Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานกิจการ ประจำปี 2565

รายงานกิจการ ประจำปี 2565

Published by Sahakorn Pho, 2023-01-24 06:38:33

Description: รายงานกิจการ ประจำปี 2565
สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จำกัด

Search

Read the Text Version

7. นางละอองศรี จนั ทร์ธรรม 8. นาง ณฐั ยาน์ เม่นแดง 9. นายจิรวฒั น์ พิจารณ์ 12. นางประคอง กาวัน 10. นางสาวพรรษมน นนบญุ 11. นาง อรพนิ วนิ ซ์ 15. นายชลภัทร์ เพชรคง 18. นางสาวศิรลิ กั ษณ์ กนกเพชร 13. นายธง สงั วรกจิ 14. นางสาวกชพร วรรณพราหมณ์ 21. นางสาวสุกญั ญา แสงเนตร 24. นายธนภาค ธรรมโชติ 16. นายพชิ ติ เทยี นสมจติ ร 17. นางสาวสุวรรณา ขนั เคน 27. นายวิชยั ศรสี วสั ด์ิ 30. นายสพุ รรณ ทาโท 19. นางสาวนงนชุ ดําดง 20. นางบานเยน็ มิศิลา 33. นางสาวนุชจรี สมดี 22. นางเทียนมณี เปรมศรี 23. นางสาวอุมาพร ศรพี าลา 25. นางสาวปราณยี ์ ทพิ ย์สุข 26. นางสาวศริ ลิ ักษณ์ ไชยองอาจ 28. นายศิวกร ไชยนาม 29. นางพัฒนม์ ณี แทง่ หอม 31. นายนติ ธิ ร ไชยนาม 32. นางสาวฤทยั ทพิ ย์ พรเอยี่ ม 34. นางประพาภรณ์ เฉลิมเมือง 35. นางสาวกนกวรรณ ไพรดี สสอ.นาดี 1. นายชชั วาลย์ สรอุบล 2. นางสาวจนิ ดาพร หสั ดิน 3. นางจุไรพร โตเตม็ 4. นายนสิ ิต ศรีพุ่ม 5. นายวิรยิ ะ เทยี มครู 6. นางสาวสภุ าพร มงคลหมู่ 7. นางสมบูรณ์ หงษา 8. นางสาวกมล ตรีเมฆ 9. นางสาวรงุ่ ทิวา ฮวดหลี 10. นายศกั รนิ ทร์ วันสมบัตเิ จรญิ 11. นางสาวปารชิ าติ คงเจริญ 12. นางสาวสุนนั ทา ธรรมวิพากย์ 13. นางสาํ รวม ปน่ิ ทะเล 14. นางสาวชุลพี ร โสตะการ 15. นางสาวปภาวรี ์ พันธส์ ขุ 16. นางสาววนั ทนา นาคแดง 17. นายอานนท์ เบ้าโชติ 18. นางสาวปณุ ยนุช สละชวั่ 19. นางสาวธนัญญา สรุ ิวงษ์ 20. นางสาววิพา ทองเสมา 21. นางสาวพชั รพร อ่อนอทุ ยั 22. นายณัฐพงษ์ ราชสวุ รรณ 23. นางนรศิ รา สรอุบล 24. นางสาวทิพรส เสาะดนั 25. นายเหรยี ญชัย ปงั ดํารงค์ 26. นางสาวสภุ าพร คําลอื 27. นางสาวนภิ าวรรณ ถิตย์รศั มี 28. นางสาวธญั ญารัตน์ ประชากรณ์ 29. นางภณั ฑริ า ไชยชนิ 30. นายณัฐพล กองขนั ธ์ 31. นายประวทิ ย์ งอนกิ่ง 32. นางสาวอาํ นวยพร เพยี วโว 33. นางสาวรงุ่ รตั น์ ไทยส่วย 34. นายจกั รพัฒน์ ย่งิ สวสั ดิ์ 35. นางสาวจรสั ศรี สอื่ ตระกูล รพ.นาดี 2. นางสาวเยาวเรศ นาคประเสริฐ 3. นางสาวกัญญาพัชร ชา่ งกล 1. นางพรพิมล ชดเชย 5. นางวันดี อุทานวรพจน์ 4. นายบญุ ศักด์ิ พรมเดน 8. นายวรพล บัวเช้ือ 6. นางสาวเจนจริ า คําหล้า 7. นางวไิ ลรตั น์ โยธาพนั ธ์ 11. นายฉตั รชัย มัน่ คง 10. นางสาวสุวิมล กองคํา 14. นางอารีรตั น์ พพิ ธิ มโนรมย์ 9. นางพรนรา กอ้ นสันทดั 13. จ.ส.ต.มารตุ แจ้งประดิษฐ์ 17. นางภทั รวดี จนั ทรน์ าค 16. นางสาวรววี รรณ ภาพเจรญิ 20. นางสาวกา้ นทอง พนั ธพ์ งษ์ 12. นางสาวหยาดอรุณ กจิ สวน 19. นางสาวมทั รยี า บษุ ทพิ ย์ 23. นายศภุ กร ยง่ิ ยงค์ 22. นางสาววรรณดี คําไกร 26. นางสาวอุมาพร โนนอนิ ทร์ 15. นางเพยี งใจ ถาวรคณุ 25. นางสาวทตุ ยิ าภรณ์ กอ้ นสนั ทดั 18. นางสาวสนุ ีย์ สุขศรวี งษม์ ัน่ 21. นางสกุ ัญญา สอนสี 24. นางสาวแสงดาว ชาลแี ดง 27. นางสาวณัฐกฤตา ฝน้ั ตา่ งเชอ้ื รพ.นาดี (ลกู จา้ งประจา) 1. นางศิรพิ ร เจียงรี 2. นายเอกชัย รัตนเดชโสภา 3. น.ส.จินตนา ฉนั ทไพบลู ย์ รพ.นาดี (สมทบ) 1. นางอรนชุ พิบลู รัตน์ 2. นายบรรลอื ศกั ดิ์ อทุ านวรพจน์ 3. นายธีรชัย รตั นเดชโสภา 6. นายเอนกพงศ์ พบิ ูลรัตน์ 4. นางเฉลยี ว รตั นเดชโสภา 5. นางสุดใจ มีอนนั ต์ 9. นางสาวสิริบรู ณ์ บวั จาํ ปา 12. นายจักรภพ ชดเชย 7. นายสมภพ พพิ ิธมโนรมย์ 8. นางสาวทานตะวัน รัตพันธุ์ 15. นายนที มานะกรดู 10. นางสาวจริ ฐั ตกิ าล ศรีสวสั ด์ิ 11. นายสมเจตน์ จันทรส์ วา่ ง 13. นายฉนิ นรณ หอมอ้ม 14. นางสาวเบ็ญจมาศ คาํ ออ้

16. นางบุญจนั ทร์ ไมจา้ 17. นางสาวปฐมพร รัตนเดชโสภา 18. นางสาวณชั มญิ แมน่ ปนื ขา้ ราชการบานาญ พรหมวาศ 2. นางสมยงค์ บญุ เพญ็ 3. นายภาคภมู ิ อินทรคลา้ ย 1. นางอุทุมพร 4. นางจันทรพ์ มิ พ์ ภริ มย์ทอง 5. นายสมนึก ชัยเสนา 6. นางธนวนั รัตนภานพ 7. นางอรพนิ 10. นายดีเซล็ ประเสรฐิ ศรี 8. นายบญุ ยนื นวลจันทร์ 9. นางศรีสุรางค์ จรกิง่ 13. นายครรชติ 16. นางสมพร วงษ์อุดม 11. นางกรองแก้ว มเี ชาว์ 12. นางวนดิ า จลุ เชาวน์ 19. นางถนอม 22. นางปราณีต ใจยงค์ 14. นางสรุ ยี ์ ครฑุ คง 15. นายคํารณ ชาวกณั หา 25. นายจุรินทร 28. นางวลยั พลชู 17. นางอมรพรรณ คงพิกุล 18. นางบษุ บงก์ ชาวกัณหา 31. นางสมภพ 34. นายพงศทร จวงอนิ ทร์ 20. นายพฒุ ิพงศ์ ไกรทอง 21. นายสายยนต์ กองคาํ 37. นายเจรญิ ศกั ด์ิ 40. นางจารุวรรณ สังขท์ อง 23. นางพนิษฐา จันทรา 24. นางสมรวย ประกอบทรัพย์ 43. จ.อ.ปรชี า 46. นายละออ ทองออ่ น 26. นางนราพร ภาคบุตร 27. นางนติ ยา บรุ ีพงษ์ 49. นส.กาญจนา 52. นายอดศิ กั ดิ์ วงค์ษา 29. นางวไิ ลวรรณ คุ้มทอง 30. นายประเสริฐ บญุ นาค 55. นางเยาวรตั น์ 58. นางอารรี ตั น์ สมบูรณย์ งิ่ 32. นางศรสี ตรี อาฒยะพันธุ์ 33. นางสาวกาญจนา ประธานกุล 61. นางพลู ทรัพย์ 64. นายประสทิ ธ์ิ บวั แยม้ 35. นางกาญจน์ศริ ิ สขุ สันต์ 36. นางบณุ ยนชุ วรเลศิ 67. นางพรทิพย์ 70. นางมณวี รรณ จันทรธ์ รรม 38. นายสายชล โพธ์ศิ รี 39. นางสาวดารินทร์ เพม่ิ พลู ศกั ดิ์ 73. นายสมหมาย 76. นายชยั กลุ เผ่าพดั 41. นางวไิ ลรตั น์ โรจนสกลุ 42. นายบรรจง ขันโท 79. นายวัฒนา 82. นายสุพร บวั ป้ัน 44. นางเจยี มใจ ซื่อตรง 45. นางสายฝน กฤษณีไพบูลย์ 85. นายสมศักด์ิ 88. นางอุทกิ า เติมวเิ ศษ 47. นางเรณู ภูสุข 48. นางกุลนาถ กําลงั ดี 91. นางเพญ็ สินี 94. นางชชั รนิ ทร์ เฟ่อื งทรัพย์ 50. นางประไพ คุ้มศกั ด์ิ 51. นายจรินทร์ กลุ พัฒนศรี 97. นายสันติ จรก่ิง 53. นางรําไพ อรรถพิจารณ์ 54. นางปราณี ทองสีจัด 100. นางมาลา 103. นางภทั รนิ ทร์ ปัญญาพืช 56. นางสชุ นั ยามาศ ศรแสง 57. นายวิหาร ผาวนั ดี 106. นางสาวนิตยา 109. นางพรทิพย์ จาํ ปา 59. นายเสถยี ร บญุ ศรัทธา 60. นางสมพร เชื้อสงฆ์ 112. นายชมุ พร 115. นางสาวอโนชา พยงุ ธรรม 62. นางกาญจนา ยทุ ธนไพบลู ย์ 63. นางศรีนวล หยุ้ น้ํา 118. นางบุญสม 121. นางสนุ ันทา ประดิษฐท์ รพั ย์ 65. นางสริ ณิ ฐั กันทิพย์ 66. นางชุลี สายบัว 124. นางนงลกั ษณ์ จนั ทรบ์ วั 68. นางศันสนีย์ ศลี า 69. นางสาวกาญนา นาดี กองศกั ดิ์ดี 71. นางมาลี แช่ม 72. นายสิทธิ เจริญยิง่ ประเสรฐิ 74. นางยุพิน ทววี งษ์ 75. นางศภุ รา สุวรรณ ฤทธ์มิ ังกร 77. นางชุตมิ า คุ้มกาญจน์ 78. นายสุเทพ เสงยี่ มศกั ด์ิ แสงทอง 80. นางสาวปรีดาภรณ์ สงิ หะ 81. นางนงนชุ เช้าเจริญ จุ้ยสวสั ด์ิ 83. นางสวุ รรณี รอดบุญมา 84. นายอารุณ กาวัน ศรีประยูรวงษ์ 86. นายชุมพล บญุ ภกั ดี 87. นางฐานติ า บัวระยา้ วงษว์ รรณดี 89. นางสาวภาวดี สุกใส 90. นางอทุ ัยวรรณ ดชี ้อย หอมจนั ทร์ 92. นางศศิวาส กิจสวน 93. นายสุพศิ จนิ ตนาวงษ์ ชวดบัว 95. นางมะลิ เหล่าธรรมทีป 96. นางพิไลวรรณ พงษ์ประยูร สขุ สมบตั ิ 98. นางปราณี งามประหยดั 99. นายวลั ลภ พงษ์ประยรู ทองศรี 101. นายประพจน์ ฤทธเ์ิ จริญ 102. นางพรสวรรค์ โคศลิ า เลขาพันธ์ 104. นางชนาธปิ ฤทธิ์เจริญ 105. นางทวน จา่ งอยู่ ฉายวฒั นะ 107. นางลดั ดา จินตนาวงษ์ 108. นางเกศสดุ า ชนิ สร้อย พิมพว์ ฒั น์ 110. นางภรณี อดุ มทรพั ย์ 111. นายสมชาย เบ้าเจรญิ เงนิ ทอง 113. นางวรางคณา เนมยี ะ 114. นางดรุณี เงาทอง งามสอน 116. นางชนฏั ฐา งามขาํ 117. นางกมลรตั น์ อุตตรนคร จ่างอยู่ 119. นางอสิ รภรณ์ สิงทะยม 120. นางสาววารณุ ี แสงรตั นโพธส์ิ ุข ทรงอดุ มศกั ด์ิ 122. นายจํานงค์ หมายทรัพย์ 123. นางศริ ิวรรณ พนู เพ่มิ สุขสมบตั ิ เดชสภุ า 125. นายสมคดิ บวั ขาว 126. นางสมสดุ า คาํ วงษ์

127. นางทองมา ศรีสขุ 128. นายคมศักด์ิ โพธศ์ิ รี 129. นางรชั นี คาํ แหง 130. นางกัณฑมิ า โภคา 131. นายพโยม สงบกิจ 132. นางกนกวรรณ คาํ พอง 133. นายรังสรรค์ เชาว์เจรญิ 134. นางจนิ ตนา จวนเจรญิ 135. นางบุญตา สุประเพียร 136. นายสมชาย บญุ เพ็ญ 137. นางบุญเหลือ โกศลจติ ร 138. นางปยิ วรรณ์ ประเสริฐสขุ นิธิ ขา้ ราชการบานาญ (สมทบ) ผาวันดี 3. นายพันเสน วรเลศิ ทพิ นันท์ 6. นางละเอยี ด ฤทธิม์ ังกร 1. นางประทวน ใจยงค์ 2. นางสมปอง กาํ ลงั ดี 9. นายสุรวชิ ญ์ เผ่าพัด 5. นายเอกสิทธ์ิ เงนิ ทอง 12. นางสาวอนาวดี บวั ระยา้ 4. นางประถมพร แสงทอง 8. จ.ส.อ.ดํารงศักด์ิ รอดบุญมา 15. ร้อยตรดี าํ เนนิ หนองแสง 11. นางแน่งน้อย มงุ่ สันติ 18. นายสมบญุ มีเชาว์ 7. นางนะที สุขสมบตั ิ 14. นายธรรมนติ ย์ พมิ พ์วัฒน์ 21. นายวรพันธ์ ประเสริฐสขุ นธิ ิ 17. นายแชมป์ 10. นายสายนอ้ ย แซโ่ ง้ว 20. ร.ต.ท.ศลิ ปช์ ัย ธัญญรกั ษ์ 3. นส.สุธาทิพย์ ทองเล็ก 13. นายชอบ วงคษ์ า 16. นายสุเทพ พรหมวาศ 19. นายปยิ ะชาติ คงพิกลุ ขา้ ราชการบานาญ รพ.กบินทรบ์ ุรี 1. นางสาวพจนาถ จติ จาํ นงค์ 2. นางเพญ็ สุรศั ม์ิ 4. นางสาคร สามารถ ข้าราชการบานาญ รพ.กบินทร์บรุ ี (สมทบ) 1. นายมาณพ ธัญญรกั ษ์

รายชื่อคณะกรรมการดาเนินการทไ่ี ด สหกรณอ์ อมทรพั ยส์ ชดุ ท ท่ี ชอ่ื -นามสกุล ตาํ แหนง่ โบนสั 1 *นายสรุ พล มัน่ คง ประธานกรรมการ 43,618.19 2 *นายบุญยนื นวลจนั ทร์ รองประธานกรรมการ 1 27,496.96 3 นายสายชล โพธิศรี รองประธานกรรมการ 2 26,786.90 4 นางสาวศริ ทิ ิพย์ ละออปกั ษณิ กรรมการและเหรัญญิก 26,181.93 5 นางรุ่งทพิ ย์ ทวยี ศ กรรมการและเลขานกุ าร 26,181.93 6 นายณฐั พงษ์ ราชสุวรรณ 24,866.90 7 นายบญุ ศกั ดิ์ พรมเคน กรรมการ 25,221.93 8 *นางสุชญั ญา บุญพรมออ่ น กรรมการ 24,866.90 9 นายเรอื งรฐั เจริญพร กรรมการ 24,866.90 10 นายประสาร รู้รักษ์ กรรมการ 24,866.90 11 นายณฐั พงษ์ พลู ทรัพย์ กรรมการ 24,866.90 12 *นายฉัตรมงคล มงั คะกลุ กรรมการ 24,866.90 13 น.ส.จิรารตั น์ จํารญู กรรมการ 24,866.90 14 *นายอนุวตั สายคํามาตร กรรมการ 24,866.90 15 *นางพเยาว์ อมุ้ มีเพชร กรรมการ 25,576.96 16 นางอทุ ุมพร พรหมวาศ กรรมการ 35,000.00 ผจู้ ัดการ 435,000.00 รวม ที่ ช่อื -นามสกลุ ตาํ แหนง่ คา่ ตอบแทน ทีป่ รึกษากิตตมิ ศกั ด์ิ 1 นายแพทย์สุรินทร์ สืบซ้งึ 30,000.00 รวม 30,000.00 หมายเหตุ * เป็นประธานและกรรมการฯ ชุดใหม่ ท่ียงั ไมไ่ ดร้ บั การจดั สรรโบนสั

ภาคผนวก 2 ด้รับคา่ ตอบแทนทเี่ ป็นตวั เงินประจาปี 2565 สาธารณสุขปราจนี บรุ ี จากดั ที่ 27/2565 ค่าตอบแทนกรรมการ คา่ เบย้ี ประชมุ คา่ พาหนะ คา่ ลงทะเบียน ค่าตอบแทนท่ี รวมเปน็ เงินท้งั สิ้น อบรม มิใชเ่ ป็นเงนิ 12,000.00 17,500.00 - 74,388.19 11,700.00 7,700.00 - 1,270.00 48,166.96 15,000.00 - 1,270.00 43,056.90 15,400.00 - - 1,270.00 42,851.93 13,400.00 - - 1,270.00 42,051.93 11,000.00 1,200.00 - 1,270.00 37,736.90 16,000.00 600.00 - 1,270.00 43,091.93 11,000.00 600.00 - 1,270.00 37,136.90 18,600.00 - - 1,270.00 44,736.90 16,600.00 - - 1,270.00 42,736.90 19,000.00 - - 1,270.00 45,136.90 16,200.00 - - 1,270.00 42,336.90 14,400.00 - - 1,270.00 40,536.90 18,400.00 - - 1,270.00 44,536.90 10,000.00 - - 1,270.00 36,846.96 - (online) 1,270.00 36,270.00 - - - 1,270.00 701,620.00 218,700.00 27,600.00 20,320.00 รวมเป็นเงินท้งั ส้ิน ค่าตอบแทนท่ีปรึกษากิตติมศกั ด์ิ 30,000.00 คา่ เบี้ยประชุม คา่ พาหนะ คา่ ลงทะเบยี น ค่าตอบแทนท่ี 30,000.00 อบรม มใิ ชเ่ ป็นเงนิ -- - -- - - -

ภาคผนวก 3

คานา การพัฒนาสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด ที่ผ่านมาได้อาศัยแผนยุทธศาสตร์ เพื่อ พัฒนาสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด โดยเคร่ืองมือในการพัฒนาแผนกลยุทธ์ในรอบปีท่ีผ่าน มา แต่แผนดังกล่าวเป็นแผนระยะยาว (2561 - 2565) และเม่ือส้ินสุดแผนฯ 5 ปีท่ีแล้ว สหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด จึงต้องมาทบทวนและปรับปรุงแผน ให้มีความสอดคล้องกับสภาพการ เปล่ียนแปลงของโครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคม ดังนั้น สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด จึงได้ ทําการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร และปรับปรุงเนื้อหาบางส่วนจากแผนฉบับเดิม และจัดทาํ ขึ้นใหม่เป็น “แผนยุทธศาสตรส์ หกรณอ์ อมทรพั ย์สาธารณสขุ ปราจนี บุรี จาํ กดั ” พ.ศ.2566 ฉบบั น้ีข้ึน หวงั เป็นอย่างย่ิงว่าแผนยทุ ธศาสตรส์ หกรณอ์ อมทรพั ย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด พ.ศ.2566 - 2570 ที่จัดทําขึ้นน้ี จะเป็นกรอบทิศทางและแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจนให้กับสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุข ปราจนี บุรี จํากัด และทาํ ใหส้ หกรณ์ออมทรพั ยส์ าธารณสุขปราจนี บุรี จํากดั มกี ารพฒั นาไปสูเ่ ปูาหมายท่ีตั้งไว้ใน ระยะยาวต่อไป นายสรุ พล ม่นั คง ประธานคณะกรรมการดําเนนิ การ ชุดที่ 27/2565 สหกรณอ์ อมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี

สารบญั หนา้ เรื่อง 1 7 บทท่ี 1 บทนํา 10 บทที่ 2 ผลการดําเนินงาน 14 บทท่ี 3 การวิเคราะหอ์ ัตราส่วนทางการเงิน 16 บทที่ 4 การวเิ คราะหป์ จั จยั สภาพแวดล้อม บทท่ี 5 วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ กลยทุ ธ์ และโครงสร้างองค์กร 19 บทท่ี 6 แผนกลยทุ ธ์ 23 แผนพฒั นาสหกรณอ์ อมทรพั ย์สาธารณสุขปราจีนบรุ ี จาํ กดั บทท่ี 7 การควบคุม กํากับ ติดตามและประเมินผล

บทท่ี 1 บทนา วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื กําหนดวสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ กลยทุ ธ์ และเปาู หมายของสหกรณ์ 2. เพอ่ื เปน็ กรอบและทศิ ทางในการบรหิ ารจดั การสหกรณ์ในระยะเวลา 5 ปี 3. เพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการดาํ เนินงานของสหกรณใ์ ห้กา้ วทันตอ่ การเปลยี่ นแปลง 4. เพอ่ื พัฒนาสหกรณ์ให้มคี วามมัน่ คง ย่งั ยืนและพร้อมกา้ วสู่มาตรฐานสากล เป้าหมาย สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด มีและใช้แผนยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการแผน ยุทธศาสตร์ สามารถปรับเปล่ียนได้ตามสภาพเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี แผนยุทธศาสตร์สามารถ ตอบสนองความต้องการของสมาชกิ โดยยังคงยดึ มนั่ ในอดุ มการณ์ หลักการสหกรณ์ และวธิ ีการของสหกรณ์ อุดมการณ์สหกรณ์ คือ “ความเช่ือร่วมกันท่ีว่าการช่วยตนเองและการช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามหลักการสหกรณ์ (หลัก สหกรณ์ 7 ขอ้ ) จะนําไปสูก่ ารกินดี อยูด่ ี มคี วามเป็นธรรมและสันติสขุ ในสงั คมฯ หลักการสหกรณ์ หลักการท่ี 1 การเปน็ สมาชิกภาพโดยเปิดกว้างตามความสมัครใจ (Voluntary and Open Membership) หลกั การที่ 2 การควบคมุ โดยสมาชิกตามหลกั ประชาธิปไตย (Democratic Member Control) หลกั การที่ 3 การมสี ่วนร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก (Member Economic Participation) หลกั การที่ 4 การปกครองตนเองและความเปน็ อสิ ระ (Autonomy and Independence) หลกั การท่ี 5 การศึกษา ฝกึ อบรมและสารสนเทศ (Education Training and Information) หลกั การท่ี 6 การรว่ มมือระหวา่ งสหกรณ์ (Cooperation Among Cooperatives) หลักการท่ี 7 การเอ้ืออาทรต่อชุมชน (Concern for Community) วิธกี ารสหกรณ์ คือ การนําหลักการของสหกรณ์มาประยุกต์ใช้ ในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อ ประโยชนข์ องมวลสมาชิกและชมุ ชน โดยไมล่ ะเลยหลักการธุรกจิ ท่ดี ี วธิ ีการดาเนินงาน 1. คณะกรรมการฯ ผ้ตู รวจสอบกิจการ และฝุายจัดการ ประชุมยกร่างแผนยุทธศาสตร์ 2566 - 2570 และแผนปฏิบตั กิ าร ประจําปี 2566 รว่ มกันพจิ ารณาและกําหนดประเด็นท้าทาย กําหนดกลยุทธ์ ตัวชี้วัด (Key Performance Indicator) เปูาหมายของแต่ละเปูาประสงค์และโครงการกิจกรรมท่ีจะทําให้บรรลุตาม เปูาหมายและตัวชว้ี ัด 2. เสนอ(ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (2566 - 2570) และแผนปฏิบัติ พ.ศ.2566 ต่อที่ประชุมใหญ่ สามญั ประจําปี 2566 เพอ่ื รับฟังขอ้ คิดเห็นเพิม่ เติม และพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ 3. เผยแพร่แผนยทุ ธศาสตร์สหกรณฯ์ พ.ศ.2566 - 2570 และแผนปฏบิ ัตกิ าร ปี 2566 ฉบับสมบูรณ์ให้ สมาชกิ ได้ทราบ

2 4. ขบั เคลื่อนแผนไปสกู่ ารปฏบิ ตั แิ ละตดิ ตาม ควบคุม กาํ กบั ประเมินผลการดาํ เนินงานตามแผนฯ ในท่ี ประชมุ คณะกรรมการดาํ เนินงานทุกเดือน 5. นําเสนอ สรปุ ผลการดําเนนิ งานในที่ประชุมใหญส่ ามัญประจาํ ปี

3 วิธกี ารจดั ทาแผนกลยุทธ์และกระบวนการจดั ทาแผนยุทธศาสตรข์ องสหกรณ์ กระบวนการจดั ทาํ แผนกลยุทธ์ของสหกรณ์ มีข้ันตอนของกระบวนการจัดทําแผนกลยุทธ์ ซ่ึงวิเคราะห์ ปัจจัยสภาพแวดล้อม โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลขั้นปฐมภูมิและข้ันทุติยภูมิ การมีส่วนร่วมของผู้ที่เก่ียวข้องใน การสร้างและกาํ หนดวิสัยทัศน์ ภารกจิ กลยุทธ์ และแผนกลยุทธ์รว่ มกนั การวเิ คราะหป์ จั จยั สภาพแวดลอ้ ม การเก็บรวบรวมข้อมลู ปฐมภูมิจากสมาชกิ การเก็บรวบรวมข้อมลู ทุติยภูมิ และผเู้ กย่ี วข้อง การสร้างวสิ ยั ทัศนร์ ว่ มกัน การกาํ หนดวสิ ัยทัศน์ ภารกจิ กลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ กระบวนการจัดทาแผนกลยุทธส์ หกรณ์ออมทรพั ยส์ าธารณสขุ ปราจีนบรุ ี จากดั

4 สถิติข้อมูลยอ้ นหลงั สหกรณ์ สมาชิก ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลสมาชิกย้อนหลงั ปี 2561 - 2565 ปี ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 รายการ สมาชิก 1,040 1,079 1,116 1,134 1,220 ยกมา 61 61 53 111 46 เข้าใหม่ 17 22 29 24 31 ลาออก 52 6 1 3 ถงึ แก่กรรม 1,079 1,116 1,134 1,220 1,232 คงเหลอื สมาชกิ สมทบ 166 193 308 368 343 ยกมา 59 133 83 51 40 เข้าใหม่ 31 18 23 76 36 ลาออก 1- - - 1 ถึงแก่กรรม 193 308 368 343 346 คงเหลอื 1,272 1,424 1,502 1,563 1,578 รวมสมาชกิ ทั้งส้นิ ทุนเรือนหุ้น ตารางท่ี 2 แสดงขอ้ มูลทนุ เรอื นหุน้ 5 ปยี ้อนหลัง (2561 - 2565) รายการ ปี ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ยกมา 347,441,630 406,430,880 456,733,460 494,947,860 530,575,600 ถอื หนุ้ เพิม่ 67,532,720 59,087,610 52,475,560 45,848,500 41,258,330 ถอนคนื 8,543,470 8,785,030 14,261,160 10,220,760 11,198,360 คงเหลือ 406,430,880 456,733,460 494,947,860 530,575,600 560,635,570 *ในปี 2565 ชว่ งเดอื นพฤษภาคมได้มีการเปล่ียนแปลงการถือห้นุ รายเดอื นของสมาชิก จากอตั ราร้อยละ 5 ของ เงนิ ได้รายเดือน เปน็ ถือห้นุ รายเดอื นอัตราร้อยละ 3 ของเงินได้รายเดือน แต่ไมเ่ กิน 3,000 บาทต่อเดอื น เงนิ รับฝากสมาชกิ ตารางท่ี 3 แสดงข้อมลู เงินรับฝากจากสมาชิก 5 ปียอ้ นหลงั (2561 - 2565) ปี ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 รายการ ยกมา 50,183,623.99 70,034,597.06 101,610,124.54 114,905,686.04 131,604,807.03 รับฝาก 41,067,230.65 46,548,210.87 34,167,436.90 33,280,930.30 21,215,527.48 ถอน 21,216,257.58 14,972,683.39 20,871,875.40 16,581,809.31 17,135,190.16 คงเหลอื 70,034,597.06 101,610,124.54 114,905,686.04 131,604,807.03 135,685,144.35

5 เงนิ ใหก้ ขู้ องสมาชิก ตารางท่ี 4 แสดงขอ้ มลู เงนิ ให้กแู้ กส่ มาชกิ 5 ปียอ้ นหลงั (2561 - 2565) ปี ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 รายการ ยกมา 492,322,218.92 100,589,588.34 58,440,381.67 641,233,569.27 702,393,859.01 ใหก้ ู้ 298,532,578.44 332,443,543.32 839,978,096.76 323,754,327.62 300,842,567.50 รับชําระ 690,265,209.02 374,592,749.99 257,184,909.16 262,594,037.88 269,291,986.23 คงเหลอื 100,589,588.34 58,440,381.67 641,233,569.27 702,393,859.01 733,944,440.28 สวัสดิการและทุนสงเคราะห์สมาชิก ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลทนุ สวัสดิการและทุนสงเคราะห์สมาชิก 5 ปี ยอ้ นหลงั (2561 - 2565) ปี ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 รายการ 1.สวสั ดิการวันเกิดสมาชิก 20,200 53,500 144,800 152,800 149,600 2.สวสั ดกิ ารสาํ หรบั สมาชิกผ้เู ป็นโสด - - 20,000 6,000 - 3.สวสั ดกิ ารเพอ่ื การสมรส 10,000 7,000 4.สวสั ดิการเพอ่ื การอปุ สมบท 12,000 12,000 1,000 2,000 9,000 5.สวัสดกิ ารเพอ่ื รับขวญั ทายาทสมาชิก 4,000 1,000 18,000 10,000 - 6.สวัสดิการเย่ยี มไข้ 14,000 19,000 - เยยี่ มไขส้ มาชกิ 76,000 10,000 - เยยี่ มไข้บคุ คลในครอบครัว 81,000 147,000 162,000 140,000 135,840 20,000 108,000 181,000 7.สวัสดิการสมาชิกกรณที ุพพลภาพ 14,000 8.สวัสดกิ ารสมาชิกประสบสาธารณภัย - - 292,000 106,000 193,000 9.สวสั ดิการบําเหน็จสมาชกิ 24,000 2,000 - - 10.สวสั ดิการเพอื่ ชว่ ยเหลืองานศพ 212,000 156,835 95,000 35,000 33,000 14,000 สมาชกิ และบุคคลในครอบครวั 87,000 38,000 18,300 300,000 306,000 20,000 35,000 8,000 - สมาชกิ ถึงแกก่ รรม 6,600 14,500 914,100 84,000 80,000 - บุคคลในครอบครัวถึงแก่กรรม 4,000 4,000 45,000 38,000 - พวงหรีด 624,800 618,675 19,500 18,500 - เจ้าภาพงานศพ 2,000 6,000 รวมทนุ สวสั ดิการ 875,300 1,005,100 สวสั ดกิ ารช่วยเหลือสมาชิกที่ติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตารางที่ 6 แสดงข้อมลู การมอบทุน สวสั ดกิ ารชว่ ยเหลอื สมาชกิ ทตี่ ิดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) (ประกาศ ณ วนั ที่ 5 พฤษภาคม 2564 และงดการจ่าย ณ วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2565) ปี ปี 2564 ปี 2565 รวม รายการ 100,000.00 644,000.00 744,000.00 1. สวัสดิการชว่ ยเหลือสมาชิกทต่ี ิดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

6 ขอ้ มูลการเสยี ชีวิตของสมาชิกสหกรณอ์ อมทรัพยส์ าธารณสขุ ปราจนี บรุ ี จากัด ปี 2561-2565 ลาดบั ชอ่ื - นามสกุล ทะเบยี น อายุ สาเหตุการเสียชวี ติ สมาชิก 1 นางดวงกมล ธงยส่ี ิบสอง 1384 N/A 2 นายแดนชยั เปรื่องปราชญ์ 1839 52 ตับแข็ง 3 นางมะลิ สุขทวี 162 72 ติดเชื้อทางเดินหายใจสว่ นล่าง 4 นายไพทูรย์ ช่อไม้ 189 71 มะเรง็ ตับ 5 นายสมหมาย จตพุ รฆ้องชัย 105 N/A 6 นางกรรณิการ์ ชวดบวั 163 69 อุบัตเิ หตุ 7 นางหงส์ เจียมรัตนะ 065 55 มะเร็งลําไส้ 8 น.ส.จาํ รัส ช่นื ชม 571 60 มะเรง็ รังไข่ 9 นายธรี วงษ์ พรหมวิหาร 1604 29 ภูมิคมุ้ กนั บกพร่อง 10 นายอเุ ทน คาํ รอด 2141 33 N/A 11 นายพิทักษ์ สดุ ครุฑ 1034 41 มะเรง็ ตับ 12 นายธนกฤต กลุ วุฒิ 1337 58 อุบตั ิเหตุ 13 น.ส.สนิศา สบื เชือ้ 1387 37 เน้ือสมองบวมจากโรคหลอด เลือดตีบ 14 นายชิตวร อาฒยะพนั ธ์ุ 336 73 หลอดเลือดในสมองตีบ 15 นางธญั ญวัน วาจนะวนิ จิ 715 75 ตดิ เช้ือรุนแรงในกระแสเลือด 16 นายไชยา นาสืบ 022 58 ภาวะไหลเวยี นโลหติ ลม้ เหลว 17 นางนงเยาว์ กองสี 1962 45 มะเรง็ ลําไสใ้ หญ่ 18 นายประเสรฐิ แก้วใส 382 78 มะเรง็ ลาํ ไส้ใหญ่ 19 น.ส.จารุวรรณ ภาพเจริญ 973 44 N/A 20 นายวรี ะเดช พศิ โฉม 2291 N/A 21 นางกณิกา อิศรางกูร ณ อยุธยา 358 62 ปอดติดเชอ้ื รนุ แรง 22 นางบญุ เหลอื โกศลจติ ร 711 78 มะเรง็ เตา้ นม 23 นายสมชาย ทองเลก็ 2279 65 มะเร็ง 24 นางสรุ างค์รกั ใยสาลี 548 48 มะเรง็

7 บทที่ 2 ผลการดาเนินงาน สหกรณอ์ อมทรัพยส์ าธารณสุขปราจนี บุรี จํากัด มีผลการดําเนินงาน ตามแผนยทุ ธศาสตร์ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2561 - 2565) ในด้านต่าง ๆ สรุปได้ดงั นี้ 1. จานวนสมาชิก (คน) ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 1,073 1,116 1,134 1,220 1,232 ประเภทสมาชกิ 193 308 368 343 346 สมาชิก 1,272 1,424 1,502 1,563 1,578 สมาชิกสมทบ รวม 2. ผลการดาเนนิ งานและฐานะการเงนิ (ลา้ นบาท) ผลการดาํ เนนิ งานและ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ฐานะการเงิน 734,767,978.63 771,792,356.83 ทุนดําเนนิ งาน 572,276,872.44 621,191,845.24 677,944,349.49 36,357,058.81 39,637,445.82 507,998,970.00 535,324,630.00 เงนิ ทุนสาํ รอง 23,764,841.21 27,868,216.24 32,759,808.95 22,576,630.00 25,310,940.00 ทนุ เรอื นหุ้น (สมาชิก) 393,418,530.00 438,672,010.00 475,451,230.00 702,393,859.01 733,944,440.28 ทุนเรอื นหุ้น 13,012,350.00 18,061,450.00 19,496,630.00 127,752,476.88 131,745,787.73 (สมาชิกสมทบ) 3,852,330.15 3,939,356.62 เงนิ ให้สมาชิกกู้ 544,727,067.94 596,883,322.87 641,233,569.27 39,829,191.58 39,065,834.74 7,025,321.48 7,540,104.40 เงินรับฝาก (สมาชกิ ) 60,621,787.48 93,161,801.68 106,201,307.86 32,803,870.10 31,525,730.34 เงนิ ฝาก (สหกรณอ์ ืน่ ) 9,412,809.58 8,448,322.86 8,704,378.18 รายได้ 36,872,339.22 39,708,041.63 39,974,191.61 ค่าใช้จา่ ย 7,605,374.72 7,057,423.54 7,271,920.17 กาํ ไรสทุ ธิ 29,266,964.50 32,650,618.09 32,702,271.44 3. สวัสดิการและการช่วยเหลอื สมาชกิ 3.1 สวัสดกิ ารทจ่ี ัดใหแ้ กส่ มาชกิ ตามระเบียบทกี่ าํ หนดและถือใช้ 1) สวัสดิการวนั เกดิ สมาชิก 2) สวสั ดิการสําหรับสมาชกิ ผ้เู ปน็ โสด 3) สวัสดิการเพ่ือการสมรส 4) สวัสดกิ ารเพ่ือการอุปสมบท 5) สวัสดกิ ารเพื่อรบั ขวัญทายาทสมาชกิ 6) สวัสดกิ ารเพื่อการเยี่ยมไข้สมาชิก / บคุ คลในครอบครัว 7) สวัสดิการสมาชกิ กรณีทุพพลภาพ 8) สวสั ดกิ ารสมาชิกประสบสาธารณภัย 9) สวัสดิการบาํ เหนจ็ สมาชิก 10) สวสั ดิการเพื่อชว่ ยเหลืองานศพสมาชิกและบุคคลในครอบครัว

8 3.2 สวัสดกิ ารเพิ่มเตมิ 1) สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์สหกรณ์สมาชิกของชุมนุมสหกรณอ์ อมทรพั ย์แห่งประเทศไทย (สส.ชสอ.) 2) สมาคมฌาปนกจิ สงเคราะหส์ มาชกิ สหกรณ์ออมทรพั ยส์ าธารณสขุ ไทย (สสธท.) 3) กองทุนสวสั ดิการสมาชิกของสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสขุ ไทย (กสธท.) ลา้ นที่ 2 4) กองทนุ สวสั ดิการสมาชกิ ของสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสขุ ไทย (กสธท.) ลา้ นที่ 3 3.3 การชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ 1) เงินกฉู้ กุ เฉนิ 2) เงนิ กูฉ้ กุ เฉินเสริมสภาพคล่อง 3) เงินกสู้ ามัญ 4) เงินกู้สามัญเฉพาะกจิ 5) เงนิ กสู้ ามัญเพ่อื การศึกษา 6) เงินกู้เพื่อชําระบัตรเครดิต 7) เงินกทู้ ่ีไม่เกนิ ค่าหุ้น 8) เงนิ กูเ้ พื่อชว่ ยเหลอื ผ้คู ้าํ ประกัน 9) เงินกู้เพื่อซื้อรถยนต์ 10) เงินกู้สามัญ - โควดิ 11) เงนิ กู้สามญั - โควดิ (โครงการ 2) 12) เงินก้เู พ่ือสุขภาพ 13) เงนิ กสู้ ามัญสาํ หรับผู้สูงอายุ 14) เงินกูส้ ามญั ไม่เกินเงินฝาก 4. ระบบการบริหารจดั การที่มีประสิทธภิ าพ เพอื่ สรา้ งความเช่อื มั่น สหกรณ์ให้คว ามสํ าคัญ และตระหนั กถึงการ วางระบ บกา รบริ หา รจั ด การ ที่มีป ระสิ ทธิภ าพอย่า ง เหมาะสม เพ่ือสร้างความม่ันใจให้กับผู้มีส่วนได้เสีย ท้ังยังช่วยลดความเส่ียงในการดําเนินกิจการของสหกรณ์ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล ดงั น้ี 4.1 การสอบทานและการตรวจสอบภายใน 1) การสอบทานภายใน โดยระบบปฏิบัติการของสหกรณ์ ที่สามารถตรวจสอบระหว่างการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี เพื่อปูองกันข้อผิดพลาดและความคลาดเคล่ือน รวมไปถึงการลดความเสี่ยงที่อาจจะ เกิดข้ึนเก่ียวกับสารสนเทศท่ีนํามาประกอบการรายงานผลการดําเนินงานและสร้างความเช่ือม่ันในการนํา สารสนเทศมาใชไ้ ด้อยา่ งครบถว้ น ถูกต้อง 2) ผตู้ รวจสอบกจิ การ เป็นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 , 2562 กําหนดว่า “ให้ สหกรณ์มีผู้ตรวจสอบกิจการ ซึ่งที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งจากสมาชิกหรือบุคคลภายนอก เพื่อดําเนินการตรวจ กิจการของสหกรณ์แล้วทํารายงานเสนอต่อท่ีประชุมใหญ่ จํานวนผู้ตรวจสอบกิจการตามวรรคหน่ึงให้เป็นไป ตามทนี่ ายทะเบยี นสหกรณก์ ําหนด” 3) ผู้ตรวจสอบภายใน ซึ่งได้รับการแต่งต้ังจากคณะกรรมการดําเนินการ มีหน้าที่ตรวจสอบ ภายในการดาํ เนินงานทงั้ ปวงของสหกรณ์ ควบคมุ และบริหารความเส่ยี งตามประกาศของสหกรณ์

9 4.2 การสอบทานและการตรวจสอบจากภายนอก 1) นายทะเบียนสหกรณ์ ผู้ควบคุมแล ะกํากับดูแลสหกรณ์ให้เป็นไปตามบทแห่ง พระราชบญั ญัตสิ หกรณ์ พ.ศ.2542 แกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2553 และพ.ศ.2562 และกฎหมายอ่นื ๆ 2) กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ หน้าท่ีปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ กํากับดูแลงาน ด้านการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ รวมทั้งช่วยเหลือ แนะนํา และให้การศึกษาอบรมด้านการเงินการบัญชีแก่ สหกรณ์ 3) ผู้ตรวจการสหกรณ์ ซึ่งนายทะเบียนมอบหมายให้ทําหน้าท่ีตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ และตรวจสอบฐานะการเงินของสหกรณ์ 4) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ซึ่งสหกรณ์ที่มีคุณสมบัติครบตามท่ีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์กําหนด ไว้ จะต้องดําเนินการให้มีการจัดจ้างผู้สอบบัญชีภาคเอกชนตามหลักเกณฑ์ที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์กําหนด โดยให้มีหน้าท่ีตรวจสอบบัญชีของสหกรณ์ ตามมาตรฐานการสอบบัญชีท่ีรับรองทั่วไปและตามระเบียบท่ีนาย ทะเบยี นสหกรณ์กาํ หนด 5. ผลสาเร็จและความภาคภมู ใิ จ 5.1 ผลการประเมินสหกรณ์ธรรมาภิบาล ประจําปี 2561 เป็นสหกรณ์ออมทรัพย์ท่ีเดียวที่ได้รับของ จังหวัดปราจีนบุรี 5.2 สหกรณอ์ อมทรพั ย์ดเี ดน่ ระดับจงั หวดั ต้งั แตป่ ี 2561 - 2565 5.3 ผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ตามประกาศกรมส่งเสริมสหกรณ์ ตั้งแต่ปี 2561 - 2565 ได้ ระดบั ดีเลศิ

10 บทที่ 3 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน เพ่ือให้สมาชิกและบุคคลภายนอกหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเห็นภาพรวมของผลการดําเนินงานด้าน การเงินของสหกรณ์ สหกรณ์จึงทําการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินโดยใช้เทคนิค (CAMEL) C = Capital (เงินทุน) , A = Asset (สินทรัพย์) , M = Management (การบริหาร) , E = Earning (การทํากําไร) , L = Liquidity (สภาพคล่อง) ซ่ึงเปน็ เทคนิคการวเิ คราะหท์ ีเ่ ปน็ มาตรฐาน โดยมรี ายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี 1. อตั ราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) ตารางที่ 1 อตั ราสว่ นวัดสภาพคล่อง ที่ อตั ราสว่ นทว่ี ิเคราะห์ เกณฑ์ 60 61 ปี พ.ศ. 65 มาตรฐาน 62 63 64 1 อตั ราส่วนทนุ หมนุ เวยี น 0.81 0.82 0.92 0.76 0.77 0.73 0.81 (หน่วย:เท่า) 2 อตั ราส่วนทนุ หมุนเวียน - 0.82 0.92 0.76 0.77 0.73 0.81 เร็ว (หน่วย:เทา่ ) 1.1 อัตราส่วนทนุ หมนุ เวยี น (Current Ratio) อัตราส่วนทุนหมุนเวียน เป็นอัตราส่วนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียน และ หน้ีสินหมุนเวียน ใช้ประโยชน์ในการพิจารณาความสามารถของสหกรณ์ในการชําระหน้ีระยะสั้น หรือสภาพ คลอ่ งของกิจการ อัตราส่วนทุนหมุนเวียนตํ่าแสดงว่า กิจการอาจชําระหนี้สินระยะส้ันไม่ได้เม่ือครบกําหนด แต่ ถ้าอัตราส่วนทุนหมุนเวียนสูงย่อมแสดงถึงความสามารถในการชําระหน้ีระยะสั้นได้สูง แต่มิได้หมายความว่า กิจการจะสามารถชําระหน้ีได้คล่องและมีประสิทธิภาพเสมอไป ทั้งน้ีส่วนหนึ่งอาจเป็นข้อเสียแก่กิจการ เนื่องจากไมไ่ ด้ใช้สินทรพั ยส์ ว่ นนใ้ี นการกอ่ ให้เกิดกําไรแก่กจิ การเทา่ ที่ควร เมอื่ หนถี้ งึ กําหนดชาํ ระ ผลการวิเคราะห์พบว่าในปี 2561 - 2565 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด มี อัตราส่วนทุนหมุนเวียน 0.82 , 0.92 , 0.76 , 0.77 , 0.73 และ 0.81 ตามลําดับ จากข้อมูลน้ีอัตราส่วนทุน หมุนเวียนค่อนข้างต่ํากว่าเกณฑ์มาตรฐาน (0.81) แสดงว่าสินทรัพย์หมุนเวียนน้อยกว่าหนี้สินหมุนเวียน อาจ เนือ่ งจากการทสี่ หกรณ์ไดน้ าํ เงินไปฝากสหกรณอ์ นื่ บางสว่ น เพ่ือก่อให้เกิดรายได้เพิ่มข้ึน ขณะเดียวกันสหกรณ์ก็ ยงั มีสภาพคลอ่ งเพยี งพอท่ีจะสํารองใหบ้ รกิ ารแก่สมาชกิ ได้ 2. อตั ราสว่ นทใี่ ช้วดั ความสามารถในการก่อหนี้ (Leverage Ratios) ตารางที่ 2 อตั ราส่วนท่ีใชว้ ดั ความสามารถในการก่อหนี้ ที่ อตั ราส่วนท่วี เิ คราะห์ เกณฑ์ 61 ปี พ.ศ. 65 มาตรฐาน 60 62 63 64 1 อัตราส่วนหนีส้ ินตอ่ ทุน 0.57 0.27 0.24 0.20 0.21 0.22 0.22 (หนว่ ย:เทา่ ) 2 อัตราส่วนลูกหนี้ต่อส่วน 1.63 1.25 1.18 1.15 1.14 1.17 1.16 ของทนุ (หน่วย:เท่า)

11 2.1 อัตราสว่ นหน้สี นิ ตอ่ ทนุ (Debt to Equity Ratio) อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน เป็นอัตราส่วนที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างหน้ีสินท้ังส้ินกับทุน สหกรณ์ กล่าวคอื หนส้ี ินท้ังสิน้ เปน็ กเี่ ท่าของสว่ นทนุ ซงึ่ ช้ีให้เห็นถึงความสามารถในการก่อหน้ีโดยตรงว่าสหกรณ์ มีทุนของตนเอง ที่จะใช้ชําระหนี้แก่เจ้าหนี้ได้เพียงใด ถ้าสหกรณ์มีหนี้สินมากกว่าทุนความเสี่ยงจะตกอยู่กับ เจา้ หน้ี แตถ่ า้ มีหนี้สินน้อยกว่าทนุ แสดงว่าเจา้ หนี้มเี กราะคุม้ กันในการรับชําระหน้ี ผลการวิเคราะห์พบว่าระหว่างปี 2561 - 2565 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จาํ กดั มอี ตั ราส่วนหนี้สนิ ตอ่ ทนุ 0.27 , 0.24 , 0.20 , 0.21 , 0.22 และ 0.22 ตามลําดับ โดยเฉลี่ยร้อยละ 0.23 (เกณฑ์มาตรฐาน = 0.57) ซ่ึงทุกปีต่ํากว่ามาตรฐานเล็กน้อย ซึ่งไม่มีผลต่อเครดิตของสหกรณ์ ถึงแม้จะทําให้ สหกรณ์มีการขยายตัวเป็นไปอย่างช้า แต่แสดงให้เห็นว่าสมาชิกมีหน้ีสินโดยเฉลี่ยเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย แตม่ ีทนุ เรอื นหุน้ เพิ่มขน้ึ รวมถึงการท่ีสหกรณ์มีหน้ีสินน้อยกว่าทุน แสดงว่า สหกรณ์มีความเข้มแข็งสามารถระดม เงินทุนภายในจากสมาชิกได้เพียงพอต่อการให้บริการด้านสินเชื่อแก่สมาชิกสหกรณ์ สามารถทําให้เจ้าหน้ีซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกผู้ฝากเงิน มีความมั่นใจและเช่ือมั่นในสหกรณ์เป็นอย่างดีว่าสหกรณ์มีเงินทุนเพียงพอ สําหรบั ให้บริการสมาชิก เมือ่ สมาชกิ จะถอนเงินฝากของตนเม่ือใดก็ได้ 2.2 อัตราส่วนลูกหน้ีต่อส่วนของทุน (Net debtor loan to share capital and reserve fund ratio) อัตราส่วนลูกหนี้ต่อส่วนของทุน เป็นอัตราส่วนท่ีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างลูกหนี้และทุน เรือนหุ้นรวมกับทุนสํารอง เป็นอัตราส่วนท่ีใช้ประกอบในการพิจารณาในการก่อหน้ีของกิจการ อัตราส่วนน้ีใช้ วัดความเพียงพอของเงินทุน เฉพาะที่เป็นทุนสํารองและทุนเรือนหุ้นว่ามีเพียงพอสําหรับลูกหน้ีได้มากน้อย เพียงใด ถ้าอัตราส่วนนี้สูงแสดงว่าทุนดังกล่าวไม่เพียงพอต่อการลงทุนสําหรับลูกหน้ี ในทางตรงข้ามหาก อตั ราส่วนน้ตี าํ่ แสดงว่าทุนดงั กลา่ วมีความเพียงพอและยงั มที นุ เหลอื อยู่ ผลการวิเคราะห์พบว่าในปี 2561 - 2565 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด มี อัตราส่วนลูกหนี้ต่อส่วนของทุนเท่ากับ 1.25 , 1.18 , 1.15 , 1.14 , 1.17 และ 1.16 ซึ่งทุกปีตํ่ากว่าเกณฑ์ มาตรฐานโดยเฉล่ียร้อยละ 1.18 (เกณฑ์มาตรฐาน = 1.65) แสดงว่าสหกรณ์มีเงินทุนภายใน ในส่วนของทุน เรือนหุ้นและทุนสํารองเพียงพอในการให้ลูกหน้ีกู้ยืม และเมื่อพิจารณาประกอบกับอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน ถึงแม้สหกรณ์มีหน้ีสินน้อยกว่าทุน แต่สหกรณ์ก็มีความสามารถในการก่อหน้ีผูกพันได้ดี เม่ือใดที่เงินทุนภายใน ของสหกรณ์ไม่เพียงพอ สหกรณ์ก็มีเงินทุนจากแหล่งภายนอกรองรับ โดยในปี 2565 นายทะเบียนสหกรณ์ได้ เหน็ ชอบวงเงนิ การกยู้ ืมหรือการคํา้ ประกนั ของสหกรณ์ไว้จํานวน 500 ล้านบาท ในปัจจุบันสมาชิกส่วนใหญ่เป็นผู้กู้เงินจากสหกรณ์ ได้ใช้สิทธิในการกู้เต็มอัตราแล้ว ดังนั้น สหกรณจ์ งึ ตอ้ งเพิ่มประสิทธภิ าพของการบรหิ ารเงินลงทุนให้เกิดประโยชน์สูงสุดตอ่ สหกรณ์ 3. อัตราส่วนความสามารถในการใชส้ นิ ทรพั ย์ (Activity Ratio) ตารางที่ 3 อตั ราสว่ นทใี่ ช้วดั ความสามารถในการใชส้ ินทรัพย์ ท่ี อัตราส่วนทวี่ ิเคราะห์ เกณฑ์ 60 ปี พ.ศ. 64 65 มาตรฐาน 61 62 63 1 อตั รารอ้ ยละของรายได้ ต่อสินทรัพย์ทัง้ ส้ิน 8.36 6.47 6.44 6.39 5.90 5.42 5.06 (หนว่ ย:ร้อยละ)

12 3.1 อตั รารอ้ ยละของรายไดต้ อ่ สนิ ทรพั ย์ทงั้ สิ้น (Total reverse to total assets ratio) อตั รารอ้ ยละของรายไดต้ ่อสินทรัพยท์ ้งั ส้นิ เป็นอตั ราส่วนท่ีวดั ความสามารถในการใช้สินทรัพย์ เพื่อกอ่ ใหเ้ กิดรายได้ทั้งส้ิน เป็นอัตราส่วนที่วัดความสามารถในการใช้สินทรัพย์ เพื่อก่อให้เกิดรายได้ทั้งสิ้นได้สูง และมีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ หากอัตราส่วนนี้มีค่าน้อย แสดงว่ากิจการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ ตา่ ง ๆ เพ่ือกอ่ ใหเ้ กิดรายไดไ้ ม่เตม็ ประสิทธภิ าพเทา่ ที่ควร ควรพิจารณาหาแนวทางใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ให้ เตม็ ท่ี ผลการวิเคราะห์พบว่าในปี 2561 - 2565 สหกรณ์มีอัตราร้อยละของรายได้ต่อสินทรัพย์ เท่ากับ 6.47 , 6.44 , 6.39 , 5.90 , 5.42 และ 5.06 ซ่ึงทุกปีตํ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานโดยเฉล่ียร้อยละ 5.95 (เกณฑ์มาตรฐาน = 8.36) กล่าวคือ สนิ ทรัพย์จํานวน 100 บาท สหกรณ์นําไปใช้เพื่อก่อให้เกิดรายได้ได้เพียง 5.95 บาท ซึ่งเป็นอัตราท่ีมีค่าน้อยและมีแนวโน้มว่าสหกรณ์ใช้สินทรัพย์ในการดําเนินการก่อให้เกิดรายได้ลดลง แสดงว่า สหกรณใ์ ช้สนิ ทรัพย์ไดไ้ มเ่ ต็มประสิทธภิ าพ โดยปริมาณธรุ กิจมีไม่มากพอกับขนาดของสินทรัพย์ ดังนั้น สหกรณ์ ควรปรับปรุงการดําเนินงาน โดยการเพ่ิมยอดรายได้จากการนําสินทรัพย์ไปลงทุนที่ให้ผลตอบแทนสูงและต้อง เปน็ ไปตามกฎหมายสหกรณ์กําหนด 4. อัตราส่วนความสามารถในการทากาไร (Profitability Ratios) ตารางท่ี 4 อตั ราส่วนความสามารถในการทาํ กาํ ไร ปี พ.ศ. เกณฑ์ 62 63 ที่ อตั ราส่วนทวี่ ิเคราะห์ มาตรฐาน 60 61 64 65 ̅ 1 อัตราผลตอบแทนตอ่ 3.92 5.19 5.11 5.26 4.82 4.46 4.05 4.82 สนิ ทรพั ย์ (หน่วย:ร้อยละ) 2 อตั ราผลตอบแทนตอ่ ส่วนทนุ (หนว่ ย:ร้อยละ) 6.27 6.60 6.36 6.30 5.82 5.45 4.97 5.92 3 อตั ราคา่ ใช้จ่ายดาเนนิ งาน ต่อกาไรก่อนหกั ค่าใช้จ่าย 13.47 7.02 9.79 9.74 12.57 11.57 13.80 10.75 ดาเนินงาน (หนว่ ย:รอ้ ยละ) 4 อตั รากาไรสทุ ธิ (หน่วย:รอ้ ยละ) 68.89 89.77 79.64 82.43 81.88 82.40 80.70 82.80 4.1 อตั ราผลตอบแทนตอ่ สินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ เป็นอัตราส่วนท่ีแสดงให้เห็นผลตอบแทนท่ีได้จากการลงทุน ทง้ั สนิ้ หรอื การใช้สนิ ทรัพย์ วา่ ไดผ้ ลตอบแทนเพียงพอหรอื ไม่ ผลการวิเคราะห์พบว่า ในปี 2561 - 2565 สหกรณ์มีอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์เท่ากับ ร้อยละ 5.19 , 5.11 , 5.26 , 4.82 , 4.46 และ 4.05 โดยมีค่าเฉล่ีย = 4.82 (เกณฑ์มาตรฐาน = 3.92) กลา่ วคือสินทรพั ย์จาํ นวน 100 บาท สหกรณน์ าํ ไปใชแ้ ละได้ผลตอบแทนกาํ ไร 4.82 บาท แสดงว่าสหกรณ์ได้รับ ผลตอบแทนเพียงพอจากการใช้สินทรัพย์ แต่อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์มีแนวโน้มลดลง ซึ่งมีความสัมพันธ์ กับอัตราร้อยละของรายได้ต่อสินทรัพย์ท้ังสิ้น ท่ีมีแนวโน้มลดลงเช่นกัน เนื่องจากสหกรณ์มีการปรับลดอัตรา ดอกเบ้ียเงนิ กู้ ในอนาคตสหกรณ์ควรหาทางใช้สินทรัพย์ท่ีมีอยู่อย่างเต็มที่ในการดําเนินงาน เพื่อให้เกิด รายไดแ้ ละผลตอบแทนอยา่ งคมุ้ ค่า โดยพิจารณาจากสินทรพั ย์ทีส่ หกรณไ์ ดเ้ ก็บไว้ เพื่อดํารงสภาพคล่องประเภท

13 เงินสด เงินฝากธนาคาร ให้เหลือเท่าที่จําเป็นเพียงพอต่อความม่ันคงและนําส่วนเกินไปลงทุน เพ่ือก่อให้เกิด รายได้เพม่ิ ขน้ึ 4.2 อัตราผลตอบแทนต่อสว่ นทุน (Return on net worth ratio) อตั ราผลตอบแทนตอ่ สว่ นทุนเป็นอัตราสว่ นระหว่างกาํ ไรที่เกดิ ขึ้นทงั้ หมด เปรียบเทียบกับส่วน ของเจา้ ของ (ส่วนของเจ้าของหมายถึงส่วนทุน กําไรสะสม และเงินสํารองต่าง ๆ เป็นการวัดความสามารถการ หาผลตอบแทนของกิจการ จากเงินลงทุนเฉพาะส่วนของเจ้าของว่ามีมากน้อยเพียงใด หรือวัดประสิทธิภาพใน การทํากําไร เม่ือเปรียบเทียบกับส่วนทุน หากอัตราส่วนมีค่าน้อย แสดงว่าผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนต่ํา และ หากอัตราสว่ นมีค่ามาก แสดงว่าผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนสูง แสดงว่ามีประสิทธิภาพในการทํากําไรให้กับส่วน ของเจ้าของ ผลการวิเคราะห์พบว่าระหว่างปี 2561 - 2565 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จาํ กดั มอี ัตราผลตอบแทนต่อส่วนของทุนเทา่ กบั 6.60 , 6.36 , 6.30 , 5.82 , 5.45 และ 4.97 โดยมีค่าเฉลี่ยท่ี อัตราร้อยละ 5.92 (เกณฑ์มาตรฐาน = 6.27) กล่าวคือ ส่วนของเจ้าของมีจํานวน 100 บาท สหกรณ์นําไปใช้ และได้ผลตอบแทนกําไร 5.92 บาท ส่งผลให้ได้รับผลตอบแทนค่อนข้างสูง แสดงว่าสหกรณ์มีการดําเนินงาน อยา่ งมีประสิทธิภาพในการทํากําไร แต่อตั ราผลตอบแทนต่อส่วนของทุนมีแนวโน้มลดลง แสดงว่าประสิทธิภาพ ในการทํากําไรของสหกรณ์ลดลง ดงั นนั้ จงึ ควรพิจารณาเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารงานของสหกรณ์ ให้ เกิดประโยชนส์ งู สดุ โดยรวมต่อสมาชิก 4.3 อัตราส่วนค่าใชจ้ ่าย (Total expense to total sales) อัตราส่วนค่าใช้จ่าย เป็นการวัดความพยายามในรูปค่าใช้จ่ายกับความสําเร็จในรูปของรายได้ ซ่ึงค่าใช้จ่ายแบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานและค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการ ดาํ เนินงานจะมีการเพมิ่ ขน้ึ หากมีกจิ กรรมในการดาํ เนนิ งานมากขึ้น แต่ค่าใชจ้ ่ายในการบรหิ ารจะมีค่าคงท่ี แต่ใน ที่นี้จะวิเคราะห์ในลักษณะคา่ ใช้จา่ ยดําเนินงานรวมเท่านน้ั ผลการวิเคราะห์พบว่า ในปี 2561 - 2565 สหกรณ์ฯ มีอัตราค่าใช้จ่ายเท่ากับ 7.02 , 9.79 , 9.74 , 12.57 , 11.57 และ 13.80 โดยมีค่าเฉลี่ยในอัตราร้อยละ 10.75 (เกณฑ์มาตรฐาน = 13.47) อัตรา ค่าใช้จ่ายของสหกรณ์มีแนวโน้มสูงขึ้นจากเดิมเล็กน้อย แต่ยังคงตํ่ากว่ามาตรฐาน โดยค่าใช้จ่ายในการ ดําเนินงานจะมีการเปล่ียนแปลงจากเดิมไม่มากนัก ในขณะที่รายได้จากการดําเนินงานเพิ่มข้ึนจากการมี สินทรัพยแ์ ละทุนมากข้ึน อตั ราสว่ นค่าใช้จา่ ยจงึ ลดลง 4.4 อตั รากาไรสุทธิ (Net profit margin to sales ratio) อัตรากําไรสทุ ธิเปน็ อัตราสว่ นทแ่ี สดงใหเ้ ห็นว่ารายได้จากการดําเนินงานทุก ๆ 100 บาท จะมี กาํ ไรสทุ ธิเกิดขน้ึ เทา่ ใด ถ้าอัตราส่วนท่ีคาํ นวณได้มคี า่ สูง แสดงว่ากิจการมีความสามารถในการทํากําไร จากการ ดําเนินงานสูง แต่อัตราส่วนน้ีก็มีข้อจํากัด คือ รายการค่าใช้จ่ายบางรายการท่ีนําไปหักจากรายได้ เพื่อคํานวณ กําไรสทุ ธนิ ้นั เช่น หนีส้ งสัยจะสูญ เป็นต้น ดังน้ัน ถ้าอัตรากําไรสุทธิแนวโน้มลดลง อาจวิเคราะห์หาสาเหตุเพื่อ เปรียบเทียบกับปีท่ีผ่านมา ว่ามีรายการใดมีค่าผิดปกติหรือไม่ เพื่อจะได้ทราบว่ากิจการบริหารงานได้มี ประสทิ ธภิ าพเช่นไร ผลการวิเคราะห์พบว่าในปี 2561 - 2565 สหกรณ์ฯ มีอัตรากําไร สุทธิ ในระหว่างปี 2561 - 2565 คือ 89.77 , 79.64 , 82.43 , 81.88 , 82.40 และ 80.70 โดยมีค่าเฉลี่ยในอัตราร้อยละ 82.80 (เกณฑ์ มาตรฐาน = 68.89) อัตรากําไรสุทธิมีอัตราค่อนข้างสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน แสดงว่าสหกรณ์สามารถ ดําเนนิ งานได้ผลดีกว่าระดบั เกณฑ์มาตรฐาน สหกรณ์ยังต้องศกึ ษาแนวทางการลงทนุ ที่ไดผ้ ลตอบแทนสูงข้ึนและ ดาํ เนนิ การให้รวดเร็ว เพอื่ เพ่มิ ระยะเวลาในการทาํ กําไรให้แก่สมาชิก ทั้งน้ีสหกรณ์ก็ต้องมีการบริหารความเสี่ยง อย่างมีประสทิ ธภิ าพ และใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายที่สหกรณก์ าํ หนด

14 บทที่ 4 การวเิ คราะห์ปจั จยั สภาพแวดล้อม การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมของสหกรณ์ เพื่อเป็นการช้ีให้เห็นถึงโอกาส อุปสรรค จุดแข็ง และ จุดอ่อนของสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด จะนําไปสู่การกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วตั ถุประสงค์ และกลยุทธ์ เพ่ือใชใ้ นการจัดทาํ แผนกลยุทธส์ หกรณ์ตอ่ ไป การประเมินสภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) ท่ีส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานในสถานการณ์ ปัจจุบัน จากการประชุมร่วมกันของคณะกรรมการดําเนินการ ผู้ตรวจสอบกิจการและฝุายจัดการ เพ่ือนําไป จัดทําแผนกลยทุ ธ์สหกรณ์ มีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ ผลการวิเคราะหป์ จั จัยสภาพแวดล้อม 1. ปจั จัยสภาพแวดลอ้ มภายใน จดุ แข็ง (Strengths) S1 การบริหารงานของคณะกรรมการดาํ เนนิ งาน มคี วามโปร่งใส ตรวจสอบได้ มีประสิทธิภาพ เป็นไป ตามกฎหมาย ข้อบงั คับหรือระเบียบสหกรณ์ S2 เจา้ หน้าที่มคี วามมุ่งมั่นต้ังใจในการทาํ งาน มีทักษะและประสบการณ์ในการปฏบิ ตั ิงานเป็นอย่างดี และมกี ารบริการอย่างยม้ิ แยม้ แจม่ ใส S3 ผู้ตรวจสอบมีความรแู้ ละมุ่งม่นั ตง้ั ใจในการตรวจสอบกจิ การของสหกรณ์ สามารถนํางบการเงนิ มา วิเคราะห์ข้อมลู ให้คณะกรรมการตดั สินใจในการปฏิบัตงิ าน S4 สมาชิกมีรายไดป้ ระจําท่ีแน่นอน S5 สหกรณม์ ีความมน่ั คง มีต้นทุนภายในมากกว่าหนสี้ ินภายนอก S6 สหกรณม์ ีโครงสรา้ งองค์กรและการบรหิ ารจดั การโดยยึดหลักธรรมาภิบาล S7 มผี ลการประเมนิ สหกรณ์สขี าวดว้ ยหลกั ธรรมาภบิ าลแหง่ เดียวของจังหวดั ปราจีนบุรี S8 ผลการจดั ระดับมาตรฐานสหกรณ์ตามประกาศกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ไดร้ ะดบั ดเี ลิศ S9 ได้รับเลอื กเป็นสหกรณ์ดีเดน่ ระดบั จังหวดั S10 สหกรณ์มีดอกเบ้ียเงนิ ฝากสูงและดอกเบ้ียเงินกู้ท่ตี าํ่ กว่าธนาคาร S11 สหกรณม์ ีสวสั ดิการให้แกส่ มาชกิ S12 มเี งินปนั ผล เฉล่ยี คนื ให้แกส่ มาชกิ ในอัตราท่เี หมาะสม S13 สหกรณ์รับสมคั รสมาชิกใหมแ่ ละมีสมาชกิ สมทบ S14 มีเงนิ ฝากกบั สหกรณ์อืน่ จดุ อ่อน (Weakness) W1 กรรมการส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ ทกั ษะ ความเชย่ี วชาญ ดา้ นการเงิน บญั ชี และกฎหมาย ท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั การบรหิ ารงานสหกรณ์ W2 สมาชกิ บางสว่ นยงั มีความไม่คอ่ ยเข้าใจและตระหนักในบทบาทหน้าที่ของตนเองนกั W3 ขาดเจา้ หนา้ ท่ที ดี่ ูแลระบบโปรแกรมของสหกรณ์เต็มเวลา W4 ระบบการตรวจสอบกิจการสหกรณ์ ยังเปน็ ระบบเอ้ืออาทรยังไม่สะท้อนความเสยี่ งของสหกรณ์ฯ ที่แทจ้ ริง

15 W5 ต้นทุนทางการเงินของสหกรณ์ฯ ยังสงู (ดอกเบ้ยี จ่าย) W6 ค่าใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั เจ้าหน้าทีม่ อี ัตราเพ่ิมข้ึนทุกปี W7 เงนิ ทนุ สํารองของสหกรณ์ยงั คงอยู่ในระดบั ต่ํา W8 ยงั ขาดโปรแกรมการใหบ้ รกิ ารธรุ กรรมทางการเงนิ แบบออนไลน์ W9 สหกรณท์ ่ีทําการเร่ิมคับแคบลง 2. ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส (opportunity) O1 สหกรณส์ ามารถรณรงค์ให้สมาชิกนําปรชั ญาของหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ แนวทางพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั กบั พง่ึ พาตนเองได้ O2 องค์กรมกี ารสร้างเครอื ขา่ ยระหวา่ งสหกรณ์ ทําให้มพี ันธมิตรในการชว่ ยเหลือพึง่ พาอาศัยกนั O3 สมาชกิ มคี วามเชอ่ื มั่นและทัศนคติท่ีดีต่อสหกรณ์เพมิ่ มากข้นึ O4 ชมุ นุมสหกรณ์ฯ หรือสหกรณเ์ ครือขา่ ย สามารถให้การสนบั สนนุ ดา้ นการเงินกับสหกรณ์ได้ตาม ความจําเป็น O5 มีพรบ.สหกรณฯ์ , ข้อบังคับ , ประกาศ , คําส่งั นายทะเบียน และกฎกระทรวงท่ีใช้เปน็ เกณฑก์ ํากับ ดแู ลสหกรณ์ O6 สมาชกิ ของสหกรณ์ไม่ต้องมีภาระในการเสยี ภาษจี ากเงินได้ กรณไี ด้รบั ดอกเบ้ียจากดอกเบีย้ เงิน ฝากออมทรัพย์ทกุ ประเภท รวมถงึ เงนิ ปนั ผล และเงนิ เฉลย่ี คนื กไ็ มต่ อ้ งเสยี ภาษีเช่นกนั O7 ดอกเบี้ยเงินกูพ้ เิ ศษประเภททอ่ี ยู่อาศัยนาํ มาลดหย่อนภาษีได้ O8 หน่วยงานราชการที่เกย่ี วข้อง เชน่ สหกรณจ์ ังหวัด สํานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ์ ให้คําแนะนําและ กํากับดูแลอย่างใกลช้ ดิ อปุ สรรค (Threats) T1 ขา่ วสารการทจุ ริตภายในสหกรณ์มีความถี่มากขนึ้ T2 สภาวะเศรษฐกจิ สงั คมท่เี กิดข้นึ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ มีผลกระทบต่อสมาชกิ และ สหกรณ์ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม เชน่ การเพิ่มอัตราดอกเบ้ียของตลาดเงนิ ทั้งภายในและภายนอก ประเทศ T3 สมาชกิ ของสหกรณ์ถูกอายดั เงินปันผลหรอื เงนิ เฉล่ียคืน โดยคาํ ส่ังศาลเพม่ิ มากขึน้ โดยทีส่ มาชิกยงั มีภาระทีต่ อ้ งชาํ ระหน้ีกบั สหกรณ์อยู่ T4 พรบ.สหกรณ์ฯ ฉบบั แก้ไขปรบั ปรุง อาจสง่ ผลกระทบต่อสภาวะของสหกรณ์ T5 การใช้และการเขา้ ถึงเทคโนโลยีทางดา้ นการเงนิ T6 พรบ.ดว้ ยการติดตามหนแ้ี ละกฎหมายท่ีเก่ยี วข้องกบั การทวงหน้ี T7 พรบ.ฌาปนกจิ สงเคราะห์ (สวัสดกิ าร) จากผลการวิเคราะห์ดงั กลา่ ว เป็นแรงผลักดันใหเ้ กิดการพัฒนากจิ การสหกรณ์ และเป็นสว่ นสําคญั ท่ี จะตอ้ งนําไปเปน็ แนวทางในการพฒั นายุทธศาสตรฯ์ ของสหกรณต์ อ่ ไป

16 บทท่ี 5 วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ กลยุทธแ์ ละโครงสร้างองคก์ ร จากการวิเคราะห์สถานการณ์การดําเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด ดัง รายละเอียดท่ีกล่าวไว้ในเรื่องผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมและผลจากการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน คณะกรรมการดําเนินงาน ฝุายจัดการ และตัวแทนสมาชิกสหกรณ์ ซึ่งได้ดําเนินการตามที่กําหนดไว้ สรุป ประเด็นเร่ือง วิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ของสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด ท่ีควรจะได้ นาํ มาใชก้ าํ หนดเป็นแผนพัฒนาสหกรณ์ใน 5 ปขี ้างหน้า (พ.ศ.2566 - 2570) 1. วสิ ัยทัศน์ (Vision) เป็นสหกรณ์ออมทรพั ยท์ ่ีมีการบริหารจดั การเป็นเลิศ ด้วยหลักธรรมาภบิ าล เดิม เป็นสหกรณท์ มี่ นั่ คงทางการเงนิ บรหิ ารจัดการเป็นเลศิ ตามหลักธรรมาภบิ าล เกิดประโยชน์ต่อสมาชกิ และสังคม 2. พันธกจิ (mission) พนั ธกจิ ที่ 1 : พัฒนา บรหิ ารจัดการสหกรณ์อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ พนั ธกจิ ที่ 2 : พฒั นาองค์การใหม้ ีความทนั สมยั เหมาะสม เพื่อบริการแกส่ มาชกิ อย่างมี คณุ ภาพและมปี ระสิทธิภาพ พันธกจิ ที่ 3 : การเพ่ิมประสิทธภิ าพการใหบ้ ริการแก่สมาชิกประทับใจภายใต้คณุ ภาพ มาตรฐานเดียวกัน พนั ธกจิ ท่ี 4 : เสรมิ สรา้ งสวัสดกิ ารแก่สมาชกิ ท่ัวถึงเปน็ ธรรม พันธกิจที่ 5 : พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและประยุกตใ์ ชน้ วตกรรมที่ทนั สมัย พนั ธกิจท่ี 6 : พฒั นาองค์กร บคุ ลากรใหม้ ีความเข้มแข็ง รู้ทันต่อสภาวการณป์ ัจจุบันภายใต้ การบริหารจัดการทม่ี ีประสิทธิภาพ พันธกิจที่ 7 : เชอ่ื มโยงเครือข่ายสหกรณพ์ นั ธมติ ร ชว่ ยเหลอื สนบั สนุนและส่งเสริมหน่วยงาน อ่ืน สังคมและชุมชน 3. คา่ นิยม มงุ่ ม่นั พฒั นา ยดึ หลักธรรมาภิบาล บริหารโปรง่ ใส ใส่ใจสมาชกิ 4. คาขวญั ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ โปร่งใส มีคุณภาพคู่คณุ ธรรม 5. ยุทธศาสตร์สหกรณ์แห่งชาติ 4.1 สร้างและพัฒนาการเรยี นรู้ และทักษะการสหกรณ์สูว่ ถิ ีชวี ิตประชาชนในชาติ 4.2 สนับสนนุ และพัฒนาการรวมกล่มุ ของประชาชนดว้ ยวิธกี ารสหกรณใ์ ห้เปน็ รากฐานสําคัญ ในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม 4.3 เพ่มิ ศักยภาพการเชอื่ มโยงเครือข่ายและระบบการผลติ การตลาด และการเงินในสหกรณ์ 4.4 ปฏริ ปู โครงสรา้ งหนว่ ยงานภาครฐั ขบวนการสหกรณแ์ ละปรับปรงุ กฎหมายสหกรณ์ เอ้ือ ตอ่ การพัฒนา

17 6. ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Issue) 6.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการสหกรณ์ ให้มีประสทิ ธิภาพ 6.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากร 6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ 7. เปา้ ประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์ (Strategic Goal) 7.1 ได้รบั การรับรองตามเกณฑม์ าตรฐานสหกรณ์ 7.2 บคุ ลากร 3 ฝาุ ย มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะในการดําเนินงานสหกรณ์ 7.3 มรี ะบบเทคโนโลยีและสารสนเทศท่ีทนั สมัยและเหมาะสม 8. กลยุทธ์ (Strategy) เพอื่ ขบั เคลอื่ นประเดน็ ยุทธศาสตร์การดําเนนิ การไว้ 5 กลยทุ ธ์ ดงั น้ี กลยทุ ธท์ ี่ 1 เพิ่มคุณภาพการดาํ เนนิ งานตามเกณฑม์ าตรฐานสหกรณ์ กลยทุ ธ์ที่ 2 ร่วมมือกับภาคเี ครือข่ายในการสร้างคณุ ประโยชน์ต่อสังคม กลยทุ ธ์ที่ 3 ส่งเสรมิ และสนับสนุนบุคลากรท้งั 3 ฝาุ ย ให้มกี ารเรียนรแู้ ละพัฒนาอย่างต่อเน่ือง กลยทุ ธ์ท่ี 4 ส่งเสริมให้สมาชกิ มีคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี กลยทุ ธท์ ่ี 5 พัฒนาระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ ใหต้ อบสนองการใชง้ านของสมาชกิ กรรมการ และเจ้าหนา้ ท่ีสหกรณ์ 9. ปจั จยั สาคัญท่ีส่งผลต่อการนากลยทุ ธไ์ ปปฏิบตั งิ าน ปจั จยั สาคญั ท่ีส่งผลต่อการนากลยทุ ธ์ไปปฏบิ ัติงาน - การติดต่อส่ือสารภายใน โครงสร้างองค์กร ผู้นา วฒั นธรรม - วัฒนธรรมองค์กร และระบบงาน  ตอ้ งสามารถช้ีนํา  ความเชื่อ  การกระตุ้น / ชักจูง  มีความเข้าใจ  ความนยิ ม  ตอ้ งปรับปรงุ  มคี วามเอาจรงิ  การยอมรับสิง่ ใหม่ ใหท้ ุกฝุายเกิดการ ระบบงาน  การปรบั ตวั ยอมรบั และเห็นชอบ  ขอบเขตหรอื ภาระ เอาจงั  ชแี้ จงทําความเข้าใจใน งาน การเปลี่ยนแปลง ซึง่ จะ  ค่าช้ีวัดความสาํ เรจ็ เกิดผลดีในที่สดุ

18 9. การจัดโครงสร้างองค์กรของสหกรณ์ออมทรัพยส์ าธารณสขุ ปราจนี บุรี จากัด โครงสร้างองค์กรของสหกรณอ์ อมทรัพย์สาธารณสุขปราจนี บรุ ี จากดั มวลสมาชิก ผู้ตรวจสอบกิจการ ท่ีประชมุ ใหญ่ ทปี่ รกึ ษา คณะกรรมการดาํ เนนิ การ ผูส้ อบบัญชี คณะกรรมการศกึ ษา คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ประชาสมั พนั ธ์ อาํ นวยการ พจิ ารณาเงินกู้ ธรรมาภิบาล คณะกรรมการ ผู้จัดการ คณะกรรมการ ประเมนิ บริหารความเส่ียง สินทรพั ยท์ ่ีเปน็ หลักประกัน คณะอนุกรรมการ คณะอนกุ รรมการแก้ไข ตรวจนบั พัสดุ ปัญหาขอ้ ร้องเรียน ฝุายการเงิน ฝุายบญั ชี / ฝุายธุรการ แมบ่ า้ น สินเชอ่ื

19 บทท่ี 6 แผนกลยุทธ์ ความหมาย แผนกลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ คือแผนที่แสดงทิศทางการดําเนินงานและสะท้อนวิสัยทัศน์หรือเปูาหมายของ องคก์ ร โดยทั่วไปจะมีระยะเวลา 3 - 5 ปี ซ่ึงกลยุทธ์ท่ีเหมาะสมจะต้องมีความชัดเจน สอดคล้องกับเปูาหมาย ยดื หย่นุ และสามารถปรับเปลย่ี นใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพแวดล้อมท่ีเปลย่ี นแปลงได้ แผนการดาเนินงาน แผนการดาํ เนินงาน คือ แผนทก่ี ําหนดกรอบโดยรวมขององค์กร เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ให้สําเร็จตามแผนกลยุทธ์ข้างต้นและเป็นแนวทางให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ ในการกําหนดแผนปฏิบัติการ โดยท่ัวไป จะเป็นแผนระยะส้ันไม่เกิน 1 ปี ประกอบด้วยเปูาหมาย ผลกําไร หน้าท่ีความรับผิดชอบ ปริมาณ ทรัพยากรทีใ่ ช้กรอบเวลาดาํ เนินงานและเกณฑ์ในการตดิ ตามผลการปฏิบตั งิ าน ซ่ึงควรสอดคลอ้ งกนั การแปลงแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ (Strategy Implementation) ในการแปลงแผนสู่การปฏบิ ัติ เพื่อให้แผนสมบรู ณ์และนําไปสู่การปฏิบัติท่ีมีประสิทธิภาพ เกิด ประสิทธิผล ได้แก่ Balanced Scorecard (BSC) มาปรับใช้ 4 มุมมอง คือ มุมมองด้านการเรียนรู้และการ เจริญเติบโต (Learning and Growth Perspective) มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) มุมมองด้านผู้รับบริการ (Customer Perspective) มุมมองด้านประสิทธิผล (Effectiveness Perspective) โดยการกําหนดนํ้าหนักความสําคัญแต่ละมุมมองให้สอดคล้องกับนโยบายสําคัญ เพื่อนําไปสู่ วสิ ัยทัศนท์ ก่ี ําหนดไว้ พร้อมกบั กําหนดตัวชว้ี ดั ผลการดําเนินการหลกั (Key Performance Indicator : KPI)

แผนทีย่ ุทธศาสตร์ สหกรณ์ออมทรพั ย์สาธา วิสยั ทัศน์ : เปน็ สหกรณอ์ อมทรพั ยท์ ม่ี หี ลกั บริหารจัดการเปน็ เลิศด้วยหลกั ธรรมาภิบาล คา่ นิยม พันธกจิ : 1.พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ 2.พฒั นาระบบสารสนเทศ 3.พัฒน ยทุ ธศาสตร์ 1.พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการสหกรณ์ ให้มปี ระสทิ ธภิ าพ เปา้ ประสงค์ ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานสหกรณ์ KPI ผา่ นเกณฑป์ ระเมินตามมาตรฐาน กลยุทธ์ สหกรณ์ระดบั ดีเลิศ 1.เพมิ่ คณุ ภาพการ 2.ร่วมมอื กับภาคเี ครือข่าย 3.ส ดําเนนิ งานตามเกณฑ์ ในการสรา้ งคณุ ประโยชน์ มาตรฐานของสหกรณ์ ต่อสังคม 1.โครงการสหกรณ์ธรร 2.โครงการสหกรณ์ 4 มาภบิ าลและมาตรฐาน เอ้ือเฟื้อและแบ่งปนั ก สหกรณ์ 3.โครงการสหกรณ์เพอ่ื แ คณุ ภาพสิ่งแวดล้อม 5 4.โครงการภาคีสหกรณ์ ก ร่วมใจทําดี ในวัน 6 สหกรณ์แหง่ ชาติ เ 7 เ

20 ารณสขุ ปราจีนบรุ ี จากัด ปี 2566 - 2570 ม : มุ่งมัน่ พฒั นา ยดึ หลักธรรมาภบิ าล บริหารโปรง่ ใส ใส่ใจสมาชกิ นาสวสั ดิการสมาชกิ 4.สรา้ งความร่วมมอื เครอื ข่ายสหกรณ์และเกื้อกลู สังคม 2.พฒั นาศกั ยภาพบุคลากร 3.พัฒนาระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ บคุ ลากร 3 ฝาุ ยมีความรู้ ความเข้าใจ มีระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศทท่ี นั สมยั และทักษะในการดําเนนิ งานสหกรณ์ และเหมาะสม ระดับความสาํ เร็จในการพัฒนา ระดบั ความสาํ เรจ็ ของงานสารสนเทศ บุคลากร ส่งเสริมและสนับสนนุ บุคลากร 4.ส่งเสรมิ ใหส้ มาชกิ มี 5. พฒั นาระบบเทคโนโลยแี ละสารสนเทศให้ ทั้ง 3 ฝาุ ย ใหม้ กี ารเรียนรู้ คุณภาพชีวิตทด่ี ี ตอบสนองการใชง้ านของสมาชกิ กรรมการ และพัฒนาอย่างตอ่ เนอ่ื ง และเจา้ หนา้ ที่ 4.โครงการอบรมความร้เู รอื่ ง 8.โครงการสง่ เสรมิ อาชีพ 11.โครงการเพม่ิ 12.โครงการพฒั นา กฎหมายสหกรณ์ ความเสยี่ ง สมาชิก ประสิทธภิ าพ เทคโนโลยแี ละ และการควบคุมภายใน 9.โครงการสง่ เสริม การสือ่ สาร โดย สารสนเทศ 5.โครงการจัดการความรู้เรือ่ ง คุณภาพชีวติ สมาชกิ เนื่อง ช่องทางสอ่ื สารท่ี 13.โครงการ การออม ในวนั ครบรอบ 30 ปีของ ทันสมยั E-Banking เพอ่ื 6.โครงการพฒั นาศกั ยภาพ สหกรณ์ บรกิ ารสมาชิก เจ้าหนา้ ที่ 10.โครงการสมั มนาการ 7.โครงการสมั มนาความรู้ บริหารการเงนิ สมาชิก เกยี่ วกบั สหกรณต์ น้ แบบ เกษียณ/ลาออก

แผนยุทธศาสตร์พัฒนา สหกรณ์ออม ระยะเวลา 5 ปี (พ ท่ี ยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ 1 พัฒนาระบบ บรหิ ารงาน  เกณฑม์ าตรฐานทาง 1.โครงการสหกรณ์ บริหารจดั การ สหกรณใ์ หผ้ ่าน การเงินและบญั ชี ธรรมาภบิ าลและ สหกรณใ์ หม้ ี เกณฑ์มาตรฐาน  เกณฑม์ าตรฐาน มาตรฐานสหกรณ์ ประสิทธิภาพ ความเข้มแขง็ ของ สหกรณ์  สหกรณ์ธรรมาภิบาล 2.โครงการพัฒนา สหกรณ์ทม่ี ีผลงานดเี ด่น  ความรว่ มมือกับ 3.โครงการสหกรณ์ ภาคีเครือขา่ ยในการ เอ้ือเฟ้อื และแบ่งปนั สรา้ ง คุณประโยชน์ 4.โครงการสหกรณ์เพือ่ ต่อสงั คม คุณภาพสิ่งแวดล้อม 5.โครงการภาครี ่วมใจทาํ ดีวันสหกรณ์แหง่ ชาติ 2 พฒั นาศกั ยภาพ บุคลากร 3  สง่ เสรมิ และ 6.โครงการอบรมความรู้ บุคลากรของ ฝาุ ย มคี วามรู้ สนับสนนุ บุคลากรทัง้ เรื่องกฎหมายสหกรณ์ สหกรณ์ ความเขา้ ใจ 3 ฝาุ ยใหม้ ีการเรยี นรู้ ความเสีย่ งและการ และทกั ษะใน และพฒั นาอย่าง ควบคมุ ภายใน การดาํ เนนิ งาน ตอ่ เน่ือง 7.โครงการจดั การความรู้ ของสหกรณ์ เรอ่ื งการออม 8.โครงการพัฒนา ศกั ยภาพเจ้าหน้าที่ สหกรณ์

21 มทรัพยส์ าธารณสุขปราจีนบุรี จากัด พ.ศ.2566 - 2570) งบประมาณ (บาท) 2566 2567 2568 2569 2570 ตัวชวี้ ัด ผู้รับผิดชอบ  ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 - คณะกรรมการ ทางการเงนิ และบญั ชี อํานวยการ  ผา่ นเกณฑ์สหกรณ์ - คณะกรรมการ ธรรมาภบิ าล ธรรมาภบิ าล  ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 - ฝาุ ยจัดการ ความเข้มแข็งของสหกรณ์  สมาชกิ มีสว่ นร่วม ไม่ 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 - คณะกรรมการ น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของ ศึกษาประชาสมั พนั ธ์ เปาู หมาย 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 - คณะกรรมการ อํานวยการ 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000  คณะกรรมการ 15,000 15,000 15,000 15,000 15,000 - คณะกรรมการ สหกรณเ์ ข้ารับการ ดาํ เนนิ การ อบรมครบ 100%  สมาชกิ มีส่วนรว่ มใน 5,000 5,000 5,000 5,000 5,000 - คณะกรรมการ โครงการอย่างน้อยร้อย ศึกษาประชาสัมพนั ธ์ ละ 80% ของเปาู หมาย  เจา้ หนา้ ท่สี หกรณ์ผ่าน 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 - ฝาุ ยจัดการ การอบรมฟืน้ ฟทู ักษะการ ปฏิบัติงานอยา่ งนอ้ ยคน ละ 1 หลกั สตู ร/คน/ปี

ที่ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ แผนงาน/โครงการ 9.โครงการสมั มนา ความรู้เกย่ี วกับสหกรณ์ ตน้ แบบ  ส่งเสริมให้สมาชกิ มี 10.โครงการส่งเสรมิ คุณภาพชีวิตทดี่ ี อาชพี สมาชิก 11.โครงการส่งเสรมิ คุณภาพชีวิตเน่อื งในวนั ครบรอบ 30 ปขี อง สหกรณ์ 12.โครงการสัมมนาการ บรหิ ารการเงนิ ของ สมาชิกเกษยี ณ/ลาออก 3 พฒั นาระบบ มีระบบ  พัฒนาระบบ 13.โครงการเพมิ่ เทคโนโลยแี ละ เทคโนโลยที ี่ เทคโนโลยแี ละ ประสทิ ธิภาพการสอ่ื สาร สารสนเทศ ทันสมยั และ สารสนเทศให้ โดยช่องทางส่อื สารท่ี เหมาะสม ตอบสนองการใช้งาน ทนั สมยั ของสมาชกิ กรรมการ 14.โครงการพัฒนา และเจา้ หน้าทสี่ หกรณ์ เทคโนโลยแี ละ สารสนเทศ 15.โครงการ E-Banking เพือ่ บริการสมาชิก

22 ตัวชว้ี ดั งบประมาณ (บาท) ผูร้ ับผดิ ชอบ 2566 2567 2568 2569 2570  บคุ ลากรมีส่วนร่วมใน 100,000 100,000 100,000 100,000 100,000 - คณะกรรมการ โครงการอยา่ งน้อยร้อยละ ศึกษาประชาสัมพนั ธ์ 80% ของเปูาหมาย - ฝาุ ยจดั การ  สมาชกิ มีส่วนร่วมใน 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 - คณะกรรมการ โครงการอย่างน้อยรอ้ ย ศึกษาประชาสัมพนั ธ์ ละ 80% ของเปูาหมาย  สมาชกิ มีส่วนรว่ มใน 300,000 - - - - - คณะกรรมการ โครงการอยา่ งน้อยร้อย ดําเนนิ การ ละ 80% ของเปูาหมาย  สมาชกิ มสี ว่ นร่วมใน 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 - คณะกรรมการ โครงการอย่างนอ้ ยร้อย เงินกู้ ละ 80% ของเปูาหมาย  มเี คร่ืองมือและชอ่ งทาง 30,000 25,000 25,000 25,000 25,000 - คณะกรรมการ ท่ที ันสมัยและหลากหลาย ศกึ ษาประชาสัมพนั ธ์ ในการสือ่ สาร อยา่ งน้อย 3 ชอ่ งทาง  มรี ะบบงานสหกรณใ์ หม่100,000 50,000 20,000 20,000 20,000 - คณะกรรมการ เคร่ืองมือทท่ี ันสมยั ขน้ึ ใน ศึกษาประชาสัมพนั ธ์ การใหบ้ รกิ ารสมาชิก - ฝุายจัดการ  สมาชกิ มที างเลอื กใน 100,000 20,000 20,000 20,000 20,000 - คณะกรรมการ การใช้บริการจากสหกรณ์ ดาํ เนินการ เพม่ิ ขึ้นมากกวา่ 1 วิธี

23 บทท่ี 7 การควบคมุ กากบั ตดิ ตามและประเมินผล กรอบแนวคดิ การควบคมุ กาํ กบั ติดตามและประเมินผล ถือเปน็ ข้ันตอนสาํ คัญที่จะช้ีให้เห็นว่า สหกรณ์มีการนําแผน ยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติอย่างแท้จริงเพียงใด ผลการดําเนินงานเป็นไปตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาหมาย และ วัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้มากน้อยเพียงใด การควบคุม กํากับ ติดตามและประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ เป็น กระบวนการสําคญั เพื่อใหไ้ ด้ข้อมูลเก่ียวกับผลสัมฤทธ์ิของงาน ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการในการสร้าง ผลผลิต และการให้บริการของสหกรณ์ การติดตามและประเมินผลที่ทําอย่างสม่ําเสมอ จะทําให้ได้ข้อมูลท่ี ครบถ้วนและมีความน่าเช่ือถือ และจะเป็นเคร่ืองมือที่มีประสิทธิภาพของคณะกรรมการดําเนินการในการ จดั การทรัพยากรและการตัดสินใจในการบรหิ ารงานได้อยา่ งถกู ต้อง การปฏบิ ตั ิงานตามแผนกลยทุ ธจ์ ะเกดิ ผลสําเร็จ ตามตวั ชว้ี ดั ความสาํ เรจ็ นัน้ มรี ูปแบบในการดําเนินการ ดังน้ี 1. การควบคุม เป็นการควบคุมแบบข้อมูลย้อนกลับ คือ การกํากับ ติดตาม ดูแลให้ดําเนินงานบรรลุ เปูาหมายหรือวัตถุประสงค์ โดยการมอบความรับผิดชอบระหว่างฝุายจัดการ คณะกรรมการดําเนินการ ซึ่ง อาศัยโครงสร้างของสหกรณ์ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ การควบคุมยุทธวิธีและการควบคุมการดําเนินการ โดย การจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั ิการรายปี มีการสรุปผลการดําเนินงานรายปี 2. การควบคุมด้วยระบบการวัดผลการปฏิบัติงานดุลยภาพ การวัดผลหรือประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามกลยุทธแ์ บบดลุ ยภาพ ไดน้ ําเคร่ืองมือระบบการบรหิ ารงานและประเมินผลท่ัวท้ังองค์กร (Balanced Score Card : BSC) โดยระบบประเมินตามตัวช้ีวัดผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators : KPIs) 5 มุมมอง คือ มุมมองด้านสมาชิก มุมมองด้านผู้บริหาร มุมมองด้านเจ้าหน้าท่ี มุมมองด้านกระบวนการปฏิบัติงาน และ มุมมองด้านการเงินและลงทุน ซ่ึงจะทําการประเมินและสรุปผลการดําเนินงาน เม่ือส้ินสุดระยะเวลาตามแผน ยทุ ธศาสตร์ ฉบับท่ี 6 (2566 - 2570) 3. การควบคุมด้วยระบบการวัดสมรรถนะบุคคล การวัดสมรรถนะบุคคล เป็นหัวใจสําคัญในการ ขับเคลื่อนกลยุทธ์สู่ความสําเร็จ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีและผู้นําสหกรณ์จะต้องทําความเข้าใจกับบุคลากรและ พัฒนาไปพร้อม ๆ กัน และกําหนดแรงจูงใจในการปฏิบัติงานสู่ความสําเร็จให้ชัดเจน พร้อมกับมีการวัดหรือ ประเมนิ สมรรถนะควบคู่กนั ไป ดงั นี้ วัดความรู้ วัดความชํานาญ วัดสมรรถนะทางการบริหารและความเป็นผู้นํา วัดสมรรถนะภายในองค์กรเป็นรายปที กุ ปี 4. การประเมินผลระยะคร่ึงแผน เป็นการประเมินผลในช่วง 2 ปีแรกของแผน เมื่อส้ินสุดปีบัญชี พ.ศ. 2567 ทั้งน้ี เพ่ือทบทวนความก้าวหน้าและอุปสรรค อีกทั้งทบทวนกลยุทธ์ ตัวชี้วัด เปูาหมาย หรือปรับเปล่ียน กจิ กรรมใหม้ ีความเหมาะสม 5. การประเมินผลเมื่อส้ินสุดแผน เป็นการประเมินผลแผนกลยุทธ์ เม่ือส้ินสุดปีบัญชี พ.ศ.2570 เพ่ือ สรุปการปฏิบัติงานและผลสัมฤทธิ์ ที่เกิดข้ึนตลอดระยะเวลา 5 ปี (2566 - 2570) ดําเนินการเปรียบเทียบ ผลลพั ธ์ท่ีไดว้ า่ บรรลุเปาู หมายตามทสี่ หกรณก์ ําหนดไวห้ รือไม่ หรืออาจมีการเทียบเคยี งกับสหกรณ์อ่ืน

24 วัตถปุ ระสงค์ การควบคุม กํากับ ติดตามและประเมินผลตามยุทธศาสตร์ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2566 - 2570) มี วัตถุประสงค์ ดังน้ี 1. เพอื่ ติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลการดําเนินงาน ว่ามีการดําเนินการไปตามระยะเวลาและ เปูาหมายทีก่ ําหนดไวห้ รอื ไม่ มีปญั หา อุปสรรคอยา่ งไร 2. เพื่อนําผลไปกําหนดแนวทางและมาตรฐานในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้งานมีความก้าวหน้าจน สามารถบรรลเุ ปาู หมายตามทกี่ ําหนดไว้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 3. เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริหาร ในการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ การ ดําเนนิ งานทเ่ี หมาะสมตอ่ ไป 4. เพื่อช่วยในการปฏิบัตงิ านใหเ้ จ้าหน้าที่ได้เกิดการเรียนรู้ กระบวนการทํางาน และสามารถพัฒนาให้ ดียงิ่ ขน้ึ แนวทางในการควบคมุ กากับ ตดิ ตาม และประเมินผลแผนยทุ ธศาสตร์ การควบคุม กํากับ ติดตามและประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2566 - 2570) มีแนวทาง ในการควบคุม กาํ กบั ตดิ ตามและประเมินผล ดงั น้ี 1. จัดทําแนวทางการควบคุม กํากบั ตดิ ตามและประเมินผลให้ครอบคลมุ ทกุ กลยุทธ์ 2. ดาํ เนินการควบคมุ กํากบั ติดตามและประเมนิ ผลตามแนวทางท่ีกําหนดไว้ 3. นําแผนปฏิบัติการประจําปี มาวิเคราะห์ว่าได้นําแผนส่วนใด ในแผนยุทธศาสตร์ส่วนใด ไปปฏิบัติ แล้วในปใี ด โดยจัดทาํ แบบเชค็ รายการ 4. เมื่อสิ้นสุดแผนปฏิบัติการ ให้นํารายงานผลการปฏิบัติการมาวิเคราะห์เปรียบเทียบเปูาหมายแต่ ละกลยทุ ธ์ 5. จัดทํารายงานแผนยุทธศาสตร์เป็นรายปี เพื่อเร่งรัดหรือเพิ่มเติมการดําเนินการให้มีประสิทธิภาพ มากขึน้ 6. เม่ือส้ินสดุ ระยะเวลาตามแผนยทุ ธศาสตร์ ให้รวบรวมผลจากแผนปฏิบัติการทั้งหมดเปรียบเทียบกับ เปาู หมาย แล้ววิเคราะหผ์ ลการดําเนนิ งาน 7. รายงานผลการประเมินให้ผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียรับทราบ 8. นําผลการประเมนิ ไปใชเ้ ป็นฐานในการจดั ทําแผนยทุ ธศาสตรฉ์ บับตอ่ ไป ---------------------------------------------------------------------------

สหกรณ์ออมทรพั ย์ สาธารณสุขปราจีนบุรี จากัด

สารบัญ เรื่อง หน้า บทนํา 1 หลักการสหกรณ์ 2 หลักการจดั สวัสดิการในสหกรณ์ 3 ขอ้ มูลพ้นื ฐานและผลการดาํ เนินงานทส่ี ําคญั 4 แผนกลยทุ ธ์ 7 แผนปฏบิ ตั ิการตามยุทธศาสตรป์ ระจําปี 2566 11 กลไกการขับเคลือ่ นแผนสู่การปฏิบัหติ 22 แผนประมาณการรายรับ-รายจ่าย ประจาํ ปี 2566 24

1 บทนา ความเป็นมา สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด ได้จดทะเบียนก่อต้ังตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 เมื่อวนั ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.2536 เริ่มดําเนินการประกอบธุรกิจตั้งแต่วันท่ี 10 สิงหาคม 2536 ปัจจุบัน สํานักงานต้ังอยู่ภายในสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี เลขที่ 104 หมู่ 8 ต.รอบเมือง อ.เมือง จ.ปราจีนบรุ ี ในการรเิ รมิ่ ก่อตั้งมสี มาชิกร่วมก่อตัง้ จาํ นวน 394 คน มที ุนเรือนหุ้นเม่อื แรกเข้า 10,179 หุ้น เป็น เงินค่าหุ้น 101,790 บาท โดยมีเงินทุนของสหกรณ์เมื่อแรกต้ังคิดค่าธรรมเนียมคนละ 30 บาท สมาชิก 374 คน เป็นเงิน 11,220 บาท รวมทุนดําเนินการท้ังสิ้นเมื่อแรกตั้ง 113,010 บาท ซ่ึงประธานคณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ คือนายวิเชียร กัณหารี ได้มีการประชุมเพ่ือขอดําเนินการตั้งสหกรณ์เม่ือวันท่ี 10 มีนาคม 2536 และเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2536 คณะกรรมการดําเนินการโดยมีนายบพิธ บัวมูล ผอ.สว.บส.ในขณะนั้นประธาน คณะกรรมการดําเนินการได้เรียกประชุมใหญ่สามัญครั้งแรก หลังจากสหกรณ์ได้รับการจดทะเบียนแล้ว (เม่ือ วันที่ 26 กรกฎาคม 2536) ณ หอประชุมจังหวัดปราจีนบุรีและได้ดําเนินกิจการมาถึงปัจจุบัน เป็นเวลา 29 ปี สหกรณม์ ีความกา้ วหนา้ ม่นั คง เป็นที่เชอ่ื ม่นั และศรัทธาของสมาชิกและบคุ คลโดยทั่วไป ในการบริหารสหกรณ์ ได้จัดทําแผนกลยุทธ์ประจําปีทุกปีเพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาสหกรณ์ และส้ินสุดระยะเวลาตามแผนฯ ในวนั ที่ 31 ธนั วาคม 2566 ซึ่งแผนกลยุทธ์นี้เป็นรูปแบบการวางแผนท่ีช่วยให้ สหกรณ์พัฒนาตนเองได้ทันกับสภาพการเปล่ียนแปลงได้อย่างเหมาะสม การวางแผนกลยุทธ์มีความสําคัญกับ การศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกเป็นประเด็นสําคัญ การวางแผนกลยุทธ์เป็นเง่ือนไข หนึ่งของการจัดการองค์กร จัดระบบการบริหาร ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธผิ ล เปน็ ท่พี งึ พอใจของมวลสมาชิกและสังคม จากการดําเนินงานท่ีผ่านมาเกิดจากการท่ีคณะกรรมการ และฝุายจัดการได้ร่วมกันวางแผน วางกลยุทธ์ ซ่ึงเป็นกรอบและทิศทางในการดําเนินงานอย่างมีระบบ มีแบบ แผนจนทําให้สหกรณ์ออมทรัพย์สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี จํากัด ประสบความสําเร็จในการ บริหารงานซ่ึงได้รบั การประเมินอยู่ในระดบั ดเี ลศิ ในปี 2561 - 2565 ดังน้ันเพื่อเป็นการรักษาความเป็นเลิศและการบริหารงานเพ่ือขับเคลื่อนองค์กร ก้าวสู่มาตรฐานสากลของ บุคลากรที่ได้รับการพัฒนาอย่างมืออาชีพ จึงได้จัดทําแผนกลยุทธ์ฉบับ 6 ปี (2566 – 2570) ข้ึนมาเพื่อใช้เป็น กรอบและทิศทางการดําเนินงานในอนาคตของสหกรณ์ โดยแผนท่ีกําหนดขึ้นจะถูกนําไปพัฒนาเป็นแผนงาน/ โครงการของสหกรณ์ในช่วงระยะเวลาการดําเนินการเป็นปีๆ ไป โดยคํานึงถึงสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ท่ีมีผลกระทบ ตอ่ สหกรณ์มาเปน็ ตัวกําหนดทิศทาง แล้วนํามาวางแผนการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพอันจะส่งผลให้สหกรณ์ เกิดความมั่นคง เป็นสหกรณ์ช้ันนํา เป็นองคก์ รการเงินทม่ี ั่นคงและเปน็ ท่ีพึ่งพาของสมาชกิ และสังคมต่อไป อนึ่ง ในการบริหารสหกรณ์จะมีโครงสร้างการบริหารจัดการในรูปของคณะกรรมการ มีคณะกรรมการ ดําเนินการ ซ่ึงมาจากการเลือกต้ังของที่ประชุมใหญ่เป็นฝุายบริหาร มีจํานวน 15 คน จัดโครงสร้างเป็น ประธานกรรมการ 1 คน รองประธาน 2 คน เหรัญญิก 1 คน เลขานุการ 1 คน ที่เหลือเป็นกรรมการ นอกจากน้ันยังแบ่งคณะกรรมการตามภาระหน้าที่ออกเป็น 3 ชุด ประกอบด้วย คณะกรรมการอํานวยการ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ และคณะกรรมการเงินกู้ มีฝุายจัดการเป็นฝุายปฏิบัติงาน ซึ่งมี ผู้จัดการเป็นผ้บู งั คบั บญั ชา แบ่งงานภายในเปน็ 2 ฝาุ ย ประกอบดว้ ย ฝาุ ยการเงินและธุรการ และฝุายบัญชีและ สนิ เชอื่ ครอบคลมุ งานฝุายบริหารงานทัว่ ไป ฝุายเร่งรัดหน้ีและงานกฎหมาย ฝุายนโยบายแผนงบประมาณและ พัฒนาระบบ รวมท้ังฝุายสวัสดิการและทุนสาธารณประโยชน์ โดยมีผู้ตรวจสอบกิจการ จํานวน 3 คน มาจาก การเลือกต้ังของท่ีประชุมใหญ่ ทําหน้าที่ตรวจสอบการดําเนินการของสหกรณ์เพื่อรายงานต่อท่ีประชุม

2 คณะกรรมการดําเนินการประชุมประจําเดอื นและรายงานต่อที่ประชมุ ใหญ่สามญั ประจาํ ปี ท้ังน้ีอยู่ภายใต้ พรบ. สหกรณ์ ปี 2542 และฉบบั ท่ี 2 ปี 2543 และข้อบงั คับสหกรณ์ ปี 2544 และเพมิ่ เตมิ พ.ศ.2557 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยทุ ธ์ และเปูาหมายของสหกรณ์ 2. เพอ่ื เปน็ กรอบและทศิ ทางในการบรหิ ารจดั การสหกรณ์ในระยะเวลา 5 ปี 3. เพื่อเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการดําเนนิ งานของสหกรณใ์ ห้ก้าวทันตอ่ การเปล่ยี นแปลง 4. เพื่อพัฒนาสหกรณ์ใหม้ คี วามมน่ั คง ย่ังยนื และพรอ้ มก้าวสู่มาตรฐานสากล ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 1. สหกรณ์มีกรอบและแนวทางในการพัฒนาการและดําเนนิ งานในระยะเวลา 3 - 5 ปี ซึ่งกรอบและแนว ทางการดาํ เนนิ งานดังกล่าวจะมีความสอดคลอ้ งกบั ปัจจัยสภาพแวดล้อม 2. กรอบทิศทางการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์ จะเป็นลักษณะการบริหารงานเชิงรุก ซึ่งจะช่ว ย สนับสนนุ ให้สหกรณ์มีบทบาทในการดําเนนิ ธรุ กจิ มากยง่ิ ขนึ้ อันนาํ ไปสู่การเสริมสร้างภาพลักษณ์ของสหกรณ์ให้ เปน็ ท่ยี อมรบั ของมวลสมาชิกและสงั คม 3. เป็นเคร่ืองมือในการขบั เคลื่อนการดาํ เนินงานของสหกรณ์ใหม้ ีประสิทธิภาพและนําไปสู่การให้ บริการ อันเปน็ ท่พี งึ พอใจของมวลสมาชิกและสังคมอย่างยงั่ ยืน 4. เป็นทิศทางในการพฒั นาสหกรณ์อนั นําไปสู่ความเป็นเลิศพร้อมกา้ วส่มู าตรฐานสากล หลกั การสหกรณ์ หลักการสหกรณ์ คือแนวทางท่ีสหกรณ์ยึดถือปฏิบัติเพ่ือให้คุณค่าของสหกรณ์เกิดผลเป็นรูปธรรม ซึ่ง ประกอบดว้ ยหลกั การทีส่ ําคัญรวม 7 ประการ ดงั น้ี หลักการท่ี 1 การเปน็ สมาชกิ โดยสมคั รใจและเปิดกว้าง (Voluntary and open Membership) หลักการที่ 2 การควบคมุ โดยสมาชกิ ตามหลกั ประชาธิปไตย (Democratic Member Control) หลกั การที่ 3 การมีสว่ นร่วมทางเศรษฐกจิ ของสมาชกิ (Member Economic Participation) หลักการท่ี 4 การปกครองตนเองและความเปน็ อสิ ระ (Autonomy and Independence) หลกั การที่ 5 การศึกษา ฝกึ อบรมและสารสนเทศ (Education , Training and Information) หลกั การท่ี 6 การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ (Cooperation among Cooperatives) หลักการที่ 7 การเออ้ื อาทรตอ่ ชุมชน (Concern for Community)

3 หลกั การจัดสวัสดิการในสหกรณ์ การจัดสวัสดิการของสหกรณ์ เป็นการจัดผลประโยชน์ใด ๆ นอกเหนือจากค่าตอบแทนตามปกติท่ี คณะกรรมการสหกรณ์ฯ จัดให้มีขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์การช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกให้แก่สมาชิก เจ้าหน้าท่ีหรือชุมชน เพ่ือประโยชน์ในการดํารงชีวิตหรือเพ่ือประโยชน์แก่การสนับสนุนการปฏิบัติงานหรือที่ คณะกรรมการฯ เหน็ สมควร  วตั ถุประสงค์ โดยความหมายแล้วการจัดสวัสดิการมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงหรือยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน โดยมี วตั ถปุ ระสงคก์ ารจดั ระบบสวัสดกิ ารของสหกรณ์ แบ่งเป็น 2 สว่ น ดงั นี้ 1. วตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดสวสั ดกิ ารสําหรับเจา้ หนา้ ที่ 1.1 สร้างขวัญกาํ ลงั ใจในการปฏบิ ตั ิงาน การส่งเสรมิ สขุ ภาพจติ ท่ีดใี นการทาํ งาน 1.2 ยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ปฏิบัติงาน อาทิ เศรษฐกิจ สุขภาพกาย สุขภาพใจ ส่ิงอํานวยความ สะดวกพืน้ ฐาน 1.3 เสริมสร้างความสมั พนั ธท์ ดี่ รี ะหวา่ งหน่วยงานกับผู้ปฏิบตั งิ านและระหวา่ งผู้ปฏบิ ตั ิงานด้วยกนั ก่อให้เกิดความสามัคคีเปน็ การปูองกนั ความขัดแยง้ 1.4 ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลในการปฏบิ ตั งิ านดี สามารถเพ่มิ ผลผลติ แกห่ นว่ ยงานใหส้ งู ข้นึ 1.5 เพอ่ื เป็นสิ่งจงู ใจในการจัดหาคนเขา้ ทํางาน 1.6 เพ่อื บํารงุ รกั ษาบุคลากรให้จงรักภกั ดี ซอ่ื สตั ย์ ต่อหนว่ ยงาน 2. วตั ถุประสงคข์ องการจดั สวัสดิการสําหรับสมาชิก 2.1 บรรเทาความเดอื ดรอ้ น ยกระดบั คุณภาพชวี ติ ที่ดีข้นึ 2.2 เพือ่ ดงึ ดูดสมาชกิ ลดอตั ราการเข้า-ออกบอ่ ยของสมาชิก 2.3 เพอื่ เพ่มิ ขวัญกาํ ลงั ใจ เพมิ่ ความพงึ พอใจและลดโอกาสท่ีจะเกิดปัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ 2.4 เพอื่ เปดิ โอกาสในการประชาสัมพนั ธอ์ งค์กรในการสร้างชอื่ เสยี งต่อภายนอกและการไดร้ บั ความรว่ มมือจากสมาชิก  รปู แบบการจดั สวสั ดิการในสหกรณอ์ อมทรัพย์ การจัดสวสั ดกิ ารในสหกรณ์ออมทรพั ย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จาํ กดั มรี ปู แบบต่าง ๆ ดังน้ี 1. ทนุ ส่งเสริมการศึกษาบุตรสมาชิก 2. ทนุ สวัสดิการของสมาชิก ประเภทต่าง ๆ ไดแ้ ก่ 2.1 สวสั ดกิ ารวันเกดิ สมาชกิ 2.2 สวัสดิการสําหรับสมาชกิ ผเู้ ป็นโสด 2.3 สวัสดิการเพอ่ื การสมรส 2.4 สวัสดิการเพ่ือการอุปสมบท 2.5 สวสั ดกิ ารเพ่ือรบั ขวญั ทายาทสมาชิก 2.6 สวัสดกิ ารเย่ยี มไข้ - เย่ยี มไข้สมาชกิ - เย่ยี มไขบ้ ุคคลในครอบครัว 2.7 สวสั ดิการสมาชิกกรณีทุพพลภาพ

4 2.8 สวสั ดิการสมาชกิ ประสบสาธารณภยั 2.9 สวัสดกิ ารบําเหน็จสมาชกิ 2.10 สวัสดกิ ารเพอื่ ช่วยเหลอื งานศพสมาชกิ และบุคคลในครอบครัว 3. ทุนสาธารณประโยชนแ์ กอ่ งคก์ รสาธารณกุศลต่าง ๆ เป็นต้น 4. การฌาปนกจิ สงเคราะห์ ซง่ึ สหกรณ์ออมทรพั ย์สาธารณสขุ ปราจนี บุรี จํากัด จดั ใหส้ มาชกิ ไดเ้ ลือกทาํ ตามความสมัครใจ 4 ประเภท คือ 4.1 สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์สหกรณส์ มาชิกของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย (สส.ชสอ.) 4.2 สมาคมฌาปนกจิ สงเคราะหส์ มาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย (สสธท.) 4.3 กองทุนสวสั ดิการสมาชิกของสหกรณอ์ อมทรัพยส์ าธารณสุขไทย (กสธท.) 4.4 การเอาประกนั จากสถาบันเอกชนต่าง ๆ โดยความสมคั รใจ ข้อมูลพ้ืนฐานและผลการดาเนนิ งานท่สี าคัญ จํานวน 1,563 ราย จาํ นวน 86 ราย จานวนสมาชกิ เขา้ ใหม่ ลาออก เสยี ชวี ิต ประจาปี 2565 จํานวน 71 ราย สมาชิก ณ ต้นปี 2565 จํานวน 1,578 ราย สมาชิกเข้าใหม่ ระหวา่ งปี 2565 สมาชกิ ลาออก ระหว่างปี 2565 คงเหลือสมาชกิ (เพ่ิมขึ้น 0.95 %) อัตราการเพิ่มของสมาชกิ ในรอบ 5 ปี (พ.ศ.2561 – 2565) 2000 1500 1000 500 0 2561 2562 2563 2564 2565 จํานวนสมาชิก 1272 1424 1502 1563 1578 ผลการดาเนนิ งาน ประจาปี 2565 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด ได้ดําเนินการตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2536 ขณะนี้ ครบรอบปีท่ี 29 แล้วยังคงมีนโยบายเชน่ เดิม กลา่ วคอื 1) รักษาความม่ันคงและผลประโยชนข์ องสมาชกิ เป็นสําคัญ 2) ดาํ เนนิ กจิ การตามกฎหมาย ขอ้ บงั คับและระเบียบสหกรณ์ฯ อย่างเคร่งครัด 3) บรหิ ารงานด้วยความโปรง่ ใส ให้ความเอาใจใส่แก่สมาชกิ ทกุ คนดว้ ยความเสมอภาค 4) ใชจ้ า่ ยตามความจาํ เปน็ และประหยดั

5 ผลการดาเนินงานตลอดปี 2565 สรปุ ได้ดงั นี้ สมาชิกมีหนี้สินกบั สหกรณ์ จํานวน 779 ราย ( 49.37%) 799 ราย ( 50.63%) สมาชิกไม่มีหน้ีสินกับสหกรณ์ จํานวน 1,578 ราย (100.00%) รวม จํานวน ฐานทุนการเงินเปรียบเทยี บกบั ปี 2563 - 2565 รายละเอยี ด ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 เพม่ิ /(ลด) ปี 2564/2565 จาํ นวนสมาชกิ 1,502 1,563 1,578 - สมาชิกสามญั 1,134 1,220 1,232 15 - สมาชิกสมทบ 314 12 494,947,860.00 343 346 3 ทุนเรือนหุ้น 32,759,808.95 530,575,600.00 535,324,630.00 4,749,030.00 ทนุ สาํ รอง 1,299,357.43 36,357,058.81 39,637,445.82 3,280,387.01 ทนุ สะสมอ่ืน 624,328.77 101,996,463.26 1,944,122.52 2,568,451.29 เงินฝาก 3,371,294.71 ออมทรพั ย์พเิ ศษ 204,897.48 120,358,997.77 124,458,284.56 4,099,286.79 ออมทรพั ย์ 200,558.90 4,467,058.02 4,948,387.03 481,329.01 ออมทรัพย์ออมแหง่ ชาติ 428,093.51 205,442.73 - - ออมทรัพยเ์ กษียณสุข - 1,066,347.32 885,668.37 (180,678.95) ออมทรัพย์สนิ ทวสี ุข 8,704,378.18 1,654,631.04 1,183,704.91 (470,926.13) ออมทรัพย์พิเศษตา่ํ กวา่ แสน - 269,742.80 - สหกรณ์อน่ื - 3,852,330.15 3,939,356.62 87,026.47 - เงินกู้ 10,000,000.00 - -- กจู้ ากบคุ คลภายนอก 641,233,569.27 - -- เงินกูร้ ะหวา่ งปี 39,974,191.61 - -- เงินชาํ ระคนื เงนิ กู้ระหวา่ งปี 7,271,920.17 702,393,859.01 733,944,440.28 31,550,581.27 ลูกหน้เี งินกูค้ ้างชาํ ระ 32,702,271.44 39,829,191.58 39,065,834.74 (736,356.84) รายได้ของสหกรณ์(ลดลง) 7,025,321.48 7,540,104.40 514,782.92 รายจา่ ยของสหกรณ์(ลดลง) 32,803,870.10 31,525,730.34 (1,278,139.76) กาไรสทุ ธิ อัตราสว่ นกาไร/หนุ้ (พ.ศ.2561 – 2565) กาไร กาไร/ห้นุ ปี พ.ศ. หุ้นชาระแล้ว 29,266,964.50 0.07 2561 406,430,880.00 32,650,618.09 0.07 2562 456,733,460.00 32,702,271.44 0.07 2563 494,947,860.00 32,803,870.10 0.06 2564 530,575,600.00 31,525,730.34 0.06 2565 535,324,630.00

หนี้สนิ ทุนของสหกรณ์ สนิ ทรัพย์ ในรอบ 5 ปี (พ.ศ.2561-26565) 6 800 หน่วย : ลา้ นบาท 734 771 หน้สี ิน 600 634 ทุนของสหกรณ์ 621 677 สนิ ทรัพย์ 518 561 601 137 572 460 2565 400 200 111 102 116 133 0 2561 2562 2563 2564 รายได้ รายจา่ ย กาไรสทุ ธิ ในรอบ 5 ปี (พ.ศ.2561 – 2565) หนว่ ย : ล้านบาท 36.87 39.7 39.97 39.82 39.06 31.52 40 29.26 32.65 32.7 32.8 7.54 30 รายได้ 2565 รายจา่ ย 20 7.05 7.27 7.02 กําไร 7.6 10 0 2561 2562 2563 2564 ทนุ เรอื นหุ้น เงินรับฝากรวม เงินใหส้ มาชิกกู้ ในรอบ 5 ปี (พ.ศ.2561 – 2565) 800 หนว่ ย : ล้านบาท 702 733 600 560 544.72 596.88 641 135 406.43 456.73 494 530 2565 400 ทุนเรือนหนุ้ เงนิ รับฝากรวม 200 70.03 93.15 114 131 เงินให้สมาชิกกู้ 0 2561 2562 2563 2564

7 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมของสหกรณ์ เพื่อเป็นการช้ีให้เห็นถึงโอกาส อุปสรรค จุดแข็ง และ จุดอ่อนของสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จํากัด จะนําไปสู่การกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วตั ถปุ ระสงค์ และกลยุทธ์ เพือ่ ใชใ้ นการจดั ทาํ แผนกลยทุ ธ์สหกรณ์ต่อไป การประเมินสภาพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis) ที่ส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานในสถานการณ์ปัจจุบัน จากการประชุมร่วมกันของคณะกรรมการดําเนินการ ผู้ตรวจสอบกิจการและฝุายจัดการ เพื่อนําไปจัดทําแผน กลยุทธส์ หกรณ์ มรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ ผลการวิเคราะห์ปจั จยั สภาพแวดลอ้ ม 1. ปจั จยั สภาพแวดลอ้ มภายใน จดุ แขง็ (Strengths) S1 การบริหารงานของคณะกรรมการดําเนินงาน มีความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ มีประสทิ ธิภาพ เปน็ ไป ตามกฎหมาย ข้อบังคับหรอื ระเบียบสหกรณ์ S2 เจ้าหน้าทมี่ คี วามมงุ่ มน่ั ต้ังใจในการทํางาน มีทักษะและประสบการณ์ในการปฏบิ ตั ิงานเป็นอย่างดี และมีการบรกิ ารอยา่ งย้ิมแย้มแจ่มใส S3 ผตู้ รวจสอบมคี วามรูแ้ ละมุ่งม่นั ต้ังใจในการตรวจสอบกจิ การของสหกรณ์ สามารถนํางบการเงนิ มา วิเคราะห์ข้อมลู ให้คณะกรรมการตดั สินใจในการปฏบิ ัติงาน S4 สมาชกิ มีรายไดป้ ระจาํ ทแ่ี น่นอน S5 สหกรณ์มีความมนั่ คง มีต้นทนุ ภายในมากกวา่ หน้สี ินภายนอก S6 สหกรณม์ ีโครงสร้างองค์กรและการบรหิ ารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล S7 มผี ลการประเมินสหกรณ์สขี าวดว้ ยหลักธรรมาภิบาลแห่งเดียวของจังหวัดปราจนี บรุ ี S8 ผลการจดั ระดับมาตรฐานสหกรณต์ ามประกาศกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ไดร้ ะดบั ดเี ลศิ S9 ได้รบั เลือกเปน็ สหกรณด์ ีเดน่ ระดบั จังหวัด S10 สหกรณ์มดี อกเบีย้ เงนิ ฝากสงู และดอกเบ้ียเงินกู้ทต่ี ํ่ากว่าธนาคาร S11 สหกรณ์มีสวัสดกิ ารให้แก่สมาชกิ S12 มีเงินปนั ผล เฉลี่ยคนื ให้แก่สมาชิกในอตั ราทเี่ หมาะสม S13 สหกรณ์รับสมคั รสมาชกิ ใหม่และมสี มาชกิ สมทบ S14 มีเงนิ ฝากกับสหกรณ์อ่ืน จุดอ่อน (Weakness) W1 กรรมการส่วนใหญย่ งั ขาดความรู้ ทกั ษะ ความเชย่ี วชาญ ด้านการเงนิ บัญชี และกฎหมาย ท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั การบริหารงานสหกรณ์ W2 สมาชกิ บางสว่ นยงั มีความไม่คอ่ ยเขา้ ใจและตระหนักในบทบาทหนา้ ท่ีของตนเองนัก W3 ขาดเจา้ หนา้ ทท่ี ดี่ ูแลระบบโปรแกรมของสหกรณ์เตม็ เวลา W4 ระบบการตรวจสอบกจิ การสหกรณ์ ยงั เปน็ ระบบเอื้ออาทรยงั ไมส่ ะท้อนความเสย่ี งของสหกรณฯ์ ท่แี ทจ้ รงิ W5 ต้นทุนทางการเงินของสหกรณ์ฯ ยังสูง (ดอกเบย้ี จ่าย) W6 ค่าใช้จา่ ยเก่ียวกับเจ้าหน้าทม่ี ีอัตราเพ่ิมขนึ้ ทุกปี W7 เงินทนุ สาํ รองของสหกรณย์ ังคงอยู่ในระดบั ตาํ่

8 W8 ยังขาดโปรแกรมการใหบ้ ริการธุรกรรมทางการเงินแบบออนไลน์ W9 สหกรณ์ที่ทาํ การเริ่มคบั แคบลง 2. ปจั จยั สภาพแวดลอ้ มภายนอก โอกาส (opportunity) O1 สหกรณ์สามารถรณรงคใ์ ห้สมาชิกนําปรชั ญาของหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงเป็นแนวทางพัฒนา คุณภาพชวี ติ ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกันกับพึง่ พาตนเองได้ O2 องค์กรมีการสร้างเครอื ข่ายระหวา่ งสหกรณ์ ทําใหม้ ีพันธมติ รในการชว่ ยเหลอื พึง่ พาอาศัยกัน O3 สมาชิกมคี วามเชอื่ มั่นและทศั นคตทิ ีด่ ตี อ่ สหกรณเ์ พมิ่ มากขน้ึ O4 ชมุ นมุ สหกรณฯ์ หรอื สหกรณเ์ ครอื ขา่ ย สามารถใหก้ ารสนับสนนุ ด้านการเงินกบั สหกรณ์ได้ตาม ความจําเปน็ O5 มีพรบ.สหกรณ์ฯ , ข้อบงั คบั , ประกาศ , คาํ สง่ั นายทะเบยี น และกฎกระทรวงทใ่ี ชเ้ ป็นเกณฑ์กํากบั ดแู ลสหกรณ์ O6 สมาชกิ ของสหกรณไ์ มต่ ้องมภี าระในการเสียภาษีจากเงนิ ได้ กรณีได้รับดอกเบยี้ จากดอกเบยี้ เงนิ ฝากออมทรัพยท์ ุกประเภท รวมถงึ เงนิ ปนั ผล และเงนิ เฉลย่ี คนื กไ็ มต่ อ้ งเสยี ภาษเี ชน่ กัน O7 ดอกเบย้ี เงนิ กพู้ ิเศษประเภทท่ีอยู่อาศยั นํามาลดหยอ่ นภาษีได้ O8 หน่วยงานราชการท่เี ก่ยี วขอ้ ง เช่น สหกรณจ์ ังหวัด สํานักงานตรวจบญั ชสี หกรณ์ ใหค้ าํ แนะนาํ และ กาํ กับดูแลอยา่ งใกล้ชิด อปุ สรรค (Threats) T1 ข่าวสารการทุจรติ ภายในสหกรณม์ ีความถี่มากขึน้ T2 สภาวะเศรษฐกจิ สังคมทเี่ กดิ ขึน้ ทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ มีผลกระทบต่อสมาชิกและ สหกรณท์ ้งั ทางตรงและทางอ้อม เช่น การเพ่ิมอัตราดอกเบย้ี ของตลาดเงนิ ทงั้ ภายในและภายนอก ประเทศ T3 สมาชิกของสหกรณถ์ ูกอายัดเงนิ ปนั ผลหรอื เงนิ เฉลย่ี คนื โดยคาํ ส่ังศาลเพิม่ มากขึน้ โดยที่สมาชกิ ยงั มภี าระทตี่ ้องชําระหนี้กบั สหกรณ์อยู่ T4 พรบ.สหกรณ์ฯ ฉบับแก้ไขปรบั ปรุง อาจส่งผลกระทบต่อสภาวะของสหกรณ์ T5 การใชแ้ ละการเขา้ ถึงเทคโนโลยีทางด้านการเงนิ T6 พรบ.ด้วยการตดิ ตามหนแ้ี ละกฎหมายทเ่ี ก่ียวข้องกับการทวงหน้ี T7 พรบ.ฌาปนกิจสงเคราะห์ (สวัสดกิ าร) เมอื่ วิเคราะหถ์ ึงจุดแข็ง จุดออ่ น โอกาสและอปุ สรรคของสหกรณแ์ ล้วได้มกี ารจัดทาํ แผนกลยทุ ธ์สหกรณ์ ออมทรพั ยส์ าธารณสขุ ปราจีนบุรี จํากดั ปี 2566 ดงั น้ี

9 แผนกลยุทธ์ พ.ศ.2566 – 2570 แผนกลยุทธ์สหกรณ์ออมทรัพยส์ าธารณสขุ ปราจนี บุรี จากัด ประจาปี 2566 วิสัยทศั น์ “ เปน็ สหกรณ์ออมทรัพย์ท่ีมีการบริหารจดั การเป็นเลศิ ด้วยหลกั ธรรมาภบิ าล ” เดิม เป็นสหกรณท์ มี่ น่ั คงทางการเงิน บริหารจดั การเป็นเลศิ ตามหลักธรรมาภิบาล เกดิ ประโยชน์ตอ่ สมาชกิ และสงั คม ค่านยิ ม “ มุง่ มน่ั พฒั นา ยึดหลกั ธรรมาภิบาล บรหิ ารโปรง่ ใส ใส่ใจสมาชิก ” คาขวัญ “ ซื่อสัตย์ สจุ รติ โปร่งใส มคี ณุ ภาพคู่คุณธรรม ” พันธกจิ (mission) พันธกจิ ที่ 1 : พัฒนา บริหารจัดการสหกรณ์อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ พันธกจิ ท่ี 2 : พฒั นาองค์การให้มคี วามทนั สมยั เหมาะสม เพอ่ื บริการแก่สมาชิกอย่างมีคุณภาพและมี ประสทิ ธภิ าพ พนั ธกจิ ที่ 3 : การเพิม่ ประสิทธภิ าพการให้บรกิ ารแกส่ มาชิกประทับใจภายใต้คณุ ภาพมาตรฐานเดยี วกนั พนั ธกจิ ที่ 4 : เสริมสร้างสวสั ดิการแก่สมาชกิ ทั่วถงึ เป็นธรรม พนั ธกิจที่ 5 : พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและประยุกตใ์ ชน้ วตกรรมท่ีทันสมยั พันธกิจที่ 6 : พัฒนาองค์กร บุคลากรใหม้ ีความเข้มแข็ง รทู นั ตอ่ สภาวการณป์ จั จบุ ันภายใต้การบริหาร จดั การทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ พนั ธกิจท่ี 7 : เชอ่ื มโยงเครือข่ายสหกรณพ์ นั ธมิตร ชว่ ยเหลอื สนบั สนุนและสง่ เสริมหนว่ ยงานอน่ื สังคม และชมุ ชน

พนั ธกิจท่ี 1 : พัฒนา บรหิ ารจดั การสหกรณอ์ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ กลยุทธ์ แผนงาน ชอ่ื โครงการ/กจิ กรรม วัตถุประส 1.สง่ เสริมสหกรณ์ แผนพฒั นา 1.โครงการพัฒนา/ 1.เพ่ือใหส้ หก ใหม้ ีการปฏบิ ตั งิ าน ระบบงาน ปรบั ปรงุ ระบบงานของ ระบบงานและ อย่างถกู ต้องและ สหกรณใ์ หเ้ หมาะสมกับ การปฏิบตั งิ าน โปร่งใสตามหลัก สภาวะการณ์ เหมาะสม ธรรมาภบิ าล 2.จดั ทํา/ปรบั ปรุง 2.เพอ่ื ให้สหก ระเบยี บของสหกรณใ์ ห้ ระเบียบทีเ่ ปน็ เปน็ ไปตามกฎหมายและ กฎหมายและ เหมาะสม สามารถปฏิบ อยา่ งถูกต้อง และมีประสิท 3.โครงการสหกรณ์ ธรร เพอ่ื ใหส้ หกรณ มาภิบาลและมาตรฐาน มาตรฐานสหก สหกรณ์ ระดบั ดเี ลิศ 4.โครงการสหกรณ์ ดีเด่น ระดับจงั หวัด

10 สงค์ ตวั ชี้วัด ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู ับผิดชอบ กรณ์มี 1.ระบบงานของ ม.ี ค. - ต.ค. 66 ดาํ เนินการ คณะกรรมการ ะคมู่ ือ สหกรณ์ได้รับการ ศึกษาฯ และ นท่ี พฒั นา/ปรบั ปรุงให้ - ปกติ ฝาุ ยจัดการ เหมาะสม กรณ์มี 2.จดั ทาํ /ปรบั ปรงุ - - - นไปตาม คู่มอื /การปฏิบัติงานให้ ม.ี ค. 66 , ะ สอดคล้องกับ ก.ย. 66 - - บัติงานได้ ระบบงานที่พัฒนา โปร่งใส อย่างน้อย 1 ระบบ 10,000.- คณะกรรมการ ทธภิ าพ 3.จาํ นวนระเบยี บของ ศึกษาฯ และ สหกรณ์ท่ีมีการจัดทาํ / ฝุายจดั การ ณ์มี ปรับปรุง กรณ์ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระดบั ดีเลิศ ผ่านเกณฑส์ หกรณ์ ดเี ดน่

พนั ธกจิ ที่ 1 : พฒั นา บริหารจดั การสหกรณอ์ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ กลยทุ ธ์ แผนงาน ช่อื โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระส แผนตดิ ตาม 1.ติดตามความกา้ วหน้า -เพอื่ ให้สหกร ประเมนิ ผล ผลการปฏบิ ัติงานตาม ทราบความก้า แผนกลยุทธส์ หกรณ์และ ในการปฏิบตั งิ งบประมาณ อย่างต่อเน่อื ง สามารถปรบั ป แก้ไขได้ทันกา 2.ติดตามการปฏบิ ตั ิงาน เพือ่ ให้บุคลาก ตามระบบการควบคุม สหกรณ์ปฏิบตั ภายในของสหกรณ์ อย่างถูกต้องแ เปน็ ไปตามระ ควบคมุ ภายใน สหกรณ์กาํ หน 3.ผ้ตู รวจสอบกจิ การ จัดทําแผน/สุ่มตรวจสอบ ระบบการทาํ งาน เชน่ โปรแกรม , รายงานการ รับฝากเงนิ ถอนเงิน สัญญาเงนิ กยู้ มื ฯลฯ และนาํ เสนอในทีป่ ระชุม ทกุ เดือน

11 สงค์ ตัวชีว้ ดั ระยะเวลา งบประมาณ ผูร้ ับผดิ ชอบ -จํานวนรายงาน เม.ย. , ก.ค. คณะกรรม รณ์ ความกา้ วหน้าผลการ ก.ย. , ธ.ค. 66 การดาํ เนินการ าวหนา้ ปฏบิ ตั งิ านตามแผนกล งาน ยุทธ์และงบประมาณ ม.ค. - ธ.ค. 66 50,000.- คณะกรรมการ งและ อยา่ งน้อยไตรมาสละ 1 เดอื นละ 1 ครั้ง ดําเนินการ และ ปรุง ครง้ั ผูต้ รวจสอบ ารณ์ -มีการตรวจสอบอยา่ ง ม.ค. - ธ.ค. 50,000.- กิจการ นอ้ ย เดอื นละ 1 ครัง้ 66 กร ผตู้ รวจสอบ ติงาน -มกี ารตรวจสอบ เดือน กิจการ และ ละ 1 คร้งั และรายงาน ะบบการ ผลการตรวจสอบเดอื น นท่ี ละ 1 ครั้ง นด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook