Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการพัฒนาผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation)

โครงการพัฒนาผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation)

Published by Pongsaton Palee, 2022-06-19 04:16:22

Description: โครงการพัฒนาผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่
(Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation)
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

Search

Read the Text Version

1 เลม่ รายงานการฝึกอบรมหลกั สูตร Non-degree/Master Teacher โครงการพฒั นาผปู้ ระกอบการทางด้านดิจทิ ัลบนฐานนวัตกรรมและวิถชี ีวิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) โดย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครินทร์ ภายใตโ้ ปรแกรม 16 โครงการปฏริ ปู ระบบ อววน. แผนงานย่อย การพฒั นาความเป็นเลศิ ของสถาบนั อดุ มศึกษาและผลิตกำลงั คนขั้นสงู ประจำปงี บประมาณ 2564

2 บทนำ ปัจจุบันโลกมีการแข่งขันที่สูงขึ้น ประเทศไทยจึงต้องปรับเปลี่ยนสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 (Thailand 4.0) เพ่อื ให้ประเทศไทยไดม้ โี อกาสกลายเปน็ กลุ่มประเทศทม่ี ีรายได้สูง ในปัจจบุ นั ประเทศ ไทยยังติดอยู่ในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทำมาก ได้น้อย” หากต้องการปรับเปลี่ยนเป็น “ทำน้อย ไดม้ าก” กจ็ ะตอ้ งเปล่ียนจากการผลติ สินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสสู่ ินคา้ เชงิ “นวตั กรรม” และเปล่ียนจาก การขับเคลอ่ื นประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมมาเปน็ ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคดิ สร้างสรรค์ และ นวัตกรรม ภาคการเกษตรกต็ ้องเปลยี่ นจากการเกษตรแบบดงั้ เดิม กำลงั แรงงานทเี่ ป็นกำลงั สำคัญต้อง เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้และทักษะสูง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มี ศักยภาพได้ตามความคาดหวังนั้นอาจต้องคำนงึ ถงึ นอกจากกระแสความเปลี่ยนแปลงที่กล่าวมาแลว้ นั้น ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อันประกอบด้วย 1) ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) 2) ความร้เู กยี่ วกบั การเงิน เศรษฐศาสตร์ ธรุ กิจ และการเปน็ ผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) 3) ความรู้ด้านการเป็นพลเมือง (Civic Literacy) 4) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) 5) ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) เป็นอีกปัจจัยสำคัญที่จำเป็นต้องคำนึงถึงในโลกยุคปัจจุบันควบคู่ไปกับความคาดหวังในการพัฒนา ประเทศ โครงการฝึกอบรมครัง้ นีเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ในการพัฒนาหลักสูตรพฒั นาผู้ประกอบการทางด้าน ดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่ เพื่อทำการทดสอบกับความพึงพอใจของผู้ประกอบการใน การนะระบบดิจิทัลไปใช้พัฒนาธุรกิจ ว่าเหมาะสมที่จะมีแนวโน้มช่วยก่อให้เกิดความรวดเร็วในการ ตอบสนองทางดา้ นผลิตภัณฑ์และบริการสนิ ค้าใหก้ ับลกู ค้า โดยเอาผลประเมินจากผู้เขารับการอบรม มาปรับปรงุ หลกั สูตร เพอ่ื เผยแพร่ในการสอนออนไลน์ให้แก่อาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏท่ีสนใจจะ นำเป็นต้นแบบการปรับหลักสูตรปกติให้นำเอาเครื่องมือทางดิจิทัลมาใช้ให้ทันการเปลี่ยนแปลง ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของโลกทีมผู้วิจัยได้เล็งเห็นถึงการพัฒนาหลักสูตรการอบรมสำหรับ ผู้ประกอบการบนฐานนวัตกรรมและวิถชี ีวิตใหม่เพื่อส่งเสริมทักษะการรู้ดจิ ิทลั สำหรับผู้ประกอบการ ในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก และการพฒั นาวทิ ยากรแกนนำอาจารยจ์ าก 38 ราชภฏั ให้นำไป พฒั นาเปน็ หลักสตู รตน้ แบบในการอบรมและจัดทำหลักสูตรการสอนที่มีความทันสมัย เพ่ือตอบโจทย์ ใหผ้ กู้ ันสถานประกอบการสมัยใหม่และผู้สนใจให้มีสมรรถนะผู้ประกอบการทางดา้ นดิจิทลั ให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถ และทัศนคติทด่ี ีในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ซึ่งกระบวนการพัฒนา ศักยภาพกำลังคนในประเทศนี้สามารถส่งเสรมิ การเรียนรูต้ ลอดชีวิตในยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทลั สร้างสรรค์ไดเ้ ปน็ อยา่ งดีตอ่ ไป ทีมผูว้ ิจัย คณะผูจ้ ัดทำ

3 สารบญั หนา้ 4 ช่อื โครงการ 4 ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ 4 หลักการและเหตุผล 7 วัตถุประสงค์ 7 ระยะเวลาดำเนนิ การโครงการ / สถานท่ี พ้นื ทด่ี ำเนนิ การโครงการ 7 กลุ่มเปา้ หมาย 8 งบประมาณ 13 สรปุ ผลการดำเนินงาน 28 ปัญหาและอปุ สรรค 28 ข้อเสนอแนะ 29 ภาคผนวก คำส่ังแตง่ ต้งั คณะกรรมการดำเนินงาน 33 37 ภาคผนวก ก คณุ วุฒิของวทิ ยากรประจำหลกั สตู ร 55 ภาคผนวก ข รายละเอยี ดของหลกั สูตรฝึกอบรม หลักสูตรท่ี 1 70 ภาคผนวก ค รายละเอียดของหลกั สตู รฝึกอบรม หลกั สตู รที่ 2 84 ภาคผนวก ง รายละเอยี ดของหลักสตู รฝกึ อบรม หลักสูตรท่ี 3 ภาคผนวก จ ภาพบรรยากาศการวพิ ากษ์หลักสูตร คร้ังที่ 1 86 วนั ที่ 15 กรกฎาคม 2564 91 ภาคผนวก ฉ ภาพบรรยากาศการวพิ ากษห์ ลกั สตู ร ครง้ั ที่ 2 94 วนั ท่ี 13 กนั ยายน 2564 ภาคผนวก ช ภาพการนำเสนอหลกั สตู รผ่านกรรมการประจำสภาวชิ าการ 116 ของมหาวทิ ยาลยั 122 ภาคผนวก ซ ภาพบรรยากาศการฝึกอบรมในโครงการการพฒั นาหลกั สตู ร 132 ผปู้ ระกอบการทางด้านดิจทิ ลั บนฐานนวัตกรรมและวถิ ชี วี ิตใหม่ ภาคผนวก ฌ ข้อเสนอแนะจากการสมั ภาษณ์ตวั แทนผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมใน โครงการการพฒั นาหลักสตู ร ภาคผนวก ญ ใบรายช่ือของผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรมในโครงการ ภาคผนวก ฎ ไฟลง์ านเอกสารประกอบการจัดทำเนือ้ หาในรปู แบบดิจิทัล

4 1. ช่อื โครงการ ชอื่ ภาษาไทย : โครงการพฒั นาผ้ปู ระกอบการทางด้านดจิ ทิ ัลบนฐานนวัตกรรมและ วิถีชีวิตใหม่ ชื่อภาษาอังกฤษ : Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation 2. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ หวั หนา้ โครงการวิจัย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล วริ ยิ ะกุล เลขานกุ ารโครงการวิจัย อาจารย์ ดร.พงศธร ปาลี 3. หลักการและเหตุผล ปัจจบุ นั โลกมกี ารแข่งขันทางเศรษฐกจิ สงู ขนึ้ ความสำเรจ็ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศข้ึนอยู่กับ ศักยภาพในการแข่งขันที่สามารถพัฒนาขึ้นมาได้ สถาบันการพัฒนาการจัดการ (Institute for Management Development - IMD) ประเทศสวิสเซอรแ์ ลนด์1 รายงานผลการจัดอนั ดับศักยภาพ การแข่งขนั ระดบั โลก (global competitiveness) ปี ค.ศ. 2020 ประเทศทีม่ ีศกั ยภาพการแข่งขันสูง ที่สุดในโลก คือ สหรัฐอเมริกา รองลงไป คือ สิงคโปร์ ประเทศไทยอยูใ่ นอนั ดับ 39 จาก 63 ประเทศ (Institute for Management Development, 2020) ผลการจัดอันดับชองสภาเศรษฐกิจโลก2 (World Economic Forum) ปี ค.ศ. 2019 ที่จัดอันดับให้สิงคโปร์ มีศักยภาพการแข่งขันสูงที่สุดใน โลก รองลงไปคือสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศไทย อยู่อันดับที่ 40 จาก 141 ประเทศ (World Economic Forum & Schwab, 2019) แสดงว่าระดับความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของ ประเทศไทยอยู่ในระดับปานกลาง หรืออยู่ในฐานะที่กล่าวกันว่า “ยังไม่สามารถก้าวข้ามผ่านกับดัก ประเทศรายได้ปานกลาง (middle income trap) ไปสูป่ ระเทศรายได้สูงได”้ ประเทศไทยจึงมีความ จำเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งปรบั เปลย่ี นความสามารถในการแข่งขนั ใหส้ ูงข้นึ ในปี พ.ศ. 2558 นายกรฐั มนตรีและหวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้กำหนด กลยุทธ์สำคัญอย่างหนึ่ง คือ โมเดลในการขับเคลื่อนประเทศไปสู่เป้าหมาย \"มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน\" (สำนักเลขาธิการนายกรฐั มนตรี, 2560) หรือ ที่เรียกกนั ส้ัน ๆ ว่า “ไทยแลนด์ 4.0” (Thailand 4.0) เป้าหมายเพื่อให้ประเทศไทยได้มีโอกาสกลายเป็นกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูง เนื่องจากในปัจจุบัน ประเทศไทยยังติดอยู่ในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทำมาก ได้น้อย” หากต้องการปรับเปลี่ยนเป็น “ทำน้อย ได้มาก” จะต้องมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินงานหลายด้าน สำนักงานส่งเสริม 1สถาบันการศึกษาสำหรบั ผูบ้ ริหาร (executive education) ฐานการดำเนินงานในประเทศสวิสเซอร์แลนด์ มรี ายไดอ้ ยใู่ นกลมุ่ สงู สุดของ สถาบันการศกึ ษาสำหรบั ผบู้ รหิ ารท่วั โลก จัดลำดับโดยนติ ยสาร Financial Times ดรู ายละเอียดการจดั ลำดบั ได้จาก https://rankings.ft.com/rankings/2861/executive-education-open-directory-2021 2หน่วยงานไมห่ วงั ผลกำไร มาจากการรวมตวั ของนกั ธุรกิจ ผู้บริหารประเทศ และนักวิชาการ มจี ดุ ประสงคเ์ พื่อสร้างความยั่งยืนของการพฒั นาทาง เศรษฐกิจของทุกประเทศ

5 เศรษฐกิจดิจิทัล ชี้ว่า การก้าวผ่านจาก “New Normal” ไปสู่ “Next Normal” จะเกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลที่ประชาชนทุกเพศทุกวัย และทุกภาคส่วน ต้องเรียนรู้และนำมา ประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตและการดำเนินธุรกิจ (สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล, 2564) ธนาคารโลกชี้ว่า แนวทางที่สามารถบรรลุเป้าหมายการขับเคลื่อนนี้ได้ รัฐบาลจะต้องส่งเสริม 1) การปรับเปลี่ยนโครงสร้าง (structural transformation) 2) ความเป็นผู้ประกอบการ (entrepreneurship) 3) นวัตกรรม (innovation) 4) การใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศ (information networks) และ กำลังแรงงานทีม่ ที ักษะ (skilled workforce) และ 5) ถอยห่างจาก การพึ่งพาแรงงานราคาถูก (cheap labor) และเศษเสี้ยวความรู้จากผู้อื่น (spilled-over knowledge) (World Bank, 2021) ซึ่งจะส่งผลให้มีการเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” (mass product) ไปส่สู ินคา้ เชงิ “นวัตกรรม” (innovative product) ภาคการเกษตรสามารถเปล่ียน จากการเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและใช้เทคโนโลยหรือ Smart Farming และเกษตรกรต้องร่ำรวยขึ้นโดยการเป็นเกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการ ธุรกิจ SMEs เปลี่ยนจาก SMEs แบบเดิมไปสู่การเป็น Smart Enterprise และ Startup ที่มีศักยภาพสูง ธุรกิจการให้บริการเปลีย่ นจากรูปแบบบริการแบบเดิมซึง่ มีการสร้างมลู ค่าค่อนขา้ งตำ่ ไปสู่บริการที่มี มูลค่าสูง เป็นตน้ มาตรการสำคญั ที่สุดท่ีจะทำใหน้ โยบายไทยแลนด์ 4.0 ประสบผล ทำใหค้ นไทยมีรายได้สูงได้ จะต้องเริ่มต้นจากการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใหม้ ีศักยภาพได้ทันกระแสความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ต้องพัฒนาให้คนไทยมีความสามารถ และมีความพยายาม มีความตั้งใจคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ที่มีคุณค่าสูง แรงงานในทุกภาคส่วน จะต้องเปลี่ยนจากแรงงานทักษะตำ่ ไปสู่แรงงานที่มีความรู้และ ทักษะสูง ตวั อย่างของการพัฒนาทรพั ยากรมนุษยท์ ่ีมปี ระสทิ ธผิ ล คอื ประเทศสิงคโปร์ ซง่ึ ไดร้ ับการจดั อันดับเป็นประเทศที่มีขดี ความสามารถในการแขง่ ขันสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลกติดต่อกันมาหลายปี (Institute for Management Development, 2020; World Economic Forum & Schwab, 2019) ไดก้ ำหนดเปา้ หมายการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยข์ องประเทศไวใ้ นแนวทางการจัดการศกึ ษาของ ชาติว่าประชากรต้องมีสมรรถนะ (competencies) 3 ประการ คือ 1) การรู้จักหน้าที่ของพลเมือง ความตระหนักต่อความเปน็ ไปของโลก และทักษะการดำรงชวี ติ ระหว่างวัฒนธรรม (Civic Literacy, Global Awareness and Cross-Cultural Skills) 2) ความคิดเชิงวิเคราะห์และการสร้างสรรค์ (Critical and Inventive Thinking) และ 3) ทักษะการสื่อสาร ความร่วมมือ และสารสนเทศ (Communication, Collaboration and Information Skills) (Ministry of Education Singapore, 2021) ซึ่งสอดคล้องกับแนวความคิดขององค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-operation and Development – OECD) ร่วมกับ กิจการธุรกิจดิจิทัลจำนวนมากทั่วโลก นำเสนอไว้ในปี ค.ศ. 2008 คือ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (The 21st Century Skills) ประกอบด้วย 1) ความรู้เก่ียวกับโลก (Global Awareness) 2) ความรู้

6 เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็น ผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) 3) ความรู้ดา้ นการเป็นพลเมอื ง (Civic Literacy) และ 4) ความรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literacy) (Fadel, 2008) ดงั นน้ั ประเทศไทยซึง่ ได้กำหนดเป้าหมาย ในการหลุดพ้นจากกบั ดักประเทศรายได้ปานกลาง นน้ั จะต้องดำเนนิ การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยส์ าขา อาชีพต่างๆ อยา่ งเร่งดว่ น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาเพียงแห่งเดียวใน จังหวัดฉะเชิงเทรา จึงได้รับการคาดหวังให้มีบทบาทในการสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาท้องถิ่น ประกอบกับมหาวิทยาลัยราชภัฏทุกแห่งได้น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูรที่ทรงให้ความสำคัญกับการศึกษา และมุ่งมั่นให้ การศึกษาสร้างคนไทยให้มีคุณลักษณะ 4 ประการ ได้แก่ มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่ ม่ันคงเข้มแขง็ มีอาชีพ มงี านทำและเป็นพลเมืองดีมรี ะเบยี บวนิ ยั อันเปน็ ส่วนสำคญั ในการสร้างความ มั่นคงให้กบั ประเทศ ด้วยเหตุผลดังกลา่ ว มหาวิทยาลยั ราชภฏั จงึ มบี ทบาทสำคัญในการพฒั นาท้องถ่ิน โดยได้กำหนดตัวชี้วัดข้อ 1.12 ไว้คือ จำนวนวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการใหม่ในพื้นที่บริการของ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏที่ประสบความสำเร็จจากการสนับสนุนองค์ความรู้จากมหาวิทยาลยั ราชภัฏ โดย ฉายภาพความสำเร็จของตัวชี้วดั น้จี าก จำนวน วสิ าหกิจชมุ ชน ผปู้ ระกอบการใหม่ ซึ่งได้รบั การสนบั สนุนองค์ความรู้เพอ่ื การพัฒนาจากมหาวิทยาลัย ราชภฏั ดำเนนิ การบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ของการจัดตงั้ หรอื มคี วามก้าวหน้าในการดำเนนิ การ อย่าง เป็นรูปธรรมในด้านรายได้ผลประกอบการด้านการตลาด ด้านภาพลักษณ์ หรือ อื่น ๆ ที่แสดงถึง ความสำเร็จตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์หรอื แผนงานตามทีก่ ำหนด ด้วยเหตทุ ่ีกลา่ วมา เพื่อเป็นการสนบั สนุนนโยบายการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ด้วยการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์บนฐานความรู้ (knowledge-based Economy) ให้ความสำคัญกับปัญหาและการพัฒนาทักษะแรงงาน และผู้ประกอบการท่ีเป็นกำลังสำคัญของการ ขับเคล่ือนเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์จึงได้ร่วมดำเนิน โครงการการพัฒนาผ้ปู ระกอบการทางด้านดิจทิ ัลบนฐานนวัตกรรมและวถิ ีชวี ิตใหม่เพอื่ ส่งเสริมทักษะ การรู้ดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการ สมยั ใหมแ่ ละผู้สนใจให้มีสมรรถนะผู้ประกอบการทางดา้ นดิจิทัล มคี วามรู้ ทักษะ ความสามารถ และ ทศั นคตทิ ีด่ ใี นการปฏิบัติงานได้ อยา่ งมีประสิทธิภาพในสภวะการแขง่ ขนั สูง เพอื่ เป็นสว่ นหน่ึงของการ พัฒนาศักยภาพกำลังคนของประเทศโดยการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในยุคเศรษฐกิจและสังคม ดิจิทลั ได้เป็นอย่างดีตอ่ ไป

7 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพือ่ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ความตอ้ งในหลักสตู รการพฒั นาผปู้ ระกอบการทางด้านดิจิทัล บนฐานนวตั กรรมและวิถีชวี ิตใหม่ 4.2 เพื่อออกแบบหลักสูตรการพัฒนาผู้ประกอบการทางดา้ นดิจิทลั บนฐานนวัตกรรมและวิถี ชีวิตใหม่ 4.3 เพื่อการพัฒนาหลักสูตรสำหรับผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวิถี ชวี ติ ใหม่ 5. ระยะเวลาดำเนนิ การโครงการ / สถานท่ี พ้ืนที่ดำเนินการโครงการ 5.1 ระยะเวลาดำเนนิ การโครงการ รนุ่ ท่ี 1 ระหวา่ งวนั ท่ี 22 พฤศจิกายน ถงึ วันท่ี 9 ธันวาคม 2564 รุน่ ท่ี 2 ระหว่างวนั ที่ 24 มกราคม ถงึ วนั ท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 5.2 สถานท่ี พื้นทดี่ ำเนินการโครงการ การอบรมแบบ Onsite ทโี่ รงแรมอวานี รีสอรท์ พทั ยา จังหวดั ชลบรุ ี ทง้ั 2 รนุ่ 6. กลมุ่ เปา้ หมาย ผปู้ ระกอบการ/กรรมการผจู้ ดั การ หรือผู้บรหิ าร หรอื เจ้าหน้าที่ดำเนินการดจิ ิทลั สำหรับสถาน ประกอบการ

7. งบประมาณ รายงานการใชจ้ ่ายเงนิ โครงการพัฒนาผู้ประกอบการทางด้านดจิ ิท งบประมาณโครงการ เป็นเงิน 2,857,920 บาท ( สอง รายการ 1. งบดำเนนิ งาน : ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ในการรา่ งหลักสตู ร Non degree ครั้งท่ี 1 ครงั้ ท่ี 2 ค่าตอบแทนวทิ ยากรในการฝกึ อบรมวิทยากรหลกั สูตร Non degree (สำหรบั วทิ รุน่ ท่ี 1 หลกั สูตรที่ 1 รุ่นที่ 1 หลกั สูตรที่ 2 รนุ่ ท่ี 1 หลักสูตรที่ 3 รุ่นท่ี 2 หลักสูตรที่ 1 รนุ่ ท่ี 2 หลักสูตรท่ี 2 ร่นุ ที่ 3 หลักสูตรที่ 3

8 นโครงการวิจยั ทลั บนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวติ ใหม่ งลา้ นแปดแสนหา้ หม่ืนเจด็ พนั เก้าร้อยยีส่ บิ บาทถว้ น) จำนวน หนว่ ยนบั ราคาตอ่ รวม (บาท) หนว่ ย 320,400.00 4 คน 3,600.00 14,400.00 26 คน 1,800.00 46,800.00 ทยากร) 12 คน 3,600.00 43,200.00 12 คน 3,600.00 43,200.00 12 คน 3,600.00 43,200.00 12 คน 3,600.00 43,200.00 12 คน 3,600.00 43,200.00 12 คน 3,600.00 43,200.00

2. งบดำเนนิ งาน : ค่าจา้ ง คา่ จัดทำวีดีทัศนแ์ ละภาพนิ่งของหลกั สูตรฝกึ อบรม คา่ จ้างถา่ ยภาพนงิ่ และวดิ โี อ รนุ่ 1 ค่าจา้ งถา่ ยภาพน่งิ และวดิ ีโอ ร่นุ 2 ค่าเช่าซอฟต์แวร์ iSpring Account Licenses ค่าจา้ งทำใบเกียรติบัตร คา่ จา้ งจัดทำเนอื้ หาแตล่ ะรายวิชา 3. งบดำเนินงาน : คา่ วัสดุ ค่าวสั ดุอุปกรณ์ในการฝกึ ปฏบิ ัตใิ นการฝกึ อบรมหลกั สตู ร Non degree สำหรับ 4. งบดำเนินงาน : คา่ ใช้สอย ค่าเบี้ยเล้ียง ค่าทพี่ ัก คา่ น้ำมันเชอ้ื เพลงิ คา่ เช่ารถ รับส่งผู้จัดโครงการ ค่าพาหนะ เดินทางวิทยากร ค่าเชา่ ห้องประชุมและเครือ่ งเสยี ง คา่ อาหารกลางวัน ค่าอาหาร และเครือ่ งด่ืม ในการฝกึ อบรมหลักสตู ร Non degree สำหรับ SMEs ค่าเบี้ยงเล้ยี งผู้จัดโครงการ และบคุ ลากรไปราชการเพ่ือจดั โครงการฝกึ อบรม รนุ่ ที่ 1 รุ่นที่ 2 ค่าท่พี ักผู้จดั โครงการ วิทยากร และบุคลากรไปราชการเพ่ือจดั โครงการฝึกอบรม รุ่น และ รุน่ ที่ 2

9 139,799.00 27,000.00 27,000.00 27,000.00 27,000.00 1 ชดุ 32,939.00 32,939.00 262 ใบ 30.00 7,860.00 9 รายวิชา 5,000 45,000.00 4,950.00 SMEs 4,950.00 4,950.00 1,218,288.00 ะ รว่าง 1 และ 5,120.00 นท่ี 1 76,500.00

คา่ ท่พี กั ผอู้ บรม รุน่ ที่ 1 และ รนุ่ ที่ 2 ค่าเช่ารถ รุ่นที่ 1 คา่ พาหนะวทิ ยากร รุ่นที่ 1 หลักสตู รท่ี 1 คา่ พาหนะวทิ ยากร รนุ่ ที่ 1 หลักสตู รท่ี 2 ค่าพาหนะวิทยากร รนุ่ ท่ี 1 หลักสตู รที่ 3 ค่าพาหนะวิทยากร ร่นุ ท่ี 2 หลักสูตรที่ 1 คา่ พาหนะวทิ ยากร รุ่นที่ 2 หลักสตู รที่ 2 คา่ พาหนะวทิ ยากร รนุ่ ท่ี 2 หลกั สูตรที่ 3 คา่ อาหารกลางวนั สำหรบั ผู้เขา้ รบั การอบรม ร่นุ ที่ 1 หลักสตู รที่ 1 ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม สำหรับผเู้ ข้ารบั การอบรม รนุ่ ท่ี 1 หลกั สตู รที่ 1 คา่ อาหารกลางวนั สำหรบั ผู้เข้ารบั การอบรม รนุ่ ท่ี 1 หลักสูตรที่ 2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดม่ื สำหรบั ผู้เข้ารบั การอบรม รนุ่ ที่ 1 หลกั สตู รที่ 2 ค่าอาหารกลางวัน สำหรบั ผู้เขา้ รบั การอบรม รนุ่ ที่ 1 หลกั สูตรที่ 3 ค่าอาหารว่างและเครื่องดมื่ สำหรบั ผู้เข้ารับการอบรม รนุ่ ท่ี 1 หลักสตู รท่ี 3 คา่ อาหารกลางวนั สำหรับผู้เข้ารับการอบรม รนุ่ ท่ี 1 หลกั สูตรท่ี 1 ค่าอาหารว่างและเครอื่ งดม่ื สำหรบั ผ้เู ข้ารับการอบรม รนุ่ ท่ี 2 หลักสตู รที่ 1

10 396,000.00 11,500.00 11,500.00 8,408.00 8,408.00 8,088.00 8,088.00 7,864.00 7,864.00 7,320.00 7,320.00 9,224.00 9,224.00 7,864.00 7,864.00 45 คน 1,500.00 67,500.00 45 คน 300.00 13,500.00 44 คน 1,500.00 66,000.00 44 คน 300.00 13,200.00 42 คน 1,500.00 63,000.00 42 คน 300.00 12,600.00 46 คน 1,500.00 69,000.00 46 คน 300.00 13,800.00

ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้ารับการอบรม รนุ่ ท่ี 2 หลกั สูตรที่ 2 ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่ืม สำหรับผู้เข้ารบั การอบรม รุ่นที่ 2 หลกั สูตรที่ 2 ค่าอาหารกลางวนั สำหรับผู้เข้ารับการอบรม รุ่นที่ 2 หลักสูตรท่ี 3 คา่ อาหารว่างและเครือ่ งด่ืม สำหรับผู้เข้ารับการอบรม รุน่ ที่ 2 หลกั สตู รที่ 3 คา่ เช่าหอ้ งประชุมและเครื่องเสยี ง 5. งบประมาณครภุ ณั ฑ์ รวม หมายเหตุ: ในกรณีที่มงี บประมาณคา่ ครุภณั ฑ์ ขอใหส้ ง่ TOR และใบเสนอราคาจำนวน 3 ฉบับม

11 42 คน 1,500.00 63,000.00 42 คน 300.00 12,600.00 39 คน 1,500.00 58,500.00 39 คน 300.00 11,700.00 18 วัน 12,000.00 216,000.00 1,683,437 มาประกอบดว้ ย

รายการ ยอดยกมา 3. งบดำเนินงาน : ค่าวัสดุ คา่ External 4. งบดำเนินงาน : ค่าใชส้ อย ค่าจา้ งจัดทำ Video clip สมั มนาปฏิบตั กิ ารผูป้ ระกอบการทางดา้ นดิจิทัลบนฐานนวัตกรร ค่าจ้างจัดทำเนื้อหาแตล่ ะรายวิชา (Interactive VDO on Demand) จา้ งวิเคราะหข์ อ้ มูล ถอดเทป จัดรปู เล่มและเขา้ เล่มรายงานโครงผู้ประกอบการทางดา้ นดจิ และวถิ ชี ีวิตใหม่ คา่ จา้ งทำสอ่ื รับฟงั เสียงสังคมออนไลน์ จ้างจดั ทำคลิปวิดีทัศน์ จ้างจัดทำหนงั สือ E-book สรปุ ความสำเร็จของโครงการ จา้ งเผยแพรข่ ่าวหนงั สือพมิ พ/์ ส่ือออนไลน์ ค่าจ้างทำปกและเข้าเล่มรายงาน จำนวน 25 เล่ม ๆ ละ 500 บาท ค่าจา้ งพิมพเ์ อกสาร รวม

12 จำนวน หนว่ ย ราคาต่อ รวม (บาท) นับ หน่วย 1,683,437.00 รมและวถิ ีชวี ติ ใหม่ 5,520.00 จทิ ลั บนฐานนวัตกรรม 5,520.00 568,500.00 90,000.00 90,000.00 50,000.00 30,000.00 100,000.00 100,000.00 89,000.00 12,500.00 7,000.00 2,365,957

13 8. สรปุ ผลการดำเนินงาน การวิจัยเรื่อง การพัฒนาผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่ (Digital Next Normal Entrepreneur & Innovation) ในครัง้ นี้ มีวตั ถปุ ระสงค์ คอื 1) เพ่ือวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ความต้องในการพัฒนาหลักสูตรสำหรับผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐานนวัตกรรม และวิถีชีวิตใหม่ 2) เพื่อออกแบบการพัฒนาหลักสูตรสำหรับผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐาน นวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่ 3) เพื่อพัฒนาหลักสูตรสำหรับผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐาน นวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่ ผู้วิจัยได้ทำการสรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ซึ่งมี รายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี 8.1 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน การวจิ ัยเรอื่ งนี้เพ่อื ศึกษาการพัฒนาผปู้ ระกอบการทางด้านดจิ ิทลั บนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่ (Digital Next Normal Entrepreneur & Innovation) สามารถสรุปผลโดยแบ่งตามวัตถุประสงค์ของการ วจิ ยั ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 8.1.1 เพอ่ื วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ความตอ้ งในการพัฒนาหลักสตู รสำหรับผู้ประกอบการทางด้าน ดิจิทลั บนฐานนวัตกรรมและวถิ ีชวี ิตใหม่ ผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความต้องในการพฒั นาหลักสูตรสำหรับผู้ประกอบการ ทางดา้ นดจิ ิทัลบนฐานนวตั กรรมและวิถีชีวติ ใหม่ หลักสตู รท่ี 1 การบริหารจดั การบนฐานวถิ ีใหมส่ ำหรบั ผปู้ ระกอบการทางดา้ นดิจิทัล รายวิชาท่ี 1 การรอบรู้ทางดา้ นธรุ กจิ และดิจิทลั สำหรับผ้ปู ระกอบการ รายวชิ าท่ี 2 การจดั การลูกค้าสมั พันธส์ ำหรบั ผู้ประกอบการสมยั ใหม่ รายวชิ าที่ 3 การตลาดดจิ ทิ ลั สำหรับผปู้ ระกอบการสมัยใหม่ หลักสูตรท่ี 2 การบริหารจดั การตลาดดิจิทัล รายวชิ าที่ 1 การสรา้ งมูลค่าทางธุรกิจสำหรับผ้ปู ระกอบการ รายวิชาท่ี 2 การบรหิ ารจดั การร้านค้าออนไลน์ รายวชิ าที่ 3 การสร้างรา้ นค้าดิจิทัลผ่านสื่อสงั คมออนไลน์ หลกั สตู รท่ี 3 ความฉลาดทางดิจทิ ัลสำหรบั ผูป้ ระกอบการ รายวชิ าที่ 1 ความฉลาดทางดิจิทลั สำหรบั ผปู้ ระกอบการ รายวิชาท่ี 2 นวตั กรรมสรา้ งสรรคส์ ำหรับผู้ประกอบการ รายวชิ าท่ี 3 เศรษฐกจิ ดิจิทลั กบั การเปน็ ผูป้ ระกอบการสมัยใหม่

14 8.1.2 เพื่อออกแบบการพัฒนาหลักสูตรสำหรับผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐาน นวัตกรรมและวิถีชวี ิตใหม่ จากการวิพากษ์หลักสูตรของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 2 รอบ จำนวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 34 คน ในรูปแบบออนไลน์ ได้ทำการสรุปการพัฒนาหลักสูตร ได้ทำการสรุปรายวิชาที่ใช้สำหรับการจัดการ ฝกึ อบรมในหลกั สตู รดงั กล่าวประกอบดว้ ย 3 หลกั สูตร 9 รายวชิ า มรี ายละเอยี ดดังต่อไปน้ี 8.1.2.1 หลักสูตรที่ 1 การบริหารจัดการบนฐานวิถีใหม่สำหรับผู้ประกอบการ ทางด้านดจิ ิทลั 1. รายวชิ าท่ี 1 การรอบรู้ทางดา้ นธุรกจิ และดจิ ิทลั สำหรบั ผู้ประกอบการ เน้อื หาหลกั สตู ร จำนวนช่ัวโมง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 1) การรอบรทู้ างด้านธุรกจิ และดจิ ทิ ลั สำหรับผปู้ ระกอบการ 60 นาที (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) 2) การเปลย่ี นผ่านทางเทคโนโลยีสำหรับผูป้ ระกอบการในยคุ ดิจิทลั (Digital 60 นาที Disruption Technology for Entrepreneur) 3) ทักษะความเข้าใจทางด้านดจิ ทิ ัลสำหรบั ผู้ประกอบการเบ้ืองตน้ 30 นาที (Digital Literacy for Basic Entrepreneur) 4) การคิดเชิงออกแบบสำหรบั ผู้ประกอบการ (Design Thinking for 30 นาที 420 นาที Entrepreneur) 3 ชั่วโมง 7 ชั่วโมง 5) Workshop การรอบรู้ทางดา้ นธรุ กิจและดจิ ทิ ัลสำหรับผปู้ ระกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) Behavior and work experience Disruption แนะนำ Use Case สำหรบั ผ้ปู ระกอบการเกี่ยวกับ Digital Disruption Workshop 1 การออกแบบจัดทำแบบสอบถาม QR Code โดย Microsoft Form แบง่ กลุ่มทำ Workshop โดยมีกิจกรรม ดังตอ่ ไปนี้ Case Study | Kodak’s failure: Here’s how แนะนำระบบ ซอฟตแ์ วร์ท่จี ำเป็นในการทำธุรกิจ - Digital Core – Customer - Experience - Employee - Experience - Innovation Experience Workshop 2 เลือก Software Modules ท่เี หมาะสมมา ใชก้ บั กระบวนงาน รวมจำนวนชว่ั โมง

15 ทกั ษะสมรรถนะของผเู้ ขา้ รับการอบรมท่ผี า่ นการอบรมในหลักสูตร 1. ทักษะดา้ นการรอบรู้ทางดา้ นธุรกิจและดจิ ทิ ลั 2. ทักษะการพัฒนาความคิดสร้างสรรคแ์ ละการสร้างนวตั กรรม 3. ทักษะการรอบรู้ทางด้านธุรกิจและดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการและการใช้เครื่องมือทาง การตลาดดิจิทลั 2. รายวิชาท่ี 2 การจดั การลกู ค้าสัมพนั ธ์สำหรับผู้ประกอบการสมัยใหม่ เนือ้ หาหลักสตู ร จำนวนช่วั โมง ทฤษฎี ปฏิบัติ - ความรเู้ บื้องต้นเก่ียวกบั การจดั การลกู ค้าสมั พนั ธส์ ำหรับผปู้ ระกอบการสมัยใหม่ 30 นาที - แนวคิดและหลักการของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ New Normal CRM 30 นาที วา่ ดว้ ยประโยชน์ของการบริหารลกู คา้ สัมพนั ธ์ตอ่ องค์กร - องค์ประกอบของการจัดการลูกคา้ สัมพันธ์เพือ่ ธรุ กิจยุค New Normal อย่างมี ประสิทธภิ าพ ประกอบดว้ ย เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการจัดการความสมั พันธก์ บั ลูกค้า การนำ 60 นาที เครื่องเมืองทางดิจิทัลเข้ามาวางการนำกลยุทธ์ทางด้าน CRM ไปประยุกต์ปฏิบัติใน องค์การ - รูปแบบการสร้างและรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าปัจจุบัน ว่าด้วยการ สรา้ งและรกั ษาความสัมพนั ธก์ ับลูกค้า โดยการใชฐ้ านข้อมูลขนาดใหญ่ (Big 60 นาที Data Analysis) Workshop Use Case สำหรบั ผ้ทู ใี่ ชร้ ะบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ CRMระดมสมอง 420 นาที ระบุว่าข้อมูลอย่างใดที่องค์กรของท่านต้องการจากระบบการบริหารจัดการลูกค้า สัมพนั ธ์ รวมจำนวนชัว่ โมง 3 ชวั่ โมง 7 ชั่วโมง ทักษะสมรรถนะของผู้เข้ารบั การอบรมท่ีผา่ นการอบรมในหลกั สตู ร 1. ทักษะดา้ นความฉลาดทางดิจทิ ัลสำหรับผปู้ ระกอบการและการใชเ้ ครือ่ งมือดิจิทลั ทาง ระบบปฏิบัตกิ าร CRM 2. ทักษะการพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์และการสรา้ งนวตั กรรม 3. มีทกั ษะการรอบรูท้ างด้านธรุ กิจและดจิ ิทัลสำหรบั ผปู้ ระกอบการ

16 3. รายวิชาที่ 3 การตลาดดจิ ิทลั สำหรบั ผูป้ ระกอบการสมัยใหม่ เนอ้ื หาหลกั สูตร จำนวนชัว่ โมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1. แนวทางการวางแผนการตลาดและแนวโน้มทางดา้ นดิจิทัลสำหรับ 60 นาที ผปู้ ระกอบการแบบวถิ สี มัยใหม่ 2. การประชาสมั พนั ธ์เพอื่ การตลาดเชงิ รุกผา่ นสือ่ สังคม 60 นาที 3. การพฒั นาความคดิ สร้างสรรคแ์ ละการสรา้ งนวัตกรรม I 30 นาที 4. เทคนคิ วิธีการสรา้ งและการจดั ทำรปู แบบธรุ กจิ ออนไลนโ์ ดยใช้เคร่อื งมือ 30 นาที ทีเ่ หมาะสม Workshop Detail: การตลาดดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการยุคใหม่ (Next 420 นาที Normal Digital Marketing) แนะนำเครื่องมือการทำตลาดดิจิทัล : Social Media, Facebook, YouTube, Instagram, etc แนะนำ Use Case ท่ใี ชเ้ ครอ่ื งมือการตลาดดิจทิ ลั แบง่ กลุ่มทำ Workshop โดยมีกิจกรรม ดังต่อไปน้ี ความเขา้ ใจและใชง้ าน Social Media การทำ Content ทางดา้ นการตลาด Workshop Online Marketing, Webinar รวมจำนวนชัว่ โมง 3 ช่วั โมง 7 ชว่ั โมง ทักษะสมรรถนะของผูเ้ ข้ารับการอบรมท่ีผ่านการอบรมในหลักสตู ร 1. ทกั ษะดา้ นการตลาดดิจิทัลและการใชเ้ ครือ่ งมือทางการตลาดดิจิทัล 2. การวางแผนการตลาดดิจิทัลและเทคนิควิธีการสร้างและการจัดทำรูปแบบธุรกิจออนไลน์ โดยใช้เคร่ืองมอื ทเ่ี หมาะสม 3. การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละการสร้างนวตั กรรม

17 หลกั สตู รท่ี 2 การบรหิ ารจัดการตลาดดิจทิ ัล 1. รายวชิ าท่ี 1 การสรา้ งมูลคา่ ทางธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการ เนื้อหาหลกั สูตร จำนวนชว่ั โมง - แนวคิดการสร้างคุณค่าทางธรุ กิจ (Value Creation) ทฤษฎี ปฏิบัติ 60 นาที - การสร้างเครือขา่ ยสู่การพฒั นา (Strong Foundation) 60 นาที - การสร้างมูลค่าทางธรุ กจิ (Value Creation) - การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค์และการสรา้ งนวัตกรรม 30 นาที - แนวคดิ ในการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ วา่ ด้วย องคก์ รแห่งการพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หม่ การ 30 นาที ตรวจสอบผลติ ภณั ฑใ์ หมก่ อ่ นนำสูต่ ลาดดิจทิ ลั 420 นาที Workshop Detail: การสร้างมูลค่าทางธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการ (Creation Business Value used Digital) - แนะนำระบบบริหารการจัดการองค์กรรวม (Enterprise Resource Planning) SAP Business One: VDO Clip ระบบ ERP : SAP Business One - แนะนำ Use Case ของผู้ใช้ระบบ ERP ที่สร้างมูลค่าทางธรุ กจิ สำหรบั ผูป้ ระกอบการระบบ ERP Business Process - แบ่งกลมุ่ ทำ Workshop โดยมีกจิ กรรม ดงั ต่อไปนี้ - ความเข้าใจและใชง้ านระบบ ERP เบือ่ งตน้ - การใชง้ านระบบ ERP : SAP Business One รวมจำนวนชั่วโมง 3 ชั่วโมง 7 ช่ัวโมง ทกั ษะสมรรถนะของผู้เขา้ รับการอบรมทผี่ า่ นการอบรมในหลักสตู ร 1. ทกั ษะดา้ นความฉลาดทางดจิ ทิ ลั สำหรบั ผู้ประกอบการและการใช้เครอ่ื งมือทางการตลาด ดจิ ทิ ัล 2. ทักษะการคดิ เชิงสร้างสรรค์โดยใช้เครือ่ งมอื ดิจทิ ัลเพื่อการทำโฆษณาออนไลน์ 3. ทกั ษะใชเ้ ครือ่ งมอื ดิจิทัลสำหรับการบริหารสนิ ค้าสำหรับร้านคา้ ออนไลน์

18 2. รายวชิ าที่ 2 การบริหารจัดการร้านคา้ ออนไลน์ จำนวนช่ัวโมง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ เน้อื หาหลกั สูตร 60 นาที - การทำการตลาดผ่าน Search Engine Optimization (SEO) และ Search Engine Marketing (SEM), การทำการตลาดผ่านวิดีโอ - ทกั ษะการคดิ เชงิ สร้างสรรคโ์ ดยใชเ้ ครอ่ื งมอื ดจิ ิทัลเพือ่ การทำโฆษณา ออนไลน์ ให้คำนงึ ถงึ ผลลพั ธท์ ่ตี รงตามเป้าหมายที่ตง้ั ไวแ้ ละเข้าถงึ ผบู้ ริโภค 60 นาที - เทคนิคการบรหิ ารสินค้าสำหรบั รา้ นคา้ ออนไลน์โดยใช้เคร่อื งมอื ดิจทิ ลั 30 นาที (Product Management Techniques for Online Business) - การเจาะจุดแข็งเพอ่ื ความสำเรจ็ 30 นาที Workshop เครื่องมือทางดา้ นดิจิทลั ทใี่ ช้ในการบริหารจัดการบนฐานวถิ ี ชวี ติ สำหรบั ผู้ประกอบการสมัยใหม่ - การทำการตลาดผ่าน Search Engine Optimization (SEO) - Google Search , Social Media 420 นาที 7 ช่ัวโมง - Interactive VDO Content - Video Clip & Use Case การทำการตลาดผา่ น Search Engine Optimization (SEO) และ Search Engine Marketing (SEM), การทำการตลาดผ่านวดิ โี อ รวมจำนวนชวั่ โมง 3 ชวั่ โมง ทักษะสมรรถนะของผเู้ ขา้ รับการอบรมทผ่ี ่านการอบรมในหลกั สูตร 1. ทกั ษะการคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์สำหรบั ผปู้ ระกอบการและการใชเ้ ครือ่ งมือทางการตลาด ดิจทิ ลั 2. ทักษะการบรหิ ารสินคา้ สำหรบั รา้ นคา้ ออนไลนโ์ ดยใช้เคร่ืองมือดจิ ทิ ัล โดยใชเ้ ครอื่ งมอื ดิจทิ ัลเพอ่ื การทำโฆษณาออนไลน์ 3. ทักษะใชเ้ ครอ่ื งมือดิจทิ ลั สำหรับการบริหารสนิ คา้ สำหรับร้านค้าออนไลน์

19 3. รายวิชาที่ 3 การสรา้ งรา้ นคา้ ดิจิทลั ผา่ นส่อื สังคมออนไลน์ เนื้อหาหลกั สูตร จำนวนช่วั โมง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับการสรา้ งร้านคา้ ดิจิทลั ผา่ นสือ่ สังคม (Social Media 60 นาที Digital Marketing) ความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั การพฒั นาการวางแผนการดำเนินงานสร้างรา้ นค้า 60 นาที ดิจิทลั ผา่ นสอ่ื สงั คมออนไลน์ ความรูค้ วามเข้าใจเก่ียวกับหลกั การบรหิ ารจัดการรา้ นคา้ ดิจทิ ัล 30 นาที ความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับเทคนคิ การประชาสัมพันธเ์ พ่ือการตลาดเชิงรุก 30 นาที Workshop Detail: การสร้างร้านค้าดิจิทัลผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (social 420 นาที media Digital Marketing) แนะนำเครื่องมือการสร้างร้านค้าออนไลน์ (Online Shop Management) YouTube, Website สำเร็จรปู , etc. แนะนำ Use Case การสร้างร้านค้าออนไลน์, การขายสินค้าบน ร้านค้า Online แบ่งกลุ่มทำ Workshop โดยมกี จิ กรรม ดังต่อไปนี้ Website เบ้ืองต้น การสร้าง Website สำเร็จรปู รวมจำนวนชัว่ โมง 3 ช่ัวโมง 7 ช่วั โมง ทกั ษะสมรรถนะของผเู้ ข้ารบั การอบรมทผ่ี ่านการอบรมในหลกั สูตร 1. ทกั ษะด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การสร้างร้านคา้ ดิจิทลั ผา่ นสือ่ สงั คม 2. ทักษะการวางแผนดำเนินงานประชาสัมพันธ์ การโฆษณา และติดตามผลดำเนินงาน การใช้เทคโนโลยีการถ่ายภาพรวมกับการตกแต่งภาพด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับสร้างเว็บไซต์ เบ้อื งต้น 3. ทกั ษะการสร้างรา้ นค้าดิจทิ ลั ผา่ นสอ่ื สังคม (Social Media Digital Marketing)

20 หลกั สตู รท่ี 3 รายวิชาที่ 1 ความฉลาดทางดจิ ิทัลสำหรับผูป้ ระกอบการ เนื้อหาหลักสตู ร จำนวนช่ัวโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ ความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur) แนะนำระบบบริหารการจัดการองค์กร รวม (Enterprise Resource Planning) 60 นาที - ทกั ษะในการรกั ษาอัตลกั ษณ์ทดี่ ขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) - ทักษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) - ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) - ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cyber- 60 นาที security Management) - ทักษะในการรกั ษาข้อมูลสว่ นตัว (Privacy Management) - ทักษะการคดิ วิเคราะห์มีวิจารณญาณทดี่ ี (Critical Thinking) - ทักษะในการบริหารจดั การข้อมูลที่ผใู้ ชง้ านมีการทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ 30 นาที (Digital Footprints) - ทักษะการใช้เทคโนโลยอี ยา่ งมจี ริยธรรม (Digital Empathy) 420 นาที - ความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Intelligence 30 นาที Quotient for Entrepreneur) Workshop Detail: แนะนำ Use Case ของผู้ใช้ระบบ ERP ที่สร้างมูลคา่ ทางธรุ กจิ สำหรบั ผปู้ ระกอบการ SAP Business One: VDO Clip Power Point ระบบ ERP : SAP Business One, ระบบ ERP Business Process Software for Personal Data Protection Act (PDPA) แบง่ กลุ่มทำ Workshop โดยมีกจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี ความเขา้ ใจและใชง้ านระบบ ERP เบ่อื งตน้ การใชง้ านระบบ ERP : SAP Business One รวมจำนวนช่วั โมง 3 ช่ัวโมง 7 ช่ัวโมง

21 ทักษะสมรรถนะของผเู้ ขา้ รบั การอบรมท่ผี ่านการอบรมในหลกั สูตร 1. ทกั ษะด้านความฉลาดทางดิจิทลั สำหรบั ผ้ปู ระกอบการและการใชเ้ ครอื่ งมือทางการตลาด ดจิ ิทัล 2. ทกั ษะการพัฒนาความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละการสรา้ งนวัตกรรม 3. มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมของผ้ปู ระกอบการและกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับการดำเนนิ ธุรกิจในยคุ ดิจทิ ัล 2. รายวิชาที่ 2 นวัตกรรมสร้างสรรค์สำหรบั ผ้ปู ระกอบการ เนื้อหาหลักสูตร จำนวนชว่ั โมง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ - หลักการสร้างสรรค์นวัตกรรม: จากทฤษฎีสูป่ ฏบิ ัติ 60 นาที - การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค์สู่นวัตกรรม - รปู แบบการคดิ เชิงออกแบบ ในการไปประยกุ ตใ์ ช้กับการแก้ปญั หาธุรกิจ 60 นาที (Design Thinking) - การคน้ หาความแตกต่างของธุรกจิ และบรกิ าร 30 นาที - การสำรวจความต้องการของลูกค้า - การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์สนู่ วัตกรรม 30 นาที - นวตั กรรมสรา้ งสรรคส์ ำหรับผ้ปู ระกอบการ (Creative Innovation) Workshop Detail: นวตั กรรมสรา้ งสรรค์สำหรบั ผูป้ ระกอบการ (Creative 420 นาที Innovation) Workshop กระบวนการระดมความคดิ เชงิ ออกแบบ (Design Thinking) ซ่ึงเป็นเคร่ืองมอื สำคัญของการสร้างความสำเรจ็ ให้องคก์ ร แบ่งกลุ่มทำ Workshop โดยมีกิจกรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี แบ่งกลมุ่ กระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ (Design Thinking) ทง้ั 5 ข้ันตอน การนำเสนองานของสถานประกอบการแตล่ ะกลมุ่ Presentation รวมจำนวนช่ัวโมง 3 ชัว่ โมง 7 ชั่วโมง

22 ทกั ษะสมรรถนะของผ้เู ข้ารับการอบรมทผ่ี า่ นการอบรมในหลักสูตร 1. ทกั ษะดา้ นการพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์สู่นวัตกรรมและการใช้เครื่องมอื ทางการตลาด ดจิ ทิ ัล 2. ทกั ษะการพฒั นานวัตกรรมสรา้ งสรรค์สำหรบั ผู้ประกอบการ (Creative Innovation) 3. ทักษะการคดิ เชงิ ออกแบบในการประยุกต์ใช้กับการแกป้ ญั หาธรุ กิจ (Design Thinking) 3. รายวชิ าท่ี 3 เศรษฐกจิ ดิจทิ ัลกับการเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่ เน้ือหาหลกั สตู ร จำนวนช่ัวโมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ - หลักเศรษฐกิจพอเพยี งสำหรบั ธรุ กิจในยคุ ดจิ ิทลั - การจดั การทรัพย์สินทางปญั ญาสำหรับงานธรุ กิจ 60 นาที - Fintech เทคโนโลยีการเงนิ ทางธรุ กิจดจิ ิทลั 60 นาที - เทคโนโลยปี ัญญาประดิษฐ์ (AI) สำหรบั ธรุ กจิ ดิจิทัล - การวิเคราะหข์ ้อมลู ธุรกิจขนาดใหญ่ 30 นาที - เทคโนโลยใี นอนาคตทางดา้ นดจิ ทิ ัลสำหรบั ธุรกิจ 30 นาที - เทคโนโลยี Blockchain และ Quantum Computing Workshop Detail: เศรษฐกิจดิจิทัลกับการเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่ (Next Normal Digital Economy for SME) แนะนำเครื่องมือในการใช้วิเคราะหข์ ้อมูลทางธุรกิจ (Data Analysis, Big Data) - SAP Analytics Cloud : VDO Clip - ระบบ SAP Analytics Cloud 420 นาที - แนะนำ Use Case ของผู้ใช้ระบบ SAC ทไ่ี ด้ประโยชน์จาก การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทางธรุ กจิ - แนะนำ Use Case ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั AI แบ่งกลุม่ ทำ Workshop โดยมกี จิ กรรม ดงั ต่อไปนี้ - การรายงานข้อมลู ผ่าน Dashboard ด้วย Google Data Studio - การเลือกใช้แผนภูมใิ น Google Data Studio รวมจำนวนชวั่ โมง 3 ชว่ั โมง 7 ช่ัวโมง

23 ทักษะสมรรถนะของผู้เข้ารับการอบรมท่ีผ่านการอบรมในหลกั สูตร 1. ทักษะด้านการเปล่ียนผา่ นทางดา้ นเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรบั ผูป้ ระกอบการและการใช้ เครอ่ื งมอื ทางการตลาดดจิ ิทัล 2. ทักษะการใช้โปรแกรมในการประมวลผลขอ้ มูล วเิ คราะหข์ ้อมลู จนาดใหญ่และการ พยากรณ์ธุรกิจ 3. ทกั ษะการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรม โดยสามารถสรุปเนื้อหาหลักสูตรและจำนวนชั่วโมงการฝึกอบรมทั้ง 3 หลักสูตร 9 รายวิชา ประกอบดว้ ย ภาคทฤษฎีจำนวน 27 ช่ัวโมง และภาคปฏิบตั ิจำนวน 63 ชวั่ โมง รวมท้งั ส้ิน 90 ช่ัวโมง สามารถเทยี บโอนได้ 3 หนว่ ยกติ 8.1.3 เพื่อพัฒนาหลักสูตรสำหรับผู้ประกอบการทางด้านดจิ ิทัลบนฐานนวตั กรรมและวถิ ี ชวี ติ ใหม่ วิเคราะห์ข้อมูลที่ไดร้ ับจากการประเมินความเหมาะสมของสมรรถนะวิชาชีพดิจิทัลเพื่อการ ผลิตบัณฑิตสู่กำลังคนดิจิทัล ของผู้เชี่ยวชาญโดยหาค่าเฉลี่ย (Mean : x̅) และค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) ของความคดิ เห็น โดยพจิ ารณาค่าความคิดเหน็ เปรียบเทียบ กบั เกณฑ์การแปลความหมายของค่าเฉลี่ย ตามมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) ตามมาตรวัด ของลิเคิรท์ (Likert) 5 ระดับ ดงั นี้ 5 คะแนน หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดบั มากที่สดุ 4 คะแนน หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดับมาก 3 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสมในระดับปานกลาง 2 คะแนน หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดบั นอ้ ย 1 คะแนน หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดบั น้อยท่ีสดุ เกณฑก์ ารแปลผลดังนี้ (John W. Best, James V. Kahn., 2006) 4.50 - 5.00 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับมากทส่ี ดุ 3.50 - 4.49 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับมาก 2.50 - 3.49 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับน้อย 1.00 - 1.49 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดบั น้อยทสี่ ุด

24 จากการประเมินผลหลักสูตรการฝึกอบรมจากสถานประกอบการบนฐานนวัตกรรมและวิถี ชีวิตใหม่ในยุคดิจิทัล รุ่นที่ 1 พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับความเหมาะสมมากที่สุด ( X̅ = 4.55, S.D. = 0.66) เมอื่ พจิ ารณาสามารถสรุปผลได้ดังนี้ สว่ น สรุปรายละเอียดการประเมินผล (ภาพรวม) คา่ เฉลี่ย เบี่ยงเบน การแปลผล (X̅) มาตรฐาน (S.D.) 1. กระบวนการ ข้ันตอนการใหบ้ ริการ มาก 1.1 การประชาสมั พันธ์โครงการ ฯ 4.22 0.79 1.2 ความเหมาะสมของสถานที่ 4.81 0.41 มากที่สดุ 1.3 ความเหมาะสมของระยะเวลา (จำนวนชว่ั โมง, 4.53 0.71 มากท่สี ดุ จำนวนวนั 1.4 ความเหมาะสมของชว่ งเวลา 4.59 0.67 มากที่สุด (9.00 – 17.00 น. , ช่วงเดือน) 1.5 การจดั ลำดับข้ันตอนของกิจกรรม 4.49 0.73 มาก 2. เจ้าหน้าทผ่ี ใู้ หบ้ รกิ าร/วิทยากร/ผู้ประสานงาน 4.64 0.57 มากที่สุด 2.1 ความรอบรู้ ในเนอ้ื หาของวทิ ยากร 2.2 ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ 4.56 0.61 มากทส่ี ดุ 2.3 การตอบคำถามของวิทยากร 4.52 0.68 มากที่สุด 2.4 ความเหมาะสมของวิทยากร ในภาพรวม 4.60 0.54 มากที่สุด 3. การอำนวยความสะดวก 4.56 0.65 มากท่ีสดุ 3.1 เอกสารในรูปแบบดจิ ิทัล 3.2 โสตทัศนูปกรณ์ 4.40 0.73 มาก 3.3 เจา้ หน้าทีส่ นับสนนุ 4.49 0.74 มาก 3.4 อาหาร เครอื่ งด่ืมและสถานท่ี 4.77 0.59 มากที่สดุ 4. คณุ ภาพการใหบ้ ริการ 4.50 0.71 มาก 4.1 ท่านไดร้ ับความรู้ แนวคดิ ทักษะและ ประสบการณ์ใหม่ ๆ จากโครงการ 4.2 ท่านสามารถนำสง่ิ ทไ่ี ด้รบั จากโครงการ/ 4.60 0.63 มากที่สดุ กิจกรรมน้ไี ปใชใ้ นการเรียน/การปฏบิ ตั ิงาน

25 สรปุ รายละเอียดการประเมินผล (ภาพรวม) ค่าเฉล่ีย ส่วน การแปลผล (X̅) เบี่ยงเบน มากท่ีสุด มาตรฐาน 4.3 สิง่ ที่ท่านได้รบั จากโครงการ/กจิ กรรมครง้ั น้ี 4.52 (S.D.) ตรงตามความคาดหวงั ของทา่ นหรอื ไม่ 4.44 4.51 0.72 4.4 สดั สว่ นระหวา่ งการฝึกอบรมภาคทฤษฎกี ับ 4.58 ภาคปฏิบัติ (ถา้ มี) มีความเหมาะสม 4.60 0.75 มาก 4.5 โครงการ/กิจกรรมในหลกั สตู รเอือ้ อำนวยต่อ 4.55 0.68 มากทสี่ ุด การเรียนรแู้ ละพฒั นาความสามารถของท่าน 0.61 มากทส่ี ุด 4.6 ประโยชน์ที่ท่านไดร้ บั จากโครงการ/กิจกรรม 0.66 มากที่สุด 5. ความพงึ พอใจของทา่ นตอ่ ภาพรวมของโครงการ 0.66 มากทสี่ ุด 5.1 ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของ โครงการ] ความพึงพอใจภาพรวม จากการประเมินผลหลักสูตรการฝึกอบรมจากสถานประกอบการบนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวติ ใหม่ในยุคดิจิทลั รุ่นที่ 2 พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับความเหมาะสมมาก (X̅ = 4.49, S.D. = 0.67) เม่อื พิจารณาสามารถสรปุ ผลไดด้ ังน้ี สว่ น สรุปรายละเอยี ดการประเมนิ ผล (ภาพรวม) ค่าเฉล่ยี (X̅) เบ่ียงเบน การแปลผล มาตรฐาน (S.D.) 1. กระบวนการ ขน้ั ตอนการให้บรกิ าร 1.1 การประชาสมั พนั ธโ์ ครงการ ฯ 4.51 0.60 มากที่สุด 1.2 ความเหมาะสมของสถานที่ 4.73 0.51 มากที่สดุ 1.3 ความเหมาะสมของระยะเวลา (จำนวน 4.49 0.69 มาก ช่ัวโมง.,จำนวนวนั 1.4 ความเหมาะสมของช่วงเวลา 4.53 0.69 มากทสี่ ดุ (9.00 – 17.00 น. , ชว่ งเดอื น)

26 สรปุ รายละเอยี ดการประเมินผล (ภาพรวม) คา่ เฉลย่ี สว่ น การแปลผล (X̅) เบี่ยงเบน 1.5 การจดั ลำดับขั้นตอนของกจิ กรรม 4.44 มาตรฐาน มาก 2. เจา้ หน้าทีผ่ ู้ใหบ้ รกิ าร/วิทยากร/ผู้ประสานงาน 4.55 (S.D.) มากที่สดุ 2.1 ความรอบรู้ ในเนือ้ หาของวิทยากร 4.46 0.75 2.2 ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 4.45 0.61 2.3 การตอบคำถามของวิทยากร 4.59 2.4 ความเหมาะสมของวทิ ยากร ในภาพรวม 4.43 0.68 มาก 3. การอำนวยความสะดวก 0.69 มาก 3.1 เอกสารในรูปแบบดจิ ิทลั 4.34 0.60 มากทสี่ ดุ 3.2 โสตทัศนปู กรณ์ 4.41 0.73 มาก 3.3 เจ้าหน้าท่สี นับสนุน 4.74 3.4 อาหาร เคร่อื งดมื่ และสถานที่ 4.45 0.79 มาก 4. คุณภาพการให้บรกิ าร 0.74 มาก 4.1 ท่านได้รบั ความรู้ แนวคดิ ทักษะและ 4.40 0.55 มากทส่ี ุด ประสบการณ์ใหม่ ๆ จากโครงการ 0.70 มาก 4.2 ทา่ นสามารถนำส่งิ ท่ไี ดร้ บั จากโครงการ/ 4.48 กิจกรรมนี้ไปใชใ้ นการเรยี น/การปฏบิ ัตงิ าน 0.70 มาก 4.3 ส่ิงทที่ ่านไดร้ ับจากโครงการ/กจิ กรรมครั้ง 4.54 0.64 มาก น้ตี รงตามความคาดหวงั ของท่านหรอื ไม่ 0.60 มกาทส่ี ุด 4.4 สัดสว่ นระหว่างการฝึกอบรมภาคทฤษฎี 4.49 0.72 มาก กบั ภาคปฏบิ ัติ (ถ้าม)ี มีความเหมาะสม 0.72 มาก 4.5 โครงการ/กิจกรรมในหลกั สตู รเอ้ืออำนวย 4.41 0.69 มาก ตอ่ การเรียนรแู้ ละพัฒนาความสามารถของท่าน 0.67 มาก 4.6 ประโยชน์ท่ที า่ นได้รับจากโครงการ/ 4.40 กิจกรรม 5. ความพงึ พอใจของท่านตอ่ ภาพรวม 4.49 5.1 ความพึงพอใจภาพรวมของโครงการ ความพงึ พอใจภาพรวม

27 ผลการวิจัยเรื่อง การพัฒนาผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวิถีชวี ิตใหม่ (Digital Next Normal Entrepreneur & Innovation) มีข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลวิจัยไปใช้ ประโยชน์และข้อเสนอแนะสำหรบั การวิจัยในคร้ังต่อไป ดงั น้ี 1. การนำผลการวิจยั ไปปฏบิ ัติและใชป้ ระโยชน์ การพัฒนาผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่ (Digital Next Normal Entrepreneur & Innovation) ทพี่ ฒั นาขน้ึ ในการศึกษาวิจัยครงั้ นี้ ไดอ้ อกแบบให้รองรับการ ใช้งานในมหาวทิ ยาลยั และนำหลักสูตรดงั กล่าวไปเปน็ ตน้ แบบของการพัฒนาหลกั สตู รให้กับ 38 ราชภัฏ โดยนำเสนอแนวทางการจัดการขอ้ มลู การพฒั นาผู้ประกอบการทางดา้ นดิจิทัลบนฐานนวตั กรรมและวิถี ชีวิตใหม่ ตามโครงสร้างขององค์กรที่มุ้งเน้นด้านการให้บริการและพัฒนาการศึกษาให้ตอบโจทย์กับ กำลงั คนดิจิทัลสำหรบั สถานประกอบการและกับนักศึกษาในอนาคต 1.1 ผลการพิจารณาจากกรรมการวิพากษ์หลักสูตร มีการเสนอแนะข้อคิดเห็นการ เพิ่มเติมรายวิชาที่มุ้งเน้นภาคปฏิบัติ เพื่อตอบโจทย์กำลังแรงด้านดิจิทัล และเพื่อให้ตอบโจทย์กับการ เปลยี่ นผ่านในยุคดิจทิ ัลอย่างรวดเรว็ ทางทมี ผวู้ จิ ัยจงึ ได้มกี ารปรับหลักสูตรดงั กล่าวให้เน้นในภาคปฏิบัติ โดยมีทีมวิทยากรจากสถานประกอบการที่มีความเชี่ยวชาญ ชำนาญการในการวางระบบเทคโนโลยี ดิจิทัล และใช้เครื่องมือทางด้านการจัดการตลาดดิจิทัล ในการสนับสนุน และส่งเสริมให้กับทางสถาน ประกอบการได้มีการเริ่มต้นใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการบริหาร จัดการองค์กร หนว่ ยงานให้มีการนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 1.2 หลักสูตรที่ผ่านการอบรมจากสถานประกอบการทั้ง 3 หลักสูตร 9 รายวิชา ได้นำไปจัดขยายผลให้กบั วทิ ยากรตน้ แบบ (Master teacher) กล่มุ มหาวิทยาลยั ราชภัฏในสถานการณ์ นิวนอร์มอล หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non degree) โครงการสัมมนาบรรยายและปฏิบัติการ ผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) เพื่อให้อาจารย์ในมหาวิทยาลัยได้นำหลักสูตรดังกล่าวไปปรับปรุง รายวิชา และขยายผลในการอบรมให้กับสถานประกอบการที่อยู่ในเขตพื้นที่การรับผิดชอบของ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทัว่ ไปตอ่ ไป

28 9. ปัญหาและอุปสรรค 9.1 ควรมีการพัฒนา และปรับปรุงแก้ไขระบบงานให้มีความทันสมัย ตามสถานการณ์ของ เทคโนโลยีทมี่ ีการพฒั นาอุปกรณ์อย่างต่อเนือ่ ง เพอ่ื รองรับให้ข้อมูลของส่วนต่าง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ งกับระบบ เพราะว่าอปุ กรณไ์ ด้มีการพฒั นาไปอย่างก้าวกระโดด จึงต้องทำการปรับปรุงระบบให้อพั เดทเสมอ 9.2 การหาผปู้ ระกอบการทม่ี ีประสบการณ์ทางด้านการวางระบบดิจิทลั ในสถานประกอบการ เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการทำงานสู่การเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลโดยการเข้ามาร่วมพัฒนา หลักสตู รผู้ประกอบการทางด้านดจิ ิทลั บนฐานนวตั กรรมและวถิ ชี ีวิตใหม่ 9.3 อุปสรรคของการจัดอบรมเนือ่ งจากมีสถานการณ์โรคไวรสั โควิด 19 ทำให้การจัดอบรม ต้องเล่ือนตามสถานการณ์ที่เกิดข้นึ 10. ขอ้ เสนอแนะ 10.1 ขอ้ เสนอแนะสำหรับการวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป จากการดำเนินการและผลการวิจัย เรื่อง การพัฒนาผู้ประกอบการทางด้านดิจิทัล บนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่ (Digital Next Normal Entrepreneur & Innovation) ผู้วิจัยขอ นำเสนอข้อเสนอแนะสำหรบั การวจิ ยั ในคร้งั ตอ่ ไป ดงั นี้ 10.2 การประเมนิ ผลของแบบสอบถาม ควรปรับปรุงให้ระบบไดม้ ีการประยุกต์ใช้งาน ใหม้ ีความสะดวกมากกวา่ เดิมเพ่ือช่วยให้ การประมวลผลเกิดความแม่นยำมากข้ึน และขอ้ มูลที่ได้รับจะ เปน็ ที่น่าเชอ่ื ถอื 10.3 ควรพฒั นาต่อยอดการพฒั นาหลกั สูตรของนกั ศึกษาให้สามารถรองรับได้อย่าง หลากหลายสามารถการพฒั นาผ้ปู ระกอบการทางดา้ นดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวถิ ชี ีวติ ใหม่ 2.4 ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ของสถานประกอบการดิจิทัลอาจใช้แนวคิดน้ีไปวเิ คราะห์ เพ่อื จัดกล่มุ อาชีพดจิ ิทัลและหากพนกั งานคนใดมีความถนัดเชงิ อาชพี นอ้ ยกว่าที่ควรจะมีการฝึกทักษะ เฉพาะทางดิจิทัลเพิ่มเติมในสายอาชีพดิจิทัล อาจมีการฝึกอบรมที่เน้นทางด้านการพัฒนาทักษะ ทางดา้ นการ Reskills/Upskills ในอาชพี ดจิ ิทลั ดงั กล่าวเพ่ิมเติมได้ 2.5 ควรมกี ารพฒั นาหลักสูตรผ้ปู ระกอบการทางด้านดจิ ิทัลบนฐานนวตั กรรมและวิถี ชีวิตใหม่ให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องโดยนำไปทดลองใช้ในสถานประกอบการ กอ่ นท่จี ะนำมาพฒั นาหลกั สตู รไปใชก้ บั นกั ศึกษา

29 ภาคผนวก คำสั่งแตง่ ต้งั คณะกรรมการดำเนินงานโครงการ

30

31

32

33 ภาคผนวก ก คณุ วุฒขิ องวทิ ยากรประจำหลักสูตร

34 รายชอื่ วิทยากรประจำหลักสตู ร (อาจารยป์ ระจำมหาวิทยาลยั ) ช่อื – นามสกุล คุณวฒุ ิ ประสบการณ์ ผศ.ดร.พรพิมล วริ ิยะกุล Ph.D. (Management) ECU. อดตี คณบดคี ณะวทิ ยาการ Australia จัดการ รัฐศาสตรมหาบัณฑติ (บริหารรฐั อดตี ประธานหลกั สูตร กิจ)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริหารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ บรหิ ารธุรกจิ บัณฑติ (การเงินและ การธนาคาร) มหาวิทยาลยั รามคำแหง ผศ.ดร.อดิเรก เยาว์วงค์ ปร.ด. เทคโนโลยีสารสนเทศและ ปัจจุบัน รองผู้อำนวยการ การสอ่ื สารเพ่อื การศึกษา สำนักส่งเสริมวิชาการและ วท.ม. (การศึกษาวิทยาศาสตร์- งานทะเบียน อาจารย์ประจำ คอมพวิ เตอร)์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา ค.อ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏราชนครินทร์ อาจารย์ ดร.พงศธร ปาลี ปร.ด. เทคโนโลยีสารสนเทศและ ปัจจุบัน รองผู้อำนวยการ การสอื่ สารเพ่ือการศกึ ษา สำนักวิทยบริการและ วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยี เ ท ค โ น โ ล ย ี ส า ร ส น เ ท ศ สารสนเทศ) อาจารย์ประจำสาขาวิชา ค.อ.บ. (เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์) คอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ ราชนครินทร์ อาจารย์ ดร.ภาวิณีย์ บธ.ด บริหารธุรกิจ สาขาการตลาด ประสบการณ์ทำงานทางด้าน มาตแม้น บธ.ม บรหิ ารธรุ กจิ การวางแผนการตลาด บช.บ การบญั ชี อาจารย์ประจำสาขาวิชา การตลาด คณะวิทยาการ จดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร์

35 ช่อื – นามสกุล คณุ วฒุ ิ ประสบการณ์ อาจารย์ ดร.ปรัชญาเมธี บธ.ด. บริหารธุรกิจดุษฏี ประสบการณ์ทำงานทางด้านการ เทียนทอง บณั ฑิต (การตลาด) วางแผนการตลาด บธ.ม. บริหารธรุ กจิ มหาบัณฑิต อาจารยป์ ระจำสาขาวชิ า (การตลาด) การตลาด คณะวิทยาการจดั การ บธ.บ. บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์ (การตลาด) อาจารย์สพุ ฒั น์ สขุ เกษม วท.ม. (ระบบสารสนเทศเพ่ือ ประกอบธุรกิจส่วนตัวทางด้าน การจดั การ) คอมพิวเตอร์ วท.บ. (วทิ ยาการคอมพิวเตอร์) ปัจจุบนั รองผู้อำนวยการสำนกั สง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น อาจารยป์ ระจำสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏราชนครินทร์ อาจารยป์ ราริชาติ วท.ม. การศึกษาวิทยาศาสตร์ ปัจจบุ ัน รองผ้อู ำนวยการสำนกั รน่ื พงษพ์ ันธ์ (คอมพวิ เตอร)์ สง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน ศศ.บ. ก าร จัดก าร ทั่วไป อาจารย์ประจำสาขาวชิ า (คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ) คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ มหาวิทยาลยั ราชภัฏราชนครนิ ทร์ อาจารย์สทิ ธิศกั ดิ์ วท.ม. (วิทยาการคอมพวิ เตอร)์ เซ็นทรัลดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ อรรจนานนท์ บธ.บ.(การจัดการทว่ั ไป) บมจ.ประมงไทย บจ.ไทยฟวิ เจอร์คอนเซปท์ อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราขภัฏราชนครินทร์ อาจารยศ์ ริ ิรักษ์ บธ.ม. บรหิ ารธุรกิจ หัวหน้าภาควิชาการจัดการ บุญพร้อมรักษา บธ.บ. การจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏราชนครินทร์ หัวหน้าโครงการ (PM.) และที่ ปรึกษา sub-contact

รายชอ่ื วิทยากรป (สถานประกอบการภายนอกท่มี ปี ระส

36 ประจำหลักสูตร สบการณ์ทางด้านการวางระบบดิจทิ ัล)

37 ภาคผนวก ข รายละเอยี ดของหลกั สตู รฝกึ อบรม หลกั สูตรท่ี 1 การบรหิ ารจัดการบนฐานวิถีใหมส่ ำหรบั ผปู้ ระกอบการ ทางดา้ นดิจิทลั รายวชิ าท่ี 1 การรอบรู้ทางดา้ นธุรกจิ และดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ รายวิชาท่ี 2 การจัดการลกู คา้ สัมพันธส์ ำหรับผปู้ ระกอบการสมยั ใหม่ รายวชิ าท่ี 3 การตลาดดิจทิ ลั สำหรับผปู้ ระกอบการยุคใหม่

38 หลักสตู รประกาศนยี บตั ร (Non-Degree) มหาวิทยาลยั ราชภัฏราชนครนิ ทร์ การพฒั นาผู้ประกอบการดจิ ทิ ัลบนฐานนวตั กรรมและวถิ ชี ีวิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) 1. ชื่อหลักสตู ร (ภาษาไทย) การบรหิ ารจัดการบนฐานวิถใี หมส่ ำหรับผปู้ ระกอบการทางดา้ นดจิ ิทัล (ภาษาองั กฤษ) Digital Disruption for Entrepreneur 2. กลุ่มหลักสูตร รายวิชาที่ 1 การรอบรูท้ างดา้ นธรุ กิจและดิจิทัลสำหรบั ผูป้ ระกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) รายวิชาท่ี 2 การจัดการลกู ค้าสัมพนั ธส์ ำหรบั ผู้ประกอบการสมยั ใหม่ (Next Normal Customer Relationship Management) รายวชิ าที่ 3 การตลาดดิจทิ ัลสำหรบั ผปู้ ระกอบการยคุ ใหม่ (Next Normal Digital Marketing) 3. หนว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบ มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชนครินทร์ 4. รปู แบบการอบรม รายวิชาที่ 1 การรอบรู้ทางด้านธุรกิจและดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) ภาคทฤษฎี - การเปลย่ี นผา่ นทางเทคโนโลยสี ำหรบั ผู้ประกอบการในยคุ ดจิ ิทลั (Digital Disruption Technology for Entrepreneur) - การคิดเชิงออกแบบสำหรับผู้ประกอบการ (Design Thinking for Entrepreneur) Empathize (การ เขา้ ใจกลมุ่ เปา้ หมายอย่างลกึ ซง้ึ ), Define (การต้ังกรอบปัญหาหรือโจทย)์ Ideate (กระบวนการระดมความคิดเห็น), Prototype (การสรา้ งต้นแบบ) - การทดลอง (Testing) ภาคปฏิบตั ิ Workshop การรอบรู้ทางดา้ นธรุ กิจและดจิ ทิ ลั สำหรบั ผปู้ ระกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) แนะนำระบบซอฟต์แวร์ทจ่ี ำเป็นในการทำธุรกิจ - Digital Core - Customer Experience - Employee Experience, Innovation แนะนำ Use Case สำหรบั ผ้ปู ระกอบการเกีย่ วกบั Digital Disruption แบง่ กล่มุ ทำ Workshop โดยมกี ิจกรรม ดงั ตอ่ ไปนี้

39 - ความเขา้ ใจเบ้ืองตน้ เกย่ี วกับ Software ที่จำเป็น รายวิชาท่ี 2 การจัดการลูกค้าสัมพันธ์สำหรับผู้ประกอบการสมัยใหม่ (Next Normal Customer Relationship Management) ภาคทฤษฎี - ความร้เู บ้ืองตน้ เกีย่ วกบั การจัดการลูกค้าสมั พนั ธ์สำหรบั ผ้ปู ระกอบการสมยั ใหม่ - แนวคดิ และหลักการของการจัดการลูกค้าสมั พันธ์ New Normal CRM วา่ ด้วยประโยชน์ของการบริหาร ลกู คา้ สัมพนั ธต์ อ่ องค์กร - หลกั การในการใช้ระบบCRM ลกั ษณะของ CRM - องค์ประกอบของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์เพื่อธุรกิจยุค New Normal อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วยเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า การนำเครื่องเมืองทางดิจิทัลเข้ามาวางการนำกล ยทุ ธ์ทางด้าน CRM ไปประยุกตป์ ฏบิ ัติในองคก์ าร - รูปแบบการสร้างและรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าปัจจบุ ัน ว่าด้วยการสร้างและรักษาความสัมพันธ์กบั ลูกค้า โดยการใช้ฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ (Big Data Analysis) - ดิจิทัลที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหารลูกค้าสัมพันธ์เพื่อธุรกิจยุค New Normal ประกอบด้วยระบบการ จดั การความสัมพันธ์กับลกู คา้ อเิ ล็กทรอนิกส์ E-CRM - ประโยชน์ของการจดั การลกู ค้าสมั พันธแ์ บบดิจทิ ลั ปญั หาในการใช้ดิจิทลั สำหรบั การบรหิ ารจัดการลูกค้า สมั พนั ธ์ ภาคปฏบิ ัติ Workshop Detail : การจัดการลูกค้าสัมพันธ์สำหรับผู้ประกอบการสมัยใหม่ ( Next Normal Customer Relationship Management) แนะนำระบบการจัดการลูกค้าสมั พนั ธ์ SAP C/4HANA - SAP C/4HANA VDO Clip - Power Point - ระบบ SAP S/4HANA แนะนำ Use Case สำหรับผทู้ ี่ใช้ระบบการจัดการลูกคา้ สมั พันธ์ CRM CRM Business Process แบ่งกลมุ่ ทำ Workshop โดยมีกจิ กรรม ดงั น้ี - ความเข้าใจและใชง้ านระบบ CRM เบ่ืองต้น - ระดมสมองระบวุ า่ ขอ้ มลู อยา่ งใดทีอ่ งค์กรของท่านตอ้ งการจากระบบการ - บริหารจดั การลกู คา้ สัมพันธ์ - Presentation รายวิชาที่ 3 การตลาดดิจทิ ัลสำหรบั ผู้ประกอบการยคุ ใหม่ (Next Normal Digital Marketing) ภาคทฤษฎี 1) แนะนำรายวิชา 2) แนวทางการวางแผนการตลาดและแนวโน้มทางด้านดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการแบบวิถีสมัยใหม่ (Hyper Personalization, Conversation Marketing, Content Marketing, Social Media Platform) 3) การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์และการสรา้ งนวตั กรรม I 4) วีดีทศั น์สร้างสรรคเ์ พ่ือการเล่าเร่อื งดิจทิ ัล (Creative VDO for Digital Storytelling)

40 5) การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดเชิงรุกผ่านสื่อสังคม (Proactive Marketing Public Relations on Social Media) 6) เทคนิควิธีการสร้างและการจัดทำรูปแบบธุรกิจออนไลน์โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสม โดยเน้นเนื้อหา ทฤษฎีเพ่อื สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในบทเรยี นและการฝึกปฏิบตั เิ พ่ือนำไปสูก่ ารเป็นผ้ปู ระกอบยคุ ใหม่ ภาคปฏบิ ตั ิ Workshop Detail : การตลาดดิจทิ ลั สำหรับผ้ปู ระกอบการยุคใหม่ (Next Normal Digital Marketing) แนะนำเครอื่ งมือการทำตลาดดิจทิ ัล : Social Media Facebook, YouTube, Instagram, etc แนะนำ Use Case ท่ีใชเ้ ครื่องมอื การตลาดดจิ ทิ ัล แบง่ กลุ่มทำ Workshop โดยมกี จิ กรรม ดังตอ่ ไปนี้ - ความเขา้ ใจและใชง้ าน Social Media - การทำ Content ทางดา้ นการตลาด - Workshop Online Marketing, Webinar - Presentation 5. ระยะเวลาหลักสูตร แตล่ ะรายวชิ าจำนวนละ 10 ช่วั โมง ภาคทฤษฎี จำนวน 3 ช่ัวโมง ภาคปฏบิ ตั ิ จำนวน 7 ช่ัวโมง 6. ช่วงเวลาจดั อบรม เวลา 09.00 น. – 21.00 น. (วันละ 10 ชัว่ โมง) 7. คณุ สมบัติผสู้ มัคร คุณสมบตั ิของผู้สมคั รหลักสูตร Beginner (ระดบั 1) 1. เจา้ ของกจิ การ SME/Startup ตอ้ งการปรบั เปล่ยี นองค์กรสู่องคก์ รดิจทิ ัลแบบเปน็ รปู ธรรมทั้งหมดหรือ บางสว่ น 2. องคก์ รท่ตี ้องการปรบั เปลย่ี นส่กู ารเป็นองคก์ รดิจทิ ลั แบบเปน็ รูปธรรม โดยในองคก์ รต้องมกี ารใช้งาน ดิจิทัลมาแล้วบางสว่ นงานขององคก์ ร 3. มที ักษะการใช้งานคอมพิวเตอรพ์ นื้ ฐาน 4. มคี อมพวิ เตอร์โนต๊ บุคส่วนตัว 5. ตอ้ งยนิ ยอมใหท้ างผจู้ ดั อบรมไดต้ ดิ ตามผลงานจากความรทู้ ี่ไดร้ บั การอบรมไปปรับใช้ในองค์กร 6. สามารถอบรมได้ครบเตม็ เวลาตามหลกั สูตร 8. ชอ่ งทางการสมคั ร Facebook มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์, เวบ็ ไซต์มหาวิทยาลยั 9. ช่องทางประชาสมั พันธ์ Facebook, Line 10. จำนวนท่ีรับสมคั ร 30 คน 11. สถานท่จี ดั อบรม มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

12. ภาค/ี หน่วยงานความร่วมมอื 41 ลำดบั ช่อื หน่วยงานความรว่ มมือ หมายเหตุ 1 อตุ สาหกรรมพัฒนามลู นิธสิ ถาบันพลาสติก 2 บริษัท สุรพล ฟ้ดู ส์ จำกดั มหาชน 3 บริษทั เอกตรงเคมภี ัณฑ์ (1985) จำกดั 4 บริษทั ISS Consulting (Thailand) Ltd 5 บรษิ ัท พนสั แอสเซมบลยี ์ จำกดั 6 บมจ.พที ที ี โกลบอล เคมิคอล 7 บ.เคทไี ทยโลคอลโพรดัคส์ จก. 8 บริษทั ปราโมทฟาร์มไก่ไข่ จำกดั 9 บจก.สนามชัยเสาเข็ม 10 บริษทั มารนี ฟายนฟ์ ดู ส์ จำกัด 11 บรษิ ัท จที ี ออโต้คาร์ จำกดั 12 บจก.ดลิ ิเชยี ส สตอรี่ (ขนมบ้านอ๋มุ ) 13 บรษิ ทั โรงสเี จริญทรพั ย์ จำกัด 14 Centara Sonrisa Residence & Suites Sriracha 15 บริษัท เฮอรเิ ทจ ฮอนด้า ออโตโมบิล จำกัด 16 บริษัท จติ รกรเสรมิ ทรัพย์ลสิ ซิ่ง จำกัด 17 อาทร ฟาร์ม 18 ภณิ ทสุ จำกดั 19 บ.เจ ที โลจิสติกส์ เซอร์วิส จก. 20 บจก.เอม็ เอ็นคอมพวิ ออฟเซท 21 บรษิ ัท เสือ ออรก์ าไนเซอร์ จำกัด 22 น้ำพรกิ เกลอื แม่สาคร 23 พิมพ์พักตร์ 24 บจก. ผลไมแ้ ปรรปู วรพร 25 ห้างห้นุ ส่วนจำกดั อินโี ค 26 Purac (Thailand) Ltd. 27 บจ.ระยองทววี ฒั นา 28 ห้างเพชรบัวสวุ รรณ 29 บรษิ ัทแกว้ เมอื งเพชรขนส่งและการโยธา จำกัด

42 ลำดบั ชื่อหน่วยงานความร่วมมอื หมายเหตุ 30 บรษิ ัท สมบูรณ์แอ๊ดวานซ์เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) 31 บจ.ไฮเทคเกลสเซอร์ 32 บรษิ ทั วัจณสรุ ัตน 33 บริษทั อมรสินเจริญ จำกดั 13. หลักการและเหตุผล รายวิชาที่ 1 การรอบรู้ทางด้านธุรกิจและดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) การจัดทำหลกั สตู รการบรหิ ารจดั การบนฐานวิถีชีวิตผู้ประกอบการสมยั ใหม่ รายวชิ า ความฉลาดทางดจิ ิทัล สำหรับผู้ประกอบการ เป็นผลจากศึกษาและพัฒนาของ DQ institute หน่วยงานที่เกิดจากความร่วมมือกันของ ภาครัฐและเอกชนท่ัวโลกประสานงานร่วมกับ เวิลด์อโี คโนมิกฟอรม่ั (World Economic Forum) ท่มี ุง่ มนั่ ให้เดก็ ๆ ทุกประเทศได้รับการศึกษาด้านทักษะพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพและใช้ชีวิตบนโลกออนไลน์อย่างปลอดภัยด้วย ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยสี มัยใหม่ ความฉลาดทางดิจทิ ลั เป็นกรอบแนวคิดที่ครอบคลุมของความสามารถทาง เทคนคิ ความรู้ความเข้าใจและความคิดทางสังคมท่ีมพี ื้นฐานอยู่ในค่านิยมทางศลี ธรรมที่ช่วยใหบ้ คุ คลท่ีจะเผชิญกับ ความท้าทายทางดิจิทัล ความฉลาดทางดิจิทัล มีสามระดับ 8 ด้าน และ 24 สมรรถนะที่ประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติและค่านิยม โดยบทความนี้จะกล่าวถึงทักษะ 8 ด้านของความฉลาดดจิ ิทัลในระดับพลเมอื งดิจิทลั ซึ่งเป็นความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและสื่อในรูปแบบที่ปลอดภัยรับผิดชอบ และมีจริยธรรม โดยเน้น เนอ้ื หาทฤษฎีเพอ่ื สรา้ งความร้คู วามเข้าใจในบทเรยี นและการฝกึ ปฏิบัติเพอ่ื นำไปสกู่ ารเป็นผปู้ ระกอบยุคใหม่ รายวิชาท่ี 2 การจัดการลูกค้าสัมพันธ์สำหรับผูป้ ระกอบการสมัยใหม่ (Next Normal Customer Relationship Management) การจัดการลูกค้าสัมพันธ์สำหรับผู้ประกอบการสมัยใหม่ (Next Normal Customer Relationship Management) เป็นส่วนหนงึ่ ของหลกั สูตรการบริหารจดั การบนฐานวิถีชวี ิตผปู้ ระกอบการสมยั ใหม่ (New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ประกอบการ ได้แนวคิดใหม่ในการเป็น ผู้ประกอบการสมยั ใหม่ และมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง หลักการของการจดั การลูกค้าสัมพนั ธ์ องค์ประกอบของ การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (New Normal CRM) การสร้างและรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าปัจจุบัน ระบบการ จัดการเทคโนโลยกี บั การบรหิ ารลูกคา้ สัมพนั ธ์ ระบบการจัดการลกู ค้าสัมพนั ธ์ รายวชิ าที่ 3 การตลาดดิจทิ ัลสำหรบั ผูป้ ระกอบการยคุ ใหม่ (Next Normal Digital Marketing) การจัดทำหลักสูตรการบริหารจัดการบนฐานวิถีชีวิตผู้ประกอบการสมัยใหม่ รายวิชา การตลาดดิจิทัล สำหรับผู้ประกอบการยุคใหม่ (Next Normal Digital Marketing) เพื่อให้ความรู้กับผู้ประกอบการด้านธุรกิจ ดิจิทัล กลุ่มวิสาหกิจรายย่อย (Early Stage) กลุ่มรายย่อย (Micro) กลุ่มขนาดย่อม (Small) กลุ่มขนาดกลาง (Medium) และผทู้ ่ีสนใจดา้ นการใช้งานเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั จดั ทำขึ้นเพือ่ ใหผ้ ปู้ ระกอบการได้แนวคิดใหม่ในการเป็น ผู้ประกอบการยุคดิจิทัลและมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการบริหารจัดการด้านการตลาดดิจิทัล ( Digital Marketing) โดยเน้นเนื้อหาทฤษฎีเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจในบทเรียนและการฝึกปฏิบัติเพื่อนำไปสู่การเป็นผู้ ประกอบยคุ ใหม่

43 14. ความตอ้ งการอาชพี นใ้ี นปัจจุบนั และอนาคต รายวิชาที่ 1 การรอบรู้ทางด้านธุรกิจและดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) และรายวิชาที่ 2 การจัดการลูกค้าสัมพันธ์สำหรับผู้ประกอบการสมัยใหม่ (Next Normal Customer Relationship Management) การพัฒนาแรงงานในสถานประกอบการดจิ ิทลั (Digital Workforce Development for Entrepreneur) ต้องมุ่งเน้นการสรา้ งและพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์วัยทำงานให้มีความสามารถในการสรา้ งสรรค์ใช้เทคโนโลยีดิจิทลั อย่างมีประสิทธิภาพในการประกอบอาชีพ รวมถึงการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในบุคลากรภาครัฐ ภาคเอกชน ในทุกสาขาอาชีพ ใหม้ คี วามรู้ความสามารถและความเช่ียวชาญในระดับมาตรฐานสากล เพือ่ รองรบั การ พัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกจิ และสังคมทใี่ ช้เทคโนโลยดี ิจิทัลเป็นปจั จัยหลกั ในการขับเคลื่อน นอกจากการอบรมให้ ความรเู้ พิ่มทกั ษะดา้ นไอทีแล้ว ในหลายประเทศทวั่ โลกรวมถึงสหประชาชาติและยูเนสโก ยังมกี ารสอบวัดมาตรฐาน ความร้คู วามสามารถด้านไอที เปน็ เกณฑส์ ำหรับคัดเลือกบคุ ลากรทมี่ คี ณุ ภาพสำหรบั ยุคดจิ ิทลั ในขณะเดียวกันก็เป็น เสมือนอีกใบเบกิ ทางสู่โอกาสงานและโอกาสความก้าวหน้าและรายได้ท่ีดีกวา่ สำหรับนกั ศกึ ษาจบใหม่และผู้ที่กำลัง มองหาโอกาสงานใหม่ ๆ สำหรับประเทศไทยนั้นต้องอาศัยความร่วมมอื จากทกุ ภาคสว่ น ทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน รวมทั้งภาคบุคคลคนทั่วไป มุ่งเพิ่มคุณค่าและสรา้ งบุคลากรที่มีประสิทธิภาพสอดรับนโยบาย Digital Thailand และ Thailand 4.0 เพื่อนำประเทศไทยไปสกู่ ารเป็นดิจิทลั อยา่ งเตม็ รูปแบบ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการประกอบธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคตจะยิ่งมีความจำ เปน็ มากเนอ่ื งจากทำให้การดำเนินงาน การติดต่อส่ือสาร การประสานงาน มคี วามรวดเร็วข้ึน สง่ ผ่านข้อมูลได้อย่าง แมน่ ยำ อำนวยความสะดวกทง้ั ผปู้ ระกอบการและผบู้ รโิ ภค ผทู้ ่ีมคี วามรู้และทกั ษะด้านดจิ ทิ ลั จะไดเ้ ปรียบและจะเป็น ทีต่ ้องการของตลาดแรงงานเป็นอยา่ งมาก รายวชิ าท่ี 3 การตลาดดิจิทลั สำหรบั ผปู้ ระกอบการยคุ ใหม่ (Next Normal Digital Marketing) ธุรกจิ ดจิ ทิ ลั เป็นธรุ กิจทม่ี ีอตั ราการเติบโตสูง ดว้ ยการมีนวตั กรรมและระบบเทคโนโลยที มี่ คี วามทนั สมัยมาก ยิ่งขึ้นประกอบกับการแข่งขันที่รุนแรงขึ้นส่งผลให้ธุรกิจและผู้ประกอบการต้องปรับตัวนำเทคโนโลยีมาใช้ในการ ดำเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์และพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปในเรื่องของการรับรู้สื่อ การ ตัดสินใจซื้อสินค้า โดยที่มีการพัฒนาแพลตฟอร์มใหม่ ๆขึ้นมาเป็นแม่แบบในการดำเนินธุรกิจโดยอาศยั เครื่องข่าว ภาคคี วามร่วมมือของหน่วยงานอ่ืน ๆ ในการดำเนินธรุ กิจ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการประกอบธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคตจะยิ่งมีความจำ เป็นมากเน่อื งจากทำให้การดำเนินงาน การตดิ ต่อส่ือสาร การประสานงาน มคี วามรวดเรว็ ข้นึ ส่งผา่ นข้อมูลได้อย่าง แมน่ ยำ อำนวยความสะดวกทงั้ ผู้ประกอบการและผู้บรโิ ภค ผู้ทม่ี คี วามรแู้ ละทกั ษะด้านดิจิทลั จะไดเ้ ปรียบและจะเป็น ท่ีตอ้ งการของตลาดแรงงานเปน็ อย่างมาก 15. คำอธบิ ายหลกั สูตร รายวชิ าท่ี 1 การรอบร้ทู างดา้ นธุรกจิ และดิจิทัลสำหรบั ผปู้ ระกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) Digital Disruption คือ การเปลี่ยนแปลงแบบฉับพลันทันทีด้วยดิจิทัล ซึ่งขยายความได้ว่า เป็นการ เปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีดิจิทลั ท่ีพัฒนาขึ้นถึงจุดท่ีสรา้ งนวัตกรรมใหม่ให้เกิดขึ้น ซึ่งเป็นได้ท้ังผลิตภัณฑ์ แพลตฟอรม์ หรอื โมเดล และเกิดผลกระทบตอ่ มูลค่าของสนิ คา้ บริการ หรอื ผลิตภณั ฑ์เดิมท่ีมีในตลาด รายวชิ า การ รอบรู้ทางด้านธุรกิจและดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) เป็น สว่ นหนึ่งของหลักสูตรการบริหารจัดการบนฐานวิถีชีวิตผู้ประกอบการสมยั ใหม่ (New Normal Management for

44 Entrepreneur Lifestyles) จดั ทำข้นึ เพ่ือให้ผู้ประกอบการ ได้แนวคิดใหม่ในการเป็นผูป้ ระกอบการสมัยใหม่ และมี ความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีสำหรับผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล ( Digital Disruption Technology for Entrepreneur) และทักษะความเข้าใจทางด้านดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการเบื้องต้น (Digital Literacy for Basic Entrepreneur) การคิดเชิงออกแบบสำหรับผู้ประกอบการ ( Design Thinking for Entrepreneur) Empathize (การเข้าใจกล่มุ เปา้ หมายอย่างลกึ ซงึ้ ), Define (การตงั้ กรอบปัญหาหรือโจทย์) Ideate (กระบวนการระดมความคิดเหน็ ), Prototype (การสร้างต้นแบบ) การทดลอง (Testing) วัตถปุ ระสงคข์ องบทเรยี น 1. มีความรู้ความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีสำหรับ ผปู้ ระกอบการในยคุ ดจิ ทิ ัล (Digital Disruption Technology for Entrepreneur) 2. มีความรู้ความเข้าใจความสำคัญของทักษะความเข้าใจทางด้านดิจิทัลสำหรับผูป้ ระกอบการเบื้องต้น (Digital Literacy for Basic Entrepreneur) 3. มีความรู้ความเขา้ ใจการคดิ เชงิ ออกแบบสำหรบั ผูป้ ระกอบการ (Design Thinking for Entrepreneur) Empathize (การเข้าใจกลุ่มเป้าหมายอย่างลึกซึง้ ), Define (การตั้งกรอบปัญหาหรือโจทย์) Ideate (กระบวนการ ระดมความคดิ เห็น), Prototype (การสร้างตน้ แบบ) การทดลอง (Testing) ขอบเขตบทเรยี น ตอนที่ 1 การเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีสำหรับผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล ( Digital Disruption Technology for Entrepreneur)