การพฒั นาคู่มือการฝึ กอบรมการผลติ หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 มลทิรา รัตนบุรี วทิ ยานิพนธ์นีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2557
การพฒั นาคมู อื การฝก อบรมการผลิตหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส (E-book) สําหรบั ครู สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎรธ านี เขต 3 มลทิรา รตั นบุรี วทิ ยานิพนธนเ้ี ปน สว นหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี พ.ศ. 2557
DEVELOPMENT OF A TRAINING MANUAL OF ELECTRONIC BOOK (E-BOOK) DESIGN FOR TEACHERS AT SCHOOLS UNDER SURATTHANI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3 MONTHIRA RATTANABUREE A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Education Field in Educational Administration Graduate School Suratthani Rajabhat University 2014
การพฒั นาคมู ือการฝกอบรมการผลิตหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส (E-book) สาํ หรบั ครู สังกดั สํานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 3 มลทิรา รตั นบรุ ี วิทยานิพนธไดรับการพิจารณาอนุมัติใหเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ านี วนั ที่ 9 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2557 คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ คณะกรรมการสอบ ...............................................ประธานกรรมการ ...............................................ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.ชูศกั ด์ิ เอกเพชร) (รองศาสตราจารย ดร.บรรจง เจรญิ สขุ ) ...............................................กรรมการ ...............................................กรรมการ (ผูช ว ยศาสตราจารยศ ริ วฒั น เฮงชยั โย) (รองศาสตราจารย ดร.ชศู กั ด์ิ เอกเพชร) ...............................................กรรมการ (ผชู ว ยศาสตราจารยศริ วฒั น เฮงชยั โย) ...............................................กรรมการ (นายอทุ ิศ ภมู ิชยั ) ...............................................กรรมการและเลขานุการ (ดร.พรศกั ดิ์ อาษาสจุ ริต) ............................................. (ดร.พวงเพ็ญ ชรู ินทร) คณบดบี ณั ฑติ วิทยาลัย ลขิ สทิ ธ์ขิ องบณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ านี
บทคัดยอ ชือ่ เรื่องวิทยานิพนธ การพฒั นาคูมอื การฝกอบรมการผลิตหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส (E-book) สาํ หรบั ครู สังกดั สํานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษา ช่อื ผวู ิจัย นางสาวมลทิรา รัตนบรุ ี ชื่อปรญิ ญา ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ า การบริหารการศกึ ษา ปการศึกษา 2556 คณะกรรมการที่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ 1. รองศาสตราจารย ดร.ชศู กั ด์ิ เอกเพชร ประธานกรรมการ 2. ผชู วยศาสตราจารยศริ วัฒน เฮงชัยโย กรรมการ การวจิ ัยคร้ังน้มี วี ตั ถุประสงคเ พือ่ ศึกษาความตอ งการพฒั นาคูมือการฝกอบรม และทดลอง ใชคูมือการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-book) สําหรับครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาสุราษฎรธานี เขต 3 เกบ็ รวบรวมขอมูลจากครูผูสอน จํานวน 312 คน และผูเขาฝกอบรม จาํ นวน 40 คน โดยใชแบบสอบถามความตองการ แบบประเมินคุณภาพคูมือ แบบทดสอบวัดความรู และแบบสอบถามความพงึ พอใจ มีคา ความเช่อื ม่นั เทา กับ 0.98 การวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติพื้นฐาน ไดแก คาเฉลยี่ คา สว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และสถิติในการทดสอบ ไดแ ก สถติ ทิ ดสอบคาที ผลการวิจัยพบวา ความตองการคูมือการฝกอบรมการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-book) โดยรวมอยใู นระดบั มาก โดยใชเปนแนวทางในการสรา งผลงานสื่อการเรียนการสอน มีคาเฉล่ียสูง ท่ีสุด และนําไปจดั ทําวารสารประชาสัมพันธโรงเรียน มีคาเฉลี่ยต่ําท่ีสุด ผลการพัฒนาคูมือการฝกอบรม การผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-book) สําหรับครู พบวา คูมือการฝกอบรมการผลิตหนังสือ อเิ ล็กทรอนกิ ส (E-book) มคี วามเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด ผลการทดลองใชค มู อื การผลิตหนังสือ อิเลก็ ทรอนกิ ส (E-book) สาํ หรับครู พบวา หลังจากการฝกอบรม ผูเขาฝกอบรมมีความรู ความเขาใจ สูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.01 และความพึงพอใจที่มีตอการฝกอบรมการผลิตหนังสือ อเิ ล็กทรอนิกส (E-book) โดยรวมอยใู นระดับมาก
ABSTRACT Thesis Title Development of A Training Manual of Electronic Book (E-book) Student’s Name Design for Teachers at Schools under Suratthani Primary Degree Sought Major Educational Service Area Office 3 Academic Year Thesis Advisors Ms.Monthira Rattanaburee Master of Educational Administration Educational Administration 2013 1. Assoc. Prof. Dr. Chusak Ekpetch. Chairperson 2. Assist. Prof. Sirawat Hangchaiyo Committee This research aimed to 1) study the needs of a training manual development, and 2) use the developed training manual of electronic book (e-book) for teachers at schools under Suratthani Primary Educational Service Area Office 3. The subjects were 312 teachers and 40 participations who joined the training course. The subjects were a need analysis, an evaluation form, a test, and a questionnaire which showed reliability at 0.98. Mean, standard deviation, and t-test were used to analyze the data. The results found that the need of training manual for electronic book (E-book) design was high. The developed training manual for teachers showed the highest level. The result of using the developed training manual electronic book revealed that the teachers got the higher scores after using it at significant 0.01. And the satisfaction through the training electronic book design was at the high level.
กติ ติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉบับนี้ สําเร็จลุลวงไปไดดวยความกรุณาใหการชวยเหลืออยางดียิ่งจาก รองศาสตราจารย ดร.ชูศกั ด์ิ เอกเพชร ประธานกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ และผูชวยศาสตราจารย ศิรวัฒน เฮงชัยโย กรรมการควบคมุ วทิ ยานิพนธ ในการใหคาํ แนะนาํ ตลอดจนแกไขขอบกพรองตา ง ๆ ทุกข้ันตอนของการดาํ เนนิ การวิจัย ผูวิจัยขอกราบพระคุณทานทง้ั สองเปน อยางสูงมา ณ โอกาสน้ี กราบขอบพระคุณผูทรงคณุ วฒุ ิ นายไพศาล เพง็ กุล นายเชดิ ภกั ศริ สิ ุข นายมงคล นาคนอย นายจรูญ พันอไุ ร นายชยั สิทธ์ิ จลุ นิล นางเสาวนีย แมนเมอื ง นางสาวเนตรนภา เอกเพชร นางสาวอจั ฉรา ศรีสวสั ด์ิ และนายกติ ติพงศ ณ นคร ที่กรุณารับเปนผูเชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ และตรวจสอบคุณภาพของคูมือการฝก อบรม พรอ มท้ังใหแนวคิด ขอเสนอแนะ แกไขขอบกพรอง ตาง ๆ ของเครือ่ งมอื และคูมือการฝก อบรม ขอขอบพระคณุ เจา หนา ท่ีหอ งสมดุ กลางสํานักงานวิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ หอ งศกึ ษาคนควา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ านี ท่ีกรุณาชวยเหลือดานการคนควา หนงั สือตาํ รา งานวิจัยภายในและตางประเทศ และบณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏสุราษฎรธานี ทก่ี รณุ าใหคาํ แนะนาํ การจัดทาํ วทิ ยานิพนธ ขอขอบคณุ ครผู ูสอน สงั กัดสํานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ านี เขต 3 ทุกทานทีก่ รณุ าสละเวลาใหขอมูล ขอบคุณเพื่อนนักศึกษาการบริหารการศึกษารุน 17 และทุกคน ทม่ี สี วนรว มในความสําเร็จ ท่คี อยเปน กาํ ลงั ใจใหแกผ วู ิจัยมาโดยตลอด คณุ ประโยชนของงานวิจัยนี้ ผูวิจัยขอมอบแดคุณพอ คุณแม ครู อาจารย ผูเขียนหนังสือตําราทุกเลมที่ผูวิจัยไดรับแสงสวาง แหง ความรู ในครงั้ น้ี มลทิรา รตั นบุรี
สารบญั บทคดั ยอ ภาษาไทย .............................................................................................................. หนา บทคดั ยอภาษาอังกฤษ ......................................................................................................... ข กติ ติกรรมประกาศ............................................................................................................... ค สารบญั ................................................................................................................................ ง สารบัญตาราง ...................................................................................................................... จ สารบัญภาพ......................................................................................................................... ช ฌ บทท่ี 1 บทนํา..................................................................................................................... 1 ความเปนมาและความสาํ คัญของปญหา............................................................ 1 วตั ถุประสงคข องการวจิ ยั .................................................................................. 4 ความสาํ คัญของการวจิ ยั .................................................................................... 5 ขอบเขตของการวจิ ยั .......................................................................................... 5 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั .................................................................................... 6 สมมติฐานของการวจิ ยั ...................................................................................... 6 นิยามศพั ทเ ฉพาะ............................................................................................... 7 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วขอ ง.............................................................................. 9 แนวคิดเกยี่ วกบั สอื่ การสอน............................................................................... 10 แนวคิดเกี่ยวกบั คูมือ .......................................................................................... 16 แนวคดิ เกี่ยวกับหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส (E-book) .............................................. 21 แนวคิดเกี่ยวกบั การสรางหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส (E-book)................................ 39 แนวคดิ เกี่ยวกับการฝกอบรม............................................................................. 43 แนวคดิ เกย่ี วกับความพงึ พอใจ........................................................................... 55 งานวิจัยทเ่ี ก่ยี วขอ ง............................................................................................. 58 3 วิธีดาํ เนินการวจิ ัย................................................................................................... 62 ขั้นท่ี 1 ศึกษาความตอ งการคมู อื การฝก อบรมการผลิตหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส (E-book) สาํ หรบั ครู สงั กัดสํานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา 62 สรุ าษฎรธานี เขต 3 ...............................................................................
ฉ สารบญั (ตอ) บทท่ี หนา ขนั้ ท่ี 2 พฒั นาคมู อื การฝก อบรมการผลติ หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส (E-book) สาํ หรบั ครู สงั กัดสาํ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธานี เขต 3... 64 ข้นั ที่ 3 ฝกอบรมการผลติ หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส (E-book) สําหรบั ครู สังกดั สาํ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ านี เขต 3............. 65 4 ผลการวเิ คราะหข อมลู ............................................................................................ 68 ขนั้ ที่ 1 การศกึ ษาความตองการคูม ือการฝกอบรมการผลิตหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส (E-book) สาํ หรบั ครู สงั กัดสาํ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สรุ าษฎรธ านี เขต 3 ............................................................................... 68 ขน้ั ท่ี 2 การพัฒนาคมู ือการฝก อบรมการผลติ หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส (E-book) สําหรบั ครู สงั กัดสํานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สรุ าษฎรธานี เขต 3 ............................................................................... 72 ข้นั ท่ี 3 ทดลองการใชค ูมือการผลิตหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส (E-book) สําหรบั ครู สังกัดสาํ นกั งาน เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธ านี เขต 3 .. 76 5 สรปุ ผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ.................................................................... 85 สรปุ ผล .............................................................................................................. 85 อภปิ รายผล ........................................................................................................ 88 ขอเสนอแนะ...................................................................................................... 90 บรรณานุกรม....................................................................................................................... 92 ภาคผนวก............................................................................................................................ 99 ภาคผนวก ก หนังสอื ขอความอนุเคราะห ................................................................... 100 ภาคผนวก ข รายนามผูเช่ียวชาญ................................................................................. 106 ภาคผนวก ค เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ นการวจิ ยั ........................................................................ 109 ภาคผนวก ง คา IOC ................................................................................................... 114 ภาคผนวก จ คา ความเชื่อมน่ั ของแบบสอบถาม.......................................................... 119 ภาคผนวก ฉ รายชื่อผลู งทะเบียนเขา ฝก อบรม............................................................ 121 ภาคผนวก ช คมู อื การฝก อบรมการผลิตหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส (E-book).................. 124 ภาคผนวก ฌ ภาพประกอบการฝก อบรม.................................................................... 173 ประวัตผิ ูว ทิ ยานิพนธ........................................................................................................... 186
สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา 2.1 การสอนเปรยี บเทยี บวิธีการสอน....................................................................... 37 2.2 การเปรียบเทียบการพัฒนากับการฝก อบรม....................................................... 49 4.1 จาํ นวนและรอ ยละขอมลู ทวั่ ไปของผตู อบแบบสอบถาม................................... 69 4.2 คา เฉลยี่ สว นเบี่ยงเบนมาตรฐานและความตองการคมู ือการฝกอบรมการผลิต หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส (E-book) สาํ หรับครู สงั กดั สํานกั งานเขตพ้ืนที่ 70 การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ านี เขต 3........................................................ 4.3 ขอเสนอแนะความตองการคูมอื การฝกอบรมการผลิตหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส 71 (E-book) สาํ หรบั ครสู ังกดั สํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา 72 สรุ าษฎรธ านี เขต 3............................................................................................ 4.4 จาํ นวนและรอยละขอ มลู ทวั่ ไปของผตู อบแบบสอบถาม................................... 73 4.5 คา เฉลี่ย สวนเบย่ี งเบนมาตรฐานและระดบั ความเหมาะสมของคมู ือการฝกอบรม การผลติ หนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส (E-book) สาํ หรบั ครู สงั กัดสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ี 73 การศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ านี เขต 3 โดยรวม ......................................... 4.6 คา เฉลย่ี สว นเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดบั ความเหมาะสมของคมู ือการฝกอบรม 74 การผลิตหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส (E-book) สําหรับครู สังกัดสาํ นกั งานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธานี เขต 3 ดานเน้ือหา..................................... 75 4.7 คา เฉล่ยี สว นเบย่ี งเบนมาตรฐานและระดบั ความเหมาะสมของคูมือการฝกอบรม การผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส (E-book) สําหรบั ครู สงั กัดสํานักงานเขตพน้ื ท่ี 75 การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธานี เขต 3 ดา นการใชภ าษา............................. 4.8 คา เฉลี่ย สว นเบย่ี งเบนมาตรฐานและระดับความเหมาะสมของคูมอื การฝกอบรม 76 การผลิตหนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส (E-book) สําหรับครู สังกดั สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธ านี เขต 3 ดา นการออกแบบ........................... 4.9 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดบั ความเหมาะสมของคูมือการฝก อบรม การผลติ หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส (E-book) สําหรบั ครู สังกดั สํานกั งานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธ านี เขต 3 ดานรปู เลม ..................................... 4.10 คา เฉลี่ย สวนเบยี่ งเบนมาตรฐานและระดับความเหมาะสมของคูมือการฝก อบรม การผลิตหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส (E-book) สําหรบั ครู สังกัดสํานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธานี เขต 3 ดานการนาํ ไปใช............................
ซ สารบัญตาราง (ตอ ) ตารางท่ี หนา 4.11 คะแนนทดสอบวดั ความรูก อ นการอบรม - หลังการอบรมของผเู ขา รว มฝก อบรม 77 การผลติ หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส (E-book) มีผูเขา รวมฝกอบรม จาํ นวน 40 คน.. 4.12 ผลการเปรยี บเทยี บความแตกตางของคะแนนวดั ความรูก อน - หลงั การอบรม 78 ของผูเขา รว ม ฝก อบรมการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส (E-book) สาํ หรบั ครู 79 สังกดั สาํ นักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธ านี เขต 3................ 79 4.13 จํานวนและรอยละขอมูลท่ัวไปของผตู อบแบบสอบถาม................................... 80 4.14 คาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความพงึ พอใจท่ีมตี อการฝกอบรมการผลติ 81 หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส (E-book) โดยรวม......................................................... 81 4.15 คาเฉลยี่ สว นเบย่ี งเบนมาตรฐานและความพึงพอใจทม่ี ตี อ การฝกอบรมการผลิต 82 หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส (E-book) ดานวิทยากร.................................................. 82 4.16 คา เฉล่ยี สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐานและความพงึ พอใจที่มตี อการฝก อบรมการผลติ หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส (E-book) ดา นสถานท่ี/ระยะเวลา/อาหาร ...................... 83 4.17 คาเฉลี่ย สว นเบี่ยงเบนมาตรฐานและความพึงพอใจทม่ี ีตอการฝกอบรมการผลติ หนังสอื อิเล็กทรอนิกส (E-book) ดา นความรคู วามเขาใจ .................................. 4.18 คา เฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความพึงพอใจท่มี ีตอ การฝกอบรมการผลิต หนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส (E-book) ดา นการนาํ ความรไู ปใช................................. 4.19 จาํ นวนและรอยละขอมลู ท่ัวไปของผตู อบแบบสอบถาม................................... 4.20 คาเฉลีย่ สว นเบย่ี งเบนมาตรฐานและความพงึ พอใจทม่ี ตี อ คมู ือการฝกอบรมการ ผลิตหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส (E-book) สาํ หรับครสู ังกดั สํานกั งานเขตพ้นื ที่ การศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ านี เขต 3........................................................
สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจยั ...................................................................................... 6 2.1 กรวยประสบการณข องเอดการ เดล..................................................................... 15 2.2 กระบวนการฝกอบรมและความสมั พนั ธข องแตละขน้ั ตอน ................................ 51
บทท่ี 1 บทนำ ควำมเป็ นมำและควำมสำคญั ของปัญหำ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 80 ระบุว่ารัฐตอ้ งดาเนินการตาม แนวนโยบายดา้ นสังคม ดา้ นการศึกษา พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการจดั การศึกษาในทุกระดบั และ ทุกรูปแบบใหส้ อดคลอ้ งกบั ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คม จดั ใหม้ ีแผนการจดั การศึกษา แห่งชาติ กฎหมายเพ่ือพฒั นาการศึกษาของชาติ รวมท้งั ปลูกฝังให้ผูเ้ รียนมีจิตสานึกของความเป็ นไทย มีระเบียบวนิ ยั คานึงถึงผลประโยชนส์ ่วนรวม และยดึ มนั่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข (ราชกิจจานุเบกษา. 2550 : 23 - 24) การจดั การเรียนรู้ตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2553 มุ่งพฒั นาคนไทยให้เป็ นมนุษยท์ ี่สมบูรณ์ท้งั ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรมจริยธรรม และวฒั นธรรมในการดารงชีวติ สามารถดารงชีวิตอยใู่ นสังคม ไดอ้ ยา่ งมีความสุข โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในหมวด 4 แนวทางการจดั การศึกษา มาตรา 22 การจดั การศึกษา ตอ้ งยดึ หลกั วา่ ผูเ้ รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ และถือวา่ ผเู้ รียนสาคญั ท่ีสุด กระบวนการจดั การศึกษาตอ้ งส่งเสริมให้ผูเ้ รียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ศกั ยภาพ และ มาตรา 24 กาหนดใหก้ ารจดั กระบวนการเรียนรู้ในสถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งดาเนินการ จดั เน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคลอ้ งกบั ความสนใจและความถนดั ของผูเ้ รียน โดยคานึงถึง ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล และจดั กิจกรรมให้ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้ จากประสบการณ์จริง ฝึ กการปฏิบตั ิ ใหท้ าได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่ รู้อยา่ งต่อเนื่อง จดั การเรียนการสอนโดยผสมผสาน สาระความรู้ดา้ นต่าง ๆ อยา่ งไดส้ ัดส่วนสมดุลกนั รวมท้งั ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมที่ดีงามและคุณลกั ษณะ อนั พึงประสงคไ์ วใ้ นทุกวชิ า ส่งเสริมสนบั สนุนใหผ้ สู้ อนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม ส่ือ การเรียน และอานวยความสะดวกเพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมท้งั สามารถใช้ การวิจยั เป็ นส่วนหน่ึงของระบวนการเรียนรู้ ท้งั น้ี ผูส้ อนและผูเ้ รียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกนั จากสื่อ การเรียนการสอนและแหล่งวทิ ยาการประเภทต่าง ๆ จดั การเรียนรู้ใหเ้ กิดข้ึนไดท้ ุกเวลาทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกบั บิดา มารดา ผปู้ กครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ าย เพ่ือร่วมกนั พฒั นา ผเู้ รียนตามศกั ยภาพ (สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา. 2553 : 7 - 8)
2 คุณภาพของคนเป็นปัจจยั สาคญั ในการพฒั นางานท้งั ระดบั จุลภาคและการพฒั นาเศรษฐกิจ สังคมของชาติในระดบั มหภาค เนื่องจากทรัพยากรมนุษยถ์ ือเป็ นทรัพยากรพ้ืนฐานของการจดั การ บริหารงาน โดยคุณภาพของคนประกอบด้วยการศึกษาและสุขภาพอนามยั ที่ดี โดยเฉพาะด้าน การศึกษาถือเป็ นกลไกและกระบวนการสาคญั ในการอบรมให้บุคลากรของชาติมีความรู้ความสามารถ ความฉลาดเป็ นคนดี มีร่างกายแข็งแรงพร้อมที่จะเป็ นรากฐานของสังคม ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพในโลก ที่มีความก้าวหน้าและเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ซ่ึงสอดคล้องกบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ท่ีกล่าวว่า การพฒั นาผูเ้ รียนทุกคน ซ่ึงเป็ นกาลงั ของชาติให้เป็ นมนุษยท์ ี่มี ความสมดุลท้งั ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ นพลโลก ยดึ มนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมุข มีความรู้และ ทกั ษะพ้ืนฐาน รวมท้งั เจตคติ ที่จาเป็ นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 4) ส่ือการสอนเป็ นเครื่องมือส่งเสริมสนบั สนุนการจดั การกระบวนการเรียนรู้ ใหผ้ ูเ้ รียนเขา้ ถึง ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลกั ษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ สื่อ การเรียนรู้มีหลากหลายประเภท ท้งั ส่ือธรรมชาติ สื่อส่ิงพมิ พ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ ต่าง ๆ ที่มีในทอ้ งถิ่น การเลือกใช้ส่ือควรเลือกให้มีความเหมาะสมกบั ระดบั พฒั นาการ และลีลา การเรียนรู้ที่หลากหลายของผูเ้ รียน การจดั หาส่ือการเรียนรู้ ผูเ้ รียนและผูส้ อนสามารถจดั ทาและ พฒั นาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลือกใชอ้ ยา่ งมีคุณภาพจากสื่อต่าง ๆ ท่ีมีอยรู่ อบตวั เพ่ือนามาใชป้ ระกอบ ในการจดั การเรียนรู้ท่ีสามารถส่งเสริมและส่ือสารใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 27) ดงั น้นั สถานศึกษาควรจดั ให้มีอยา่ งพอเพียง เพื่อพฒั นาให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้อย่างแทจ้ ริง สถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งและผมู้ ีหนา้ ท่ีจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ในการ จดั ทา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ท่ีใชใ้ นสถานศึกษาควรคานึงถึงหลกั การ สาคญั ของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตร วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ การจดั ประสบการณ์ให้ผูเ้ รียน เน้ือหามีความถูกตอ้ งและทนั สมยั ไม่กระทบความมนั่ คง ของชาติ ไมข่ ดั ต่อศีลธรรม มีการใชภ้ าษาท่ีถูกตอ้ ง รูปแบบการนาเสนอท่ีเขา้ ใจง่าย และน่าสนใจ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book) หรือ E-book เป็นการประยกุ ตเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ กบั การอ่านเขา้ ดว้ ยกนั ทาใหเ้ กิดรูปแบบใหม่ในการบริโภคข่าวสารขอ้ มูลช่วยให้เกิดความสะดวก ในการเขา้ ถึงขอ้ มูล การเดินทางและคน้ หาขอ้ มูล แทนการแบกหนงั สือหนา ๆ หนกั ๆ ในระหวา่ ง การเดินทาง หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ไดถ้ ูกคิดคน้ และพฒั นาข้ึนเพ่ือตอบสนองเหตุผลดงั กล่าว อีกเหตุผลหน่ึงคือกระแสการสร้างห้องสมุดเสมือน ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ และที่สาคญั ในการลด การใชท้ รัพยากรธรรมชาติ อนั เป็ นผลผลิตจากป่ าไมอ้ ุตสาหกรรมหลกั ของการทากระดาษดว้ ยตน้ ทุน
3 ที่แพงข้ึนของราคากระดาษและแนวโนม้ การใชท้ ี่มีความตอ้ งการมากข้ึน หนงั สือเล่มท่ีพิมพอ์ อกมา ในแต่ละคร้ังไม่ต่ากวา่ 1,000 เล่ม หรือมากกวา่ น้นั เล่มละ 300 หนา้ หมายถึง ปริมาณการใชก้ ระดาษ ที่มีจานวนมากมายมหาศาล ไม่นบั รวมตน้ ทุนการผลิตหนงั สือท่ีมีราคาสูงข้ึน หนงั สือต่างประเทศ ท่ีมีราคาแพง ระยะทางในการขนส่งหนงั สือสถานที่ ที่ใชจ้ ดั เก็บหนงั สือ การบารุงรักษาหนงั สือให้ดี อยู่เสมอ ความล้าสมยั ของหนังสือที่มีการเปล่ียนแปลงขอ้ มูลอย่างรวดเร็ว และหนังสือหายาก สิ่งเหล่าน้ีส่งผลโดยตรงต่อการศึกษา เป็ นแรงผลกั ดนั ให้หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เขา้ มามี บทบาทมากข้ึน ดงั น้นั E-Book จึงเป็นแหล่งรวบรวมขอ้ มูลความรู้จากส่ือต่าง ๆ นาเสนอออกมาทาง เทคโนโลยีสมยั ใหม่ในรูปแบบหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถแสดงผลดว้ ยภาพ ขอ้ ความ เสียง สีสัน และภาพเคล่ือนไหวได้ ทาให้ผูใ้ ชบ้ ริการไดร้ ับความบนั เทิงในการศึกษาขอ้ มูลมากข้ึน อีกท้งั ยงั สามารถพกพาไปอ่านได้ทุกที่ โดยไม่ต้องคานึงถึงแสงมากหรือน้อย เพราะอุปกรณ์ E-Book มกั มีแสง Backlight ของตวั เอง ทาให้อ่านหรือทาความเข้าใจได้ง่ายกว่าหนังสือ นอกจากน้ียงั สามารถเกบ็ ขอ้ มูลไดม้ ากอีกดว้ ย (วยิ ะดา คงมีทรัพย.์ 2552 : 1) สาหรับการสร้างสื่อการสอนสาหรับครูมีความสาคญั ในการช่วยสร้างรากฐานท่ีเป็ นรูปธรรม ข้ึนในความคิดของผเู้ รียน การฟังเพยี งอยา่ งเดียวน้นั ผเู้ รียนจะตอ้ งใชจ้ ินตนาการเขา้ ช่วยดว้ ย เพ่ือให้ สิ่งท่ีเป็ นนามธรรมเกิดเป็ นรูปธรรมข้ึนในความคิด แต่สาหรับส่ิงที่ยงุ่ ยากซับซ้อน ผูเ้ รียนยอ่ มไม่มี ความสามารถจะทาได้ การใชอ้ ุปกรณ์เขา้ ช่วยจะทาให้ผูเ้ รียนมีความเขา้ ใจและสร้างรูปธรรมข้ึน ในใจได้ ช่วยเร้าความสนใจของผูเ้ รียน เพราะผูเ้ รียนสามารถใช้ประสาทสัมผสั ไดด้ ว้ ยตา หู และ การเคลื่อนไหวจบั ตอ้ งไดแ้ ทนการฟังหรือดูเพียงอยา่ งเดียว เป็นรากฐานในการพฒั นาการเรียนรู้และ ช่วยความทรงจาอย่างถาวร ผูเ้ รียนจะสามารถนาประสบการณ์เดิมไปสัมพนั ธ์กบั ประสบการณ์ใหม่ ๆ ได้ เมื่อมีพ้ืนฐานประสบการณ์เดิมท่ีดีอยแู่ ลว้ ช่วยใหผ้ ูเ้ รียนไดม้ ีพฒั นาการทางความคิด ซ่ึงต่อเน่ือง เป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั ทาใหเ้ ห็นความสมั พนั ธ์เกี่ยวขอ้ งกบั ส่ิงต่าง ๆ เช่น เวลา สถานท่ี วฏั จกั รของ สิ่งมีชีวติ ช่วยเพ่ิมทกั ษะในการอา่ นและเสริมสร้างความเขา้ ใจในความหมายของคาใหม่ ๆ ใหม้ ากข้ึน ผเู้ รียนที่อ่านหนงั สือช้าก็จะสามารถอ่านไดท้ นั พวกท่ีอ่านเร็วได้ เพราะไดย้ ินเสียงและไดเ้ ห็นภาพ ประกอบกนั (สมคิด จนั ทะเวช. 2550 : 1) จากความสาคญั ของปัญหาในการสร้างและผลิตส่ือการสอน ของโรงเรียนในสังกดั สานกั งาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 พบวา่ ครูขาดความรู้ในการสร้างสื่อซ่ึงส่ือการสอน ช่วยสร้างรากฐานท่ีเป็ นรูปธรรมข้ึนในความคิดของผเู้ รียน ที่ตอ้ งใชจ้ ินตนาการเขา้ ช่วยดว้ ย เพื่อให้ ส่ิงที่เป็ นนามธรรมเกิดเป็ นรูปธรรมข้ึนในความคิด แต่สาหรับส่ิงท่ียุง่ ยากซับซ้อน ผูเ้ รียนยอ่ มไม่มี ความสามารถจะทาได้ การใชอ้ ุปกรณ์เขา้ ช่วยจะทาใหผ้ ูเ้ รียนมีความเขา้ ใจและสร้างรูปธรรมข้ึนในใจได้ นอกจากคู่มือการฝึ กอบรมหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่ครูใชเ้ ป็ นเครื่องมือในการสร้างนวตั กรรม
4 ใชใ้ นการประกอบการสอน ยงั สามารถบรรจุหนงั สือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ลงในแทบ็ เล็ต (Tablet) หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่สามารถพกพาได้เพื่อให้นกั เรียนได้เขา้ ถึงโอกาส ทางการเรียนรู้ และคุณภาพการศึกษา มีการเปล่ียนกระบวนทศั น์ใหม่ ซ่ึงครูผูส้ อนตอ้ งมีการบูรณาการ การเรียน การสอน และออกแบบ การเรียนรู้ให้ได้ เพ่ือการเรียนรู้จากแท็บเล็ตจะได้เกิดประโยชน์สูงสุด (สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3. 2555 : 2) ผวู้ จิ ยั มีความสนใจท่ีจะศึกษาการพฒั นาคู่มือการฝึ กอบรมการผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 เพื่อใหค้ รู ใชเ้ ป็ นเคร่ืองมือในการสร้างนวตั กรรมใช้ในการประกอบการสอน และสอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั ิ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 46 ที่กล่าววา่ รัฐตอ้ งส่งเสริม และสนบั สนุนให้มีการผลิต และพฒั นาแบบเรียน ตารา หนงั สือทางวิชาการ สื่อส่ิงพิมพอ์ ื่น วสั ดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษาอ่ืน โดยเร่งรัดพฒั นาขีดความสามารถในการผลิต จดั ใหม้ ีเงิน สนับสนุนการผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผูผ้ ลิต และพฒั นา เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ท้งั น้ี โดยเปิ ดใหม้ ีการแข่งขนั โดยเสรีอยา่ งเป็ นธรรม ซ่ึงผลการวจิ ยั จะทาใหท้ ราบความตอ้ งการฝึ กอบรม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เพ่ือพฒั นาส่ือการสอน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 และนาไปสู่การปรับปรุงพฒั นาสื่อการสอนของครูใหม้ ีประสิทธิภาพ ทนั สมยั มีรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อรองรับการปฏิรูประบบราชการ และสอดรับกบั แนวทางการปฏิรูป การศึกษาในทศวรรษท่ี 2 (พ.ศ. 2552 - 2561) ใหม้ ีประสิทธิภาพเพ่มิ ข้ึนต่อไป วตั ถุประสงค์ของกำรวจิ ัย การวิจยั เรื่อง การพฒั นาคู่มือการฝึ กอบรมการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 มีวตั ถุประสงคด์ งั น้ี 1. เพอื่ ศึกษาความตอ้ งการคูม่ ือการฝึกอบรมการผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 2. เพื่อพฒั นาคู่มือการฝึ กอบรมการผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 3. เพือ่ ทดลองการใชค้ ูม่ ือการผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3
5 ควำมสำคญั ของกำรวจิ ัย งานวจิ ยั น้ีมีความสาคญั ของการวจิ ยั ดงั น้ี 1. ทราบความตอ้ งการคู่มือการฝึ กอบรมการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 2. ไดค้ ู่มือการฝึ กอบรมการผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 3. ช่วยใหค้ รูผสู้ อน ใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั ทาส่ือการสอน การสร้างนวตั กรรมและ เทคโนโลยที างการศึกษา 4. ผูส้ นใจใช้เป็ นแนวทางในการพฒั นาคู่มือการฝึ กอบรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เพ่ือพฒั นาสื่อการสอนของครู ในคร้ังต่อไปได้ ขอบเขตของกำรวจิ ัย การวิจัยเรื่อง การพฒั นาคู่มือการฝึ กอบรมการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ผูว้ ิจยั ไดก้ าหนด ขอบเขตของ การวจิ ยั ดงั น้ี 1. ประชากรท่ีศึกษาและกลุ่มตวั อยา่ ง 1.1 ประชากรท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ไดแ้ ก่ ครูผูส้ อน สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ปี การศึกษา 2555 ท้งั สิ้น จานวน 1,623 คน 1.2 กลุ่มตวั อย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ครูผูส้ อน สังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ไดก้ ลุ่มตวั อยา่ ง ท้งั สิ้น 312 คน ไดจ้ ากการเทียบตาราง สัดส่วนของเครจซ์ ีและมอร์แกน (Krejcie and Morgan. 1970 อา้ งถึงใน พิสณุ ฟองศรี. 2552 : 109) และคดั เลือกกลุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ตามความสมคั ใจสาหรับผเู้ ขา้ ฝึกอบรม 2. ขอบเขตของเน้ือหาในการพฒั นาคูม่ ือการฝึกอบรมการผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 มีขอบเขต ของเน้ือหา ไดแ้ ก่ ความหมายของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ วิวฒั นาการหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ ประเภท ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หลักการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประโยชน์ของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ และการใชโ้ ปรแกรม Flip Album 6.0 Pro สาหรับการผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
6 3. ตวั แปรท่ีศึกษา 3.1 ตวั แปรตน้ ไดแ้ ก่ คู่มือการฝึ กอบรมการผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจที่มีต่อคู่มือการฝึ กอบรมการผลิต หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 3 กรอบแนวคดิ ในกำรวจิ ัย การวิจยั เร่ือง การพฒั นาคู่มือการฝึ กอบรมการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ผูว้ จิ ยั ศึกษาเอกสาร และงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง มากาหนดกรอบแนวคิดของการวจิ ยั ดงั น้ี ตวั แปรอิสระ ตวั แปรตาม คูม่ ือการฝึกอบรมการผลิต ความรู้ ความเขา้ ใจท่ีมีต่อคู่มือการฝึกอบรม หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) การผลิตหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั สมมติฐำนของกำรวจิ ัย ในการวจิ ยั คร้ังน้ีผวู้ จิ ยั ไดต้ ้งั สมมติฐานของการวจิ ยั ดงั น้ี 1. ครูผูส้ อน ที่ฝึ กอบรมด้วยคู่มือการฝึ กอบรมการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ สูงกวา่ ก่อนฝึกอบรม 2. ครูผูส้ อน มีความพึงพอใจต่อการฝึ กอบรมดว้ ยคู่มือการฝึ กอบรมการผลิตหนงั สือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ในระดบั มาก
7 นิยำมศัพท์เฉพำะ คู่มือ หมายถึง หนงั สือหรือตาราที่เรียบเรียงเน้ือหาสาระจากเอกสารหรือตาราทางวชิ าการ ตา่ ง ๆ แลว้ นามาเขียนใหม่ เม่ืออา่ นแลว้ ทาใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถนาไปใชค้ วบคูไ่ ป กบั การดาเนินกรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั เน้ือสาระในคู่มือน้นั และไดบ้ รรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย หนังสือ หมายถึง สื่อที่รวบรวมของขอ้ มูล ประเภทตวั อกั ษร และรูปภาพ ที่ลงในแผน่ กระดาษ หรือวสั ดุชนิดอ่ืน และรวมเขา้ ดว้ ยกนั ดว้ ยวธิ ีการ เยบ็ เล่ม หรือทากาว เขา้ ดว้ ยกนั ที่บริเวณขอบดา้ นใด ดา้ นหน่ึง โดยมีขนาดต่าง ๆ กนั สาหรับการวจิ ยั ฉบบั น้ี หมายถึง หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หมายถึง การนาหนังสือหน่ึงเล่มหรือหลาย ๆ เล่ม มาออกแบบใหม่ให้อยูใ่ นรูปของอิเล็กทรอนิกส์ โดยปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงขอ้ มูลเหล่าน้นั ให้ อยู่ในรูปของตวั อกั ษร ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียง ลกั ษณะที่ตอบโตก้ นั ได้ โดยอาศยั พ้ืนฐาน ของหนงั สือ เล่มเป็ นหลกั หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หรือเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ท่ีผูอ้ ่าน สามารถอ่านผา่ นทางคอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาอื่น ๆ กำรฝึ กอบรม หมายถึง กิจกรรมการเรียนรู้เฉพาะบุคคลที่มุ่งเนน้ กระบวนการเปล่ียนแปลง พฤติกรรมอย่างมีระบบ เพ่ือพฒั นาทกั ษะความชานาญ ความสามารถ และทศั นคติของบุคคล ใหเ้ ป็นไปตามวตั ถุประสงคท์ ่ีกาหนดไว้ เพอื่ ช่วยใหก้ ารปฏิบตั ิงานและภาระหนา้ ที่ต่าง ๆ ในปัจจุบนั และอนาคตเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพมากข้ึน คู่มือกำรฝึ กอบรมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง เอกสารที่ใช้เป็ นแนวทางในการ ฝึ กอบรมการผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 เน้ือหาในคู่มือ ได้แก่ ความหมายและบทบาทของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ วิวฒั นาการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ลกั ษณะและรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบการจดั เก็บและนาเสนอเน้ือหา หลกั การออกแบบ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หลกั การในการออกแบบส่วนต่อประสานกบั ผูใ้ ช้หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ การเลือกใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ องค์ประกอบด้านเสียงในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประโยชนข์ องหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ คุณภาพประสิทธิภาพของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ โรงเรียน หมายถึง โรงเรี ยนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 3 ครูผู้สอน หมายถึง ผทู้ ี่ทาหนา้ ท่ีปฏิบตั ิงานสอนของโรงเรียนใน สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3
8 สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำสุรำษฎร์ธำนี เขต 3 หมายถึง หน่วยงาน ของราชการท่ีจดั ต้งั ตามกฎกระทรวงกาหนดหลกั เกณฑ์การแบ่งส่วนราชการ ภายในสานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาที่รับผิดชอบการจดั การศึกษา อยู่ในจงั หวดั สุราษฎร์ธานี เขต 3 ประกอบดว้ ย 6 อาเภอ คือ อาเภอบา้ นนาสาร อาเภอบา้ นนาเดิม อาเภอเวียงสระ อาเภอชยั บุรี อาเภอ พระแสงและอาเภอเคียนซา ควำมต้องกำรคู่มือกำรฝึ กอบรมหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ หมายถึง ความตอ้ งการในการนา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ช่วยผลิตส่ือการเรียนสอน ใช้ประกอบการเรียนการสอน จดั ทาส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ในรายวิชาท่ีจดั การเรียนการสอน สามารถนาไปสอนนกั เรียนในการสร้าง E-book พฒั นานวตั กรรม เป็ นแนวทางในการสร้างผลงานสื่อการการศึกษาต่อไปเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ ใชจ้ ดั การเรียนการสอนของนกั เรียน พฒั นางานการเรียนการสอน และนาเสนอผลงาน ทาสื่อการสอน และนาไปถ่ายทอดให้นกั เรียน จดั ทาวารสารประชาสัมพนั ธ์โรงเรียน การจดั การเรียนการสอน ของตนเอง
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง การวจิ ยั เรื่อง คู่มือการฝึกอบรมการผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สาหรับครู สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ผูว้ ิจยั ไดศ้ ึกษาเอกสาร คน้ ควา้ และ งานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง โดยจาแนกเน้ือหาสาระไวต้ ามลาดบั ดงั น้ี 1. แนวคิดเกี่ยวกบั สื่อการสอน 1.1 ความหมายของสื่อการสอน 1.2 คุณคา่ ของส่ือการสอน 1.3 ประเภทส่ือการสอน 2. แนวคิดเก่ียวกบั คู่มือ 2.1 ความหมายของคูม่ ือ 2.2 องคป์ ระกอบของคูม่ ือ 2.3 คุณลกั ษณะของคู่มือที่ดี 2.4 ข้นั ตอนการสร้างคู่มือ 3. แนวคิดเก่ียวกบั หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 3.1 ความหมายและบทบาทของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) 3.2 ววิ ฒั นาการหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) 3.3 ลกั ษณะและรูปแบบหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) 3.4 ประเภทของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 3.5 รูปแบบการจดั เก็บและนาเสนอเน้ือหา 3.6 หลกั การออกแบบหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 3.7 หลกั การในการออกแบบส่วนตอ่ ประสานกบั ผใู้ ชห้ นงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 3.8 การเลือกใชห้ นงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) 3.9 ประโยชนข์ องหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 3.10 คุณภาพประสิทธิภาพของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) 4. แนวคิดเก่ียวกบั การสร้างหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 4.1 หลกั การและแนวคิดที่นามาใชใ้ นการสร้างหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 4.2 หลกั การตรวจสอบและประเมินผล (Testing & Evaluation)
10 4.3 ข้นั ตอนการสร้างหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 5. แนวคิดเกี่ยวกบั การฝึกอบรม 5.1 ความหมายของการฝึกอบรม 5.2 วตั ถุประสงคใ์ นการฝึกอบรม 5.3 ความสาคญั ของการฝึกอบรม 5.4 รูปแบบของการฝึกอบรม 5.5 แนวทางการอบรม 5.6 ประเภทใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการอบรมมีส่วนร่วม 5.7 ประโยชนข์ องการฝึกอบรม 5.8 กระบวนการในการจดั ฝึกอบรม 5.9 ข้นั ตอนในการกาหนดวตั ถุประสงคใ์ นการฝึกอบรม 5.10 การจดั ระดบั ความสาคญั ของภารกิจท่ีเป็นปัญหา 6. แนวคิดเก่ียวกบั ความพึงพอใจ 6.1 ความหมายของความพงึ พอใจ 6.2 ทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ความพงึ พอใจ 6.3 วธิ ีการวดั ความพงึ พอใจ 7. งานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง 7.1 งานวจิ ยั ในประเทศ 7.2 งานวจิ ยั ต่างประเทศ แนวคดิ เกยี่ วกบั สื่อการสอน เมื่อพิจารณาคาว่า “สื่อการสอน” กบั คาในภาษาองั กฤษ จะมีความหมายตรงกบั คาว่า Instructional Media หรือบางคร้ังจะพบว่ามีการใช้คาว่า “ส่ือการศึกษา (Educational Media)” ดว้ ยเช่นกนั ความหมายของสื่อการสอน ส่ือการสอน คือ วสั ดุ อุปกรณ์ และวิธีการ ซ่ึงถูกนามาใช้ในการการเรีย นการสอน เพ่ือเป็ นตวั กลางในการนาส่งหรือถ่ายทอดความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ จากผูส้ อนหรือแหล่งความรู้ ไปยงั ผูเ้ รียน ช่วยให้การเรียนการสอนดาเนินไปอยา่ งสะดวกและมีประสิทธิภาพ และทาให้ผเู้ รียน เกิดการเรียนรู้ตามวตั ถุประสงคข์ องการเรียนการสอนที่ต้งั ไว้ มีนกั วชิ าการใหค้ วามหมายไว้ ดงั น้ี
11 จริยา เหนียนเฉลย. (2546 : 14) กล่าววา่ สื่อการสอน หมายถึง การนาส่ือมาใชใ้ นการเรียน การสอนโดยตรงซ่ึงหมายถึง การนาวสั ดุ เคร่ืองมือและวธิ ีการมาเป็นสะพานเช่ือมโยงความรู้ เน้ือหา มายงั ผเู้ รียนได้ เพอ่ื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจในส่ิงที่ถ่ายทอดซ่ึงกนั และกนั ไดผ้ ลตามจุดมุง่ หมาย ซลั มา เอ่ียมฤทธ์ิ. (2552 : 1) สรุปวา่ ส่ือการสอน หมายถึง เครื่องมือ ตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ ท่ีจะมาสนบั สนุนการเรียนการสอน เร้าความสนใจผูเ้ รียนรู้ให้เกิดการเรียนรู้ เกิดความเขา้ ใจดีข้ึน อยา่ งรวดเร็ว วชั รี เล่ียนบรรจง. (2553 : 2) สรุปถึง การจดั หาส่ือ วสั ดุอุปกรณ์ วา่ ผบู้ ริหารควรจดั หาสื่อ วสั ดุอุปกรณ์และเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ต่าง ๆ ไวใ้ ห้พร้อมสาหรับบริการแก่ครู จดั ระบบการผลิต การยืม การเก็บรักษา การซ่อมแซมให้ทนั สมยั อยูเ่ สมอ รวมท้งั ควรสารวจความตอ้ งการใชส้ ่ือวสั ดุ อุปกรณ์เคร่ืองมือเครื่องใชต้ ่าง ๆ สาหรับการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็ นสาคญั เพ่ือใชเ้ ป็ นขอ้ มูล เบ้ืองตน้ ในการวางแผนดาเนินการต่อไป สรุปไดว้ ่า ส่ือการสอน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ช่วยให้ครูผูส้ อนจดั กิจกรรมการเรียน การสอน จนทาให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ง่ายและชดั เจนในเน้ือหาวิชามากข้ึน และ ยงั ส่งเสริมบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีทาใหเ้ กิดปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ครูผสู้ อนกบั ผเู้ รียนจนส่งผลดีตอ่ ความรู้ความเขา้ ใจของผูเ้ รียน คุณค่าของส่ือการสอน สื่อการสอนนบั วา่ มีความสาคญั และจาเป็ นในการจดั การเรียนการสอน เพ่ือใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับ ความรู้ความเขา้ ใจ อีกท้งั ยงั เป็ นการกระตุน้ ให้ผเู้ รียนเกิดความสนใจมากย่ิงข้ึน และยงั เป็ นการช่วย ลดบทบาทของครูอีกทางหน่ึง ตามที่ ซลั มา เอ่ียมฤทธ์ิ (2552 : 1)ไดก้ ล่าวถึงคุณค่าของสื่อการเรียน การสอน ดงั น้ี 1. ส่ือกบั ผูส้ อน ประกอบดว้ ย 1) ช่วยแบ่งเบาภาระของผูส้ อน ท้งั ดา้ นแรงงานและเวลา ท่ีทุ่มเทโดยเปล่าประโยชน์ในบางคร้ัง แทนที่ครูผสู้ อนจะตอ้ งเตรียมการสอนอยา่ งหนกั แทบทุกชวั่ โมง อยา่ งท่ีเป็ นอยู่ ก็มกั ใชเ้ วลาเตรียมงานอย่างมีหลกั เกณฑ์และคุม้ ค่า เช่น การเตรียมเป็ นชุดการสอน การสะสมวสั ดุเอาไวเ้ สมอ โดยใช้หลกั เกณฑ์การผลิตและการซ่อมแซมรักษาท่ีถูกตอ้ ง เป็ นตน้ 2) ผูส้ อนสนุกสนานไปกบั การสอน เนื่องจากบรรยากาศในช้นั จะเปล่ียนไปจากครูยืนพูดหน้าช้นั แต่อยา่ งเดียวมาเป็ นครูรู้จกั ใชว้ สั ดุอุปกรณ์ และเทคนิคกบั การเรียนการสอนอยเู่ สมอก็จะทาให้ผเู้ รียน มีชีวติ ชีวายง่ิ ถา้ หากครูเห็นผเู้ รียนต่ืนเตน้ อยากเรียนรู้ ผสู้ อนกจ็ ะเกิดกาลงั ใจและมีความภาคภูมิใจให้ กบั ผเู้ รียนและตนเอง 3) เมื่อผูส้ อนเห็นคุณค่าของส่ือและเทคนิคท่ีจะใชก้ บั ผเู้ รียน ก็จะเป็ นแรงผลกั ดนั ใหผ้ สู้ อนตื่นตวั อยเู่ สมอในการผลิตสื่ออุปกรณ์ คน้ ควา้ หาวิธีการใหม่ ๆ ตลอดจนเป็ นผูใ้ ฝ่ หาความรู้ ใหม่ ๆ อยเู่ สมอ อนั จะทาใหบ้ รรยากาศทางการศึกษาไม่ซบเซาอยา่ งแต่ก่อน 4) ครูที่พูดไม่เก่งก็จะมี
12 ความเชื่อมน่ั ในการสอนมากข้ึน เพราะการเรียนการสอนจะไม่ใช่ครูเป็ นผูพ้ ูดคนเดียวอีกต่อไป แต่ผูเ้ รียนจะเขา้ มามีส่วนร่วมในการเรียน โดยการแสดงความคิดเห็น การใชอ้ ุปกรณ์นอกจากจะใช้ เพ่ือช่วยประกอบในการสอนแลว้ ครูผสู้ อนยงั สามารถใชเ้ ทคนิคต่าง ๆ เขา้ ช่วยอีกดว้ ย ดงั น้นั จะกล่าว ไดว้ า่ เทคโนโลยที างการศึกษาจะช่วยสร้างความเชื่อมนั่ ใหก้ บั ครูผสู้ อน ไม่วา่ ครูผูส้ อนจะพูดเก่งหรือไม่ ก็ตาม 5) ช่วยให้ผูส้ อนมีโอกาสสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดจน สามารถนาเอาประสบการณ์แปลก ๆ นอกช้นั เรียนมาเสนอกบั ผเู้ รียนไดเ้ สมอ 2. ส่ือกบั ผูเ้ รียน ประกอบดว้ ย 1) กระตุน้ และสร้างความสนใจให้กบั ผูเ้ รียน ท้งั น้ี เพ่ือให้ช้นั เรียนมีอะไรใหม่ ๆ อยู่เสมอ ตลอดจนทาให้ผูเ้ รียนต่ืนเตน้ อยู่เสมอ และติดตามวา่ จะมี อะไรใหม่ ๆ ให้ศึกษาอีกในช้นั เรียนหรือแมแ้ ต่บางคร้ังยงั มีโอกาสออกไปศึกษาตามสถานที่ต่าง ๆ นอกจากช้นั เรียนซ่ึงการจดั การเรียนในแบบดงั กล่าวย่อมเป็ นการทา้ ทายให้ผูเ้ รียนอยากรู้อยากเห็น 2) ช่วยใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจส่ิงที่ยงุ่ ยากซบั ซอ้ นในเน้ือหาวชิ าบางวชิ าไดง้ ่ายย่ิงข้ึนท้งั ช่วยให้เกิดมโนทศั น์ ในเรื่องน้นั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและรวดเร็ว 3) ช่วยแกป้ ัญหาความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ในแง่ความสนใจ บุคลิกภาพท้งั ความสามารถในการเรียนรู้ เชาวน์ปัญญา และศกั ยภาพแห่งความคิดสร้างสรรค์ ซ่ึงถึงแมว้ ่าบุคคลมีความคิดแตกต่างกนั ก็ตาม แต่ถา้ หากเราสามารถหาสื่อมาใช้ให้เหมาะสมแลว้ ผูเ้ รียนก็อาจเรียนในเรื่องน้ัน ๆ ได้ดีเท่าเทียมกนั 4) ผูเ้ รียนมีโอกาสเขา้ ไปมีส่วนร่วมในการเรียน การสอนมากข้ึน ท้งั น้ีเน่ืองจากผูส้ อนใชเ้ ทคนิคและสื่อท่ีนอกเหนือไปจากครูพูดบรรยายอยา่ งเดียว เช่น การใชเ้ กม ใชบ้ ตั รคา และกระเป๋ าหนงั เป็นตน้ ซ่ึงกิจกรรมที่ผเู้ รียนสามารถเขา้ ไปมีส่วนร่วมได้ อยา่ งเตม็ ท่ี 5) ช่วยดึงประสบการณ์ภายนอกช้นั เรียนหรือนอกโรงเรียนเขา้ มาให้ผเู้ รียนไดร้ ับรู้และ เรียนรู้ไดโ้ ดยไม่จาเป็ นจะตอ้ งเสียเวลาการเดินทางไปยงั ที่ไกล ๆ เช่น การนาเอาภาพยนตร์เก่ียวกบั ภาพภายใตท้ อ้ งทะเลน้าลึกแปลก ๆ ก็จะทาให้ผเู้ รียนไดร้ ับประสบการณ์ในการเรียนท่ีใกลเ้ คียงกบั ความจริง โดยที่ไม่จาเป็นตอ้ งพาผเู้ รียนไปดูของจริงก็ได้ ดงั น้ีเป็นตน้ สรุปไดว้ า่ ส่ือทางการศึกษาเป็นส่วนหน่ึงท่ีสนบั สนุนใหผ้ เู้ รียนเห็นคุณค่าของส่ิงแวดลอ้ ม เพราะการเนน้ ใหผ้ เู้รียนรู้จกั ศึกษาหาความรู้จากธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ มท่ีอยรู่ อบตวั เราเป็นการส่งเสริม ให้ผเู้ รียนมีความรู้กวา้ ง และความกา้ วหนา้ ทนั เหตุการณ์ มีความตื่นตวั อยเู่ สมอไม่ยอมปล่อยให้ความ เป็นไปรอบตวั วงิ่ หนีตนเอง โดยไมย่ อมยนื หยดุ อยกู่ บั ที่ ซ่ึงถา้ ทาเช่นน้นั กจ็ ะหาประโยชนไ์ มไ่ ดเ้ ลย ประเภทสื่อการสอน มีนกั วชิ าการศึกษาไดแ้ บ่งประเภทสื่อการสอน แตกต่างกนั ดงั น้ี ชยั ยงค์ พรหมวงศ.์ (2545 : 60) ไดแ้ บง่ สื่อการสอนไว้ 3 ประเภท ดงั น้ี 1. วสั ดุ ได้แก่ สิ่งสิ้นเปลืองท้งั หลาย เช่น รูปภาพ บตั รคา แผนภูมิ หนงั สือ แผ่น โปร่งใส เป็นตน้
13 2. อุปกรณ์ ไดแ้ ก่ บรรดาเคร่ืองมือท้งั หลาย ท้งั ท่ีเป็ นเครื่องมือที่ใชร้ ่วมกบั วสั ดุอ่ืน และ ส่ิงท่ีใชใ้ นตวั ของมนั เอง เช่น เคร่ืองฉายภาพยนตร์ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพขา้ มศีรษะ เป็นตน้ 3. กิจกรรมหรือวิธีการ ไดแ้ ก ่่กระบวนการท่ีจะใช้ท้งั วสั ดุและอุปกรณ์ประกอบกนั หรือกระบวนการของมนั เองล้วน ๆ ได้แก่ การสาธิต กลุ่มสัมพนั ธ์ นิทรรศการ ทศั นศึกษา การ อภิปราย เป็นตน้ เอดการ์ เดล. (Edgar Dale. 1946 : 1) ไดเ้ สนอแนวคิดในการแบ่งประเภทของสื่อการสอน โดยพฒั นาจากแนวคิดของโอบานและคณะในดา้ นความเป็ นรูปธรรมของสื่อการสอน แนวคิดของเดล ได้รับความนิยมอย่างมาก เรียกแนวคิดน้ีว่า “กรวยประสบการณ์” (Cone of Experience) ซ่ึงเดล สื่อสารแนวคิดของเขาดว้ ยภาพกรวยคว่า (Edgar Dale. 1946 อา้ งถึงใน Heinich et al. 1996) ในภาพ ดงั กล่าวเร่ิมตน้ จดั กลุ่มส่ือการสอนจากส่ือที่ผูเ้ รียนเป็ นผูม้ ีส่วนร่วมในเหตุการณ์จริงของการสอน ไปสู่ระดบั ท่ีผเู้ รียนเป็ นเพียงผสู้ ังเกตการณ์เหตุการณ์จริง และทา้ ยที่สุดผเู้ รียนจะเป็ นเพียงผสู้ ังเกตการณ์ สัญลกั ษณ์ ซ่ึงแสดงแทนเหตุการณ์จริง โดยเอดการ์ เดล ไดแ้ บ่งประเภทของส่ือการสอนออกเป็ น 11 กลุ่ม ตามระดบั การมีส่วนร่วมของผเู้ รียน หรือระดบั ประสบการณ์ท่ีผเู้ รียนจะไดร้ ับ ดงั น้ี 1. ประสบการณ์ตรง (Direct or Purposeful Experiences) เป็ นส่ือการสอนท่ีสร้าง ประสบการณ์ให้ผูเ้ รียนสามารถรับรู้และเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ลงมือปฏิ บตั ิกิจกรรมด้วยตนเอง เข้าไปอยู่ในสถานการณ์จริงและได้สัมผสั ด้วยตนเองจากประสาทสัมผสั ท้ังห้า ตวั อย่างเช่น การทดลองผสมสารเคมี การฝึกหดั ทาอาหาร การฝึกหดั ตดั เยบ็ เส้ือผา้ เป็นตน้ 2. ประสบการณ์จาลอง (Contrived Experience) เป็ นส่ือการสอนที่ผูเ้ รียนเรียนรู้จาก ประสบการณ์ที่ใกลเ้ คียงกบั ความเป็ นจริงท่ีสุดแต่ไม่ใช่ความเป็ นจริง อาจเป็ นสิ่งของจาลอง หรือ สถานการณ์จาลอง ตวั อยา่ งเช่น การฝึกหดั ผา่ ตดั ตาดว้ ยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การฝึ กหดั ขบั เคร่ืองบินดว้ ยเครื่อง Flight Simulator เป็นตน้ 3. ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง (Dramatized Experience) เป็ นสื่อการสอน ท่ีผเู้รียนเรียนรู้จากประสบการณ์ ในการแสดงบทบาทสมมติ หรือการแสดงละคร เพื่อเป็ นประสบการณ์ ใหแ้ ก่ผเู้ รียน นิยมใชส้ อนในเน้ือหาท่ีมีขอ้ จากดั เรื่องยคุ สมยั หรือเวลา 4. การสาธิต (Demonstration) เป็ นส่ือการสอนที่ผเู้ รียนเรียนรู้จากการดูการแสดงหรือ การกระทาประกอบคาอธิบาย เพ่ือให้เห็นลาดับข้นั ตอนของการกระทาน้ัน ๆ เช่น การสาธิต การอาบน้าเด็กแรกเกิด การสาธิตการแกะสลกั ผลไม้ เป็นตน้ 5. การศึกษานอกสถานที่ (Field Trip) เป็ นสื่อการสอนที่จดั ให้ผเู้ รียนไดร้ ับประสบการณ์ ต่าง ๆ ภายนอกช้ันเรียนโดยการท่องเท่ียว หรือการเย่ียมชมสถานท่ีต่าง ๆ โดยมีการจดบนั ทึก ส่ิงท่ีพบ ตลอดจนอาจมีการสมั ภาษณ์บุคคลท่ีดูแลสถานที่เยยี่ มชม
14 6. นิทรรศการ (Exhibits) เป็ นส่ือการสอนที่จดั ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้จากสิ่งต่าง ๆ ที่ได้ จดั แสดงไว้ ในลกั ษณะของนิทรรศการ หรือการจดั ป้ายนิเทศ ผูเ้ รียนจะเรียนรู้จากสาระและเน้ือหา ท่ีแสดงไวใ้ นนิทรรศการหรือป้ายนิเทศ 7. โทรทศั น์ (Television) เป็ นการใชโ้ ทรทศั น์เป็ นสื่อในการสอนโดยเฉพาะ เนน้ ท่ี โทรทศั น์การศึกษาและโทรทศั น์เพื่อการเรียนการสอน เป็ นการสอนหรือใหข้ อ้ มูลความรู้แก่ผูเ้ รียน หรือผูช้ มท่ีอยใู่ นห้องเรียนและทางบา้ น ใชท้ ้งั ระบบวงจรปิ ดและวงจรเปิ ด ซ่ึงการสอนอาจเป็ นการ บนั ทึกลงเทปวดี ีทศั น์ หรือเป็ นรายการสดก็ได้ การใชส้ ่ือการสอนในกรณีน้ีผเู้ รียนจะเกิดการเรียนรู้ จากการชมโทรทศั น์ 8. ภาพยนตร์ (Motion Picture) เป็ นการใชภ้ าพยนตร์ท่ีมีลกั ษณะเป็ นภาพเคลื่อนไหว มีเสียงประกอบ และไดบ้ นั ทึกลงไวใ้ นแผ่นฟิ ล์ม มาเป็ นส่ือในการสอน ผูเ้ รียนจะไดเ้ รียนรู้หรือ ไดร้ ับประสบการณ์ท้งั จากภาพและเสียง หรือจากภาพอยา่ งเดียวกไ็ ดใ้ นกรณีที่เป็นภาพยนตร์เงียบ 9. ภาพนิ่ง วิทยุ และแผ่นเสียง (Recording Radio and Still Picture) เป็ นการใช้ส่ือ การสอนท่ีเป็ น ภาพนิ่ง วิทยุ หรือเทปบนั ทึกเสียง เพื่อใหป้ ระสบการณ์การเรียนรู้แก่ผูเ้ รียน ส่ือเหล่าน้ี เป็ นส่ือท่ีผูเ้ รียนสัมผสั ได้เพียงด้านเดียว เช่น สื่อภาพนิ่งซ่ึงอาจเป็ นรูปภาพ สไลด์ หรือภาพวาด ภาพลอ้ หรือภาพเหมือนจริง ซ่ึงผเู้ รียนเรียนรู้จากการดูภาพ ส่ือวทิ ยเุ ป็นสื่อท่ีผเู้ รียนเรียนรู้จากการฟัง เสียง เป็ นตน้ ขอ้ มูลหรือสาระความรู้ท่ีบนั ทึกอยู่ในสื่อประเภทน้ีจะสามารถให้ประสบการณ์แก่ ผูเ้ รียนได้ ถึงแมผ้ ูเ้ รียนจะอ่านหนงั สือไม่ออก ก็สามารถเขา้ ใจเน้ือหาบทเรียนได้ เนื่องจากเป็ นการ จดั ประสบการณ์ใหผ้ เู้ รียนโดยผา่ นการฟังหรือดูภาพ 10. ทศั นสัญลกั ษณ์ (Visual Symbols) สื่อประเภทน้ี ไดแ้ ก่ พวกวสั ดุกราฟิ กทุกประเภท เช่น แผนที่ แผนภูมิ แผนสถิติ แผนภาพ การ์ตูนเรื่อง หรือสัญลกั ษณ์รูปแบบต่าง ๆ ท่ีนามาใชใ้ นการ ส่ือความหมาย การใชส้ ื่อการสอนประเภทน้ี ผูเ้ รียนจาเป็ นตอ้ งมีพ้ืนฐานในการทาความเขา้ ใจสิ่งท่ี เป็ นรูปธรรมที่นามาใช้ในการสื่อความหมาย จึงจะสามารถเขา้ ใจเน้ือหาบทเรียนท่ีนาเสนอโดยสื่อ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี เน้ือหาบทเรียนจะถูกสื่อความหมายผา่ นทางสัญลกั ษณ์ หรืองานกราฟิ ก ผูเ้ รียนจะเกิด การเรียนรู้จากการตีความสัญลกั ษณ์ท่ีนามาใชส้ ื่อความหมาย 11. วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbols) เป็ นสื่อการสอนที่อยู่ในรูปแบบของคาพูด คาบรรยาย ตวั หนังสือ ตวั เลข หรือสัญลกั ษณ์พิเศษต่าง ๆ ท่ีใช้ในภาษาการเขียน ประสบการณ์ การเรียนรู้ท่ีจดั ให้ผูเ้ รียนโดยผ่านสื่อประเภทน้ี จดั วา่ เป็ นประสบการณ์ข้นั ท่ีมีความเป็ นนามธรรม มากที่สุด สาหรับการแบ่งประเภทของส่ือการสอน โดยพิจารณาจากลกั ษณะของประสบการณ์ ที่ไดร้ ับจากส่ือการสอนประเภทน้นั โดยยดึ ถือเอาความเป็ นนามธรรมและรูปธรรมเป็ นหลกั ในการ
15 จดั แบ่งประเภท เอดการ์ เดล ไดเ้ ขียนให้เห็นความเก่ียวพนั ของประสบการณ์จากส่ือต่าง ๆ เอาไวด้ ว้ ย เรียกวา่ กรวยประสบการณ์ (Cone of Experience) ซ่ึงกรวยประสบการณ์ ของ เอดการ์ เดล จะมี ลกั ษณะดงั น้ี นามธรรม รูปธรรม วจั นสัญลกั ษณ์ (Verbal Symbol) ทศั นสญั ลกั ษณ์ (Visual Symbol) การบนั ทึกเสียง วิทยุ และภาพนิ่ง (Recording, Radio Still Picture) ภาพยนตร์ และโทรทศั น์ (Motion Picture and Television) นิทรรศการ (Exhibition) การศกึ ษานอกสถานที่ (Field Trip) การสาธิต (Demonstration) ประสบการณ์นาฏการ (Dramatized Experience) ประสบการณจ์ าลอง (Contrived Experience) ประสบการณต์ รงและมีความมุ่งหมาย (Direct Purposeful Experience) ภาพท่ี 2.1 กรวยประสบการณ์ของเอดการ์ เดล ท่ีมา : Edgar Dale. 1946 : 1 การใช้กรวยประสบการณ์ของเอดการ์ เดล จะเริ่มตน้ ดว้ ยการให้ผูเ้ รียนมีส่วนร่วมอยู่ใน เหตุการณ์ หรือการกระทาจริงเพื่อให้ผูเ้ รียนมีประสบการณ์ตรงเกิดข้ึนก่อน แลว้ จึงเรียนรู้โดยการ เฝ้าสังเกตในเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนซ่ึงเป็ นข้นั ต่อไปของการไดร้ ับประสบการณ์รอง ต่อจากน้นั จึงเป็ น การเรียนรู้ด้วยการรับประสบการณ์โดยผ่านส่ือต่าง ๆ และทา้ ยที่สุดเป็ นการให้ผูเ้ รียนเรียนจาก สญั ลกั ษณ์ซ่ึงเป็นเสมือนตวั แทนของเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน เดอ คีฟเฟอร์. (De Kieffer. 1965 อา้ งถึงใน กิดานนั ท์ มลิทอง. 2548 : 102) แบ่งประเภท ของส่ือการสอนไว้ 3 ประเภท 1. สื่อประเภทใชเ้ คร่ืองฉาย (Projected Aids) ตวั อยา่ งเช่น เครื่องฉายภาพขา้ มศีรษะ เครื่องฉาย สไลด์ เคร่ืองฉายภาพยนตร์ เป็นตน้
16 2. สื่อประเภทไม่ใชเ้ ครื่องฉาย (Non projected Aids) ตวั อยา่ งเช่น ภาพนิ่ง แผนภูมิ ของจริง ของจาลอง เป็นตน้ 3. ส่ือประเภทเคร่ื องเสียง (Audio Aids) ตัวอย่างเช่น เคร่ื องบันทึกเสี ยง วิทยุ แผน่ เสียง เป็นตน้ จากการศึกษาประเภทและชนิดของส่ือการสอนขา้ งตน้ ช้ีให้เห็นถึงความสัมพนั ธ์ของสื่อ การสอนท่ีมีบทบาทในการทาให้การเรียนการสอนเป็ นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ อยา่ งไรก็ดี แมส้ ่ือ การสอนจะมีความสาคญั และมีประโยชน์มาก แต่ก็ตอ้ งอาศยั เทคนิคในการใช้ส่ือการสอนด้วย ซ่ึงในเรื่องน้ีไดม้ ีนกั วชิ าการใหข้ อ้ คิดในการใชส้ ื่อต่าง ๆ กบั การสร้างแบบการเรียนรู้ แนวคดิ เกย่ี วกบั คู่มือ คูม่ ือเป็นหนงั สือหรือตาราที่เรียบเรียงเน้ือหาสาระจากเอกสารหรือตาราทางวชิ าการต่าง ๆ แลว้ นามาเขียนใหม่ เม่ืออา่ นแลว้ ทาใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถนาไปใชค้ วบคู่ไปกบั การ ดาเนินกรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั เน้ือสาระในคู่มือน้นั ความหมายของคู่มือ มีนกั การศึกษาหลายท่านใหค้ วามหมายของคูม่ ือ ดงั น้ี ราชบณั ฑิตยสถาน. (2546 : 256) ไดใ้ หค้ วามหมายของคู่มือวา่ เป็ นสมุดหรือหนงั สือท่ีให้ ความรู้เกี่ยวกบั เรื่องใดเร่ืองหน่ึงที่ตอ้ งการรู้ เพ่ือใชป้ ระกอบตาราเพื่ออานวยความสะดวกเกี่ยวกบั การศึกษาหรือการปฏิบตั ิเร่ืองใดเรื่องหน่ึง หรือเพ่ือแนะนาวธิ ีใชอ้ ุปกรณ์อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง อนุชิต เชิงจาเนียร. (2546 : 22) ไดใ้ ห้ความหมายของคู่มือว่า เป็ นหนงั สือที่เขียนข้ึนเพ่ือ เป็ นแนวทางให้ผูใ้ ช้คู่มือไดศ้ ึกษาทาความเขา้ ใจ และง่ายต่อการปฏิบตั ิตามได้ ในการทากิจกรรม อย่างใดอย่างหน่ึงให้มีมาตรฐานใกล้เคียงกนั ให้มากท่ีสุด และทาให้นักเรียนนักศึกษามีความรู้ ความสามารถและทกั ษะที่ใกลเ้ คียงกนั สุรัสวดี จินดาเนตร. (2553 : 24) สรุปความหมายของคู่มือวา่ คู่มือเป็ นเอกสารท่ีจดั ทาข้ึน เพ่ือใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิการของผูใ้ ช้ ให้สามารถดาเนินกิจกรรมอย่างใดอย่างหน่ึงให้มี มาตรฐานใกลเ้ คียงกนั ใหม้ ากท่ีสุดและบรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย จากความหมายของคู่มือดงั กล่าวพอสรุปไดว้ ่า คู่มือเป็ นหนังสือ ตารา เอกสาร แนะนา ที่เขียนข้ึนเพื่อเป็ นแนวทางให้ผูใ้ ช้คู่มือได้ศึกษาทาความเข้าใจและนาไปปฏิบัติงานได้ทันที จนบรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย โดยให้มีมาตรฐานใกลเ้ คียงกนั มากท่ีสุด ทาให้นกั เรียนนกั ศึกษา มีความรู้ความสามารถตลอดจนทกั ษะใกลเ้ คียงกนั
17 องค์ประกอบของคู่มือ คู่มือทวั่ ไปมกั จะเป็ นเรื่องท่ีคนสนใจ และสามารถเรียนรู้และฝึ กฝนไดด้ ว้ ยตนเอง โดยมุ่ง ใหท้ ่ีการใหผ้ ใู้ ช้ ผูอ้ า่ นเขา้ ใจและสามารถดาเนินการไดด้ ว้ ยตนเอง คีรีบูน จงวุฒิเวศย์ และมาเรียม นิลพนั ธุ์. (2542 : 17 - 18 อา้ งถึงใน จิราพร โสตรโยม. 2555 : 38) ไดแ้ ยกลกั ษณะคู่มือที่ดีเป็น 2 ดา้ น คือ 1. ดา้ นเน้ือหา 1.1 เน้ือหาสาระหรือรายระเอียดในคู่มือ ควรตรงกับเรื่องที่ศึกษา และไม่ยาก เกินไปจนทาใหไ้ มม่ ีความสนใจที่จะหยบิ อา่ น 1.2 การนาเสนอเน้ือหาควรใหค้ วามเหมาะสมกบั ความรู้ของผทู้ ี่จะศึกษา 1.3 ขอ้ มูลท่ีมีอยใู่ นคูม่ ือผอู้ ่านสามารถประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ 1.4 เน้ือหาควรเหมาะสมท่ีจะนาไปอา้ งอิงได้ 1.5 ควรมีกรณีตวั อยา่ งประกอบในบางเร่ือง เพ่ือจะไดท้ าความเขา้ ใจง่าย 1.6 ควรมีการปรับปรุงเน้ือหาของคู่มือใหท้ นั สมยั เสมอ 2. ดา้ นรูปแบบ 2.1 ตวั อกั ษรท่ีใชค้ วรมีตวั โต และมีรูปแบบที่ชดั เจน อ่านง่าย เหมาะกบั ผใู้ ชค้ ู่มือ 2.2 ควรมีภาพหรือตวั อยา่ งประกอบเน้ือหา 2.3 ลกั ษณะการจดั รูปเล่มควรทาใหน้ ่าสนใจ 2.4 การใชภ้ าษาควรใหเ้ ขา้ ใจง่ายเหมาะสมกบั ผใู้ ชค้ ู่มือ 2.5 ระบบการนาเสนอควรเป็นระบบจากง่ายไปหายาก หรือเป็นเร่ือง ๆ ใหช้ ดั เจน 3. ดา้ นการนาไปใช้ 3.1 ควรระบุข้นั ตอน วธิ ีการใชค้ ู่มือใหช้ ดั เจน 3.2 มีแผนภูมิตาราง ตวั อยา่ งประกอบใหส้ ามารถนาไปใชป้ ฏิบตั ิไดจ้ ริง 3.3 มีขอ้ มูลเพ่ือสามารถใชเ้ พ่ือประสานงานต่าง ๆ ไดส้ ะดวก รวดเร็ว 3.4 บอกสิทธิประโยชน์ และขอ้ ควรปฏิบตั ิใหเ้ ขา้ ใจง่าย เอกวุฒิ ไกรมาก. (2541 : 54 อ้างถึงใน จิราพร โสตรโยม. 2555 : 39 - 40) กล่าวถึง องคป์ ระกอบของคู่มือครู คู่มือครูควรประกอบดว้ ยรายระเอียดท่ีสาคญั ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1. คาช้ีแจงการใชค้ ู่มือโดยปกติจะครอบคลุมถึง 1) วตั ถุประสงคข์ องคู่มือ 2) ความรู้ พ้ืนฐานท่ีจาเป็นในการใชค้ ูม่ ือ 3) วธิ ีการใช้ 4) คาแนะนา 2. เน้ือหาสาระที่จะสอน ปกติจะมีการให้เน้ือหาสาระโดยมีคาช้ีแจง หรือคาอธิบาย ประกอบและอาจมีการวเิ คราะห์เน้ือหาสาระใหผ้ อู้ า่ นเกิดความเขา้ ใจที่จะอ่าน
18 3. การเตรียมการสอน ประกอบดว้ ยรายระเอียดดงั น้ี 1) การเตรียมสถานท่ี วสั ดุ ส่ือ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่จาเป็ น 2) การเตรียมวสั ดุ เอกสารประกอบการสอน แบบฝึ กหัดและแบบ ปฏิบตั ิขอ้ สอบ คาเฉลย ฯลฯ 3) การติดตอ่ ประสานงานที่จาเป็น ฯลฯ 4. กระบวนการ วิธีการ กิจกรรมการเรียนการสอนส่วนน้ีนับว่าเป็ นส่วนสาคญั ของคู่มือ คู่มือครูจาเป็ นตอ้ งให้ข้อมูลหรือรายระเอียดต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี 1) คาแนะนาเก่ียวกับ ข้นั ตอนและวิธีดาเนินการสอน 2) คาแนะนาและตวั อย่างเก่ียวกบั กิจกรรมการสอนท่ีจะช่วยให้ การสอนบรรลุผล 3) คาถาม ตวั อยา่ ง แบบฝึกปฏิบตั ิ และสื่อตา่ ง ๆ ที่ใชใ้ นการสอน 4) ขอ้ เสนอแนะ เก่ียวกบั ส่ิงควรทา ไม่ควรทา ซ่ึงมกั จะมาจากประสบการณ์ของผเู้ ขียนฯลฯ 5. การวดั ผลประเมินผล คู่มือท่ีดีควรจะให้คาแนะนาที่เกี่ยวขอ้ งกบั การสอนอย่าง ครบถว้ น การประเมินผลการสอนนบั เป็ นองค์ประกอบสาคญั ของการสอนอีกองค์ประกอบหน่ึง ที่คู่มือจาเป็นตอ้ งใหร้ ายระเอียดตา่ ง ๆ เช่น 1) เครื่องมือวดั 2) วธิ ีวดั ผล 3) เกณฑก์ ารประเมินผล 6. ความรู้เสริมคู่มือครูท่ีดีจะตอ้ งคานึงถึงความตอ้ งการของผูใ้ ช้และสามารถคาดคะเน ไดว้ า่ ผใู้ ชม้ กั จะประสบปัญหาในเรื่องใดและจดั หาหรือจดั ทาขอ้ มูลที่จะช่วยส่งเสริมความรู้ของครู อนั จะทาใหก้ ารสอนมีประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน 7. ปัญหาและคาแนะนาเกี่ยวกบั การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา ผูเ้ ขียนคู่มือควรจะเป็ น ผทู้ ่ีมีประสบการณ์ในเรื่องที่เขียนมามากพอสมควร ซ่ึงจะช่วยให้รู้วา่ ในการดาเนินการในเร่ืองน้นั ๆ มกั จะมีปัญหาอะไรเกิดข้ึน และจุดอ่อนในเร่ืองน้นั มีอะไรบา้ ง การเป็นผมู้ ีประสบการณ์และสามารถ นาเอาประสบการณ์เหล่าน้ันมาช่วยผูใ้ ช้หรือผูอ้ ่านให้สามารถกระทาสิ่งน้ัน ๆ ได้อย่างราบรื่น ไม่เกิดอุปสรรค ปัญหา นับว่าเป็ นจุดเด่นของคู่มือ ผูเ้ ขียนคู่มือครูที่สามารถให้คาแนะนาเกี่ยวกบั การป้องกันและแก้ไขปัญหาท่ีอาจจะเกิดข้ึนกับผูอ้ ่านหรือผูใ้ ช้คู่มือ จึงถือได้ว่าได้ทาหน้าที่ ของผเู้ ขียนหนงั สือท่ีดี 8. แหล่งขอ้ มูลและแหล่งอา้ งอิงต่าง ๆ หนงั สือที่ดีไม่ควรขาดการใหแ้ หล่งอา้ งอิงหรือ แหล่งขอ้ มูล ซ่ึงจะเป็ นประโยชน์ต่อผอู้ ่านในการไปศึกษาคน้ ควา้ ต่อไปโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงคู่มือครูน้นั เป็ นหนงั สือที่ใชเ้ ป็ นแนวทางในการสอน หากครูไดร้ ับขอ้ มูลเก่ียวกบั แหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ ก็จะเป็ น ประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ตอ่ การสอน มงคล ลีลาธนากร. (2546 : 17 อา้ งถึงใน กาญจนา ยมิ้ พฒั น์. 2552 : 70) ไดศ้ ึกษาและจดั ทา คู่มือครูประกอบการสอนหลกั สูตรการใช้โปรแกรมประมวลผล ของสถาบนั พฒั นาฝี มือแรงงาน โดยมีองค์ประกอบดังน้ี ปก คานา สารบัญ คาแนะนาการใช้คูมือ ใบเตรียมการสอน ได้แก่ วตั ถุประสงค์ วธิ ีการสอน หวั ขอ้ หลกั สูตร สื่อการสอน แบบฝึ กหดั ตามใบงาน การวดั ผลจากใบงาน /ใบทดสอบ ใบขอ้ มูล/เน้ือหาตามหวั ขอ้ วชิ าเรียงตามลาดบั และใบงาน
19 สรุปไดว้ า่ คู่มือที่ดีน้นั ควรมีลกั ษณะในประเด็นหลกั ๆ ดงั น้ี 1) ดา้ นเน้ือหา ตอ้ งถูกตอ้ ง และ ครอบคลุมสาระของคู่มือน้นั 2) การจดั ลาดบั ขอ้ มูลนาเสนอเป็ นข้นั ตอนเขา้ ใจง่าย 3) รายละเอียด ของคู่มือชัดเจนเขา้ ใจง่าย 4) ผูใ้ ดอ่านแล้วสามารถนาไปปฏิบตั ิได้ 5) รูปแบบคู่มือสวยงามและ ทนต่อการใชง้ าน คุณลกั ษณะของคู่มือทดี่ ี การเขียนคู่มือจาเป็ นตอ้ งมีความชดั เจน ให้รายละเอียดครอบคลุมประเด็นท่ีน่าสงสัยไว้ ท้งั หมด เพอ่ื ใหผ้ อู้ า่ นเกิดความเขา้ ใจอยา่ งแจ่มแจง้ การเขียนคู่มือจาเป็ นตอ้ งครบคลุมประเด็นต่าง ๆ (ปรีชา ชา้ งขวญั ยนื และคนอ่ืน ๆ . 2540 : 132 - 134 อา้ งถึงใน จิราพร โสตรโยม. 2555 : 40) ดงั น้ี 1. ควรระบุใหช้ ดั เจนวา่ คูม่ ือน้นั เป็นคู่มือสาหรับใคร ใครเป็ นผใู้ ช้ 2. กาหนดวตั ถุประสงคใ์ หช้ ดั เจน ตอ้ งการใหผ้ ใู้ ชไ้ ดอ้ ะไรบา้ ง 3. ควรมีส่วนนาที่จูงใจผใู้ ชว้ า่ คู่มือน้ีช่วยผใู้ ชไ้ ดอ้ ยา่ งไร ผใู้ ชไ้ ดร้ ับประโยชน์อะไรบา้ ง 4. ควรมีส่วนที่ให้หลักการหรือความรู้ท่ีจาเป็ นแก่ผูใ้ ช้ในการใช้เคร่ืองมือ เพ่ือให้ การใชค้ ู่มือเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 5. ควรมีส่วนที่ให้คาแนะนาแก่ผูใ้ ช้เกี่ยวกบั การเตรียมตวั การเตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ และส่ิงท่ีจาเป็ นในการดาเนินการตามที่คู่มือแนะนา 6. ควรมีส่วนท่ีใหค้ าแนะนาแก่ผใู้ ชเ้ ก่ียวกบั ข้นั ตอนหรือกระบวนการในการทาส่ิงใด สิ่งหน่ึงดงั น้ี 6.1 เน้ือหาสาระท่ีใหน้ ้นั ควรมีความถูกตอ้ ง สามารถช่วยให้ผูใ้ ชค้ ู่มือทาสิ่งน้นั ได้ สาเร็จใหข้ อ้ มูลรายละเอียดเพียงพอที่จะช่วยใหผ้ ใู้ ชค้ ู่มือสามารถทาสิ่งน้นั ๆ ไดส้ าเร็จ 6.2 ข้นั ตอนการทาจะต้องมีการเรียงลาดับอย่างเหมาะสม ซ่ึงจะช่วยให้ผูใ้ ช้ สามารถทาส่ิงน้นั ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง รวดเร็วและประหยดั 6.3 ภาษาท่ีใชจ้ ะตอ้ งสามารถสื่อใหผ้ ูใ้ ชเ้ ขา้ ใจตรงกบั ผเู้ ขียน ไม่คลุมเครือ หรือทา ใหผ้ ใู้ ชเ้ กิดความเขา้ ใจผดิ และภาษาที่ใชจ้ ะตอ้ งช่วยใหผ้ ูใ้ ชเ้ กิดความเขา้ ใจง่าย หากสิ่งใดมีความยาก และซับซ้อน ควรเขียนให้เขา้ ใจง่าย โดยใช้เทคนิคอ่ืน ๆ ประกอบ เช่น ภาพ ตารางเปรียบเทียบ อุปมาอุปไมย การยกตวั อยา่ ง การใชส้ ีจาแนก เป็นตน้ 6.4 ควรใหค้ าแนะและช้ีแจงเหตุผลเก่ียวกบั ส่ิงท่ีควรทาและไม่ควรทา เช่น เคล็ดลบั หรือเทคนิควิธีต่าง ๆ ท่ีช่วยให้กระทาสิ่งน้นั ๆ สาเร็จไดด้ ี รวมท้งั การแกป้ ัญหาต่าง ๆ ที่มกั เกิดข้ึน จากการทาสิ่งน้นั ๆ ขอ้ มูลน้ีมกั จะมาจากความรู้และประสบการณ์ของผเู้ ขียน ซ่ึงมีคุณคา่ ต่อผใู้ ชม้ าก 7. ควรมีคาถามหรือกิจกรรมใหผ้ ใู้ ชค้ ู่มือทาเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจในการอ่าน หรือ ปฏิบตั ิตามกิจกรรมที่เสนอแนะและเวน้ ท่ีว่างสาหรับผูใ้ ชค้ ู่มือในการเขียนคาตอบรวมท้งั มีคาถาม
20 หรือแนวในการตอบไวใ้ ห้ดว้ ย ถา้ ผูเ้ ขียนสามารถคาดคะเนคาตอบของผใู้ ช้คู่มือไดก้ ็ควรอธิบายไว้ ดว้ ยวา่ คาตอบอะไรถูกผดิ ดว้ ยเหตุใด กย็ ง่ิ เป็นประโยชนต์ อ่ ผใู้ ชค้ ู่มือ 8. ควรใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการช่วยให้ผูใ้ ช้คู่มือได้โดยสะดวก เช่น การจดั รูปเล่ม ขนาดการเลือกตวั อกั ษร ขนาดของตวั อกั ษร การใชต้ วั ดา การใช้สี การใช้ภาพ การใชก้ ารตีกรอบ การเนน้ ขอ้ ความบางตอน เป็นตน้ 9. ควรใชแ้ หล่งอา้ งอิงท่ีเป็ นประโยชน์แก่ผอู้ ่ืน ซ่ึงอาจจะเป็ นบรรณานุกรม รายชื่อชมรม รายชื่อส่ือ รายชื่อสถาบนั รายชื่อบุคคล เป็นตน้ ในการจดั ทาคู่มือน้นั มกั จะพบขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ทาให้ขาดคุณภาพและคุณสมบตั ิที่น่าสนใจ เช่น รายละเอียด เน้ือหาสาระไม่ชดั เจนเพียงพอ คาอธิบายไม่กระจ่าง ให้คาที่สื่อความหมายไม่ตรง หรือผดิ ความหมาย ภาพประกอบไม่ชดั เจน ขนาดเล็กเกินไป ภาพประกอบไม่เหมาะสมและเป็ นภาพ ที่สื่อความหมายไม่ตรงกบั เน้ือหาสาระ การพิมพ์ท่ีใช้อกั ษรเล็กเกินไป และการพิมพท์ ่ีผิดพลาด ผดิ วรรคตอนและตกหล่น นอกจากน้ี อรณิช เกียรติอุบลไพบูรณ์ (2542 : 13 อา้ งถึงใน จิราพร โสตรโยม. 2555 : 42 - 43) ไดก้ ล่าวถึง ลกั ษณะของคูม่ ือที่ดี ไวด้ งั น้ี 1. สามารถช่วยใหค้ รูเขา้ ใจลกั ษณะเน้ือหาวิชา ขอบข่าย หรือสิ่งท่ีจะสอน ไดก้ ระจ่าง และเด่นชดั เช่น มองเห็นโครงร่างของงานสอนท้งั หมด หรืออาจกล่าวอยา่ งย่นยอ่ ไดว้ า่ ช่วยให้ครู เกิดมโนทศั นก์ บั งานที่จะสอน 2. ช่วยให้ครูสามารถดาเนินตามแนวทางและข้นั ตอนน้นั ๆ ได้ดี โดยที่ครูสามารถ ดดั แปลงและยืดหยุ่นได้เอง ไม่เป็ นการให้แนวทางแบบบงั คบั ดงั น้นั แนวทางแห่งการเสนอแนะ จึงเปิ ดโอกาสใหผ้ สู้ อนสามารถปฏิบตั ิไดค้ ล่องตวั ข้ึน 3. กิจกรรมที่เสนอแนะหรือกาหนดไว้ ควรมีการทดลองใช้กบั เด็กวยั น้ัน ๆ ว่าเด็ก สนใจปฏิบตั ิได้ จึงควรใหม้ ีโอกาสและเลือกไดบ้ า้ ง 4. แนวการเขียนเน้นแนวปฏิบตั ิท่ีมุ่งไปสู่เป้าหมายอยา่ งต่อเน่ือง นนั่ คือมีจุดเน้นย้า ไปทางเดียวกนั เช่น มุง่ ฝึกงานกลุ่ม ทางานเป็ นกลุ่มก็ฝึ กอยา่ งต่อเน่ือง จนเด็กมีแนวทาง ไดแ้ นวทาง แลว้ จึง ฝึกเป็นรายบุคคล เป็นตน้ 5. ความแปลกใหม่ของกิจกรรมและวิธีสอน ควรส่งเสริมแก่ผูป้ ฏิบตั ิโดยค่อยเป็ น ค่อยไป มิไดก้ ระจายให้แนวใหม่ท้งั หมด แต่การใช้แนวปฏิบตั ิน้ัน ๆ ตอ้ งเป็ นทางปฏิบตั ิไดแ้ ละ ไดผ้ ลดว้ ย หรือกล่าวอีกนยั หน่ึงกค็ ือพยายามสอดแทรกสิ่งแปลกและใหม่ท่ีละนอ้ ยดีกวา่ ที่จะโหมใช้ วธิ ีการใหมเ่ ลยทีเดียว 6. ท้งั รูปแบบและวิธีการท่ีเป็ นแนวในการเขียนตอ้ งคงรูปแบบและข้นั ตอนไว้ โดย สม่าเสมอเพอื่ สะดวกแก่การใช้ การเปิ ดอ่าน คน้ ควา้ และอ่ืน ๆ
21 ดงั น้นั จึงสรุปไดว้ ่าคู่มือที่ดีน้นั ควรเป็ นหนงั สือหรือเอกสารเพ่ือช่วยให้ครูสามารถนาไปใช้ เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิในเร่ืองใดเรื่องหน่ึงไดจ้ ริง ตอ้ งระบุให้ชดั เจนว่า ครูจะไดร้ ับประโยชน์ อะไรบา้ ง มีการแนะนา การใช้การเตรียมและเตรียมอุปกรณ์ หรือเครื่องมือสาคญั จาเป็ นต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การปฏิบตั ิมีการเขียนเรียงลาดับการทากิจกรรมต่าง ๆ ในเรื่องน้ัน ๆ ในรูปแบบ ของการนาเสนอคู่มือส่วนใหญ่จะมีการใช้รูปแบบภาษา การใช้ตวั อกั ษรท่ีชดั เจน อ่านเขา้ ใจเพื่อ ความสะดวกในการศึกษาและปฏิบตั ิตามไดท้ นั ที แนวคดิ เกยี่ วกบั หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ไดม้ ีบทบาทสาคญั ต่อการดาเนินชีวิตของผูค้ นมากข้ึนไม่วา่ จะเป็ น ในแง่ของธุรกิจ หรือการศึกษา และจากการพฒั นาของเทคโนโลยีท่ีกา้ วหน้าไปมากคอมพิวเตอร์ จึงถูกพฒั นาให้มีประสิทธิภาพสูงข้ึนดว้ ยเช่นกนั กล่าวคือ ในยุคสารสนเทศท่ีมีความกา้ วหนา้ ทาง เทคโนโลยีทาให้ขอ้ มูล ข่าวสารและความรู้ สามารถตอบสนองไดส้ ะดวกรวดเร็ว ประยุกตใ์ ชไ้ ด้ อย่างกวา้ งขวาง จนกระทง่ั เกิดภาวะ “ไร้พรมแดน” อนั เนื่องมาจากอิทธิพลของเทคโนโลยีสารสนเทศ และนับเป็ นความกลมกลืนสอดคล้องกันอย่างยิ่งท่ีมีการพฒั นาบุคลากรในสังคม โดยเฉพาะ ภาคการศึกษาในเรื่องของการเรียนรู้สารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ท้งั ท่ีเป็ นขอ้ มูล (Data) ข่าวสาร (Information) หรือความรู้ (Knowledge) ดงั น้นั เทคโนโลยสี ารสนเทศ จึงเป็ นเคร่ืองมือที่สามารถนา ประโยชนม์ าสู่วงการศึกษาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม หากรู้จกั ใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์และคุม้ ค่าต่อการลงทุน ความหมายและบทบาทของหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หรือท่ีรู้จกั กนั ในชื่ออีบุ๊ค เป็ นคาภาษาต่างประเทศ ยอ่ มาจาก คาวา่ Electronic Book หมายถึง หนงั สือท่ีสร้างข้ึนดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลกั ษณะเป็ นเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมกั จะเป็ นแฟ้มขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหนา้ จอ คอมพิวเตอร์ท้งั ในระบบออฟไลน์และออนไลน์ คุณลกั ษณะของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สามารถเช่ือมโยงจุดไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของหนงั สือ เวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ ตลอดจนมีปฏิสมั พนั ธ์และโตต้ อบ กบั ผเู้ รียนได้ นอกจากน้นั หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสัง่ พิมพเ์ อกสารท่ีตอ้ งการออกทางเคร่ืองพมิ พไ์ ด้ อีกประการหน่ึงท่ีสาคญั ก็คือ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สามารถปรับปรุงขอ้ มูลให้ทนั สมยั ไดต้ ลอดเวลา ซ่ึงคุณสมบตั ิ เหล่าน้ีจะไมม่ ีในหนงั สือธรรมดาทว่ั ไป คมสันต์ ชไนสวรรย.์ (2544 : 31 - 33) กล่าวว่า Electronic Book หรือ E-book หรือหนงั สือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เป็ นการประยุกตเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศกบั การอ่านเขา้ ดว้ ยกนั ทาใหเ้ กิด รูปแบบใหม่ในการบริโภคข่าวสารขอ้ มูลช่วยให้เกิดความสะดวกในการเขา้ ถึงขอ้ มูล การเดินทาง
22 และคน้ หาขอ้ มูล แทนการแบกหนงั สือหนา ๆ หนกั ๆ ในระหว่างการเดินทาง หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ได้ถูกคิดคน้ และพฒั นาข้ึนเพื่อตอบสนองเหตุผลดงั กล่าว อีกเหตุผลหน่ึง คือ กระแส การสร้างหอ้ งสมุดเสมือน ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ และท่ีสาคญั ในการลดการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ อนั เป็ นผลผลิตจากป่ าไมอ้ ุตสาหกรรมหลกั ของการทากระดาษดว้ ยตน้ ทุนที่แพงข้ึนของราคากระดาษ และแนวโน้มการใช้ที่มีความตอ้ งการมากข้ึน หนังสือเล่มท่ีพิมพ์ออกมาในแต่ละคร้ังไม่ต่ากว่า 1,000 เล่ม หรือ มากกว่าน้นั เล่มละ 300 หน้า หมายถึง ปริมาณการใชก้ ระดาษที่มีจานวนมากมาย มหาศาล ไม่นบั รวมตน้ ทุนการผลิตหนงั สือท่ีมีราคาสูงข้ึน หนงั สือต่างประเทศท่ีมีราคาแพง ระยะทาง ในการขนส่งหนงั สือสถานที่ ท่ีใชจ้ ดั เก็บหนงั สือ การบารุงรักษาหนงั สือให้ดีอยูเ่ สมอ ความลา้ สมยั ของหนงั สือที่มีการเปล่ียนแปลงขอ้ มูลอยา่ งรวดเร็ว และหนงั สือหายาก ส่ิงเหล่าน้ีส่งผลโดยตรงต่อ การศึกษา เป็นแรงผลกั ดนั ใหห้ นงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) เขา้ มามีบทบาทมากข้ึน ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. (2551 : 14) กล่าวไวว้ ่า อีบุ๊ค (E-book, E-book, Ebook, Ebook) เป็ นคา ภาษาต่างประเทศ ย่อมาจากคาว่า Electronic Book หมายถึง หนังสือที่สร้างข้ึนด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ มีลกั ษณะเป็ นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมกั จะเป็ นแฟ้มขอ้ มูลท่ีสามารถอ่าน เอกสารผา่ นทางหนา้ จอคอมพวิ เตอร์ท้งั ในระบบออฟไลนแ์ ละออนไลน์ สุทิน ทองไสว. (2547 : 46) กล่าวไวว้ า่ E-book หรือหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ คือ เอกสาร ที่มีขนาดเหมาะสม ซ่ึงสามารถจดั เก็บเผยแพร่ หรือจาหน่ายไดด้ ว้ ยอุปกรณ์และวิธีการอิเล็กทรอนิกส์ โดยผใู้ ชส้ ามารถอา่ นหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์น้ีผา่ นทางหนา้ จอคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ใชส้ าหรับ อา่ น E-book ที่เรียกวา่ E-book Reader เกวลี พิชยั สวสั ด์ิ. (2545 : 37) ไดก้ ล่าววา่ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์เป็ นเอกสารท่ีมีการเชื่อมโยง ส่วนต่าง ๆ ในเอกสารเขา้ ด้วยกนั เป็ นการเชื่อมโยงกนั (Hyperlink) เพ่ือให้ผูใ้ ช้สามารถเลือกไป ดูส่วนต่าง ๆ ของเอกสารท่ีอยู่หนา้ เดียวกนั หรือคนละหน้าไดส้ ะดวกและรวดเร็วข้ึน เมื่อกดป่ ุม ท่ีจุดเช่ือมโยงที่กาหนดไว้ โปรแกรมจะทา การเปิ ดส่วนของเอกสารที่ถูกกาหนดไวท้ นั ที ประหยดั จิระวรพงศ.์ (2548 : 28) หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หมายถึง หนงั สือหรือ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ท่ีอยใู่ นรูปแบบดิจิตอลผูอ้ ่านสามารถอ่านโดยใชเ้ คร่ืองมือคอมพิวเตอร์หรือ เครื่องอา่ น E-book (Rocker E-book Soft Book, Microsoft Reader) หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) มีคุณลักษณะพิเศษกว่าหนังสือกระดาษหลายประการ อาทิ แสดงผลด้วย ภาพ ขอ้ ความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เป็นตน้ ซ่ึงสามารถเปิ ดอ่านเหมือนหนงั สือทว่ั ไป และพกพาหนงั สือจานวนมากติดตวั ไปไดท้ ุกที่ ทุกเวลา สามารถ Download มาไวใ้ น Palm Pilot เปิ ดออกมาอ่านตามตอ้ งการและยงั สามารถ เช่ือมโยงกบั ขอ้ ความต่าง ๆ ภายในตวั หนังสือหรือภายนอกเวบ็ ไซต์อ่ืน ๆ จากอินเตอร์เน็ต ยิ่งกว่าน้นั ผอู้ ่านสามารถอ่านพร้อม ๆ กนั ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งการยมื คืนเหมือนหนงั สือกระดาษในหอ้ งสมุด
23 จากที่กล่าวมา สรุปไดว้ ่าหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หมายถึง การนาหนงั สือหน่ึงเล่ม หรือหลาย ๆ เล่ม มาออกแบบใหม่ให้อยใู่ นรูปของอิเล็กทรอนิกส์ โดยปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงขอ้ มูล เหล่าน้ันให้อยู่ในรู ปของตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ลักษณะที่ตอบโต้กันได้ (Interactive) และการเช่ือมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์ สามารถทาบุ๊คมาร์กและหมายเหตุประกอบตาม ท่ีผูใ้ ช้ตอ้ งการไดโ้ ดยอาศยั พ้ืนฐานของหนงั สือเล่มเป็ นหลกั หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หรือ เอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ผูอ้ ่านสามารถอ่านผ่านทางคอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาอ่ืน ๆ ได้ ววิ ฒั นาการของหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) แนวความคิดเก่ียวกบั หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์เกิดข้ึนภายหลงั ปี ค.ศ. 1940 โดยปรากฏใน นวนิยายวทิ ยาศาสตร์ ต่อมาไดม้ ีการพฒั นาโดยนาเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์เขา้ มาช่วยสแกนหนงั สือ จดั เก็บขอ้ มูลเป็ นแฟ้มภาพตวั หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ และนาแฟ้มภาพตวั หนงั สือมาผ่านกระบวนการ แปลงภาพเป็ นขอ้ ความดว้ ยการทา OCR (Optical Character Recognition) โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพ่อื แปลงภาพตวั หนงั สือใหเ้ ป็ นขอ้ ความท่ีสามารถแกไ้ ขเพ่ิมเติมได้ การถ่ายทอดขอ้ มูลจะถ่ายทอด ผ่านทางแป้นพิมพ์ และประมวลผลออกมาเป็ นตวั หนังสือและขอ้ ความด้วยคอมพิวเตอร์ ดงั น้ัน หน้ากระดาษจึงเปล่ียนรูปแบบไปเป็ นแฟ้มข้อมูลแทน ท้งั ยงั มีความสะดวกต่อการเผยแพร่และ จดั พิมพ์เป็ นเอกสาร (Documents Printing) ทาให้รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยุคแรก ๆ มีลกั ษณะเป็นเอกสารประเภท .doc .txt .rtf และ .pdf ไฟล์ เม่ือมีการพฒั นาภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ขอ้ มูลต่าง ๆ จึงถูกออกแบบและตกแต่งในรูปของเวบ็ ไซต์ โดยปรากฏในแต่ละหนา้ ของเวบ็ ไซตซ์ ่ึงเรียกวา่ Web Page ผอู้ ่านสามารถเปิ ดดูเอกสารเหล่าน้นั ไดด้ ว้ ยเวบ็ เบราวเ์ ซอร์ (Web Browser) ซ่ึงเป็นโปรแกรมประยกุ ตท์ ่ีสามารถแสดงผลขอ้ ความ ภาพ และการปฏิสมั พนั ธ์ผา่ นระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ต่อมาเมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมมากข้ึน บริษทั ไมโครซอฟท์ ได้ผลิตเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้คาแนะนาในรูปแบบ HTML Help ข้ึนมา มีรูปแบบของไฟล์เป็ น .CHM โดยมีตวั อ่านคือ Microsoft Reader และหลงั จากน้นั มีบริษทั ผูผ้ ลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์จานวนมาก ไดพ้ ฒั นาโปรแกรมจนกระทง่ั สามารถผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็ นลกั ษณะเหมือนกบั หนงั สือทว่ั ไป กล่าวคือ สามารถแทรกขอ้ ความ แทรกภาพ จดั หน้าหนงั สือได้ตามความตอ้ งการ ของผผู้ ลิต และที่พิเศษกวา่ น้นั คือ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์เหล่าน้ี สามารถสร้างจุดเช่ือมโยงเอกสาร (Hyperlink) ไปยงั เวบ็ ไซตท์ ี่เก่ียวขอ้ งอื่น ๆ ท้งั ภายในและภายนอกได้ อีกท้งั ยงั สามารถแทรกเสียง ภาพเคล่ือนไหวต่าง ๆ ลงไปในหนงั สือได้ คุณสมบตั ิเหล่าน้ีไมส่ ามารถทาไดใ้ นหนงั สือทวั่ ไป
24 ลกั ษณะและรูปแบบหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) สาหรับลักษณะและรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) มีนักวิชาการหลายท่าน กล่าวไว้ ดงั น้ี ประหยดั จิระวรพงศ์. (2548 : 28) กล่าวถึง ลกั ษณะและรูปแบบหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ดงั น้ี 1. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) จะเกบ็ ไวใ้ นแผน่ ซีดีรอม แผน่ ดิสก์ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สามารถพกพาติดตวั ไปได้ ตวั เคร่ืองขนาดกะทดั รัด เหมาะมือสามารถใชง้ านขอ้ มูลท่ีบรรจุในแผ่นดิสก์แบบเดียวกบั คอมพิวเตอร์ คือ สามารถใช้งาน รูปแบบของตวั อกั ษรและกราฟหรือที่เรียกวา่ ไฮเปอร์เทก็ ซ์ เมื่อเปรียบเทียบคุณลกั ษณะของหนงั สือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) กบั หนงั สือปกติทว่ั ไป จะพบวา่ คุณลกั ษณะของหนงั สือรูปแบบเดิมมกั มี ขอ้ จากดั ต่าง ๆ หลายประการ เช่น การบนั ทึกเน้ือหาสาระหรือองคค์ วามรู้ทาไดใ้ นปริมาณค่อนขา้ ง จากดั หากมีเน้ือหามากจะทาให้ขนาดและน้าหนกั ของหนงั สือมากตามไปดว้ ยจนไม่เหมาะกบั การ ใช้ปกติทว่ั ไป ในด้านการบนั ทึกและถ่ายทอดเน้ือหาสาระหรือองค์ความรู้สามารถไดเ้ ฉพาะใน รูปแบบตวั หนงั สือ (Text) และภาพ (Graphics) ในคุณลกั ษณะสารนิ่ง (Still or Frizzed Message) เท่าน้นั จึงมีขอ้ จากดั ดา้ นการปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างผูอ้ ่านกบั หนงั สือมากกว่าหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) (Barker & Manji. 1991 : 88) ส่วนการนาเสนอเน้ือหาสาระหรือองคค์ วามรู้ท่ีอยูใ่ นหนงั สือ จะน่าสนใจน่าติดตามมากนอ้ ยหรือไม่ หรือเขา้ ใจไดย้ ากง่ายเพียงใดน้นั ปกติข้ึนอยูก่ บั ความสามารถ ของผแู้ ต่ง (Author) เป็ นสาคญั ซ่ึงโดยปกติแลว้ ผูแ้ ต่งหรือนกั ประพนั ธ์ส่วนมากจะมีความชานาญ เฉพาะดา้ นการประพนั ธ์หรือการใชส้ านวนภาษามากกวา่ ส่วนดา้ นการออกแบบการนาเสนอเน้ือหา ในรูปแบบอ่ืน ๆ ท่ีจะช่วยใหผ้ อู้ ่านสามารถเขา้ ใจในเน้ือหาไดด้ ีย่งิ ข้ึน เช่น การใชภ้ าพประกอบเสียง ประกอบ และเครื่องมืออ่ืน ๆ เป็ นต้น ข้ึนอยูก่ บั ฝ่ ายจดั ทาตน้ ฉบบั เป็ นสาคญั ขอ้ จากดั ดา้ นน้ีจึงเป็ น ขอ้ ดอ้ ยอีกประการหน่ึงท่ีมกั จะพบในหนงั สือปกติ (Barker & Manji. 1991 : 89) ส่วนหนงั สือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ไดน้ าเอาส่วนที่เป็ นขอ้ เด่นท่ีมีอยใู่ นหนงั สือแบบเดิม (The Convectional Approach) มาผนวกกบั ศกั ยภาพของคอมพิวเตอร์ ซ่ึงมีความสามารถในการนาเสนอเน้ือหา หรือ องคค์ วามรู้ในรูปแบบสื่อประสม (The Multimedia Approach) เน้ือหาหลายมิติสามารถเช่ือมโยงท้งั แหล่งขอ้ มูลจากภายในและเครือข่ายหรือแบบเชื่อมโยง (The Hypermedia Approach) และการ ปฏิสัมพนั ธ์รูปแบบอื่น ๆ (The Other Approach) 10 แนวทางการสร้าง E-book เพื่อการเรียนรู้ ดงั น้ี 1.1 เลือกเน้ือหาที่น่าสนใจหรือหน่วยการเรียนรู้ท่ีมีอยู่แล้วนามาดาเนินการ พิจารณาปรับปรุงเน้ือหาให้เหมาะสมและพิมพ์ E-book เริ่มดว้ ยการคิดถึงกลุ่มเป้าหมาย ผูอ้ ่าน/ ผเู้ รียนรูปแบบการนาเสนอ แรงจูงใจ การปฏิสัมพนั ธ์และการจดั ลาดบั 1.2 สร้างตามระดบั ผเู้ รียนโดยเฉพาะและใชภ้ าษาใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียน
25 1.3 สร้างตารางเน้ือหาแยกเป็ นบทซ่ึงมีองค์ประกอบที่แตกต่างกนั แต่ละหน่วย สร้างแผนภูมิหรือแผนผงั ความคิดสาหรับหน่วยการเรียน เร่ิมดว้ ยการสืบคน้ สารสนเทศท่ีมีใน อินเทอร์เน็ต และแยกแฟ้มเพ่ือเกบ็ สารสนเทศเป็นส่วนหน่ึง ๆ 1.4 ตอ้ งมน่ั ใจวา่ ผลการจดั เน้ือหาสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตร 1.5 บนั ทึกเน้ือหาความรู้ท้งั หมดหลาย ๆ แฟ้มที่จะใชท้ าในโปรแกรมสร้าง E-Book 1.6 เพ่ิมประสิทธิผล E-book โดยใช้ Hyperlinks เช่ือมโยงกบั เวบ็ ไซตท์ ่ีตอ้ งการจะ ทาใหม้ ีประสบการณ์การเรียนรู้ และประสบความสาเร็จมากข้ึน พยายามคน้ หาเวบ็ ไซตท์ ี่ดีที่สุด เพ่ือให้ ผเู้ รียนทางานออนไลน์ และทาแบบทดสอบการประเมินสิ่งตา่ ง ๆ ซ่ึงจะทาใหป้ ระหยดั เวลาผสู้ อน 1.7 ตรวจสอบทุกหนา้ การสะกดคาและองคป์ ระกอบของการเขียนที่ดี กล่าวคือให้ เป็นรูปแบบง่าย ๆ เอ้ือต่อวธิ ีการอ่านและใหม้ ีความคุน้ เคยกบั ผใู้ ช้ 1.8 พยายามทาใหด้ ีที่สุด อยา่ ใหม้ ีหลายข้นั ตอนยุง่ ยากแลว้ Compiling แฟ้มขอ้ มูล ในรูปแบบ .exe และ .pdf และ Save เอกสารเป็นไฟล์ HTML 1.9 ทาให้มีความมน่ั ใจโดยการตรวจสอบ Hyperlinks ใน E-book อีกคร้ังว่ายงั ทางานไดป้ กติและพิจารณาขอ้ มูลว่ายงั ทนั สมยั และ Compile อีกคร้ัง Save และสร้างเวบ็ ไซตเ์ พ่ือ เผยแพร่ต่อไปแต่อยา่ ลืมทาปกหนงั สือดว้ ย 1.10 ทาการป้องกนั ลิขสิทธ์ิหรือป้องกนั การคดั ลอกไวด้ ว้ ย (หากตอ้ งการ) 2. E-book กบั การเรียนการสอน ผสู้ อนสามารถใช้ E-book เป็ นส่ือในการเรียนการสอนตามปกติประกอบการอ่าน การคน้ ควา้ การทางานและหลากหลายกิจกรรม ท้งั เป็ นรายบุคคล และเป็ นกลุ่ม ซ่ึงทาใหผ้ ูเ้ รียนได้ ปฏิบตั ิจริงดว้ ยความตื่นเตน้ สะดวกสบายจากการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในบางคร้ังการเรียน การสอนดว้ ยคาบรรยาย (Lecture Notes) ผสู้ อนก็จะถ่ายทอดลงใน E-book ท่ีใหท้ ้งั ขอ้ มูล ขอ้ ความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการเช่ือมโยง ไปยงั เน้ือหาต่าง ๆ ในกลุ่มเดียวกนั หรือออกไป ภายนอกเว็บไซต์อื่น ๆ รวมท้งั กาหนดงานและกิจกรรม ที่อยู่ในรูปแบบของการอ่าน การเขียน การวาด และการตอบคาถามต่าง ๆ เป็ นตน้ ผูส้ อนสามารถตรวจผลงานให้คาแนะนา ยอ้ นกลบั ได้ ทนั ที ซ่ึงหนงั สือแบบเดิมไม่อาจสร้างแรงจูงใจใหเ้ กิดผลปฏิบตั ิดว้ ยศกั ยภาพจากดั และไม่สามารถ ขยายขอบเขตความรู้ ความสามารถ ได้อย่างกวา้ งขวางเท่ากับหนังสือแบบใหม่น้ี E-book เป็ น นวตั กรรมท่ีเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนรู้ 3. E-book กบั E-Library E-book เป็ นส่วนประกอบที่สาคญั ของ E-Library เหมือนกบั ห้องสมุดแบบเดิม เพียงแต่เป็ นหนงั สือ วารสารหรือส่ิงพิมพอ์ ิเล็กทรอนิกส์ที่ใชส้ าหรับเป็ นแหล่งการเรียนรู้รูปแบบ
26 ใหม่ โดยคน้ ควา้ หาความรู้ในหอ้ งสมุดอิเล็กทรอนิกส์ท่ีใชส้ าหรับเป็ นแหล่งการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ที่ให้บริการบนระบบเครือข่ายท่ีสะดวก รวดเร็วและมีข้นั ตอนเดียว (One-stop Service) ได้ทุกที่ หอ้ งสมุดอิเล็กทรอนิกส์มี 3 ลกั ษณะ 3.1 ห้องสมุดอตั โนมตั ิ (Library Automation) เป็ นการทางานของระบบงานของ หอ้ งสมุดแบบอตั โนมตั ิที่เก่ียวกบั ระบบการจดั ทา ระบบงานวารสารและเอกสาร ระบบบริการยืมคืน ระบบการสืบคน้ และการสนบั สนุน 3.2 ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library) เป็ นการจัดหาหรื อสร้างสารสนเทศ (Information Content) บริการและเผยแพร่ในรูปแบบดิจิตอล (Digital Object) แก่ผใู้ ช้ 3.3 ห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) เป็ นการจดั การให้ผูใ้ ช้ไดเ้ ขา้ ถึงห้องสมุด ทางอิเลก็ ทรอนิกส์หรือ Online แบบอตั โนมตั ิ รวมท้งั สามารถบริการจดั ส่งเอกสารใหท้ ้งั ทาง E-mail หรือไปรษณีย์ได้ห้องสมุดเสมือนจึงจะต้องใช้เทคโนโลยีการจดั เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระบบ เครือขา่ ยและการส่งสารสนเทศแก่ผใู้ ช้ 4. E-book กบั E-learning E-learning หรือการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงเป็ นรูปแบบหน่ึงของการศึกษา ทางไกล (Distance Education) กระแสของ E-learning ทาให้เกิดแนวทางใหม่ในปัจจุบนั มีดังน้ี 1)ไม่จากดั กลุ่มผูเ้ รียนอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เป็ นการเปิ ดโอกาสทางการศึกษาแก่ทุกคน 2) มีช่องทาง การเรียนรู้ผ่านสื่อมากข้ึน 3) เป็ นการเรียนปฏิสัมพนั ธ์แนวใหม่ (New Interaction) 4) เป็ นการวาง แผนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 5) เป็ นรูปแบบการพฒั นาบุคลากรแบบ (Net-based Learning 6) Virtual Reality จาลองการเรียนแบบเสมือนจริง 7) ขยายการเรียนรู้อย่างไร้ขอบเขตโดยไม่จากดั เวลาและ สถานท่ีในระดบั โลก (Non-real Time) ท่ีใชอ้ ีเมล์ 8) ผูส้ อนและผเู้ รียนติดต่อกนั ไดท้ างระบบเครือข่าย และพบปะกนั (Face to Face) E-book เป็ นองคป์ ระกอบที่สาคญั ของ E-learning เพราะเป็ นตวั สร้าง สารสนเทศในลกั ษณะต่าง ๆ ตามความตอ้ งการและความเหมาะสม ในลกั ษณะสื่อเดี่ยวและส่ือประสม (Multimedia) ซ่ึงทาให้ผูเ้ รียนหรือผูใ้ ช้ไดเ้ ป็ นเจา้ ของเน้ือหาและความรู้ (Content and Knowledge) ท่ีจะนาไปสู่การพฒั นาความมง่ั คง่ั และความมน่ั คงดงั ตวั อย่าง อเมริกนั ออนไลน์เขา้ ไปครอบครอง เน้ือหาของ Time Warner จนเป็นกิจกรรมสะสม Knowledge Business ที่มีคุณค่ายงิ่ สรุปไดว้ า่ ลกั ษณะและรูปแบบหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) เป็ นสื่อสามารถพกพาติด ตวั ไปได้ เป็ นสื่อในการเรียนการสอนตามปกติประกอบการอ่าน การคน้ ควา้ เหมือนกบั ห้องสมุด แบบเดิมเพียงแต่เป็ นหนงั สือ วารสารหรือส่ิงพิมพอ์ ิเล็กทรอนิกส์ท่ีใช้สาหรับเป็ นแหล่งการเรียนรู้ รูปแบบใหม่ สามารถเป็นรูปแบบหน่ึงของการศึกษาทางไกล
27 ประเภทของหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ประหยดั จิระวรพงษ.์ (2548 : 29) ไดแ้ บ่งประเภทของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ออกเป็น 8 ประเภท ดงั น้ี 1. ประเภทตารา (Textbook) มีลกั ษณะเหมือนหนงั สือทวั่ ไปแตแ่ ปลงเป็น Digital File 2. ประเภทเสียง (Talking E-book) มีเสียงอ่านประกอบขอ้ ความเหมาะสมสาหรับ ฝึ กออกเสียง 3. ประเภทอลั บ้มั ภาพหรือภาพน่ิง (Static Picture E-book) เนน้ การเสนอวีดีทศั น์หรือ ภาพยนตร์ส้นั ๆ ประกอบขอ้ ความ 4. ประเภทมลั ติมีเดีย (Multimedia E-book) เน้นการเสนอสารสนเทศแบบสื่อผสม ท้งั ภาพ (Visual) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) วีดีทศั น์เสียง (Audio) ขอ้ ความ และการปฏิสัมพนั ธ์ เป็ นตน้ 5. ประเภทสื่อหลากหลาย (Hypermedia E-book) เน้นการเชื่อมโยงสารสนเทศ ภายในเล่มคลา้ ย ๆ บทเรียนโปรแกรมแบบสาขา (Branching Program) และการเช่ือมโยงสารสนเทศ ภายนอกโดยระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 6. ประเภทอจั ฉริยะ (Intelligent E-book) เนน้ การใชโ้ ปรแกรมข้นั สามารถปฏิสัมพนั ธ์ ผอู้ ่านเสมือนมีสติปัญหาตอบโตไ้ ด้ (คลา้ ย Help ใน MS Word) 7. ประเภทส่ือทางไกล (Telemedia E-book) เน้นการเช่ือมโยงกบั แหล่งสารสนเทศ ภายนอก (Online Information Sources) สาหรับเครือขา่ ยทว่ั ไปและสมาชิก 8. ประเภทไซเบอร์สเปช (Cyberspace E-book) เน้นการเชื่อมโยงแหล่งสารสนเทศ ท้งั ภายในและภายนอก ดว้ ยส่ือและการปฏิสัมพนั ธ์หลายรูปแบบ บาร์คเกอร์. (Barker. 1991 : 5) ไดแ้ บ่งประเภทหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ออกเป็ น 10 ประเภท ดงั น้ี 1. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หรือแบบตารา (Textbooks) หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ประเภทน้ีเนน้ การเกบ็ และนาเสนอขอ้ มูลท่ีเป็นตวั หนงั สือและภาพประกอบในรูปหนงั สือ ปกติท่ีพบเห็นทวั่ ไป หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ชนิดน้ีสามารถกล่าวไดว้ ่าเป็ นการแปลง หนงั สือจากสภาพสิ่งพิมพป์ กติเป็ นสัญญาณดิจิตอล เพิ่มศกั ยภาพเติมการนาเสนอ การปฏิสัมพนั ธ์ ระหวา่ งผอู้ า่ นกบั หนงั สือ การสืบคน้ การคดั ลอก เป็นตน้ 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) แบบหนังสือเสียงอ่าน มีเสียงคาอ่านเมื่อเปิ ด หนงั สือจะมีเสียงอ่าน หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ประเภทน้ีเหมาะสาหรับหนงั สือสาหรับเด็ก เร่ิมเรียนหรือ สาหรับฝึ กออกเสียงหรือฝึ กพูด (Talking book) เป็ นตน้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
28 (E-book)ชนิดน้ีเป็ นการเน้นคุณลักษณะด้านการนาเสนอเน้ือหาที่เป็ นท้งั ตวั อกั ษรและเสียงเป็ น คุณลกั ษณะหลกั นิยมใชก้ บั กลุ่มผอู้ ่านท่ีมีระดบั ทกั ษะทางภาษาโดยเฉพาะดา้ นการฟังหรือการอ่าน ค่อนขา้ งต่า เหมาะสาหรับการเริ่มตน้ เรียนภาษาของเด็ก ๆ หรือผูท้ ี่กาลงั ฝึ กภาษาที่สอง หรือฝึ ก ภาษาใหม่ เป็นตน้ 3. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) แบบหนงั สือภาพนิ่ง หรืออลั บ้มั ภาพ (Static Picture Books) เป็นหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่มีคุณลกั ษณะหลกั เนน้ จดั เก็บขอ้ มูล และนาเสนอขอ้ มูล ในรูปแบบภาพน่ิง (Static Picture) หรืออลั บ้มั ภาพเป็ นหลกั เสริมดว้ ยการนาศกั ยภาพของคอมพิวเตอร์ มาใชใ้ นการนาเสนอ เช่น การเลือกภาพท่ีตอ้ งการ การขยายหรือย่อขนาดของภาพหรือตวั อกั ษร การสาเนาหรือการถ่ายโอนภาพ การแต่งเติมภาพ การเลือกภาพส่วนของภาพ Cropping หรือ เพม่ิ ขอ้ มูล เชื่อมโยงภายใน (Linking Information) เช่น เช่ือมขอ้ มูลอธิบายเพิ่มเติม เชื่อมขอ้ มูลเสียง ประกอบ เป็นตน้ 4. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) แบบหนงั สือภาพเคล่ือนไหว (Moving Picture Books) เป็นหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ท่ีเนน้ การนาเสนอขอ้ มูลในรูปแบบภาพวดี ีทศั น์ (Video Clips) หรือภาพยนตร์ส้นั ๆ (Films Clips) ผนวกกบั ขอ้ มูลสนเทศท่ีอยใู่ นรูปตวั หนงั สือ (Text Information) ผอู้ ่านสามารถเลือกชมศึกษาขอ้ มูลได้ ส่วนใหญ่นิยมนาเสนอขอ้ มูลเหตุการณ์ประวตั ิศาสตร์ หรือ เหตุการณ์สาคญั ๆ เช่น ภาพเหตุการณ์สงครามโลก ภาพการกล่าวสุนทรพจน์ของบุคคลสาคญั ๆ ของโลกในโอกาสต่าง ๆ ภาพเหตุการณ์ความสาเร็จหรือสูญเสียของโลกเป็นตน้ 5. ภาพ (Visual Media) เป็นท้งั ภาพนิ่งและภาพเคล่ือนไหวกบั ส่ือประเภทเสียง (Audio Media) ในลกั ษณะตา่ ง ๆ ผนวกกบั ศกั ยภาพของคอมพิวเตอร์อื่นเช่นเดียวกบั หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) อ่ืน ๆ ท่ีกล่าวมาแลว้ 6. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) แบบหนังสือหลากหลาย (Polymedia Book) เป็ นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ท่ีมีลักษณะเช่นเดียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) แบบสื่อประสม แต่มีความหลากหลายในคุณลกั ษณะดา้ นความเชื่อมโยงระหวา่ งขอ้ มูลภายในเล่ม ท่ีบนั ทึกในลกั ษณะตา่ ง ๆ เช่น ตวั หนงั สือ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ดนตรี และอื่น ๆ เป็นตน้ 7. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) แบบหนังสือเช่ือมโยง (Hypermedia Book) เป็นหนงั สือที่มีคุณลกั ษณะสามารถเช่ือมโยงเน้ือหาสาระภายในเล่ม (Internal Information Linking) ซ่ึงผอู้ า่ นสามารถคลิกเพือ่ เชื่อมไปสู่เน้ือหาสาระที่ออกแบบเช่ือมโยงกนั ภายในการเช่ือมโยงเช่นน้ีมี คุณลักษณะเช่นเดียวกับบทเรียนโปรแกรมแบบแตกกิ่ง (Branching Programmed Instruction) นอกจากน้ียงั สามารถเชื่อมโยงกบั แหล่งเอกสารภายนอก (External of Information Sources) เม่ือ เชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต หรืออินทราเน็ต
29 8. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) แบบหนงั สืออจั ฉริยะ (Intelligent Electronic Books) เป็ นหนังสือประสม แต่มีการใช้โปรแกรมช้ันสูงท่ีสามารถมีปฏิกิริยา หรือปฏิสัมพนั ธ์กบั ผูอ้ ่าน เสมือนหนงั สือมีสติปัญญา (อจั ฉริยะ) ในการไตร่ตรอง หรือคาดคะเนในการโตต้ อบ หรือมีปฏิกิริยา กบั ผอู้ ่าน (ดงั ตวั อยา่ งการทางานของโปรแกรม Help ใน Microsoft Word เป็นตน้ ) 9. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) แบบส่ือหนงั สือทางไกล (Telemedia Electronic Books) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ประเภทน้ีมีคุณลักษณะหลกั ๆ คล้ายกับ Hypermedia Electronic Book แต่เนน้ การเชื่อมโยงกบั แหล่งขอ้ มูลภายนอกผา่ นระบบเครือข่าย (Online Information Sources) ท้งั ที่เป็นเครือขา่ ยเปิ ด และเครือขา่ ยเฉพาะสมาชิกของเครือข่าย 10. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) แบบหนงั สือไซเบอร์สเปช (Cyberspace Books) หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ประเภทน้ีมีลกั ษณะเหมือนกบั หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หลาย ๆ แบบท่ีกล่าวมาแล้วมาผสมกนั สามารถเชื่อมโยงแหล่งขอ้ มูลท้งั จากแหล่งภายในและ ภายนอก สามารถนาเสนอข้อมูลในระบบส่ือท่ีหลากหลาย สามารถปฏิสัมพนั ธ์กับผูอ้ ่านได้ หลากหลายมิติ นอกจากที่กล่าวมาแลว้ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ยงั สามารถแบ่งประเภทตามชนิด ของส่ือท่ีใชใ้ นการนาเสนอและองคป์ ระกอบของเคร่ืองอานวยความสะดวกภายในเล่มสามารถแบ่ง ไดเ้ ป็น 4 ประเภทหลกั ๆ (Barker.1991 : 6) ดงั ต่อไปน้ี 1. หมวดวชิ า หรือรายวชิ าเฉพาะเป็นหลกั (Some Particular Subject Area) 2. หัวเร่ืองหรือช่ือเร่ืองเฉพาะเร่ือง (A Particular Topic Aare) เป็ นหลัก หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ประเภทน้ีจะมีเน้ือหาใกลเ้ คียงกบั ประเภทแรกแต่ขอบข่ายแคบกว่าหรือ เฉพาะเจาะจงมากกวา่ 3. เทคนิคการนาเสนอช้นั สูงท่ีมุง่ เนน้ เพือ่ สนบั สนุนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน หรือการฝึกอบรม (Support of Learning and Training Activities) 4. เน้นเพ่ือการทดสอบหรือสอบวดั เพื่อให้ผูอ้ ่านได้ศึกษาและตรวจสอบวดั ระดับ ความรู้หรือความสามารถของตนในเร่ืองหน่ึง (To Support Testing, and Quizzing and Assessment Activates about any Particular Topic) นอกจากน้ีรูปแบบท่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ยงั ไดร้ ับการพฒั นา ศกั ยภาพในการตอบสนองความตอ้ งการของผูอ้ ่านหรือมีปฏิกิริยากบั ผูอ้ ่าน (End-user Interfaces) และสามารถเป็ นแหล่งความรู้และสื่อการเรียนรู้ สนองรูปแบบการจดั การศึกษาท้ังในบริบท ของระบบการศึกษาแบบปกติและการศึกษาทางไกลไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง (Barker. 1991 : 6)
30 หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่มีอยใู่ นปัจจุบนั สามารถถือไดว้ า่ เป็ นหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ยุคแรกหรือรุ่นแรก (Head Start Generation) ของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่ได้ ผา่ นการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่องจากข้นั ตอนการทดลอง (Laboratory Production Stage) แต่สภาพการจดั จาหน่ายสู่ผบู้ ริโภคสาธารณะทวั่ ไป (Commercial Distribution Stage) สู่ระดบั การผลิตเผยแพร่ และ จดั จาหน่ายและการบริโภคปัจจุบนั ยงั อยูใ่ นวงค่อนขา้ งแคบ ท้งั น้ีเพราะเป็ นช่วงเช่ือมต่อหรือถ่ายโอน ระหว่างเทคโนโลยี (Technology Transferring) จากหนังสือยุคเดิมสู่ยุคหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เพราะความเป็ นเทคโนโลยีใหม่และมีราคาค่อนขา้ งสูงเมื่อเปรียบเทียบกบั หนงั สือปกติ และมีการยอมรับนวตั กรรมน้ียงั อยูใ่ นวงแคบ ๆ เท่าน้นั แต่เชื่อไดว้ ่าแนวโนม้ ในอนาคตจะราคา ถูกลง และคุณภาพดีข้ึน การแพร่กระจายของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) จะมีมากข้ึนปริมาณ มากข้ึน และเชื่อวา่ จะเขา้ แทนที่หนงั สือปกติในท่ีสุด สรุปไดว้ า่ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ทุกรูปแบบไดร้ ับการพฒั นาบนพ้ืนฐานแนวคิด หลัก 3 ประการ คือ 1) การออกแบบรูปแบบโครงสร้างลาดับการจัดเก็บ (Massage Storage) 2) การนาเสนอเน้ือหาสาระ (Massage Presentation) 3) การออกแบบการปฏิสัมพนั ธ์ระหว่าง หนงั สือกบั ผูอ้ ่าน (Consumer Interface) และสถานีหรือแหล่งสาหรับการเขา้ สืบคน้ เน้ือหาเพ่ิมเติม หรือนาเน้ือหาใหมม่ าเติม (Access Stations) รูปแบบการจัดเกบ็ และนาเสนอเนื้อหา รูปแบบการจดั เก็บและการนาเสนอเน้ือหาของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) จะ ประกอบดว้ ย 3 องคป์ ระกอบยอ่ ย คือ 1. รูปแบบความคิดรวมยอดของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ท้งั เล่ม (Conceptual Model) 2. รูปแบบโครงสร้าง (Design Model) 3. รูปแบบโครงสร้างความสมั พนั ธ์ภายใน (Fabrication Model) จะเห็นวา่ การเรียงลาดบั การจดั เก็บและการนาเสนอเน้ือหาภายในเล่มจะมีการเรียงลาดบั ในลกั ษณะเช่นเดียวกนั กบั หนงั สือปกติท่ีใชอ้ ยู่ทว่ั ไป เช่น มีปกของหนงั สือ ช่ือเรื่องสารบญั หนา้ เน้ือหา บรรณานุกรม และปกหลงั เป็นตน้ แต่ละส่วนแตกต่างท่ีหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) จะ ใช้ศกั ยภาพของคอมพิวเตอร์มาใชเ้ ป็ นลกั ษณะพิเศษเพิ่มจากหนงั สือปกติ เช่น การเปิ ดหนา้ ถดั ไป แบบอตั โนมตั ิ (Next Page Turn-over) การดู หรืออ่านเน้ือหาต่อเน่ือง (Scrolling) การเปิ ดหนา้ ถอย หลงั ไปยงั หนา้ ท่ีตอ้ งการ (Back to Page…) การเลือกดูเน้ือหาดา้ นขา้ ง ซา้ ยขวา (Page Right/Left) ของแต่ละหนา้ การเลื่อนดูเน้ือหาในหนา้ ท่ีผา่ นมาหรือหนา้ ต่อไป (Page up /Page down) การออก จากโปรแกรม หรือปิ ดหนงั สือ (Exit From the Book) หรือกลบั ไปยงั หนา้ แรก (Back to the First Page) หรือเปิ ดไปยงั หนา้ สุดทา้ ย (Last Page) เป็นตน้
31 หลกั การออกแบบหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-book) ฮอฟแมน. (Hoffman. 1995 : 98) ไดก้ ล่าวไวว้ า่ การออกแบบที่ดีมีความสาคญั ต่อการเรียน การสอนเป็ นอย่างมาก เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีที่สุด ควรอาศยั หลกั กระบวนการเรียนการสอน 7 ข้นั ดงั น้ี 1. การสร้างแรงจูงใจให้กบั ผูเ้ รียน (Motivating the Learner) การออกแบบควรเร้า ความสนใจ โดยการใช้ภาพกราฟิ ก ภาพเคล่ือนไหว สีและเสียงประกอบเพ่ือกระตุน้ ผูเ้ รียนให้ อยากเรียนรู้ ควรใชก้ ราฟิ กขนาดใหญไ่ ม่ซบั ซอ้ น 2. บอกวตั ถุประสงคข์ องการเรียน (Identifying what is to be Learned) เพื่อเป็ นการ บอกให้ผูเ้ รียนรู้ล่วงหนา้ ถึงประเด็นสาคญั ของเน้ือหาและเป็ นการบอกถึงเคา้ โครงของเน้ือหาซ่ึงจะ เป็ นผลให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพข้ึน อาจบอกเป็ นวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมหรือวตั ถุประสงค์ ทวั่ ไปโดยใชค้ าส้นั ๆ หลีกเล่ียงคาท่ีไม่เป็นท่ีรู้จกั ใชก้ ราฟิ กง่าย ๆ เช่น กรอบ หรือลูกศร เพื่อใหก้ าร แสดงวตั ถุประสงคน์ ่าสนใจยง่ิ ข้ึน 3. ทบทวนความรู้เดิม (Remind Learns of Past Knowledge) เพื่อเป็ นการเตรียมพ้ืนฐาน ผูเ้ รียนสาหรับรับความรู้ใหม่ การทบทวนไม่จาเป็ นตอ้ งเป็ นการทดสอบเสมอไป อาจใชก้ ระตุน้ ให้ผูเ้ รียนนึกถึงความรู้ที่ไดร้ ับมาก่อนเรื่องน้ีโดยใช้เสียงพูด ขอ้ ความภาพหรือใช้หลาย ๆ อย่าง ผสมผสานกนั ท้งั น้ี ข้ึนอยู่กบั ความเหมาะสมของเน้ือหา มีการแสดงความเหมือนความแตกต่าง ของโครงสร้างบทเรียน เพ่ือผูเ้ รียนจะได้รับความรู้ใหม่ได้เร็ว นอกจากน้นั ผูอ้ อกแบบควรตอ้ ง ทราบภูมิหลงั ของผเู้ รียนและทศั นคติของผเู้ รียน 4. ผเู้ รียนมีความกระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้ (Requiring Active Involvement) นกั การศึกษา ต่างเห็นพอ้ งตอ้ งกนั วา่ การเรียนรู้จะเกิดข้ึนเม่ือผเู้ รียนมีความต้งั ใจท่ีจะรับความรู้ใหม่ ผูเ้ รียนที่มีลกั ษณะ กระตือรือร้น จะรับความรู้ไดด้ ีกว่าผูเ้ รียนท่ีมีลกั ษณะเฉ่ือยผูเ้ รียนจะจดจาได้ดี ถ้ามีการนาเสนอ เน้ือหาดี สัมพนั ธ์กบั ประสบการณ์เดิมของผูเ้ รียน ผูอ้ อกแบบบทเรียนควรหาเทคนิคต่าง ๆ เพ่ือใช้ กระตุน้ ผูเ้ รียนให้นาความรู้เดิมมาใช้ในการศึกษาความรู้ใหม่ รวมท้งั ตอ้ งพยายามหาทางทาให้ การศึกษาความรู้ใหม่ของผูเ้ รียนกระจ่างชดั มากข้ึน พยายามให้ผูเ้ รียนรู้จกั เปรียบเทียบ แบ่งกลุ่ม หาเหตุผล คน้ ควา้ วิเคราะห์หาคาตอบดว้ ยตนเอง โดยผอู้ อกแบบบทเรียนตอ้ งค่อย ๆ ช้ีแนวทางจาก มุมกวา้ งแลว้ รวบรัดใหแ้ คบลงและใชข้ อ้ ความกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนคิดเป็น 5. ใหค้ าแนะนาและใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั (providing Guidance and Feedback) การให้ คาแนะนาและใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ในระหวา่ งที่ผเู้ รียนศึกษาอยใู่ นเวบ็ เป็ นการกระตุน้ ความสนใจของ ผเู้ รียนไดด้ ี ผเู้ รียนจะทราบความกา้ วหนา้ ในการเรียนของตนเองการเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนร่วมคิดร่วม กิจกรรมในส่วนที่เก่ียวขอ้ งกบั เน้ือหา การถาม การตอบจะทาใหผ้ เู้ รียนจดจาไดม้ ากกวา่ การอา่ นหรือ
32 ลอกขอ้ ความเพียงอยา่ งเดียว ควรใหผ้ เู้ รียนตอบสนองวธิ ีใดวธิ ีหน่ึงเป็ นคร้ังคราว หรือ ตอบคาถาม ไดห้ ลาย ๆ แบบ เช่น เติมคาลงในช่องวา่ ง จบั คู่ แบบฝึกหดั แบบปรนยั 6. ทดสอบความรู้ (Testing) เพ่ือให้แน่ใจวา่ นกั เรียนไดร้ ับความรู้ผูอ้ อกแบบสามารถ ออกแบบทดสอบ เป็นการเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนสามารถประเมินผลการเรียนของตนเองได้ อาจจดั ให้ มีการทดสอบระหวา่ งเรียน หรือทดสอบทา้ ยบทเรียน ท้งั น้ีควรสร้างขอ้ สอบให้ตรงกบั จุดประสงค์ ของบทเรียน ขอ้ สอบ คาตอบและขอ้ มูลยอ้ นกลบั ควรอยู่ในกรอบเดียวกนั และแสดงต่อเนื่องกนั อยา่ งรวดเร็ว ไม่ควรให้ผเู้ รียนพิมพค์ าตอบยาวเกินไป ควรบอกผูเ้ รียนถึงวธิ ีตอบให้ชดั เจน คานึงถึง ความแม่นยาและความเชื่อถือไดข้ องแบบทดสอบ 7. การนาความรู้ไปใช้ (Providing Enrichment and Remediation) เป็ นการสรุ ป แนวคิดสาคญั ควรใหผ้ เู้ รียนทราบวา่ ความรู้ใหม่มีส่วนสัมพนั ธ์กบั ความรู้เดิมอยา่ งไร ควรเสนอแนะ สถานการณ์ที่จะนาความรู้ใหมไ่ ปใชแ้ ละบอกผเู้ รียนถึงแหล่งขอ้ มูลที่จะใชอ้ า้ งอิงหรือคน้ ควา้ ตอ่ ไป หลกั การออกแบบหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ของฮอฟแมน (Hoffman) สามารถนามา ประยุกต์ใชใ้ นเรื่องการออกแบบบทเรียนหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ท่ีดีวา่ ควรประกอบดว้ ย การออกแบบในเร่ืองสีตวั อกั ษร เพื่อให้บทเรียนน่าสนใจ มีการบอกวตั ถุประสงคก์ ่อนเรียนเพื่อทาให้ ผเู้ รียนบอกใหผ้ เู้ รียนรู้ ล่วงหนา้ ถึงประเด็นสาคญั ของเน้ือหาและเป็ นการบอกถึงเคา้ โครงของเน้ือหา ซ่ึงจะเป็นผลใหก้ ารเรียนรู้มีประสิทธิภาพข้ึน อาจบอกเป็นวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม นกั ออกแบบส่วนใหญ่จะมีรูปแบบการสร้างท่ีแตกต่างกนั โดยทว่ั ไปจะข้ึนอยูก่ บั ความถนดั และความพอใจตนเป็ นหลกั โดยไม่ไดค้ านึงถึงหลกั ในการออกแบบท่ีถูกตอ้ งเท่าที่ควร นกั การศึกษา ไดส้ รุปถึงหลกั ในการออกแบบลกั ษณะของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ที่ดีไวด้ งั น้ี 1. โครงสร้างที่ชัดเจน ผูส้ อนควรจดั โครงสร้างหรือจดั ระเบียบของขอ้ มูลที่ชดั เจน แยกย่อยเน้ือหาออกเป็ นส่วนต่าง ๆ ที่สัมพนั ธ์กนั และให้อยูใ่ นมาตรฐานเดียวกนั จะช่วยใหน้ ่าใชง้ าน และง่ายต่อการเรียนรู้ เน้ือหาของผเู้ รียน นอกจากน้ีควรกาหนดให้ผูเ้ รียนไดเ้ ขา้ สู่หน้าจอท่ีมีคาอธิบาย เบ้ืองตน้ มีการแสดงโครงสร้างภายในของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ซ่ึงอาจอยู่ในลกั ษณะ ของสารบญั (Index) หรือรายการ (Menu) เพอ่ื ผเู้ รียนจะไดท้ ราบถึงขอบเขตที่จะศึกษา 2. การใช้งานที่ง่าย ลกั ษณะของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่มีการใชง้ านง่าย จะช่วยให้ผูเ้ รียนรู้สึกสบายใจต่อการเรียนและสามารถทาความเขา้ ใจกบั เน้ือหาไดอ้ ย่างเต็มท่ีโดย ไม่ตอ้ งมาเสียเวลาอยูก่ บั การทาความเขา้ ใจการใชง้ านท่ีสับสน ดว้ ยเหตุน้ีผอู้ อกแบบจึงควรกาหนด ป่ ุมการใช้งานท่ีชดั เจนเหมาะสม โดยเฉพาะป่ ุมควบคุมเส้นทางการเขา้ สู่เน้ือหา ไม่ว่าจะเป็ นเดินหนา้ ถอยหลงั รวมท้งั อาจมีการแนะนาวา่ ผูเ้ รียนควรจะเรียนอยา่ งไร ข้นั ตอนใดก่อนหรือหลงั แต่อยา่ งไร ก็ตามควรเพมิ่ ความยดื หยนุ่ ใหผ้ เู้ รียนสามารถกาหนดเส้นทางการเรียนรู้ไดเ้ อง
33 3. การเชื่อมโยงที่ดี การเชื่อมโยงควรอยู่ในรูปแบบท่ีเป็ นมาตรฐานทว่ั ไป และตอ้ ง ระวงั เร่ืองของตาแหน่งในการเช่ือมโยง การท่ีจานวนการเชื่อมโยงมากและกระจดั กระจายอยูท่ วั่ ไป ในหนา้ จอก่อใหเ้ กิดความสับสน นอกจากน้ีคาที่ใชส้ าหรับการเชื่อมโยงจะตอ้ งเขา้ ใจง่ายมีความชดั เจน และไม่ส้ันจนเกินไป นอกจากน้ีในแต่ละหน้าท่ีสร้างข้ึนมาควรมีจุดเช่ือมโยงกลบั มายงั หน้าแรก ที่กาลงั ใชง้ านอยดู่ ว้ ย 4. ความเหมาะสมในหนา้ จอ เน้ือหาที่นาเสนอในแต่ละหนา้ ควรกระชบั และทนั สมยั นอกจากน้ีการใช้รูปภาพเพ่ือเป็ นพ้ืนหลงั (Background) ไม่ควรเน้นสีสันที่ฉูดฉาดมากนกั เพราะ อาจจะไปลดความเด่นชดั ของเน้ือหาลง ควรใชภ้ าพท่ีมีสีอ่อน ๆ ไม่สวา่ งจนเกิน รวมไปถึงการใช้ เทคนิคต่าง ๆ หลกั ในการออกแบบลกั ษณะของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ท่ีดี ควรมีการออกแบบ โครงสร้างที่ชดั เจนเพ่ือง่ายต่อการใชง้ าน เพราะการแยกย่อยเน้ือหาออกเป็ นส่วนต่าง ๆ ท่ีสัมพนั ธ์กนั และให้อยูใ่ นมาตรฐานเดียวกนั จะช่วยให้น่าใช้งานและง่ายต่อการเรียนรู้เน้ือหาของผูเ้ รียนนอกจากน้ี ควรกาหนดให้ผูเ้ รียนได้เขา้ สู่หน้าจอแรกท่ีมีคาอธิบายเบ้ืองต้น มีการแสดงโครงสร้างภายใน ของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ซ่ึงอาจอยใู่ นลกั ษณะของสารบญั (Index) หรือรายการ (Menu) เพ่อื ผเู้ รียนจะไดท้ ราบถึงขอบเขตที่จะศึกษา การออกแบบปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างหนังสือกบั ผูอ้ ่าน (Consumer Interface) องค์ประกอบ ประเภทการออกแบบการปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างหนงั สือกบั ผูอ้ ่าน หรือตวั ช่วยนาในการใชแ้ ละการอ่าน หรือการเรียนเน้ือหาในหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ซ่ึงออกแบบใชง้ านบนพ้ืนฐานดงั ต่อไปน้ี 1. การออกแบบเชิงวิศวกรรมด้านเน้ือหา (Knowledge Engineering) องค์ประกอบ ยอ่ ยด้านน้ีเนน้ พิจารณาความถูกตอ้ งทางวิชาการ และการออกแบบเคา้ โครงตลอดจนลาดบั หรือ ยทุ ธศาสตร์การนาเสนอเน้ือหา ภายในกลุ่มท่ีถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ การนาเสนอท่ีสามารถรับรู้ และทาความเขา้ ใจตลอดจนการเรียนรู้ในเน้ือหาไดง้ ่ายและมีประสิทธิภาพมากที่สุด 2. การออกแบบหนา้ หนงั สือ (Page Design) เป็ นการออกแบบรูปลกั ษณ์ของหนา้ หนงั สือ ในแต่ละหน้าซ่ึงจะประกอบดว้ ยตวั หนงั สือ ภาพประกอบ การจดั หนา้ ท่ีจะเป็ นส่วนท่ีปรากฏให้ ผอู้ ่านเห็นในแต่ละหนา้ ของหนงั สือ และเป็ นส่วนที่สามารถปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างผูอ้ ่านกบั หนงั สือ องคป์ ระกอบดา้ นน้ีจะมีความแตกต่างกนั ตามจุดประสงคห์ ลกั ของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) แตล่ ะเล่มและประเภทหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) 3. รูปแบบปฏิสัมพนั ธ์ (Interaction Styles) เป็ นองค์ประกอบท่ีกาหนดรูปแบบและ วธิ ีการปฏิสมั พนั ธ์ที่ผอู้ ่านจะสามารถปฏิสัมพนั ธ์กบั หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ในแต่ละหนา้ เช่น การเฉลย การช่วยเหลือแนะนา การตรวจสอบ การสืบคน้ การบนั ทึก การรับคาสง่ั เป็นตน้
34 4. เคร่ืองอานวยความสะดวกแก่ผูอ้ ่าน (End-user Tools and Services) เป็ นองคป์ ระกอบยอ่ ย ที่มีผูอ้ ่านเลือกใช้เม่ือต้องการ เช่น Retrieval Tools; Browser; Notepad Facilities; Copy and Paste Facilities; Online Help; Tutorial Modes; Traces; Collectors; Back-track Facilities Navigation Tools เป็ นตน้ 5. ส่ือประสม (Multimedia) เป็นองคป์ ระกอบในการนาเสนอเน้ือหาในลกั ษณะสื่อประสม (หรือส่ือผสม) ซ่ึงเป็ นการสร้างสรรค์ในการนาเสนอเน้ือหาผสมผสานระหวา่ งเน้ือหาสาระท่ีเป็ น ตวั หนงั สือ (Text) ภาพน่ิง (Static Graphics) เสียง (Sound) และ ภาพเคลื่อนไหว (Motion Pictures) 6. สื่อเช่ือมโยง (Hypermedia) เป็นส่วนบนหนา้ จอท่ีสามารถเช่ือมโยงระหวา่ งเน้ือหา ภายในเล่มหรือหนา้ ตา่ ง ๆ ภายในเล่ม และแหล่งขอ้ มูลภายนอกเล่มผา่ นระบบเครือขา่ ย การออกแบบปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งหนงั สือกบั ผูอ้ ่านเป็ นการออกแบบรูปลกั ษณ์ของหน้า หนงั สือในแตล่ ะหนา้ ซ่ึงจะประกอบดว้ ยตวั หนงั สือ ภาพประกอบ การจดั หนา้ ท่ีจะเป็ นส่วนท่ีปรากฏ ใหผ้ อู้ ่านเห็นในแตล่ ะหนา้ ของหนงั สือ และเป็นส่วนที่สามารถปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งผอู้ ่านกบั หนงั สือ องคป์ ระกอบดา้ นน้ีจะมีความแตกต่างกนั ตามจุดประสงคห์ ลกั ของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) แต่ละเล่มประเภทหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ทาให้ผูเ้ รียนผูอ้ ่านสามารถปฏิสัมพนั ธ์กบั หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ในแต่ละหนา้ หลกั การในการออกแบบหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) หลักการในการออกแบบส่วนต่อประสานกับผูใ้ ช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สามารถสรุปไดด้ งั น้ี 1. ออกแบบใหเ้ รียบง่าย หลีกเล่ียงการออกแบบท่ีรกรุงรังหรือเตม็ ไปดว้ ยเน้ือหามาก เกินไปถา้ ผูอ้ อกแบบเองเริ่มไม่แน่ใจว่ามีความจาเป็ นหรือไม่ที่ตอ้ งใส่เน้ือหาบางอยา่ งลงไป ขอ้ แนะนา คือ หากไม่สาคญั กไ็ ม่จาเป็นตอ้ งใส่เน้ือหาบางอยา่ งลงไป 2. ออกแบบให้ยืดหยุ่น การออกแบบให้ผูเ้ รียนมีอิสระในการเขา้ ถึงเน้ือหาสาระ หลากหลายจะช่วยใหผ้ เู้ รียนรู้สึกวา่ ไดค้ วบคุมการเรียนรวมท้งั ทาใหไ้ ม่น่าเบื่อจนเกินไป 3. ควรออกแบบให้ผูใ้ ช้สามารถเขา้ ถึงสารสนเทศท่ีต้องการได้อย่างรวดเร็วโดย ไม่ตอ้ งการคลิกมากเกินไป การออกแบบโครงสร้างสารสนเทศล่วงหนา้ จะช่วยลดข้นั ตอนในการ เขา้ ถึงสารสนเทศของผเู้ รียน นอกจากน้ีควรมีการออกแบบการใชใ้ หเ้ หมาะสม 4. ออกแบบส่วนสาคญั ให้ครบ โดยเฉพาะหน้าแรกของหนังสือคือส่วนปกน้ันเอง ซ่ึงทาใหห้ นงั สือน่าสนใจ รูปแบบควรใหส้ มั พนั ธ์กบั เน้ือหา 5. กาหนดชื่อเร่ือง (Title) ของหน้าให้มีความหมาย การกาหนดชื่อเรื่องเป็ นสิ่งท่ีมี ประโยชน์มากสาหรับผเู้ รียน
35 6. ควรมีการสร้างเคร่ืองมือช่วยนาทาง (Navigation Aids) ที่ชดั เจนโดยมีการใช้ไอคอน และกราฟิ กหรือขอ้ ความสาหรับเชื่อมโยงท่ีคงท่ี (Consistent) และชดั เจนเพื่อให้ผูเ้ รียนเกิดความมนั่ ใจ วา่ จะสามารถนาทางไปในท่ี ๆ ตอ้ งการโดยไมเ่ สียเวลามากเกินไป 7. ใช้หัวกระดาษ (Header) หรือส่วนบนของหน้าและท้ายกระดาษ (Footer) หรือ ทา้ ยหนา้ ท่ีสม่าเสมอ การออกแบบหวั กระดาษและทา้ ยกระดาษที่สม่าเสมอจะทาให้ผูใ้ ชส้ ามารถ คน้ หาส่ิงท่ีตอ้ งการไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การหาเคร่ืองมือช่วยนาทาง เช่น เมนูลิงค์ ฯลฯ 8. ออกแบบในลกั ษณะให้ผูใ้ ชเ้ ป็ นศูนยก์ ลาง ควรออกแบบให้ผูใ้ ช้สามารถควบคุม การใชอ้ ยา่ งง่ายและสะดวกที่สุด โดยมีการใชส้ ่วนประสานในลกั ษณะของกราฟิ กเขา้ ช่วยหลีกเล่ียง การออกแบบที่หวือหวาแต่ไร้ประโยชน์เป็ นท่ีทราบกนั ดีกว่าในการออกแบบน้ันลูกเล่นท่ีได้รับ ความนิยมมาก ๆ มกั จะกลายเป็นส่ิงลา้ สมยั ไปไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 9. ควรออกแบบโดยคานึงถึงความคงท่ี (Consistency) และความเรียบง่าย (Simplicity) ดงั น้นั ส่วนต่อประสานควรใชภ้ าพหรือขอ้ ความท่ีสื่อความหมายชดั เจน คุน้ เคยและเป็ นเหตุเป็ นผล สาหรับผใู้ ช้ การออกแบบที่ใชภ้ าพเปรียบเทียบจะตอ้ งเป็นการเปรียบเทียบท่ีผใู้ ชร้ ู้สึกคุน้ เคย 10. ควรออกแบบให้ดูน่าเช่ือถือการออกแบบอย่างประณีตจะทาให้ผูใ้ ช้เช่ือถือ ในสารสนเทศท่ีนาเสนอ ในขณะเดียวกนั หนังสือท่ีออกแบบอย่างไม่พิถีพิถนั จะเต็มไปดว้ ยการ พิมพ์ที่ผิดพลาด ก็จะทาให้ผูใ้ ช้หมดความเชื่อถือได้ นอกจากน้ีควรทาการทดสอบ การทดสอบ การทางานใหม้ ีความน่าเชื่อถือดว้ ย ท้งั ในขณะท่ีออกแบบ และเม่ือนาออกใชง้ านแลว้ 11. ควรออกแบบโดยคานึงอุปกรณ์ในการเขา้ ถึงของผูใ้ ช้ กล่าวคือ หากผูใ้ ชส้ ่วนใหญ่ เป็ นผูใ้ ช้ที่มีอุปกรณ์เขา้ ถึงขอ้ มูลที่จากดั การออกแบบโดยใชข้ อ้ ความส่วนใหญ่เป็ นส่ิงท่ีเหมาะสม แต่หากผูใ้ หญ่เป็ นผูใ้ ชท้ ่ีมีการเขา้ ถึงขอ้ มูล มีความพร้อมดา้ นอุปกรณ์การออกแบบโดยใชก้ ราฟิ ก เป็ นสิ่งที่เหมาะสม การออกแบบหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ท่ีดีน้นั พอสรุปไดว้ า่ จะเป็ นผลดีท้งั ผูเ้ รียน และผสู้ อน ในดา้ นผเู้ รียนก็จะสามารถเรียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ผสู้ อนก็จะสอนไดง้ ่ายข้ึน การเลือกใช้หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ในการเลือกใชห้ นงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) มีเทคนิค ดงั น้ี 1. การเลือกใชห้ นงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) นบั วา่ เป็ นส่ิงสาคญั เพ่ือให้การเรียน การสอนบรรลุตามเป้าหมายที่ต้งั ไวจ้ ึงจาเป็ นตอ้ งเขา้ ใจคุณสมบตั ิเฉพาะตวั ของส่ือในแต่ละประเภท ใหค้ านึงถึงความเป็นไปไดว้ า่ ส่ือหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่จะใชจ้ ดั อยใู่ นประเภทใด โดยยึด หลกั เกณฑ์ในการเลือกส่ือการเรียนการสอน ดงั น้ี 1) เลือกให้เหมาะสมกบั จุดมุ่งหมาย เน้ือหาวิชา และวธิ ีสอน 2) เลือกใหเ้ หมาะสมกบั รูปแบบและระบบของการเรียนการสอน เช่น สอน เป็ นกลุ่มใหญ่
36 กลุ่มเล็ก หรือรายบุคคล ตามลกั ษณะและระบบที่ต่างกนั 3) เลือกให้เหมาะกบั ลกั ษณะของผูเ้ รียน เช่น เพศ ระดบั ความรู้ เจตคติของผเู้ รียน ฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจ เป็ นตน้ 4) เลือกตามคุณสมบตั ิ ของสื่อ 5) เลือกโดยคานึงถึงอุปกรณ์หรือสิ่งอานวยความสะดวกที่มีอยสู่ าหรับการใชส้ ่ือการสอนน้นั หลกั เกณฑ์ตามการจดั ระบบใชส้ ่ือการสอนในกระบวนการเรียนการสอนมีหลักพอ คือ เลือกตาม หลกั เกณฑ์ เตรียมพร้อมในด้านตวั ครู นกั เรียน สื่อการสอนและอุปกรณ์อื่น ๆ การนาไปใช้ตาม หลกั การที่เหมาะสม มีการสรุป และประเมินผล จดั กิจกรรมต่อเน่ือง หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) มีบทบาทในการศึกษาท้งั ในระบบโรงเรียน และนอกระบบโรงเรียนและการศึกษาตลอดชีวติ เพราะ การนาเอาหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) มาใชใ้ นการเรียนการสอนจะส่งผลใหก้ ารเรียนการสอน มีประสิทธิภาพมากข้ึน ประกอบกบั ความเจริญกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยแี ละการส่ือสารทาใหห้ นงั สือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) มีบทบาทสาคญั ควบคู่ไปกบั การศึกษาท้งั ในระบบโรงเรียน นอกระบบ โรงเรียน และการศึกษาทางไกล 2. องคป์ ระกอบดา้ นภาพ และกราฟิ กในการออกแบบหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) จากคากล่าวท่ีว่า “ภาพหน่ึงภาพมีคุณค่าเทียบได้กบั คาพูดหน่ึงพนั คา” การออกแบบสื่อการสอน ทุกประเภท ผูอ้ อกแบบจะใช้ภาพประกอบคาอธิบายหรือขอ้ ความเสมอซ่ึงภาพจะช่วยลดความ แตกตา่ งของผเู้ รียน เช่น เพศ ภูมิหลงั พ้ืนฐานวฒั นธรรม พ้ืนฐานดา้ นสังคม ฯลฯ ให้นอ้ ยลง ช่วยให้ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจไปในทิศทางเดียวกนั กระทรวงศึกษาธิการ. (2547 : 113) ไดศ้ ึกษาการรับรู้ภาพและคาของกลุ่มตวั อยา่ งจานวน มากและมีขอ้ สรุปเกี่ยวกบั การรับรู้จากภาพต่าง ๆ ซ่ึงมีความเหมือนจริงแตกต่างกนั ท้งั ภาพสี และ ขาวดา พบว่าภาพสีเหมือนจริงให้การรับรู้ไดด้ ีที่สุดในขณะท่ีภาพขาว-ดา เหมือนจริงให้ประสิทธิภาพ สูงสุดในกลุ่ม ขาว-ดา ดว้ ยกนั ส่วนใหญ่กลุ่มภาพสีเหมือนจริงยงั คงให้ประสิทธิภาพต่อการเรียนรู้ มากที่สุดเช่นกนั นอกจากการศึกษาเก่ียวกบั ความเหมือนจริงของภาพท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้แล้ว Dewyer ยงั ไดท้ าการศึกษาเก่ียวกบั การเรียนรู้ การจา และระลึกได้ มีขอ้ สรุปดงั น้ี 1. การเรียนรู้โดยการปฏิบตั ิจริง การเรียนรู้ 1% โดยการชิมรส 10% โดยการสัมผสั 11% โดยการไดย้ นิ 30% โดยการดมกล่ิน 83% โดยการมองเห็น
37 2. การรับรู้จากการจา การจา 10% จากส่ิงท่ีเราอ่าน 20% จากส่ิงท่ีไดย้ นิ 30% จากส่ิงที่ไดเ้ ห็น 50% จากสิ่งท่ีไดเ้ ห็นและจากส่ิงท่ีไดย้ นิ 70% จากส่ิงที่ไดพ้ ูด 90% จากส่ิงท่ีไดพ้ ูดและทา 3. จากการสอนเปรียบเทียบวธิ ีการสอน ตารางที่ 2.1 การสอนเปรียบเทยี บวธิ ีการสอน วธิ ีสอน ระลกึ ได้หลงั จากสอนแล้ว บอกใหท้ า 3 ชั่วโมง 3 วนั แสดงใหด้ ู บอกใหท้ าและแสดงใหด้ ู 70% 10% 72% 20% 85% 65% แต่ยงั มีงานวิจยั บางส่วนไม่ไดส้ นบั สนุนขอ้ สรุปดงั กล่าว เพราะยงั มีองค์ประกอบหลาย อยา่ งท่ีเก่ียวกบั ประสิทธิภาพ หรือภาพน้นั ๆ มีรายละเอียดนอ้ ยเกินไปหรือมากเกินไป หรือภาพกบั ขอ้ ความไมส่ มั พนั ธ์ ก็ทาใหป้ ระสิทธิภาพของการเรียนรู้ลดลงหรือสบั สนไดเ้ ช่นกนั ดงั น้นั การเลือกภาพประกอบการสอนจึงมีความสาคญั ต่อผูเ้ รียนอยา่ งมากนอกจากจะช่วย ทาใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจเน้ือหาไดม้ ากข้ึนแลว้ ยงั มีความจาในระยะยาวดีข้ึนและกลุ่มผูเ้ รียนมีความเขา้ ใจ ตรงกนั มากข้ึนแล้ว การใช้ภาพประกอบการสอนหรือการนาเสนอช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ดงั น้ี 1) ผูเ้ รียนมีความสนใจและต้งั ใจที่จะศึกษามากข้ึน มีแรงจูงใจเกิดความอยากรู้อยากเห็นและเกิดสมาธิ ในผเู้ รียน 2) ผสู้ ร้างสามารถใชภ้ าพเพือ่ การตอบสนอง หรือ ใหผ้ ลป้อนกลบั ไดเ้ ป็ นอยา่ งดี 3) ผูส้ ร้าง สามารถใช้ภาพเพ่ือสรุป การเสริมความรู้การอภิปรายหรือการจดั ความรู้ในส่วนที่เกี่ยวขอ้ งได้ 4) ผสู้ ร้างสามารถใชภ้ าพเพ่ือเป็ นรางวลั หรือเป็ นภาพสะสม 5) ผสู้ ร้างใชภ้ าพเพื่อกระตุน้ ความคิด หากความสัมพนั ธ์เชื่อมโยง 6) ผเู้ รียนไดเ้ ห็นส่ิงที่หาดูไดย้ าก หรือไมม่ ีโอกาสเห็นจากของจริงไดเ้ ลย 7) ทาใหก้ ารสอนหรือการอธิบายเน้ือหาที่เป็นนามธรรม หรือแนวคิดที่ซบั ซอ้ นไดง้ ่ายข้ึน ภาพที่นามาใช้ ประกอบบทเรียนมีหลายรูปแบบ ต้งั แต่ภาพถ่ายเหมือนจริงไปจนถึงภาพลายเส้นอยา่ งง่าย โดยท้งั หมด
38 อาจเรียกรวมง่าย ๆ วา่ ภาพกราฟิ กยกเวน้ ภาพถ่ายสี และขาวดา นอกจากน้ียงั สามารถแบ่งกลุ่มภาพ ตามลกั ษณะอ่ืน ๆ ได้อีกด้วย เช่น ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว และด้วยพฒั นาการของเทคโนโลยี การใชภ้ าพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ มีความสะดวกและรวดเร็วข้ึนมาก ประโยชน์ของหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ประโยชน์ของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) มีดงั น้ี 1. ผอู้ ่านสามารถอ่านผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือฮาร์ดแวร์ประเภทคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์พกพาอื่น ๆ ได้ 2. ผู้อ่านสามารถอ่านพร้อมกันได้โดยไม่ต้องรอให้อีกฝ่ ายส่ งคืนห้องสมุด เช่นเดียวกบั หนงั สือและอุปกรณ์พกพาอื่น ๆ ได้ 3. เน้ือหาสาระท้งั หมดเป็ นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในรูปสัญญาณดิจิตอลสามารถ บนั ทึกลงในแผน่ ซีดีรอม ปาลม์ บุค๊ หนงั สือในระบบเครือขา่ ย หรือส่ืออิเล็กทรอนิกส์รูปแบบอื่น ๆ 4. สามารถบนั ทึกขอ้ มูลไดใ้ นปริมาณมาก ๆ 5. สามารถเรียกอา่ นปรับปรุงแกไ้ ขได้ ทาสาเนาหรือโอนขอ้ มูลไดง้ ่ายและรวดเร็ว 6. ผูอ้ ่านสามารถอ่านและเรียนรู้เน้ือหาสาระในเล่มไดต้ ามความสนใจและความ แตกต่างแตล่ ะบุคคล 7. มีการเปิ ดโอกาสให้ผอู้ ่านไดฝ้ ึ กทกั ษะ หรือแบบฝึ กหดั หรือขอ้ คาถามสาหรับอ่าน หรือผูเ้ รียนสามารถสอบความรู้ความเขา้ ใจของตนเองจากโปรแกรมที่มีในหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ได้ 8. นาเสนอข้อมูลท่ีเป็ นตัวหนังสือและมีภาพประกอบ และเสียงอ่านประกอบ ในแต่ละตวั อกั ษร 9. นาเสนอข้อมูลในรู ปแบบภาพวีดีทัศน์ หรื อภาพยนตร์ส้ัน ผนวกกับข้อมูล สารสนเทศท่ีอยใู่ นรูปตวั หนงั สือ ผอู้ ่านสามารถเลือกชมศึกษาขอ้ มูลได้ 10. เสนอข้อมูลเน้ือหาสาระในลกั ษณะแบบส่ือผสมระหว่างหนังสือภาพ เป็ นท้งั ภาพนิ่งและภาพเคล่ือนไหวกบั ส่ือประเภทเสียง 11. คุณภาพประสิทธิภาพของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 11.1 ผูอ้ ่านสามารถอ่านพร้อมกันได้โดยไม่ตอ้ งรอให้อีกฝ่ ายส่งคืนห้องสมุด เช่นเดียวกบั หนงั สือในหอ้ งสมุดทว่ั ๆ ไป 11.2 สามารถบนั ทึกขอ้ มูลไดใ้ นปริมาณมาก ๆ 11.3 โอนขอ้ มูลไดง้ ่ายและรวดเร็ว
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200