได้ เหมาะสม รปู แบบ เหมาะสม รูปแบบ 3. มคี วามเป็นระเบยี บ สวยงาม มีความคิด นา่ สนใจ ตกแตง่ ผลงาน นา่ สนใจ ตกแตง่ ผลงาน 4. กาหนดเวลาสง่ งาน สรา้ งสรรค์ดมี าก ไดส้ วยงาม มีความคดิ ได้สวยงาม มคี วามคิด สร้างสรรค์ดี สร้างสรรคพ์ อใช้ ชี้บอกช่ือและหนา้ ที่ของ ชี้บอกช่ือและหนา้ ที่ของ ชบี้ อกช่ือและหนา้ ท่ีของ อวัยวะภายนอกของสตั ว์ อวัยวะได้ถูกต้อง อวยั วะได้ไม่ถูกต้อง ไดถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น เป็นบางประเดน็ เป็นสว่ นใหญ่ ผลงานมีความเปน็ ระเบยี บ ผลงานมคี วาม ผลงานไมเ่ ป็นระเบียบ แสดงออกถึงความประณีต เป็นระเบยี บ แต่มี และมีข้อบกพร่องมาก ข้อบกพร่องบางสว่ น ส่งชิน้ งานภายในเวลาท่ี ส่งชิ้นงานชา้ กวา่ กาหนด ส่งชน้ิ งานช้ากว่ากาหนด กาหนด 1-2 วัน เกิน 3 วนั ข้นึ ไป เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 11-12 ดมี าก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ากว่า 6 ปรับปรงุ 13

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรื่องตัวเรา พืช และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบุญมา แบบประเมินการนาเสนอผลงาน คาช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 เนอื้ หาละเอยี ดชัดเจน   2 ความถูกตอ้ งของเนือ้ หา   3 ภาษาทใี่ ชเ้ ขา้ ใจงา่ ย   4 ประโยชนท์ ไ่ี ด้จากการนาเสนอ   5 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน   รวม ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมนิ ............/................./................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรับปรุง 14

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรื่องตัวเรา พชื และสัตว์ นางวรชนนั ท์ กราบบุญมา แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคดิ เหน็   2 การยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื   3 การทางานตามหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย   4 ความมนี า้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงช่ือ...................................................ผูป้ ระเมนิ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ............/.................../.............. ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรบั ปรุง 15

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ คาชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ชือ่ –สกลุ การแสดง การยอมรับฟงั การทางาน ความมนี า้ ใจ การมี รวม ของนักเรยี น ตามทไ่ี ด้รับ สว่ นร่วมในการ 15 ลาดบั ท่ี ความคิดเหน็ คนอนื่ มอบหมาย คะแนน ปรับปรุง ผลงานกลุ่ม 321321321321321 เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่อื ...................................................ผปู้ ระเมนิ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ............../.................../............... ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรุง 16

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เร่อื งตวั เรา พืช และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบุญมา แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คาชีแ้ จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษัตรยิ ์ 1.2 เข้ารว่ มกิจกรรมทส่ี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ตอ่ โรงเรียน 1.3 เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาทีต่ นนับถอื ปฏิบตั ิตามหลกั ศาสนา 1.4 เข้ารว่ มกจิ กรรมท่เี ก่ียวกบั สถาบันพระมหากษัตริยต์ ามทโี่ รงเรยี นจดั ขึน้ 2. ซื่อสตั ย์ สุจริต 2.1 ใหข้ อ้ มลู ที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏบิ ัตใิ นสง่ิ ที่ถูกต้อง 3. มีวินยั รับผดิ ชอบ 3.1 ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคับของครอบครัว มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวิตประจาวัน 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รู้จกั ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และนาไปปฏบิ ัติได้ 4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชื่อฟังคาส่งั สอนของบิดา-มารดา โดยไมโ่ ตแ้ ย้ง 4.4 ตง้ั ใจเรยี น 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 5.1 ใชท้ รัพย์สนิ และส่ิงของของโรงเรยี นอย่างประหยัด 5.2 ใช้อปุ กรณก์ ารเรยี นอย่างประหยัดและรูค้ ณุ ค่า 5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงนิ 6. มุ่งม่ันในการทางาน 6.1 มคี วามต้ังใจและพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออุปสรรคเพ่ือให้งานสาเร็จ 7. รกั ความเปน็ ไทย 7.1 มจี ติ สานกึ ในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย 7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู างาน 8.2 รจู้ ักการดแู ลรกั ษาทรัพยส์ มบัตแิ ละส่งิ แวดล้อมของห้องเรียนและ โรงเรียน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตชิ ัดเจนและสม่าเสมอ พฤติกรรมทป่ี ฏิบัติชดั เจนและบอ่ ยครงั้ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ พฤติกรรมท่ีปฏิบัตบิ างครัง้ ให้ 2 คะแนน 51-60 ดมี าก ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ตา่ กวา่ 30 ปรบั ปรุง 17

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ืองตัวเรา พชื และสัตว์ นางวรชนนั ท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่ 1 รา่ งกายและอวยั วะของเรา แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 รา่ งกายและอวัยวะของเรา เวลา 2 ช่ัวโมง 1. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1.1 ตัวชีว้ ัด ป.1/1 ระบุช่ือบรรยายลักษณะและบอกหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์ ว 1.2 และพืช รวมทั้งบรรยายการทาหน้าท่ีร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ ในการทากจิ กรรมต่าง ๆ จากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้ 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกความแตกต่างของอวัยวะภายนอกและอวยั วะภายในได้ (K) 2. สงั เกตและบอกช่อื อวัยวะแตล่ ะสว่ นของร่างกายได้ (K) 3. จาแนกภาพอวยั วะภายในและอวยั วะภายนอกได้ (P) 4. มคี วามมุง่ ม่นั และตงั้ ใจในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนร้ทู ้องถน่ิ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 1. ลักษณะของอวัยวะภายนอกรา่ งกายของมนุษย์ 2. ลักษณะของอวัยวะภายในรา่ งกายของมนษุ ย์ 4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ร่างกายของเรามีอวยั วะต่าง ๆ ประกอบกัน อวัยวะท่ีเราสามารถมองเหน็ ได้ เรียกว่า อวัยวะภายนอก และ อวัยวะทเ่ี ราไม่สามารถมองเหน็ ได้ เรยี กว่า อวยั วะภายใน 5. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 18

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอื่ งตัวเรา พืช และสัตว์ นางวรชนันท์ กราบบุญมา แผนฯ ท่ี 1 รา่ งกายและอวยั วะของเรา 1. มวี นิ ยั 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ใฝ่เรยี นรู้ 2. ความสามารถในการคดิ 3. มงุ่ มั่นในการทางาน 1) ทักษะระบุ 2) ทกั ษะการสงั เกต 3) ทักษะการสารวจคน้ หา 4) ทักษาการจาแนกประเภท 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงท่ี 1 ขัน้ นา ข้นั กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครทู ักทายกับนกั เรียน ครูแจง้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ท่ีจะเรียนในวนั น้ีใหน้ ักเรยี นทราบ 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพ่ือวัดความร้เู ดิมของนักเรียนก่อนเข้าสู่กิจกรรม 3. ครกู ระตุ้นความสนใจของนักเรียนก่อนจะเร่ิมเรยี นในวนั นี้ โดยเขียนเน้ือเพลง ตา หู จมกู บนกระดาน จากน้ันสอนนกั เรยี นรอ้ งเพลง โดยใหน้ กั เรียนร้องตาม เพลง ตา หู จมูก ตา หู จมูก จับให้ถกู จมกู หู ตา จับใหมจ่ ับใหฉ้ นั ดู (ซา้ ) จบั จมกู ตา หู จบั หู ตา จมูก (ที่มา : เพลงสอนเดก็ ปฐมวัย) 4. นกั เรยี นเล่นเกมจับใหถ้ ูกที่ โดยครูอธิบายวิธีการเล่นเกม ดงั น้ี ใหน้ ักเรียนร้องเพลง ตา หู จมกู แลว้ จบั อวัยวะตามเนื้อร้องเพลงให้ทันและถูกต้อง ใครทาผิดให้นั่งลงจนกระท่ังเหลือผู้เล่นคนสุดท้าย คือ ผชู้ นะ ครูใหร้ างวัลแก่นักเรียนที่ชนะ 5. ครูถามนักเรียนวา่ เพลงทนี่ ักเรยี นไดร้ ้องไปเน้ือเพลงกล่าวถึงเรื่องใด โดยให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบ (หมายเหต:ุ ครเู ริม่ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล) 19

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ งตัวเรา พืช และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบุญมา แผนฯ ที่ 1 รา่ งกายและอวยั วะของเรา 6. ครูให้นักเรียนอ่านสาระสาคัญและดูภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องตัวเรา พืช และสัตว์จากหนังสือ เรียนวิทยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 หน้า 2 เพ่ือให้นกั เรียนได้ทราบวา่ หนว่ ยที่ 1 น้ีเรยี นเกี่ยวกับเรอื่ งคน พืช และสตั ว์ 7. ครูให้นักเรียนเปิดและดูภาพในหน้าบทท่ี 1 ตัวเรา จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 3 แล้วถาม คาถามสาคญั ประจาบทว่า ร่างกายของเราประกอบดว้ ยอวยั วะอะไรบ้าง และอวยั วะน้ันทาหนา้ ท่อี ะไร จากนน้ั ใหน้ กั เรียนช่วยกันอธบิ ายคาตอบ (แนวตอบ : ร่างกายของเราประกอบด้วยอวยั วะส่วนตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ตา ทาหนา้ ท่ี มองดสู ่ิงตา่ ง ๆ หู ทาหน้าท่ี ฟงั เสยี งต่าง ๆ จมูก ทาหนา้ ท่ี หายใจและดมกลิ่น ปาก ทาหนา้ ที่ พดู และกินอาหาร แขนและมือ ทาหน้าท่ี แขนช่วยในการเคล่อื นไหวของร่างกาย ส่วนมอื ช่วยหยบิ จบั ส่ิงตา่ ง ๆ ขาและเทา้ ทาหน้าท่ี ขาชว่ ยในการเคลอื่ นที่ โดยมีเทา้ รับนาหนกั ตัว) 8. ครูชูบัตรภาพอวัยวะของคนและสัตว์ให้นักเรียนสังเกตแล้วให้ตอบว่าเป็น อวัยวะของคนหรือเป็น อวัยวะของสัตว์ หรือให้นักเรียนทากิจกรรมนาสู่การเรียนในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 หน้า 2 โดยมีรูปอวยั วะของคนและสัตว์ปนกัน และตอบคาถามว่า ภาพหมายเลขใดเปน็ อวัยวะของคน และภาพหมายเลขใดเป็นอวัยวะของสัตว์ แลว้ ชว่ ยกันตรวจสอบความถกู ตอ้ งทากจิ กรรมนาสู่การเรียน ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หน้า 2 ขน้ั สอน ข้นั สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนเรียนรู้และอ่านคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนในบทที่ 1 ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 3 โดยครูเขยี นคาศพั ทไ์ วบ้ นกระดาน และใหค้ รูเปน็ ผูอ้ ่านนาและให้นกั เรยี นอ่านตามทลี ะคา ดังน้ี (ครสู ามารถเสริมคาศพั ท์ท่เี กีย่ วข้องใหก้ บั นักเรียนไดจ้ ากหนงั สือค่มู ือครู) External organs (แอ็คซ'เตอนลั ออกนั ) อวัยวะภายนอก Internal organs (อิน'เทอนัล ออกัน) อวัยวะภายใน Skin (ซกิน) ผวิ หนัง Lung (ลงั ) ปอด Brain (เบรน) สมอง Stomach ('สตัมมัค) กระเพาะอาหาร 2. ครูลบคาแปลออกให้เหลือแต่คาศัพท์ จากนั้นครูทาการสุ่มนักเรียนให้ออกมาอ่านคาศัพท์ พร้อมบอก คาแปล คนละ 1 คา โดยมคี รูคอยช่วยแนะนา (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล) 3. นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรปุ ความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการทากิจกรรมจากชั่วโมงน้ี 20

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ งตัวเรา พชื และสัตว์ นางวรชนันท์ กราบบุญมา แผนฯ ท่ี 1 รา่ งกายและอวยั วะของเรา ชว่ั โมงท่ี 2 ขน้ั สอน ขัน้ อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครตู ดิ บตั รขอ้ ความอวัยวะภายในและบัตรขอ้ ความอวัยวะภายนอกไวค้ นละฝั่งของกระดาน จากนั้นนา บตั รคาของชอื่ อวยั วะภายในและอวัยวะภายนอกร่างกายใสไ่ วใ้ นกลอ่ ง 2. ครูสุ่มนักเรียนออกมาหยิบบัตรคาในกล่องทีละคนแล้วอ่านให้เพื่อนฟัง จากน้ันนาบัตรคาไปติดบน กระดานให้ตรงกับบัตรข้อความอวัยวะภายในและบัตรข้อความอวัยวะภายนอกท่ีครูตดิ ไวบ้ นกระดาน ให้ถูกตอ้ ง (หมายเหต:ุ ครูเรมิ่ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล) 3. เมอ่ื ทากิจกรรมเสร็จแลว้ ครูและนักเรียนช่วยกนั สรุปขอ้ มูลท่ีได้จากการทากิจกรรมบนกระดาน เช่น - อวยั วะภายใน ไดแ้ ก่ หวั ใจ ปอด ลาไส้ สมอง กระเพาะอาหาร เปน็ ตน้ - อวยั วะภายนอก ได้แก่ ตา หู จมกู ปาก แขนและมือ ขาและเทา้ เป็นตน้ 4. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเพ่ิมเติมเกี่ยวกับอวัยวะของร่างกายว่า จากข้อมูลบนกระดานนักเรียน สามารถมองเห็นอวัยวะใดได้บา้ ง และนักเรียนไม่สามารถมองเห็นอวัยวะใดบ้าง โดยให้นักเรียนยกมือ ตอบคาถามทีละคน (แนวตอบ : - อวัยวะทีเ่ ราสามารถมองเหน็ ได้ ไดแ้ ก่ หู ตา จมกู มือ เท้า เป็นต้น - อวยั วะท่ีเราไมส่ ามารถมองเห็นได้ ได้แก่ หวั ใจ สมอง ปอด ลาไส้ เป็นต้น) 5. ครอู ธิบายถงึ ความหมายของอวัยวะภายนอกและอวยั วะภายใน จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 4 ใหน้ ักเรียนเข้าใจเพิ่มเติม 6. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปว่า ร่างกายของเราประกอบด้วยอวัยวะอะไรบ้างท่ีนักเรียนสามารถ มองเห็นได้ และอวยั วะใดบา้ งทีน่ ักเรยี นไม่สามารถมองเหน็ ได้ ข้ันสรุป ขั้นขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา โดยมีประเด็น ดังน้ี คนเรามีอวัยวะต่าง ๆ เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร โดยให้นักเรียนจับกลุ่ม กล่มุ ละ 3-4 คน แลว้ ช่วยกันสืบค้นหาขอ้ มลู จากแหล่งตา่ ง ๆ เช่น หนังสือเรียน อนิ เทอรเ์ น็ต เป็นตน้ โดยครกู าหนดเวลาในการทากิจกรรมกลุม่ ละ 10 นาที (หมายเหต:ุ ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายกลุ่ม) 21

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ืองตัวเรา พืช และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แผนฯ ท่ี 1 รา่ งกายและอวยั วะของเรา 2. หลังจากหมดเวลาท่ีครกู าหนด ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ เตรียมความพร้อม เพื่อออกมานาเสนอข้อมูลท่ีได้ จากการสืบค้นหนา้ ช้ันเรียน โดยออกมานาเสนอทีละกลมุ่ (หมายเหตุ: ครเู ร่มิ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอหน้าชันเรียน) 3. เมือ่ นาเสนอครบทุกกลุ่มแลว้ ครูและนักเรียนร่วมกนั อภิปรายและสรุปผลที่แตล่ ะกลุ่มนาเสนอไป เพ่ือ แนะนาและเสนอแนะข้อบกพร่อง ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายของอวัยวะภายนอกและอวัยวะภายใน ดังน้ี อวัยวะท่ีเรา สามารถมองเห็นได้ เรียกว่า อวัยวะภายนอก ได้แก่ ตา หู จมูก แขนและมือ ส่วนอวัยวะที่เราไม่ สามารถมองเหน็ ได้ เพราะอยูภ่ ายในร่างกายตัวเรา เรยี กว่า อวัยวะภายใน ได้แก่ สมอง หัวใจ ตบั และ ปอด 2. ครตู รวจสอบผลการทาแบบทดสอบก่อนเรยี น เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน 3. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤตกิ รรมการทางานกล่มุ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ชัน้ เรยี น 4. ครูตรวจสอบผลจากการทากิจกรรมนาสู่การเรียนในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 2 7. การวัดและประเมินผล รายการวดั วธิ กี าร เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ 7.1 การประเมินก่อน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น - ประเมนิ ตามสภาพจริง เรียน กอ่ นเรียน - แบบฝึกหัด - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบฝึกหดั เรยี น หน่วยการ วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เล่ม วิทยาศาสตร์ ป.1 เล่ม เรียนร้ทู ี่ 1 เรอ่ื ง 1หน้า 2 ตัวเรา พชื และ 1 หนา้ 2 สัตว์ - ประเมนิ การนาเสนอ 7.2 ประเมินระหว่าง ผลทากจิ กรรม - แบบประเมนิ การ - ระดับคุณภาพ 2 การจดั กจิ กรรม นาเสนอผลทากิจกรรม ผ่านเกณฑ์ การเรยี นรู้ 1) กิจกรรมนาสกู่ าร เรยี น 2) การนาเสนอผล การทากจิ กรรม 22

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่องตวั เรา พืช และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบุญมา แผนฯ ที่ 1 ร่างกายและอวยั วะของเรา 3) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2 การทางาน การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ รายบคุ คล - สังเกตความมวี ินยั - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2 4) คุณลกั ษณะ ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ ม่นั คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพงึ ประสงค์ ในการทางาน อันพึงประสงค์ 8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ตวั เรา พชื และสัตว์ 2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 ตวั เรา พืช และสัตว์ 3) แบบทดสอบก่อนเรียน 4) บัตรภาพอวัยวะของคนและสัตว์ 5) บตั รคาอวัยวะภายนอกและอวยั วะภายใน 6) บัตรข้อความอวัยวะภายนอกและอวัยวะภายใน 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) ห้องเรยี น 3) อนิ เทอร์เน็ต บตั รคำ หู  ตา 23

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ งตัวเรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่ 1 รา่ งกายและอวยั วะของเรา ปาก จมูก ขาและ เทา้ แขนและ มอื บตั รคำ ลาไส้  ตับ หวั ใจ สมอง 24

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ืองตวั เรา พืช และสัตว์ นางวรชนันท์ กราบบุญมา แผนฯ ท่ี 1 ร่างกายและอวยั วะของเรา กระเพาะ ปอด อาหาร บตั รข้อควำม  อวัยวะภายนอก อวยั วะภายใน 25

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรอ่ื งตัวเรา พชื และสัตว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แผนฯ ท่ี 1 ร่างกายและอวยั วะของเรา บตั รภำพอวยั วะส่วนต่ำงๆ ของคน  26

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรื่องตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่ 1 ร่างกายและอวยั วะของเรา บตั รภำพอวยั วะส่วนต่ำงๆ ของคน  27

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่อื งตัวเรา พชื และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่ 1 รา่ งกายและอวยั วะของเรา 28

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรื่องตวั เรา พืช และสตั ว์ นางวรชนนั แผนฯ ท่ี 1 รา่ งกายและอวยั วะของเรา บตั รภำพอวยั วะส่วนต่ำงๆ ของสตั ว์ 2

นท์ กราบบญุ มา  27

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่องตัวเรา พืช และสัตว์ นางวรชนนั แผนฯ ที่ 1 ร่างกายและอวยั วะของเรา บตั รภำพอวยั วะส่วนต่ำงๆ ของสตั ว์ 2

นท์ กราบบญุ มา  28

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ิต แผนฯ ท่ี 2 ความหลากหลายของพืช 9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรอื ผูท้ ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงช่อื ................................. ( ................................ ) ตาแหน่ง ....... 10. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน  ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ด้านอน่ื ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทีม่ ีปญั หาของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล (ถ้ามี))  ปญั หา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข 30

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบุญมา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 2 สารวจอวัยวะของเรา เวลา 2 ชั่วโมง 1. มาตรฐาน/ตัวชี้วดั 1.1 ตวั ชี้วดั ป.1/1 ระบุชื่อบรรยายลักษณะและบอกหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์ ว 1.2 และพืช รวมทั้งบรรยายการทาหน้าท่ีร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ใน การทากิจกรรมต่าง ๆ จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. สังเกตและบอกชื่ออวัยวะแต่ละส่วนของร่างกายตนเองได้ (K) 2. เปรียบเทยี บอวยั วะภายนอกแตล่ ะสว่ นของตนเองกับเพื่อนได้ (K) 3. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสารวจอวัยวะภายนอกของตนเองได้ (P) 4. รบั ผิดชอบตอ่ หน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนร้ทู ้องถ่นิ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 1) ระบชุ ื่ออวยั วะภายนอกร่างกายของมนษุ ย์ 2) ระบชุ ่ืออวัยวะภายในรา่ งกายของมนุษย์ 4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ร่างกายของเรามีอวัยวะต่าง ๆ ประกอบกัน อวัยวะที่เราสามารถมองเห็นได้ เรียกว่า อวัยวะภายนอก และ อวัยวะท่เี ราไมส่ ามารถมองเหน็ ได้ เรยี กวา่ อวัยวะภายใน 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียนและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวนิ ัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้ 1) ทักษะการระบุ 3. มงุ่ มัน่ ในการทางาน 2) ทักษะการสังเกต 3) ทักษะการวิเคราะห์ 4) ทกั ษะการสารวจค้นหา

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต 4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ช่วั โมงท่ี 1 ข้นั นา ขนั้ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูสมุ่ นักเรียน 3-4 คน ออกมาบอกความหมายของอวัยวะภายนอกและอวยั วะภายใน พร้อมยกตัวอย่างอวัยวะ มา 2 อวยั วะ แลว้ ให้เพ่ือน ๆ ในห้องช่วยกนั แสดงความคดิ เหน็ และปรบมอื ใหก้ บั เพอ่ื นท่อี อกมาตอบคาถาม (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล) 2. ครแู จง้ จุดประสงค์การเรียนรู้ที่จะเรียนในวันนีใ้ ห้นกั เรยี นทราบ 3. ครูนาบตั รภาพหรือวาดแผนภาพรา่ งกายคนที่มีส่วนต่าง ๆ ของอวยั วะภายนอกขาดหายไปไว้บนกระดาน แลว้ ให้นักเรียนสังเกตภาพ จากนั้นครูสุ่มนักเรียนให้ออกมาเติมอวัยวะส่วนท่ีขาดหายไป แล้วให้เพ่ือน ๆ ช่วยกัน ตรวจสอบความถูกตอ้ งและบอกช่อื อวัยวะภายนอกทขี่ าดหายไปบนแผนภาพ 3. ครนู าแผนภาพอวัยวะภายในมาใหน้ ักเรยี นช่วยกนั สังเกต แล้วถามนกั เรียนวา่ นกั เรียนสามารถมองเห็นอวยั วะ ในภาพนี้ไดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด แลว้ ให้นกั เรยี นชว่ ยกันตอบ (แนวตอบ : มองไม่เหน็ เพราะอวัยว้เหล่าน้ีอยภู่ ายในร่างกายของเรา ซง่ึ มผี ิวหนงั ห่อหุม้ อย)ู่ ขัน้ สอน ขั้นสารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูครูใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือเทคนิคเพ่ือนคู่คิด จากนั้นให้แต่ละคู่ทากิจกรรมที่ 1 เรอ่ื งสารวจอวยั วะของเรา ตอนที่ 1 โดยปฏิบัตดิ งั นี้ 1) ศึกษาขั้นตอนการทากิจกรรมท่ี 1 เร่ืองสารวจอวัยวะของเรา ตอนที่ 1 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 หนา้ 5 อย่างละเอียด หากมขี อ้ สงสยั ใหส้ อบถามครู 2) ให้นักเรียนจับคู่กับเพ่ือนเพศเดียวกัน แล้วผลัดกันสารวจร่างกายของตนเองและเพื่อนว่า มีอวัยวะ ภายนอกอะไรบา้ งท่นี กั เรยี นสงั เกตเห็นได้

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบุญมา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ 3) วาดภาพตนเองลงในสมุดประจาตวั นักเรียนหรือแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 หน้า 4 แล้วลากเสน้ ชี้บอกช่อื อวัยวะภายนอกใหถ้ กู ตอ้ ง 4) เมื่อแต่ละคู่ทากิจกรรมเสร็จแล้ว ให้แต่ละคู่ร่วมกันเปรียบเทียบข้อมูลอวัยวะภายนอกของตนเอง กบั เพอ่ื น พรอ้ มทั้งซักถามข้อสงสยั 5) รว่ มกนั อภิปรายและสรปุ ผลการทากจิ กรรม เพอ่ื นาเสนอข้อมูลหนา้ ชั้นเรียน (หมายเหตุ: ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายกลุม่ ) 2. หากนักเรียนเกิดข้อสงสัย ให้ทาการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเพ่ือหาคาตอบจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น อินเทอรเ์ น็ต ห้องสมุด เปน็ ตน้ 3. ครูสุ่มนักเรียนด้วยการจับฉลากชื่อ 3-4 คน ให้ออกมานาเสนอข้อมูลที่ได้จากการสารวจอวัยวะของตนเอง หนา้ ช้นั เพือ่ แลกเปลี่ยนความร้แู ละตรวจสอบความถูกต้อง โดยครูต้ังคาถาม ดังน้ี 1) นกั เรยี นมองเหน็ อวยั วะใดของเพอื่ นบ้าง (แนวตอบ : เชน่ ตา หู จมูก ปาก แขนและมือ ขาและเท้า) 2) อวยั วะที่เราสามารถมองเห็นได้เรยี กว่าอะไร (แนวตอบ : อวัยวะภายนอก) (หมายเหต:ุ ครูเร่ิมประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบประเมนิ การนาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี น) 4. ใหน้ ักเรยี นทุกคนรว่ มกนั อภปิ รายความรเู้ กย่ี วกบั อวัยวะภายนอกทไี่ ดจ้ ากการทากจิ กรรม ชัว่ โมงท่ี 2 ขนั้ สอน ขั้นอธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูชวนนักเรียนสนทนาเพ่ือทบทวนความรู้เดิมจากการทากิจกรรมจากชั่วโมงที่แล้วเก่ียวกับอวัยวะ ภายนอกของรา่ งกาย 2. ครใู ห้นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 4 คน โดยใหม้ ีความสามารถคละกัน คือ เกง่ ปานกลาง ค่อนขา้ งอ่อน และอ่อน อยู่ด้วยกัน แล้วทากิจกรรมที่ 1 เร่ือง สารวจอวัยวะของเรา ตอนที่ 2 จากหนังสือเรียน วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 6 โดยปฏิบตั ิ ดังน้ี 1) ศึกษาข้ันตอนการทากิจกรรมท่ี 1 เร่ืองสารวจอวัยวะของเรา ตอนท่ี 2 จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 หนา้ 6 อยา่ งละเอยี ด หากมีข้อสงสยั ให้สอบถามครู 2) ให้ตวั แทนแตล่ ะกลุ่มออกมารบั บัตรภาพอวยั วะภายในและแผนภาพอวยั วะภายใน 3) จากนน้ั ให้สมาชิกแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันศกึ ษาเกีย่ วกับชื่อและสังเกตตาแหน่งของอวยั วะภายในแต่ละ ส่วนจากแผนภาพท่ีครูเตรียมให้ และสืบค้นจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือเรียน

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น แล้วบันทึกข้อมูลลงในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ หนา้ 5 4) จากนั้นร่วมกันอภปิ รายและสรุปผลการทากจิ กรรมภายในกลุ่ม เพือ่ เตรยี มตัวนาเสนอข้อมูล (หมายเหตุ: ครเู ร่มิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายกลมุ่ ) 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เพื่อตรวจสอบความรู้ของนักเรียนหลังการ ทากิจกรรมที่ 1 ตอนท่ี 2 โดยครูต้งั คาถาม ดังนี้ 1) นกั เรยี นมองไมเ่ ห็นอวยั วะใดของเพอื่ นบ้าง (แนวตอบ : เช่น สมอง หัวใจ ลาไส้ ปอด เปน็ ต้น) 2) อวัยวะท่ีเราไม่สามารถมองเห็นได้ เรียกว่าอะไร (แนวตอบ : อวัยวะภายใน) (หมายเหต:ุ ครูเร่มิ ประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอหน้าช้ันเรยี น) 5. ครูอธิบายความหมายของอวัยวะภายนอกและอวัยวะภายใน พร้อมยกตัวอย่างของอวยั วะใหน้ ักเรยี น ฟังอีกคร้ัง ข้ันสรปุ ขนั้ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูแจกใบงานท่ี 1.1 เร่ืองอวัยวะที่หายไป โดยให้นักเรียนทุกคนวาดภาพอวัยวะท่ีขาดหายไปให้ สมบูรณ์และลากเสน้ ชบี้ อกชือ่ อวยั วะทกุ สว่ น พรอ้ มตกแตง่ ใหส้ วยงาม (หมายเหตุ: ครูประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบประเมินผลงานรายบุคคล) 2. เมอ่ื นกั เรยี นแต่ละคนทาใบงานที่ 1.1 เสร็จแล้วใหน้ าใบงานมาส่งคุณครหู นา้ ชัน้ เรียน 3. ครูนาผลงานของนักเรียนมาติดป้ายนิเทศของห้อง เพ่ือเป็นการแลกเปล่ียนข้อมูลกันและให้เพ่ือนทุกคนได้ชื่นชม และศกึ ษาในยามว่าง 4. นักเรียนแต่ละคนทากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 6 ลงในสมุดประจาตัวนักเรียนหรอื ใน แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 6-7 แลว้ นามาส่งในชั่วโมงถดั ไป ขนั้ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปวา่ ร่างกายของคนเราทกุ คนประกอบดว้ ยอวยั วะต่าง ๆ เหมือนกัน ซึ่งอวยั วะทเี่ รา สามารถมองเห็นได้ เรียกว่า อวัยวะภายนอก เช่น ตา หู จมูก ปาก แขนและมือ เป็นต้น และอวัยวะที่เราไม่ สามารถมองเหน็ ได้ เรียกวา่ อวัยวะภายใน เช่น สมอง หัวใจ ลาไส้ กระเพาะอาหาร เปน็ ตน้ 2. ครูประเมินผลนกั เรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรมการทางานกลุ่ม และ จากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าชน้ั เรียน

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ 3. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมท่ี 1 เรื่องสารวจอวัยวะของเรา ในสมุดประจาตัวนักเรียนหรือแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 4-5 4. ครตู รวจสอบผลการทาใบงานที่ 1.1 เรือ่ งอวัยวะท่หี ายไป 5. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมหนูตอบไดใ้ นสมดุ ประจาตวั นักเรยี นหรอื แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 6-7 7. การวัดและประเมินผล รายการวัด วิธวี ัด เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมิน 7.1 การประเมนิ ระหวา่ ง - ตรวจสมดุ หรือ - สมุดหรือแบบฝกึ หัด - ร้อยละ 60 ผ่าน การจัดกจิ กรรม วิทยาศาสตร์ ป.1 เกณฑ์ 1) ผลบนั ทึก เล่ม 1 หน้า 4-5 การทากจิ กรรมที่ 1 แบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 หนา้ 4-5 2) ใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - ใบงานที่ 1.1 - ร้อยละ 60 ผา่ น อวยั วะทีห่ ายไป เกณฑ์ 3) กจิ กรรมหนูตอบได้ - ตรวจสมดุ ประจาตัว - สมดุ ประจาตวั - ร้อยละ 60 ผ่าน นักเรยี นหรอื นักเรียนหรือ เกณฑ์ แบบฝึกหดั แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.1 วิทยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 หนา้ 6-7 เล่ม 1 หนา้ 6-7 รายการวัด วธิ วี ัด เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ 4) การนาเสนอ - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมินการ - ระดบั คุณภาพ 2 ผลการทากจิ กรรม ผลการทากจิ กรรม นาเสนอผลการทา ผา่ นเกณฑ์ กจิ กรรม 5) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดับคุณภาพ 2 การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ การทางานรายบุคคล 6) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดบั คณุ ภาพ 2 การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ การทางานกลุ่ม

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบุญมา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ 7) คณุ ลกั ษณะ - สังเกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2 อันพึงประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมนั่ คุณลักษณะอนั พงึ ผา่ นเกณฑ์ ในการทางาน ประสงค์ 8. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ตวั เรา พืช และสัตว์ 2) แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 ตวั เรา พืช และสัตว์ 3) วัสดุ-อุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมท่ี 1 เช่น บัตรภาพอวัยวะภายใน แผนภาพอวัยวะภายใน สไี ม้ เป็นตน้ 4) ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง อวยั วะทีห่ ายไป 5) บตั รภาพอวัยวะภายใน 6) แผนภาพอวยั วะภายใน 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ป้ายนิเทศ 2) ห้องสมุด 3) ห้องเรียน 4) อินเทอร์เน็ต

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ บตั รภาพอวยั วะภายใน 

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ แผนภาพอวยั วะภายใน 

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ แผนภาพอวยั วะภายใน 

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ ใบงานที่ 1.1 เรื่อง อวยั วะทห่ี ายไป คาชี้แจง : ให้นักเรียนวาดภาพอวัยวะภายนอกที่ขาดหายไป พร้อมลากเส้นชี้บอกชื่ออวัยวะภายนอก ต่าง ๆ

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ ใบงานที่ 1.1 เฉลย เรอ่ื ง อวัยวะทห่ี ายไป คาชี้แจง : ให้นักเรียนวาดภาพอวัยวะภายนอกท่ีขาดหายไป พร้อมลากเส้นชี้บอกชื่ออวัยวะภายนอก ตา่ ง ๆ ตา หู ปาก จมกู มอื แขน ขา เทา้

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งตวั เรา พชื และสตั ว์ นางวรชนนั ท์ กราบบุญมา แผนฯ ที่2 สำรวจอวยั วะของเรำ 9. ความเห็นของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผทู้ ี่ได้รบั มอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชอ่ื ................................. ( ................................ ) ตาแหนง่ ....... 10. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน  ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถ้ามี))  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรื่องตวั เรา พชื และสัตว์ นางวรชนันท์ กราบบญุ มา แผนฯ ที่ 1 ร่างกายและอวยั วะของเรา แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1 ร่างกายและอวยั วะของเรา เวลา 2 ชั่วโมง 1. มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั 1.1 ตัวช้วี ดั ป.1/1 ระบุช่ือบรรยายลักษณะและบอกหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์ ว 1.2 และพืช รวมทั้งบรรยายการทาหน้าท่ีร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ ในการทากจิ กรรมต่าง ๆ จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความแตกต่างของอวยั วะภายนอกและอวัยวะภายในได้ (K) 2. สังเกตและบอกช่อื อวยั วะแต่ละสว่ นของร่างกายได้ (K) 3. จาแนกภาพอวยั วะภายในและอวยั วะภายนอกได้ (P) 4. มีความมุง่ ม่นั และตัง้ ใจในการทางาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูท้ ้องถิ่น พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 1. ลักษณะของอวยั วะภายนอกรา่ งกายของมนุษย์ 2. ลักษณะของอวัยวะภายในรา่ งกายของมนุษย์ 4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ร่างกายของเรามีอวัยวะต่าง ๆ ประกอบกัน อวัยวะท่ีเราสามารถมองเหน็ ได้ เรียกว่า อวัยวะภายนอก และ อวัยวะท่ีเราไมส่ ามารถมองเหน็ ได้ เรยี กวา่ อวยั วะภายใน

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่อื งตวั เรา พืช และสตั ว์ นางวรชนันท์ กราบบุญมา แผนฯ ท่ี 1 ร่างกายและอวยั วะของเรา 5. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี นและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวนิ ยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมั่นในการทางาน 1) ทกั ษะระบุ 2) ทักษะการสังเกต 3) ทักษะการสารวจค้นหา 4) ทักษาการจาแนกประเภท 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงท่ี 1 ข้นั นา ขนั้ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู กั ทายกับนกั เรียน ครแู จง้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ทจี่ ะเรียนในวนั น้ีให้นักเรยี นทราบ 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพอื่ วดั ความรเู้ ดิมของนกั เรยี นกอ่ นเขา้ สู่กิจกรรม 3. ครกู ระตุ้นความสนใจของนักเรียนก่อนจะเริ่มเรียนในวันนี้ โดยเขยี นเนื้อเพลง ตา หู จมูก บนกระดาน จากน้ันสอนนกั เรียนรอ้ งเพลง โดยให้นักเรยี นร้องตาม เพลง ตา หู จมกู ตา หู จมกู จับให้ถกู จมูก หู ตา จับใหม่จับใหฉ้ ันดู (ซ้า) จบั จมูก ตา หู จับหู ตา จมูก (ทมี่ า : เพลงสอนเด็กปฐมวยั ) 4. นักเรยี นเล่นเกมจับใหถ้ ูกท่ี โดยครูอธบิ ายวธิ กี ารเล่นเกม ดังน้ี ให้นกั เรียนร้องเพลง ตา หู จมูก แลว้ จับ อวัยวะตามเน้ือร้องเพลงให้ทันและถูกต้อง ใครทาผิดให้น่ังลงจนกระท่ังเหลือผู้เล่นคนสุดท้าย คือ ผูช้ นะ ครใู ห้รางวัลแก่นักเรียนท่ีชนะ 5. ครูถามนักเรยี นวา่ เพลงท่นี กั เรยี นได้ร้องไปเน้ือเพลงกล่าวถงึ เรื่องใด โดยใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบ (หมายเหต:ุ ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ งตัวเรา พชื และสัตว์ นางวรชนนั ท์ กราบบญุ มา แผนฯ ท่ี 1 ร่างกายและอวยั วะของเรา 6. ครูให้นักเรียนอ่านสาระสาคัญและดูภาพ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ืองตัวเรา พืช และสัตว์จากหนังสือ เรียนวิทยาศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 หน้า 2 เพอื่ ใหน้ ักเรยี นไดท้ ราบวา่ หนว่ ยท่ี 1 น้เี รยี นเก่ียวกบั เรื่องคน พืช และสตั ว์ 7. ครูให้นักเรียนเปิดและดูภาพในหน้าบทท่ี 1 ตัวเรา จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 3 แล้วถาม คาถามสาคญั ประจาบทวา่ ร่างกายของเราประกอบด้วยอวยั วะอะไรบ้าง และอวยั วะนั้นทาหนา้ ทอ่ี ะไร จากน้นั ใหน้ ักเรียนช่วยกันอธิบายคาตอบ (แนวตอบ : ร่างกายของเราประกอบดว้ ยอวัยวะสว่ นต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ตา ทาหนา้ ท่ี มองดสู ่ิงตา่ ง ๆ หู ทาหน้าท่ี ฟงั เสียงตา่ ง ๆ จมกู ทาหนา้ ที่ หายใจและดมกลน่ิ ปาก ทาหน้าท่ี พดู และกินอาหาร แขนและมือ ทาหน้าที่ แขนช่วยในการเคล่อื นไหวของรา่ งกาย ส่วนมอื ช่วยหยบิ จบั ส่งิ ตา่ ง ๆ ขาและเทา้ ทาหนา้ ที่ ขาช่วยในการเคล่อื นที่ โดยมเี ทา้ รบั นาหนกั ตวั ) 8. ครูชูบัตรภาพอวัยวะของคนและสัตว์ให้นักเรียนสังเกตแล้วให้ตอบว่าเป็น อวัยวะของคนหรือเป็น อวัยวะของสัตว์ หรือให้นักเรียนทากิจกรรมนาสู่การเรียนในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 หนา้ 2 โดยมีรปู อวยั วะของคนและสัตว์ปนกนั และตอบคาถามวา่ ภาพหมายเลขใดเปน็ อวยั วะของคน และภาพหมายเลขใดเป็นอวยั วะของสัตว์ แล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ งทากิจกรรมนาสู่การเรียน ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 2 ขน้ั สอน ข้นั สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนเรียนรู้และอ่านคาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนในบทที่ 1 ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 3 โดยครเู ขียนคาศพั ท์ไว้บนกระดาน และให้ครเู ป็นผูอ้ า่ นนาและให้นกั เรียนอ่านตามทีละคา ดงั นี้ (ครสู ามารถเสรมิ คาศัพท์ทเี่ กี่ยวข้องใหก้ ับนกั เรียนไดจ้ ากหนังสือคูม่ ือครู) External organs (แอ็คซ'เตอนัล ออกัน) อวัยวะภายนอก Internal organs (อนิ 'เทอนลั ออกนั ) อวัยวะภายใน Skin (ซกิน) ผิวหนงั Lung (ลัง) ปอด Brain (เบรน) สมอง Stomach ('สตมั มัค) กระเพาะอาหาร 2. ครูลบคาแปลออกให้เหลือแต่คาศัพท์ จากนั้นครูทาการสุ่มนักเรียนให้ออกมาอ่านคาศัพท์ พร้อมบอก คาแปล คนละ 1 คา โดยมีครูคอยช่วยแนะนา (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล) 3. นักเรียนและครรู ว่ มกันสรุปความรทู้ ี่ไดจ้ ากการทากจิ กรรมจากชวั่ โมงนี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook