ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 3 7 ๘ หลกั การด�ำ รงชีพ เพอ่ื ประโยชน์สขุ ในวันนี้ “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ ู้เจรญิ ! พวกข้าพระองค์เป็นคฤหัสถ์ บรโิ ภคกาม แออัดอยดู่ ว้ ยบุตร ครองเรือน ใช้สอยกระแจะจันทน์ จากแควน้ กาสี ทดั ทรงพวงดอกไม้ ของหอมเครอ่ื งลบู ไล้ ยินดีทอง และเงนิ อยู่. ขา้ แตพ่ ระองค์ผ้เู จรญิ ! ขอพระผู้มีพระภาคจงทรง แสดงธรรมท่ีเป็นไปเพ่ือประโยชน์เก้ือกูล เพื่อความสุข ทั้งใน ทฏิ ฐธรรม (ในปจั จุบัน) และในสมั ปรายะ (ในเวลาถัดต่อมา) แกพ่ วกข้าพระองค์ผูอ้ ยใู่ นสถานะเช่นนเี้ ถิด พระเจา้ ขา้ !”. พ๎ยคั ฆปชั ชะ ! ธรรม ๔ ประการเหล่าน้ี เปน็ ไปเพือ่ ประโยชนเ์ กื้อกลู เพอ่ื ความสุข แก่กลุ บุตร ในทิฏฐธรรม (ในปจั จบุ ัน). ๔ ประการ อยา่ งไรเล่า ? ๔ ประการ คือ :- อุฏฐานสัมปทา (ความขยนั ในอาชีพ) อารักขสัมปทา (การรักษาทรพั ย์) กลั ยาณมติ ตตา (ความมมี ิตรด)ี สมชวี ิตา (การเลย้ี งชวี ติ อยา่ งสมดลุ ยพ์ อเพยี งแกฐ่ านะ).
3 8 พุทธวจน ความขยนั ในอาชีพ พ๎ยคั ฆปชั ชะ ! อฏุ ฐานสมั ปทา เปน็ อยา่ งไรเล่า ? พ๎ยคั ฆปชั ชะ ! กุลบุตรในกรณีนี้ สำ�เร็จการ เปน็ อยดู่ ว้ ยการลกุ ขน้ึ กระท�ำ การงาน คอื ดว้ ยกสกิ รรม หรอื วานชิ กรรม โครกั ขกรรม อาชพี ผถู้ อื อาวธุ อาชพี ราชบรุ ษุ หรอื ดว้ ยศลิ ปะอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ . ในอาชพี นน้ั ๆ เขาเปน็ ผ้เู ชี่ยวชาญ ไม่เกยี จครา้ น ประกอบดว้ ยการสอดส่องใน อุบายนั้นๆ สามารถกระท�ำ สามารถจัดใหก้ ระทำ�. พ๎ยัคฆปัชชะ ! น้ีเรยี กวา่ อฏุ ฐานสมั ปทา (ความขยนั ในอาชพี ). การรกั ษาทรพั ย์ พย๎ คั ฆปัชชะ ! อารักขสัมปทา เป็นอยา่ งไรเลา่ ? พ๎ยคั ฆปัชชะ ! กุลบุตรในกรณีน้ี, โภคะ อันกุลบุตรหาได้มาด้วยความเพียรเป็นเคร่ืองลุกขึ้น
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 3 9 รวบรวมมาดว้ ยก�ำ ลงั แขน มตี วั ชมุ่ ดว้ ยเหงอ่ื เปน็ โภคทรพั ย์ ประกอบด้วยธรรม ไดม้ าโดยธรรม, เขารักษาคุม้ ครอง อยา่ งเตม็ ท่ี ดว้ ยหวงั วา่ “อยา่ งไรเสยี พระราชาจะไมร่ บิ ทรพั ย์ ของเราไป โจรจะไม่ปล้นเอาไป ไฟจะไมไ่ หม้ น�ำ้ จะไมพ่ ัด พาไป ทายาทอนั ไมร่ กั ใครเ่ รา จะไมย่ อื้ แยง่ เอาไป” ดงั น.้ี พ๎ยคั ฆปชั ชะ ! นเ้ี รยี กว่า อารกั ขสมั ปทา (การรักษาทรัพย์). ความมีมติ รดี พย๎ คั ฆปัชชะ ! กัลยาณมติ ตตา เปน็ อย่างไรเล่า ? พ๎ยัคฆปัชชะ ! กุลบตุ รในกรณีน้ี อยู่อาศยั ใน บา้ นหรอื นคิ มใด, ถา้ มีบคุ คลใดๆ ในบ้านหรือนคิ มน้ัน เปน็ คหบดหี รอื บตุ รคหบดกี ด็ ี เปน็ คนหนมุ่ ทเ่ี จรญิ ดว้ ยศลี หรือเปน็ คนแกท่ เี่ จรญิ ดว้ ยศีลก็ดี ล้วนแต่ถงึ พร้อมด้วย ศรทั ธา ถงึ พรอ้ มดว้ ยศลี ถงึ พรอ้ มดว้ ยจาคะ ถงึ พรอ้ มดว้ ย ปัญญาอยแู่ ลว้ ไซร้, กลุ บุตรนัน้ ก็ด�ำ รงตนรว่ ม พดู จารว่ ม สากจั ฉา (สนทนา) ร่วมกบั ชนเหล่าน้นั .
4 0 พุทธวจน เขาติดตามศึกษาความถึงพร้อมด้วยสัทธาโดย อนรุ ปู แกบ่ คุ คลผ้ถู งึ พรอ้ มดว้ ยสัทธา เขาติดตามศึกษาความถึงพร้อมด้วยศีลโดย อนรุ ปู แก่บคุ คลผถู้ ึงพรอ้ มด้วยศลี เขาติดตามศึกษาความถึงพร้อมด้วยจาคะโดย อนุรปู แกบ่ คุ คลผูถ้ ึงพรอ้ มด้วยจาคะ เขาติดตามศึกษาความถึงพร้อมด้วยปัญญาโดย อนรุ ูปแกบ่ คุ คลผถู้ ึงพร้อมด้วยปัญญาอยูใ่ นทน่ี น้ั ๆ. พ๎ยคั ฆปัชชะ ! น้ีเรยี กวา่ กัลยาณมิตตตา (ความมีมิตรดี). การเลย้ี งชวี ติ อยา่ งสมดุลยพ์ อเพยี งแก่ฐานะ พย๎ คั ฆปชั ชะ ! สมชีวติ า เปน็ อยา่ งไรเล่า ? พย๎ คั ฆปชั ชะ ! กุลบุตรในกรณีนี้ รู้จักความ ไดม้ าแหง่ โภคทรัพย์ ร้จู กั ความส้นิ ไปแห่งโภคทรัพย์แลว้ ด�ำ รงชวี ติ อยอู่ ยา่ งสม�ำ่ เสมอ ไมฟ่ มุ่ เฟอื ยนกั ไมฝ่ ดื เคอื งนกั โดยมหี ลกั วา่ “รายไดข้ องเราจกั ทว่ มรายจา่ ย และรายจา่ ย ของเราจกั ไมท่ ่วมรายรับ ด้วยอาการอยา่ งน”ี้ ดงั น้.ี
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 4 1 พย๎ ัคฆปชั ชะ ! เปรียบเหมือนคนถือตาช่ังหรือ ลูกมอื ของเขา ยกตาช่ังขน้ึ แล้ว กร็ ู้วา่ “ยังขาดอยเู่ ทา่ น้ี หรือเกินไปแลว้ เทา่ น้”ี ดงั น้ฉี นั ใด; กุลบุตรน้ี กฉ็ นั น้นั : เขารู้จักความได้มาแห่งโภคทรัพย์ รู้จักความส้ินไปแห่ง โภคทรพั ย์ แลว้ ด�ำ รงชวี ติ อยอู่ ยา่ งสม�ำ่ เสมอ ไมฟ่ มุ่ เฟอื ยนกั ไมฝ่ ดื เคอื งนกั โดยมหี ลกั วา่ “รายไดข้ องเราจกั ทว่ มรายจา่ ย และรายจา่ ยของเราจกั ไม่ท่วมรายรบั ดว้ ยอาการอย่างน”ี้ ดงั น.ี้ พ๎ยคั ฆปัชชะ ! ถา้ กลุ บตุ รน้ี เปน็ ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย แตส่ ำ�เร็จการเป็นอยูอ่ ยา่ งฟ่มุ เฟือยแล้วไซร้ ก็จะมผี ้กู ล่าว ว่า กุลบตุ รนใี้ ชจ้ า่ ยโภคทรพั ย์ (อยา่ งสุรุ่ยสุร่าย) เหมือน คนกนิ ผลมะเด่ือ ฉนั ใดกฉ็ นั น้ัน. พย๎ ัคฆปัชชะ ! แต่ถ้ากุลบุตร เป็นผู้มีรายได้ มหาศาล แต่สำ�เร็จการเป็นอยู่อย่างแร้นแค้นแล้วไซร้ ก็จะมีผู้กล่าวว่า กุลบุตรน้ีจักตายอดตายอยากอย่าง คนอนาถา.
4 2 พุทธวจน พ๎ยัคฆปชั ชะ ! เมอ่ื ใด กลุ บตุ รน้ี รจู้ กั ความไดม้ า แห่งโภคทรัพย์ รจู้ ักความส้นิ ไปแห่งโภคทรพั ย์ แล้วดำ�รง ชีวิตอยู่อย่างสม่ำ�เสมอ ไม่ฟุ่มเฟือยนัก ไม่ฝืดเคืองนัก โดยมีหลกั ว่า “รายไดข้ องเราจักท่วมรายจ่าย และรายจา่ ย ของเรา จกั ไมท่ ว่ มรายรบั ด้วยอาการอยา่ งน้”ี ดังน้;ี พย๎ ัคฆปชั ชะ ! นเ้ี ราเรยี กวา่ สมชวี ติ า (การเลย้ี งชีวิตอยา่ งสมดุลย์พอเพยี งแก่ฐานะ). อฏฺ ก. อํ. ๒๓/๒๘๙/๑๔๔.
ธรรม ๔ ประการน้ี ยอมเปนไปเพือ่ ประโยชน เพ่อื ความสุขในปจ จุบันแกก ุลบตุ ร ธรรม ๔ ประการเปนไฉน คอื อฏุ ฐานสมั ปทา ๑ อารักขสมั ปทา ๑ กัลยาณมิตตตา ๑ สมชวี ติ า ๑ อฏก. อํ. ๒๓/๒๘๙/๑๔๔.
ปากทางแหงความเจรญิ ๔ ประการ ของโภคะที่เกิดขนึ้ พรอมแลว อยางน้ี มอี ยู คอื ความไมเปน นักเลงหญงิ ไมเปน นกั เลงสรุ า ไมเปน นักเลงการพนัน และมมี ิตรสหายเพอ่ื นฝงู ทดี่ ีงาม อฏก. อํ. ๒๓/๒๙๒/๑๔๔.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 4 5 ๙ เหตุเจริญและเหตุเสอื่ ม แหง่ ทรพั ย์ ๔ ประการ พ๎ยคั ฆปัชชะ ! ปากทางแห่งความเสื่อม ๔ ประการ ของโภคทรัพย์ที่เกิดขึ้นพร้อมแล้วอย่างนี้ มีอยู่ คือ :- ความเปน็ นักเลงหญงิ นกั เลงสุรา นกั เลงการพนัน และมมี ติ รสหายเพอ่ื นฝงู เลวทราม. พ๎ยคั ฆปัชชะ ! เปรียบเหมือนทางน�ำ้ เขา้ ๔ทาง ทางน�ำ้ ออก ๔ ทาง ของบงึ ใหญ่มอี ย,ู่ บรุ ุษปดิ ทางน้ำ�เข้า เหลา่ น้นั เสีย และเปิดทางน�ำ้ ออกเหลา่ นั้นดว้ ย ทง้ั ฝนก็ ไม่ตกลงมาตามทค่ี วร. พย๎ คั ฆปัชชะ ! เมอ่ื เปน็ อยา่ งนน้ั ความเหอื ดแหง้ เทา่ นน้ั ทห่ี วงั ไดส้ �ำ หรบั บงึ ใหญน่ น้ั ความเตม็ เปย่ี มไมม่ ที าง ที่จะหวังได้ น้ฉี ันใด;
4 6 พุทธวจน พย๎ ัคฆปชั ชะ ! ผลท่จี ะเกิดข้นึ ก็ฉันน้นั สำ�หรับ โภคทรัพย์ท่ีเกิดข้ึนพร้อมแล้วอย่างนี้ ที่มีปากทางแห่ง ความเส่ือม ๔ ประการ คือ ความเป็นนักเลงหญิง เป็นนักเลงสุรา เป็นนักเลงการพนัน และมีมิตรสหาย เพอ่ื นฝงู เลวทราม. พ๎ยัคฆปัชชะ ! ปากทางแห่งความเจริญ ๔ ประการ ของโภคทรัพย์ท่ีเกิดข้ึนพร้อมแล้วอย่างนี้ มีอยู่ คือ ความไม่เป็นนกั เลงหญิง ไมเ่ ปน็ นักเลงสรุ า ไม่เปน็ นักเลงการพนนั และมมี ติ รสหายเพื่อนฝูงที่ดงี าม. พ๎ยัคฆปชั ชะ ! เปรยี บเหมือนทางน�ำ้ เข้า๔ทาง ทางนำ้�ออก ๔ ทาง ของบึงใหญ่, บุรุษเปิดทางน้ําเข้า เหล่านั้นด้วย และปิดทางนำ้�ออกเหล่าน้ันเสีย ท้ังฝนก็ ตกลงมาตามทีค่ วรดว้ ย.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 4 7 พย๎ คั ฆปัชชะ ! เมอ่ื เปน็ อยา่ งนน้ั ความเตม็ เปย่ี ม เท่านั้นท่ีหวังได้สำ�หรับบึงใหญ่นั้น ความเหือดแห้ง เป็นอันไม่ต้องหวงั นี้ฉนั ใด; พ๎ยัคฆปชั ชะ ! ผลท่ีจะเกิดขึ้นกฉ็ นั นน้ั ส�ำ หรับ โภคะทเ่ี กดิ ขน้ึ พรอ้ มแลว้ อยา่ งน้ี ทม่ี ปี ากทางแหง่ ความเจรญิ ๔ ประการ คอื ความไมเ่ ปน็ นกั เลงหญงิ ไมเ่ ปน็ นกั เลงสรุ า ไมเ่ ปน็ นกั เลงการพนนั และมมี ติ รสหายเพอ่ื นฝงู ทด่ี งี าม. พ๎ยคั ฆปชั ชะ ! ธรรมทง้ั ๔ ประการ เหล่าน้ีแล เป็นธรรมเป็นไปเพื่อประโยชน์เก้ือกูล เพื่อความสุขของ กุลบุตร ในทฏิ ฐธรรม (ในปจั จบุ ัน). อฏฺ ก. อ.ํ ๒๓/๒๙๑-๒๙๓/๑๔๔.
ธรรม ๔ ประการน้ี ยอมเปนไปเพอ่ื ประโยชน เพอื่ ความสุขในภายหนา แกกลุ บตุ ร ธรรม ๔ ประการเปนไฉน คอื สัทธาสัมปทา ๑ สีลสัมปทา ๑ จาคสัมปทา ๑ ปญญาสมั ปทา ๑ อฏก. อํ. ๒๓/๒๘๙-๒๙๓/๑๔๔.
5 0 พุทธวจน ๑๐ หลกั ด�ำ รงชีพเพื่อประโยชน์สุข ในเวลาถัดตอ่ มา พย๎ คั ฆปัชชะ ! ธ ร ร ม ๔ ป ร ะ ก า ร เ ห ล่ า น้ี เป็นไปเพ่ือประโยชน์เกื้อกูล เพ่ือความสุขของกุลบุตร ในสมั ปรายะ (ในเวลาถัดตอ่ มา) ๔ ประการ อย่างไรเลา่ ? ๔ ประการคือ :- สทั ธาสัมปทา (ความถึงพรอ้ มดว้ ยศรัทธา) สีลสมั ปทา (ความถึงพรอ้ มดว้ ยศลี ) จาคสัมปทา (ความถงึ พรอ้ มดว้ ยการบริจาค) ปญั ญาสัมปทา (ความถงึ พร้อมด้วยปัญญา) พ๎ยัคฆปชั ชะ ! สทั ธาสมั ปทา เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? พ๎ยคั ฆปัชชะ ! กลุ บตุ รในกรณนี ้ี เปน็ ผมู้ ศี รทั ธา เชื่อในการตรัสรู้ของตถาคตว่า “เพราะเหตุอย่างนี้ๆ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ นน้ั เป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผตู้ รสั รู้ ชอบได้โดยพระองค์เอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและ ข้อปฏิบัติให้ถึงวิชชา เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลก
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 5 1 อย่างแจม่ แจง้ เป็นผสู้ ามารถฝึกคนที่ควรฝกึ ได้อยา่ งไมม่ ี ใครย่ิงกว่า เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เปน็ ผู้รู้ ผตู้ น่ื ผเู้ บิกบานดว้ ยธรรม เปน็ ผมู้ ีความจ�ำ เรญิ จำ�แนกธรรมสง่ั สอนสัตว”์ ดงั นี้. พย๎ คั ฆปัชชะ ! นีเ้ รียกวา่ สทั ธาสมั ปทา. พย๎ ัคฆปัชชะ ! สีลสมั ปทา เป็นอยา่ งไรเลา่ ? พ๎ยัคฆปัชชะ ! กลุ บตุ รในกรณนี ้ี เปน็ ผเู้ วน้ ขาด จากปาณาติบาต เป็นผู้เว้นขาดจากอทินนาทาน เป็นผู้ เว้นขาดจากกาเมสุมิจฉาจาร เป็นผู้เว้นขาดจากมุสาวาท เป็นผู้เว้นขาดจากสุราเมรยมชั ชปมาทฏั ฐาน. พ๎ยัคฆปัชชะ ! นเี้ ราเรยี กวา่ สลี สมั ปทา. พ๎ยคั ฆปชั ชะ ! จาคสมั ปทา เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? พ๎ยัคฆปชั ชะ ! กลุ บตุ รในกรณนี ้ี มใี จปราศจาก ความตระหน่ีอันเป็นมลทิน อยู่ครองเรือน มีจาคะอัน ปล่อยอยู่เป็นประจำ� มีฝ่ามืออันชุ่มเป็นปกติ ยินดีแล้ว ในการสละ ควรแก่การขอ ยินดีแลว้ ในการจ�ำ แนกทาน. พ๎ยคั ฆปชั ชะ ! นีเ้ รียกว่า จาคสมั ปทา.
5 2 พุทธวจน พยัคฆปชั ชะ ! ปญั ญาสมั ปทา เปน็ อยา่ งไรเล่า ? พ๎ยัคฆปัชชะ ! กลุ บตุ รในกรณนี ้ี เปน็ ผมู้ ปี ญั ญา ประกอบด้วยปัญญาเครื่องให้ถึงสัจจะแห่งการเกิดดับ เป็นเครื่องไปจากข้าศึก เป็นเคร่ืองเจาะแทงกิเลส เป็นเครือ่ งถงึ ซ่ึงความสน้ิ ไปแห่งทุกขโ์ ดยชอบ. พ๎ยคั ฆปัชชะ ! นเ้ี ราเรียกวา่ ปัญญาสมั ปทา. พย๎ คั ฆปชั ชะ ! ธรรม ๔ ประการเหลา่ นแ้ี ล เป็นธรรมเป็นไปเพ่ือประโยชน์เก้ือกูล เพ่ือความสุข ของกุลบตุ ร ในสมั ปรายะ (ในเวลาถัดต่อมา). อฏฺ ก. อํ. ๒๓/๒๘๙-๒๙๓/๑๔๔.
กามโภคบี คุ คลผแู สวงหาโภคทรพั ย โดยชอบธรรม โดยไมท ารุณ คร้นั แสวงหาไดแลว ยอมเลยี้ งตนใหเ ปนสขุ ใหอิ่มหนํา แจกจา ย กระทาํ บุญ และเปนผไู มก ําหนดั ไมห มกมนุ ไมจ ดจอ เห็นโทษ มีปญญาเปน เครอื่ งสลดั ออก บรโิ ภคโภคทรัพยน ้ัน นี้เปนผเู ลิศประเสรฐิ เปนใหญสงู สุด ทสก. อ.ํ ๒๔/๑๙๔/๙๑.
5 4 พุทธวจน ๑๑ ฆราวาสชัน้ เลศิ คหบดี ! ในบรรดากามโภคเี หลา่ นั้น กามโภคี ผใู้ ด แสวงหาโภคทรพั ยโ์ ดยธรรม โดยไมเ่ ครยี ดครดั ดว้ ย, ครัน้ แสวงหาโภคทรัพยโ์ ดยธรรม โดยไม่เครยี ดครดั แล้ว ทำ�ตนให้เป็นสุข ให้อ่ิมหนำ�ด้วย, แบ่งปันโภคทรัพย์ บ�ำ เพญ็ บญุ ดว้ ย, ไมก่ �ำ หนดั ไมม่ วั เมา ไมล่ มุ่ หลง มปี กติ เหน็ โทษ มปี ญั ญา เปน็ เครอ่ื งสลดั ออก บรโิ ภคโภคทรพั ย์ เหล่าน้นั อยูด่ ว้ ย; คหบดี ! กามโภคผี นู้ ้ี ควรสรรเสรญิ โดยฐานะทง้ั ส่ี คอื :- ควรสรรเสรญิ โดยฐานะท่หี นึ่ง ในข้อท่เี ขา แสวงหาโภคทรพั ยโ์ ดยธรรม โดยไมเ่ ครยี ดครัด, ควรสรรเสรญิ โดยฐานะทสี่ อง ในข้อท่เี ขา ทำ�ตนใหเ้ ป็นสุข ให้อิม่ หนำ�,
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 5 5 ควรสรรเสรญิ โดยฐานะที่สาม ในขอ้ ทเี่ ขา แบง่ ปนั โภคทรัพย์ บำ�เพญ็ บญุ , ควรสรรเสริญโดยฐานะทสี่ ่ี ในข้อท่ีเขา ไมก่ �ำ หนดั ไมม่ วั เมา ไมล่ มุ่ หลง มปี กตเิ หน็ โทษ มปี ญั ญาเป็นเครอ่ื งสลัดออก บรโิ ภคโภคทรัพย์เหล่านั้น. คหบดี ! กามโภคีผู้นี้ ควรสรรเสริญโดยฐานะ ทง้ั สเี่ หล่านี้. คหบดี ! กามโภคีจำ�พวกน้ี เป็นกามโภคี ช้ันเลศิ ชนั้ ประเสรฐิ ช้ันหวั หนา้ ชั้นสูงสุด ช้ันบวรกวา่ กามโภคีท้ังหลาย, เปรียบเสมือนนมสดเกิดจากแม่โค นมส้มเกดิ จากนมสด เนยข้นเกิดจากนมสม้ เนยใสเกิด จากเนยขน้ หวั เนยใสเกดิ จากเนยใส; หัวเนยใสปรากฏ ว่าเลิศกว่าบรรดารสอันเกิดจากโคท้ังหลาย เหล่านั้น, ข้อนี้ฉันใด; กามโภคีจำ�พวกน้ี ก็ปรากฏว่าเลิศกว่า บรรดากามโภคที ้งั หลายเหล่านัน้ ฉันน้ัน แล. ทสก. อํ. ๒๔/๑๙๔/๙๑.
5 6 พุทธวจน ๑๒ นรกทร่ี า้ ยกาจของมนุษย์ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นรกชอ่ื วา่ มหาปรฬิ าหะ มอี ย.ู่ ในนรกน้ัน, บุคคลยังเห็นรูปอย่างใดอย่างหน่ึง ไดด้ ว้ ยจักษุ (ตา) แต่ไดเ้ หน็ รูปทไ่ี ม่นา่ ปรารถนาอยา่ งเดยี ว ไมเ่ ห็น รูปทน่ี า่ ปรารถนาเลย; เหน็ รปู ทไ่ี มน่ า่ ใครอ่ ยา่ งเดยี ว ไมเ่ หน็ รปู ทน่ี า่ ใครเ่ ลย; เห็นรูปท่ีไม่น่าพอใจอย่างเดียว ไม่เห็นรูปท่ีน่า พอใจเลย. ในนรกนนั้ , บุคคลยังฟังเสียงอย่างใดอยา่ งหนึ่ง ได้ดว้ ยโสตะ (ห)ู ... ในนรกน้ัน, บุคคลยังรู้สึกกลนิ่ อยา่ งใดอย่างหนึ่ง ไดด้ ว้ ยฆานะ (จมูก)... ในนรกนั้น, บคุ คลยังลิ้มรสอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ได้ ด้วยชวิ หา (ลน้ิ )... ในนรกน้นั , บุคคลยงั ถกู ต้องโผฏฐัพพะอยา่ งใด อยา่ งหนง่ึ ได้ด้วยกาย...
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 5 7 ในนรกนั้น, บุคคลยังรู้สึกธรรมารมณ์อย่างใด อยา่ งหนึ่งไดด้ ้วยมโน (ใจ) แตไ่ ดร้ สู้ กึ ธรรมารมณ์ ทไ่ี มน่ า่ ปรารถนาอยา่ งเดยี ว ไม่ได้รู้สึกธรรมารมณท์ ี่น่าปรารถนาเลย; ไดร้ สู้ กึ ธรรมารมณท์ ไ่ี มน่ า่ ใครอ่ ยา่ งเดยี ว ไมไ่ ดร้ สู้ กึ ธรรมารมณท์ ี่นา่ ใคร่เลย; ได้ร้สู ึกธรรมารมณ์ท่ีไมน่ า่ พอใจอยา่ งเดยี ว ไมไ่ ด้ รูส้ กึ ธรรมารมณท์ ่นี ่าพอใจ เลย. เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว ภิกษุ รูปหน่ึงไดท้ ูลถาม พระผมู้ พี ระภาคเจ้าวา่ “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! ความเรา่ รอ้ นนน้ั ใหญห่ ลวงหนอ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ความเร่าร้อนนั้น ใหญ่หลวงนักหนอ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! มีไหม พระเจ้าข้า ความร้อนอื่นที่ใหญ่ หลวงกว่า น่ากลัวกว่า กว่าความร้อนนี้ ?”. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! มีอยู่ ความเร่าร้อนอื่น ที่ ใหญ่หลวงกว่า น่ากลวั กว่า กวา่ ความรอ้ นนี้. “ขา้ แตพ่ ระองค์ผ้เู จรญิ ! กค็ วามรอ้ นอน่ื ทใ่ี หญห่ ลวงกวา่ นา่ กลัวกว่า กวา่ ความร้อนนเี้ ป็นอย่างไรเลา่ ?”
5 8 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด เหล่าหนง่ึ ย่อมไมร่ ้ชู ัดตามความเปน็ จริง :- วา่ “ทกุ ข์ เปน็ อย่างนีๆ้ ”; ว่า “เหตใุ ห้เกิดข้ึนแหง่ ทุกข์ เป็นอย่างนี้ๆ ”; ว่า “ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ขเ์ ปน็ อยา่ งนๆ้ี ”; วา่ “ข้อปฏิบัติเครื่องทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับ ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ขเ์ ป็นอยา่ งน้”ี ; สมณพราหมณ์เหล่านั้น ย่อมยินดีย่ิงในสังขาร ทั้งหลาย อนั เปน็ ไปพรอ้ มเพอ่ื ชาตชิ รามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทุกขะโทมนสั อปุ ายาส; สมณพราหมณ์เหล่าน้ัน คร้ันยินดีย่ิงในสังขาร ทัง้ หลาย เชน่ น้ันแลว้ , ยอ่ มปรงุ แต่ง ซง่ึ สงั ขารท้ังหลาย อนั เปน็ ไปพร้อมเพื่อชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทกุ ขะ โทมนัสอุปายาส; สมณพราหมณท์ ง้ั หลายเหลา่ นน้ั ครน้ั ปรงุ แตง่ ซง่ึ สงั ขารทง้ั หลายเชน่ นน้ั แลว้ , ยอ่ มเรา่ รอ้ นเพราะความเรา่ รอ้ น แหง่ ชาติ (ความเกดิ ) บา้ ง; ยอ่ มเรา่ รอ้ นเพราะความเรา่ รอ้ น แหง่ ชราบา้ ง, ยอ่ มเรา่ รอ้ นเพราะความเรา่ รอ้ นแหง่ มรณะบา้ ง,
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 5 9 ยอ่ มเรา่ รอ้ นเพราะความเรา่ รอ้ นแหง่ โสกะปรเิ ทวะทุกขะ โทมนัสอปุ ายาสบา้ ง: เรากล่าววา่ “สมณพราหมณ์เหลา่ น้ัน ยอ่ มไม่พ้น จากชาติชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส ทัง้ หลาย คอื ไม่พ้นจากทกุ ข์” ดังน้ี. มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๖๒/๑๗๓๑.
แมมีใครถามถึงความไมด ีของบคุ คลอืน่ กไ็ มเปดเผยใหปรากฏ จะกลา วทําไมถงึ เม่อื ไมถกู ใครถาม; กเ็ มอ่ื ถูกใครถามถงึ ความไมดขี องบุคคลอน่ื ก็นําเอาปญ หาไปทาํ ใหหลีกเลย้ี วลดหยอนลง กลา วความไมด ีของผูอ นื่ อยา งไมพ สิ ดารเต็มท่ี ภกิ ษุทงั้ หลาย ! ขอ นพี้ ึงรูกันเถดิ วา คนคนนี้ เปน สตั บุรษุ . จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๐๐/๗๓.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 6 1 ๑๓ วาจาของสัตบุรุษ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บุคคลประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เปน็ ทร่ี ู้กันวา่ เปน็ สตั บรุ ุษ. ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? ๔ ประการ คือ :- ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! สัตบุรุษในกรณีน้ี แม้มีใคร ถามถึงความไม่ดขี องบุคคลอ่ืน กไ็ ม่เปดิ เผยให้ปรากฏ จะกล่าวทำ�ไมถึงเม่ือไม่ถูกใครถาม; ก็เมื่อถูกใคร ถามถึงความไม่ดีของบุคคลอ่ืน ก็นำ�เอาปัญหาไป ทำ�ให้หลีกเล้ียวลดหย่อนลง กล่าวความไม่ดีของผู้อ่ืน อยา่ งไมพ่ สิ ดารเตม็ ท.่ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ นพ้ี งึ รกู้ นั เถดิ วา่ คนคนนี้ เป็น สตั บุรุษ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! สัตบุรุษอย่างอ่ืนยังมีอีก คือ แมไ้ มถ่ กู ใครถามอยถู่ งึ ความดขี องบคุ คลอน่ื กย็ งั น�ำ มา เปดิ เผยใหป้ รากฏ จะตอ้ งกลา่ วท�ำ ไมถงึ เมอ่ื ถกู ใครถาม; กเ็ มอ่ื ถกู ใครถามถงึ ความดขี องบคุ คลอน่ื กน็ �ำ เอาปญั หา ไปทำ�ให้ไม่หลีกเลี้ยวลดหย่อน กล่าวความดีของผู้อื่น
6 2 พุทธวจน โดยพสิ ดารบรบิ รู ณ.์ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ นพ้ี งึ รกู้ นั เถดิ วา่ คนคนน้ี เป็น สตั บรุ ษุ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! สัตบุรุษอย่างอื่นยังมีอีก คือ แม้ไม่มีใครถามถึงความไม่ดีของตน ก็ยังนำ�เปิดเผย ทำ�ใหป้ รากฏ ท�ำ ไมจะต้องกลา่ วถึงเมอ่ื ถกู ถามเลา่ ; ก็ เมอ่ื ถกู ใครถามถงึ ความไมด่ ขี องตน กไ็ มน่ �ำ เอาปญั หาไป หาทางท�ำ ใหล้ ดหยอ่ นบดิ พลว้ิ แตก่ ลา่ วความไมด่ ขี องตน โดยพสิ ดารเตม็ ท.่ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ข้อนีพ้ ึงรู้กนั เถดิ วา่ คนคนน้ี เป็น สตั บรุ ุษ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! สัตบุรุษอย่างอ่ืนยังมีอีก คือ แม้มีใครถามถงึ ความดขี องตน กไ็ มเ่ ปิดเผยใหป้ รากฏ ทำ�ไมจะต้องกล่าวถงึ เมือ่ ไม่ถูกใครถามเลา่ ; กเ็ มือ่ ถกู ใครถามถึงความดีของตน ก็นำ�เอาปัญหาไปกระทำ� ให้ลดหย่อนหลีกเล้ียวเสีย กล่าวความดีของตนโดย ไม่พสิ ดารเตม็ ที่. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ข้อนีพ้ ึงรกู้ นั เถิดวา่ คนคนน้ี เปน็ สตั บรุ ุษ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บุคคลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการเหล่าน้แี ล เปน็ ทรี่ ู้กนั ว่าเปน็ สตั บุรษุ . จตกุ ฺก. อํ. ๒๑/๑๐๐/๗๓.
แม้ไม่มีใครถามถงึ ความไม่ดขี องบุคคลอืน่ กน็ �ำ มาเปิดเผยใหป้ รากฏ ไมต่ ้องกล่าวถงึ เมอ่ื ถกู ใครถาม; ก็เม่ือถกู ใครถามถึงความไม่ดีของบคุ คลอนื่ กน็ �ำ เอาปญั หาไปทำ�ให้ไมม่ ที างหลกี เล้ยี วลดหย่อน แล้วกล่าวความไมด่ ขี องผูอ้ ่ืน อยา่ งเต็มท่โี ดยพสิ ดาร ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! ขอ้ นพ้ี ึงร้กู นั เถิดวา่ คนคนนี้ เป็น อสตั บรุ ุษ. จตกุ กฺ . อํ. ๒๑/๑๐๐/๗๓.
6 4 พุทธวจน ๑๔ วาจาของอสัตบรุ ุษ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บคุ คลประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เปน็ ทร่ี กู้ ันวา่ เปน็ อสัตบรุ ษุ . ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? ๔ ประการ คอื :- ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อสัตบุรุษในกรณีนี้ แม้ไม่มี ใครถามถึงความไม่ดีของบุคคลอ่ืน ก็นำ�มาเปิดเผย ให้ปรากฏ ไมต่ อ้ งกล่าวถึงเมือ่ ถกู ใครถาม; กเ็ ม่อื ถกู ใครถามถึงความไม่ดีของบุคคลอ่ืน ก็นำ�เอาปัญหา ไปทำ�ให้ไม่มีทางหลีกเล้ียวลดหย่อน แล้วกล่าวความ ไมด่ ขี องผู้อ่ืนอยา่ งเต็มทโี่ ดยพสิ ดาร. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ น้ีพึงรู้กนั เถดิ วา่ คนคนนี้ เป็น อสัตบรุ ุษ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อสัตบรุ ษุ อย่างอ่นื ยังมอี ีก คือ แมถ้ กู ใครถามอยถู่ งึ ความดขี องบคุ คลอน่ื กไ็ มเ่ ปดิ เผยให้ ปรากฏไมต่ อ้ งกลา่ วถงึ เมอ่ื ไมถ่ กู ใครถาม;กเ็ มอ่ื ถกู ใครถาม ถงึ ความดขี องบคุ คลอน่ื กน็ �ำ เอาปญั หาไปท�ำ ใหล้ ดหยอ่ น ไขวเ้ ขว แลว้ กลา่ วความดขี องผอู้ อ่ื ยา่ งไมพ่ สิ ดารเต็มท่ี. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ นพ้ี งึ รกู้ นั เถดิ วา่ คนคนน้ี เปน็ อสตั บรุ ษุ .
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 6 5 ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อสตั บรุ ษุ อย่างอ่ืนยงั มีอีก คือ แม้ถูกใครถามถึงความไม่ดีของตน ก็ปกปิดไม่เปิด เผยให้ปรากฏ ไม่ต้องกล่าวถึงเมื่อไม่ถูกใครถาม; ก็ เม่ือถกู ใครถามถงึ ความไมด่ ขี องตน กน็ �ำ เอาปญั หาไป ทำ�ให้ลดหย่อนไขว้เขว แล้วกล่าวความไม่ดีของตน อยา่ งไม่พสิ ดารเต็มท.ี่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ น้พี งึ รกู้ ัน เถิดว่า คนคนน้ี เปน็ อสตั บรุ ุษ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อสตั บุรษุ อยา่ งอื่นยังมอี กี คอื แมไ้ มม่ ใี ครถามถงึ ความดขี องตน กน็ �ำ มาโออ้ วด เปดิ เผย จะกล่าวท�ำ ไมถึงเม่ือถูกใครถาม; กเ็ มอ่ื ถูกใครถามถึง ความดีของตน ก็นำ�เอาปัญหาไปทำ�ให้ไม่ลดหย่อน หลีกเลีย้ ว กล่าวความดขี องตนอย่างเตม็ ท่โี ดยพสิ ดาร. ภิกษุท้ังหลาย ! ข้อนี้พึงรู้กันเถิดว่า คนคนนี้ เป็น อสัตบรุ ษุ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บคุ คลผูป้ ระกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการเหลา่ น้แี ล เป็นทรี่ ูก้ นั วา่ เป็นอสตั บรุ ุษ. จตุกฺก. อ.ํ ๒๑/๑๐๐/๗๓.
“ความหว่นั ไหวโยกโคลงแหง กายก็ตาม ความหว่ันไหวโยกโคลงแหงจิตก็ตาม ยอ มมไี มไ ด เพราะการเจรญิ ทาํ ใหมาก ซึ่งอานาปานสตสิ มาธ”ิ มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๙/๑๓๒๒.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 6 7 ๑๕ วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ างจติ เมือ่ ถูกตเิ ตยี นหรือถกู ท�ำ ร้ายรา่ งกาย ผคั คุนะ ! ถ้ามีใครกลา่ วติเตียนเธอตอ่ หน้า; ผัคคนุ ะ ! ในกรณีเชน่ นน้ั เธอพึงละฉันทะและวิตกชนิดท่ีเป็นวิสัยแห่ง ชาวบา้ นเสยี . ผัคคุนะ ! ในกรณเี ช่นนนั้ เธอพงึ ทำ�ความสำ�เหนียกอย่างน้ีวา่ “จิตของเราจักไม่แปรปรวน เราจักไม่กล่าว วาจาอันเป็นบาป เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเกื้อกูล มีจิต ประกอบดว้ ยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน” ดงั นี.้ ผัคคุนะ ! เธอพึงสำ�เหนียกอย่างนี้.
6 8 พุทธวจน ผคั คุนะ ! ถ้ามีใครประหารเธอด้วยฝ่ามือ ดว้ ยก้อนหิน ด้วยท่อนไม้ หรอื ดว้ ยศสั ตรา; ผัคคุนะ ! ในกรณีแม้เช่นน้นั เธอก็พึงละฉันทะและวิตกชนิดที่เป็นวิสัยแห่ง ชาวบา้ นเสยี . ผคั คุนะ ! ในกรณีเช่นน้นั เธอพึงท�ำ ความส�ำ เหนียกอย่างนว้ี ่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน เราจักไม่กล่าว วาจาอันเป็นบาป เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเก้ือกูล มีจิต ประกอบดว้ ยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน” ดงั น.้ี ผคั คุนะ ! เธอพงึ ทำ�การส�ำ เหนียกอยา่ งนี้ แล. มู. ม. ๑๒/๒๕๐/๒๖๔.
ในยคุ ไหนก็ตาม เวรทงั้ หลาย ไมเคยระงับได ดว ยการผูกเวรเลย แตร ะงับได ดวยการไมม ีการผกู เวร ธรรมนีเ้ ปนของเกา ใชไดต ลอด อุปริ. ม. ๑๔/๒๙๕/๔๔๐.
7 0 พุทธวจน ๑๖ การวางจติ เมอื่ ถูกกล่าวหา ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ทางแห่งถ้อยคำ�ที่บุคคลอ่ืน จะพึงกล่าวหาเธอ ๕ อยา่ ง เหลา่ น้ี มีอยู่ คอื :- ๑. กลา่ วโดยกาลหรือโดยมิใชก่ าล ๒. กลา่ วโดยเร่ืองจริงหรือโดยเร่ืองไม่จริง ๓. กล่าวโดยออ่ นหวานหรือโดยหยาบคาย ๔. กลา่ วด้วยเร่ืองมปี ระโยชน์หรอื ไม่มปี ระโยชน์ ๕. กล่าวดว้ ยมีจติ เมตตาหรอื มีโทสะในภายใน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เม่ือเขากล่าวอยู่อย่างน้ัน ในกรณนี ั้นๆ เธอพงึ ทำ�การสำ�เหนียกอย่างนีว้ า่ “จิตของเรา จักไม่แปรปรวน เราจักไม่กล่าว วาจาอันเป็นบาป เราจักเป็นผู้มีจิตเอ็นดูเก้ือกูล มีจิต ประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่, จักมี จิตสหรคตดว้ ยเมตตาแผไ่ ปยงั บคุ คลนน้ั อยู่ และจกั มี จติ สหรคตด้วยเมตตา อนั เปน็ จิตไพบลู ย์ ใหญ่หลวง ไมม่ ปี ระมาณ ไมม่ เี วร ไมม่ พี ยาบาท แผไ่ ปสโู่ ลกถงึ ทส่ี ดุ ทุกทิศทาง มบี คุ คลน้ันเปน็ อารมณ์ แลว้ แลอยู่” ดงั น.ี้
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 7 1 ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เธอพงึ ทำ�การส�ำ เนียกอยา่ งน้ีแล. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ถ้าโจรผู้คอยช่อง พึงเล่ือย อวยั วะนอ้ ยใหญข่ องใครดว้ ยเลอ่ื ยมดี า้ มสองขา้ ง ผใู้ ดมใี จ ประทษุ รา้ ยในโจรน้นั ผู้น้นั ชอื่ ว่าไม่ทำ�ตามค�ำ สอนของเรา เพราะเหตทุ ี่มีใจประทษุ รา้ ยตอ่ โจรน้นั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ในกรณนี ้นั เธอพึงทำ�การส�ำ เหนยี กอยา่ งนว้ี ่า “จิตของเราจักไม่แปรปรวน เราจักไม่กล่าว วาจาอันเปน็ บาป เราจกั เป็นผู้มจี ิตเอน็ ดเู ก้อื กูล มจี ิต ประกอบด้วยเมตตา ไม่มีโทสะในภายใน อยู่, จักมี จิตสหรคตด้วยเมตตาแผ่ไปยงั บุคคลนนั้ อยู่ และจักมี จิตสหรคตด้วยเมตตา อันเป็นจิตไพบูลย์ ใหญ่หลวง ไมม่ ปี ระมาณ ไมม่ เี วร ไมม่ พี ยาบาท แผไ่ ปสโู่ ลกถงึ ทส่ี ดุ ทุกทิศทาง มบี คุ คลนน้ั เป็นอารมณ์ แลว้ แลอยู่” ดงั น.้ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เธอพงึ ท�ำ การส�ำ เนยี กอยา่ งนแ้ี ล.
7 2 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เธอพึงกระทำ�ในใจถึงโอวาท อนั เปรียบดว้ ยเล่อื ยนี้ อยู่เนืองๆ เถดิ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื เธอท�ำ ในใจถงึ โอวาทนน้ั อยู่ เธอจะได้เห็นทางแห่งการกล่าวหาเล็กหรือใหญ่ ท่ีเธอ อดกล้นั ไมไ่ ด้ อยอู่ ีกหรือ ? “ข้อนั้นหามไิ ด้พระเจา้ ขา้ !”. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เพราะเหตุนน้ั ในเร่ืองน้ี พวกเธอทงั้ หลาย จงกระทำ�ในใจถึงโอวาทอันเปรียบด้วยเลื่อยนี้ อยู่เป็นประจำ�เถิด นั่นจักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล และความสุขแก่เธอทง้ั หลายตลอดกาลนาน. ม. ม. ๑๒/๒๕๕-๒๘๐/๒๖๗-๒๗๓.
“พึงศกึ ษาวา ‘เราจกั ไมพ ดู ถอ ยคาํ ซึง่ จะเปนเหตุใหทมุ เถียงกัน’ เมือ่ มถี อยคาํ ซึ่งจะเปนเหตใุ หทุม เถยี งกัน ก็จาํ ตองหวังการพดู มาก, เม่ือมกี ารพูดมากยอมคิดฟงุ ซาน, เมอ่ื คิดฟุง ซา น ยอ มไมส ํารวม, เมื่อไมสาํ รวม จติ ยอ มหา งจากสมาธ”ิ สตตฺ ก. อ.ํ ๒๓/๘๙/๕๘.
7 4 พุทธวจน ๑๗ วาจาของสะใภ้ใหม่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เปรียบเหมือนหญิงสะใภ้ใหม่ อนั เขาเพง่ิ น�ำ มาชว่ั คนื ชว่ั วนั ตลอดเวลาเทา่ นน้ั กย็ งั มคี วาม ละอายและความกลวั ทด่ี �ำ รงไวไ้ ดอ้ ยา่ งเขม้ แขง็ ในแมผ่ วั บา้ ง ในพอ่ ผวั บา้ ง ในสามบี า้ ง แมท้ ส่ี ดุ แตใ่ นทาสกรรมกรคนใช.้ ครน้ั ลว่ งไปโดยสมยั อน่ื เพราะอาศยั ความคนุ้ เคยกนั หญงิ สะใภน้ ัน้ ก็ตวาดแม่ผวั บา้ ง พอ่ ผวั บา้ ง แม้แตก่ ะสามี ว่า “หลีกไปๆ พวกแกจะรู้อะไร” นี้ฉันใด; ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ น้กี ฉ็ นั นั้น : ภิกษุบางรปู ใน ธรรมวนิ ยั นี้ ออกบวชจากเรือน เปน็ ผูไ้ มม่ เี รือนไดช้ ว่ั คืน ชว่ั วนั ตลอดเวลาเพยี งเทา่ นน้ั หริ แิ ละโอตตปั ปะของเธอนน้ั ยงั ดำ�รงอยอู่ ย่างเขม้ แขง็ ในภิกษุ ในภิกษณุ ี ในอบุ าสก ในอบุ าสิกา แม้ทส่ี ดุ แต่ในคนวดั และสามเณร. ครน้ั ลว่ งไปโดยสมยั อน่ื เพราะอาศยั ความคนุ้ เคยกนั เธอก็กล่าว ตวาดอาจารยบ์ ้าง อุปชั ฌาย์บา้ งว่า “หลกี ไปๆ พวกทา่ นจะรู้อะไร” ดังน.ี้
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 7 5 ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เพราะเหตุนั้นในเรือ่ งน้ี เธอทง้ั หลายพงึ ท�ำ การฝึกหัดศึกษาอย่างนว้ี ่า “เราจกั อยอู่ ยา่ งมจี ติ เสมอกนั กบั หญงิ สะใภใ้ หม่ ผู้มาแล้วไม่นาน” ดังนี้. จตุกฺก. อ.ํ ๒๑/๑๐๐/๗๓.
ตถาคตรชู ดั ซง่ึ วาจาใด อันจรงิ อันแท ประกอบดว ยประโยชน แตไ มเ ปน ทร่ี ักที่พงึ ใจของผูอ ่ืน ตถาคตยอ มเลือกใหเ หมาะกาล เพ่ือกลาววาจาน้นั ม. ม. ๑๓/๙๑/๙๔.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 7 7 ๑๘ วาจาทไ่ี มม่ ีโทษ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! วาจาอันประกอบด้วยองค์ ๕ ประการ เป็นวาจาสุภาษติ ไม่เป็นวาจาทุพภาษิต เปน็ วาจาไม่มีโทษและวิญญูชนไมต่ ิเตียน. องค์ ๕ ประการ อย่างไรเล่า ? ๕ ประการ คอื :- กลา่ วแล้วควรแกเ่ วลา (กาเลน ภาสิตา โหติ). กล่าวแลว้ ตามสจั จจ์ ริง (สจฺจ ภาสติ า โหติ). กลา่ วแล้วอยา่ งอ่อนหวาน (สณหฺ า ภาสติ า โหติ). กลา่ วแล้วอย่างประกอบดว้ ยประโยชน์ (อตถฺ สญหฺ ติ า ภาสิตา โหต)ิ . กลา่ วแลว้ ดว้ ยเมตตาจติ (เมตตฺตจตฺเตน ภาสติ า โหติ). ภิกษุทั้งหลาย ! วาจาอันประกอบด้วยองค์ ๕ ประการเหลา่ นแ้ี ล เปน็ วาจาสภุ าษติ ไมเ่ ปน็ วาจาทพุ ภาษติ เป็นวาจาไมม่ โี ทษและวิญญูชนไมต่ เิ ตยี น. ปญฺจก. อํ. ๒๒/๒๗๑/๑๙๘.
อนึ่ง คนเราเม่อื มกี ารอยูรวมกัน กับคนท่สี ะอาดหรือคนทีไ่ มส ะอาดกต็ าม ตอ งมสี ติกาํ กบั อยูด วยเสมอ, แตน นั้ พึงสามคั คตี อ กัน มปี ญ ญาทําทสี่ ุดทกุ ขแหงตน เถิด. อฏก. อํ. ๒๓/๑๗๐/๑๐๐.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 7 9 ๑๙ คูบ่ ุพเพสนั นวิ าส ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ถ้าภรรยาและสามีท้ังสอง พึงหวังพบกันและกันทั้งในปัจจุบัน และในสัมปรายภพ ทั้งสองเทียว พงึ เป็นผมู้ ีศรัทธาเสมอกัน มศี ีลเสมอกนั มีจาคะเสมอกัน มีปัญญาเสมอกัน ภรรยาและสามี ทั้งสองนั้น ย่อมได้พบกันและกันท้ังในปัจจุบัน ท้ังใน สมั ปรายภพ. ภรรยาและสามีท้ังสอง เปน็ ผู้มศี รทั ธา รคู้ วาม ประสงคข์ องผขู้ อ มคี วามส�ำ รวม เปน็ อยโู่ ดยธรรม เจรจา ถอ้ ยค�ำ ทน่ี า่ รกั แกก่ นั และกนั ยอ่ มมคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งมาก มคี วามผาสกุ ทง้ั สองฝา่ ย มศี ลี เสมอกนั รกั ใครก่ นั มาก ไมม่ ใี จรา้ ยตอ่ กัน ประพฤตธิ รรมในโลกน้ีแลว้ ท้ังสอง เปน็ ผมู้ ศี ลี และวตั รเสมอกนั ยอ่ มเปน็ ผเู้ สวยกามารมณ์ เพลิดเพลินบันเทงิ ใจอยู่ในเทวโลก. จตุกฺก. อ.ํ ๒๑/๘๑/๕๖.
รักษาตน ดว ยการเสพธรรมะ ดว ยการเจริญธรรมะ ดวยการทาํ ใหม ากซึ่งธรรมะ รกั ษาผูอน่ื ดวยการอดทน ดวยการไมเ บียดเบยี น ดว ยเมตตาจิต ดวยความรักใครเ อ็นดู มหา. สํ. ๑๙/๒๒๔/๗๕๘.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 8 1 ๒๐ ภรรยา ๗ จ�ำ พวก ครง้ั นน้ั เมอ่ื เวลาเชา้ พระผมู้ พี ระภาคทรงนงุ่ แลว้ ทรงถือบาตรและจีวร เสด็จเข้าไปยังนิเวศน์ของท่าน อนาถบณิ ฑิกเศรษฐี ประทบั น่ังบนอาสนะท่ีปลู าดแลว้ ก็ สมยั นั้น มนุษย์ทงั้ หลายในนิเวศนข์ องทา่ นอนาถบณิ ฑิก- เศรษฐีส่งเสียงอื้ออึง ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีเข้าไปเฝ้า พระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับถวายบังคม แล้วน่ัง ณ ที่ควรสว่ นข้างหนึ่ง. ครัน้ แล้ว พระผมู้ พี ระภาคได้ตรัสถามวา่ คหบดี เหตไุ รหนอ มนษุ ยท์ ั้งหลายในนิเวศนข์ องท่าน จึงสง่ เสียง ออ้ื องึ เหมือนชาวประมงแยง่ ปลากนั . อนาถบณิ ฑิกเศรษฐีกราบทลู วา่ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจรญิ ! นางสุชาดาคนนี้ ข้าพระองค์ นำ�มาจากตระกลู มง่ั คั่งมาเป็นสะใภใ้ นเรือน นางไม่เชื่อถือ แมผ่ ัว พอ่ ผวั สามี แม้แตพ่ ระผมู้ ีพระภาค นางก็ไมส่ กั การะเคารพนบั ถอื บูชา”.
8 2 พุทธวจน ล�ำ ดบั นั้น พระผ้มู พี ระภาคตรสั เรียกนางสุชาดา หญงิ สะใภ้ในเรือนว่า “มาน่แี น่ะ ! สชุ าดา” นางสชุ าดา หญิงสะใภใ้ นเรือนทลู รับพระผู้มพี ระภาคแลว้ เข้าไปเฝา้ พระผูม้ พี ระภาคถงึ ทีป่ ระทับ ถวายบงั คมแล้วนง่ั ณ ที่ควร ส่วนข้างหนึ่ง คร้นั แล้ว พระผมู้ พี ระภาคตรัสถามวา่ สุชาดา ! ภรยิ าของบรุ ุษ ๗ จำ�พวกน้ี ๗ จำ�พวกเป็นไฉน คือ :- ภริยาเสมอด้วยเพชฌฆาต ๑ เสมอด้วยโจร ๑ เสมอดว้ ยนาย ๑ เสมอด้วยแม่ ๑ เสมอด้วยพส่ี าวน้องสาว ๑ เสมอด้วยเพ่อื น ๑ เสมอดว้ ยทาสี ๑ สุชาดา ! ภริยาของบุรุษ ๗ จำ�พวกนี้แล เธอเป็นจ�ำ พวกไหนใน ๗ จ�ำ พวกนนั้ . นางสุชาดากราบทูลว่า “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ ูเ้ จรญิ ! หม่อมฉันยงั ไมร่ ทู้ ่ัวถงึ ความ แห่งพระดำ�รสั ที่พระผู้มพี ระภาคตรสั แล้วโดยยอ่ น้ไี ดโ้ ดยพสิ ดาร.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 8 3 ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ขอประทานพระวโรกาส ขอ พระผมู้ พี ระภาค โปรดทรงแสดงธรรมแกห่ มอ่ มฉนั โดยทห่ี มอ่ มฉนั จะพงึ รทู้ ว่ั ถงึ เนอ้ื ความแหง่ พระดำ�รสั ทพ่ี ระผมู้ พี ระภาคตรสั โดยยอ่ น้ี โดยพสิ ดารเถดิ ” สชุ าดา ! ถา้ อยา่ งนน้ั เธอจงฟงั จงใสใ่ จใหด้ ี เราจักกลา่ ว นางสุชาดาหญิงสะใภ้ในเรือน ทูลรับพระผู้มี พระภาคแลว้ พระผ้มู ีพระภาคตรัสพระพุทธพจนน์ ี้ว่า :- (๑) ภรยิ าผู้มจี ิตประทษุ ร้าย ไมอ่ นเุ คราะห์ดว้ ย ประโยชนเ์ กือ้ กูล ยนิ ดใี นชายอนื่ ดูหมิน่ สามี เป็นผ้อู นั เขาซื้อมาด้วยทรัพย์ พยายามจะฆ่าผัว ภริยาของบุรุษ เหน็ ปานนเ้ี รยี กวา่ วธกาภรยิ า ภรยิ าเสมอดว้ ยเพชฌฆาต. (๒) สามีของหญิงประกอบด้วยศิลปกรรม พาณชิ ยกรรม และกสกิ รรม ไดท้ รพั ยใ์ ดมา ภรยิ าปรารถนา จะยกั ยอกทรพั ย์ แมม้ อี ยนู่ อ้ ยนน้ั เสยี ภรยิ าของบรุ ษุ เหน็ ปานน้ี เรยี กวา่ โจรภริยา ภริยาเสมอดว้ ยโจร. (๓) ภรยิ าทไ่ี มส่ นใจการงาน เกยี จครา้ น กนิ มาก ปากรา้ ย ปากกลา้ รา้ ยกาจ กลา่ วค�ำ หยาบ ขม่ ขผ่ี วั ผขู้ ยนั ขนั แขง็ ภริยาของบุรุษเห็นปานนี้เรียกวา่ อัยยาภริยา ภริยาเสมอ ด้วยนาย.
8 4 พุทธวจน (๔) ภริยาใดอนุเคราะห์ด้วยประโยชน์เก้ือกูล ทุกเมื่อ ตามรักษาสามีเหมือนมารดารักษาบุตร รักษา ทรัพยท์ ี่สามหี ามาไดไ้ ว้ ภริยาของบุรุษเหน็ ปานน้เี รียกวา่ มาตาภรยิ า ภริยาเสมอด้วยมารดา. (๕) ภริยาท่ีเป็นเหมือนพ่ีสาวน้องสาว มีความ เคารพในสามีของตน เป็นคนละอายบาป เป็นไปตาม อ�ำ นาจสามี ภริยาของบุรุษเห็นปานน้ีเรยี กว่า ภคนิ ีภรยิ า ภรยิ าเสมอดว้ ยพสี่ าว นอ้ งสาว. (๖) ภริยาใดในโลกน้ีเห็นสามีแล้วช่ืนชมยินดี เหมือนเพ่ือนผู้จากไปนานแล้วกลับมา เป็นหญิงมีศีล มีวัตร ปฏิบัติสามี ภริยาของบุรุษเห็นปานนี้เรียกว่า สขีภรยิ า ภรยิ าเสมอดว้ ยเพอ่ื น. (๗) ภริยาใดสามีเฆี่ยนตี ขู่ตะคอก ก็ไม่โกรธ ไมค่ ดิ พโิ รธโกรธตอบสามี อดทนได้ เปน็ ไปตามอ�ำ นาจสามี ภรยิ าของบรุ ุษเหน็ ปานนี้เรยี กว่า ทาสภี รยิ า ภริยาเสมอ ด้วยทาสี.
ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 8 5 ภริยาทเ่ี รยี กวา่ วธกาภริยา ๑, โจรีภริยา ๑, อัยยาภริยา ๑ ภริยาท้ัง ๓ จำ�พวกน้ัน ล้วนแต่เป็นคนทุศีล หยาบช้า ไม่เอือ้ เฟ้อื เม่ือตายไป ย่อมเข้าถงึ นรก. สว่ นภรยิ าทเ่ี รียกว่า มาตาภรยิ า ๑, ภคินีภริยา ๑ สขีภริยา ๑, ทาสภี ริยา ๑ ภริยาท้ัง ๔ จำ�พวกนั้น เพราะตั้งอยู่ในศีล ถนอมรกั ไวย้ ั่งยนื เมอื่ ตายไป ยอ่ มเข้าถึงสุคติ. สชุ าดา ! ภริยาของบุรุษ ๗ จำ�พวกน้ีแล เธอเป็นภรยิ าจ�ำ พวกไหน ใน ๗ จำ�พวกนั้น. ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! ตง้ั แตว่ นั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป ขอพระผมู้ ี พระภาคโปรดทรงจำ�หมอ่ มฉนั วา่ เปน็ ภรยิ าของสามผี เู้ สมอดว้ ยทาส.ี สตตฺ ก. อ.ํ ๒๓/๙๒/๖๐.
8 6 พุทธวจน ๒๑ มนษุ ยผ์ ี คหบดแี ละคหปตานที ง้ั หลาย การอยู่ร่วม ๔ ประการนี้ ๔ ประการเปน็ อย่างไรเล่า ? คือ :- (๑) ชายผีอยรู่ ว่ มกับหญงิ ผี (๒) ชายผอี ยู่รว่ มกับหญงิ เทวดา (๓) ชายเทวดาอย่รู ่วมกบั หญงิ ผี (๔) ชายเทวดา อยรู่ ่วมกับหญงิ เทวดา คหบดแี ละคหปตานที ้ังหลาย ! ก็ชายผีอยู่ร่วม กบั หญงิ ผีอยา่ งไร ? สามใี นโลกนเ้ี ปน็ ผมู้ กั ฆา่ สตั ว์ ลกั ทรพั ย์ ประพฤตผิ ดิ ในกาม พดู เทจ็ ดืม่ นำ้�เมาคือสุราและเมรัย อนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความประมาท เปน็ คนทศุ ลี มบี าปธรรม มใี จอนั มลทนิ คือความตระหน่คี รอบงำ� ด่าและบริภาษสมณพราหมณ์ อยคู่ รองเรอื น แมภ้ รรยาของเขากเ็ ปน็ ผมู้ กั ฆา่ สตั ว์ ลกั ทรพั ย์ ประพฤตผิ ดิ ในกาม ฯลฯ เปน็ คนทศุ ลี มบี าปธรรม มใี จอนั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172