Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย

ภาษาไทย

Published by laddawan.kk30, 2020-06-30 01:00:59

Description: ภาษาไทย

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรียนสาระความรูพ ืน้ ฐาน รายวชิ าภาษาไทย (พท31001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) หามจาํ หนาย หนงั สอื เรยี นเลมนี้ จัดพิมพด วยเงินงบประมาณแผน ดินเพ่อื การศกึ ษาตลอดชวี ติ สําหรับประชาชน ลขิ สิทธเิ์ ปน ของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สํานกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

หนงั สอื เรียนสาระความรพู ้ืนฐาน รายวชิ าภาษาไทย (พท31001) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ลิขสิทธเ์ิ ปน ของ สํานกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 3 /2555

3 คํานาํ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและ ความเชอื่ พื้นฐานในการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี นที่มกี ลมุ เปา หมายเปนผใู หญมกี ารเรยี นรูแ ละส่ังสมความรู และประสบการณอยา งตอเน่อื ง ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศกึ ษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือนนโยบาย ทางการศกึ ษา เพ่ือเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขนั ใหป ระชาชนไดมีอาชีพท่ีสามารถสราง รายไดท่ีม่ังค่ังและมั่นคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึก รับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวัง และเนื้อหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ใหมคี วามสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและสอดแทรกเน้ือหาสาระเก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม เพ่ือเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ กิจกรรม ทําแบบฝก หดั เพอื่ ทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภปิ รายแลกเปล่ียนเรยี นรูก ับกลุม หรือศึกษา เพม่ิ เตมิ จากภมู ปิ ญญาทอ งถ่ิน แหลง การเรยี นรแู ละสอื่ อนื่ การปรับปรุงหนงั สอื เรยี นในคร้ังน้ี ไดรบั ความรว มมอื อยางดียิ่งจากผทู รงคุณวฒุ ใิ นแตละสาขาวิชา และผูเก่ียวของในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อตาง ๆ มาเรียบเรยี งเนอ้ื หาใหครบถว นสอดคลอ งกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ตัวช้ีวัดและกรอบเนื้อหา สาระของรายวิชา สํานักงาน กศน. ขอขอบคุณผูมีสวนเก่ียวของทุกทานไว ณ โอกาสน้ี และหวังวา หนังสือเรียนชุดนี้จะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเก่ียวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะ ประการใด สํานักงาน กศน. ขอนอมรบั ดวยความขอบคณุ ยง่ิ

สารบัญ 4 คาํ นํา หนา คําแนะนาํ ในการใชห นังสือเรียน โครงสรา งรายวิชา 1 บทท่ี 1 การฟง การดู.............................................................................................. 2 5 เรอ่ื งท่ี 1 การเลือกส่ือในการฟงและดู................................................................. 11 เรอ่ื งท่ี 2 การวิเคราะห วจิ ารณเร่ืองทฟี่ งและดู.................................................. 14 เรื่องที่ 3 มารยาทในการฟงและดู ....................................................................... 15 บทท่ี 2 การพดู ................................................................................................... 16 เรอ่ื งที่ 1 มารยาทในการพดู ................................................................................ 17 เรือ่ งที่ 2 ลกั ษณะการพดู ที่ดี............................................................................... 39 เรื่องท่ี 3 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ......................................................................... 40 บทที่ 3 การอาน ................................................................................................... 40 เรือ่ งที่ 1 ความสาํ คัญของการอา น ...................................................................... เรอ่ื งที่ 2 วจิ ารณญาณในการอา น ....................................................................... 42 เรอ่ื งท่ี 3 การอา นแปลความ ตคี วาม การขยายความ 48 53 จบั ใจความหรอื สรุปความ .................................................................... 57 เร่ืองที่ 4 วรรณคดี.............................................................................................. 60 เรื่องที่ 5 หลกั การวจิ ารณวรรณกรรม ................................................................. 60 เรื่องที่ 6 ภาษาถิน่ .............................................................................................. 65 เรอ่ื งท่ี 7 สาํ นวน สภุ าษิต .................................................................................. 66 เร่ืองท่ี 8 วรรณกรรมทอ งถิน่ ............................................................................... 83 บทที่ 4 การเขยี น ................................................................................................... 91 เรอ่ื งท่ี 1 หลักการเขยี น ...................................................................................... 93 เรื่องที่ 2 หลักการแตง คาํ ประพนั ธ...................................................................... 94 เรอ่ื งท่ี 3 มารยาทและนิสยั รกั การเขียน.............................................................. 107 บทที่ 5 หลักการใชภ าษา.................................................................................................. 111 เรอ่ื งที่ 1 ธรรมชาตขิ องภาษา.............................................................................. เรือ่ งท่ี 2 ถอ ยคําสํานวน สุภาษติ คาํ พงั เพย ..................................................... เรื่องท่ี 3 การใชพ จนานุกรมและสารานกุ รม .......................................................

เร่ืองท่ี 4 คําราชาศพั ท........................................................................................ 5 บทท่ี 6 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ ....................................................... 116 เรอื่ งที่ 1 คุณคา ของภาษาไทย............................................................................. 121 เรอ่ื งที่ 2 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี .............................................. 122 เร่ืองท่ี 3 การเพ่มิ พูนความรแู ละประสบการณท างดา นภาษาไทย 122 เพ่ือการประกอบอาชพี ......................................................................... 132 บรรณานกุ รม ............................................................................................................ 134 คณะผจู ัดทํา ............................................................................................................ 136

6 คําแนะนาํ ในการใชหนงั สือเรียน หนังสือเรียนสาระความรูพ้ืนฐาน รายวิชาภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนังสือเรยี นทจ่ี ดั ทําขึน้ สาํ หรับผเู รียนท่เี ปน นกั ศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายผเู รยี น ควรปฏิบัติ ดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิขาใหเขา ใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และ ขอบขา ยเนอื้ หาของรายวิชานั้น ๆ โดยละเอยี ด 2. ศกึ ษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด ทํากิจกรรม แลวตรวจสอบกับแนวตอบ กจิ กรรม ถา ผเู รียนตอบผิดควรกลบั ไปศึกษาและทําความเขา ใจในเนื้อหานั้นใหมใ หเ ขา ใจ กอนท่ีจะศึกษา เรอ่ื งตอ ๆ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเร่ืองของแตล ะเร่ือง เพื่อเปน การสรุปความรู ความเขา ใจของเนื้อหา ในเรื่องนัน้ ๆ อีกครั้ง และการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของแตล ะเน้อื หา แตล ะเรือ่ ง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบ กบั ครแู ละเพ่อื น ๆ ทรี่ วมเรยี นในรายวิชาและระดบั เดียวกันได 4. หนงั สือเรียนเลมน้ีมี 6 บท บทที่ 1 การฟง การดู บทท่ี 2 การพดู บทท่ี 3 การอา น บทท่ี 4 การเขียน บทที่ 5 หลักการใชภาษา บทที่ 6 ภาษาไทยกับชอ งทางการประกอบอาชพี

7 โครงสรา งรายวชิ าภาษาไทย (พท31001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย สาระสําคญั 1. การอา นเปนทักษะทางภาษาท่ีสําคญั เพราะชวยใหสามารถรับรขู าวสารและเหตุการณต าง ๆ ของสงั คม ทําใหป รบั ตวั ไดก บั ความเจรญิ กาวหนาทางวิทยาการตา ง ๆ สามารถวิเคราะห วิจารณ และนํา ความรูไปใชในชีวิตประจาํ วัน 2. การเขยี นเปนการส่ือสารทจ่ี ัดระบบความคดิ การเลอื กประเดน็ การเลือกสรรถอยคาํ เพ่ือถา ยทอด เปนตวั อักษรในการส่ือความรู ความคดิ ประสบการณ อารมณ ความรสู กึ จากผูเขียนไปยงั ผอู า น 3. การฟง การดู และการพูด เปน ทักษะท่ีสําคัญของการสื่อสารในการดําเนินชีวิตประจําวัน จงึ จาํ เปนตองเขาใจหลักการเบ้ืองตน และตอ งคํานึงถึงมารยาทในการฟง การดแู ละการพดู ดว ย 4. การใชภาษาไทยใหถ กู ตองตามหลักภาษา ทาํ ใหเ กดิ ความภาคภูมิใจในภูมิปญญาของคนไทย จงึ ตระหนักถึงความสําคญั ของภาษาและตอ งอนุรกั ษภ าษาไทยไวเ ปน สมบตั ขิ องชาตสิ ืบตอไป 5. การใชทกั ษะทางภาษาไทยในการแสวงหาความรู การเขาใจระดับของภาษาสามารถใชค ําพูด และเขยี นไดด ี ทําใหเ กดิ ประโยชนต อตนเองและสวนรวม 6. วรรณคดีไทยเปน มรดกของภาษาและวัฒนธรรมท่ีมีคุณคา เปนมรดกทางปญญาของคนไทย แสดงถึงความรงุ เรอื งของวัฒนธรรมทางภาษา เปน การเชิดชคู วามเปน อารยะของชาติ ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง เม่ือศึกษาชดุ วชิ าแลว ผูเรยี นสามารถ 1. จับใจความสําคัญ และเลา เร่ืองได ตีความได อานในใจและอานออกเสียง วิเคราะห วิจารณ ประเมินคาได เลือกหนงั สอื และสารสนเทศไดแ ละมีมารยาทในการอา นและมีนสิ ัยรักการอา น 2. อธิบายการเขียนเบ้ืองตนได เขียนเรียงความ ยอความ เขียนจดหมาย เขียนโตแยง เขียน รายงาน เขียนคําขวัญ เขียนประกาศ เขยี นเชิญชวน กรอกแบบรายการ แตงคําประพนั ธ บอกคุณคาของ ถอ ยคําภาษาและสามารถเลอื กใชถอยคาํ ในการประพนั ธ เขียนอา งองิ เขยี นเลขไทยไดถ กู ตองสวยงาม 3. บอกหลักเบอ้ื งตน และจดุ มงุ หมายของการฟง การดูและการพดู ได และสามารถพูดในโอกาส ตาง ๆ ได 4. บอกลักษณะสําคัญของภาษาและการใชภ าษาในการสื่อการ ใชพจนานุกรมและสารานุกรม ในชีวติ ประจาํ วันได 5. บอกชนดิ และหนา ทีข่ องคาํ ประโยค และนําไปใชไดถกู ตอง 6. ใชเครื่องหมายวรรคตอน อักษรยอ คําราชาศพั ท หลักการประชมุ การอภปิ ราย การโตว าที

8 7. บอกความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม องคประกอบและรูปแบบลักษณะเดนของ วรรณคดีได 8. บอกความหมายของวรรณกรรมมุขปาฐะ และวรรณกรรมลายลักษณไ ด 9. บอกความหมายและลกั ษณะเดนของวรรณกรรมทอ งถ่นิ ประเภทรูปแบบของวรรณกรรมไทย ปจจุบันได 10.อา นวรรณคดแี ละวรรณกรรม บอกแนวความคิด คา นยิ ม คณุ คาหรอื แสดงความคดิ เห็นได 11.บอกลักษณะสาํ คัญและคณุ คา ของเพลงพืน้ บาน และบทกลอ มเด็กพรอ มทั้งรองเพลงพ้ืนบา น และบทกลอ มเดก็ ได ขอบขา ยเน้อื หา บทที่ 1 การฟง การดู บทท่ี 2 การพูด บทท่ี 3 การอา น บทท่ี 4 การเขยี น บทท่ี 5 หลักการใชภ าษา บทท่ี 6 วรรณคดีและวรรณกรรม บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ชองทางการประกอบอาชีพ

1 บทท่ี 1 การฟง การดู สาระสําคญั การฟง และดูสารประเภทตาง ๆ อยา งถูกวธิ ีมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู ความคดิ ความรสู กึ ในโอกาสตา ง ๆ อยา งเหมาะสมจะทาํ ใหไ ดรบั ความรู ความเขา ใจ นําไปใชป ระโยชนในชวี ิตประจําวันได ผลการเรียนรูท ี่คาดหวงั เม่ือศึกษาจบบท แลวคาดหวงั วา ผูเรยี นจะสามารถ 1. นําความรไู ปเปน ขอมลู ในการตดั สินใจเลอื กสอ่ื ในการฟงและดู 2. แสดงความคิดเห็น วเิ คราะห วิจารณ เรื่องทีฟ่ ง และดไู ด 3. มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู และสรุปสาระสาํ คัญของเรือ่ งท่ีฟง และดไู ด ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่อื งที่ 1 การเลือกสื่อในการฟงและดู เร่ืองท่ี 2 การวิเคราะห วิจารณ เรอื่ งทฟ่ี ง และดู เรอ่ื งท่ี 3 มารยาทในการฟง และดู

2 เรอ่ื งท่ี 1 การเลอื กส่อื ในการฟง และดู สังคมปจจบุ นั ชอ งทางการนําเสนอขอมลู ใหด แู ละฟงจะมีมากมาย ดงั น้นั ผเู รียนควรรจู ักเลือกท่ีจะ ดูและฟง เม่ือไดร ับรูขอ มูลแลว การรูจ ักวิเคราะห วิจารณ เพ่ือนําไปใชใ นทางสรางสรรค เปน ส่ิงจําเปน เพราะผลท่ีตามมาจากการดูและฟง จะเปนผลบวกหรือลบแกสังคม ก็ขึ้นอยูกับการนําไปใช น่ันคือผลดี จะเกิดแกสงั คมกเ็ มือ่ ผูด แู ละฟงนําผลท่ไี ดน้นั ไปใชอ ยา งสรางสรรค หรือในปจจบุ นั จะมสี ํานวนทใ่ี ชกัน อยางแพรหลายวาคิดบวก เม่ือรูจักหลักในการฟงและดูแลว ควรจะรูจักประเภท เพื่อแยกแยะในการนําไปใชป ระโยชน ซง่ึ อาจสรุปประเภทการแยกแยะประเภทของส่ือในการนาํ ไปใชประโยชน มดี ังนี้ 1. สอื่ โฆษณา ส่อื ประเภทน้ผี ูฟงตองรจู ดุ มุง หมาย เพราะสวนใหญจะเปนการสื่อใหค ลอยตาม อาจไมส มเหตุสมผล ผฟู งตองพิจารณาไตรตรองกอ นซ้อื หรือกอ นตัดสินใจ 2. สอ่ื เพ่อื ความบนั เทิง เชน เพลง, เร่อื งเลา ซง่ึ อาจมกี ารแสดงประกอบดวย เชน นิทาน นิยาย หรือสือ่ ประเภทละคร สอื่ เหลา นผี้ รู บั สารตอ งระมัดระวัง ใชวิจารณญาณประกอบการตัดสินใจกอนที่จะ ซ้ือหรือทําตาม ปจ จุบันรายการโทรทัศนจ ะมีการแนะนําวาแตละรายการเหมาะกับกลุม เปาหมายใด เพราะเช่ือกันวา ถาผูใ ดขาดความคิดในเชิงสรา งสรรคแ ลว ส่ือบันเทิงอาจสงผลรา ยตอสังคมได เชน ผูด ู เอาตวั อยา งการจ,ี้ ปลน, การขม ขืนกระทําชําเรา และแมแ ตการฆาตวั ตาย โดยเอาอยางจากละครท่ีดูก็เคย มีมาแลว 3. ขา วสาร ส่ือประเภทน้ีผูรับสารตองมีความพรอมพอสมควร เพราะควรตอ งรูจักแหลงขา ว ผูนําเสนอขา ว การจับประเด็น ความมีเหตุมีผล รูจ ักเปรียบเทียบเนื้อหาจากที่มาของขา วหลาย ๆ แหง เปน ตน 4. ปาฐกถา เน้อื หาประเภทนีผ้ รู ับสารตอ งฟง อยา งมีสมาธิเพ่ือจับประเด็นสําคัญใหไ ด และกอ น ตดั สินใจเชอ่ื หรือนาํ ขอมูลสวนใดไปใชป ระโยชนตองมคี วามรพู นื้ ฐานในเร่ืองน้ัน ๆ อยบู า ง 5. สนุ ทรพจน ส่อื ประเภทน้ีสว นใหญจะไมย าว และมใี จความที่เขา ใจงาย ชัดเจน แตผูฟ งจะตอ ง รูจกั กลนั่ กรองส่ิงทดี่ ีไปเปนแนวทางในการปฏิบัติ หลกั การฟงและดูอยางสรา งสรรค 1. ตองเขาใจความหมายหลักเบื้องตนของการจับใจความของสารที่ฟงและดูน้ัน ตองเขาใจ ความหมายของคาํ สาํ นวนประโยคและขอ ความทีบ่ รรยายหรืออธิบาย 2. ตองเขา ใจลักษณะของขอ ความ ขอความแตล ะขอ ความตอ งมีใจความสําคัญของเรื่องและ ใจความสาํ คญั ของเรื่องจะอยูท่ีประโยคสําคญั ซึ่งเรียกวา ประโยคใจความ ประโยคใจความจะปรากฏอยูใ น ตอนใดตอนหนึง่ ของขอความ โดยปกตจิ ะปรากฏอยใู นตอนตน ตอนกลาง และตอนทาย หรอื อยตู อนตน

3 และตอนทา ยของขอความผูร ับสารตองรูจกั สงั เกต และเขาใจการปรากฏของประโยคใจความในตอนตา ง ๆ ของขอความ จงึ จะชวยใหจ บั ใจความไดด ยี ิ่งขน้ึ 3. ตอ งเขา ใจในลักษณะประโยคใจความ ประโยคใจความ คือขอ ความที่เปน ความคิดหลัก ซึ่งมักจะมีเนื้อหาตรงกับหัวขอเร่ือง เชน เรื่อง “สุนัข” ความคิดหลักคือ สุนัขเปนสัตวเ ลี้ยงที่รักเจาของ แตก ารฟงเรื่องราวจากการพดู บางทีไมม ีหัวขอ แตจ ะพูดตามลําดบั ของเน้อื หา ดังนั้น การจบั ใจความสําคัญ ตอ งฟงใหต ลอดเรอื่ งแลวจับใจความวา พูดถึงเร่ืองอะไร คือจับประเด็นหัวเรื่อง และเรื่องเปนอยางไรคือ สาระสําคัญหรอื ใจความสาํ คัญของเร่อื งนั่นเอง 4. ตอ งรูจ ักประเภทของสาร สารที่ฟงและดูมีหลายประเภท ตองรูจักและแยกประเภทสรุปของ สารไดวา เปน สารประเภทขอเท็จจริง ขอ คิดเห็นหรือเปนคําทักทายปราศรัย ขา ว ละคร สารคดี จะได ประเดน็ หรือใจความสําคญั ไดง าย 5. ตองตีความในสารไดต รงตามเจตนาของผูส ง สาร ผูสงสารมีเจตนาท่ีจะสงสารตาง ๆ กับบางคนตอ งการใหความรู บางคนตองการโนม นาวใจ และบางคนอาจจะตองการสง สาร เพ่ือสื่อความ หมายอื่น ๆ ผูฟง และดตู อ งจับเจตนาใหไ ด เพ่อื จะไดจบั สารและใจความสําคญั ได 6. ต้ังใจฟง และดใู หต ลอดเรื่อง พยายามทําความเขาใจใหตลอดเร่ือง ย่ิงเรื่องยาวสลับซับซอน ยง่ิ ตองตั้งใจเปนพิเศษและพยายามจับประเด็นหัวเรอ่ื ง กริยาอาการ ภาพและเคร่ืองหมายอืน่ ๆ ดวยความต้ังใจ 7. สรุปใจความสําคัญ ขั้นสุดทายของการฟง และดูเพ่ือจับใจความสําคัญก็คือ สรุปใหไดว า เรอื่ งอะไร ใคร ทําอะไร ทไ่ี หน เมื่อไร อยางไรและทําไม หรือบางเรื่องอาจจะสรุปไดไมครบทั้งหมด ทั้งน้ี ยอ มข้นึ กบั สารท่ฟี ง จะมใี จความสาํ คญั ครบถวนมากนอ ยเพียงใด วิจารณญาณในการฟง และดู พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถานไดใ หความหมายของ วิจารณญาณไวว าปญญาที่สามารถรู หรือใหเ หตุผลท่ีถูกตอ ง คํานี้มาจากคําวา วิจารณ ซ่ึงแปลวา การคิดใครค รวญโดยใชเ หตุผลและคําวา ญาณ ซึ่งแปลวา ปญญาหรอื ความรใู นชน้ั สงู วิจารณญาณในการฟงและดู คือ การรับสารใหเ ขา ใจเนื้อหาสาระโดยอาศัยความรู ความคิด เหตุผล และประสบการณประกอบการใชป ญ ญาคิดใครค รวญแลวสามารถนาํ ไปใชไ ดอ ยา งเหมาะสม การฟง และดูใหเกิดวิจารณญาณนั้นมีขั้นตอนในการพัฒนาเปน ลําดับบางทีก็อาจเปน ไปอยา ง รวดเร็ว บางทีก็ตอ งอาศัยเวล ท้ังน้ี ยอ มขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ประสบการณของบุคคลและ ความยุงยากซบั ซอนของเรื่องหรอื สารท่ีฟง ข้นั ตอนการฟง และดอู ยางมีวจิ ารณญาณ มีดงั นี้ 1. ฟงและดูใหเ ขาใจเรอ่ื ง เมอื่ ฟงเร่ืองใดกต็ ามผฟู ง จะตองต้งั ใจฟงเร่ืองนั้นใหเขาใจตลอดเร่ือง ใหร ูวา เนือ้ เร่อื งเปน อยางไร มสี าระสาํ คญั อะไรบาง พยายามทาํ ความเขา ใจรายละเอียดทง้ั หม

4 2. วเิ คราะหเ ร่ือง จะตองพิจารณาวา เปนเร่ืองประเภทใด เปน ขา ว บทความ เรอ่ื งส้นั นิทานนยิ าย บทสนทนา สารคดี ละคร และเปนรอ ยแกวหรอื รอ ยกรอง เปน เร่อื งจริงหรอื แตงขึ้น ตอ งวิเคราะหล ักษณะ ของตัวละคร และกลวิธใี นการเสนอสารของผสู ง สารใหเขา ใจ 3. วินิจฉัยเร่ือง คือ การพิจารณาเรื่องที่ฟงวาเปนขอเท็จจริง ความรูสึกความคิดเห็นและผูสง สารหรือผพู ูดผแู สดงมีเจตนาอยางไรในการพูดการแสดง อาจจะมเี จตนาทจี่ ะโนมนา วใจหรอื แสดงความคิดเห็น เปนเร่ืองท่ีมีเหตมุ ผี ล มีหลักฐานนา เชอื่ ถอื หรือไมแ ละมคี ณุ คา มปี ระโยชนเ พียงใด สารที่ใหความรู สารท่ีใหความรูบางครั้งก็เขา ใจงา ย แตบ างคร้ังท่ีเปน เรื่องสลับซับซอนก็จะเขาใจยาก ตองใช การพินิจพิเคราะหอยางลึกซ้ึง ท้ังน้ียอ มข้ึนกับเร่ืองที่เขา ใจงา ยหรือเขาใจยาก ผูร ับมีพ้ืนฐานในเร่ืองที่ ฟง เพียงใด ถาเปน ขา วหรือบทความเก่ยี วกบั เกษตรกรผูมีอาชีพเกษตรยอ มเขา ใจงา ย ถา เปนเร่ืองเกี่ยวกับ ธรุ กิจนกั ธรุ กจิ กจ็ ะไดเขาใจงายกวาผูม ีอาชพี เกษตร และผพู ูดหรือผสู ง สารกม็ ีสวนสาํ คญั ถามีความรูในเรอื่ ง นั้นเปน อยางดีรูว ธิ ีพดู นาํ เสนอผฟู ง ก็จะเขา ใจไดง าย ขอ แนะนาํ ในการฟงและดูที่ใหความรูโ ดยใชว จิ ารณญาณ มดี ังนี้ 1. เมอ่ื ไดร บั สารทีใ่ หความรูเรื่องใดตองพิจารณาวา เรอื่ งนั้นมคี ณุ คาหรือมีประโยชน ควรแกการใช วิจารณญาณมากนอ ยเพียงใด 2. ถา เรอื่ งที่ตองใชว จิ ารณญาณไมวา จะเปนขา ว บทความ สารคดีขา ว หรือความรูเรื่องใดก็ตาม ตอ งฟง ดว ยความตง้ั ใจจับประเดน็ สาํ คัญใหได ตองตคี วามหรือพินิจพิจารณาวา ผูส งสารตอ งการสงสารถึง ผรู บั คืออะไร และตรวจสอบหรอื เปรยี บเทยี บกับเพื่อนๆ ทีฟ่ งรว มกนั มาวาพจิ ารณาไดต รงกันหรอื ไมอ ยางไร หากเห็นวา การฟงและดูของเราตา งจากเพ่ือน ดอยกวาเพื่อน จะไดปรับปรุงแกไ ขใหการฟง พัฒนาข้ึน มปี ระสิทธิภาพตอ ไป 3. ฝก การแยกแยะขอ เท็จจริง ขอคิดเห็น เจตคติของผูพูดหรือแสดงที่มีตอ เร่ืองที่พูดหรือแสดง และฝกพจิ ารณาตัดสนิ ใจวา สารท่ฟี งและดูน้นั เช่ือถือไดห รือไม และเชื่อถือไดม ากนอ ยเพียงใด 4. ขณะทฟี่ ง ควรบนั ทึกสาระสําคัญของเรอื่ ง ตลอดทงั้ ประเด็นการอภิปรายไวเพ่ือนําไปใช 5. ประเมินสารที่ใหค วามรูว า มีความสําคัญมีคุณคาและประโยชนม ากนอยเพียงใด มีแงค ิด อะไรบา ง และผูสงสารมีกลวิธใี นการถา ยทอดทีด่ นี า สนใจอยา งไร 6. นําขอคิด ความรูและกลวิธีตาง ๆ ท่ีไดจากการฟงไปใช ในการดําเนินชีวิตประจําวัน การประกอบอาชีพและพฒั นาคุณภาพชีวิต พัฒนาชมุ ชนและสังคมไดอ ยา งเหมาะสม สารทโี่ นม นา วใจ สารท่ีโนมนาวใจเปนสารที่เราพบเห็นประจําจากส่ือมวลชน จากการบอกเลา จากปากหนึ่งไปสู ปากหนงึ่ ซึง่ ผสู ง สารอาจจะมีจุดมุงหมายหลายอยา งท้ังที่ดี และไมดี มีประโยชนห รือใหโทษ จุดมุง หมาย

5 ที่ใหป ระโยชน ก็คอื โนมนาวใจใหรักชาติบา นเมอื ง ใหใชจายอยางประหยดั ใหรักษาส่ิงแวดลอ ม ใหรักษา สาธารณสมบัติและประพฤติแตสง่ิ ทด่ี ีงาม ในทางตรงขามผสู ง สารอาจจะมจี ุดมงุ หมายใหเ กดิ ความเสยี หาย มุง หมายทจี่ ะโฆษณาชวนเช่ือหรอื ปลกุ ปน ยุยงใหเ กิดการแตกแยก ดังนั้น จึงตอ งมีวิจารณญาณ คิดพิจารณา ใหด ีวาสารนั้นเปน ไปในทางใด การใชว ิจารณญาณสารโนม นาวใจ ควรปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. สารนั้นเรียกรองความสนใจมากนอ ยเพียงใด หรือสรา งความเชื่อถอื ของผูพดู มากนอยเพยี งใด 2. สารทีน่ าํ มาเสนอน้นั สนองความตองการพน้ื ฐานของผูฟ งและดอู ยางไรทําใหเกดิ ความปรารถนาหรือความวา วุนขึ้นในใจมากนอยเพียงใด 3. สารไดเ สนอแนวทางท่ีสนองความตองการของผฟู ง และดหู รือมีสง่ิ ใดแสดงความเห็นวา หากผูฟง และดูยอมรับขอ เสนอนนั้ แลว จะไดร บั ประโยชนอะไร 4. สารทน่ี ํามาเสนอนน้ั เรา ใจใหเ ชื่อถอื เกย่ี วกบั สิง่ ใด และตองการใหค ิดหรือปฏิบัตอิ ยางไรตอไป 5. ภาษาทใี่ ชใ นการโนมนาวใจนน้ั มีลกั ษณะทําใหผ ฟู ง เกิดอารมณอ ยางไรบา ง สารทจี่ รรโลงใจ ความจรรโลงใจ อาจไดจากเพลง ละคร ภาพยนตร คําประพันธ สุนทรพจน บทความบางชนิด คําปราศรัย พระธรรมเทศนา โอวาท ฯลฯ เมื่อไดร ับสารดังกลาวแลวจะเกิดความรูสึกสบายใจ สุขใจ คลายเครียด เกิดจนิ ตนาการ มองเห็นภาพและเกดิ ความซาบซง้ึ สารจรรโลงใจจะชวยยกระดับจิตใจมนุษย ใหสงู ขน้ึ ประณตี ขนึ้ ในการฝกใหม ีวิจารณญาณในสารประเภทน้ี ควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ฟงและดดู ว ยความตั้งใจ แตไมเครง เครียด ทาํ ใจใหสบาย 2. ทําความเขา ใจในเนอ้ื หาทส่ี ําคัญ ใชจ นิ ตนาการไปตามจุดประสงคข องสารนัน้ 3. ตองพิจารณาวา สิ่งท่ฟี งและดใู หความจรรโลงในดา นใด อยางไรและมากนอ ยเพยี งใด หากเรื่อง นั้นตอ งอาศยั เหตผุ ล ตอ งพิจารณาวา สมเหตสุ มผลหรอื ไม 4. พิจารณาภาษาและการแสดง เหมาะสมกบั รูปแบบเนื้อหาและผูรบั สารหรอื ไมเ พยี งใด เรื่องที่ 2 การวิเคราะห วิจารณเ ร่ืองท่ีฟง และดู ความหมายของการวเิ คราะห การวนิ ิจและการวิจารณ การวิเคราะห หมายถึง การที่ผูฟงและผูดูรับสารแลว พิจารณาองคประกอบออกเปน สว น ๆ นาํ มาแยกประเภท ลกั ษณะ สาระสาํ คัญของสาร กลวธิ ีการเสนอและเจตนาของผสู ง สาร การวินิจ หมายถึง การพิจารณาสารดวยความเอาใจใส ฟง และดูอยา งไตรตรองพิจารณา หาเหตผุ ลแยกแยะขอดขี อ เสยี คณุ คาของสาร ตคี วามหมายและพิจารณาสํานวน ภาษา ตลอดจนน้ําเสียง และการแสดงของผสู ง สาร พยายามทาํ ความเขาใจความหมายท่ีแทจริง เพื่อใหไดป ระโยชนต ามวัตถุประสงค ของผูว ินจิ

6 การวิจารณ หมายถงึ การพจิ ารณาเทคนคิ หรือกลวิธที ่ีแสดงออกมานัน้ ใหเ ห็นวา นา คิด นาสนใจ นาติดตาม มชี นั้ เชงิ ยอกยอนหรอื ตรงไปตรงมา องคประกอบใดมคี ุณคา นาชมเชย องคป ระกอบใดนาทว งติง หรอื บกพรองอยางไร การวจิ ารณสง่ิ ใดกต็ ามจงึ ตอ งใชความรูม เี หตมุ ผี ล มีหลกั เกณฑและมีความรอบคอบดว ย ตามปกติแลว เมอ่ื จะวิจารณสงิ่ ใด จะตอ งผานขั้นตอนและกระบวนการของการวิเคราะหสาร วินิจสาร และประเมินคาสาร ใหชัดเจนเสียกอนแลว จึงวิจารณแ สดงความเห็น ออกมาอยา งมีเหตุมีผล ใหนาคิด นาฟง และเปนคาํ วจิ ารณท ี่เชอื่ ถือได การวจิ ารณ ทีร่ ับฟงมาก็เชน เดียวกนั ตอ งผานการวิเคราะห วนิ จิ และประเมินคา สารน้ันมากอน และการวิจารณแ สดงความคิดเห็นที่จะทําไดอ ยางมีเหตุมีผลนาเช่ือถือน้ัน ผูรับสารจะตอ งรูห ลักเกณฑ การวิจารณแ สดงความคดิ เหน็ ตามชนิดของสาร เพราะสารแตล ะชนิด ยอมมีองคประกอบเฉพาะตัว เชน ถาเปน ขา วตองพิจารณาความถูกตองตามความเปน จริง แตถ า เปน ละครจะดูความสมจริง และพิจารณา โครงเรอ่ื ง เนอื้ เร่อื ง ฉาก ตวั ละคร ภาษาทีใ่ ช บทบาทการแสดง ฯลฯ นอกจากรูห ลักเกณฑแลว จะตองอาศยั การฝก ฝนบอ ย ๆ และอานตัวอยางงานวิจารณข องผูอ่ืนท่ีเชี่ยวชาญใหมาก ก็จะชวยใหการวิจารณด ี มเี หตผุ ลและนาเช่ือถอื หลกั การวจิ ารณแ ละแสดงความคดิ เห็นสารประเภทตาง ๆ สารทไ่ี ดร บั จากการฟง มมี ากมาย แตที่ไดร ับเปน ประจาํ ในชีวิตประจาํ วนั ไดแ ก 1. ขา วและสารประชาสมั พนั ธ 2. ละคร 3. การสนทนา คําสัมภาษณบคุ คล 4. คาํ ปราศรยั คาํ บรรยาย คํากลา วอภิปราย คาํ ใหโอวาท 5. งานประพนั ธร อ ยกรองประเภทตาง ๆ หลักเกณฑการวิจารณส ารท่ีไดรบั ตามชนิดของสาร 1. ขาวและสารประชาสัมพันธ สารประเภทน้ีผูร ับสารจะไดรับจากวิทยุ โทรทัศน ซ่ึงจะ เสนอขา วจากหนวยงานประชาสัมพันธข องภาครัฐและเอกชน รูปแบบของการเสนอขาว โดยท่ัวไป จะประกอบดวย หัวขอขา ว เน้ือและสรุปขา ว โดยจะเริ่มตน ดวย หัวขอขา วท่ีสําคัญแลว ถึงจะเสนอ รายละเอยี ดของขาวและตอนทายกอนจบ จะสรุปขาว หรือบางคร้ังจะเสนอลักษณะการสรุปขา วประจํา สปั ดาหเ ปน รายการหน่ึงโดยเฉพาะ สว นสารประชาสัมพันธอ าจมรี ปู แบบทแ่ี ปลกออกไปหลายรปู แบบ เชน เสนอสาระในรปู แบบของขา ว ประกาศแจงความหรือโฆษณาแบบตาง ๆ ในการวิจารณ ควรพิจารณาตาม หลกั เกณฑ ดงั น้ี 1.1 แหลงขา วที่มาของขา วและสารประชาสัมพันธ ผูวิจารณจะตองดูวาแหลง ของขาวหรือ สารประชาสัมพันธนั้นมาจากไหนจากหนวยงานใด เปนหนว ยงานของรัฐหรือเอกชนหนวยงานหรือ สถาบนั น้นั นาเช่ือถอื มากนอ ยเพยี งใด

7 1.2 เนื้อหาของขา วและสารประชาสัมพันธ ผูรับสารตองพิจารณาวา สารน้ันมีเนื้อหา สมบรู ณหรือไม คอื เม่ือถามดวยคําถามวา ใคร ทําอะไร ทีไ่ หน เม่อื ไร อยางไรแลวผูฟงสามารถหาคาํ ตอบได ครบถวน และสามารถสรุปสาระสําคัญไดด ว ย 1.3 พิจารณาทบทวนวาเน้ือหาของขา วและสารประชาสัมพันธท่ีนําเสนอเปนความจริง ท้งั หมด หรือมกี ารแสดงความรสู กึ ความคิดเหน็ ของผสู งสารแทรกมาดวย 1.4 พิจารณาภาษาทใี่ ชทั้งความถูกตอ งของการใชภ าษา ศลิ ปภาษาและดานวรรณศลิ ป 2. ละคร ภาพยนตร สารประเภทละครจะฟงไดจ ากละครวิทยุ และโทรทัศนเสียเปน สวนใหญ สว นละครเวทนี ั้นมีโอกาสไดด ไู ดฟ งนอยมาก ซ่งึ หลกั การวจิ ารณล ะครมแี นวทาง ดังน้ี 2.1 ดคู วามสมจรงิ ของผูแสดงตามบทบาททีไ่ ดรับวา ใชนํา้ เสียงสมจริงตามอารมณ ความรสู กึ ของตัวละครนัน้ ๆ มากนอ ยเพยี งใด 2.2 พิจารณาโครงเรื่อง แกนของเรื่องวา มีโครงเรื่องเปน อยา งไร สรุปสาระสําคัญหรือ แกน ของเรอ่ื งใหไ ด 2.3 ฉากและตัวละคร มีฉากเหมาะสมสอดคลอ งกับเนื้อเรื่อง เหมาะสมกับบรรยากาศ และตัวละครแตล ะตัวมีลกั ษณะเดน หรอื ใหอ ะไรกับผฟู ง 2.4 ภาษาท่ีใชถ กู ตองเหมาะสมตามหลักการใชภ าษา ศิลปะภาษาและดานวรรณศิลป 3. การสนทนาและคาํ สมั ภาษณบคุ คล การสนทนาและคําสัมภาษณบ ุคคลในวทิ ยแุ ละโทรทศั น เปนสารท่ีไดฟง กันเปน ประจํา ผูร ว มสนทนาและใหส ัมภาษณก็เปน คนหลากหลายระดับและอาชีพ การสนทนาและ การวเิ คราะหม ีหลักในการพิจารณา ดังน้ี 3.1 การสนทนาในชีวิตประจาํ วนั ก. การสนทนา เปนเร่อื งอะไรและมสี าระสําคญั วา อยา งไร ข. สาระสาํ คญั ของการสนทนาท่สี รุปไดเ ปนความจริงและนา เช่อื ถอื เพียงใด ค. ผรู ว มสนทนามีความรแู ละมคี วามสนใจในเรอ่ื งที่สนทนามากนอยเพียงใด ง. ภาษาท่ีใชใ นการสนทนามีความถูกตอ ง ตามหลักการใชภาษามีความเหมาะสมและ สละสลวยทําใหเ ขาใจเรือ่ งไดชดั เจนเพยี งใด ท้ังน้าํ เสยี งและลลี าการพูดแฝงเจตนาของผูพ ดู และนา ฟง หรือไม 3.2 คําสมั ภาษณบ ุคคล มหี ลกั เกณฑการพจิ ารณาและวิจารณ ดงั น้ี ก. ผูสัมภาษณเ ปน ผูม ีความรูแ ละประสบการณใ นเรื่องที่สัมภาษณมากนอยเพียงใด เพราะผูส มั ภาษณท ี่มคี วามรูและประสบการณในเรอื่ งที่จะสัมภาษณเ ปนอยา งดีจะถามไดส าระเน้ือเรื่องดี จึงตอ งดูความเหมาะสมของผูสัมภาษณกบั เรอ่ื งทีส่ มั ภาษณด วย ข. ผูใหก ารสัมภาษณเหมาะสมหรือไม โดยพิจารณาจากวุฒิ ฐานะ หนา ท่ี อาชีพและ พิจารณาจากคาํ ตอบท่ใี หสัมภาษณว ามเี นือ้ หาสาระและตอบโตต รงประเด็นคาํ ถามหรือไมอ ยา งไร ค. สาระของคําถามและคําตอบในแตล ะขอ ตรงประเด็นหรือไม มีสาระเปนประโยชน ตอ สังคมมากนอ ยเพียงใด

8 ง. ลักษณะของการสัมภาษณ เปน การสัมภาษณทางวิชาการ หรือการสัมภาษณ เพ่อื ความบันเทงิ เพราะถาเปนการสัมภาษณทางวชิ าการยอมจะตองใชห ลกั เกณฑใ นการพจิ ารณาครบถว น แตห ากเปนการสัมภาษณ เพื่อความบันเทิงน้ันงา ยตอการวิจารณวา ดีหรือไมด ี เพราะใชสามัญสํานึกและ ประสบการณพิจารณาก็เพียงพอแลว จ. ภาษาท่ใี ชเ ขา ใจงายชัดเจน เหมาะสมเพียงใด ผูส ัมภาษณและผูใ หส ัมภาษณมีความ จรงิ ใจในการถามและการตอบมากนอยเพยี งใด 4. คําปราศรยั คําบรรยาย คํากลา วอภิปราย คําใหโอวาท 4.1 คาํ ปราศรัย มีหลกั เกณฑก ารพิจารณาและวิจารณ ดังนี้ ก. สาระสําคญั เหมาะสมกบั โอกาสทปี่ ราศรยั หรอื ไม โดยพิจารณาเน้อื หาสาระ เวลา และ โอกาสวา สอดคลองเหมาะสมกันหรอื ไม ข. สาระสําคัญและความคดิ เปนประโยชนต อ ผูฟงหรือไม ค. ผกู ลา วปราศรยั ใชภ าษาไดดถี กู ตอ ง เหมาะสมสละสลวย คมคายหรอื ไมอยา งไร 4.2 คําบรรยาย มีหลกั เกณฑการพิจารณาและวิจารณ ดังน้ี ก. หวั ขอและเน้อื เร่ืองเหมาะสมกบั สถานการณแ ละผฟู งมากนอ ยเพยี งใด ข. สาระสาํ คัญของเรื่องท่ีบรรยายมีประโยชนตอผูฟ ง และสังคมมีสิ่งใดที่นาจะนําไปใช ใหเกิดประโยชน ค. ผูบรรยายมีความรูและประสบการณ ในเรื่องที่บรรยายมากนอยเพียงใด มีความ นาเช่ือถอื หรือไม ง. ภาษาทใี่ ชใ นการบรรยาย ถกู ตอ งตามหลกั การใชภ าษา เขา ใจงายชัดเจนหรือไม 4.3 คาํ กลาวอภิปราย การอภิปรายเปน วิธกี ารระดมความคดิ เหน็ และแนวทางในการแกป ญหา ซ่ึงเราจะไดฟ ง กันเปนประจาํ โดยเฉพาะจากรายการโทรทัศน การวเิ คราะหวจิ ารณค วรพจิ ารณาโดยใชห ลักการ ก. ประเด็นปญ หาท่จี ะอภิปราย ขอบขา ยของปญ หาเปน อยา งไร มขี อบกพรองอยา งไร ข. ประเด็นปญหาที่นํามาอภิปราย นา สนใจมากนอ ยเพียงใดและมีความสอดคลอง เหมาะสมกับสถานการณ หรือไม ค. ผอู ภิปรายมคี ุณวฒุ ิ ประสบการณมสี วนเก่ยี วของกับประเด็นอภิปรายอยา งไร และมี ความนา เช่อื ถือมากนอยเพยี งใด ง. ผูอ ภิปรายไดศ ึกษาคนควา และรวบรวมขอ มูลความรูม าชี้แจงประกอบไดมากนอ ย เพียงพอเหมาะสมและนา เชอ่ื ถอื หรอื ไม จ. ผูอ ภิปรายรับฟง ความคิดเห็นของผูรวมอภิปรายหรือไม มีการผูกขาดความคิดและ การพดู เพียงคนเดียวหรือไม

9 ฉ. ผูอ ภิปรายใหขอ คิดและแนวทางอยางมีเหตุผลมีขอ มูลหลักฐานหรือไม ใชอารมณ ในการพดู อภิปรายหรือไม ช. ภาษาท่ใี ชในการอธิปรายถูกตอ งตามหลกั การใชภาษา กระชับรดั กุม ชัดเจนเขา ใจงา ย ซ. ผูฟง อภิปรายไดศ ึกษารายละเอียดตามหัวขอ อภิปรายมาลว งหนา บางหรือไม หากมี การศกึ ษามาลว งหนา จะทาํ ใหวเิ คราะหวิจารณได 4.4 คาํ ใหโอวาท มหี ลักเกณฑก ารพิจารณาและวิจารณ คือ ก. ผใู หโอวาทเปน ใคร มคี ณุ วุฒมิ หี นา ทที่ จ่ี ะใหโอวาทหรือไม ข. สาระสาํ คัญของเรอื่ งที่ใหโอวาทมอี ะไรใหขอ คดิ เรื่องอะไร สอนอะไรมแี นวทางปฏิบัติ อยา งไร ค. เร่ืองที่ใหโอวาทมีความถูกตอง มีเหตุมีผลสอดคลองตามหลักวิชาการหรือไม นา เชื่อถอื เพียงใด ง. มีเทคนิคและกลวธิ ใี นการพูดโนม นาวจิตใจของผูฟ ง และมีการอางอิง คําคม สํานวน สภุ าษติ หรือยกเรื่อง ยกเหตกุ ารณมาประกอบอยางไรบาง จ. ใชภาษาไดดี ถูกตองสละสลวย คมคาย ไพเราะ ประทับใจตอนไหนบาง สรปุ 1. วิจารณญาณในการฟง และดู หมายถึง การรับสารใหเขา ใจตลอดเรื่องแลว ใชป ญญา คดิ ไตรต รอง โดยอาศัยความรู ความคิด เหตผุ ล และประสบการณเดิม แลวสามารถนําสาระตาง ๆ ไปใช ในการดาํ เนินชีวิตไดอยางเหมาะสม โดยมีขนั้ ตอนดงั น้ี 1.1 ฟง และดูใหเขา ใจตลอดเร่อื งกอน 1.2 วิเคราะหเรื่อง วาเปน เรื่องประเภทใด ลักษณะของเร่ืองและตัวละครเปนอยางไร มกี ลวิธีในการเสนอเร่อื งอยา งไร 1.3 วนิ จิ ฉัย พิจารณาเรื่องทีฟ่ งเปนขอ เท็จจริง ความคดิ เห็น เจตนาของผเู สนอเปน อยา งไร มีเหตผุ ลนา เชื่อถือหรอื ไม 1.4 การประเมินคา ของเรือ่ งเมอ่ื ผา นขน้ั ตอน 1 - 3 แลว ก็ประมาณวา เรอ่ื งหรือสารนน้ั ดีหรอื ไมด ี มอี ะไรท่ีจะนําไปใชใหเ ปนประโยชนไ ด 1.5 การนาํ ไปใชประโยชนเ ม่ือผา นข้นั ตอนท่ี 1 - 4 แลว ขนั้ สุดทายคือ นําคุณคาของเรื่องที่ ฟงและดไู ปใชไดเ หมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล 2. การวเิ คราะห หมายถงึ การแยกแยะประเภท ลกั ษณะ สาระสาํ คัญและการนําเสนอ พรอมทั้ง เจตนาของผพู ูดหรือผูเสนอ การวนิ ิจ หมายถึง การพิจารณาเรอ่ื งอยา งไตรตรอง หาเหตผุ ลขอ ดีขอเสีย และคณุ คา ของสาร การวิจารณ หมายถึง การพิจารณาอยางมีหลักเกณฑใ นเร่ืองท่ีฟง และดู วามีอะไรนา คิด นา สนใจ นาติดตาม นาชมเชย นา ชื่นชมและมอี ะไรบกพรองบา ง

10 การวิจารณสารหรอื เรื่องทีไ่ ดฟงและดู เม่ือไดวินิจวิเคราะหแ ละใชว ิจารณญาณในการฟง และดู เร่ืองหรอื สารทไี่ ดร บั แลว กน็ าํ ผลมารายงานบอกกลา วแสดงความคิดเหน็ ตอ สงิ่ น้ัน อยา งมเี หตผุ ล มหี ลกั ฐาน ประกอบ และเปนสิ่งสรา งสรรค 3. หลักการฟงและดทู ่ดี ี ผูเรียนรูไดเรียนรูว ิธีการฟงและดูมาแลว หลายประการ ควรจะไดรับรูถ ึงวิธีการปฏิบัติตน ใน การเปนผูฟงและดทู ่ดี ดี ว ย ตามหลกั การ ดังน้ี 3.1 ฟง และดใู หตรงตามความมุง หมาย การฟงแตล ะครัง้ จะตองมีจดุ มุง หมายในการฟงและดู ซ่ึงอาจจะมีจุดมุง หมายอยางใดอยางหนึ่งโดยเฉพาะหรือมีจุดมุงหมายหลายอยางพรอมกันก็ได จะตอ ง เลือกฟง และดูใหต รงกับจุดมุงหมายที่ไดตั้งไวแ ละพยายามท่ีจะใหการฟงและดูแตล ะคร้ังไดรับผล ตามจุดมุงหมายท่ีกําหนด 3.2 มีความพรอมในการฟง และดู การฟงและดูจะไดผลจะตองมีความพรอ ม ทั้งรางกาย จิตใจและสติปญญา คือ ตอ งมีสุขภาพดีท้ังรา งกาย และจิตใจไมเ หน็ดเหนื่อยไมเ จ็บปวยและไมม ีจิตใจ เศรา หมอง กระวนกระวายการฟง และดูจึงจะไดผลดี และตอ งมีพื้นฐานความรูใ นเรื่องนั้นดีพอสมควร หากไมมพี ื้นฐานทางความรู สติปญ ญากย็ อมจะฟงและดไู มรเู รอ่ื งและไมเ ขาใจ 3.3 มีสมาธิในการฟงและดู ถาหากไมมีสมาธิ ขาดความต้ังใจยอมจะฟง และดูไมร ูเ รื่อง การรบั รแู ละเขา ใจจะไมเกิด ดงั น้ัน จะตอ งมีความสนใจ มคี วามตงั้ ใจและมสี มาธใิ นการฟงและดู 3.4 มีความกระตอื รอื รน ผูท่ีมองเห็นคุณคา และประโยชนข องเรือ่ งนั้นมีความพรอ มที่จะรับรู และทาํ ความเขา ใจจากการฟง และดนู ้นั ยอมมีประสิทธิภาพในการฟง และดสู งู 3.5 ฟงและดูโดยไมมีอคติ ในการฟง จะตองทําใจเปน กลางไมม ีอคติตอผูพ ูดตอ เรื่องที่พูด หากไมชอบเรื่อง ไมศ รัทธาผพู ูดกจ็ ะทําใหไมพรอมท่ีจะรบั รแู ละเขาใจในเร่อื งน้นั จะทาํ ใหก ารฟง และการดู ไมป ระสบผลสาํ เร็จ 3.6 การจดบนั ทกึ และสรปุ สาระสาํ คัญ ในการฟง และดูเพ่อื ความรมู คี วามจาํ เปน ที่ตองบันทึก สรุปสาระสาํ คญั ที่จะนําไปใชนาํ ไปปฏบิ ตั ิ คณุ สมบัติของผูฟ งและดูท่ดี ี ควรปฏิบัติ ดงั น้ี 1. สามารถปฏิบัตติ ามหลักการฟง และดทู ่ีดไี ด โดยมีจุดมุง หมาย มีความพรอมในการฟง และดูมี ความตั้งใจและกระตือรือรน ไมมีอคตแิ ละรูจ ักสรปุ สาระสาํ คัญของเรือ่ งทฟ่ี ง และดูนั้นได 2. มีมารยาทในการฟงและดู มารยาทในการฟง และดูเปนส่ิงที่จะชว ยสรางบรรยากาศท่ีดีใน การฟงและดู เปนมารยาทของการอยรู ว มกันในสงั คมอยางหนึ่ง หากผูฟง และดูไมมีมารยาท การอยูรว มกัน ในขณะที่ฟง และดู ยอมไมปกติสุข มีบรรยากาศท่ีไมเ หมาะสมและไมเอ้ือตอ ความสําเร็จ ตัวอยางเชน ขณะที่ฟง และดูการบรรยายถามีใครพูดคุยกันเสียงดังหรือกระทําการท่ีสรางความไมสงบรบกวนผูอ ื่น บรรยากาศในการฟงและดูน้ันยอมไมดี เกิดความรําคาญตอ เพื่อนที่นั่งอยูใกลจะไดร ับการตําหนิวา ไมม ี มารยาท ขาดสมบัติผูดี แตถ าเปนผูม ีมารยาท ยอมไดร ับการยกยอ งจากบุคคลอื่นทําใหก ารรับสารดว ย การฟง และดปู ระสบความสําเรจ็ โดยงา ย

11 3. รูจักเลอื กฟงและดใู นสงิ่ ที่เปนประโยชน การเลอื กฟงและดูในเรอื่ งทีจ่ ะเปน ประโยชนตออาชพี ชวี ิตความเปน อยูและความรบั ผิดชอบในสังคม แลวเลอื กนําไปใชใ หเกดิ ประโยชนใ นการพฒั นาอาชพี พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และพฒั นาสงั คม เร่อื งท่ี 3 มารยาทในการฟงและดู การฟงและดูจะสัมฤทธิ์ผลน้ัน ผูฟ ง ตองคํานึงถึงมารยาทในสังคมดวย ยิ่งเปนการฟง และดู ในท่ีสาธารณะยิ่งตองรักษามารยาทอยางเครง ครัด เพราะมารยาทเปนเคร่ืองกํากับพฤติกรรมของคนใน สังคม ควบคุมใหคนในสงั คมประพฤติตนใหเรยี บรอยงดงาม อันแสดงถึงความเปนผดู แี ละเปนคนทีพ่ ัฒนาแลว การฟงและดูในโอกาสตาง ๆ เปน พฤติกรรมทางสังคม ยกเวน การฟง และดูจากสื่อตามลําพัง แตใ นบางคร้ังการฟง และดูบทเรยี นจากสอ่ื ทางไกลก็มกี ารฟงและดกู นั เปน กลมุ รว มกับบุคคลอน่ื ดวย จําเปน ตองรักษามารยาท เพื่อมิใหเ ปน การรบกวนสมาธิของผูอ่ืนการรักษามารยาทในขณะท่ีฟง และดูเปน การแสดงถงึ การมีสัมมาคารวะตอผพู ดู หรอื ผแู สดง หรือตอเพื่อนผฟู ง ดวยกนั ตอสถานที่ผมู ีมารยาทยงั จะได รบั ยกยอ งวา เปนผมู วี ัฒนธรรมดีงามอีกดว ย มารยาทในการฟง และดใู นโอกาสตา ง ๆ มีดังน้ี 1. การฟง และดเู ฉพาะหนา ผใู หญ เม่อื ฟง และดเู ฉพาะหนา ผูใหญไมว า จะอยูแตล ําพังหรือมผี อู ืน่ รวมอยูด วยกต็ าม จะตอ งสํารวมกิริยา อาการใหค วามสนใจดว ยการสบตากับผูพูด ผูท ี่ส่ือสารใหก ันทราบ ถาเปนการสนทนาไมค วรชิงพูดกอ นที่ คสู นทนาจะพดู จบ หรือถามีปญ หาขอ สงสยั จะถาม ควรใหผ พู ดู จบกระแสความกอนแลวจึงถาม หากมเี พ่ือน รวมฟง และดอู ยดู ว ยตอ งไมก ระทําการใดอันจะเปนการรบกวนผอู ่นื 2. การฟงและดูในทปี่ ระชมุ การประชมุ จะมีประธานในท่ปี ระชมุ เปนผูนาํ และควบคุมใหก ารประชุมดําเนินไปดวยดี ผูเขา รวม ประชุมตอ งใหค วามเคารพตอ ประธาน ในขณะที่ผูอื่นพูด เราตอ งตั้งใจฟงและดู หากมีสาระสําคัญก็อาจ จดบันทกึ ไวเ พอื่ จะไดน าํ ไปปฏิบตั ิ หรือเปนขอมูลในการอภิปรายแสดงความคิดเห็น ไมค วรพูดกระซิบกับ คนขางเคียง ไมควรพูดแซงขึ้น หรือแสดงความไมพ อใจใหเ ห็น ควรฟงและดูจนจบแลวจึงใหส ัญญาณ ขออนุญาตพูดดว ยการยกมือ หรือขออนุญาต ไมค วรทํากิจธุระสวนตัว และไมทําสิ่งอื่นใดที่จะเปน การรบกวนที่ประชมุ 3. การฟงและดใู นท่สี าธารณะ การฟงและดูในที่สาธารณะเปน การฟงและดูที่มีคนจํานวนมากในสถานที่ท่ีเปนหอ งโถงกวา ง และในสถานท่ีที่เปน ลานกวาง อาจจะมีหลังคาหรือไมมีกไ็ ด ขณะท่ีฟง และดูไมควรกระทาํ การใด ๆ ท่ีจะกอ ความราํ คาญ สรางความวนุ วายใหแกบคุ คลทีช่ มหรอื ฟง รวมอยดู วย ขอควรระวัง มดี ังน้ี 3.1 การฟง และดูในโรงภาพยนตรหรือโรงละคร 3.1.1 รักษาความสงบ ไมใ ชเสียงพูดคุยและกระทําการใด ๆ ท่ีจะทําใหเร่ืองรบกวน ผอู นื่ และไมควรนาํ เด็กเล็ก ๆ ท่ไี รเดียงสาเขาไปดูหรือฟง ดว ยเพราะอาจจะรองหรอื ทาํ เสยี งรบกวนผอู นื่ ได

12 3.1.2 ไมค วรนําอาหารของขบเคี้ยว ของท่มี ีกลนิ่ แรงเขา ไปในสถานท่ีน้ัน เพราะเวลาแก หอ อาหาร รบั ประทานของขบเคย้ี วก็จะเกดิ เสียงดังรบกวนผูอ่นื และของทีม่ กี ล่นิ แรงกจ็ ะสง กลน่ิ รบกวน ผูอ นื่ ดวย 3.1.3 ไมเดินเขา ออกบอ ย เพราะในสถานท่ีนั้นจะมืด เวลาเดินอาจจะเหยียบหรือ เบียดผูรวมฟง ดวย หากจําเปน ควรเลือกที่นงั่ ทส่ี ะดวกตอ การเดนิ เขาออก เชน น่งั ใกลทางเดิน เปนตน 3.1.4 ไมค วรแสดงกริ ยิ าอาการท่ีไมเ หมาะไมค วรระหวา งเพ่ือนตา งเพศในโรงมหรสพ เพราะเปนเรื่องสว นบคุ คลขดั ตอวฒั นธรรมประเพณไี ทย ไมควรแสดงกิรยิ าอาการดงั กลาวในท่ีสาธารณะ 3.1.5 ไมค วรสง เสียงดงั เกนิ ไปเมือ่ ชอบใจเปน พิเศษในเร่ืองท่ีดูหรือฟง เชน ถึงตอนที่ ชอบใจเปนพิเศษก็จะหวั เราะเสยี งดัง ปรบมอื หรอื เปา ปาก ซึ่งจะเปนการสรา งความราํ คาญและรบกวนผูอน่ื 3.2 การฟง ในลานกวา ง สว นใหญจ ะเปนการชมดนตรแี ละการแสดงท่ีเปนลักษณะมหกรรม บนั เทงิ ควรปฏบิ ตั ดิ งั นี้ 3.2.1 อยาสง เสียงดังจนเกินไป จะทําใหเปน ท่ีรบกวนผูรวมชม หากถูกใจเปนพิเศษ กค็ วรดูจังหวะอันควรไมทาํ เกินพอดี 3.2.2 ไมแสดงอาการกิริยาทไี่ มสมควร เชน การโยกตัว การเตนและแสดงทาทาง ตา ง ๆ เกินพอดี 3.2.3 ไมด ืม่ ของมนึ เมาเขา ไปชมการแสดงหรือไมนําไปดมื่ ขณะชม 3.2.4 ไมค วรแสดงกิริยาทีไ่ มเ หมาะสมกับเพื่อนตางเพศหรือเพศตรงขาม เพราะขัดตอ วฒั นธรรมไทย และอาจผดิ กฎหมายดวย 3.2.5 ควรยืนหรือน่ังใหเ รียบรอยไมควรเดินไปเดินมาโดยไมจําเปน เพราะจะทํา ความวุนวายใหบุคคลอ่ืน สรปุ มารยาทในการฟงและดูได ดงั นี้ 1. ฟง และดูดวยความตงั้ ใจ ตามองดูผพู ูดไมแสดงออกดว ยอาการใด ๆ ทีบ่ อกถึงความไมสนใจ 2. ไมทําความราํ คาญแกผอู ืน่ ท่ีฟงและดดู วย 3. ไมแ สดงกรยิ าไมเ หมาะสมใด ๆ เชน โห ฮา ฯลฯ 4. ถา จะแสดงความคิดเห็นหรือถามปญ หาขอขอ งใจ ควรจะขออนุญาตกอ นหรือเม่ือที่ประชุม เปด โอกาสใหถามและแสดงความคดิ เหน็ 5. ไมควรเดินเขา หรอื เดินออกขณะท่ีผูพ ูดกําลังพูดหรือกําลังแสดงหากจําเปน จริง ๆ ควรจะทํา ความเคารพประธานกอ น กิจกรรมท่ี 1 ใหผเู รยี นฝกปฏบิ ัตติ ามลักษณะการฟงที่ดีในโอกาสที่เหมาะสม เชน การฟงรายงานกลุม, การฟง พระเทศนแ ลวนาํ มาอภิปรายกันในกลมุ ท้ังผเู ปนวิทยากรผรู วมฟง และเน้อื หาตามหัวขอ ทผ่ี เู รยี นนาํ เสนอและ ตกลงกนั ในกลุม

13 กจิ กรรมที่ 2 1. จงสรุปมารยาทในการฟงและดวู ามีอะไรบาง 2. ใหผเู รียนฝกปฏิบัติตามมารยาทในการฟงและดโู ดยแบงกลมุ จดั กจิ กรรมในหอ งเรยี น การนาํ ความรูจากการฟง และดูไปใช การฟงและการดเู ปนการรับสารทางหน่ึงท่ีเราสามารถจะรับรูเรื่องราวตาง ๆ ไดเปนอยา งดีและ ละเอียด เพราะไดฟง เร่ืองราวจากเสียงพูดและยังไดมองเห็นภาพเร่ืองราวเหตุการณแ ละวัตถุส่ิงของ ตลอดทั้งกริยาอาการตาง ๆ อีกดว ย สง่ิ ทไี่ ดร ับจากการฟง และดูจึงเปน ขอมูลความรูท่ีคอ นขางจะละเอียด ลึกซึง้ จงึ สามารถที่จะนาํ ไปใชในชีวติ ประจาํ วนั ไดอ ยางดี เชน 1. ใชถ ายทอดความรเู รอื่ งราวดวยการพูด การอานและการเขียน เชน การรายงาน การบรรยาย การบอกกลา วเลา เรื่อง การอา นขา ว อา นประกาศ บทความ และการเขียนบทความ เขียนเร่ืองยอ เรียงความ จดหมาย ฯลฯ เพ่ือถา ยทอดเรื่องราวที่ไดฟง และดู ตลอดทั้งการเห็นตัวอยางในการถา ยทอด ดว ยวธิ ตี า ง ๆ มาใชใ นการถายทอดไดอีกดว ย 2. ใชใ นการวเิ คราะห วจิ ารณ แสดงความคดิ เห็น การฟงและดูจะชว ยใหเ ราไดความรู ไดข อ มูล ขอ เทจ็ จริง หลกั ฐาน เหตผุ ล ตัวอยางแนวคิดทจ่ี ะใชประกอบการวิเคราะห วจิ ารณ แสดงความคิดเห็นตอ ท่ปี ระชมุ ตอสาธารณชนดว ย การพดู การเขียนไดเปน อยา งดี 3. ใชในการแกป ญหา การแกป ญหาทกุ ประเภท ทุกปญหาจะสําเร็จลุลวงไปดว ยดี จะตอ งอาศัย ความรู ประสบการณแนวทางแกปญ หาอื่นทเี่ คยแกไ ขมาแลว และขอมลู ทางวิชาการประกอบในการตดั สนิ ใจ เลือกวิธแี กป ญหาทีเ่ กิดขึ้นจึงจะสามารถแกป ญ หาไดส ําเรจ็ ดว ยดี 4. ใชใ นการประกอบอาชีพ การไดฟง ไดเ ห็นตัวอยา งเร่ืองราวตา ง ๆ จะทําใหไดรับความรูแ ละ ขอ มลู เกยี่ วกับอาชีพตาง ๆ จะทาํ ใหเ รามองเห็นชอ งทางการประกอบอาชพี ชว ยใหตัดสินใจประกอบอาชีพ และยังเปนขอ มลู ที่จะสงเสรมิ ใหบ ุคคลที่มอี าชพี อยแู ลว ไดพฒั นาอาชีพของตนเองใหเ จริญกาวหนา อีกดวย 5. ใชในการศึกษาเลาเรียน นักเรียน ผูเ รียน ท่ีกําลังศึกษาอยูย อ มสามารถนําความรูประสบการณ จากการฟง และดูมาชวยใหมีความรูความเขา ใจในวิชาที่เรียนทําใหก ารเรียนประสบความสําเร็จตาม ความตองการของตนเอง 6. ใชเปนแนวทางในการดําเนนิ ชีวิตในสังคม ความรทู ่ีไดจากการฟงและดูจะสามารถนําไปใชเปน แนวปฏิบัติของแตล ะคนท้ังในดานสุขภาพอนามัย การปฏิบัติตนในสังคมเก่ียวกับวัฒนธรรมประเพณี การกินอยหู ลบั นอน การอยรู วมกนั ในสงั คมอยา งเปน สขุ ทง้ั หมดเปน เรือ่ งท่ีจะตอ งศึกษาเปนเร่ืองที่จะตอง ศึกษาหาความรดู ูตวั อยา ง ดแู นวปฏบิ ัติระเบียบ กฎเกณฑข องสังดว ยการฟงและดูทงั้ ส้นิ ท่ีกลาวมาเปน สวนหน่ึงยังมีอีกมากมายหลายอยา งท่ีเราตอ งนําความรูจากการฟงและดูไปใช ในการดาํ เนนิ ชีวิต

14 บทท่ี 2 การพดู สาระสาํ คญั การพูดเปน การสื่อสารท่ีควบคูก ับการฟง และดู การเขาใจหลักการการเตรียมการพูด การพูด ในหลาย ๆ โอกาส และมารยาทในการพูดจะทําใหก ารพดู ประสบผลสาํ เร็จ ผลการเรยี นรูท่คี าดหวงั เมื่อศกึ ษาบทที่ 2 จบ และคาดหวงั วาผูเ รียนจะสามารถ 1. นาํ ความรูเก่ยี วกบั ลักษณะการพูดไปใชไดเหมาะสม 2. มที กั ษะประสบการณการพดู ในโอกาสตา ง ๆ 3. มีมารยาทในการพูด ขอบขายเนื้อหา เรือ่ งท่ี 1 มารยาทในการพดู เรือ่ งท่ี 2 ลักษณะการพูดท่ีดี เรอ่ื งที่ 3 การพูดในโอกาสตา ง ๆ

15 เรอ่ื งท่ี 1 มารยาทในการพดู 1. ใชค ําพูดสุภาพเหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คลใหเกยี รตกิ บั ผทู ่ีเราพูดดวย รูจ กั ใชคําทีแ่ สดงถงึ ความมมี ารยาท เชน คาํ ขอบคุณ ขอบใจ เมื่อผูอ ่ืนทําคุณตอ เรา และกลา วขอโทษขออภัยเสียใจในโอกาส ทกี่ ระทาํ การลว งเกินผูอ ่นื 2. ไมพูดจาเยาะเยย ถากถาง ดูหม่ินเหยียดหยาม เสียดสีผูอื่น ไมพูดจายกตนขม ทา น พูดช้ี จดุ บกพรอง หรือปมดอ ยของผอู ืน่ ใหเ กิดความอับอาย 3. ไมผ ูกขาดการพดู และความคดิ แตเพยี งผเู ดียว ใหโ อกาสผูอื่นไดพูดบา งไมพูดตัดบทในระหวาง ผอู ื่นกําลงั พดู ควรคอยใหผอู น่ื พดู จนหมดกระบวนความแลวจงึ พดู ตอ 4. เม่ือจะพูดคัดคา นหรือโตแยง ควรจะเหมาะสมกับโอกาสและมีเหตุผลเพียงพอไมใชอารมณ ควรใชคําพดู ทน่ี มุ นวล ไมใหเสยี บรรยากาศของการพดู คุยกัน 5. การพดู เพื่อสรา งบรรยากาศ ใหเ กิดอารมณข ัน ควรจะเปนเรอื่ งตลกขบขนั ทส่ี ภุ าพ ไมหยาบโลน หรือพดู ลกั ษณะสองแงสองงาม 6. ไมพูดตเิ ตยี น กลาวหาหรือนนิ ทาผอู ่นื ตอหนาชมุ ชน หรือในขณะท่ีผทู เ่ี ราพูดถงึ ไมไดอ ยดู วย 7. ควรพูดดว ยนํ้าเสียงนุม นวลชวนฟง ไมใชน ํ้าเสียงหว น ๆ หรือดุดันวางอํานาจเหนือผูฟง รจู กั ใชคาํ คะ ครบั นะคะ นะครับ หนอ ย เถดิ จะ นะ เสรมิ การพูดใหส ุภาพไพเราะนา ฟง คณุ ธรรมในการพูด การปฏิบตั ติ ามมารยาทในการพูดดังกลา วมาแลว ยังไมถือวา เปนการพูดดี เพราะยังขาดคณุ ธรรมในการพดู นั้นกค็ อื ขาดความรับผดิ ชอบ ขาดความจริงใจ เพราะบุคคลที่มีคุณธรรม ในการพดู จะตอ งมีความรบั ผดิ ชอบในคําพดู และส่ิงท่ีพูดออกไป มีความจริงใจ มีความบริสุทธิ์ใจตอ ผูท ี่เรา พูดดวย ก. ความรับผดิ ชอบในการพูด ผูพูดจะตอ งรับผิดชอบตอ การพูดของตนทั้งในดานกฎหมายและ ศีลธรรม รบั ผดิ ชอบทางกฎหมายน้ันก็คือ เมื่อผูพูดพูดอยางขาดความรับผิดชอบมีความผิดตามกฎหมาย ผูน้ันจะตอ งรับโทษ เชน พูดหมิ่นประมาท แจง ความเท็จ พูดใหผูอ ่ืนเสียหายจนเกิดการฟอ งรอ ง ตองรบั โทษตามกฎหมาย สวนความรบั ผดิ ชอบในดา นศีลธรรมหรือคุณธรรมนนั้ หมายถึง ความรับผิดชอบของการพดู ทีท่ าํ ให ผูอ่ืนเสียใจ ไมสบายใจเกิดความเสียหายไมถ ึงกับผิดกฎหมายบานเมือง แตเ ปน ส่ิงไมเหมาะไมค วร เชน การพูดสอ เสียด พูดคําหยาบ พูดเพอเจอ พูดใหผ ูอ่ืนถูกตําหนิเหลา น้ีผูพูดตอ งรับผิดชอบ ตองไมป ฏิเสธ ในคําพูดของตน นอกจากน้ีผูพูดจะตอ งไมพูดตอ เติมเสริมแตงจนบิดเบือนความจริง ตอ งตระหนักและ รับผดิ ชอบในการพูดทกุ ครง้ั ข. ความจริงใจและบริสุทธ์ิใจ ผูพ ูดตอ งมีความจริงใจในการพูดดวยการแสดงออกทางสีหนา แววตา อากปั กริ ิยา นํา้ เสยี งและคําพดู ใหต รงกับความรูส ึกท่ีมีอยูใ นจิตใจอยา งแทจ ริง ไมเ สแสรง แกลง ทํา

16 พูดดวยความบริสุทธิ์ใจ คือ การพูดดวยความปรารถนาดีที่จะใหเกิดผลดีตอ ผูฟง ไมพ ูดเพ่ือใหเขาเกิด ความเดือดรอนเสียหาย ในการพูดควรพิจารณาถึงผลดี ผลเสีย กาลเทศะ อะไรควรพูด อะไรไมค วรพูด เปน สิ่งสําคัญ เร่ืองท่ี 2 ลักษณะการพดู ทดี่ ี การพูด การพูดเปน การสื่อสารอีกประเภทหนึ่งท่ีใชก ันอยูใ นชีวิตประจําวัน ในการพูดควรตระหนักถึง วัฒนธรรมในการใชภ าษา คอื ตอ งเปน ผมู ีมารยาทในการพูด มีคุณธรรมในการพูดและปฏิบัติตามลักษณะ การพดู ทด่ี ี จึงจะส่อื กับผฟู งไดตามท่ตี องการ การพูดของแตล ะบุคคลในแตละครั้งจะดีหรือไมด ีอยางไรน้ัน เรามีเกณฑท่ีจะพิจารณาได ถาเปนการพดู ทด่ี จี ะมลี ักษณะ ดังตอไปน้ี 1. ตองมเี นือ้ หาดี เนอื้ หาท่ดี ตี อ งตรงตามจุดมงุ หมายของผพู ูด ผูพูดมีจุดมงุ หมายการพูดเพอื่ อะไร เพ่อื ความรู ความคิด เพื่อความบันเทิง เพื่อจูงใจ โนม นา วใจ เนื้อหาจะตอ งตรงตามเจตนารมณของผูพ ูด และเนื้อหานั้นตอ งมีความยากงายเหมาะกับผูฟง มีการลําดับเหตุการณ ความคิดท่ีดีมีระเบียบไมว กวน จึงจะเรียกวา มเี นื้อหาดี 2. ตองมีวิธีการถายทอดดี ผูพ ูดจะตอ งมีวิธีการถา ยทอดความรูความคิดหรือสิ่งที่ตอ งการ ถา ยทอดใหผูฟง เขา ใจงายเกิดความเช่ือถือ และประทับใจ ผูพูดตองมีศิลปะในการใชถอยคําภาษาและ การใชนํ้าเสียง มีการแสดงกิริยาทาทางประกอบในการแสดงออกทางสีหนา แววตาไดอยา งสอดคลอ ง เหมาะสม การพูดจงึ จะเกดิ ประสทิ ธผิ ล 3. มีบุคลิกภาพดี ผูพ ูดจะตองแสดงออกทางกายและทางใจไดเหมาะสมกับโอกาสของการพูด อันประกอบดว ย รูปรา งหนาตา ซ่ึงเราไมสามารถท่ีจะปรับเปลี่ยนอะไรไดมากนัก แตก็ตองทําใหดูดีที่สุด การแตงกายและกริยาทา ทาง ในสว นน้ีเราสามารถที่จะสรา งภาพใหด ีไดไมย าก จึงเปนสวนท่ีจะชว ยใน การสรางบุคลกิ ภาพท่ีดีไดมาก สว นทางจิตใจน้ันเราตองสรา งความเชือ่ มน่ั ในตวั เองใหสงู มคี วามจรงิ ใจและ มีความคิดริเริ่ม ผูพูดที่มีบุคลิกภาพท่ีดี จึงดึงดูดใจใหผูฟงเช่ือมั่น ศรัทธาและประทับใจไดงา ย การสรา ง บคุ ลกิ ภาพทดี่ ีเปนคณุ ลักษณะสาํ คัญอยางหน่ึงของการพูด การพูดที่ใชสื่อสารในชีวิตประจําวันน้ันมีลักษณะแตกตางกัน ท้ังนี้ขึ้นอยูก ับโอกาสสถานที่ กาลเทศะและบุคคลท่ีเราพูด ถาพูดเปน ทางการ เชน การพูดในท่ีประชุม สัมมนา การพูดรายงาน ความกา วหนา ของการปฏิบัติงานใหผ ูบังคับบัญชาทราบ ผพู ูดยอมตองใชภ าษาลกั ษณะหนง่ึ แตใ นโอกาส ที่ไมเปน ทางการ เชน การพูดในวงสนทนาของเพื่อนท่ีสนิทสนมกัน การพูดใหคําปรึกษาของครู กศน.กับ ผูเ รยี น ผนู ําหมบู า นชี้แจงรายละเอยี ดของการประชุมใหคนในชมุ ชนทราบ ก็ยอ มจะใชภาษาอีกอยา งหน่ึง หรอื ถาเราพูดกบั บุคคลทีร่ ูจ กั คนุ เคยกันมาเปน อยา งดีก็ใชภาษาพูดลักษณะหนึ่ง แตถา พูดกับบุคคลท่ีเรา เพ่ิงรูจักยังไมค ุน เคยกจ็ ะใชภ าษาอกี ลกั ษณะหนึ่ง

17 การพูดที่ดี อาจแบงไดเ ปน 3 ลักษณะคือ 1. การพูดแบบเปน ทางการ เปน การพูดท่ีผูพูดจะตองระมัดระวังในเรื่องของรูปแบบ วิธีการ ความถูกตอ งเหมาะสมของการใชถอยคํา การพูดลักษณะน้ีจะใชในโอกาสที่เปน พิธีการ มีรูปแบบวิธีการ และข้ันตอนในการพูดเปนการพูดในท่ีประชุมท่ีมีระเบียบวาระ การกล่าวตอ นรับ การกลาวตอบ การกลา วอวยพร การกลา วใหโอวาท การแสดงปาฐกถา เปนตน 2. การพูดแบบกึ่งทางการ เปนการพูดที่ผูพูดตองพิถีพิถันในการใชถอยคํานอยลง กวา ลักษณะการพูดแบบเปนทางการ จะใชใ นการสนทนาพูดคุยกันระหวางผูที่ยังไมค ุน เคยสนิทสนมกัน มากนกั หรอื ในกลมุ ของบุคคลตางเพศ ตางวัยกัน การพูดในที่ชุมชนก็จะมีการใชก ารพูดในลักษณะนี้ดว ย เชน การแนะนาํ บุคคลในทีป่ ระชมุ การพดู อภิปราย การแนะนาํ วิทยากรบุคคลสําคัญเหลานี้ เปนตน 3. การพดู แบบไมเ ปน ทางการ เปน การพดู ท่ใี ชส ือ่ สารกบั ผทู ่เี ราสนิทสนมคุนเคยกันมาก ๆ เชน การพดู คุยกันของสมาชิกในครอบครัว การพูดกันในกลุม ของเพื่อนสนิท หรือพูดกับกลุมคนที่เปน กันเอง การพูดในลกั ษณะน้จี ะใชกนั มากในชีวติ ประจําวัน เรื่องท่ี 3 การพูดในโอกาสตาง ๆ การพดู ระหวา งบุคคล การพดู ระหวา งบุคคลเปน การพดู ท่ีไมเปน ทางการ ท้ังผูพูดและผฟู ง มกั ไมไดม กี ารเตรยี มตวั ลว งหนา ไมม ีการกําหนดเวลาและสถานท่ีไมม ีขอบเขตเน้ือหาแนน อน ซ่ึงเปน การพูดท่ีใชมากที่สุด ผูเ รียนจะตอ ง ฝกฝนและใชไดท นั ทเี มื่อจําเปน ตอ งใช การพูดระหวา งบุคคลพอจะแยกได ดงั นี้ การพูดทักทายปราศรัย ตามปกติคนไทยเราเปนคนมีนํ้าใจชอบชว ยเหลือเกื้อกูลผ้อู ืนอยูเสมอ หนา ตายิ้มแยม แจมใส รูจ ักโอภาปราศรัย เมื่อพบใครจะเปน คนท่ีรูจ ักกันมากอ นหรือคนแปลกหนา ก็จะ ทักทายดว ยการย้ิมหรือใชอ วัจนภาษา คือ กิริยาอาการทักทายกอน ซ่ึงเปน เอกลักษณข องคนไทยที่ควร รกั ษาไว เ พราะเปนท่ีประทบั ใจของผูพบเหน็ ท้ังคนไทยดว ยกนั และชาวตา งประเทศ การทักทายปราศรัยควรปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. ยิม้ แยมแจม ใสความรูส กึ ยนิ ดีท่ีไดพ บกบั ผูท ีเ่ ราทักทาย 2. กลา วคําทกั ทายตามวัฒนธรรมไทย หรอื ตามธรรมเนียมนิยม อนั เปน ท่ยี อมรบั กนั ในสงั คม เชน กลา ว “สวสั ดคี รบั ”... “สวสั ดคี ะ” 3. แสดงกิริยาอาการประกอบคําทักทายหรือปฏิสันถาร เชน การยิ้มและคอมศีรษะเล็กนอย การจบั มือ จบั แขนหรอื ตบไหลเบา ๆ ซ่งึ เปน วฒั นธรรมตะวันตกพอที่จะทาํ ไดถา เปน คนรจู กั สนิทสนมกันดี 4. กลา วขอ ความประกอบการทักทายที่เหมาะสมและทําใหเ กิดความสบายใจดวยกันทง้ั สองฝา ย เชน สวัสดคี ะ คณุ รตั น สบายดีหรอื คะ สวสั ดคี รับ คุณกิ่งกมล วนั นีแ้ ตง ตวั สวยจังเลย สวัสดคี ะ คุณพรี พล ไมไดพบกนั เสียนาน ลกู ๆ สบายดีหรอื คะ

18 5. การทักทายปราศรัย ควรหลีกเล่ียงการถามเร่ืองสว นตัว เรื่องการเงินและเรื่องท่ีทําใหผ ูอ่ืน ไมสบายใจ ตวั อยา ง สวสั ดีคะ คณุ คมกริช เปน อะไรไปคะ ผอมจังเลย สวสั ดคี รบั คุณอรอนงค ไปทาํ อะไรมาครบั หนา มแี ผลเต็มไปหมดเลย และคาํ ถามทเี่ ปน เรอื่ งสวนตัว เชน จะไปไหน จะไปเที่ยวไหน เส้อื ตวั นีซ้ อ้ื มาราคาเทา ไร ไปทาํ อะไร มาหนาดูไมส บาย ไปบานลุงอ่ําทําไม ลักษณะเชน น้ีควรจะหลีกเลี่ยง เพราะไมกอ ใหเกิดสัมพันธภาพที่ดี ตอ กนั ควรจะทกั ทายปราศรัยดว ยไมตรีจิตและแสดงใหเหน็ ทั้งคําพดู และกริ ยิ าอาการ การแนะนาํ ตนเอง การแนะนําตนเองมีความจําเปน และมีความสําคัญตอ การดําเนินชีวิตประจําวันของคนเราเปน อยา งย่ิง เพราะในแตละวันเราจะมีโอกาสพบปะสังสรรค ติดตอประสานงานกับบุคคลอ่ืน ๆ อยูเ สมอ การแนะนาํ สรา งความรูจกั คุนเคยกันจึงตองเกิดขึ้นเสมอ แตก ารแนะนําดว ยการบอกชื่อ สถานภาพอยา ง ตรงไปตรงมาเปนธรรมเนยี มของชาวตะวนั ตก สวนคนไทยนยิ มใชก ารแนะนําดวยการใหความชว ยเหลือใหบริการเปนเบื้องตน เชน หยิบของให รนิ น้าํ ตักอาหาร เมอ่ื มีโอกาสอันควรกจ็ ะทกั ทายปราศรยั และเรม่ิ การสนทนาในเรื่องท่เี ห็นวา จะพดู คยุ กนั ได แตก็มีบางคร้ังบางโอกาสที่ฝายใดฝายหน่ึงไมยอมรับรูแสดงอาการเฉยเมยไมตอบสนอง จนทําใหอ ีก ฝา ยหนึ่งอึดอดั เกอ เขนิ หมดความพยายามผลสดุ ทายก็เลกิ ราไป ซง่ึ เหตุการณล กั ษณะนี้เปน สภาพการณที่ไม พึงปรารถนาและคงไมม ใี ครตอ งการใหเกิดข้ึนกับตัวเอง ดังน้ันผูเรียนจึงตองเขาใจและฝกฝนการแนะนํา ตนเอง เพราะเปนสงิ่ ทมี่ ปี ระโยชนตอการดาํ เนินชีวติ และจาํ เปน ตอ งใชในชีวิตประจาํ วัน บุคคลอาจตองแนะนําตนเองในหลายโอกาส แตจะกลา วเฉพาะที่สําคัญพอเปนตัวอยาง คือ การแนะนาํ ตนเองในทส่ี าธารณะ ในงานเลย้ี ง ในการทําธรุ กจิ การงานและในงานประชุมกลุม ก. การแนะนําตนเองในท่ีสาธารณะ มแี นวทาง การแนะนาํ ตนเอง ดงั นี้ 1. สรา งเหตขุ องความคุน เคย กอนทจี่ ะแนะนําตัวมักจะมกี ารหาจุดเรม่ิ ตนของการแนะนาํ ตวั ดวยการสนทนาสัน้ ๆ หรอื ทักทายดวยถอ ยคาํ ทจ่ี ะนําไปสคู วามคุนเคย เชน วันแรกของการพบกลุม ของ ผูเรียน เม่ือผูเรียนมาแตเชามีเพื่อนใหมมาคอยอยูคนเดียวหรือสองคน อาจจะมีผูเรียนคนใดคนหน่ึง กลาวปรารภข้ึนมา “ดิฉันก็นึกวาจะไมมีเพ่ือน เดินเขามาคร้ังแรกมองไมเห็นมีใครเลย” ตอจากน้ัน ก็จะมีการสนทนากันตออีกเล็กนอย เม่ือเกิดความรูสึกคุนเคยมีมิตรไมตรีตอกันก็จะมีการแนะนําตัว ใหรูจักซึ่งกันและกนั ตอไป ในบางคร้ังอาจจะมกี ารทกั ทายดว ยคาํ ถามท่ีเหมาะสมกับเหตุการณ เชน ในเหตุการณท่ีกลา วมา คือ ผูเ รียนมาพบกัน ณ สถานที่พบกลุมเปนวันแรกนั้นคนท่ีมาถึงกอ นอาจจะถามขึ้นกอ นวา “เพ่ิงมาถึง หรอื คะ” “หรือมาคนเดียวหรอื คะ” หรอื ไมคนทีม่ าทีหลงั อาจจะถามข้ึนกอ นวา “มาถึงนานหรือยังครับ”

19 หรือ “ยังไมมีใครมาเลยหรือครับ” แลว อีกฝา ยหนึ่งก็จะตอบคําถามแลวก็มีการสนทนาซักถามกันตอ จนเกิดความรสู ึกคนุ เคยแลว จึงมีการแนะนาํ ตัวใหร ูจักซงึ่ กันและกันตอไป 2. บอกชื่อสกุลและขอมูลที่สําคัญ เมื่อทักทายหรือกลา วในเชิงปรารภ จนรูส ึกวาเพื่อนใหม หรือคูสนทนามีอัธยาศัยไมตรีท่ีดีบางแลว ก็อาจจะมีผูหนึ่งผูใดเปน ฝา ยแนะนําตนเองดวยการบอกชื่อ ชอื่ สกลุ และขอมูลที่สําคัญตอเน่ือง เชน กลาวข้ึนวา “ผมณัฐสุชน คนเยี่ยม มาพบกลุมระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายกลมุ อาจารยส ภุ รณค รับ” เพอ่ื นทสี่ นทนาดวยกจ็ ะแนะนาํ ตนเองตามมาวา “ดิฉัน สวุ ิมล นนทวัฒนา คะ มาพบกลุม ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายเหมือนกันคะ แตอ ยกู ลุม อาจารยน พรัตนค ะ เรยี นแผนการเรียน ก. คะ ” จากนัน้ กจ็ ะมีการสนทนากนั ตอ ในเร่อื งการเรียนหรอื เรอ่ื งอน่ื ๆ ท่ีมคี วามสนใจตรงกนั ตอไปอกี จะเห็นไดวา การแนะนําตนเองในการพบปะสนทนากันในท่ีสาธารณะตามปกติทั่วไปมักจะมี การสรา งเหตุของความคนุ เคยดว ยการสนทนาซักถามกนั เล็ก ๆ นอย ๆ กอน แลว จึงจะมีการแนะนําตนเอง มใิ ชเรมิ่ แรกกจ็ ะแนะนาํ ตนเองขึ้นมา บางคร้งั อาจจะไมม ีการตอบสนองจากอีกฝา ยหนึ่งได จึงควรคํานึงถึง เรือ่ งนด้ี ว ย ข. การแนะนาํ ตนเองในงานเลยี้ ง การไปรว มงานเลย้ี งควรคํานงึ ถงึ มารยาทในสังคม รูจักสังเกตสนใจเพื่อนรวมโตะ หรือเพื่อนท่ีมา รวมงานดวย หากยังไมรูจักคุน เคยก็หาทางแนะนําตนเองตามวัฒนธรรมประเพณีของไทยดวยการแสดง สหี นา ยิ้มแยม แจมใส แสดงไมตรี มีโอกาสบริการก็ใหบ รกิ ารซงึ่ กันและกัน แลวจึงแนะนําตนเอง โดยการ บอกชอื่ และบางครง้ั สนทนากนั ตอ ในเร่อื งตา ง ๆ ตามสถานการณ บรรยากาศและความสนใจ การแนะนําตนเองในงานเลี้ยงมีลักษณะคลายกับการแนะนําตนเองในท่ีสาธารณะคือ จะมี การสรางเหตุของความคนุ เคยกอ นแลว จึงแนะนําตนเอง และมกี ารสนทนารายละเอียดอนื่ ๆ ตอไป ค. การแนะนําตนเองในการทาํ กิจธุระ เมอ่ื พบบคุ คลที่นดั หมายหรอื ท่ีตองการพบ โดยไมรูจักกันมากอนใหบ อกช่ือและนามสกุลของตน เองใหท ราบดวยนํ้าเสียงสุภาพ ตอจากน้ันจึงบอกกิจธุระท่ีตองการมาติดตอ ตัวอยา งเชน “ผมช่ือวิทยา ศักดส์ิ ุวรรณ เรียนอยู กศน. เมืองปาน ทราบวา ท่ีบา นนี้เล้ียงปลา และขายลูกปลาหลายชนิดใชไ หมครับ ผมขออนุญาตชมบอ ปลา ขอคาํ แนะนาํ และผมจะขอซ้อื ลูกปลาดุกไปเลีย้ งสัก 500 ตัว ดวยครับ” เม่ือแนะนาํ ตนเองและชแี้ จงกจิ ธรุ ะของเราอยา งชดั เจนแลวก็จะทําใหการสื่อสารดําเนินไปดว ยดี และกิจธรุ ะของเราก็ประสบผลสาํ เร็จ ง. การแนะนาํ ตนเองในกลมุ ยอย ในโอกาสทมี่ กี ารพบกลมุ ท่คี นสวนใหญไ มรูจักกันมากอ น ควรมีการแนะนาํ ตนเองใหรจู กั เพื่อจะได พูดคุยแสดงความคิดเห็นไดสะดวกใจและมคี วามเปน กนั เอง ซึ่งการแนะนําตนเองในกลุมยอ ยนี้ ใหบอกชอ่ื และนามสกุล บอกอาชีพ (ถา ม)ี และบอกวา มาจากหมูบา น ตําบลอะไรถาตางอาํ เภอก็บอกอําเภอดวย เชน “ดฉิ นั วรวรรณ สุขวฒั นา เปน ผูเรยี นใหมข องกลุมพระธาตุเสดจ็ อยูบ านวังลกึ ตาํ บลพระธาตเุ สด็จ ทาํ งานอยโู รงพยาบาลศนู ยลาํ ปางคะ ”

20 เม่ือแนะนําตนเองแลว ในกลุมก็จะมีปฏิกิริยาตอ นรับดวยการย้ิมหรือปรบมือ แลวเราก็นั่งลง กจ็ ะทําใหบ รรยากาศของการประชุมเปน กนั เองขึน้ กิจกรรมท่ี 1 1. ใหผเู รยี นจบั คกู บั เพ่ือนในกลุม แลวสมมติสถานการณวา ท้ังคูพบกันบนรถประจําทาง หรือที่ สถานีอนามัยประจําตําบลหรือสถานท่ีอื่น ๆ ท่ีเห็นวา เหมาะสม ฝก ทักทายปราศรัยกันและกันใหเ พื่อน ผูเรยี นในกลมุ ฟง และใหเพอ่ื นชว ยวจิ ารณก ารใชภ าษาและการสรา งบรรยากาศวา ถกู ตอ งเหมาะสมเพียงใด 2. ใหผ ูเ รยี นแนะนาํ ตนเองในวันพบกลุม คร้ังแรกหรือเม่ือมีโอกาสไปรวมประชุมกลุม ยอ ยในวิชา ตาง ๆ และยังไมรจู ักกบั เพอื่ นในกลุม โดยใหปฏบิ ตั ิตามหลกั การและวิธีการแนะนาํ ตนเองทเ่ี รยี นมาแลว 3. เม่ือมโี อกาสท่จี ะทักทายปราศรยั หรือแนะนาํ ตนเองใหผเู รยี นไดฝ กปฏบิ ัตจิ รงิ ตามหลกั การและ วิธกี ารท่ไี ดศกึ ษามาแลวและสังเกตผลหากมีขอบกพรองผดิ พลาดใหปรับปรงุ แกไขใหถ ูกตอ ง 4. ใหผ ูเรียนเรียงกนั ออกมาเลาเหตุการณใ ด ๆ ก็ไดหนาหองและใหผูฟงวิจารณใ นหัวขอ เนื้อหา วิธีการถา ยทอด และบคุ ลกิ ภาพของผพู ูดวาเขาหลักเกณฑใ นการเปน นกั พดู ที่ดีหรอื ไม การสนทนา การสนทนา หมายถึง การพูดระหวา งบุคคลตั้งแต 2 คน ข้ึนไป ผลัดกันพูดและผลัดกันฟง การสนทนามหี ลายลกั ษณะ อาจจะเปน ลกั ษณะท่ไี มเ ปนแบบแผนคุยตามสบายไมจาํ กัดเรือ่ งท่ีสนทนา เชน การสนทนาในครอบครัว การสนทนากันในเพื่อนผูเรียนท่ีรูจ ักสนิทสนมกัน เปน ตน แตใ นการสนทนา บางครั้งเปน การสนทนาท่ีมีแบบแผน ซ่ึงตองมีการตระเตรียมลว งหนา สวนใหญจ ะเปน การสนทนา เชิงวิชาการ แตใ นท่ีน้ีจะพูดถึงการสนทนาที่ไมเ ปนแบบแผน คือ การสนทนากับบุคคลที่รูจ ักคุน เคย และบุคคลแรกรจู กั การสือ่ สารลกั ษณะน้ีมคี วามสําคัญและเราไดใ ชเปนประจําย่ิงในครอบครัวในท่ีทํางาน ในสถานศึกษาหรือในกลุมของผูเ รียน ถา มีการสนทนากันดว ยดี ก็จะนําความสัมพันธฉ ันพ่ีนอ ง ฉันมิตร มาให กระทําสิ่งใดก็ราบร่ืน เกิดความสามัคคีและนําความสุขมาใหแตใ นทางตรงขา มถา การสนทนา ไมเปน ไปดว ยดี ก็ยอมกอใหเกิดการแตกรา ว ขาดสามัคคี มีแตค วามสับสนวุน วาย การสนทนาระหวา ง บคุ คลทรี่ ูจักคุนเคยมีสิ่งสาํ คญั ท่ตี อ งนกึ ถึงอยู 2 เรอ่ื ง คอื เร่ืองทส่ี นทนาและคณุ สมบัตขิ องผรู ว มสนทนา ก. เรือ่ งทสี่ นทนา เรือ่ งท่ีนาํ มาสนทนา จะทาํ ใหก ารสนทนาดาํ เนินไปดวยดมี ีผลดตี อทัง้ สองฝา ยน้นั ควรมลี ักษณะ ดังนี้ 1. ควรเปนเรื่องทท่ี ้งั สองฝา ยมีความรแู ละความสนใจรว มกันหรอื ตรงกนั 2. ควรเปน ขาวหรือเหตุการณท่ีเกิดข้ึนในชว งเวลาน้ัน ๆ เชน เปน ขา วในหนังสือรายวัน ภาวะเศรษฐกจิ ปญ หาการครองชีพ เหตุการณทางการเมอื งในขณะนน้ั เปนตน 3. ควรเปน เร่อื งทเ่ี หมาะกบั โอกาส กาลเทศะ และเหตกุ ารณ เชน ถา เปน การสนทนางานมงคล ก็ควรพูดแตส ่ิงที่เปน มงคลเปน ส่ิงดีงาม ไมพ ูดในสิ่งท่ีไมเ ปน มงคล หรือเรื่องรายในขณะเดียวกัน ถาเปน งานทเ่ี ศรา โศกกลับไปพูดเรื่องสนุกสนานกไ็ มสมควร

21 4. ควรเปน เรอื่ งทไี่ มสรางความวิตกกงั วล ความเครยี ดใหก ับคูสนทนา ควรเปนเรอื่ งทท่ี ําใหเ กดิ ความพอใจความสบายใจหรอื ความสนกุ สนาน เรอ่ื งท่คี วรงดเวนท่ีจะนาํ มาสนทนา ไดแ ก 1. เรอ่ื งสวนตัวของตนเองและเรื่องท่ีคสู นทนาไมมสี วนเก่ียวขอ งดวย 2. เรอื่ งทเ่ี ปน การนินทาผูอื่น เร่อื งท่ีไมเ ปน สาระแกนสาร 3. คุยโวโออวดความสามารถของตนเอง 4. เร่ืองความทุกขร อนของตน ความโชครายเพ่ือขอความเห็นใจ ยกเวนการสนทนากับ ผูใกลช ิดสนิทสนมกนั จริง ๆ ข. คณุ สมบัตขิ องผรู วมสนทนา 1. มคี วามรอบรใู นเรอื่ งตาง ๆ พอสมควร มกี ารติดตามเหตุการณเ ปลี่ยนแปลงของบานเมือง และโลกอยเู สมอ 2. ใชถ อ ยคาํ สุภาพ ระมัดระวงั ในการใชภาษาใหเหมาะสมเปนกันเอง แสดงการเอาใจใสแ ละ กริ ยิ าทา ทางย้ิมแยมแจม ใส มีการขอโทษ ขออภัยเม่ือพดู ผิดพลาด มกี ารขานรับดวยคํา ครับ คะ ใชครับ ใชค ะ จรงิ ครบั ถกู แลว คะ 3. เปนผูพูดและผูฟ ง ท่ีดี ใหโอกาสคูส นทนาไดพูดขณะที่เขาพูดไมจ บก็ตอ งรอไวกอ น แมจะ เบอ่ื หนายก็ตอ งอดทนเก็บความรสู ึกไว ไมแสดงกริ ยิ าอาการเบ่ือหนายใหเหน็ ใหโ อกาสคูสนทนาไดพ ูดและ แสดงความคดิ เห็นใหม ากทส่ี ดุ 4. รูจกั สังเกตความรูส ึกของคูสนทนา ซึ่งจะแสดงออกทางสีหนาทาทางและนํ้าเสียง คําพูด ถา หากสังเกตเห็นวา คูส นทนาไมสนใจฟง ไมก ระตือรือรน ดูสีหนาแสดงความเบ่ือหนา ยก็ใหเ ปลี่ยน บรรยากาศดว ยการเปล่ยี นเรือ่ งสนทนา หรอื พยายามสงั เกตใหทราบถึงสาเหตุท่ีทาํ ใหคสู นทนาไมส นใจ เกิดการเบ่ือหนา ยแลว จึงแกไขตามสาเหตุน้ัน เชน เห็นวา คูส นทนามีกิจธุระท่ีจะทํา เราก็ปรับเวลาของ การสนทนาใหส นั้ เขา หรือใหพ อเหมาะพอควร 5. พดู ใหกระชับตรงประเด็น ใหร ูวา ส่ิงใดควรพูด สิ่งใดไมค วรพูด ส่ิงใดคูส นทนาพอใจ สิ่งใด คูสนทนาไมพ อใจ ไมพูดขมขู ไมผูกขาดการพูด หากคูส นทนาผิดพลาดไมค วรตําหนิโดยตรง ควรมีวิธีการ และใชค ําพูดทแ่ี ยบยลเพ่ือใหเ ขารสู กึ ไดเอง การสนทนากับบุคคลแรกรูจ ัก บุคคลทเ่ี พ่ิงรจู กั กันทงั้ สองผายยงั ไมรูถึงภูมิหลังนิสัยรสนิยม พ้ืนฐานความรู ความคิดการสนทนา กบั บคุ คลแรกรจู กั ควรปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1. สรางความคุน เคยดวยการบริการหรือแสดงความเอื้อเฟอ ดวยวิธีตาง ๆ 2. สังเกตพฤติกรรมของคูส นทนา เพื่อจะไดท ราบลกั ษณะบางอยางของคสู นทนา 3. เริ่มทักทายดวยถอ ยคําสภุ าพแสดงถึงความเปนมติ ร

22 4. พดู เรือ่ งทว่ั ๆ ไป อาจจะเปนขา วดัง เหตกุ ารณลมฟาอากาศ เมอื่ สงั เกตไดว า ผูสนทนาชอบเรอ่ื ง ประเภทใด ก็จะไดส นทนาเรือ่ งน้นั ตอ ไป หากเห็นวา คสู นทนาไมชอบเรื่องใดกจ็ ะไดเปลี่ยนเรื่อง 5. เม่อื เหน็ วา มีความคนุ เคยมากแลว กส็ ามารถใชหลักของการสนทนากบั บคุ คลที่รจู กั คุน เคยมาใช กับบุคคลดังกลาว กจิ กรรมที่ 2 1. ใหผ เู รยี นแบง กลมุ เพ่ือฝกการสนทนาในวันพบกลมุ โดยใหแ บงกลุม ๆ ละ 5 – 6 คน แยกเปน ผสู นทนา 3 - 4 คน และเปน ผูส ังเกตการณ 2 คน ในขณะกลมุ สนทนา ใหผ สู ังเกตการณบนั ทึกรายละเอยี ด ของการสนทนาของกลุมในหัวขอ ตอ ไปนี้ 1.1 หัวขอเรื่องที่สนทนา มีเรื่องอะไรบาง เรื่องเดียวหรือหลายเร่ือง และใหว ิเคราะหถ ึง ประโยชนข องเร่อื งน้ัน ๆ 1.2 ขณะที่คนหน่ึงพูด คนอ่ืน ๆ ฟงหรือไมห รือมีพฤติกรรมอยางไร ใหแ ตล ะกลุม แสดง ความคิดเหน็ เชงิ วจิ ารณผพู ดู และผฟู ง เชน บคุ คลใดในกลมุ ท่พี ดู มากทีส่ ดุ และบคุ คลใดพดู นอ ยทสี่ ุด พดู ตรง ประเด็นหรอื ไม การใชภ าษา อารมณของคสู นทนาหรอื ผฟู ง พฤติกรรมหรือคาํ พดู ใดที่ไมเ หมาะสม 2. เม่ือเสร็จสนิ้ การสนทนาแลวใหผ ูส ังเกตการณเ สนอขอมูลรายละเอียดตอกลุม แลวใหชว ยกัน เขยี นบทสนทนาตามรายละเอียดทีก่ ลมุ ไดส นทนาไปแลว พรอ มขอสังเกตผูอ ื่นใหครูประจํากลุม ตรวจและ ใหคาํ แนะนํา การสมั ภาษณ การสัมภาษณม ีอยูห ลายลักษณะหลายระดับแตใ นระดับนี้จะขอกลาวเฉพาะสว นที่จําเปน ซ่งึ ผเู รยี นจะตอ งนาํ ไปใชเทานัน้ ก. ผสู ัมภาษณ ควรมกี ารเตรียมตวั และปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. ตอ งมีการติดตอประสานงาน นัดหมายกับผูใหส ัมภาษณไวลวงหนา พรอมท้ังกําหนด วนั เวลาทจี่ ะสัมภาษณแ ละบอกจุดประสงคของการสมั ภาษณ เพื่อผทู ่ีใหสัมภาษณจ ะไดเ ตรยี มตัวไดถ ูกตอ ง 2. เม่ือประสานงานแลว ผูส ัมภาษณ ควรเตรียมตัวตั้งแนวคําถามที่จะไปสัมภาษณไวเ ปน ประเดน็ ๆ ตามวัตถปุ ระสงคทว่ี างไว 3. ศึกษาเรือ่ งท่ีจะสมั ภาษณใหเ ขา ใจ 4. เมือ่ ไปพบผใู หส ัมภาษณตอ งตัง้ คําถามใหช ดั เจน เขาใจงาย ใชภาษาสภุ าพ 5. ควรเตรียมการบนั ทึกภาพ เสยี ง และขอความ เตรียมอุปกรณเครื่องมือใหเรียบรอยกอ น เพอื่ ใหก ารบันทกึ สมบูรณไ มผ ดิ พลาด 6. รักษาเวลานัดหมาย เวลาขณะสัมภาษณใ หเปน ไปตามที่กําหนดนัดหมายไว อยา ไดถ าม นอกประเดน็ และอยายดื เย้อื โดยไมจาํ เปน

23 ข. ผูใหสัมภาษณ ผูใ หสัมภาษณมักจะเปน บุคคลสําคัญ ผูประสบความสําเร็จในชีวิต ในอาชีพ ผูม ีความรู ฯลฯ สวนผเู รยี นเองกม็ ีโอกาสเปนผูใ หส ัมภาษณไ ดเ หมือนกัน เชน เม่ือไปสมัครงาน สมคั รเขาเรยี นตอ หรือแสดง ความคิดเห็นตอสอ่ื มวลชนในเร่ืองตาง ๆ เหลาน้ี เปนตน วิธีปฏิบัติตน เมื่อเปน ผูใหสัมภาษณ ควรกระทํา ดังนี้ 1. สรา งบุคลิกภาพใหดี ดว ยการแตงกายใหสะอาดเรียบรอยประณีต สว นตา ง ๆ ของรา งกาย ตองสะอาดเรียบรอยเหมาะสม 2. รกั ษาเวลานดั หมาย แมจะเปน ฝายคอยกต็ อ งใหพรอ มตามเวลาท่นี ดั หมาย 3. สรา งความม่ันใจดวยการเตรียมใหพ รอมไมใ หประหมา ต่ืนเตน เคอะเขิน ขมใจไมใหก ังวล สิ่งใด ๆ 4. พูดใหชัดเจน เสยี งหนกั เบาและนํา้ เสยี งใหพ อดีเหมาะสม ใชภ าษาใหเ หมาะสมกบั กาลเทศะ หลกี เลี่ยงการใชภาษาปากหรือคาํ แสลง ไมพ ดู ยกตนขม ทานไมพ ดู โออวด 5. ต้งั ใจตอบคําถามและตอบใหตรงประเด็น การขยายความพูดใหกระชับ ไมเ ย่ินเยอ มีปฏิภาณ ไหวพริบ แสดงความคิดเห็นอยา งมีเหตุผล หากส่ิงใดที่ตอบไมไ ดก ็ใหอ อกตัว อยา งนุม นวล เชน บอกวา ไมค อยสันทดั หรือไมสูจ ะมคี วามรใู นเร่ืองนี้ เปนตน 6. ตอบคาํ ถามอยา งสุภาพแสดงไมตรจี ิตและความเต็มใจที่จะใหส มั ภาษณ กิจกรรมท่ี 3 ใหผเู รียนฝกการสัมภาษณด วยการแบง กลมุ ออกเปนกลมุ ยอ ยกลมุ ละไมเ กิน 5 คน แลวสมมุติ เปนผสู ัมภาษณและเปน ผูใ หสมั ภาษณ ฝา ยละกคี่ นแลว แตค วามเหมาะสม โดยมขี อกาํ หนดและแนวทางฝก ดงั นี้ 1. รวมกาํ หนดเร่ืองท่จี ะสัมภาษณแ ละตั้งจุดประสงคของการสมั ภาษณ 2. แตละฝา ยเตรยี มการสมั ภาษณ ศึกษาเร่ือง ตง้ั คาํ ถาม หาแนวตอบ ฯลฯ 3. ปฏบิ ัตกิ ารสัมภาษณ 4. บันทกึ บทสมั ภาษณ 5. ใหครู กศน. และเพ่ือนผเู รียนประเมินและใหคําแนะนํา การใชและการพดู โทรศพั ท การส่ือสารดวยการพูดทางโทรศัพทในปจ จุบันมีแพรห ลายโดยท่ัวไป มีทั้งโทรศัพทสาธารณะ ในระดับตําบล หมูบ าน โทรศัพทส วนตัวก็ขยายไปท่ัวเกือบทุกชุมชน การเรียนรูวิธีการใชและการพูด โทรศพั ทจ งึ เปนส่ิงจําเปน สําหรบั ผเู รยี น เพราะจะไดใชใหเ กิดประโยชนส งู สุดและประหยัดคา ใชจ าย

24 วธิ ีการใชโ ทรศัพทแ ละพูดโทรศพั ท มขี อควรปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1. ตองศึกษาใหร ูแ ละเขา ใจการคน หารายช่ือและหมายเลขโทรศัพทจ ากสมุดโทรศัพทแ ละมี สมุดโทรศัพทหรือเครื่องบันทึกหมายเลขโทรศัพทสวนตัว การบันทึกหมายเลขโทรศัพทมือถือของผูท่ีจะ ตอ งตดิ ตอ เปนประจํา 2. เม่อื โทรไปแลวมีผรู บั ใหผ รู ับ บอกช่อื และสถานท่ีรับโทรศพั ททนั ที เชน “สวสั ดีคะ บา นอยูเ ปน สุขคะ” “สวัสดคี รับ ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเมอื งสงขลาครบั ” “สวัสดคี ะ 2816286 คะ” 3. ถาผโู ทรศพั ทเขามาตอ งการพดู กบั คนอนื่ และบุคคลนนั้ อยกู อ็ าจตอบกลับไปวา “กรุณารอสกั ครนู ะคะ (นะครับ)” แลวรีบไปตามบคุ คลน้นั ทันที ถาผทู ่ีเขาตองการพดู ดว ยไมอ ยหู รือไมวางจะดว ยกรณีใด ๆ ก็ตาม ควรชี้แจง ใหทราบอยา งสภุ าพ เชน “คุณสมโภช ไมอ ยคู รับกรณุ าโทรมาใหมน ะครบั ” หรอื “คุณเอื้อจติ กําลังตดิ ประชมุ คะ จะมีอะไรสงั่ หรอื ฝากไวหรอื เปลา คะ ฯลฯ” 4. ถาเกิดขอ ผิดพลาดหรอื มีปญหาในขณะใชโทรศัพทค วรกลา วคาํ ขอโทษและรบี ช้แี จงขอขัดของ ใหทราบ “ขอโทษครบั คณุ ตอผิดครบั ” หรือ “ไมเ ปนไรครับ” 5. การพูดโทรศัพททุกคร้ัง ตองพูดอยา งสุภาพใชน ํ้าเสียงใหพ อดีส้ันกระชับไดใ จความและ ตรงประเด็น อยาพดู เรว็ หรอื ใชเสียงดังเกินไป ไมพูดเร่ืองไรสาระยืดยาวเพราะจะเสียคา บริการมาก และ เสยี มารยาททําใหผอู ืน่ ท่ีจะใชโ ทรศพั ทเคร่ืองนัน้ ตอ งคอย 6. การรับโทรศัพทแทนคนอ่ืน และผูโทรศัพทต ิดตอ ฝากขอ ความไวต องจดบันทึกขอความให ครบถวน และอาจขอรายละเอียดเพ่ิมเติมใหช ัดเจน เม่ือจดบันทึกแลว ควรอา นทานใหผูท ่ีติดตอมาฟง เพอ่ื ตรวจสอบความถูกตองวา ครบถว นตามความประสงคห รือไม หากไมครบถว นจะไดเพิ่มเติมและตอง ลงชือ่ ผบู นั ทกึ พรอ ม วนั เวลาท่ีรับโทรศัพท การพดู ตอ ชุมชน 1. เปน วิธที ่ีสะดวกรวดเร็วทจ่ี ะเผยแพรความคดิ เหน็ ของบุคคลตอ สาธารณชนไดอยางกวา งขวาง ความคดิ เห็นนอ้ี าจเปนไดท ้ังในทางสนบั สนุน และคดั คาน 2. เปนวิธกี ารหนึ่งในการถา ยทอดวัฒนธรรมการปลูกฝง คณุ ธรรม การเผยแพรความรู และวิทยาการ ใหม ๆ สปู ระชาชน เชน เรอ่ื งเกีย่ วกบั วฒั นธรรมพนื้ บา น ปาฐกถาธรรม การเผยแพรค วามรูทางการเกษตร การอตุ สาหกรรม เปนตน

25 3. เปน วถิ ีทางท่ที าํ ใหม นุษยส ามารถชีแ้ นะการแกป ญ หาสงิ่ แวดลอม ปญ หาการจราจร ปญ หาทาง ดานเศรษฐกจิ เปนตน นอกจากการพูดตอชุมชนโดยการประชุมรวมกัน หรือการพูดในที่สาธารณะ เชน การหาเสียง การพูดโฆษณาสินคาตาง ๆ แลว ยังมีการพูดอีกวิธีหน่ึง ซ่ึงเปน การพูดผานสื่อมวลชน โดยผา นทาง โทรทศั นหรอื วทิ ยุ ผูเรียนเคยเหน็ เคยฟงวิธีการพูดเชนนี้มาบา งแลว อาทิ การพูดสัมภาษณ การเปน พิธีกร การสนทนา การโฆษณา การเลาเรือ่ ง เปน ตน การพูดโดยผา นสอ่ื มวลชน จะมผี ูฟงหรอื ผชู มทั่วประเทศ ผูดาํ เนินรายการจะตอ งคํานึงถึงวิธีการพูด ดังน้ี 1. วธิ กี ารพูดท่ีนาสนใจ เรา ใจ สนกุ สนาน 2. ภาษาท่ีใชตอ งสุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล กระชบั เขา ใจงา ย 3. ใหเกียรตแิ กผูท่กี าํ ลังพดู ดวยหรอื ผูท่กี ลาวถึง 4. ไมพูดกา วราว หรอื เสียดสผี อู ื่น ผูเรียนเคยไดร ับเชิญใหพ ดู ตอ ชมุ ชนไหม? ถาเคย ทบทวนซิวาเคยพูดโดยวิธีใด ขอใหอ า นตอ ไป แลว จะรูวา ที่พูดนั้นอยูในวิธีใดของประเภท การพูด ประเภทของการพูดตอ ชมุ ชนอาจแบง ไดหลายวิธี ดังน้ี 1. แบงตามวิธีการนําเสนอ มี 4 ประเภท คอื ก. การพูดโดยฉับพลัน คือ การพูดท่ีผูพ ูดไมร ูต ัวลวงหนามากอ น เชน การไดร ับเชิญใหพูด อวยพรในงานวนั เกิด งานมงคลสมรส เปน ตน ข. การพดู โดยอาศยั ตนราง คอื การพดู ที่ผูพ ูดรตู วั ลว งหนา มีเวลาเตรยี มรา งขอ ความที่จะพูด และวสั ดุอุปกรณไวกอ น การพดู ดว ยวธิ นี ้ีผูพูดจะมีความม่ันใจในการพดู มากกวา การพดู โดยฉบั พลัน ค. การพดู โดยวิธีการทอ งจาํ คอื การพูดที่ผพู ดู ตอ งเตรยี มเขียนตนฉบบั ทจ่ี ะพูดอยางละเอยี ด แลวทอ งจําเน้ือหาท้ังหมดจนขึ้นใจ การพูดวิธีน้ีไมใครเปน ธรรมชาติ เพราะถาผูพูดลืมตอนใดตอนหน่ึง ก็จะทําใหเสียเวลาคดิ ง. การพดู โดยวิธีอานจากราง คือ การพูดโดยอานจากตนฉบับท่ีเตรียมไวอ ยา งดี สว นมาก มักจะใชใ นโอกาสสําคญั เชน การกลาวปราศรัย การกลา วเปดประชมุ การกลาวใหโ อวาท 2. แบงตามความมุงหมาย มี 4 ประเภท คือ ก. การพดู เพ่อื ใหค วามรูหรือขอเท็จจรงิ เปนการพูดเพอื่ ใหขอมูลหรอื เพ่อื แจง เรอ่ื งราวตา ง ๆ ท่เี ปนประโยชน หรอื มคี วามสําคัญสาํ หรับผูฟ ง การพูดประเภทนี้ผูพ ูดอาจจะใชว ิธีพูดหลายรูปแบบ เชน อาจจะใชวธิ ีเลา พรรณนาวิจารณ อธบิ าย ข. การพูดเพื่อโนมนา วใจ เปน การพูดเพ่ือใหผูฟงเกิดความเช่ือถือ ศรัทธา มีความคิดเห็น คลอยตาม เชน การโฆษณาสนิ คา การพดู หาเสยี ง

26 ค. การพูดเพอื่ จรรโลง เปน การพดู เพือ่ ยกระดับจติ ใจใหส ูงข้ึน และเพื่อใหเกดิ ความสนุกสนาน เพลดิ เพลิน คลายเครยี ด เชน การกลาวคาํ สดดุ ี การเลานทิ าน การเลาประสบการณ ง. การพดู เพอ่ื คนหาคําตอบ เปนการพูดทมี่ ุงหมายใหผูฟง ชว ยคิดแกปญหา เชน การสัมมนา รายการคณุ บอกมา 3. แบง ตามเนอื้ หาทจ่ี ะพูด เชน เนือ้ หาเกีย่ วกบั เศรษฐกจิ การเมือง วิทยาศาสตร 4. แบง ตามโอกาสที่จะพูด อาจแบง กวา ง ๆ ได 3 โอกาส คอื ก. โอกาสท่ีเปนทางการ เชน การกลา วปราศรยั การใหโ อวาท ข. โอกาสก่งึ ทางการ เชน การบรรยายสรุปเมื่อมผี เู ยี่ยมชมสถานที่ ค. โอกาสที่ไมเปนทางการ เชน การสังสรรคกับเพื่อนเกา การเลา เรื่องตลกใหที่ประชุม การพบปะสงั สรรคกบั เพอ่ื นรวมงานเนือ่ งในวนั ข้นึ ปใ หม เปนตน 5. แบงตามรปู แบบ มดี ังนี้ ก. การสนทนาตอหนา ชุมชน คือ รูปแบบที่มีผูพูดสองคนหรือมากกวา นั้นสนทนา ซึ่งกันและกัน เชน รายการสนทนาปญ หาบา นเมอื ง ข. การปาฐกถา ผูป าฐกถาเปนผูเช่ียวชาญเฉพาะดาน ไดศกึ ษาคนความาอยางละเอยี ด ค. การอภิปรายเปนคณะ คือ การพูดของคณะบุคคลประมาณ 3 - 5 คน พูดแสดงความรู และแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นตอหนา ผฟู งเปน จํานวนมาก ง. การซกั ถามหนาทปี่ ระชุม คอื การพูดหนาประชุมโดยแบง ผูพูดออกเปน 2 กลุม กลุม หนึ่ง เปนตัวแทนของผูฟ ง จํานวน 2 - 4 คน มหี นาท่ซี กั ถาม อกี กลุมหนึ่งเปน วิทยากร ประมาณ 2 - 4 คน เปนผูตอบคําถาม จ. การโตว าที เปน การพูดโตแยงระหวา งบุคคล 2 ฝาย ฝายหน่ึงเปน ฝา ยเสนอญัตติ อีกฝายหน่งึ เปนฝา ยคา น มีกรรมการตัดสินชขี้ าดใหฝ ายหนง่ึ ฝา ยใดเปนฝา ยชนะหรือเสมอ การเตรียมการพูดตอหนา ชุมชน การพูดตอ หนาชุมชนนั้น ผูฟง สว นมากก็ต้ังความหวังไววาจะไดร ับความรูหรือประโยชนจาก การฟง ผูพูดจึงตองเตรียมตัวเปนอยา งดี เพราะการเตรียมตัวจะชวยใหผูพูดมีความม่ันใจกลาที่จะแสดง ความคิด ความเหน็ การพูดดวยความมั่นใจยอ มจะทําใหผูฟง เกิดความเชอ่ื ถือ ประทบั ใจในการพูด ผูพดู แตล ะคนอาจใชว ธิ กี ารเตรยี มตัวไดต า ง ๆ กนั ดังนี้ 1. การกําหนดจุดมุง หมายของการพูด ผูพ ูดควรกําหนดใหช ัดเจนทั้งจุดมุงหมายท่ัวไป และจดุ มงุ หมายเฉพาะเรอ่ื ง เชน การใหเ ลาประสบการณเ ก่ียวกบั การทํางาน จดุ มุง หมายทวั่ ไป คือ ใหความรู จุดมุงหมายเฉพาะ คือ วิธกี ารทํางานและอุปสรรคตาง ๆ ทีไ่ ดพ บ 2. การวิเคราะหผ ูฟ ง กอนที่จะพูดทุกครั้ง ผูพูดควรจะไดพ ิจารณาผูฟงอยางละเอียดวา ผูฟ ง สว นใหญสนใจหรือชอบเกี่ยวกับเรื่องใด โดยผูพูดควรเตรียมขอมูลและการใชภาษาใหเหมาะกับเพศวัย สถานภาพทางสังคม (โสดหรอื มีคูส มรสแลว) อาชีพพืน้ ความรู ความสนใจตลอดจนทศั นคตขิ องกลมุ ผูฟง

27 3. การกําหนดขอบเขตของเร่ืองท่ีจะพูด ผูพ ูดตอ งมีเวลาเตรียมตัวในการพูด ผูพูดจึงควร พิจารณาเรื่องที่จะพูดวา ตนเองมีความรูในเรื่องนั้น ๆ เพียงใด หากไมม ีความรูเพียงพอก็ควรหาความรู เพิม่ เตมิ และกําหนดขอบเขตของเรอ่ื งใหเ หมาะกบั ผฟู ง เชน เปน เด็กเล็ก เปนวยั รนุ หรือเปนผใู หญ เปน ตน 4. การรวบรวมเน้อื หาที่จะพูด การพูดใหผูอ ่ืนฟง ผูพูดตอ งเตรียมรวบรวมเนื้อหาใหด ื เพื่อผูฟ ง จะไดรบั ประโยชนม ากทส่ี ดุ การรวบรวมเนื้อหาอาจทาํ ไดโดยการศึกษา คน ควา การไตถ ามผูรกู ารสัมภาษณ และอาจใชอปุ กรณชว ย เพ่ือใหผ ฟู งเขา ใจไดงา ยขึน้ 5. การทําเคา โครงลําดับเรื่องที่จะพูด เพื่อใหก ารพูดเปนไปตามลําดับข้ันตอนไมสับสน ผูพูด ควรทําโครงเร่อื ง ลําดบั หัวขอใหด ี เพื่อกันการหลงลมื และชว ยใหเ กิดความมัน่ ใจในการพูด 6. การฝกซอมการพูด ผูพดู ควรหาเวลาฝก ซอ มการพูดของตนเสียกอน เม่ือถึงเวลาพูดจะไดพูด ดว ยความม่ันใจ ในการฝกซอ มนั้นควรคํานึงถึงบุคลิกลักษณะ ทายืนหรือน่ังกิริยาอาการ การใชเสียง การใชสายตา ถา มีผฟู ง อาจจะชวยติชมการพดู ในขณะฝก ซอมได กจิ กรรมที่ 4 1. ใหผ เู รยี นฟง การสนทนาทางโทรทัศน รายการที่สนใจและเปนรายการเดียวกัน เชน รายการ สนทนาปญหาบานเมือง รายการตรงประเด็น ฯลฯ เม่ือฟง แลวใหผ เู รยี นบันทึกการพูดของผูดําเนนิ รายการ และผรู วมสนทนา วา มวี ิธีการพดู อยา งไร ภาษาที่ใชเ หมาะสมหรือไม มีการพูดกา วราวหรือเสียดสีผูอื่นบา ง หรือไม ฯลฯ แลวนํามาสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในวันพบกลุม หรือตัดตอขอ ความจาก สื่อสงิ่ พมิ พม าอา นและใหว จิ ารณข อความนั้น ๆ ก็ได 2. ใหผ เู รียนสงั เกตการพูดใหขาวของบุคคลสําคัญและนักการเมืองแตล ะคนทางสถานีวิทยุและ โทรทัศน แลว พิจารณาวาการใหขาว หรือการแสดงความคดิ เหน็ นน้ั ควรเชื่อหรือไม เพียงใด เพราะเหตุใด แลวนาํ มาสนทนาแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กัน เม่ือมีโอกาสพบปะกันหรือในวันพบกลุม ผูเ รียน อาจจะฟง การพูดแสดงทรรศนะของนกั การเมืองจากเทปบันทกึ เสียงแลว นาํ มาสนทนากนั ก็ได 3. สมมตเิ หตุการณใ หผ เู รียนออกมาสนทนากันทางโทรศัพท ใหเ พ่อื น ๆ วจิ ารณ การพูดแสดงความคดิ เหน็ การพูดแสดงความคิดเห็นเปน ลักษณะการพูดที่จะใชในการปรึกษาหารือกันในกลุม ยอย เพือ่ หาแนวทางในการแกป ญ หา เชน ปญ หาการเรียน ปญ หาในการดําเนนิ ชวี ติ ปญหาของชมุ ชนพ้นื ฐาน การแสดงความคิดเห็นเปน การใชทักษะการฟง การอาน การพูดและการคิดใหส ัมพันธกัน ตองอาศัยการฝก ฝนใหเกิดความชํานาญ เพราะการพูดแสดงความคิดเห็นตองใชท้ังความรู ความคิด เหตุผลหรือหลักการ ทฤษฎีตาง ๆ หลายอยางประกอบกัน ความคิดน้ันจะถูกตองเหมาะสม มีคุณคา นาเชอ่ื ถือ การพูดแสดงความคดิ เห็นจงึ ตอ งใชค วามรอบคอบใหเหตุผล มีใจเปนกลาง บริสุทธิ์ใจ ไมมีอคติ มกี ารฝกฝนจนเกิดความชาํ นาญรบั ผิดชอบในสิง่ ท่พี ูด น่ีเปนหลักของการพูดแสดงความคิดเหน็

28 การพูดในท่ปี ระชมุ ผูเ รียนทราบมาแลววาการประชุมมีหลายประเภทหลายลักษณะทั้งการประชุมกลุม ยอย การประชมุ กลุมใหญ การประชุมเชงิ วชิ าการ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ ฯลฯ แตบุคคลท่ีมีบทบาททจ่ี ะตอ ง พูดในทปี่ ระชมุ ท่สี ําคัญนน้ั มเี พยี ง 2 ฝาย คือ ประธานในทป่ี ระชุมและผูเขารวมประชุม บุคคลท้ัง 2 ฝา ยน้ี จะตองรจู กั หนาท่แี ละมารยาทของการพูดในท่ปี ระชุม มฉิ ะนน้ั การประชมุ ก็จะไมเ รียบรอยและไมบ รรลุผล ตามวัตถุประสงค ประธานในท่ปี ระชมุ จะตองปฏิบตั ิตามหนา ท่ีและมารยาทในการพูด ดงั นี้ 1. แจงใหทราบถึงวัตถุประสงค ปญ หาหรือประเด็นที่นาคิดของการประชุมใหส มาชิกไดทราบ และพจิ ารณากอนดาํ เนนิ การประชมุ 2. พดู ตามหวั ขอ หรือวาระการประชุมอยา งสั้น ๆ ไดเนื้อหาสาระและอยา ถือโอกาสของการเปน ประธานผูกขาดการพูดแตเ พียงผูเ ดยี ว 3. ใหโ อกาสแกผ ูเขา รว มประชุมแสดงความคิดเห็นไดอยางเสรี กวางขวางเปน อิสระและทั่วถึง ประธานคอยสรปุ ความคิดเหน็ ขอ เสนอตาง ๆ ใหก ระชบั ตรงประเดน็ และเปนคนสดุ ทาย 4. ใชค าํ พูดสรา งบรรยากาศท่ีดี มคี วามเปน กนั เอง เพอ่ื ใหผูเขารว มประชุมกลาแสดงความคิดเห็น และเพ่อื ใหก ารประชุมเปนไปดว ยความราบรืน่ 5. ควบคุมการประชุมใหเปนไปตามระเบียบวาระและรักษาเวลาในการประชุมใหเ ปน ไปตาม กําหนด หากผเู ขา รว มประชุมพูดแสดงความคิดเห็นมากจนเกินเวลาหรือพูดไมตรงประเด็น ประธานตอง เตือนใหพ ดู รวบรัดและพูดใหต รงประเด็น ผูเขา รว มประชุม จะตองปฏิบัตติ ามหนา ทแี่ ละมารยาทในการพดู ดงั นี้ 1. พูดแสดงความคิดเห็นหรืออภิปรายอยา งมีเหตุผล ยอมรับฟง ความคิดเห็นของบุคคลอื่น พดู ดว ยใจเปนกลางไมใ ชอ ารมณห รือนาํ ความขัดแยง สวนตวั กบั ผูเขารว มประชมุ มาเก่ยี วขอ งกบั การพูดและ แสดงความคดิ เหน็ ในท่ปี ระชมุ 2. เขาประชมุ ใหตรงเวลาและรกั ษาเวลาในการพดู ตามท่ีประธานกาํ หนดให 3. พดู ใหไดใ จความ กระชับ และกํากับความคิดใหเ ปนไปตามข้นั ตอนมีการโยงความคิด เห็นดวย หรือขัดแยงใหส มั พันธตอ เน่อื งและสอดคลอง ไมควรพดู วกวนจนจับประเดน็ ไมไ ด 4. ไมควรผูกขาดการพูดแตผ ูเ ดียว หรือแสดงความคิดเห็นของตนเองเพ่ือแสดงความรอบรู เมอ่ื เหน็ วาประเด็นใดทมี่ ีแนวทางทด่ี ีและถกู ตองแลว ก็ควรงดเวนการแสดงความคิดเห็น มิฉะน้ันจะทําให ผเู ขารว มประชุมเกิดความเบือ่ หนา ย 5. ควรรักษามารยาทในการพูดในท่ีประชุม อยางเชน ใชภาษาสุภาพ ไมพูดกา วรา ว มีการขอ อนญุ าตตอ ประธานเม่ือตอ งการพดู ไมแสดงกิรยิ าทไี่ มสุภาพในทีป่ ระชมุ เปนตน

29 กจิ กรรมท่ี 5 ใหผูเรยี นแสดงบทบาทสมมตพิ ดู แสดงความคดิ เหน็ ในทปี่ ระชมุ ตามหวั ขอทค่ี รูกําหนด และบางคน แสดงบทบาทของผเู ขา รว มประชมุ สรุปทายมกี ารอภิปรายรวมกันถงึ ขอดี ขอ ดอ ยตามที่แสดงออก การพูดรายงาน การพูดรายงาน หมายถึง การพูดเพื่อนําเสนอเรื่องราว ขอ มูลขอเท็จจริง ผลการปฏิบัติงาน สถานการณ ความกาวหนา ของการดําเนินงานหรือผลของการศึกษาคน ควาตอ กลุม หรือที่ประชุม เชน การรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามโครงการของหนว ยงานหรอื งคกรที่รับผิดชอบ รายงานสถานการณแ ละ ความกา วหนา ของหนวยงาน รายงานผลการทดลองหรือศึกษาคนควา ของผูเรียน เปน ตน การพูดรายงาน ท่ผี เู รยี นจาํ เปน ตอ งใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน คอื การพดู รายงานผลการทดลองและการศึกษาคน ควา เพื่อเสนอ ตอ ครแู ละเพื่อนในกลมุ ซง่ึ มักจะเรยี กวาการรายงานหนาชน้ั ดังนัน้ ผูเรยี นจะตอ งทราบถึงหลักและวิธีการ พูดรายงานพรอ มทัง้ หมั่นฝก ฝนใหเกดิ ทกั ษะ ซง่ึ มีแนวปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. เรียบเรยี งเน้ือหาทีจ่ ะรายงานตามลาํ ดับความสาํ คญั ไดส าระกระชบั และชดั เจน 2. พิจารณาเน้อื หาใหเ หมาะสมกบั สภาพและพ้ืนฐานความรขู องกลุมผฟู ง 3. พิจารณาเนื้อหาท่ีรายงานใหเหมาะสมกบั เวลาทก่ี ําหนด 4. ควรใชภ าษาในการเสนอเนอื้ หาใหเ หมาะสมกับระดับของผฟู ง ใชภ าษาท่สี ือ่ สารเขาใจงา ย ไมใช ศัพทเทคนคิ หรอื ศัพทท างวชิ าการทย่ี ากจะทาํ ใหผ ฟู งไมเ ขา ใจ 5. มกี ารยกตัวอยางสถิติ เอกสารและอุปกรณป ระกอบการรายงานในเนอ้ื หาบางตอน เพื่อใหผ ูฟ ง เขา ใจงายและชัดเจน 6. ควรเปดโอกาสใหผฟู ง ไดซ กั ถามขอสงสยั เพื่อผรู ายงานจะไดอ ธิบาย 7. หากการรายงานมีเน้ือหาสาระมากเกินเวลาที่มีอยู ควรมีการพิมพเ อกสารแจกลว งหนา เพอื่ ผรู ายงานจะไดช้แี จงเฉพาะสว นท่ีสาํ คญั เทา นัน้ สวนรายละเอยี ดจะดูไดจ ากเอกสาร การพดู บรรยายความรูส ึก การพดู บรรยายความรูสึก เปน ลักษณะการถา ยทอดความรู อารมณความรูส ึกหรือความคิดเห็น ในเร่ืองใดเรือ่ งหนึ่ง โดยผูพ ูดมีจุดประสงคเพื่อโนมนา วใจใหผ ูฟ ง คลอ ยตามหรือเชื่อในเรื่องนั้น ๆ การพูด บรรยายความรสู ึกนึกคิดออกมาใหผ ูฟงเชื่อและเห็นคลอ ยตามนั้น จาํ เปนตองใชศิลปะในการพูด ศลิ ปะ ในการใชน ้าํ เสียงและการแสดงกิรยิ าทา ทางประกอบไดอยางเหมาะสม ตลอดจนการเลือกใชถอยคําในการ พูดและการใชกลวิธีในการบรรยายความรูส ึก เชน การพูดแสดงความยินดี การพูดแสดงความขอบคุณ การกลาวแสดงความเสยี ใจ การเลาเหตกุ ารณท ่ีต่ืนเตน เราใจและการพูดปลอบใจ เปนตน การพูดชแ้ี จงรายละเอยี ด การพูดช้ีแจงรายละเอียดเปน การพูดอธิบายวิธีหน่ึงท่ีมีจุดประสงคสําคัญ เพื่ออธิบายหรือช้ีแจง เรือ่ งราวตาง ๆ ท่ีมผี ูติดใจสงสยั ใหเขา ใจในรายละเอียดอยางแจม แจงชดั เจนทง้ั ผูช ี้แจงอาจเปนคน ๆ เดียว

30 หรอื เปน คณะก็ได และผูฟ งอาจจะเปน คน ๆ เดยี วหรือกลุมคนก็ได การพดู ชีแ้ จงรายละเอียดมขี ้นั ตอนและ วิธกี าร ดังนี้ 1. ตองศึกษาทําความเขาใจปญหา ขอ สงสัย เหตกุ ารณความตอ งการและสถานการณของบุคคล กลุมบุคคลที่จะชี้แจงเปน อยา งดี 2. พดู เทาความถงึ ปญหา ขอ สงสัย ความตองการของผูฟ ง คาํ ชแี้ จง เพ่ือเปนหลักฐานท่จี ะนําเขาสู การช้แี จงรายละเอยี ด 3. เร่ิมช้ีแจงรายละเอียดหรือเน้ือเร่ืองท่ีเปนเหตุผลสําคัญเปนขอเท็จจริงหรือเปนวิธีปฏิบัติ ทถี่ กู ตอ งเหมาะสม โดยใชภาษาใหเหมาะสมกบั กาลเทศะ บุคคลและสถานการณในขณะน้ันอธิบายใหผูฟ ง เขาใจในรายละเอยี ดใหแ จม แจง ชดั เจน 4. มีการสรุปในสาระสําคญั แนวปฏบิ ตั หิ รือขอตกลงใหช ดั เจนยิง่ ขึ้น กิจกรรมท่ี 6 ใหผูเ รียนฝก การพูดบรรยายความรสู ึกตอเพื่อนหรือบุคคลทีเ่ กย่ี วขอ งในโอกาสอนั ควร ซึ่งอาจจะ เปนการพูดแสดงความยนิ ดี แสดงความเสียใจหรือการพูดเพ่ือปลอบใจโดยปฏิบัติตามหลักและวิธีการพูด บรรยายความรูสึกใหครบถว นแลว ใหประเมินการพูดของตนเองดวย การอภิปราย ความหมายและความสาํ คัญของการอภิปราย การอภิปราย หมายถึง การท่ีบุคคลคณะหน่ึงจํานวนตั้งแต 2 คนขึ้นไปรว มกันพูดแสดงความรู ความคิดเห็น และประสบการณ เพ่ือใหเกิดความรู ความคิดใหม และกวางขวางเพ่ิมขึ้นหรือชว ยกันหา แนวทางและวิธกี ารในการแกปญหารวมกนั การอภิปราย มีความสําคัญตอสังคมไทยเปนอยางยิ่ง เพราะเปนสังคมประชาธิปไตย ซ่ึงใหสิทธิ เสรีภาพแกคนในสังคมไดใชค วามรู ความสามารถรวมกันในการวางแนวทางในการดําเนินชีวิต แนวทาง ในการแกปญหาในชุมชน สงั คมและประเทศ ปจจุบันไดนําเอาวิธีการอภิปรายมาใชอยา งกวางขวาง ท้ังในดานการศึกษาเลา เรียนการพัฒนา ชุมชน การอนรุ ักษและเผยแพรวัฒนธรรม การบรหิ ารธุรกิจ การประกอบอาชีพ การปกครองทองถิ่นและ ประเทศ ฯลฯ องคประกอบของการอภปิ ราย มดี ังน้ี 1. หวั ขอเรอ่ื งหรือปญหาที่จะอภปิ ราย 2. ผฟู ง 3. คณะหรือหนวยงานทจี่ ัดการอภิปราย 4. คณะผูอ ภปิ ราย

31 1. หวั ขอเร่อื งหรือปญหาท่จี ะอภิปราย ในการอภิปรายแตล ะครง้ั จะตอ งมหี วั ขอ เรอื่ งท่ีจะอภปิ ราย เพอื่ ใหค ณะอภปิ รายไดแ สดงความรู ความคิด และประสบการณในเร่ืองน้ัน ใหผูฟงเขา ใจใหค วามรูใหมแ ละไดค วามรูค วามคิดที่กวางขวางขึ้น หรอื ไม ก็ตองมีประเด็นปญหาทน่ี า สนใจท่คี ณะผอู ภปิ รายจะไดแสดงความรูความคิดและประสบการณท่ีจะ ใชเ ปนแนวทางในการแกปญหานั้น ๆ รว มกัน หัวขอ เรื่องหรือประเด็นปญ หาที่จะนํามาอภิปรายจะตอ งมี คุณคา และมีประโยชนตอกลุมผูฟ ง ซ่ึงการเลือกหัวขอเรื่องและประเด็นปญหาในการอภิปรายมีหลัก ในการเลอื ก ดงั นี้ 1. เปนเร่ืองและปญ หาทส่ี าํ คัญ มีสาระท่เี ปน ประโยชนตอทุกฝา ย 2. เปน เรื่องและปญ หาทอ่ี ยใู นความสนใจของผูฟงและผูอ ภปิ ราย 3. เปน เรื่องและปญ หาท่ีผูอ ภิปรายสามารถที่จะคนควา หาความรูและขอ มูลตาง ๆ มาเสนอ เพ่อื หาแนวทางในการแกป ญ หาได 2. ผูฟง ในการอภปิ รายบางประเภท ผฟู งกบั ผูพูดอาจจะเปนคนกลมุ เดยี วกนั เชน การอภิปรายกลุม ยอ ย การอภปิ รายในการประชมุ สมั มนาเปน ตนและในการอภิปรายบางประเภทผฟู งกบั ผพู ูดหรอื คณะผอู ภปิ ราย แยกกลมุ กัน ผฟู ง ลกั ษณะนีจ้ ะตอ งปฏิบัตติ นเปน ผูฟง ทดี่ ี ซ่ึงจะมีลกั ษณะ ดังนี้ 1. มีมารยาทในการฟง เชน ใหเกียรติผูอ ภิปรายดวยการปรบมือ ตั้งใจฟง ไมก ระทําการใด ๆ ทจ่ี ะเปนการรบกวนบคุ คลอน่ื ฯลฯ 2. ฟงอยางมวี ิจารณญาณ 3. แสดงอาการตอบสนองเปน กาํ ลังใจแกค ณะผูอ ภิปรายดว ยการแสดงออกทางกิริยาอาการ ยิม้ รบั ซักถามเมอื่ มีโอกาสและไมแสดงอาการเย็นชาเบ่ือหนาย ฯลฯ 4. นําความรูค วามคดิ ประสบการณแ ละแนวทางแกไ ขปญหาไปใชใหเกิดประโยชนต อตนเอง และสงั คม 3. คณะหรือหนว ยงานทจี่ ัดการอภปิ ราย การที่จะมีการอภิปรายเกิดข้ึนจะตองมีคณะบุคคลหรือหนวยงานท่ีรับผิดชอบจัดใหมี การอภปิ ราย ซึง่ จะตอ งทําหนา ทใี่ นการจัดสถานทจี่ ดั เตรยี มวัสดุอปุ กรณ เครอ่ื งมือสอ่ื สารตาง ๆ กําหนดวัน เวลา ประสานงาน ประชาสัมพนั ธ เพือ่ ใหการอภิปรายเปน ไปอยางราบร่ืน หากผูเรียนจะจัด การอภิปราย ข้ึนคงจะตองตง้ั คณะทํางานท่จี ะชว ยกนั และตองมผี ใู หญไวเปน ท่ีปรกึ ษา 4. คณะผูอภิปราย คณะผูอ ภิปรายนับเปนองคป ระกอบท่ีสําคัญมาก ซึ่งประกอบดวยบุคคลตั้งแต 3 – 5 คน โดยมีคนหนงึ่ ทําหนาท่ผี ูดําเนินการอภิปราย สว นที่เหลือจะเปน ผูอภิปราย ท้ังผูดําเนินการอภิปราย และ ผอู ภปิ รายจะตองรูบทบาทหนาทข่ี องตน รูวิธีการพูดและรูกระบวนการข้ันตอนตลอดจนวิธีการอภิปราย การอภิปรายจึงจะดําเนนิ ไปดว ยดี

32 ก. การคัดเลือกคณะผูอภิปราย การคัดเลือกบุคคลที่จะมาทําหนา ที่คณะผูอ ภิปรายน้ัน ควรจะเลอื กบุคคลทีม่ ีลกั ษณะ ดงั นี้ ผูดําเนินการอภิปราย ควรเปนผูที่รูก ระบวนการ วิธีการและขั้นตอนในการอภิปรายและ วิธีดําเนินการอภิปรายเปนอยางดีมีความสามารถในการพูด มีปฏิภาณไหวพริบดี เปน ผูรูเ ร่ืองราวท่ีจะ อภปิ รายพอสมควรและรูประวตั ิของผอู ภิปราย พอท่ีจะแนะนําได หากเปน ผูม ีประสบการณ ในการอภิปราย มาบา งก็จะย่งิ เปนการดี ผูอ ภปิ ราย ผูอภิปรายควรเปน ผมู ีความรคู วามสามารถและประสบการณเชยี่ วชาญในเร่ืองที่จะ อภิปรายเปนอยางดี มีความสามารถในการพูด มีปฏิภาณไหวพริบ มีอารมณดี มีความจริงใจ มีใจ เปนกลาง และมมี ารยาทในการพดู อภิปราย ข. บทบาทหนา ทข่ี องผูดําเนินการอภปิ ราย 1. ประสานและพบกบั ผอู ภิปราย เพื่อพูดคยุ ทาํ ความเขาใจในเรอื่ งของการอภปิ ราย 2. กลา วทกั ทายผูฟง บอกหัวเรอื่ งที่จะอภปิ รายและแนะนําผรู ว มอภปิ รายแกผูฟ ง 3. ชแี้ จงวิธกี ารอภิปราย ขอบขา ยของเร่อื งและเงอื่ นไขตาง ๆ ที่ผูฟง ควรทราบ 4. เสนอประเดน็ อภิปรายใหผ อู ภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ พรอ มทัง้ เชิญผอู ภปิ ราย 5. สรุปคําอภิปรายเปนระยะ ๆ ตามความเหมาะสม ซ่ึงไมจําเปนตอ งสรุปทุกคร้ัง ที่ผูอ ภิปรายแตล ะคนพูดจบใหพ ิจารณาตามที่เห็นสมควร และจะตอ งสรุปคําอภิปราย เมื่อการอภิปราย จบส้ินแลว 6. ควบคุมใหผูอภปิ รายรักษาเวลาการพูดเปนไปตามขอตกลง และพยายามใหผ ูอภิปราย พดู ตรงประเดน็ 7. พยายามท่จี ะสรางบรรยากาศในการอภปิ รายใหเปนกันเองและเมือ่ ถึงเวลาสาํ หรับผูฟง ควรจะกระตนุ ใหผฟู งไดมสี ว นรวมแสดงความคิดเห็นหรือตง้ั คําถามใหม ากที่สุด 8. เมื่อมีคําถามจากผฟู ง ควรพิจารณามอบใหผ อู ภิปรายตอบตามความเหมาะสม 9. รกั ษามารยาทในการพูด ไมแ สดงตนเขาขางฝายใดและไมพ ดู มากจนเกนิ ไป 10. กลาวสรุปคําอภิปรายและกลา วขอบคุณคณะผูอภิปราย ผูฟง ผูจัดและผูเ กี่ยวขอ ง พรอมท้ังอาํ ลาผูฟง ค. บทบาทและการพดู ของผอู ภปิ ราย 1. พบปะกบั คณะกอนการอภิปราย เพอ่ื เตรียมความพรอมในการอภปิ ราย 2. เตรียมความรูความคิดประสบการณต ามหัวขอ เร่ืองไวใหพรอ ม ละเอียดชัดเจน พรอมทง้ั สื่อและอปุ กรณท ี่จะใชป ระกอบการพูดอภิปราย 3. ใหค วามเคารพและใหค วามรว มมือผดู ําเนนิ การอภิปรายในขณะทําหนาที่ เปน ผูอ ภิปราย ตลอดเวลาการอภิปราย 4. พูดใหต รงหวั ขอเรือ่ งหรือประเด็นปญหาทผี่ ูดาํ เนินการอภปิ รายไดก ําหนดไว 5. รักษาเวลาในการพูดตามทกี่ ําหนด

33 6. รักษามารยาทในการพดู และปฏิบัตติ ามหลกั การพูดที่ดี มีวาจาสุภาพ สรางบุคลิกภาพ ท่ีดี แสดงกริ ิยาทาทางใหเ หมาะสม ฯลฯ ง. ขั้นตอนการอภิปราย ผูด ําเนินการอภิปรายจะตองแมน ยําในข้ันตอนการอภิปราย เพราะจะเปนผูค วบคุมและ ดาํ เนินการอภิปรายใหเ ปนไปตามลาํ ดับขัน้ ตอนน้ัน ๆ ซึ่งลาํ ดับข้ันตอนของการอภิปราย มีดังนี้ 1. ผูดาํ เนนิ การอภิปรายกลา วเปดการอภิปราย 2. ผูด ําเนินการอภิปรายแนะนําหัวขอ เรื่องหรือปญหาท่ีจะอภิปราย ขอบเขตของปญหา ความสาํ คัญของปญหา จุดมงุ หมายของการอภปิ ราย สุดทายคือ ผลทค่ี าดวาจะไดรับ 3. ผูด าํ เนินการอภิปรายแนะนําผรู วมอภปิ ราย 4. ผดู ําเนนิ การอภปิ ราย เชิญผอู ภปิ รายพดู ตามประเดน็ ท่ใี หหรอื ตามท่ตี กลงกันไวทีละคน 5. ผดู าํ เนนิ การอภปิ ราย สรุป เพอื่ จะโยงไปสูประเด็นท่ีจะใหผอู ภปิ รายคนตอไปพูด 6. เม่ือผูอ ภิปรายพูดครบทุกคนแลว ผูด ําเนินการอภิปรายจะใหโ อกาสผูฟง ไดถามและ แสดงความคดิ เห็นเพ่ิมเติม 7. ผูดําเนินการอภิปราย มกี ารสรุปคําอภปิ ราย ขอบคุณผเู ก่ยี วของและกลาวปด การอภิปราย กจิ กรรมท่ี 7 ใหผูเ รียนเขา ฟง การอภิปรายตามโอกาสตา ง ๆ แลวนําประสบการณมาถายทอด เพ่ือจะได แลกเปลี่ยนความรแู ละแนวการดําเนนิ การ การโตว าที ความหมายและความสําคัญของการโตวาที การโตว าที คือ การอภิปรายแบบหนึ่ง ซ่ึงประกอบดวยผูม ีความเห็นตรงขามกันในเร่ืองใด เรื่องหน่งึ มีจาํ นวนเทา กนั ตง้ั แต 2 - 4 คน ผลดั กนั พดู แสดงความคิดเห็น เพื่อจูงใจใหผ ูฟง เห็นคลอ ยตาม กบั เหตุผลและความคิดของฝา ยตน ซึง่ เรียกวา ฝา ยเสนอ ฝา ยหนึ่งและฝา ยคา นอีกฝายหน่ึง มีการกําหนด เวลาใหแ ตละฝายพดู ผูพูดแตละคนจะหาเหตุผลมาหกั ลางฝายตรงขามและหาเหตผุ ลมาสนับสนุนฝา ยของ ตนเอง โดยมคี ณะกรรมการเปนผพู ิจารณาตัดสนิ วาฝายใดมเี หตผุ ลดีกวา ฝายใดชนะหรอื เสมอกัน การโตวาที ไมม ีการใหเวลาผฟู ง ไดร วมแสดงความคดิ เห็นเหมอื นการอภปิ รายประเภทอนื่ การโตวาที เปน กิจกรรมการพูดทม่ี คี วามสําคญั ในเชิงของการใชศ ิลปะการพดู เพอื่ แสดงทรรศนะ เพอื่ การชักจูงใจและการโตแ ยง เปนการฝก ฝนการแสดงวาทศลิ ปชนั้ สูง ฝก การยอมรับฟง เหตุผล มีน้ําใจ เปน นักกีฬา และรูจ ักเคารพกติกาเกี่ยวกับการพูด ซึ่งปกติเราไมค อยจะมีกัน การโตว าทีมีจุดประสงค ที่แทจรงิ ดังทก่ี ลาวมามากกวาการจดั เพื่อความบันเทิง

34 ปจ จบุ ันมีการจดั กิจกรรมการพูดโตวาทีอยูเสมอโดยเฉพาะทางสื่อมวลชน เชน รายการยอวาที แซววาที ฯลฯ แตดูเปนการใชค ารมคมคายมากกวาการใชวิธีการแหง ปญญา ไมไดส งเสริมการเพิ่มพูน ภูมิปญ ญา เพยี งแตมงุ ความบันเทงิ มากกวาสาระความรู องคประกอบของการโตวาที การโตว าทเี ปนการพูดอภิปรายสาธารณะ จึงมกี ารแยกกลมุ ผพู ูดออกจากผูฟ ง และไมเปดโอกาส ใหผูฟง ไดม ีสว นรวมในการพูดอาจจะมีเพียงถามความเหน็ ในการตัดสินดวยการขอเสียงปรบมือเทานั้น องคป ระกอบของการโตวาทีมีดงั นี้ 1. ญัตติ คือ หัวขอการโตวาทีหรือประเด็นปญ หาที่กําหนดขึ้น ซ่ึงเปนขอ ท่ีผูพ ูดท้ังสองฝา ย มีความเห็นไมต รงกัน หรืออาจจะกาํ หนดใหเ ห็นไมต รงกัน หยบิ ยกมาใหอ ภปิ รายโตแยง กนั ญัตตทิ ีค่ วรนํามาโตว าทีควรมลี กั ษณะ ดงั นี้ 1. เปนเรื่องทีค่ นสวนใหญใหค วามสนใจและมีสว นเก่ียวของหรอื มผี ลกระทบและเกดิ ประโยชนตอ คนในสงั คมเหลานน้ั 2. เปน เรื่องใหค วามรู มีคุณคา ในการสง เสริมความรู ความคิดและสงเสริมเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง 3. เปน เร่อื งสง เสริมศิลปวัฒนธรรม และไมข ัดตอ ศลี ธรรมอันดีงามไมเปน ภยั ตอ สงั คม 4. เปน เร่ืองที่จะนําไปสูขอตกลงท่ีจะดําเนินการไดห รือสามารถนําผลของการโตว าทีไปใชใ น การแกป ญหาหรอื ใชป ระโยชนด านอ่นื ๆ ได (ควรหลีกเลี่ยงญัตติที่ขาดลักษณะดังกลาวมา เชน ญัตติที่วา ข้เี มา ดกี วาเจาชู พอคาดกี วาขา ราชการ ฯลฯ ซ่งึ เปนญตั ตทิ ี่ไมไ ดป ระโยชนไรสาระ) 2. ประธานการโตวาทแี ละคณะผตู ัดสินใจ ประธานการโตว าที เปนผูทาํ หนา ทค่ี วบคมุ การโตว าทีใหเ ปนไปตามแบบแผนและกฎเกณฑตลอด ท้ังขอตกลงตาง ๆ ประธานการโตว าทีจะมีผูช ว ยทําหนา ท่ีผูก ํากับเวลาของผูโ ตต ามที่กําหนดกันไว ประธานการโตว าทมี หี นา ที่ดงั น้ี 1. กลา วนําบอกญัตตแิ ละชีแ้ จงระเบียบวธิ ีการ หลักเกณฑข องการโตวาที 2. แนะนาํ คณะผูโตท ั้งฝา ยเสนอและฝา ยคา น แนะนําผูกํากับเวลาและคณะผตู ดั สิน 3. ช้ีแจงรายละเอยี ดของกตกิ าตาง ๆ ใหทุกฝายท่ีเกีย่ วของในการโตว าทีทราบ 4. เชญิ ผูโตข ึน้ พูดทลี ะคนตามลําดับ 5. รวมคะแนน แจง ผลการตัดสิน และกลาวปด การโตวาที คณะผูตดั สนิ คณะผูต ัดสนิ จะเลือกผทู ี่มีประสบการณใ นการโตว าทแี ละมีความเชี่ยวชาญในเรื่องทีน่ าํ มาเปน ญัตติ ในการโตว าที อาจจะมี 2 หรือ 5 คน คณะผูตัดสินมีหนา ที่ใหค ะแนนตัดสินช้ีขาด การโตวาทีฝา ยใด ที่เสนอเหตผุ ล ความคดิ ทรรศนะทีด่ ีกวา โดยไมตองถามความเหน็ ตอ ผูฟง

35 3. คณะผโู ตวาที คณะผูโต คอื กลุม 2 กลุม ท่ีมีความเหน็ ขดั แยงกนั ตกลงจะพดู แสดงความคดิ ทรรศนะของตนตอ สาธารณะหรือผูฟงท่ีสนใจ คณะผูโตจ ะแบงออกเปน 2 ฝาย คือ ฝายท่ีเห็นดวยกับญัตติจะพูดสนับสนุน เรยี กวา ฝา ยเสนอ ฝายทไี่ มเ ห็นดว ยหรือเปน ผมู คี วามคิดเหน็ โตแ ยง เรยี กวา ฝา ยคาน ผูโ ตแตล ะฝา ยจะมีหวั หนา คนหน่งึ และมีผสู นบั สนุนฝายละ 2 – 3 คน แตล ะฝา ยจะมี ดงั นี้ ฝายเสนอ ฝายคา น 1. หัวหนาฝา ยเสนอ 1. หวั หนาฝา ยคา น 2. ผูสนับสนนุ ฝา ยเสนอคนที่ 1 2. ผสู นบั สนนุ ฝา ยคา นคนที่ 1 3. ผสู นับสนนุ ฝา ยเสนอคนที่ 2 3. ผูสนับสนุนฝา ยคา นคนท่ี 2 4. ผูสนบั สนุนฝา ยเสนอคนที่ 3 4. ผูสนบั สนนุ ฝายคานคนท่ี 3 คณะผูโ ตวาทีทกุ คนทั้งฝายเสนอและฝายคา นจะตอ งปฏิบัติ ดงั นี้ 1. ปฏบิ ตั ิตามคาํ สัง่ และคําชแี้ จงของประธานอยางเครงครดั 2. ปฏิบัติตามกตกิ าของการโตวาทีอยางเครงครัด 3. รกั ษามารยาทในการพดู อยางเครง ครดั เชน พูดใหสภุ าพไมพูดกาวรา ว ยั่วเยา ดถู กู ฝา ยตรงขา ม และงดเวนการพดู เรื่องสว นตัว เปน ตน การจัดลําดบั และการพูดของผูโตว าที การจัดลําดับและการพูดของผูโตวาทีท้ังสองฝา ยจะมีการจัดลําดับกําหนดเวลาและมีแนวการ นําเสนอ ดงั นี้ ลาํ ดบั ที่ 1 หัวหนาฝายเสนอ หัวหนาฝายเสนอจะไดรับเชิญข้ึนพดู เปนอนั ดบั แรกโดยจะใหเปน ผูเสนอประเดน็ ขอบเขตของญตั ติ การใหนิยามคําและทรรศนะทมี่ ตี อ เร่อื งที่โตวาทใี นครั้งน้ันวา เปน อยา งไร โดยจะบอกถงึ ขอเทจ็ จริง เหตุผล พรอมหลกั ฐานตาง ๆ มาสนับสนุน ปกตหิ วั หนา ท้ัง 2 ฝา ยจะใชเ วลาพูดมากกวาผสู นบั สนนุ เล็กนอ ย ลําดบั ที่ 2 หวั หนา ฝายคา น หัวหนา ฝา ยคา นจะไดร ับเชิญข้ึนพูดเปน อันดับท่ี 2 ตอจากหัวหนา ฝา ยเสนอหัวหนาฝา ยคา นจะ รวบรวมขอเสนอของหัวหนา ฝายเสนอทกุ ขอทกุ ประเด็นมาคดั คานดวยเหตผุ ลและหลักฐาน เพื่อหักลางให ไดทุกประเดน็ แลวจงึ เสนอความคดิ เหตผุ ลและหลกั ฐานสนบั สนุนความคิดของฝา ยคานไวใ หม ากทส่ี ดุ ลาํ ดับท่ี 3 - 6 หรอื 8 ผสู นับสนนุ ท้งั สองฝาย ตอจากหวั หนา ฝา ยคา น ก็จะเปนหนา ท่ีของผูส นับสนุนฝายเสนอและฝา ยคานสลับกันไป โดยทุกคน จะทาํ หนาที่สนบั สนุนความคดิ และเหตุผลของฝา ยตนเอง คัดคานหักลางความคิดและเหตุผลของฝายตรง กันขา มใหครบทกุ ประเดน็ แลวก็จะเสนอความคดิ เหตุผลและหลักฐานตาง ๆ สนบั สนุนฝา ยตนเอง ลําดบั สุดทาย เมื่อผสู นับสนนุ ทงั้ 2 ฝา ยพูดครบทกุ คนแลวจะใหห วั หนาทั้งสองฝา ยมาพดู สรปุ อีกครั้งหนึง่ โดยจะ ใหห วั หนาฝายคา นเปน ผสู รุปกอนแลว จงึ ใหห ัวหนาฝายเสนอสรุปเปน คนสุดทา ย

36 4. ผูฟ ง ผฟู งการโตวาทีเปน ผรู ับความรู ความคดิ ทรรศนะของผโู ตว าทที ั้งสองฝา ย แลวจะตองใช วจิ ารณญาณทีจ่ ะนาํ ไปใชใหเกิดประโยชน ผฟู งการโตว าทีไมม ีโอกาสไดรวมแสดงความคิดเห็นเหมือนกิจ กรรมการฟงอภปิ รายประเภทอนื่ มแี ตเ พียงตอ งปฏบิ ัติตนใหเปน ผฟู งที่ดีเทานน้ั กจิ กรรมท่ี 8 ใหผ ูเ รียนเขา รวมกิจกรรมการโตวาทีของกลุมในโอกาสสําคัญ โดยเขา รว มเปน คณะผูจ ัด คณะผูโ ต หรอื อนื่ ๆ ตามความเหมาะสมเพือ่ ฝกฝนการพูด การเปน พธิ กี ร พิธีกร ในพจนานุกรมบอกความหมายวา ผูด ําเนินการในพิธี ผูดําเนินรายการ ดังนั้น พิธีกร จึงหมายถึง ผูทําหนา ที่ดําเนินรายการของงานท่ีจัดข้ึนอยางมีพิธีการ เชน การประชุม การสัมมนา การอภปิ ราย การไหวครู ฯลฯ พิธีกรจะเปนผทู ําหนา ทบ่ี อกกลาว ใหผูเขารวมพธิ ีไดทราบถงึ ขน้ั ตอนพธิ ีการ วา มอี ะไรบา ง ใครจะเปน ผูพ ูด ใครจะเปน ผูแสดง ใครจะทําอะไร พิธีกรจะเปนผูแ จง ใหท ราบ นอกจากนี้ พิธีกรจะทาํ หนา ทปี่ ระสานงานกับทุกฝา ย เพื่อจะไดข อ มูลท่ีแตละฝา ยจะดําเนินการและพิธีกรจะตอ งจัด และดําเนินการตามขนั้ ตอนกําหนดเวลาใหบรรลุ หากพธิ ีกรทาํ หนา ท่ีบกพรอ งกจ็ ะทาํ ใหเ กิดความเสยี หายได คุณสมบตั ขิ องผูท่เี ปนพิธกี ร มีดังน้ี 1. เปน ผูท ี่มีบุคลิกภาพดี รูปรางดีสงา มีใบหนายิ้มแยม แจมใส รูจักแตงกายใหเหมาะสมกับ กาลเทศะ พธิ ีหรือรายการน้ัน ๆ 2. มีน้าํ เสยี งนุม นวล นา ฟง มีลีลาจงั หวะการพูดพอเหมาะ ชวนฟง มีชีวติ ชวี า 3. พูดออกเสยี งถกู ตอ งตามอักขรวธิ ี ชดั เจน ออกเสียงคําควบกล้ําไดถูกตอง 4. ใชภาษาดี เลือกสรรถอ ยคํานํามาพูดใหผูฟ ง เขาใจงาย ส่ือความหมายไดด ี สั้นและกระชับ มศี ิลปะในการใชภ าษา 5. มีมารยาทในการพดู ใหเ กยี รติผฟู ง ควบคมุ อารมณไ ดดี 6. มมี นษุ ยสมั พันธท ่ดี ี มวี ิธสี รางบรรยากาศดว ยสีหนา ทา ทาง ลลี าและนาํ้ เสยี ง ฯลฯ 7. เปน ผใู ฝใจศึกษารปู แบบวิธีการใหม ๆ มาใช มีความคิดสรางสรรค ยอมรับฟง ความคดิ เหน็ ของ บคุ คลอน่ื และพยายามพัฒนาปรบั ปรงุ ตนเองอยูเสมอ 8. มีความรใู นรายละเอียด ขน้ั ตอน พิธีการของกจิ กรรมทด่ี าํ เนนิ รายการเปนอยา งดี ดว ยการศกึ ษาประสานงาน ซกั ซอ มสอบถามจากทุกฝายใหชดั เจนและแมนยาํ 9. เปน คนมปี ฎิภาณไหวพรบิ ดี มีความสามารถในการแกป ญหาเฉพาะหนาไดอยา งฉับไว ข้นั ตอนการพดู ของพิธีกร การเปนพิธกี รนนั้ มขี ั้นตอนการพดู แตกตา งกันไปตามลกั ษณะของงาน ถา เปน งานทางวิชาการ เชน การประชุม การสัมมนา การอภิปรายก็จะมีขั้นตอนในการพูดลักษณะหน่ึง ถา เปนงานของโรงเรียนหรือ หนว ยงานอ่ืนท่ีมีการแสดงก็อาจจะมีข้ันตอนแตกตา งจากงานทางวิชาการบา ง หรือถา เปน งานประเภท

37 งานมหกรรมงานแสดงดนตรกี จ็ ะมขี ้ันตอนการพดู ทีม่ ขี อแตกตา งในเชิงเนื้อหาบา ง แตโดยท่ัวไปพิธีกรจะมี ขั้นตอนในการพดู ดังน้ี 1. กลาวทักทายและปฏิสนั ถารกบั ผฟู ง 2. แจงวัตถุประสงคหรือกลา วถึงโอกาสของการจัดงาน 3. แจง ถึงกจิ กรรมหรือการแสดงทีจ่ ะจดั ข้ึนวา มีอะไร มขี ้ันตอนอยางไร 4. กลา วเชญิ ประธานเปด งาน เชิญผกู ลา วรายงาน (ถาม)ี และกลา วขอบคณุ เมือ่ ประธานกลาวจบ 5. แจงรายการท่ีจะดาํ เนนิ ในลาํ ดบั ตอไป ถา มีการอภิปรายก็เชิญคณะผอู ภปิ ราย เพ่ือดําเนินการ อภิปราย ถาหากงานนัน้ มีการแสดงกแ็ จง รายการแสดง 6. พดู เชอ่ื มรายการหากมีการแสดงหลายชดุ กจ็ ะตอ งมีการพดู เชอื่ มรายการ 7. เม่ือทุกรายการจบสิ้นลง พิธีกรก็จะกลาวขอบคุณแขกผูม ีเกียรติ ผูฟ งและผูชม ผูท ่ีให การชวยเหลือสนบั สนุนงา หากมพี ิธปี ด พธิ ีกรกจ็ ะตอ งดําเนนิ การจนพธิ ีปดเสร็จเรียบรอ ย กจิ กรรมท่ี 9 1. ใหผูเ รียนดแู ละฟงการพูดของพธิ กี รในรายการตา ง ๆ ทางโทรทัศนแ ละวิทยุเพื่อสังเกตข้ันตอน วธิ กี ารและเทคนคิ ตาง ๆ ของพธิ ีกรเพอ่ื เปน ตัวอยาง จะไดน ําสวนดีมาฝกและใชเ มื่อไดท าํ หนา ทพ่ี ิธีกร 2. ในโอกาสตาง ๆ ทก่ี ลุมหรือสถานศึกษาจดั งานใหผูเ รียนใชโอกาสฝก ทําหนา ท่ีพิธีกร เพ่ือจะได ฝก ทักษะ การพูดเปน พิธีกร หากจะใหเ พื่อนไดชว ยวิจารณและใหค รูประจํากลุมใหค ําแนะนําก็จะทําให พัฒนาการพูดเปน พธิ กี รไดด ี ผมู ีมารยาทดใี นการพดู การมีมารยาทในการพูดก็จะคลา ยคลึงกับลักษณะการพูดท่ีดีดังที่ไดกลาวในตอนตนแลว ซึ่งอาจ ประมวลได ดังนี้ 1. ผพู ูด เปน ผทู ี่ถา ยทอดความรสู กึ ความคดิ เห็น ขอ เท็จจริง ตลอดจนทศั นคตขิ องตนไปสผู ูฟง โดยสื่อทางภาษา เสียง อากัปกิริยา และบุคลิกภาพ ใหม ีประสิทธิภาพที่สุด ผูพูดจะตองมีมารยาทและ คุณธรรมในการพดู และผพู ดู เองตองมีการเตรียมตัว มีความรู และประสบการณใ นเร่ืองท่ีจะพูดอยา งดี และตอ งรวบรวมเรยี บเรยี งความรูเหลานัน้ ใหเ ปนระบบและถายทอดใหผ ูฟง เขา ใจงาย และชัดเจน ผูพูด เองตอ งมที กั ษะในการพูดมคี วามสนใจที่จะพฒั นาบุคลกิ ภาพอยูเสมอ เปนการสรางความมนั่ ใจใหผ พู ดู เอง 2. เรอื่ งและสาระทีพ่ ดู ตองมีประโยชนตอผฟู ง ควรเปนเรอื่ งทนั สมยั เน้อื หาชดั เจน ผพู ูดตอ งขยาย ความคดิ และยกตัวอยา งใหชดั เจน 3. ผพู ูดตอ งรจู ักกลมุ ผฟู ง กอ นลวงหนา ทัง้ อาชพี วัย เพศ ความสนใจของผูฟง ฯลฯ รวมทัง้ จุดมุง หมายในการพูด เพื่อจะไดเตรยี มตัวและเนอื้ หาไดถ ูกตอ งนา สนใจ 4. ผูพูดตองคนควาหาความรู และประมวลความคิดทั้งหมด แยกแยะใหไ ดว า ความคิดหลักคือ อะไร ความคดิ รองคืออะไร และควรหาสงิ่ สนับสนุนมาประกอบความคิดน้นั ๆ เชน เหตุการณท่ีรับรูก ันได

38 ทว่ั ไป หรือบุคคลที่มีช่ือเสียง ฯลฯ พรอ มกันนั้นถามีการอา งอิงเรื่องท่ีมาประกอบการพูดท่ีผูพูดตองบอก แหลง ท่มี าดวย 5. การจัดระเบยี บ และวางโครงเร่ือง ตอ งเตรียมใหด ีเพ่ือจะไดไมพ ูดวกวน เพราะมิฉะนนั้ จะทาํ ให การพูดไมนาสนใจ และอยาลมื วาในการพูดแตละครั้งตอ งใหครอบคลมุ จดุ มุงหมายใหครบถว น 6. ผพู ูดตอ งเราความสนใจของผูฟง ดว ยการใชภาษา เสียง กิริยาทา ทาง และบุคลิกภาพสว นตน เขาชว ยใหผูฟง ฟงอยางต้งั ใจ และผูพ ูดตองพรอมในการแกปญหาเฉพาะหนา ทอี่ าจเกิดขนึ้ ดว ย กิจกรรมที่ 10 ผูเ รยี นทดลองประเมนิ ตนเองวา ทา นสามารถเปน นกั พดู ระดบั ใด ถากําหนดระดับ A B C และ D โดยทานเปนผูตัง้ มาตรฐานเอง และถาไดร ะดับ C ลงมา ทา นคดิ จะปรบั ปรุงตนเองอยา งไรหรอื ไม

39 บทที่ 3 การอาน สาระสาํ คญั การอานเปน การแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเปน ความคิดและนําไปใชตัดสินใจ แกปญหา และสรางวสิ ัยทศั นใ นการดาํ เนนิ ชวี ิตและมีนสิ ัยรกั การอาน ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั ผเู รียนสามารถ 1. จับใจความ สรุปความ ตคี วาม แปลความและขยายความเรือ่ งทอี่ าน 2. วิเคราะห วิจารณความสมเหตุสมผล ความเปน ไปไดและลาํ ดบั ความคดิ ของเร่อื งทอ่ี านได 3. เขาใจความหมายของภาษาถิน่ สํานวน สภุ าษติ ในวรรณกรรมทองถ่ิน 4. เลือกอา นหนงั สอื จากแหลงความรู เปน ผมู มี ารยาทในการอานและรกั การอา น ขอบขายเนอ้ื หา เรอื่ ง 1 ความสําคญั ของการอา น เรอ่ื ง 2 วจิ ารณญาณในการอาน เรอ่ื ง 3 การอา นแปลความ ตคี วาม ขยายความ จับใจความหรือสรปุ ความ เรื่อง 4 วรรณคดี เรอ่ื ง 5 หลกั การวิจารณว รรณกรรม เรือ่ ง 6 ภาษาถิน่ เรอ่ื ง 7 สํานวน, สภุ าษติ เรอ่ื ง 8 วรรณกรรมทองถิน่

40 เรอ่ื งท่ี 1 ความสาํ คัญของการอา น 1 การอานชว ยพัฒนาคุณภาพชีวิต ทําใหผ ูอานไดรับสาระความรูเ พ่ิมข้ึน เปน คนทันสมัย ทันเหตกุ ารณและความเคลื่อนไหวของเหตุการณบานเมือง ตลอดจนสังคมและวิทยาการใหม ๆ เปน ตน ผูอ า นเม่อื ไดร ับความรูจากการอานแลว จะสามารถนําสาระตาง ๆ มาสรางสรรคใหเ กิดประโยชนตอชีวิต สงั คมและประเทศชาติในโอกาสตอไปได 2. การอา นชวยใหเกิดความเพลดิ เพลิน หนงั สือหลายประเภทนอกจากจะใหความรู ความคิดแลว ยังใหค วามเพลิดเพลนิ อกี ดวย ผอู า นหนังสือจะไดร บั ความเพลดิ เพลนิ ไดรบั ความสขุ อีกทัง้ ยงั สรา งความฝน จนิ ตนาการแกผอู าน ตลอดจนเปน การพกั ผอนและคลายเครียดไดเ ปน อยา งดี 3. การอา นมผี ลตอการดําเนินชวี ติ ทส่ี ขุ สมบรู ณของมนุษย ผลทไี่ ดร บั จากการอาน นอกจากจะเปน พน้ื ฐานของการศึกษา ศลิ ปวทิ ยาการ และชว ยในการพฒั นาอาชีพแลว ยงั มีผลชว ยใหผอู า นไดแนวคดิ และ ประสบการณจาํ ลองจากการอานอีกดว ย ซ่งึ ความคิดและประสบการณจะทําใหผูอ า นมีโลกทัศนก วา งข้ึน เขา ใจตนเอง เขา ใจผูอืน่ และเขาใจสงั คมเปน อยางดี อันจะมีผลตอการดําเนินชีวิตและการดํารงตนอยูใน สงั คมไดอยางมคี วามสุข เรื่องท่ี 2 วจิ ารณญาณในการอาน วิจารณญาณในการอาน คือ การรับสารจากการอานใหเ ขาใจเน้ือหาสาระแลวใชสติปญ ญา ใครครวญหรอื ไตรต รอง โดยอาศัยความรู ความคิด ประสบการณมาเปน เหตุผลประกอบและสามารถนํา ไปใชในชีวติ ไดอยางถกู ตองเหมาะสม การใชว ิจารณญาณในการอาน จะเริ่มตนท่ีการอา นดวยความต้ังใจและพยายามทําความเขา ใจ เนอ้ื หาสาระของเรื่องท่ีอา นแลวใชความรู ความคดิ เหตผุ ลและประสบการณป ระกอบการคิด ใครค รวญ ใหสามารถรบั สารไดถูกตอ ง ถอ งแท การอา นโดยใชว จิ ารณญาณประกอบดว ยการเขา ใจของเรอ่ื ง การรูจ ักเขียน การเขาใจความสมั พนั ธข องสารและการนาํ ไปใช การอานอยา งมีวิจารณญาณจะตอ งใชความคิด วิเคราะห ใครครวญและตัดสินใจวาขอ ความท่ีได อานน้ัน สิ่งใดเปน ความสําคัญ สิ่งใดเปน ใจความประกอบหรือพลความ สามารถแยกขอ เท็จจริงจากขอ คิดเหน็ ได ตลอดจนวนิ จิ ฉัยไดว าขอความท่ีอานน้ันควรเชื่อถือไดห รือไมเพียงใด และการอา น ประเมินคา วาขอความที่ไดอา นมีเนื้อหาสาระหรือมีแงค ิดท่ีดีหรือไม อาจนําไปใชป ระโยชนไดเ พียงไร รวมท้ัง การประเมินคางานเขียนในดานตาง ๆ เชน ความรู ความสามารถ ความจริงใจและกลวิธใี นการเขยี น

41 ขนั้ ตอนของวจิ ารณญาณในการอา น มีดังนี้ 1. อานใหเขาใจตลอดเร่อื ง เปน การอา นสารดว ยความต้ังใจใหเขา ใจรายละเอียดตลอดเรือ่ ง 2. วิเคราะหเ ร่อื ง เมื่ออานและเขา ใจเร่ืองแลว จะตอ งนํามาวิเคราะหส าระสําคัญใหร ูเ รื่องท่ีอาน เปนเรื่องประเภทใด อะไรเปน ขอเท็จจริง อะไรเปนขอ คิดเห็น และอะไรเปนประโยชน ลักษณะของตัว ละครเปนอยางไร เปน เร่ืองประเภทรอ ยแกว รอยกรอง บทความ ขาว หรือละคร ฯลฯ ผูเขียนมีเจตนา อยางไร ในการเขียนเรอ่ื งน้ี ใชก ลวิธีในการนําเสนออยางไร ซึ่งผอู า นตองพจิ ารณาแยกแยะใหได 3. ประเมินคาของเรื่อง เม่ืออา นและวิเคราะหแ ยกแยะเร่ืองแลว นํามาประเมินคาวา สิ่งใดเท็จ สิ่งใดจริง ส่งิ ใดมคี า ไมม คี า มปี ระโยชนใ นดานใด นําไปใชกบั ใครเมื่อไรและอยางไร 4. นําเรอ่ื งที่อา นไปใช หลังจากผา นข้ันตอนของการอา น ทาํ ความเขา ใจ วิเคราะหและประเมนิ คา แลว ตองนําไปใชไ ดท ง้ั ในการถา ยทอดใหผ ูอื่น และนาํ ไปใชในการดาํ เนนิ ชีวติ ไดอยา งเหมาะสมกับกาลเทศะ และบุคคล หลักการอา นอยา งใชว จิ ารณญาณ 1. พิจารณาความถูกตองของภาษาท่ีอาน เชน ดานความหมาย การวางตําแหนงคํา การเวน วรรคตอน ความผิดพลาดดังกลาวจะทําใหการสอ่ื ความหมายผิดไป 2. พิจารณาความตอ เนอ่ื งของประโยความีเหตุผลรับกันดีหรือไม โดยอาศัยความรูดานตรรกวิทยา เขาชว ย ขอความจากประโยคจะตองไมขัดแยง กัน หรือเรียงลําดับไมส ับสนวุน วายจนอา นไมร ูเรื่องหรือ อา นเสยี เวลาเปลา 3. พิจารณาดูความตอเน่อื งของเร่อื งราวระหวางเรอ่ื งทเ่ี ปนแกนหลกั หรอื แกนนํากับแกนรองและ สว นประกอบอ่นื ๆ กลมกลนื กนั ดีหรือเปลา 4. รูจกั แยกแยะขอเท็จจริงออกจากเรื่องการแสดงความรูแ ละขอคิดเห็นของผูแตง เพื่อจะไดนํามา พจิ ารณาภายหลังไดถ กู ตอ งใกลเคียงความเปนจรงิ ย่งิ ขนึ้ 5. พิจารณาความรู เนื้อหา ตัวอยา งท่ีได วามีสวนสัมพันธกันอยา งเหมาะสมหรือไมเ พียงใด เปน ความรูค วามคิด ตัวอยางท่ีแปลกใหมหรืออา งอิงมาจากไหน นาสนใจเพียงใด จากน้ันควรทํา การประเมินผลโดยท่ัวไปวาผลจากการอานจะทําใหเ กิดความรูค วามคิดมากนอ ยเพียงใด โดยเฉพาะ อยา งยิง่ ความคิดสรา งสรรคทผ่ี อู า นประสงคห รือปรารถนาจะไดจากการอา นนน้ั ๆ อยูเสมอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook