ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 8 7 มลทนิ คอื ความตระหนค่ี รอบง�ำ ดา่ และบรภิ าษสมณพราหมณ์ อยคู่ รองเรอื น. คหบดีและคหปตานีทัง้ หลาย ! ชายผีอยู่ร่วม กบั หญิงผี อยา่ งนแี้ ล. คหบดแี ละคหปตานที ัง้ หลาย ! ก็ชายผีอยู่ร่วม กับหญงิ เทวดาอย่างไร ? สามีในโลกนี้เป็นผู้มักฆ่าสัตว์ ฯลฯ ด่าและ บรภิ าษสมณพราหมณ์ อยคู่ รองเรอื น สว่ นภรรยาของเขา เปน็ ผ้งู ดเวน้ จากการฆา่ สัตว์ จากการลักทรพั ย์ จากการ ประพฤติผิดในกาม จากการพูดเท็จ จากการดื่มนำ้�เมา คือสุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท มีศีล มีกัลยาณธรรม มีใจปราศจากมลทินคือความตระหน่ี ไม่ดา่ ไม่บริภาษสมณพราหมณ์ อยคู่ รองเรอื น. คหบดแี ละคหปตานที ้งั หลาย ! ชายผีอยู่ร่วม กับหญิงเทวดา อย่างนแ้ี ล. คหบดแี ละคหปตานีท้งั หลาย ! ก็ชายเทวดา อยรู่ ว่ มกับหญงิ ผีอย่างไร ?
8 8 พุทธวจน สามใี นโลกน้ีเปน็ ผงู้ ดเว้น จากการฆ่าสัตว์ ฯลฯ อยู่ครองเรอื น ส่วนภรรยาของเขาเป็นผู้มักฆ่าสตั ว์ ฯลฯ ด่าและบริภาษสมณพราหมณ์ อยคู่ รองเรอื น. คหบดีและคหปตานที ้ังหลาย ! ช า ย เ ท ว ด า อย่รู ว่ มกบั หญิงผี อย่างนแ้ี ล. คหบดีและคหปตานีท้ังหลาย ! ก็ชายเทวดา อยู่รว่ มกบั หญิงเทวดาอยา่ งไร ? สามีในโลกน้เี ปน็ ผงู้ ดเวน้ จากการฆ่าสตั ว์ ฯลฯ ไม่ด่าไม่บรภิ าษสมณพราหมณ์ อยคู่ รองเรอื น แม้ภรรยา ของเขาก็เป็นผู้งดเว้น จากการฆ่าสัตว์ ฯลฯ ไม่ด่า ไมบ่ ริภาษสมณพราหมณ์ อยคู่ รองเรอื น คหบดีและคหปตานีทง้ั หลาย ! ช า ย เ ท ว ด า อย่รู ่วมกับหญงิ เทวดา อยา่ งน้ีแล. คหบดีและคหปตานีทงั้ หลาย ! การอยูร่ ว่ ม ๔ ประการอย่างนีแ้ ล. ภรรยาและสามที ง้ั สองเปน็ ผทู้ ศุ ลี เปน็ คนตระหน่ี มกั ด่าว่าสมณพราหมณ์ ชอื่ ว่าเปน็ ผมี าอยูร่ ว่ มกนั .
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 8 9 สามีเป็นผู้ทุศีล มีความตระหน่ี มักด่าว่า สมณพราหมณ์ สว่ นภรรยาเป็นผมู้ ศี ีล รคู้ วามประสงค์ ของผู้ขอ ปราศจากความตระหนี่ ภรรยาน้นั ช่อื วา่ เทวดา อยู่รว่ มกับสามีผี. สามีเป็นผู้มีศีล รู้ความประสงค์ของผู้ขอ ปราศจากความตระหน ี่ ส่วนภรรยาเป็นผู้ทุศีล มีความ ตระหน่ี มกั ดา่ ว่าสมณพราหมณ์ ชอื่ วา่ หญิงผีอยูร่ ่วมกับ สามเี ทวดา. ทั้งสองเป็นผู้มีศรัทธา รู้ความประสงค์ ของ ผู้ขอมีความสำ�รวม เป็นอยู่โดยธรรม ภรรยาและ สามีท้ังสองน้ัน เจรจาถ้อยคำ�ท่ีน่ารักแก่กันและกัน ยอ่ มมคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งมาก มคี วามผาสกุ ทง้ั สองฝา่ ย มีศีลเสมอกัน รักใคร่กันมาก ไม่มีใจร้ายต่อกัน ครั้นประพฤติธรรม ในโลกนี้แล้ว ทั้งสองเป็นผู้ มีศีลและวัตรเสมอกัน ย่อมเป็นผู้เสวยกามารมณ์ เพลดิ เพลนิ บันเทงิ ใจอย่ใู นเทวโลก. จตกุ กฺ . อํ. ๒๑/๗๔/๕๓.
สิ่งใดมีความเกิด เปนธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมด มีความดับไป เปนธรรมดา มหา. ที. ๑๐/๔๙/๔๙.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 9 1 ๒๒ เขา้ ใจเร่อื งกรรม เรือ่ งควรทราบเกีย่ วกบั กรรม ทัง้ ๖ แงม่ มุ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กรรม เปน็ สง่ิ ทบ่ี คุ คลควรทราบ, นทิ านสมั ภวะ แหง่ กรรม เปน็ สง่ิ ทบ่ี คุ คลควรทราบ, เวมัตตตา แห่งกรรม เปน็ สง่ิ ทบ่ี คุ คลควรทราบ, วิบาก แห่งกรรม เปน็ สง่ิ ทบ่ี คุ คลควรทราบ, กัมมนิโรธ เปน็ สง่ิ ทบ่ี คุ คลควรทราบ, กมั มนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา เปน็ สง่ิ ทบ่ี คุ คลควรทราบ ... คำ�ที่เรากล่าวแล้วดังนี้นั้น เราอาศัยอะไรกล่าวเล่า ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เรากล่าวซึ่งเจตนา ว่าเป็นกรรม เพราะว่าบุคคลเจตนาแล้ว ย่อมกระทำ�ซึ่งกรรม ด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ.
9 2 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นทิ านสมั ภวะแหง่ กรรมทง้ั หลาย เป็นอย่างไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นิทานสัมภวะ (เหตุเป็นแดน เกดิ พรอ้ ม) แหง่ กรรมทง้ั หลาย คอื ผัสสะ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เวมัตตตาแห่งกรรมท้ังหลาย เปน็ อย่างไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กรรมท่ีทำ�สัตว์ให้เสวยเวทนา ในนรก มีอย่,ู กรรมท่ีทำ�สัตว์ให้เสวยเวทนาในกำ�เนิด- เดรัจฉาน มีอยู่, กรรมท่ีทำ�สัตว์ให้เสวยเวทนาในเปรต- วิสัย มีอยู่, กรรมท่ีทำ�สัตว์ให้เสวยในมนุษยโลก มีอยู่, กรรมทท่ี ำ�สัตวเ์ สวยในเทวโลก มีอยู่, ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! น้ีเรากล่าวว่า เวมัตตตา (ความมีประมาณตา่ งๆ) แหง่ กรรมทง้ั หลาย. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! วบิ ากแหง่ กรรมท้งั หลาย เป็น อย่างไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เรากล่าววิบากแห่งกรรม ทั้งหลาย ว่ามีอยู่ ๓ อย่าง คือ วิบากในทิฏฐธรรม
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 9 3 (คือทนั ควนั ) หรือว่า วบิ ากในอปุ ะปัชชะ (คือในเวลาตอ่ มา) หรือว่า วบิ ากในอปรปริยายะ (คอื ในเวลาตอ่ มาอีก). ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นเ้ี รากลา่ ววา่ วบิ ากแหง่ กรรม ทงั้ หลาย. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กมั มนโิ รธ เป็นอยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความดับแห่งกรรมย่อมมี เพราะความดบั แห่งผสั สะ. อรยิ อฏั ฐงั คกิ มรรค (อรยิ มรรคมอี งคแ์ ปด) นน้ี น่ั เอง เปน็ กมั มนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา (ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แห่งกรรม); ได้แก่ สิง่ เหล่าน้คี ือ :- สมั มาทฏิ ฐิ (ความเห็นชอบ) สมั มาสงั กปั ปะ (ความด�ำ ริชอบ) สัมมาวาจา (การพดู จาชอบ) สมั มากัมมนั ตะ (การทำ�การงานชอบ) สมั มาอาชวี ะ (การเลี้ยงชวี ติ ชอบ) สัมมาวายามะ (ความพากเพียรชอบ) สมั มาสติ (ความระลึกชอบ) สัมมาสมาธิ (ความตั้งใจมัน่ ชอบ).
9 4 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เม่ือใด อริยสาวก ย่อมรู้ชัด ซึง่ กรรม อย่างน,้ี รชู้ ัดซึ่งนทิ านสมั ภวะแห่งกรรม อย่างน้,ี รู้ชัดซ่ึงเวมัตตตาแห่งกรรม อย่างน้ี, รู้ชัดซึ่งวิบากแห่ง กรรม อย่างนี้, รู้ชัดซึ่งกัมมนิโรธ อย่างนี้, รู้ชัดซ่ึง กมั มนิโรธคามินีปฏปิ ทา อยา่ งน้;ี อริยสาวกน้ัน ย่อมรู้ชัดซ่ึงพรหมจรรย์น้ีว่า เปน็ เครอื่ งเจาะแทงกิเลส เปน็ ท่ีดบั ไมเ่ หลอื แหง่ กรรม. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ ทีเ่ รากลา่ วแลว้ วา่ “กรรม เป็นสิง่ ทีบ่ ุคคลควรทราบ, นทิ านสมั ภวะแหง่ กรรม เปน็ สง่ิ ทบ่ี คุ คลควรทราบ, เวมตั ตตาแห่งกรรม เป็นสง่ิ ที่บุคคลควรทราบ, วิบากแห่งกรรม เปน็ สง่ิ ทีบ่ คุ คลควรทราบ, กมั มนโิ รธ เป็นสงิ่ ทบ่ี ุคคลควรทราบ, กมั มนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา เปน็ สง่ิ ทบ่ี คุ คลควรทราบ” ดังนี้ (รวมส่งิ ทบี่ ุคคลควรทราบเก่ียวกบั กรรมทั้ง ๖ แง่มุม) น้ัน เราอาศยั ความข้อนก้ี ลา่ วแล้ว. ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๕๘,๔๖๓-๔๖๔/๓๓๔.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 9 5 ๒๓ กรรมเปรียบด้วยก้อนเกลือ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ใครพึงกล่าวว่า คนทำ�กรรม อยา่ งใดๆ ยอ่ มเสวย กรรมนนั้ อย่างนน้ั ๆ ดังนี้ เม่ือเปน็ อย่างน้ัน การอยูป่ ระพฤตพิ รหมจรรยก์ ม็ ไี ม่ได้ ชอ่ งทาง ท่จี ะทำ�ท่สี ุดแห่งทุกขโ์ ดยชอบก็ไมป่ รากฏ. ส่วนใครกล่าวว่า คนทำ�กรรมอันจะพึงให้ผล อย่างใดๆ ยอ่ มเสวย ผลของกรรมนนั้ อยา่ งนัน้ ๆ ดังนี้ เม่ือเป็นอย่างน้ี การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้ ชอ่ งทางท่ีจะทำ�ทีส่ ุดแหง่ ทกุ ขโ์ ดยชอบกย็ อ่ มปรากฏ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บาปกรรมแม้ประมาณน้อย ทบ่ี คุ คลบางคนท�ำ แลว้ บาปกรรมนน้ั ยอ่ มน�ำ เขาไปนรกได้ บาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดยี วกนั นน้ั บางคนท�ำ แล้ว กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม (ให้ผลในปัจจุบัน) ไมป่ รากฏผลมากต่อไปเลย. บาปกรรม แมป้ ระมาณนอ้ ย บคุ คลชนดิ ไร ท�ำ แลว้ บาปกรรมนนั้ จงึ นำ�เขาไปนรกได้ ?
9 6 พุทธวจน บุคคลบางคน ในโลกน้ีเป็นผู้มีกายมิได้อบรม มีศีลมิได้อบรม มีจิตมิได้อบรม มีปัญญามิได้อบรม มีคุณความดีน้อย เป็นอัปปาตุมะ (ผ้มู ีใจคับแคบ ใจหยาบ) เป็นอัปปทุกขวิหารี (มีปกติอยู่เป็นทุกข์ด้วยเหตุเล็กน้อย) บาปกรรมแม้ประมาณน้อย บุคคลชนิดน้ีทำ�แล้ว บาปกรรมนั้นย่อมนำ�เขาไปนรกได้. บาปกรรม ประมาณน้อยอยา่ งเดยี วกนั บุคคล ชนิดไร ทำ�แล้ว กรรมน้ันจึงเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไมป่ รากฏผลมากตอ่ ไปเลย ? บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีกาย มีศีล มีจิต มีปัญญาได้อบรมแล้ว มีคุณความดีมาก เป็นมหาตมะ (ผมู้ ใี จกวา้ งขวาง) เปน็ อปั ปมาณวหิ ารี (มปี กตอิ ยู่ดว้ ยธรรม อนั หาประมาณมไิ ด)้ บาปกรรมประมาณนอ้ ยอยา่ งเดยี วกนั นน้ั บุคคลชนิดนี้ทำ�แล้วกรรมน้ันเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไมป่ รากฏผลมากตอ่ ไปเลย. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ต่างว่าคนใส่เกลือลงไปในถ้วย นำ้�เล็กๆ หน่ึงกอ้ น ท่านทัง้ หลายจะสำ�คัญวา่ กระไร น้�ำ อัน
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 9 7 นอ้ ยในถว้ ยน�้ำ นนั้ จะกลายเป็นน�้ำ เค็ม ไม่นา่ ดมื่ ไป เพราะ เกลอื ก้อนนัน้ ใช่ไหม ? “เปน็ เช่นน้ัน พระเจ้าข้า !”. เพราะเหตอุ ะไร ? “เพราะเหตวุ ่า นำ้ �ในถ้วยนำ้ �น้นั มีน้อย มันจงึ เค็มได้... เพราะเกลือกอ้ นนั้น”. ตา่ งวา่ คนใสเ่ กลอื กอ้ นขนาดเดยี วกนั นน้ั ลงไปใน แมน่ �ำ้ คงคา ทา่ นทง้ั หลายจะส�ำ คญั วา่ กระไร น�ำ้ ในแมน่ �ำ้ คงคา นน้ั จะกลายเปน็ น�ำ้ เคม็ ดม่ื ไมไ่ ด้ เพราะเกลอื กอ้ นนน้ั หรอื ? “หามไิ ด้ พระเจา้ ขา้ !”. เพราะเหตอุ ะไร ? “เพราะเหตวุ า่ นำ้ �ในแมน่ ำ้ �คงคามมี าก นำ้ �นน้ั จงึ ไมเ่ คม็ ... เพราะเกลอื ก้อนนนั้ ”. ฉนั นน้ั นัน่ แหละ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บาปกรรมแม้ ประมาณนอ้ ย บคุ คลบางคนท�ำ แลว้ บาปกรรมนน้ั ยอ่ มน�ำ เขาไปนรกได้ ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียว กนั นน้ั บางคนท�ำ แลว้ กรรมนน้ั เปน็ ทฏิ ฐธรรมเวทนยี กรรม ไมป่ รากฏผลมากตอ่ ไปเลย...
9 8 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! คนบางคนย่อมผูกพันเพราะ ทรพั ย์ แมก้ ึ่งกหาปณะ... แม้ ๑ กหาปณะ... แม้ ๑๐๐ กหาปณะ สว่ นบางคนไมผ่ กู พนั เพราะทรพั ย์เพียงเท่านนั้ . คนอย่างไร จึงผูกพันเพราะทรัพย์ แม้ก่ึง กหาปณะ ฯลฯ คนบางคนในโลกนเ้ี ป็นคนจน มสี มบตั ิ น้อย มีโภคะน้อย คนอย่างน้ีย่อมผูกพันเพราะทรัพย์ แมก้ งึ่ กหาปณะ ฯลฯ. คนอยา่ งไร ไมผ่ กู พนั เพราะทรพั ยเ์ พยี งเทา่ นน้ั ? คนบางคนในโลกนี้เปน็ ผ้มู ง่ั ค่งั มที รพั ยม์ าก มีโภคะมาก คนอย่างน้ี ย่อมไม่ผูกพันเพราะทรัพย์เพียงเท่าน้ัน ฉันนั้นนัน่ แหละ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บาปกรรมแม้ประมาณน้อย บคุ คลบางคนท�ำ แล้ว บาปกรรมนั้นยอ่ มนำ�เขาไปนรกได้ ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันน้ัน บุคคล บางคนทำ�แล้ว กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไมป่ รากฏผลมากตอ่ ไปเลย... ติก. อํ. ๒๐/๓๒๐/๕๔๐.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 9 9 ๒๔ กรรมท่เี ปน็ ไปเพือ่ ความสนิ้ กรรม ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กรรม ๔ อยา่ งเหลา่ น้ี เรากระท�ำ ใหแ้ จง้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองแลว้ ประกาศใหร้ ทู้ ว่ั กนั . กรรม ๔ อยา่ ง อย่างไรเล่า ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กรรมด�ำ มีวบิ ากดำ� ก็มอี ยู่. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กรรมขาว มวี บิ ากขาว กม็ อี ย.ู่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กรรมท้ังดำ�ทั้งขาว มีวิบาก ทงั้ ด�ำ ทง้ั ขาว กม็ อี ย.ู่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กรรมไม่ดำ�ไม่ขาว มีวิบาก ไมด่ ำ�ไม่ขาว เป็นไปเพื่อความสนิ้ กรรม ก็มอี ย่.ู ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กรรมดำ� มีวิบากดำ� เป็น อย่างไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บุคคลบางคนในกรณีน้ี ย่อม ปรงุ แตง่ กายสงั ขารอนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น, ยอ่ มปรงุ แตง่ วจสี งั ขารอนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น, ยอ่ มปรงุ แตง่ มโนสงั ขารอนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น.
1 00 พุทธวจน ครน้ั เขาปรงุ แตง่ สงั ขาร (ทง้ั สาม) ดงั นแ้ี ลว้ ยอ่ ม เขา้ ถงึ โลก อันเป็นไปกับด้วยความเบียดเบียน; ผัสสะท้ังหลาย อันเป็นไปกับด้วยความเบียดเบียน ย่อมถูกต้องเขา ผู้เข้าถึงโลกอันเป็นไปด้วยความเบียดเบียน; เขาอัน ผัสสะที่เป็นไปกับด้วยความเบียดเบียนถูกต้องแล้ว ย่อม เสวยเวทนาที่เป็นไปกับด้วยความเบียดเบียน อนั เป็นทกุ ข์โดยส่วนเดียว, ดงั เช่นพวกสัตว์นรก. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นี้เรียกว่า กรรมดำ� มีวบิ ากดำ�. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กรรมขาว มวี ิบากขาว เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษุทัง้ หลาย ! บุคคลบางคนในกรณีน้ ี ย่อม ปรงุ แตง่ กายสงั ขารอนั ไมเ่ ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น, ยอ่ มปรงุ แตง่ วจสี งั ขารอนั ไมเ่ ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น, ยอ่ มปรงุ แตง่ มโนสงั ขารอนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น. ครน้ั เขาปรงุ แตง่ สงั ขาร (ทง้ั สาม) ดงั นแ้ี ลว้ ยอ่ มเขา้ ถงึ โลก อนั ไม่เป็นไปกบั ด้วยความเบยี ดเบยี น; ผัสสะทัง้ หลายท่ี ไมเ่ ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น ยอ่ มถกู ตอ้ งเขาผเู้ ขา้ ถงึ โลก อนั ไมเ่ ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น; เขาอนั ผสั สะทไ่ี มเ่ ปน็
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 01 ไปกบั ด้วยความเบียดเบียนถูกตอ้ งแล้ว ย่อม เสวยเวทนา ทไ่ี มเ่ ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี นอนั เปน็ สขุ โดยสว่ นเดยี ว, ดังเชน่ พวกเทพสภุ กณิ หา. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นเ้ี รยี กวา่ กรรมขาว มวี บิ ากขาว. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กรรมท้ังดำ�ท้ังขาว มีวิบาก ทงั้ ดำ�ท้ังขาว เป็นอย่างไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บุคคลบางคนในกรณีน้ี ย่อม ปรงุ แตง่ กายสงั ขารอนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมเ่ ปน็ ไปดว้ ยความเบยี ดเบยี นบา้ ง, ยอ่ มปรงุ แตง่ วจสี งั ขาร อนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมเ่ ปน็ ไปกบั ดว้ ย ความเบยี ดเบยี นบา้ ง, ยอ่ มปรงุ แตง่ มโนสงั ขารอนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมเ่ ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น บ้าง, คร้ันเขาปรุงแต่ง สังขาร (ท้ังสาม) ดังน้ีแล้ว ย่อมเข้าถึงโลกอันเป็นไปกับด้วยความเบียดเบียนบ้าง ไม่เป็นไปด้วยความเบียดเบียนบ้าง; ผัสสะท้ังหลาย ที่เป็นไปกับด้วยความเบียดเบียนบ้าง ไม่เป็นไปด้วย ความเบียดเบียนบ้าง ย่อมถูกต้องเขาผู้เข้าถึงโลกอัน เป็นไปกับด้วยความเบียดเบียนบ้าง ไม่เป็นไปกับด้วย
1 02 พุทธวจน ความเบียดเบียนบ้าง; เขาอันผัสสะท่ีเป็นไปกับด้วย ความเบียดเบียนบ้าง ไม่เป็นไปด้วยความเบียดเบียน บ้าง ถูกต้องแล้ว ย่อมเสวยเวทนาท่ีเป็นไปกับด้วย ความเบียดเบียนบ้าง ไม่เป็นไปกับด้วยความเบยี ดเบยี น บ้าง อันเป็นเวทนาท่ีเป็นสุขและทุกข์เจือกัน, ดังเช่น พวกมนษุ ย์ พวกเทพบางพวก พวกวนิ ิบาตบางพวก. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นี้เรียกว่า กรรมทั้งดำ�ทั้งขาว มีวบิ ากท้งั ด�ำ ทัง้ ขาว. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กรรมไมด่ �ำ ไมข่ าวมวี บิ ากไมด่ �ำ ไมข่ าว เปน็ ไปเพอ่ื ความสน้ิ กรรมนน้ั เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? คือ สัมมาทฏิ ฐิ สัมมาสงั กัปปะ สมั มาวาจา สมั มากัมมันตะ สมั มาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! น้ีเรียกว่า กรรมไม่ดำ�ไม่ขาว มีวิบากไมด่ ำ�ไม่ขาว เปน็ ไปเพือ่ ความส้ินกรรม. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เหล่าน้ีแล กรรม ๔ อย่าง ทเ่ี ราท�ำ ใหแ้ จง้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองแลว้ ประกาศใหร้ ทู้ ว่ั กนั . จตุกฺก. อ.ํ ๒๑/๓๒๐-๓๒๑/๒๓๗.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 03 ๒๕ วธิ ดี ับกรรม ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ...อรยิ มรรคมอี งคแ์ ปด นน้ี น่ั เอง เปน็ กมั มนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา (ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แห่งกรรม); ไดแ้ ก่ สงิ่ เหล่านคี้ ือ :- สมั มาทิฏฐิ (ความเหน็ ชอบ) สัมมาสงั กปั ปะ (ความด�ำ ริชอบ) สมั มาวาจา (การพดู จาชอบ) สัมมากัมมนั ตะ (การทำ�การงานชอบ) สมั มาอาชวี ะ (การเลี้ยงชวี ิตชอบ) สัมมาวายามะ (ความพากเพียรชอบ) สมั มาสติ (ความระลึกชอบ) สัมมาสมาธิ (ความตัง้ ใจมน่ั ชอบ). ฉกกฺ . อํ. ๒๒/๔๖๕/๓๓๔. (รายละเอียดเกี่ยวกับอริยมรรคมีองค์แปด สามารถอ่านเพ่ิม เติมได้ท่ี หนา้ ๑๔๕)
1 04 พุทธวจน ๒๖ วบิ ากกรรมอย่างเบาของหมู่สตั ว์ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ปาณาตบิ าต (ฆา่ สตั ว)์ ทเ่ี สพ ท่ัวแลว้ เจรญิ แลว้ ท�ำ ใหม้ ากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือนรก เป็นไปเพ่ือก�ำ เนิดดริ ัจฉาน เปน็ ไปเพอ่ื เปรตวิสัย. วิบากแห่งปาณาติบาตของผู้เป็นมนุษย์ท่ีเบากว่า วิบากทง้ั ปวง คอื วิบากทเ่ี ปน็ ไปเพื่อ มอี ายสุ นั้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อทนิ นาทาน (ลกั ทรัพย)์ ท่ีเสพ ท่ัวแล้ว เจริญแลว้ ท�ำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเป็นไปเพ่อื นรก เป็นไปเพอื่ ก�ำ เนิดดิรัจฉาน เป็นไปเพ่ือเปรตวสิ ยั . วิบากแห่งอทินนาทานของผู้เป็นมนุษย์ท่ีเบากว่า วบิ ากทง้ั ปวง คอื วบิ ากทเ่ี ปน็ ไปเพอ่ื ความเสอ่ื มแหง่ โภคะ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กาเมสุมจิ ฉาจาร (ประพฤตผิ ดิ ในกาม) ทเ่ี สพทว่ั แลว้ เจรญิ แลว้ ท�ำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป เพอ่ื นรก เปน็ ไปเพอ่ื ก�ำ เนดิ ดริ จั ฉาน เปน็ ไปเพอ่ื เปรตวสิ ยั . วิบากแห่งกาเมสุมิจฉาจารของผู้เป็นมนุษย์ท่ีเบา กว่าวบิ ากท้งั ปวง คอื วบิ ากทเี่ ป็นไปเพอื่ ก่อเวรดว้ ยศัตร.ู
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 05 ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! มสุ าวาท (ค�ำ เทจ็ ) ทเ่ี สพทว่ั แลว้ เจริญแล้ว ทำ�ให้มากแลว้ ย่อมเปน็ ไปเพอ่ื นรก เป็นไป เพอ่ื กำ�เนิดดริ จั ฉาน เปน็ ไปเพอื่ เปรตวสิ ยั . วิบากแห่งมุสาวาทของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่า วิบากทั้งปวง คือวิบากท่เี ป็นไปเพอ่ื การถกู กลา่ วตู่ด้วย คำ�ไม่จรงิ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ปิสุณวาท (คำ�ยุยงให้แตกกัน) ทเ่ี สพทว่ั แลว้ เจรญิ แลว้ ท�ำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื นรก เป็นไปเพอื่ กำ�เนิดดิรัจฉาน เปน็ ไปเพอ่ื เปรตวิสยั . วิบากแห่งปิสุณวาทของผู้เป็นมนุษย์ท่ีเบากว่า วบิ ากท้งั ปวง คือวิบากทเี่ ปน็ ไปเพ่อื การแตกจากมิตร. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ผรสุ วาท(ค�ำ หยาบ)ทเ่ี สพทว่ั แลว้ เจรญิ แลว้ ทำ�ให้มากแลว้ ย่อมเป็นไปเพ่ือนรก เป็นไป เพ่ือกำ�เนิดดิรจั ฉาน เปน็ ไปเพอ่ื เปรตวิสยั . วิบากแห่งผรุสวาทของผู้เป็นมนุษย์ที่เบากว่า วิบากท้ังปวง คือวิบากที่เป็นไปเพื่อ การได้ฟังเสียงที่ ไมน่ ่าพอใจ.
1 06 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! สัมผัปปลาวาท (คำ�เพ้อเจ้อ) ที่เสพทั่วแล้ว เจริญแล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไป เพอ่ื นรก เปน็ ไปเพอ่ื ก�ำ เนดิ ดริ จั ฉาน เปน็ ไปเพอ่ื เปรตวสิ ยั . วิบากแห่งสัมผัปปลาวาทของผู้เป็นมนุษย์ท่ีเบา กว่าวิบากทั้งปวง คือวิบากท่ีเป็นไปเพ่ือวาจาที่ไม่มีใคร เช่ือถอื . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! การดม่ื น�ำ้ เมาคอื สรุ าและเมรยั ท่ีเสพท่ัวแล้ว เจริญแล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไป เพอ่ื นรก เปน็ ไปเพอ่ื ก�ำ เนดิ ดริ จั ฉาน เปน็ ไปเพอ่ื เปรตวสิ ยั . วิบากแห่งการดื่มนำ้�เมาคือสุราและเมรัยของ ผเู้ ปน็ มนุษย์ท่เี บากว่าวบิ ากท้ังปวง คอื วิบากท่เี ปน็ ไปเพ่ือ ความเป็นบ้า (อุมฺมตฺก). อฏฺ ก. อํ. ๒๓/๒๕๑/๑๓๐.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 07 ๒๗ ฉลาดในเร่ืองกรรม บคุ คลเปน็ พราหมณเ์ พราะชาติ (ก�ำ เนดิ ) กห็ ามไิ ด;้ จะมิใช่พราหมณ์เพราะชาติ (กำ�เนดิ ) ก็หามไิ ด้ : บุคคลเปน็ พราหมณเ์ พราะกรรม; ไมเ่ ปน็ พราหมณ์ กเ็ พราะกรรม, บุคคลเปน็ ชาวนา กเ็ พราะกรรม; เป็นศิลปนิ กเ็ พราะกรรม, บุคคลเปน็ พ่อคา้ กเ็ พราะกรรม; เปน็ คนรับใช้ กเ็ พราะกรรม, บคุ คลแมเ้ ป็นโจร ก็เพราะกรรม; เป็นนกั รบ กเ็ พราะกรรม, บุคคลเปน็ ปโุ รหิต กเ็ พราะกรรม; แม้เป็นพระราชา ก็เพราะกรรม, บัณฑิตท้ังหลายย่อมเหน็ ซ่งึ กรรมนั้น ตามทเี่ ปน็ จรงิ อย่างน้.ี ช่ือวา่ เป็นผู้เหน็ ซง่ึ ปฏิจจสมปุ บาท เปน็ ผ้ฉู ลาดในเรอื่ งวบิ ากแห่งกรรม.
1 08 พุทธวจน โลกย่อมเป็นไปตามกรรม หมู่สัตวย์ อ่ มเป็นไปตามกรรม. สตั วท์ ัง้ หลาย มกี รรมเป็นเครือ่ งรึงรัด เหมอื นล่มิ สลักขนั ยดึ รถทกี่ ำ�ลังแลน่ ไปอย่.ู สัตว์ท้ังหลาย เป็นผมู้ ีกรรมเปน็ ของตน เป็นทายาทแหง่ กรรม มกี รรมเปน็ กำ�เนิด มีกรรมเปน็ เผา่ พนั ธุ์ มกี รรมเป็นท่ีพ่งึ อาศยั กระทำ�กรรมใดไว้ ดีกต็ าม ช่ัวกต็ าม จกั เป็นผู้รบั ผลของกรรมน้ัน. สุ. ข.ุ ๒๕/๔๕๗/๓๘๒.
ราธะ ! ความพอใจอันใด ราคะอนั ใด นนั ทอิ ันใด ตณั หาอนั ใด มอี ยใู นรปู ในเวทนา ในสญั ญา ในสังขาร และในวญิ ญาณ เพราะการตดิ แลว ของแลว ในสิง่ นั้น ๆ เพราะฉะน้ัน จึงเรียกวา “สัตว” ดังน้ี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๒๓๒/๓๖๗-๘.
1 10 พุทธวจน ๒๘ วินจิ ฉยั กรรม เมือ่ จะกระท�ำ ราหุล ! เธอใครจ่ ะท�ำ กรรมใดด้วยกาย พงึ พจิ ารณากรรมนน้ั เสยี กอ่ นวา่ “กายกรรมทเ่ี ราใครจ่ ะกระท�ำ น้ี เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเองบ้าง เบียดเบียนผู้อื่นบ้าง เบียดเบียนทั้งสองฝ่ายบ้าง เป็นกายกรรมที่เป็นอกุศล มที ุกข์เปน็ ก�ำ ไร มีทุกขเ์ ป็นวบิ าก หรอื ไม่หนอ ?” ดงั น.ี้ ราหลุ ! ถ้าเธอพิจารณา รู้สึกอยู่ดังน้ีไซร้, เธอ ไม่พงึ กระท�ำ กายกรรมชนิดน้ันโดยถ่ายเดียว. ราหุล ! ถ้าเธอพิจารณา รู้สึกอยู่ดังนี้ว่า “กายกรรมทเ่ี ราใครจ่ ะกระท�ำ น้ี ไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื เบยี ดเบยี น ตนเองบา้ ง ไม่เปน็ ไปเพอ่ื เบียดเบียนผอู้ น่ื บา้ ง ไม่เปน็ ไป เพ่ือเบยี ดเบียนทัง้ สองฝา่ ยบ้าง เป็นกายกรรมท่เี ปน็ กศุ ล มสี ขุ เปน็ ก�ำ ไร มสี ขุ เปน็ วบิ าก” ดังน้ีไซร้. ราหลุ ! เธอพงึ กระทำ�กายกรรมชนดิ นนั้ .
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 11 เม่อื กระทำ�อยู่ ราหุล ! เม่ือเธอกระทำ�กรรมใดด้วยกายอยู่ พึงพจิ ารณากรรมนน้ั วา่ “กายกรรมท่ีเรากำ�ลงั กระทำ�อย่นู ้ี เป็นไปเพ่ือเบียดเบียนตนเองบ้าง เบียดเบียนผู้อื่นบ้าง เบียดเบียนท้ังสองฝ่ายบ้าง เป็นกายกรรมที่เป็นอกุศล มีทุกข์เปน็ กำ�ไร มที กุ ข์เปน็ วิบาก หรือไม่หนอ ?” ดงั นี้. ราหุล ! ถ้าเธอพิจารณา รู้สึกอยู่ดังน้ีไซร้, เธอพงึ เลกิ ละกายกรรมชนิดนน้ั เสีย. ราหุล ! ถ้าเธอพิจารณา รู้สึกอยู่ดังน้ีว่า “กายกรรมทเ่ี ราก�ำ ลงั กระท�ำ อยนู่ ้ี ไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื เบยี ดเบยี น ตนเองบ้าง ไมเ่ ป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อ่นื บา้ ง ไมเ่ ป็นไป เพื่อเบียดเบียนทงั้ สองฝ่ายบ้าง เป็นกายกรรมทเ่ี ปน็ กุศล มีสขุ เปน็ กำ�ไร มสี ุขเป็นวบิ าก” ดงั นไ้ี ซร้. ราหุล ! เธอพึงเร่งเพ่มิ การกระทำ�กายกรรม ชนดิ นน้ั .
1 12 พุทธวจน เมอื่ กระทำ�แล้ว ราหุล ! เมอ่ื เธอกระท�ำ กรรมใดดว้ ยกายแลว้ พึงพิจารณากรรมนั้น ว่า “กายกรรมที่เรากระทำ�แล้วนี้ เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนเองบ้าง เบียดเบียนผู้อื่นบ้าง เบียดเบียนท้ังสองฝ่ายบ้าง เป็นกายกรรมที่เป็นอกุศล มีทุกขเ์ ปน็ กำ�ไร มที กุ ข์เปน็ วบิ าก หรอื ไม่หนอ ?” ดังนี้. ราหลุ ! ถ้าเธอพิจารณา รู้สึกอยู่ดังน้ีไซร้, เธอพึงแสดง พึงเปิดเผย พึงกระทำ�ให้เป็นของหงาย ซง่ึ กายกรรมนน้ั ในพระศาสนาหรอื ในเพอ่ื นสพรหมจารี ผเู้ ปน็ วญิ ญชู นทง้ั หลาย, ครน้ั แสดง ครน้ั เปดิ เผย ครน้ั กระท�ำ ใหเ้ ป็นของหงายแลว้ พึงถงึ ซ่งึ ความระวงั สังวรตอ่ ไป. ราหุล ! ถ้าเธอพิจารณา รู้สึกอยู่ดังน้ีว่า “กายกรรมท่ีเรากระทำ�แล้วนี้ ไม่เป็นไปเพ่ือเบียดเบียน ตนเองบ้าง ไมเ่ ปน็ ไปเพ่อื เบยี ดเบยี นผู้อน่ื บ้าง ไมเ่ ปน็ ไป เพอ่ื เบยี ดเบียนทง้ั สองฝ่ายบ้าง เปน็ กายกรรมทเี่ ปน็ กุศล มสี ขุ เป็นก�ำ ไร มีสขุ เปน็ วบิ าก” ดงั นี้ ไซร.้
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 13 ราหุล ! เธอพึงอยู่ด้วยปีติและปราโมทย์ ตามศึกษาในกุศลธรรมท้ังหลายอยู่ ทั้งกลางวันและ กลางคนื เถดิ . (ในกรณแี หง่ วจีกรรม และ นโนกรรม กต็ รสั ไวโ้ ดยมี นัยยะอย่างเดยี วกัน) ม. ม. ๑๓/๑๒๘/๑๓๐.
1 14 พุทธวจน ๒๙ การบวชทไี่ ร้ประโยชน์ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อาชีพต�่ำ ทส่ี ุด ในบรรดาอาชีพ ทงั้ หลาย คือการขอทาน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ค�ำ สาปแชง่ อยา่ งยง่ิ ในโลกน้ี คอื คำ�สาปแชง่ ว่า “แกถอื กระเบอื้ งในมือเท่ยี วขอทานเถอะ” ดงั น้ี. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กลุ บตุ รทง้ั หลาย เขา้ ถงึ อาชพี น้ี เป็นผู้เป็นไปในอ�ำ นาจแหง่ ประโยชน์ เพราะอาศัยอำ�นาจ แหง่ ประโยชน,์ ไมใ่ ช่เป็นคนหนรี าชทณั ฑ์ ไมใ่ ช่เปน็ คน ขอให้โจรปลอ่ ยตวั ไปบวช ไม่ใช่เปน็ คนหนีหน้ี ไมใ่ ชเ่ ป็น คนหนีภยั ไมใ่ ชเ่ ป็นคนไร้อาชพี , จงึ บวช. อกี อยา่ งหนง่ึ กลุ บตุ รนบ้ี วชแลว้ โดยทค่ี ดิ เชน่ นว้ี า่ เราท้ังหลายเป็นผู้ถูกหยั่งเอาแล้ว โดยชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย เป็นผู้อัน ความทุกข์หย่ังเอาแล้ว มีความทุกข์เป็นเบ้ืองหน้าแล้ว ท�ำ ไฉน การท�ำ ทส่ี ดุ แหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี จะพงึ ปรากฏแกเ่ รา ดังนี้.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 15 ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! แตว่ า่ กลุ บตุ รผบู้ วชแลว้ อยา่ งน้ี กลบั เปน็ ผมู้ ากไปดว้ ยอภชิ ฌา มรี าคะแกก่ ลา้ ในกามทง้ั หลาย มจี ติ พยาบาท มคี วามด�ำ รแิ หง่ ใจเปน็ ไปในทางประทษุ รา้ ย มสี ติอนั ลืมหลงแลว้ ไม่มสี ัมปชญั ญะ มจี ติ ไม่ตง้ั มนั่ แล้ว มจี ติ หมนุ ไปผิดแลว้ มอี ินทรยี ์อันตนไม่สำ�รวมแลว้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เปรียบเหมือน ดุ้นฟืนจาก เชิงตะกอน ท่ีเผาศพ ยังมีไฟติดอยู่ทั้งสอง ตรงกลาง กเ็ ปอ้ื นอจุ จาระ ยอ่ มใชป้ ระโยชนเ์ ปน็ ไมใ้ นบา้ นเรอื นกไ็ มไ่ ด้ ย่อมใช้ประโยชนเ์ ป็นไมใ้ นปา่ กไ็ ม่ได,้ ข้อนฉ้ี นั ใด; ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เรากล่าวบุคคลน้ีว่ามีอุปมา เช่นน้ัน; คือ เป็นผู้เสื่อมจากโภคะแห่งคฤหัสถ์ด้วย, ไมท่ �ำ ประโยชนแ์ ห่งสมณะให้บริบูรณ์ ดว้ ย. ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๑๑๓/๑๖๗.
ทา นจงถวายทานในสงฆเถิด เม่อื ทา นถวายทานในสงฆอ ยู, จิตจกั เลอ่ื มใส; ทา นเปน ผูมจี ิตอันเลอื่ มใสแลว ภายหลงั แตการตายเพราะการทาํ ลายแหงกาย จกั เขา ถงึ สุคตโิ ลกสวรรค. ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๓๘/๓๓๐.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 17 ๓๐ สงั ฆทานดกี วา่ ! “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! ทานประจำ�สกลุ วงศ์ ขา้ พระองค์ ยังให้อยู่ แต่ว่าทานนั้นข้าพระองค์ให้เฉพาะหมู่ภิกษุผู้เป็น อรหันต์ หรอื ผู้ปฏิบัตอิ รหตั ตมรรค ท่อี ยู่ป่า ท่ถี ือบิณฑบาต ทถี่ อื ผา้ บงั สุกุล เป็นวตั ร”. คหบดี ! ขอ้ ทจ่ี ะรวู้ า่ คนเหลา่ นเ้ี ปน็ พระอรหนั ต์ หรือปฏิบัติอรหัตตมรรคน้ัน เป็นส่ิงท่ีรู้ได้ยากสำ�หรับ ทา่ นผเู้ ปน็ คฤหสั ถผ์ บู้ รโิ ภคกาม ผยู้ งั มกี ารนอนเบยี ดบตุ ร บรโิ ภคใชส้ อยกระแจะจนั ทนแ์ ละผา้ จากเมอื งกาสี ทดั ทรง มาลาและเคร่ืองกล่ินและเคร่ืองผัดทา ยินดีอยู่ด้วยทอง และเงิน. คหบดี ! ถงึ แมภ้ กิ ษจุ ะเป็น ผอู้ ย่ปู า่ เป็นวัตร ถา้ เปน็ ผ้ฟู ุ้งซ่าน ถือตวั กลับกลอก พดู มาก มวี าจา ไมแ่ นน่ อน มสี ตลิ มื หลง ปราศจากสมั ปชญั ญะ ไมม่ สี มาธิ มีจติ หมุนไปผิด มีอนิ ทรยี ์อันปล่อยแล้ว : ดว้ ยอาการ อยา่ งน้ี ภกิ ษนุ ัน้ ควรถกู ติเตยี นดว้ ยองคน์ ้ันๆ.
1 18 พุทธวจน คหบดี ! ถึงแม้ภิกษุจะเป็น ผู้อยู่ป่าเป็นวัตร ถา้ เป็น ผูไ้ มฟ่ ุ้งซา่ น ไม่ถอื ตัว ไม่กลบั กลอก ไม่พดู มาก มีวาจาแน่นอน มีสติตั้งม่ัน มีสัมปชัญญะ มีสมาธิ มีเอกัคคตาจิต สำ�รวมอินทรีย์ : ด้วยอาการอย่างนี้ ภกิ ษุน้ันอันใครๆ ควรสรรเสริญดว้ ยองคน์ ัน้ ๆ. คหบดี ! ถงึ แมภ้ กิ ษจุ ะเปน็ ผอู้ ยใู่ กลบ้ า้ น กด็ .ี .. บิณฑบาตเป็นวัตร ก็ดี... ฉันในที่นิมนต์ ก็ดี... ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร ก็ดี... นุ่งห่มคหบดีจีวร ก็ดี ถ้าเป็นผฟู้ ุ้งซา่ น ถือตวั กลบั กลอก พดู มาก มีวาจา ไมแ่ นน่ อน มสี ตลิ มื หลง ปราศจากสมั ปชญั ญะ ไมม่ สี มาธิ มจี ิตหมนุ ไปผดิ มอี ินทรียอ์ ันปล่อยแล้ว : ดว้ ยอาการ อยา่ งน้ี ภิกษนุ ัน้ ควรถกู ตเิ ตียนด้วยองค์นั้นๆ. คหบดี ! ถงึ แมภ้ กิ ษจุ ะเปน็ ผอู้ ยใู่ กลบ้ า้ น กด็ .ี .. บิณฑบาตเป็นวัตร ก็ดี... ฉันในที่นิมนต์ ก็ดี... ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร ก็ดี... นุ่งห่มคหบดีจีวร ก็ดี ถ้าเป็นผู้ไม่ฟงุ้ ซา่ น ไม่ถอื ตัว ไม่กลบั กลอก ไม่พูดมาก มีวาจาแน่นอน มีสติต้ังมั่น มีสัมปชัญญะ มีสมาธิ มีเอกัคคตาจิต สำ�รวมอินทรีย์ : ด้วยอาการอย่างน้ี ภิกษนุ ้ันอนั ใครๆ ควรสรรเสรญิ ดว้ ยองคน์ ้นั ๆ.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 19 เอาละ คหบดี ! ท่านจงถวายทานในสงฆ์เถิด เม่ือท่านถวายทานในสงฆ์อยู่, จิตจักเลื่อมใส; ท่านเป็น ผมู้ จี ติ อนั เลอ่ื มใสแลว้ ภายหลงั แตก่ ารตายเพราะการท�ำ ลาย แหง่ กาย จักเข้าถึงสุคตโิ ลกสวรรค์. “ขา้ แตพ่ ระองค์ผ้เู จริญ ! จำ�เดิมแต่วนั นี้ไป ขา้ พระองค์ จะถวายทานในสงฆ์ ”. ฉกกฺ . อํ. ๒๒/๔๓๖-๔๓๘/๓๓๐.
“ ภกิ ษุ ภิกษุณี อบุ าสก อุบาสกิ าใด ประพฤตธิ รรมสมควรแกธ รรม ปฏิบตั ชิ อบยิง่ , ปฏบิ ตั ติ ามธรรมอยู; ผูน้นั ชื่อวา ยอ มสักการะ เคารพนบั ถือ บูชาตถาคต ดวยการบชู าอันสูงสดุ ” มหา. ที. ๑๐/๑๖๑/๑๒๙.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 21 ๓๑ หา้ มผู้อน่ื ใหท้ าน ชือ่ วา่ ไมใ่ ช่มิตร วจั ฉะ ! ผู้ใดห้ามผู้อ่ืนซ่ึงให้ทาน ผู้นั้นช่ือว่า เปน็ อมิตร ผทู้ ำ�อันตรายสง่ิ ๓ ส่ิง คือ :- ท�ำ อนั ตรายตอ่ บญุ ของทายก (ผใู้ หท้ าน), ทำ�อนั ตรายตอ่ ลาภของปฏิคาหก (ผู้รบั ทาน), และตัวเองก็ขุดรากตัวเองกำ�จัดตัวเองเสียตั้งแต่ แรกแลว้ . วัจฉะ ! ผทู้ ห่ี า้ มผอู้ น่ื ซง่ึ ใหท้ าน ชอ่ื วา่ เปน็ อมติ ร ผูท้ ำ�อันตรายส่ิง ๓ สง่ิ ดังนแี้ ล. วจั ฉะ ! เราเองย่อมกล่าวอย่างนี้ว่า “ผู้ใด เทนำ้�ล้างหม้อ หรือนำ้�ล้างชามก็ตาม ลงในหลุมนำ้�ครำ� หรอื ทางน�ำ้ โสโครก ซง่ึ มสี ตั วม์ ชี วี ติ เกดิ อยใู่ นนน้ั ดว้ ยคดิ วา่ สตั ว์ในน้นั จะไดอ้ าศยั เลย้ี งชวี ิต ดังนแ้ี ลว้ เรากย็ งั กลา่ วว่า นน่ั เปน็ ทางมาแหง่ บญุ เพราะการท�ำ แมเ้ ชน่ นน้ั ไมต่ อ้ งกลา่ ว ถงึ การให้ทานแก่มนษุ ยด์ ้วยกัน” ดงั น้ี.
1 22 พุทธวจน อกี อยา่ งหนงึ่ เรากลา่ ววา่ ทานที่ให้แก่ผูม้ ีศลี เปน็ ทานมีผลมาก. ทานท่ีให้แก่ผู้ทุศีล หาเป็นอย่างน้ันไม่. และผมู้ ศี ีลนน้ั เป็นผูล้ ะเสียซ่ึงองค์ ๕ และประกอบอยู่ดว้ ย องค์ ๕. ละองค์ ๕ คือ :- ละกามฉนั ทะ ละพยาบาท ละถีนมทิ ธะ (หดหซู่ ึมเซา) ละอุทธัจจกุกกจุ จะ (ฟุ้งซ่านร�ำ คาญ) ละวจิ กิ จิ ฉา (ลงั เลสงสัย) ประกอบด้วยองค์ ๕ คอื :- ประกอบดว้ ยกองศลี ชน้ั อเสขะ (คอื ชน้ั พระอรหนั ต)์ ประกอบด้วยกองสมาธชิ ัน้ อเสขะ ประกอบด้วยกองปญั ญาชั้นอเสขะ ประกอบดว้ ยกองวิมุตติชัน้ อเสขะ ประกอบด้วยกองวมิ ุตติญาณทัสสนะชนั้ อเสขะ. เรากล่าวว่าทานท่ีให้ในบุคคลผู้ละองค์ห้า และ ประกอบด้วยองคห์ า้ ดว้ ยอาการอย่างน้ี มีผลมาก ดังน้ี. ตกิ . อํ. ๒๐/๒๐๕/๔๙๗.
มีลาภ เสอ่ื มลาภ มยี ศ เส่ือมยศ นนิ ทา สรรเสริญ สุข ทุกข แปดอยา งนี้ เปนส่งิ ทีไ่ มเ ท่ียงในหมูม นุษย ไมยง่ั ยนื มีความแปรปรวนเปน ธรรมดา อฎก. อํ. ๒๓/๑๕๙/๙๖.
1 24 พุทธวจน ๓๒ ผลแหง่ ทาน คหบดี ! บุคคลให้ทานอันเศร้าหมองหรือ ประณีตก็ตาม แต่ให้ทานนั้นโดยไม่เคารพ ไม่ทำ� ความนอบนอ้ มให้ ไมใ่ หด้ ว้ ยมอื ตนเอง ใหข้ องทเ่ี หลอื ไม่เชอื่ กรรมและผลของกรรม ให้ทาน ทานนน้ั ๆ บงั เกดิ ผลในตระกลู ใดๆ ในตระกลู นน้ั ๆ จติ ของผใู้ หท้ านยอ่ มไมน่ อ้ มไปเพอ่ื บรโิ ภคอาหารอยา่ งดี ยอ่ มไมน่ อ้ มไปเพอ่ื บรโิ ภคผา้ อยา่ งดี ยอ่ มไมน่ อ้ มไปเพอ่ื บรโิ ภคยานอยา่ งดี ยอ่ มไมน่ อ้ มไปเพอ่ื บรโิ ภคกามคณุ ๕ อย่างดี แมบ้ รวิ ารชนของผ้ใู หท้ านนน้ั คอื บุตร ภรรยา ทาส คนใช้ คนทำ�งาน ก็ไม่เช่ือฟัง ไม่เงี่ยหูฟัง ส่งจติ ไปท่ีอืน่ เสีย. ข้อนนั้ เพราะเหตุไร ? ทั้งน้ีเป็นเพราะ ผลแห่งกรรมท่ีตนกระทำ�โดย ไมเ่ คารพ.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 25 คหบดี ! บุคคลให้ทานอันเศร้าหมองหรือ ประณีตก็ตาม แต่ให้ทานนั้นโดยเคารพ ทำ�ความ นอบน้อมให้ ให้ด้วยมือตนเอง ให้ของที่ไม่เหลือ เชอื่ กรรมและผลของกรรม ใหท้ าน ทานนน้ั ๆ บงั เกดิ ผลในตระกลู ใดๆ ในตระกลู นน้ั ๆ จิตของผู้ให้ทานย่อมน้อมไปเพื่อบริโภคอาหารอย่างดี ย่อมน้อมไปเพ่ือบริโภคผ้าอย่างดี ย่อมน้อมไปเพ่ือ บรโิ ภคยานอยา่ งดี ยอ่ มนอ้ มไปเพื่อบรโิ ภคกามคุณ ๕ อย่างดี แม้บรวิ ารชนของผใู้ หท้ านนนั้ คือ บุตร ภรรยา ทาส คนใช ้ คนท�ำ งาน กเ็ ชอ่ื ฟงั ด ี เงย่ี หฟู งั ไมส่ ง่ จติ ไปทอี่ ืน่ . ขอ้ นั้นเพราะเหตุไร ? ท้ังน้ีเป็นเพราะผลของกรรมที่ตนกระทำ�โดย เคารพ. คหบดี ! เรื่องเคยมีมาแล้ว มีพราหมณ์ช่ือ เวลามะ พราหมณผ์ นู้ น้ั ไดใ้ หท้ านเปน็ มหาทานอยา่ งน้ี คอื ได้ให้ถาดทองเตม็ ด้วยรปู ยิ ะ ๘๔,๐๐๐ ถาด ถาดรูปยิ ะ
1 26 พุทธวจน เตม็ ด้วยทอง ๘๔,๐๐๐ ถาด ถาดสำ�ริดเตม็ ดว้ ยเงิน ๘๔,๐๐๐ ถาด ใหช้ า้ ง ๘๔,๐๐๐ เชอื ก มเี ครอ่ื งประดบั ลว้ น เปน็ ทอง มธี งทอง คลมุ ดว้ ยขา่ ยทอง ใหร้ ถ ๘๔,๐๐๐ คนั หมุ้ ดว้ ยหนงั ราชสหี ์ หนงั เสอื โครง่ หนงั เสอื เหลอื ง ผา้ กมั พล เหลอื ง มเี คร่ืองประดับลว้ นเป็นทอง มีธงทอง คลุมดว้ ย ขา่ ยทอง ใหแ้ ม่โคนม ๘๔,๐๐๐ ตัว มีนำ้�นมไหลสะดวก ใชภ้ าชนะเงนิ รองน�ำ้ นม ใหห้ ญงิ สาว ๘๔,๐๐๐ คน ประดบั ดว้ ยแกว้ มณแี ละแกว้ กณุ ฑล ใหบ้ ลั ลงั ก์ ๘๔,๐๐๐ ท่ี ลาดดว้ ย ผา้ โกเชาว์ ลาดด้วยขนแกะสขี าว เครอื่ งลาดมสี ัณฐานเปน็ ชอ่ ดอกไม้ มีเครอื่ งลาดอย่างดที �ำ ด้วยหนงั ชมด มเี ครื่อง ลาดเพดาน มหี มอนข้างแดงทง้ั สอง ให้ผ้า ๘๔,๐๐๐ โกฏิ เป็นผ้าเปลือกไม้ ผ้าแพร ผ้าฝ้าย เนื้อละเอียด จะป่วยกล่าวไปไยถึงข้าว นำ้� ของเค้ียว ของบริโภค เครือ่ งลูบไล ้ ท่นี อน ไหลไปเหมือนแมน่ ้ำ�. คหบดี ! ทา่ นพงึ มคี วามคดิ อย่างนวี้ ่า สมยั นนั้ ผู้อนื่ ไม่ใชเ่ วลามพราหมณผ์ ทู้ ี่ใหท้ านเปน็ มหาทานน้นั . คหบดี ! แต่ท่านไม่ควรเห็นอย่างนี้ สมัยนั้น เราเป็นเวลามพราหมณ์ เราได้ให้ทานน้ันเป็นมหาทาน
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 27 ก็ในทานนั้น ไม่มีใครเป็นพระทักขิเณยยบุคคล ใครๆ ไม่ชำ�ระทักขิณานนั้ ใหห้ มดจด. คหบดี ! ทานทบ่ี คุ คลถวายใหท้ า่ นผถู้ งึ พรอ้ ม ดว้ ยทฏิ ฐิ (พระโสดาบัน) ผู้เดียวบรโิ ภค มผี ลมากกว่า ทานที่เวลามพราหมณใ์ ห้แล้ว. ทานทบ่ี คุ คลถวายใหพ้ ระสกทาคามผี เู้ ดยี วบรโิ ภค มีผลมากกว่า ทานท่ีบุคคลถวายให้ท่านผู้ถึงพร้อม ด้วยทฏิ ฐิ ๑๐๐ ท่านบรโิ ภค. ทานทบ่ี คุ คลถวายใหพ้ ระอนาคามผี เู้ ดยี วบรโิ ภค มีผลมากกว่า ทานที่บุคคลถวายให้พระสกทาคามี ๑๐๐ ท่านบริโภค. ทานที่บุคคลถวายให้พระอรหันต์ผู้เดียวบริโภค มีผลมากกว่า ทานท่ีบุคคลถวายให้พระอนาคามี ๑๐๐ ท่านบรโิ ภค. ทานทบ่ี คุ คลถวายใหพ้ ระปจั เจกพทุ ธเจา้ รปู เดยี ว บรโิ ภค มผี ลมากกว่า ทานทบ่ี ุคคลถวายให้พระอรหันต์ ๑๐๐ รปู บรโิ ภค.
1 28 พุทธวจน ทานทบ่ี คุ คลถวายใหพ้ ระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ บริโภค มีผลมากกว่า ทานที่บุคคลถวายให้พระ ปจั เจกพุทธเจ้า ๑๐๐ รปู บริโภค. ทานที่บุคคลถวายให้ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้า เป็นประมุขบริโภค มีผลมากกว่า ทานที่บุคคลถวาย ให้พระอรหันตสัมมาสมั พทุ ธเจ้าบรโิ ภค. การทบ่ี คุ คล สรา้ งวหิ ารถวายสงฆผ์ มู้ าจากจาตรุ ทศิ มผี ลมากกวา่ ทานทบ่ี คุ คลถวายใหภ้ กิ ษสุ งฆม์ พี ระพทุ ธเจา้ เป็นประมขุ บรโิ ภค. การทบ่ี คุ คลมจี ติ เลอ่ื มใสถงึ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม และพระสงฆเ์ ปน็ สรณะ มผี ลมากกวา่ ทานทบ่ี คุ คลสรา้ ง วหิ ารถวายสงฆ์ อันมาจากจาตุรทศิ . การท่ีบุคคลมีจติ เลือ่ มใสสมาทานสกิ ขาบท คือ งดเว้นจากปาณาติบาต ฯลฯ จากการดืม่ น�้ำ เมา คอื สรุ า และเมรัยอันเปน็ ทตี่ ัง้ แห่งความประมาท มีผลมากกวา่ การทบ่ี คุ คลมจี ติ เลอ่ื มใสถงึ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม และ พระสงฆ์เปน็ สรณะ.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 29 การท่ีบุคคลเจริญเมตตาจิตโดยท่ีสุดแม้เพียง เวลาสดู ดมของหอม มผี ลมากกวา่ การท่บี คุ คลมีจิต เลอื่ มใสสมาทานสกิ ขาบท คือ งดเวน้ จากปาณาติบาต ฯลฯ. และการที่บุคคลเจริญอนิจจสัญญาแม้เพียง เวลาลดั นว้ิ มอื มผี ลมากกวา่ การทบ่ี คุ คลเจรญิ เมตตาจติ โดยทีส่ ุดแมเ้ พียงเวลาสดู ดมของหอม. นวก. อ.ํ ๒๓/๔๐๕/๒๒๔.
1 30 พุทธวจน ๓๓ ทาน ทีจ่ ดั วา่ เปน็ มหาทาน ภิกษทุ ัง้ หลาย ! อรยิ สาวกในกรณีน้ี ละปาณาติบาต เวน้ ขาดจากปาณาติบาต. ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! อริยสาวกเวน้ ขาดจากปาณาติบาตแลว้ ยอ่ มชอ่ื วา่ ใหอ้ ภยั ทาน อเวรทาน อพั ยาปชั ฌทาน แกส่ ัตวท์ ั้งหลาย มากไม่มปี ระมาณ; คร้ันให้อภัยทาน อเวรทาน อัพยาปัชฌทาน แก่สัตว์ทงั้ หลาย มากไมม่ ีประมาณแลว้ ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่งความไม่มีภัย ไม่มีเวร ไม่มีความเบยี ดเบียน อนั ไมม่ ปี ระมาณ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นเ้ี ปน็ ทานชน้ั ปฐม เปน็ มหาทาน รจู้ กั กนั วา่ เปน็ ของเลศิ เปน็ ของมมี านาน เปน็ ของประพฤติ สืบกนั มาแต่โบราณ ไม่ถูกทอดทิ้งเลย ไมเ่ คยถูกทอดท้ิง ในอดีต ไม่ถูกทอดทิ้งอยูใ่ นปจั จุบนั และจกั ไมถ่ กู ทอดทิง้ ในอนาคต อันสมณพราหมณผ์ ้รู ไู้ ม่คัดค้าน.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 31 ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ น้ีเป็นท่อธารแห่งบญุ เปน็ ที่ไหลออกแหง่ กศุ ล น�ำ มาซ่งึ สุข เปน็ ไปเพ่อื ยอดสดุ อนั ดี มีสขุ เป็นวิบาก เป็นไปเพื่อสวรรค์ เปน็ ไปเพือ่ ประโยชน์ เกอ้ื กลู เพอ่ื ความสขุ อนั พงึ ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ. (ในกรณีศีล ๕ อีกสี่ข้อท่ีเหลือ คือ การเว้นขาดจาก อทินนาทาน, การเว้นขาดจากกาเมสุมิฉาจาร, การเว้นขาดจาก มุสาวาท และการเว้นขาดจากการด่ืมนำ้�เมา คือสุราและเมรัย อันเป็นท่ีต้งั แหง่ ความประมาท ก็ไดต้ รสั โดยมนี ยั อยา่ งเดยี วกัน). ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ทาน ๕ ประการ น้ีแล เป็นมหาทาน รจู้ ักกนั วา่ เปน็ ของเลศิ เป็นของมมี านาน เป็นของประพฤตสิ บื กันมาแตโ่ บราณ ไมถ่ กู ทอดทง้ิ เลย ไมเ่ คยถกู ทอดทง้ิ ในอดีต ไม่ถกู ทอดทง้ิ อยู่ในปัจจบุ นั และจักไม่ถกู ทอดทงิ้ ในอนาคต อนั สมณพราหมณ์ผูร้ ไู้ มค่ ดั ค้าน. อฏฺก. อํ. ๒๓/๒๕๐/๑๒๙.
1 32 พุทธวจน ๓๔ เหตุทที่ ำ�ให้เปน็ ผมู้ รี ูปงาม, มีทรพั ย์มากและสงู ศักด์ิ พระนางมลั ลกิ า ! มาตุคามบางคนในโลกนี้ ไม่เป็นผู้มักโกรธ ไมม่ ากไปด้วยความคบั แค้นใจ ถูกว่าแม้มากก็ไมข่ ัดเคือง ไม่ฉุนเฉียว ไม่กระฟัดกระเฟียด ไม่กระด้างกระเดื่อง ไม่แสดงความโกรธ ความขัดเคืองและความไม่พอใจ ใหป้ รากฏ เปน็ ผ้ใู หท้ าน คอื ขา้ ว น้�ำ ผา้ ยวดยานระเบียบ ของหอมเคร่ืองลูบไล้ ท่ีนอน ท่ีอยู่อาศัยและประทีป โคมไฟ แก่สมณะหรือพราหมณ์ และถ้ามาตุคามน้นั จุติ จากอตั ภาพนน้ั แลว้ มาสคู่ วามเปน็ อยา่ งน ้ี กลบั มาเกดิ ใน ชาติใดๆ ย่อมเป็นผู้มีรูปงาม น่าดู น่าชม ประกอบ ด้วยความเป็นผู้มีผิวพรรณงามยิ่งนัก ทั้งเป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคสมบัติมากและสูงศักดิ์. จตกุ กฺ . อํ. ๒๑/๒๗๘/๑๙๗.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 33 ๓๕ ผใู้ หโ้ ภชนะ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ทายกผู้ให้โภชนะ ชื่อว่าย่อม ใหฐ้ านะ ๔ ประการ แกป่ ฏคิ าหก (ผรู้ บั ทาน, ผรู้ บั ของถวาย). ๔ ประการ เป็นอย่างไรเล่า ? คอื :- ใหอ้ ายุ วรรณะ สขุ ะ พละ คร้ันให้อายุแล้ว ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่งอายุ อันเปน็ ทพิ ย์หรือเปน็ ของมนุษย์ ครัน้ ให้วรรณะแลว้ ... ครั้นให้สขุ ะแลว้ ... ครัน้ ใหพ้ ละแลว้ ยอ่ มเปน็ ผู้มีส่วน แหง่ พละอนั เปน็ ทิพยห์ รือเปน็ ของมนษุ ย์ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ทายกผู้ให้โภชนะ ชื่อว่าย่อม ให้ฐานะ ๔ ประการนี้ แกป่ ฏคิ าหก. ผใู้ ดย่อมใหโ้ ภชนะ ตามกาลอนั ควร โดยเคารพ แกป่ ฏคิ าหกผสู้ �ำ รวมแลว้ ผบู้ รโิ ภคโภชนะทผ่ี อู้ น่ื ใหเ้ ปน็ อยู่ ผนู้ น้ั ชอ่ื วา่ ยอ่ มใหฐ้ านะ ๔ ประการ คอื อายุ วรรณะ สขุ ะและพละ นรชนผู้มีปกตใิ หอ้ ายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ย่อมเป็นผ้มู ีอายยุ นื มีบริวาร มยี ศ ในทที่ ตี่ นเกดิ แลว้ . จตุกกฺ . อํ. ๒๑/๓๒๐-๓๒๑/๒๓๗.
1 34 พุทธวจน ๓๖ กัลยณมติ ร คอื อริยมรรค อานนท์ ! ภิกษุผู้ช่ือว่า มีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนดี ย่อมเจริญทำ�ให้มาก ซ่ึงอริยมรรคมีองค์แปด โดยอาการอยา่ งไรเล่า ? อานนท์ ! ภกิ ษใุ นศาสนาน้ี ยอ่ มเจรญิ ท�ำ ใหม้ าก ซึ่งสมั มาทฏิ ฐิ สัมมาสงั กัปปะ สมั มาวาจา สัมมากัมมนั ตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ชนิดท่ีวิเวกอาศัยแล้ว ชนิดท่ีวิราคะอาศัยแล้ว ชนิด ที่นิโรธอาศยั แลว้ ชนิดทีน่ อ้ มไปรอบเพื่อการสลดั คืน. อานนท์ ! อย่างนี้แล ชื่อว่าภิกษุผู้มีมิตรดี มีสหายดี มเี พอ่ื นดี ย่อมเจรญิ ทำ�ใหม้ าก ซง่ึ อริยมรรค มีองคแ์ ปด. อานนท์ ! ข้อน้นั เธอพงึ ทราบโดยปริยายอนั นี้เถดิ คือวา่ พรหมจรรยน์ ้ที ัง้ หมดน่ันเทียว ไดแ้ ก่ ความเป็นผมู้ มี ิตรดี มีสหายดี มเี พือ่ นด,ี ดังน้ี.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1 35 อานนท์ ! จริงทีเทียว, สัตว์ท้ังหลาย ผู้มี ความเกดิ เป็นธรรมดา ได้อาศยั กัลยาณมิตรของเราแลว้ ยอ่ มหลดุ พน้ หมดจากชาต,ิ ผมู้ คี วามแกช่ รา ความเจบ็ ปว่ ย ความตาย ความโศก ความคร่ำ�ครวญ ความทุกข์กาย ความทุกขใ์ จ ความแห้งผากใจ เปน็ ธรรมดา ครั้นได้อาศัยกัลยาณมิตรของเราแล้ว ย่อม หลุดพ้นหมดจากชาติ, ความแก่ชรา ความเจ็บป่วย ความตาย ความโศก ความคร่ำ�ครวญ ความทุกข์กาย ความทุกขใ์ จ ความแห้งผากใจ. อานนท์ ! ข้อนัน้ เธอพึงทราบโดยปรยิ ายอันน้ีเถิด คือว่า พรหมจรรยน์ ้ที ้ังหมดน่นั เทยี ว ได้แก่ ความเป็นผู้มีมติ รดี มสี หายดี มเี พ่อื นดี, ดังน.ี้ สคา. ส.ํ ๑๕/๑๒๗/๓๘๓.
“ในธรรมวินยั นี้, เธอผใู ดเปนผไู มประมาทแลว จกั ละชาตสิ งสาร ทาํ ท่ีสดุ แหง ทกุ ขได... พวกเธอจงเปนผูไมป ระมาท มสี ติ มศี ีลเปน อยา งดี มคี วามดํารอิ นั ตงั้ ไวแลว ดว ยดี ตามรักษาซ่งึ จติ ของตนเถดิ ” มหา. ที. ๑๐/๑๓๙/๑๐๖.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172