Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงาน กศน 2562

รายงานผลการดำเนินงาน กศน 2562

Description: รายงานผลการดำเนินงาน กศน 2562

Search

Read the Text Version

ก คำนำ สำนักงำน กศน. ได้ส่งเสริม และสนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำ ตำมอัธยำศัย โดยกำรขับเคลื่อนกำรดำเนินงำนโครงกำร/กิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบำย ยุทธศำสตร์ ตำมจุดเน้นสำคัญท่ีรัฐบำลและกระทรวงศึกษำธิกำรกำหนด ตลอดจนกำรดำเนินงำนตำมนโยบำยและจุดเน้น กำรดำเนินงำน สำนักงำน กศน. ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ให้บรรลุวิสัยทัศน์ “คนไทยได้รับโอกำส กำรศึกษำและกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่ำงมีคุณภำพ สำมำรถดำรงชีวิตที่เหมำะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลัก ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง และมที ักษะท่ีจำเปน็ ในโลกศตวรรษท่ี 21” กำรดำเนินงำนโครงกำร/กิจกรรมสำคัญต่ำง ๆ สำนักงำน กศน. ได้รวบรวมและจัดทำข้อมูล รำยงำนผลกำรดำเนินงำนในภำพรวมฉบับนี้ โดยมีสำระสำคัญเป็นผลกำรดำเนินงำนโครงกำร/กิจกรรมสำคัญ ตำมแผนปฏิบัติรำชกำร ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ท้ังโครงกำรตำมยุทธศำสตร์ ผลผลิตและ กำรดำเนินงำนตำมภำรกิจต่อเน่ือง เพ่อื เผยแพร่ประชำสมั พันธ์ผลงำนกำรจัดกิจกรรมกำรศึกษำนอกระบบและ กำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั อันจะเปน็ ประโยชนแ์ ก่ผบู้ รหิ ำร ผู้ปฏบิ ตั ิงำน ผรู้ บั บริกำรและประชำชนผู้สนใจ อน่ึง กำรจัดทำรำยงำนผลกำรดำเนินงำน สำนักงำน กศน. ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ฉบับน้ี ได้รับควำมร่วมมือและกำรสนับสนุนข้อมูลอย่ำงดีย่ิงจำกหน่วยงำนและสถำนศึกษำท้ังส่วนกลำงและ ส่วนภูมิภำค ตลอดจนภำคีเครือข่ำยท่ีมีส่วนร่วมในกำรดำเนินงำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำ ตำมอัธยำศัย ส่งผลให้รำยงำนผลกำรดำเนินงำนฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ดังนั้น สำนักงำน กศน. จึงหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำรำยงำนผลกำรดำเนินงำน จะเกิดประโยชน์ต่อกำรดำเนินงำน รวมถึงเป็นแนวทำง ในกำรพัฒนำงำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั แก่ผทู้ ี่เก่ยี วขอ้ งต่อไป สำนกั งำน กศน.

ข สารบัญ คานา ก สารบญั ข สารบัญตาราง ง สารบญั แผนภูมิ จ บทสรปุ ผู้บริหาร 1 นโยบายดา้ นการศึกษา 5 นโยบายรัฐบาล 5 นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 8 นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 11 ทาเนียบผู้บริหาร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 26 ทาเนยี บผบู้ ริหาร สานกั งาน กศน. 28 โครงสร้างสานกั งาน กศน. 36 วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ สานกั งาน กศน. 37 สว่ นที่ 1 ผลการดาเนนิ งานตามแผนงาน และยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ 39 1) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมั่นคง 45 2) ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั 57 3) ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 62 4) ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 70 5) ยุทธศาสตรด์ ้านการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มิตรต่อสง่ิ แวดลอ้ ม 85 6) ยุทธศาสตรด์ า้ นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ 86 สว่ นท่ี 2 ผลการดาเนนิ งานตามภารกิจตอ่ เน่อื ง 90 1) ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ 91 2) ดา้ นหลักสูตร สอื่ รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล 98 งานบรกิ ารทางวชิ าการ และการประกันคุณภาพการศึกษา 3) ดา้ นเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา 105 4) ดา้ นโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอนั เกี่ยวเน่อื งจากราชวงศ์ 108 5) ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พน้ื ที่เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 112 และพื้นที่บรเิ วณชายแดน 6) ดา้ นบคุ ลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมสี ว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น 113

ค สว่ นท่ี 3 ผลการปฏิบตั งิ านตามคารับรองการปฏบิ ตั ิราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 116 สว่ นท่ี 4 ผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณรายจ่าย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 120 สว่ นท่ี 5 สถิติสารสนเทศ 124 ภาคผนวก 136 คาสง่ั แตง่ ตง้ั คณะทางานจดั ทารายงานผลการดาเนินงาน สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษา 137 นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะผูจ้ ัดทารายงาน 140

ง สารบัญตาราง 1. ตาราง 1 ผลการเปรียบเทยี บงบประมาณทไี่ ด้รบั จดั สรรกับผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ 120 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จาแนกตามแผนงาน 2. ตาราง 2 ผลการเปรยี บเทยี บงบประมาณทไี่ ด้รบั จดั สรรกบั ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ 120 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามแผนงานบุคลากรภาครฐั 3. ตาราง 3 ผลการเปรยี บเทียบงบประมาณท่ไี ด้รบั จดั สรรกบั ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ 121 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามแผนงานพ้นื ฐาน 4. ตาราง 4 ผลการเปรยี บเทียบงบประมาณที่ได้รับจดั สรรกบั ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ 121 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามแผนงานยุทธศาสตร์ 5. ตาราง 5 ผลการเปรยี บเทยี บงบประมาณทีไ่ ดร้ ับจัดสรรกบั ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ 122 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ตามแผนงานบรู ณาการ 6. ตาราง 6 ผลการเปรียบเทียบงบประมาณทไี่ ดร้ ับจัดสรรกบั ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณโครงการ 122 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ตามแผนงานบรู ณาการ 7. ตาราง 7 จานวนผรู้ บั บรกิ ารท่ลี งทะเบียนเรียน และจบการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 124 8. ตาราง 8 จานวนผ้รู บั บรกิ ารท่ลี งทะเบียนเรยี นกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง 125 9. ตาราง 9 จานวนแหล่งการเรยี นรู้ด้านสง่ เสรมิ การอ่าน สังกัดสานักงาน กศน. 126 10. ตาราง 10 จานวนผู้รบั บรกิ ารด้านการสง่ เสริมการอ่าน จาแนกตามแหล่งการเรยี นรู้ 126 11. ตาราง 11 ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบ 127 (N-NET) จาแนกเปน็ รายสาระวชิ าและระดบั การศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 12. ตาราง 12 รอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบ 128 (N-NET) จาแนกเปน็ รายสาระวิชาและระดบั การศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 13. ตาราง 13 ผลการประเมินเทียบระดบั การศึกษา มติ ิความรู้ความคิด คร้ังท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 129 14. ตาราง 14 ผลการประเมินเทียบระดบั การศึกษา มติ ิความร้คู วามคิด คร้งั ท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 130 15. ตาราง 15 จานวนและรอ้ ยละผลการปฏิบตั ิงานด้านผู้รับบรกิ ารการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรฯ์ 131 จาแนกตามกิจกรรมการเรียนรู้ 16. ตาราง 16 ข้อมลู บคุ ลากร สานกั งาน กศน. จาแนกตามประเภทตาแหน่ง 133

จ สารบญั แผนภูมิ 1. แผนภูมิ 1 ร้อยละของจานวนผ้รู ับบริการที่ลงทะเบียนเรยี นกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง 125 เปรียบเทยี บกับเปา้ หมาย 2. แผนภูมิ 2 กราฟแสดงจานวนผู้รับบริการด้านการสง่ เสริมการอ่าน จาแนกตามแหล่งการเรยี นรู้ 127 3. แผนภูมิ 3 รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ ้านการศึกษา 128 นอกระบบ (N-NET) จาแนกเปน็ รายสาระวิชาและระดับการศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 4. แผนภูมิ 4 รอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้านการศกึ ษา 129 นอกระบบ (N-NET) จาแนกเปน็ รายสาระวิชาและระดับการศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 5. แผนภมู ิ 5 รอ้ ยละของผลการประเมนิ เทยี บระดบั การศึกษา มิติความรูค้ วามคดิ 130 ครัง้ ท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 6. แผนภูมิ 6 รอ้ ยละของผลการประเมนิ เทยี บระดับการศึกษา มิติความรคู้ วามคิด 131 ครัง้ ที่ 1 ปีการศึกษา 2562 7. แผนภมู ิ 7 รอ้ ยละผลการปฏิบตั ิงานด้านผ้รู ับบริการการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรฯ์ 132 จาแนกตามกจิ กรรมการเรียนรู้ 8. แผนภมู ิ 8 ร้อยละของบคุ ลากรในสังกัดสานักงาน กศน. จาแนกตามประเภทตาแหน่ง 134 9. แผนภูมิ 9 รอ้ ยละของบุคลากรในสังกดั สานักงาน กศน. จาแนกตามตาแหนง่ ขา้ ราชการครู 134 10. แผนภมู ิ 10 ร้อยละของบุคลากรในสงั กัดสานักงาน กศน. จาแนกตามตาแหน่งบุคลากร 135 ทางการศึกษาอ่ืน

บทสรุปผูบ้ รหิ าร รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นข้อมูล ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีมุ่งสู่วิสัยทัศน์ “คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิต ที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จาเป็นในโลกศตวรรษที่ 21” โดยมีสรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณ และผลการดาเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ตามแผนงาน ยทุ ธศาสตร์ ดงั นี้ 1. ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จาแนกเปน็ 4 แผนงาน ได้แก่ 1) แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ 2) แผนงานพื้นฐาน 3) แผนงานยทุ ธศาสตร์ และ 4) แผนงานบูรณาการ จานวนท้ังส้ิน 12,441,102,400 บาท และมีผลการใช้จ่ายงบประมาณ จานวนท้ังส้ิน 10,867,226,196.39 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 87.35 2. ผลการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2.1 การศึกษาข้ันพื้นฐาน มีนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนและจบหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ในภาคเรียนท่ี 2/2561 จานวน 985,011 คน มีผู้จบการศึกษา จานวน 98,669 คน และภาคเรียนที่ 1/2562 มีผลู้ งทะเบียน จานวน 951,939 คน และมีผู้จบการศกึ ษา จานวน 112,110 คน 2.2 การศึกษาต่อเน่ือง มีผู้เรียนท่ีผ่านกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง จานวน 2,016,991 คน จาแนกเป็น 1) การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต จานวน 381,175 คน 2) การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ (โครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) จานวน 942,178 คน 3) การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน จานวน 345,092 คน 4) การจัดการเรยี นรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งจานวน 192,150 คน 5) การจดั การศกึ ษาเพ่ือชุมชนในเขต ภูเขา (ศศช.) จานวน 77,444 คน 6) การสง่ เสริมการรูห้ นังสือ จานวน 78,952 คน 2.3 การศึกษาตามอัธยาศัย มีผู้รับบริการท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยใน หลายรูปแบบ ทั้งการให้บริการรายการวิทยุเพื่อการศึกษา รายการโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา บริการสื่อเพ่ือ เพ่ือการศึกษา บริการกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา บริการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จานวน 27,558,463 คน จาแนกเป็น 1) กิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์ จานวน 5,026,538 คน 2) กิจกรรมด้านบริการ สง่ เสริมการอา่ น จานวน 13,373,933 คน และ 3) กจิ กรรมด้านเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา จานวน 9,157,992 คน 3. ผลการดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรมสาคญั ตามยทุ ธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ 3.1 ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ได้ดาเนินการ 1) พัฒนาบุคลากรเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพ่ือให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติหน้าที่ จานวน 1,151 คน 2) ติดตามและประสานแผนการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั เพื่อแก้ไขปญั หาในพ้นื ทีจ่ ังหวัดชายแดนภาคใต้ จานวน 100 คน 3) จัดการศึกษาตลอด รายงานผลการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 1

ชีวติ ในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ เพ่ือสง่ เสริมทักษะอาชีพการมีงานทา จานวน 9,985 คน 4) การฝกึ อาชพี จังหวัด ชายแดนภาคใต้ตามแนวทางโรงเรียนพระดาบส 2 รุ่น จานวน 140 คน 5) การส่งเสริมภาษาเพ่ือการเรียนรู้ และสื่อสาร จานวน 24,838 คน 6) จัดกิจกรรมน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ประชาชนจังหวัด ชายแดนใต้ จานวน 1,161 คน 7) จัด กีฬา กศน. สายสัมพนั ธช์ ายแดนใต้ จานวน 2,853 คน 8) จดั กจิ กรรมลูกเสือ กศน. ชายแดนใต้ จานวน 3,238 คน และ 9) ยกระดับสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา โดยได้พัฒนาบุคลากร จานวน 80 คน 3.2 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ได้ดาเนินการ 1) พัฒนา ทักษะการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้กับครู กศน.ต้นแบบ จานวน 98 คน 2) สร้างเครือข่ายดิจิทัล ชุมชนระดับตาบล โดยจัดอบรมให้กับครูระดับจังหวัด และขยายผลให้กับประชาชน จานวน 234,158 คน 3) สรา้ งเกษตรกรตน้ แบบ (Master Trainer) ทผี่ า่ นการอบรมตามหลักสูตร จานวน 8,022 คน 4) พัฒนาการศึกษา ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา) โดยฝึกอบรมอาชีพให้กับนักศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไป จานวน 11,468 คน และ 5) จัดการศึกษาและการเรียนรู้ในจังหวัดที่เป็นพื้นที่เขต เศรษฐกจิ พเิ ศษ โดยจัดฝกึ อบรมอาชพี และพฒั นาทักษะด้านภาษา จานวน 15,575 คน 3.3 ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ได้ดาเนินการ 1) จัดอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สงู อายุ จานวน 2 หลักสูตร ให้กับกลุ่มเป้าหมาย จานวน 7,271 คน 2) จัดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ นรปู แบบสะเต็มศึกษาให้กับครู นักเรยี น นักศึกษา และประชาชน จานวน 33,667 คน 3) ส่งเสรมิ การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ “สรา้ งระบบคดิ ปลูกจติ วทิ ยาศาสตร์” ใหก้ ับกลุ่มเปา้ หมาย จานวน 5,026,538 คน 4) พฒั นาสง่ เสริมและเผยแพร่เกษตรธรรมชาติให้กับบุคลากร จานวน 359 คน และ 5) เทียบโอนความรเู้ ทียบ ระดบั การศึกษามิตคิ วามรู้ความคิด ใหก้ ับประชาชนผรู้ บั บริการ ครงั้ ท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 จานวน 4,417 คน และครง้ั ที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 4,203 คน 3.4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ได้ดาเนินการ 1) จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสนองงานตามพระราชดาริ โดยได้พัฒนาครูท่ีปฏิบัติงาน ในพื้นท่ีสูง จานวน 1,700 คน 2) มอบทุนการศึกษาให้กับเด็กสภาวะยากลาบากในเขตพ้ืนท่ีสูงภาคเหนือ ใน 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง น่าน แม่ฮ่องสอน ตาก ลาพูน และพะเยา จานวน 6,385 ทุน 3) สนับสนุนชุดนักเรียน และอุปกรณ์การเรียนให้กับเด็กและเยาวชน จานวน 11,967 คน 4) จัดกิจกรรม พัฒนาทักษะชีวิตและส่งเสริมการรู้หนังสือ ให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จานวน 14,592 คน 5) ส่งเสริม การเรียนการสอนภาษาอังกฤษและภาษาของกลุ่มประเทศอาเซียน โดยผลิตรายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ และสื่อการศึกษาสาหรับคนพิการ จานวน 1,256 รายการ 6) ส่งเสริมการศึกษานอกระบบผ่านทีวีสาธารณะ (ติวเข้มเต็มความรู้) มีผู้รับบริการ จานวน 2,382,586 คน 7) จัดสร้างแหล่งการเรียนรู้ในระดับตาบล โดย สนับสนุนค่าหนังสือพิมพ์ สื่อส่ิงพิมพ์ ค่าจัดกิจกรรม ฯลฯ จานวน 1,787 แห่ง 8) สนับสนุนการบริการ เครือข่ายสารสนเทศเพ่ือการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับหน่วยงาน/สถานศึกษา ในสังกัดสานักงาน กศน. ได้รับบริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จานวน 1,494 แห่ง 9) สนับสนุนค่าใช้จ่ายใน การจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 985,011 คน 10) จัดฝึกอาชีพใน รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2

รูปแบบกลุ่มสนใจและชั้นเรียน ภายใต้หลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ กลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม กลุ่มอาชีพ ด้านอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม กลุ่มอาชีพด้านพาณิชยกรรมและบริการ กลุ่มอาชีพสร้างสรรค์ และ กลุ่มอาชีพเฉพาะทาง หรืออาชีพข้ันพื้นฐาน จานวน 942,178 คน 11) จัดอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ด้านอาชีพ จานวน 39,658 คน 12) การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบ การศึกษา โดยติดตามกลุ่มเป้าหมายท่ีมีรายช่ือในระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียนท่ีอยู่นอกระบบการศึกษา จานวน 313,625 คน และนากลุม่ เป้าหมายเขา้ สู่ระบบการศึกษาแลว้ จานวน 149,728 คน และ 13) การขบั เคลื่อน การพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน โดยขยายผลชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนยิ ม ยัง่ ยืน ในระดับ ตาบล ๆ ละ 1 ชุมชน รวมทง้ั สิน้ 7,424 ชมุ ชน 3.5 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเก่ียวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ และของโลก โดยมีบุคลากร ครู นักศึกษา และประชาชน เข้าร่วมกิจกรรมการบริหารจัดการขยะ จานวน 90,093 คน 3.6 ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ได้ดาเนินการ 1) ฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการเขียนหนังสือราชการ และงานธุรการ จานวน 50 คน 2) อบรมการปฏบิ ัติงานผ่านระบบ KTB Corporate Online และเกณฑ์ประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชี ให้กับบุคลากร จานวน 250 คน 3) พัฒนาบุคลากรด้านกฎหมายเพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหา การทุจริต จานวน 117 คน 4) ขับเคล่ือนกฎหมายและการปรับปรุงโครงสร้างสานักงาน กศน. ซ่ึงอยู่ระหว่าง การรอคณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณา และ 5) ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและราชการใสสะอาดให้กับ ผ้บู ริหาร จานวน 454 คน 4. ผลการดาเนินงานตามภารกิจต่อเน่ือง ได้ดาเนินการใน 6 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านการจัด การศึกษาและการเรียนรู้ โดยการพัฒนาการจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามหลักสตู รการรหู้ นังสอื ไทย พุทธศักราช 2557 การส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยสาหรบั บุคคลทไี่ มม่ ีหลักฐานทะเบียน ราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย การจัดงานวันท่ีระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ การขยายผลการสร้างเมือง แห่งการเรียนรู้ และจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสาหรับคนไทยในต่างประเทศ 2) ด้านหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทางวิชาการและ การประกันคุณภาพการศึกษา ได้ดาเนินการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา การพัฒนาสื่อหนังสือเรียนเพื่อส่งเสริมการศึกษานอกระบบ การส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ และสร้างเมือง นักอ่าน 3) ด้านเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา โดยได้ส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตด้วยเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 4) ด้านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอันเกี่ยวเน่ืองจากราชวงศ์ โดยได้พัฒนาห้องสมุด ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” การให้บริการส่งเสริมการอ่านของ “ห้องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาด” การฝึกอบรมวิชาชีพศิลปะไทยโบราณช่างสิบหมู่และศิลปวัฒนธรรมไทย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชน และการจัดการศึกษาอาชีพของศูนย์วงเดือน อาคมสุรทัณฑ์ 5) ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ พ้ืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษและพื้นท่ีบริเวณชายแดน โดยมีการจัดฝึกอาชีพและพัฒนาทักษะด้านภาษา รายงานผลการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 3

เพื่อพัฒนาตนเองและครอบครัว การสร้างอาชีพใหม่ ต่อยอดอาชีพเดิม หรือทาเป็นอาชีพเสริม และ 6) ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ได้จัดอบรม “หลักสูตร การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ของครู กศน. มืออาชีพ เพื่อทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21” ตลอดจน พัฒนาทักษะท่ีจาเป็นให้แก่บุคลากร เช่น การพัฒนาทักษะการเขียนรายงานผลการนิเทศเชิงคุณภาพ การพฒั นาศักยภาพครดู า้ นการจดั กระบวนการเรียนรู้ กศน. สานักงาน กศน. รายงานผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 4

นโยบายด้านการศึกษา นโยบายรฐั บาล นายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้แถลงนโยบายรัฐบาลต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 ไว้ 11 ด้าน โดยมนี โยบายสาคัญทีเ่ กย่ี วข้องกบั สานักงาน กศน. ดังน้ี นโยบายที่ 1 การปกป้องและเชดิ ชูสถาบนั พระมหากษัตริย์ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบสาคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ตามประเพณีการปกครองของไทย รัฐบาลจึงถือเป็นหน้าท่ีสาคัญย่ิงยวดในอันท่ีจะเชิดชูสถาบั นนี้ไว้ ด้วยความจงรักภักดี และปกป้องรักษาพระบรมเดชานุภาพ โดยจะใช้มาตรการทางกฎหมาย มาตรการ ทางสังคมจิตวิทยา และมาตรการทางระบบส่ือสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการดาเนินการกับผู้คะนองปาก ย่ามใจหรือประสงค์ร้าย มุ่งสั่นคลอนสถาบันหลักของชาติ โดยไม่คานึงถึงความรู้สานึกและความผูกพันภักดี ของคนอีกเป็นจานวนมาก ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องและเป็นจริงเกี่ยวกับสถ าบัน พระมหากษัตริย์และพระราชกรณียกิจเพ่ือประชาชน ทั้งจะสนับสนุนโครงการทั้งหลายอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ สง่ เสรมิ ให้เจา้ หนา้ ทีส่ ถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานทงั้ หลายของรัฐเรียนรู้เข้าใจหลักการทรงงาน สามารถนาหลักดงั กล่าวมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัตริ าชการและการพัฒนา ตลอดจนเร่งขยายผลตามโครงการ และแบบอย่างท่ีทรงวางรากฐานไว้ให้แพร่หลายเป็นที่ประจักษ์และเกิดประโยชน์ในวงกว้างอันจะช่วยสร้าง ความสมบรู ณ์พูนสุขแก่ประชาชนในทสี่ ุด นโยบายท่ี 2 การรกั ษาความมัน่ คงของรฐั และการต่างประเทศ 2.2 เร่งแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนายุทธศาสตร์เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนามาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุยสันติสุขกับผู้มีความคิดเห็น ต่างจากรัฐ สร้างความเชื่อม่ันในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือก ปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ซ่ึงเป็น พหุสังคม ขจัดการฉวยโอกาสก่อความรุนแรงแทรกซ้อน เพื่อซ้าเติมปัญหาไม่ว่าจากผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นหรือ เจ้าหน้าท่ีฝ่ายบ้านเมือง ท้ังจะเพ่ิมระดับปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศท่ีอาจช่วย คลี่คลายปญั หาได้ นโยบายที่ 3 การลดความเหลอื่ มล้าของสังคม และการสรา้ งโอกาสเข้าถงึ บรกิ ารของรัฐ 3.1 ในระยะเฉพาะหน้าจะเร่งสร้างโอกาส อาชีพ และการมีรายได้ท่ีม่ันคงแก่ผู้ท่ีเข้าสู่ ตลาดแรงงาน รวมทั้งสตรี ผดู้ ้อยโอกาส และแรงงานข้ามชาติท่ีถูกกฎหมาย พร้อมทงั้ ยกระดับคุณภาพแรงงาน โดยให้แรงงานทั้งระบบมีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในทุกระดับอย่างมีมาตรฐาน ทั้งจะเช่ือมโยงข้อมูลและการดาเนินการระหว่างหน่วยงานของรัฐกับเอกชน เพ่ือให้ตรงกับความต้องการ ของพื้นทีแ่ ละของประเทศโดยรวม นอกจากน้จี ะส่งเสริมให้แรงงานนอกระบบเขา้ สู่ระบบท่ีถูกกฎหมายมากขึน้ รายงานผลการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 5

3.4 เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพ่ือส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานทาหรือ กิจกรรมที่เหมาะสม เพ่ือสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคต โดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพกั ฟ้นื และโรงพยาบาล ทเี่ ปน็ ความรว่ มมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชมุ ชน และครอบครวั รวมทงั้ พัฒนา ระบบการเงนิ การคลงั สาหรับการดูแลผู้สงู อายุ 3.5 เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมท่ีมีความหลากหลาย เน่ืองจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแก่แรงงานไทย และร่วมพัฒนาระบบความคุ้มครองทางสังคมของ แรงงานอาเซียน 3.6 จัดระเบียบสังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลให้แก่ เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนทั่วไป โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบ แห่งชาติทไี่ ด้ประกาศไว้แล้ว นโยบายที่ 4 การศึกษาและเรยี นรู้ การทะนุบารงุ ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม 4.1 จัดให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความสาคัญทั้งการศึกษาในระบบ และการศึกษาทางเลือกไปพร้อมกัน เพ่ือสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตน ได้เต็มตามศักยภาพ ประกอบอาชีพและดารงชีวิตได้ โดยมีความใฝ่รู้และทักษะที่เหมาะสม เป็นคนดี มคี ณุ ธรรม สรา้ งเสริมคุณภาพการเรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรเู้ พื่อสร้างสัมมาชีพในพืน้ ที่ ลดความเหลื่อมล้าและ พัฒนากาลงั คนให้เป็นที่ตอ้ งการเหมาะสมกับพ้ืนท่ี ทั้งในดา้ นการเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจบรกิ าร 4.2 ในระยะเฉพาะหน้า จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา ให้สอดคล้องกับความจาเป็นของผู้เรียนและลักษณะพ้ืนท่ีของสถานศึกษา รวมท้ังปรับปรุง และบูรณาการ ระบบการกู้ยืมเงินเพ่ือการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเพ่ิมโอกาสแก่ผู้ยากจนหรือด้อยโอกาส จัดระบบ การสนับสนุนให้เยาวชนและประชาชนท่ัวไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษา ท้ังในระบบและนอกระบบ โรงเรียน โดยจะพิจารณาจดั ให้มคี ปู องการศึกษาเป็นแนวทางหน่ึง 4.3 ใหอ้ งค์กรภาคประชาสงั คม ภาคเอกชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ และประชาชนท่ัวไป มโี อกาสรว่ มจัดการศึกษาที่มคี ุณภาพและท่วั ถึง และรว่ มในการปฏิรปู การศึกษาและการเรยี นรู้ กระจายอานาจ การบริหารจัดการศึกษาสู่สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามศักยภาพและ ความพรอ้ ม โดยให้สถานศึกษาสามารถเปน็ นติ ิบุคคล และบรหิ ารจัดการไดอ้ ยา่ งอิสระและคลอ่ งตวั ขึน้ 4.4 พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือให้สามารถมีความรู้และทักษะ ใหม่ท่ีสามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรู้และ หลักสูตรให้เชื่อมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรู้และคุณธรรมเข้าด้วยกัน เพื่อให้เอ้ือต่อการพัฒนา ผเู้ รียนทง้ั ในด้านความรู้ ทกั ษะ การใฝเ่ รยี นรู้ การแกป้ ัญหา การรับฟังความเหน็ ผู้อื่น การมคี ุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองดี โดยเน้นความร่วมมือระหวา่ งผู้เกีย่ วขอ้ ง ท้งั ในระบบและนอกระบบโรงเรยี น 4.6 พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูท่ีมีคุณภาพ และมีจิตวิญญาณของความเป็นครู เน้นครูผู้สอนให้มีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน นาเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือท่ีเหมาะสมมาใช้ในการเรียน การสอนเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยครูหรือเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น การเรียนทางไกล การเรียนโดยระบบ รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 6

อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น รวมท้ังปรับระบบการประเมินสมรรถนะที่สะท้อนประสิทธิภาพการจัดการเรียน การสอนและการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนเป็นสาคญั นโยบายท่ี 6 การเพิ่มศกั ยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ 6.18 ส่งเสริมภาคเศรษฐกิจดิจิทัลและวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัล ให้เร่ิมขับเคลื่อน ได้อย่างจริงจัง ซึ่งจะทาให้ทุกภาคเศรษฐกิจก้าวหน้าไปได้ทันโลกและสามารถแข่งขันในโลกสมัยใหม่ได้ ซึ่งหมายรวมถึงการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์ดิจิทัลโดยตรง ท้ังผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์ ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ อปุ กรณ์สือ่ สารดิจทิ ลั อปุ กรณโ์ ทรคมนาคมดจิ ทิ ัล และการใช้ดิจิทลั รองรับการใหบ้ ริการของภาคธุรกิจการเงิน และธุรกิจบริการอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคสื่อสารและบันเทิง ตลอดจนการใช้ดิจิทัลรองรับการผลิตสินค้า อุตสาหกรรมและการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ปรับปรุงบทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่รับผิดชอบ โดยตรงให้ดูแลและผลักดันงานสาคัญของประเทศชาติในเรื่องนี้ และจะจัดให้มีคณะกรรมการระดับชาติ เพ่อื ขบั เคล่อื นอยา่ งจริงจงั นโยบายท่ี 10 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินท่ีมีธรรมาภิบาล และการป้องกัน ปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบในภาครัฐ 10.1 ปรับปรุงระบบราชการในด้านองคก์ รหรือหนว่ ยงานภาครัฐ ทั้งในระดบั ประเทศ ภมู ภิ าค และท้องถ่ิน ทบทวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจหน้าที่ซ้าซ้อนหรือลดหลน่ั กัน หรือมีเส้นทาง การปฏิบัติงานที่ยืดยาว ปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้ทันสมัย โดยนาเทคโนโลยีมาใช้แก้ไขกฎระเบียบ ให้โปร่งใส ชดั เจน สามารถบรกิ ารประชาชนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ตลอดจนจดั ระบบอัตรากาลังและปรับปรุง ค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐให้เหมาะสมและเป็นธรรม ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี การบริหาร จัดการภาครัฐแบบใหม่ การตอบสนองความต้องการของประชาชนในฐานะท่ีเป็นศูนย์กลาง และการอานวย ความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการเพ่ือสร้างความเช่ือมั่นวางใจในระบบราชการ ลดต้นทุนดาเนินการของภาคธุรกิจ เพ่ิมศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศ และการรักษาบุคลากรภาครัฐท่ีมีประสิทธิภาพไว้ในระบบ ราชการ โดยจะดาเนินการต้ังแต่ระยะเฉพาะหน้าไปตามลาดับความจาเป็นและตามท่ีกฎหมายเอื้อให้สามารถ ดาเนินการได้ 10.5 ใช้มาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และจิตสานึก ในการรักษาศักด์ิศรีของความเป็นข้าราชการและความซื่อสัตย์สุจริต ควบคู่กับการบริหารจัดการภาครัฐ ที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าท่ีของรัฐทุกร ะดับ อย่างเคร่งครัด ยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ท่ีไม่จาเป็น สร้างภาระแก่ประชาชนเกินควร หรอื เปดิ ชอ่ งโอกาสการทุจริต เชน่ ระเบยี บการจัดซื้อ จดั จา้ ง การอนญุ าต อนุมตั ิ และการขอรับบริการจากรัฐ ซึ่งมขี นั้ ตอนยดื ยาวใช้เวลานาน ซ้าซ้อน และเสียค่าใช้จา่ ยทัง้ ของภาครัฐและประชาชน รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 7

นโยบายรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร มสี าระสาคญั ดังน้ี 1. น้อมนาแนวพระราชดาริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า เจา้ อยหู่ ัว มาขบั เคลอ่ื นงานดา้ นการศึกษาให้เกิดเป็นรูปธรรม เพราะพระราชปณธิ านของพระองค์ท่าน ถอื เป็น พรอนั สงู สดุ และมอบเปน็ นโยบาย เพอื่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ านแก่หนว่ ยงานในสงั กดั 2. การดาเนินการตามแผนยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี กระทรวงศึกษาธิการจะดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซ่ึงได้กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 โดยยดึ ยทุ ธศาสตรช์ าติเป็นจุดเนน้ ดา้ นการศึกษาทีจ่ ะดาเนนิ การ 6 ดา้ น คือ (1) ความม่ันคง (2) การผลติ พัฒนากาลังคนและสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน (3) การพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน (4) การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกนั ทางสงั คม (5) การสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวิตท่เี ป็นมิตรตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม (6) การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั 3. จุดเน้นสาคัญ นโยบาย แนวทางหลักการดาเนินงาน และโครงการสาคัญของ กระทรวงศกึ ษาธิการ นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบจุดเน้น เชิงนโยบาย แนวทางการดาเนินงาน และโครงการสาคัญของกระทรวงศึกษาธิการ โดยยึดกรอบยุทธศาสตรช์ าติ 6 ดา้ น เปน็ หลกั ในการดาเนนิ การให้เป็นรปู ธรรม ดังน้ี 1. ดา้ นความมน่ั คง แนวทางหลัก 1.1 พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรียนการสอน 1.1.1 การเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลัก น้อมนาพระราชปณิธาน และพระราชกระแสด้านการศึกษา พัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนวิชาที่มีเน้ือหาเก่ียวกับ ประวตั ิศาสตร์และสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ 1.1.2 พัฒนากระบวนการเรียนการสอน เพื่อความปรองดองและสมานฉันท์ เชน่ กจิ กรรมเพือ่ นช่วยเพือ่ น 1.2 การบรหิ ารจดั การ 1.2.1 การศกึ ษาจังหวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพนื้ ทชี่ ายขอบ/ชายแดน 1.2.2 ป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในสถานศึกษา รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 8

2. ดา้ นการผลติ พัฒนากาลังคนและสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน แนวทางหลัก 2.1 การยกระดับมาตรฐาน พฒั นาหลกั สตู ร สอ่ื และครูดา้ นภาษา 2.1.1 ยกระดับวิชาภาษาอังกฤษรองรับ Thailand 4.0 ในสถานศึกษาสังกัด สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างต่อเนื่อง และสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา โดยจัดทา Echo English Vocational ซ่ึงเป็น Application ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนอาชีวศึกษาและ การอบรมโดย Boot Camp ตลอดจนพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษของประชาชนในรปู แบบต่าง ๆ อาทิ หลักสตู ร ภาษาองั กฤษระยะส้นั Application และสื่อตา่ ง ๆ ทหี่ ลากหลาย 2.1.2 พฒั นาวชิ าภาษาจีน โดยหลักการเดยี วกับวิชาภาษาอังกฤษ 2.1.3 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM Education) เพื่อแก้ปัญหา ขาดแคลนบุคลากรสายวทิ ยาศาสตร์ของประเทศ 2.1.4 พัฒนาโรงเรียนวิทยาศาสตร์ ห้องเรียนหลักสูตรพิเศษเพ่ือเสริมสร้าง ศกั ยภาพการแขง่ ขัน 2.2 ผลิตกาลังคนรองรับ New S-Curve โดยสานพลังประชารัฐด้านการศึกษา และจัดการศึกษาทวิภาคีอีกรูปแบบหน่ึง โดยใช้สถานการณ์จริงจากสถานประกอบการและชุมชน “ปรับโรงงาน เป็นโรงเรียน” โดยมุ่งเน้นให้นักเรียน นักศึกษา ได้ฝึกทักษะฝีมือควบคู่กับการฝึกทักษะ การทางานรว่ มกับผู้อืน่ เพอื่ ให้มีสมรรถนะทเ่ี ป็นไปตามความต้องการของสถานประกอบการ 2.3 ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน เร่งรัดการพัฒนาอาจารย์ เพื่อผลิต นวตั กรรมและเทคโนโลยรี องรบั อุตสาหกรรมเป้าหมาย 10 อตุ สาหกรรมใหม่ 3. ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคน แนวทางหลกั 3.1 การพฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล 3.1.2 การส่งเสริม ปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม 1) เร่ืองคุณธรรม จริยธรรม เน้นการพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ในเด็ก เยาวชน และต่อยอดการสร้างความดี ซึ่งโมเดลการสร้างความดีมีหลายทาง ทั้งกระบวนการลูกเสือ เนตรนารี รวมท้งั รปู แบบโรงเรยี นคุณธรรม โรงเรยี นวิถพี ทุ ธ และโครงการยุวทตู ความดี 2) รณรงค์ใหเ้ ดก็ “เกลียดการโกง ความไมซ่ ่อื สัตย์” 3.1.3 การพฒั นา ปรับปรุงหลักสตู ร การเรยี นการสอน 1) หลกั สตู รมีความยืดหยนุ่ ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ สามารถออกแบบหลักสตู รเองได้ 2) แก้ไขปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ เน้นกิจกรรมการอ่าน โดยเฉพาะ การอ่านให้เดก็ อนุบาลฟงั และการปรับปรุงห้องสมดุ รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 9

3) เน้นการจัดการเรียนการสอน การคิดวิเคราะห์ตามรูปแบบ Active Learning ในห้องเรียนปกติและกิจกรรมเสริม โดยกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เป็นกิจกรรม/วิธีการย่อย รวมทง้ั การรองรบั ผลการทดสอบ PISA และ STEM Education 3.1.4 การวัดและประเมนิ ผล 1) การวางแผนการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) เพื่อให้ผล คะแนนสูงข้นึ 2) การประเมินผล O - Net ในวชิ าสงั คมศึกษาใหส้ านักงาคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นผู้ประเมิน สาหรับวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ให้สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เปน็ ผู้ออกขอ้ สอบ 3) การออกข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ดาเนินการ ในรูปคณะทางานออกข้อสอบ 4. ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันทางสงั คม แนวทางหลัก 4.1 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาโดยยกระดับคุณภาพ สถานศึกษา ท่ีต้องการความช่วยเหลือและพัฒนาเป็นพิเศษอย่างเร่งด่วน (ICU) รวมทั้งการดาเนินการ ตามแนวทาง No Child Left Behind คือ จัดทาข้อมูลเพื่อส่งต่อผู้เรียน การป้องกัน การติดตามเด็ก ออกกลางคันโดยชุมชน ผ้ปู กครองร่วมรบั ผดิ ชอบ และคัดกรองเดก็ ทีม่ คี วามจาเปน็ และตอ้ งการเป็นพเิ ศษ 4.2 เพิ่มโอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยีดจิ ิทลั โดยบรู ณาการเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษาให้สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกัน ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบเครือข่าย ด้านระบบข้อมูล สารสนเทศเพื่อการศึกษา ด้านส่ือและองค์ความรู้ รวมถึงการพัฒนาบุคลากรให้ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล อย่างสรา้ งสรรค์และรู้เท่าทันการเปลยี่ นแปลง 4.3 จัดระบบการคัดเลือกเข้าเรียนมหาวิทยาลัย (Admission) เพื่อสร้าง ความเทา่ เทยี มในการใชส้ ทิ ธเ์ิ ขา้ ศกึ ษาต่อระดบั อุดมศึกษาผา่ นระบบ Clearing-House 5. ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ท่เี ปน็ มิตรต่อสงิ่ แวดล้อม แนวทางหลัก 5.1 โครงการธนาคารขยะ โดยโรงเรียนและชุมชนร่วมคัดแยกขยะ นากลับมาใช้ ประโยชน์ 5.2 การสร้างจิตสานึกการพัฒนาอย่างยั่งยืน เช่น โรงเรียนตามพระราชดาริ : ตน้ แบบการจัดการส่ิงแวดล้อม 5.3 หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยขยายผลบรรจุในหลักสตู รทกุ ระดบั รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 10

6. ดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ แนวทางหลัก 6.1 เรอื่ งกฎหมาย 6.1.2 กฎหมายรอง ในพระราชบัญญตั ิปฏริ ปู การศกึ ษา 7) พระราชบญั ญัติการศกึ ษาตลอดชีวติ พ.ศ. .... 6.5 บริหารจัดการโรงเรยี นแมเ่ หลก็ และโรงเรียนขนาดเล็ก นโยบายและจดุ เน้นการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 วิสัยทศั น์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิต ท่ีเหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจาเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 พนั ธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ เพื่อยกระดับ การศกึ ษา พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ของประชาชนทุกกล่มุ เป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวยั พร้อมรับการเปล่ียนแปลง บริบททางสงั คม และสร้างสังคมแหง่ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมท้ังการดาเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและ แหล่งการเรยี นร้อู น่ื ในรปู แบบต่าง ๆ 3. ส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิด ประสทิ ธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กบั ประชาชนอย่างทั่วถึง 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและ ประเมินผลในทกุ รปู แบบให้สอดคลอ้ งกับบรบิ ทในปจั จุบัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาและ การเรยี นรู้ทม่ี คี ุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนทั่วไปได้รบั โอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษา ตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละ กลุ่มเปา้ หมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและ ความเป็นพลเมือง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสู่ ความมัน่ คงและยั่งยนื ทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสงิ่ แวดลอ้ ม รายงานผลการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 11

3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 4. ประชาชนได้รับการสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพ่ือการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 5. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมทง้ั การขับเคลื่อนกจิ กรรมการเรียนรขู้ องชุมชน 6. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ ในการยกระดบั คณุ ภาพในการจดั การเรียนรแู้ ละเพมิ่ โอกาสการเรยี นรู้ให้กับประชาชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาส่ือและการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและ พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ และสงิ่ แวดลอ้ ม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบท่หี ลากหลาย 8. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบรหิ ารจัดการที่เปน็ ไปตามหลักธรรมาภิบาล 9. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อย่างมีประสิทธภิ าพ นโยบายเรง่ ดว่ นเพื่อร่วมขับเคล่อื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 1. ยทุ ธศาสตรด์ ้านความม่นั คง 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและ สร้างความตระหนักรู้ถึงความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและความภาคภูมิใจ ในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดารติ า่ ง ๆ 1.2 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง และการมีส่วนร่วมอย่างถูกต้องกับ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและ เคารพความแตกต่างในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม และความหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ 1.3 ร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ย่ังยืน โดยบูรณาการ ขับเคล่ือนการทางานตามแนวทางประชารัฐ ดาเนินโครงการ/กิจกรรมในพื้นท่ีท้ังในระดับตาบล หมู่บ้าน โดยใช้ทีมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ย่ังยืน ระดับตาบลเป็นแกนหลัก และสนับสนุน กลไกการขบั เคลอื่ นในพ้นื ทท่ี กุ ระดบั ตั้งแต่จงั หวัด อาเภอ ตาบล และหมบู่ ้าน 1.4 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และพ้นื ทชี่ ายแดน 1) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มี ความสอดคล้องกับบริบทของสงั คม วฒั นธรรม และพื้นท่ี เพ่ือสนับสนนุ การแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาพ้ืนท่ี รายงานผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 12

2) เร่งจัดทาแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยท่ีชัดเจนสาหรับหน่วยงานและ สถานศึกษา รวมท้ังบุคลากรที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยบูรณาการ แผนและปฏิบตั งิ านร่วมกบั หน่วยงานความมนั่ คงในพืน้ ท่ี 3) ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ ในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีหลากหลายตรงกับความต้องการของผู้เรียน อาทิ การเพ่ิมพูนประสบการณ์ การเปิดโลกทัศน์ การยึดม่ันในหลกั คณุ ธรรมและสถาบนั หลักของชาติ 4) สนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะท่ีสูงข้ึน เพอื่ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 2. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2.1 เร่งรดั ดาเนนิ การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อยกระดบั ทกั ษะอาชีพของประชาชนสู่ฝีมือ แรงงาน 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชนและ ความต้องการของตลาด ให้ประชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้จริง โดยให้เน้นหลักสูตรการศึกษาอาชีพ ช่างพ้ืนฐาน โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพ เช่น การเรียนผ่าน Youtube การเรียนผ่าน Facebook Live ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นต้น รวมถึง สนับสนุนให้เกิดระบบการผลิตท่ีครบวงจร และเปิดพื้นที่ส่วนราชการเป็นที่แสดงสินค้าของชุมชนเพ่ือเป็น การสร้างรายไดใ้ หก้ ับชมุ ชน 2) บูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาฝีมือแรงงานกับสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาผ่านศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาภาคท่ัวประเทศ เพ่ือมุ่งพัฒนา ทักษะของประชาชน โดยใช้ประโยชน์จากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพื้นท่ี และดาเนินการเชิงรุก เพ่ือเสริมจุดเด่นในระดับภาคในการเป็นฐานการผลิตและการบริการท่ีสาคัญ รวมถึงมุ่งเน้นสร้างโอกาส ในการสรา้ งรายได้ เพือ่ ตอบสนองตอ่ ความต้องการของตลาดแรงงานทั้งภาคอตุ สาหกรรมและการบริการ 3) พัฒนากลุ่มอาชีพพ้ืนฐานที่รองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เช่น เขตพัฒนา พเิ ศษภาคตะวันออก เขตเศรษฐกิจตะวันตก ท่ีสามารถพฒั นาศกั ยภาพไปสู่ระดับฝมี อื แรงงาน 2.2 พัฒนาทกั ษะใหป้ ระชาชนเพื่อการสร้างมลู คา่ เพ่ิมให้กับสนิ ค้าและบริการ 1) พัฒนาทักษะและส่งเสริมให้ประชาชนประกอบธุรกิจการค้าออนไลน์ (พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนกิ ส์) มีการใชค้ วามคิดสร้างสรรคเ์ ชิงนวตั กรรมในการประกอบอาชีพ สร้างทักษะอาชพี ที่สูงขนึ้ ให้กับ ประชาชน เพ่อื ร่วมขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล 2) ส่งเสริมให้ประชาชนใช้เทคโนโลยี ในการทาช่องทางเผยแพร่และจาหน่าย ผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนให้เป็นระบบครบวงจร และสนับสนุนการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ผ่าน ศูนย์จาหน่ายสินคา้ และผลิตภณั ฑอ์ อนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพือ่ จาหน่าย รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 13

สินค้าออนไลน์ระดับตาบล รวมทั้งดาเนินการเปิดศูนย์ให้คาปรึกษา OOCC กศน. เพ่ือเปิดช่องทางในการให้ คาปรึกษากับประชาชนเกี่ยวกบั การค้าออนไลนเ์ บื้องต้น 3) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ อย่าง เป็นรูปธรรม โดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเท่ียว รวมท้ังพัฒนา ส่อื การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อส่งเสรมิ การใชภ้ าษาเพ่ือการสอื่ สารและการพัฒนาอาชีพ 3. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 3.1 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากร ในองค์กร 3.2 ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงในศตวรรษ ท่ี 21 รวมทง้ั ความต้องการของประชาชนและชมุ ชน ในรปู แบบที่หลากหลาย ใหป้ ระชาชนคดิ เป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสนิ ใจภายใต้ขอ้ มูลที่ถูกตอ้ ง 3.3 พัฒนาศักยภาพคนด้านทักษะและความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพอ่ื ให้สามารถ ใช้ Social Media และ Application ตา่ ง ๆ ในการพฒั นารูปแบบการจัดการเรียนการสอน 2) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือให้ประชาชนมีทักษะ ความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับ ตนเองได้ 3.4 พฒั นาทกั ษะด้านภาษาอังกฤษ และภาษาอืน่ ๆ เพื่อรองรบั การพฒั นาประเทศ 1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ ที่สอดคล้อง กบั บรบิ ทของพื้นที่ โดยใช้สอื่ เทคโนโลยดี จิ ิทลั Social Media และ Application ต่าง ๆ 2) จัดและส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ ท่ีสอดคล้องกับ บริบทของพ้ืนท่ี และความตอ้ งการของประชาชน เพอื่ รองรับการพัฒนาประเทศ 3.5 ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยการสร้างความรู้ความเข้าใจ การสนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะ และสร้างเครือข่ายภาคประชาชน ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค ให้กับประชาชนทุกช่วงวัย โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีห่างไกล พ้ืนท่ีชายแดน และชายแดนภาคใต้ โดยประสานงาน ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล และเจา้ หน้าท่ีอาสาสมคั ร ในการใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั การดูแลสุขภาวะ อนามัยให้กับประชาชน รวมทั้งผลิตชุดความรู้เก่ียวกับสุขภาวะ สุขอนามัย เพ่ือใช้ประกอบการเรียนรู้ ในหลกั สตู รการศกึ ษาของ กศน. รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 14

3.6 เพ่มิ อัตราการอา่ นของประชาชน โดยการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านในรปู แบบต่าง ๆ เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคล่ือนท่ี ผลักดันให้เกิด ห้องสมุดสู่การเป็นห้องสมุดเสมือนจริงต้นแบบ เพ่ือพัฒนาให้ประชาชนมีความสามารถในระดับอ่านคล่อง เข้าใจความ คิดวิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารท่ีถูกต้องและทันเหตุการณ์ รวมท้ังนาความรู้ ที่ไดร้ ับไปใช้ปฏิบัติจรงิ ในชวี ติ ประจาวนั 3.7 เตรียมความพรอ้ มการเข้าสู่สงั คมผ้สู งู อายทุ เ่ี หมาะสมและมคี ณุ ภาพ 1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักถึงการเตรียมพร้อม เข้าส่สู งั คมผ้สู ูงอายุ (Aging Society) มคี วามเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย รวมทง้ั เรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแล รับผดิ ชอบผสู้ งู อายใุ นครอบครวั และชุมชน 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรียม ความพรอ้ มเข้าสู่วยั สูงอายทุ เ่ี หมาะสมและมีคุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพกายและ สุขภาพจิต และรจู้ ักใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี 4) สรา้ งความตระหนกั ถงึ คุณคา่ และศกั ดศ์ิ รีของผู้สูงอายุ เปดิ โอกาสใหม้ กี ารเผยแพร่ ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ และให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านต่าง ๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชีพ กีฬา ศาสนาและ วัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความร่วมมือกับ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ในทกุ ระดบั 3.8 พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ื นฐาน โดยใช้ กระบวนการ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) 3.9 การส่งเสริมวิทยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษา 1) จัดกจิ กรรมวิทยาศาสตรเ์ ชิงรกุ ทงั้ ในสถานศึกษา และในชุมชน 2) ให้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างง่าย วิทยาศาสตร์ในวิถีชีวิต วิทยาศาสตร์ใน ชีวติ ประจาวันกบั ประชาชน 3) ร่วมมือกับหน่วยงานวิทยาศาสตร์อน่ื ในการพัฒนาสื่อและรูปแบบการจัดกิจกรรม ทางวทิ ยาศาสตร์ 3.10 ส่งเสริม และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหนว่ ยการเรียน (Credit Bank System) ของสถานศึกษา ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อประโยชนใ์ นการดาเนินการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 3.11 สร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning ที่ใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามา บริหารจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้สะดวก รวดเร็ว รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 15

ตรงตามความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ เช่น ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) 3.12 ส่งเสริมการรู้ภาษาไทย เพ่ิมอัตราการรู้หนังสือ และยกระดับการรู้หนังสือของ ประชาชน 1) ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชน ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ให้สามารถฟัง พดู อ่าน และเขยี นภาษาไทย เพอ่ื ประโยชน์ ในการใชช้ วี ิตประจาวันได้ 2) เร่งจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือให้ประชาชน สามารถอ่านออก เขียนได้ และคิดเลขเป็น โดยมีการวัดระดับการรู้หนังสือ การใช้สื่อ กระบวนการ และ กิจกรรมพฒั นาทกั ษะในรปู แบบต่าง ๆ ทีเ่ หมาะสม และสอดคลอ้ งกบั สภาพพืน้ ทีแ่ ละกลุม่ เป้าหมาย 3) ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรู้หนังสือ ในรูปแบบต่าง ๆ รวมท้ังพัฒนาให้ประชาชนมีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ ของประชาชน 4. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1 เพ่มิ โอกาสทางการศกึ ษาใหก้ บั ประชากรวัยเรียนทอี่ ยนู่ อกระบบการศึกษา 1) เร่งดาเนินการหาตัวตนของประชากรวัยเรียนท่ีอยู่นอกระบบการศึกษา ให้กลับ เข้าสู่ระบบการศึกษา โดยใช้กลวิธี “เคาะประตูบ้าน รุกถึงท่ี ลุยถึงถิ่น” โดยประสานกับสานักงานศึกษาธิการ จังหวัด เพื่อดาเนินการตรวจสอบข้อมูลทะเบียนราษฎร์เทียบกับข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของทุกหน่วยงาน ค้นหาผู้ท่ีไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษาเป็นรายบุคคล และรวบรวมจัดทาเป็นฐานข้อมูล และลงพื้นที่ติดตาม หาตัวตนของกลุ่มเป้าหมาย หาสาเหตุของการไม่เข้าเรียน และสอบถามความต้องการในการศึกษาต่อ พร้อมท้ังจาแนกข้อมูลตามประเภทของสาเหตุ และประเภทความต้องการในการศึกษาต่อ และส่งต่อ กลุม่ เป้าหมายเพ่อื ให้รับการศกึ ษาตอ่ ตามความต้องการของกล่มุ เป้าหมายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 2) ติดตามผลของกลุ่มเป้าหมายประชากรวัยเรียนท่ีอยู่นอกระบบการศึกษาที่ได้รับ การจดั หาท่ีเรยี น และจัดทาฐานขอ้ มลู ผสู้ าเร็จการศึกษาของกลุม่ เป้าหมาย รวมทั้งพฒั นาระบบเพอื่ การติดตาม กลุ่มเป้าหมายทไ่ี ด้รับการช่วยเหลือให้กลับเข้าสูร่ ะบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยติดตามตั้งแต่การเข้าศึกษา ต่อจนจบการศกึ ษา 4.2 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล ให้มีความทันสมัย มีหลักสูตรและสาระ การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และสถานศึกษา กศน. สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4.3 ยกระดับการศกึ ษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาการ รวมท้ังกล่มุ เปา้ หมาย พิเศษอ่ืน ๆ เช่น ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ให้จบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สามารถนาความรู้ท่ไี ด้รบั ไปพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเน่ือง รายงานผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 16

4.4 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดต้นแบบเมืองแห่งการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องให้กับประชาชนในชุมชน โดยกาหนดพื้นท่ีนาร่องที่ผ่านมาตรฐานเทียบวัด (Benchmark) ของสานกั งาน กศน. 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะส้ัน ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับบรบิ ทของพ้ืนที่ และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผรู้ บั บริการ 4.6 ขบั เคลอื่ นการดาเนนิ งานภายใตแ้ ผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค 1) สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับบุคลากรของสานักงาน กศน. เก่ียวกับการดาเนินงาน ภายใตแ้ ผนพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค เพอื่ ร่วมขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาภาค 2) เร่งจัดทายุทธศาสตร์และแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของสานักงาน กศน. ให้สอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค 5. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่เี ป็นมิตรต่อส่งิ แวดล้อม 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนเก่ียวกับการป้องกันผลกระทบและปรับตัว ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภยั พบิ ัติธรรมชาติ 5.2 สร้างความตระหนกั ถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว สง่ เสริมความรู้ให้กับ ประชาชนเกี่ยวกับการคดั แยก การแปรรปู และการกาจดั ขยะ รวมท้งั การจัดการมลพษิ ในชุมชน 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง ลดการใช้ทรัพยากรท่ีส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม เช่น รณรงค์เร่ืองการลดการใช้ถุงพลาสติก การประหยัด ไฟฟา้ เป็นตน้ 6. ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ บรหิ ารจัดการบนข้อมลู และหลักฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสมั ฤทธ์ิมีความโปร่งใส นานวัตกรรม และเทคโนโลยรี ะบบการทางานทเี่ ปน็ ดิจทิ ัลมาใช้ในการบริหารและการตัดสนิ ใจ 6.2 พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการอย่างเป็น ระบบ และเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือการบริหารจัดการและบูรณาการ ข้อมลู ของประชาชนอยา่ งเป็นระบบ 6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเน่ือง ให้มีความรู้และทักษะ ตามมาตรฐานตาแหนง่ ใหต้ รงกบั สายงาน ความชานาญ และความตอ้ งการของบุคลากร ภารกิจตอ่ เนื่อง 1. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยดาเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 17

และค่าจัดการเรียนการสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอ เพ่ือเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษา ที่มคี ุณภาพโดยไมเ่ สียค่าใช้จา่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ทั้งระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและ ประเมินผลการเรียน ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบช้ันเรียน และการจัด การศึกษาทางไกล 3) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ที่มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนอง ความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมายได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพท่ีผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วม ปฏิบัติกิจกรรม เพื่อเป็นส่วนหน่ึงของการจบหลกั สูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง การส่งเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนากิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์ อืน่ ๆ นอกหลักสตู ร มาใช้เพมิ่ ชว่ั โมงกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนจบตามหลกั สตู รได้ 1.2 การส่งเสรมิ การร้หู นงั สอื 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็น ระบบเดยี วกนั ทง้ั สว่ นกลางและสว่ นภมู ิภาค 2) พัฒนาหลักสูตร ส่ือ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดาเนินงาน การส่งเสริมการรู้หนังสอื ทสี่ อดคล้องกับสภาพแต่ละกลมุ่ เปา้ หมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายท่ีร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัคร ส่งเสริมการรหู้ นังสือในพ้นื ทที่ ี่มีความตอ้ งการจาเปน็ เป็นพเิ ศษ 4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพ การรู้หนังสือ การพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรู้ อยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ิตของประชาชน 1.3 การศึกษาต่อเน่อื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัด การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพ เฉพาะทางหรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชพี ช่างพื้นฐานที่สอดคลอ้ งกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการ และศักยภาพของแต่ละพืน้ ท่ี ตลอดจนสรา้ งความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่น ต่อหนึ่งศูนย์ฝึกอาชีพ รวมท้ังให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา อย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนอื่ ง รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 18

2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุท่ีสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะ การดารงชวี ติ ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พ่งึ พาตนเองได้ มคี วามรคู้ วามสามารถในการบริหารจดั การชีวิต ของตนเองให้อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณต์ ่าง ๆ ทเี่ กดิ ขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมท่ีมีเนื้อหาสาคัญต่าง ๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัย ยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษา รปู แบบตา่ ง ๆ อาทิ คา่ ยพฒั นาทกั ษะชวี ิต การจดั ตง้ั ชมรม/ชุมนมุ การส่งเสรมิ ความสามารถพเิ ศษต่าง ๆ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการ เรียนรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัด กิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่น ๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบท ของชุมชนแต่ละพ้ืนท่ี เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและ อุดมการณ์ รวมท้ังสังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบ ต่อหน้าท่ีความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหาร จัดการน้า การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ในการพฒั นาสงั คมและชุมชนอย่างยง่ั ยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการ เรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง และมีการบรหิ ารจัดการความเสีย่ งอย่างเหมาะสม ตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศสคู่ วามสมดลุ และยงั่ ยืน 1.4 การศึกษาตามอัธยาศยั 1) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตาบล เพื่อการถ่ายทอด องค์ความรู้ และจัดกจิ กรรมเพอ่ื เผยแพรอ่ งค์ความรู้ในชมุ ชนได้อยา่ งทว่ั ถงึ 2) จัดกจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถ ในการอ่านและศกั ยภาพการเรียนรู้ของประชาชนทกุ กลุ่มเปา้ หมาย 3) ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และส่ิงแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านให้เกิดข้ึน ในสังคมไทย โดยสนับสนนุ การพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ใหเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ งกวา้ งขวางและท่วั ถึง เช่น พัฒนาห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครอื ขา่ ยส่งเสรมิ การอ่าน จัดหนว่ ยบรกิ ารเคลื่อนทีพ่ รอ้ มอปุ กรณ์เพื่อจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นและ การเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนท่ีต่าง ๆ อย่างท่ัวถึง สม่าเสมอ รวมท้ังเสริมสร้าง ความพรอ้ มในด้านสือ่ อุปกรณ์เพื่อสนบั สนุนการอ่าน และการจดั กจิ กรรมเพื่อสง่ เสริมการอา่ นอยา่ งหลากหลาย 4) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ตลอดชีวติ ของประชาชน และเป็นแหล่งท่องเท่ียวประจาท้องถิ่น โดยจดั ทาและพฒั นานิทรรศการ รายงานผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 19

ส่ือและกิจกรรมการศึกษาท่ีเน้นการเสริมสรา้ งความรู้และสร้างแรงบนั ดาลใจ สอดแทรกวิธีการคิดและปลูกฝงั เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการฝึกทักษะกระบวนการที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมท้ังสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบท ของชุมชน และประเทศ รวมทั้งการเปล่ียนแปลงระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และ ความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ มีทักษะท่ีจาเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 มีความสามารถในการปรับตัว รองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนาความรู้และทักษะ ไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ 1.5 พฒั นา กศน. ตาบล สู่ “กศน. ตาบล 4G” 1) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและ การเรียนรู้ : Good Teacher ใหเ้ ป็นตวั กลางในการเชอื่ มโยงความรู้กบั ผรู้ บั บริการ มีความเป็น “ครมู อื อาชีพ” มีจิตบรกิ าร มคี วามรอบรแู้ ละทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เปน็ ผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และบรหิ ารจัดการ ความรทู้ ่ดี ี รวมทง้ั เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานอยา่ งมีความสขุ 2) พัฒนา กศน.ตาบล ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเอ้ือต่อการเรียนรู้ อย่างตอ่ เนื่อง : Good Place Best Check-In มคี วามพรอ้ มในการให้บรกิ ารกจิ กรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหลง่ ขอ้ มูลสาธารณะท่ีง่ายต่อการเขา้ ถึง และสะดวกต่อการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ อย่างสรา้ งสรรค์ มสี ง่ิ อานวย ความสะดวก ดึงดดู ความสนใจ และมคี วามปลอดภยั สาหรับผู้รบั บรกิ าร 3) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน กศน.ตาบล : Good Activities ให้มีความหลากหลาย น่าสนใจ ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของ ประชาชน รวมท้งั เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามาจดั กิจกรรมเพื่อเชอ่ื มโยงความสัมพนั ธ์ของคนในชุมชน 4) เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย : Good Partnership ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพ่ือสร้าง ความเขา้ ใจ และใหเ้ กิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนนุ และจัดการศึกษาและการเรยี นรใู้ ห้กับประชาชน อยา่ งมคี ณุ ภาพ 1.6 ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องคก์ ร หรอื ภาคสว่ นต่าง ๆ ทมี่ ีแหลง่ เรียนรู้อ่นื ๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ ศูนย์เรียนรู้ แหล่งโบราณคดี ห้องสมุด เพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบ ทหี่ ลากหลาย และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน 2. ด้านหลักสูตร ส่ือ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการ ทางวิชาการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรม เพ่ือส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมท้ังหลักสูตรท้องถ่ิน ท่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพบริบทของพนื้ ที่ และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและชมุ ชน รายงานผลการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 20

2.2 สง่ เสรมิ การพฒั นาสื่อแบบเรยี น สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละส่ืออื่น ๆ ที่เอื้อตอ่ การเรียนรู้ ของผเู้ รียน กลมุ่ เป้าหมายทั่วไปและกลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัยด้วยระบบห้องเรียน และการควบคมุ การสอบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่าง มปี ระสทิ ธิภาพ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะ หลักสูตรในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบ อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใชอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการ เรียนรู้ การวัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้มีการนาไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ บรบิ ทอยา่ งต่อเน่ือง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพ่ือพร้อมรับ การประเมินคุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบ การประกันคุณภาพ และสามารถดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้ การประเมินภายในด้วยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพ่ีเลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สาหรับ สถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้ได้คุณภาพ ตามมาตรฐานทีก่ าหนด 3. ดา้ นเทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา ให้เชื่อมโยง และตอบสนองต่อการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของสถานศึกษาเพ่ือกระจาย โอกาสทางการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อ การมีงานทา รายการติวเข้มเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอินเทอรเ์ นต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อ่ืน ๆ เพ่อื ส่งเสริมให้ครู กศน. นาเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใช้ในการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ การผลิต และการออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต โดยขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่ว ประเทศ รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 21

และเพิ่มช่องทางให้สามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ท้ังระบบ Ku - Band , C – Band Digital TV และ ทางอินเทอร์เนต็ พร้อมทจ่ี ะรองรบั การพฒั นาเปน็ สถานวี ทิ ยโุ ทรทัศน์เพ่ือการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ให้ได้หลายช่องทาง ท้ังทางอินเทอร์เน็ต และรูปแบบอ่ืน ๆ เช่น Application บนโทรศัพท์เคล่ือนที่ และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เป็นต้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใชบ้ ริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรู้ ไดต้ ามความตอ้ งการ 3.5 สารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา อย่างต่อเน่ือง และนาผลมาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและ การเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนได้อย่างแท้จริง 4. ดา้ นโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอนั เก่ยี วเน่ืองจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ หรือ โครงการอนั เกย่ี วเน่อื งจากราชวงศ์ 4.2 จัดทาฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ท่ีสนองงานโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอันเก่ียวเน่ืองจากราชวงศ์ ท่ีสามารถนาไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมนิ ผล และการพัฒนางานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดาเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ เพื่อใหเ้ กิดความเข้มแขง็ ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ า้ หลวง” ให้มีความพร้อมในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหนา้ ทีท่ ่กี าหนดไวอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4.5 จดั และส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นท่ีสูง ถ่นิ ทรุ กันดาร และพื้นที่ชายขอบ 5. ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นท่ีบริเวณ ชายแดน 5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ 1) จัดและพฒั นาหลักสตู ร และกจิ กรรมสง่ เสริมการศกึ ษาและการเรียนรทู้ ่ตี อบสนอง ปัญหาและความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมาย รวมทั้งอัตลกั ษณ์และความเปน็ พหุวัฒนธรรมของพืน้ ท่ี 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างเข้มข้นและ ตอ่ เน่ืองเพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถนาความร้ทู ีไ่ ดร้ บั ไปใช้ประโยชนไ์ ด้จริง 3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากร และนักศกึ ษา กศน. ตลอดจนผมู้ าใชบ้ ริการอย่างทัว่ ถึง รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 22

5.2 พฒั นาการจัดการศกึ ษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทาแผนการศึกษา ตามยุทธศาสตรแ์ ละบรบิ ทของแตล่ ะจงั หวัดในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 2) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนท่ี โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการ ของตลาดใหเ้ กิดการพฒั นาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพน้ื ที่ 5.3 จัดการศึกษาเพื่อความม่ันคง ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณ ชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนให้เป็นศูนย์ฝึกและ สาธิตการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดาริ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สาหรับประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวิธีการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย 2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุก เพื่อการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรม แกนนาด้านอาชีพ ที่เน้นเร่ืองเกษตรธรรมชาติท่ีสอดคล้องกับบริบทของชุมชนชายแดน ให้แก่ประชาชน ตามแนวชายแดน 6. ด้านบคุ ลากร ระบบการบรหิ ารจดั การ และการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ น 6.1 การพฒั นาบคุ ลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง ทั้งก่อน และระหว่างการดารงตาแหน่งเพื่อให้มีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการ การดาเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัด พฒั นาตนเองเพ่ือเลอ่ื นตาแหน่งหรือเลือ่ นวิทยฐานะ โดยเนน้ การประเมนิ วทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ์ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จาเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพ่ือร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยในสถานศึกษา 3) พัฒนาหัวหน้า กศน.ตาบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้น เพ่ือการบริหารจัดการ กศน.ตาบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการ ความรู้และผู้อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้เพอ่ื ให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ทีม่ ีประสทิ ธิภาพอยา่ งแทจ้ ริง 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถ จัดรูปแบบการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล และการวจิ ัยเบ้ืองตน้ 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ใหม้ ีความรู้ ความสามารถและมีความเป็นมืออาชีพในการจัดบริการสง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชวี ิตของประชาชน 6) ส่งเสรมิ ใหค้ ณะกรรมการ กศน. ทกุ ระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วม ในการบริหารการดาเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รายงานผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 23

7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่าย ท้ังในและต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการทางานร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอยา่ งต่อเน่อื ง 6.2 การพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานและอตั รากาลงั 1) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานที่ และวัสดุ อุปกรณ์ใหม้ คี วามพรอ้ มในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 2) บริหารอตั รากาลังที่มอี ยู่ ทัง้ ในส่วนทีเ่ ป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจา้ ง ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสงู สุดในการปฏิบัตงิ าน 3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากร เพื่อนามาใช้ในการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสาหรับดาเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั และการสง่ เสรมิ การเรียนรู้สาหรบั ประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน ทั่วประเทศอย่างเป็นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช้เป็นเคร่ืองมือสาคัญใน การบริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อย่างมีประสทิ ธิภาพ 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเรง่ รัดการเบิกจา่ ยงบประมาณใหเ้ ป็นตามเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ 3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันท่ัวประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจดั การศกึ ษาใหก้ บั ผเู้ รียนและการบรหิ ารจดั การอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้ง การศกึ ษาวิจัยเพ่ือสามารถนามาใช้ในการพฒั นาประสิทธิภาพการดาเนินงานทีส่ อดคล้องกับความต้องการของ ประชาชนและชุมชนพรอ้ มทัง้ พัฒนาขดี ความสามารถเชงิ การแขง่ ขนั ของหนว่ ยงานและสถานศึกษา 5) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนา และสง่ เสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชวี ิต 6) ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชุม เป็นต้น รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 24

6.4 การกากบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผล 1) สร้างกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เช่ือมโยงกับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่าย ท้ังระบบ 2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ตดิ ตามและรายงานผลการนานโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ ใหส้ ามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแตล่ ะเรื่อง ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพ่อื การกากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอย่างมีประสิทธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติ ราชการประจาปีของหน่วยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคารับรองการปฏิบัติราชการ ประจาปี ของสานักงาน กศน. ให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลา ท่กี าหนด 5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอก องค์กร ตั้งแต่ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพ่ือความเป็นเอกภาพ ในการใชข้ อ้ มลู และการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 25

ทาเนียบผู้บรหิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร นายธีระเกยี รติ เจริญเศรษฐศลิ ป์ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ พลเอก สรุ เชษฐ์ ชยั วงศ์ ศาสตราจารยค์ ลนิ กิ นายแพทยอ์ ุดม คชินทร รัฐมนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศึกษาธกื าร รฐั มนตรีช่วยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ รายงานผลการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 26

ทาเนยี บผูบ้ รหิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ นายการณุ สกลุ ประดิษฐ์ นายพรี ะ รัตนวจิ ติ ร ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รองปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร นายประเสรฐิ บุญเรอื ง นางวฒั นาพร ระงับทกุ ข์ รองปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ รองปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ รายงานผลการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 27

ทาเนยี บผ้บู ริหาร สานักงาน กศน. นายศรชี ัย พรประชาธรรม เลขาธกิ าร กศน. นางสาววิเลขา ลสี วุ รรณ์ นายนรา เหล่าวชิ ยา นายณฐั พงษ์ นวลมาก รองเลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. รองเลขาธกิ าร กศน. รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 28

ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะดา้ น นายสราวุธ กองสุทธ์ใิ จ นายชยั พัฒน์ พันธว์ุ ัฒนสกุล ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นเผยแพร่ทางการศึกษา ผ้เู ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นพัฒนาหลกั สตู ร นางสรุ วี ลั ย์ ลมิ้ พิพฒั นกลุ ผู้เชยี่ วชาญเฉพาะด้านส่งเสริมมาตรฐานการศกึ ษานอกโรงเรียน รายงานผลการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 29

ผ้เู ช่ยี วชาญเฉพาะดา้ น นางญาณิศา สุขอุดม นายนภมณฑล สิบหม่ืนเป่ียม รักษาการในตาแหน่งผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ น รกั ษาการในตาแหน่งผ้เู ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ น เผยแพรท่ างการศึกษา พฒั นาสอ่ื การเรียนการสอน นางวัชรีภรณ์ โกสนิ เจริญชัย ปฏิบตั ิหน้าทผ่ี ูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านพฒั นาเครือข่าย รายงานผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 30

ผ้เู ชยี่ วชาญเฉพาะด้าน นางพนอ ธรรมเนียมอนิ ทร์ นางตติยา ใจบุญ รักษาการในตาแหน่งผู้เชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น รักษาการในตาแหน่งผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น การผลติ ส่ือเทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา เผยแพรท่ างการศกึ ษา นางสาวปาริชาติ เยน็ ใจ รักษาการในตาแหน่งผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นเผยแพร่ทางการศกึ ษา รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 31

ผ้บู ริหารกลมุ่ /ศูนย์สว่ นกลาง นางตรนี ชุ สุขสุเดช นางสร้อยทิพย์ อุจวาที ผอู้ านวยการกลุ่มเลขาธกิ ารกรม ผอู้ านวยการกลุ่มการคลงั นางสาววัชรีวรรณ กนั เดช นางรุง่ อรณุ ไสยโสภณ ผ้อู านวยการกลุ่มแผนงาน ผอู้ านวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 32

ผ้บู รหิ ารกลุ่ม/ศนู ยส์ ว่ นกลาง นางเกณกิ า ซกิ วาร์ทซอน ผ้อู านวยการกลุ่มส่งเสริมปฏิบัติการ ผอู้ านวยการกลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ นายวรวิทย์ สรุ ะโคตร นางสาววราภรณ์ นันทสคุ นธ์ ผอู้ านวยการกลุ่มการเจา้ หน้าท่ี หัวหนา้ หน่วยตรวจสอบภายใน รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 33

ผบู้ รหิ ารกลมุ่ /ศนู ย์สว่ นกลาง นางทองพนิ ขันอาสา นางณัฐกฤตา พ่ึงสุข หวั หน้าหน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ ผูอ้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศัยกลุ่มเปา้ หมายพิเศษ นายประยุทธ หลักคา นายคมกฤช จนั ทร์ขจร ผู้อานวยการสถาบันสง่ เสรมิ และพัฒนา ผู้อานวยการสถาบนั การศกึ ษาทางไกล นวัตกรรมการเรียนรู้ รายงานผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 34

ผู้บริหารกลมุ่ /ศนู ยส์ ่วนกลาง ผู้อานวยการศูนยเ์ ทคโนโลยีทางการศึกษา นางตติยา ใจบุญ ผอู้ านวยการศนู ย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษา นายอาศสิ เชยกล่ิน ผอู้ านวยการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษารังสติ รายงานผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 35

โครงสร้าง รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 36

วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ สานกั งาน กศน. วสิ ัยทศั น์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิต ที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จาเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับ การศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับ การเปล่ยี นแปลงบริบททางสังคม และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชวี ิต 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมท้ังการดาเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและ แหลง่ การเรยี นรู้อ่นื ในรปู แบบตา่ ง ๆ 3. ส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิด ประสทิ ธิภาพในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้กบั ประชาชนอย่างทวั่ ถึง 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและ ประเมินผลในทกุ รูปแบบให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทในปัจจบุ นั 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือมุ่งจัดการศึกษาและ การเรยี นรู้ท่ีมีคุณภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนท่ัวไปได้รบั โอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา ตามอัธยาศัย ท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละ กลุ่มเปา้ หมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และ ความเป็นพลเมือง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสู่ ความม่นั คงและยง่ั ยนื ทางด้านเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม 3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่ีเหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ได้อยา่ งสร้างสรรค์ 4. ประชาชนได้รับการสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพ่ือการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง 5. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังการขบั เคล่อื นกจิ กรรมการเรยี นรขู้ องชุมชน รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 37

6. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิ ทัลมาใช้ ในการยกระดบั คณุ ภาพในการจัดการเรียนรู้และเพม่ิ โอกาสการเรียนรใู้ ห้กับประชาชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือแก้ปัญหาและ พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และส่งิ แวดล้อม รวมทง้ั ตามความตอ้ งการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบท่หี ลากหลาย 8. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบริหารจัดการท่เี ป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 9. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 38

สว่ นท่ี 1 ผลการดาเนินงานตามแผนงาน และยุทธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร สานกั งาน กศน. ไดด้ าเนินโครงการ/กิจกรรม ทส่ี อดคล้องกบั นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ท่ีสอดรับตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามแผนงานและ ยทุ ธศาสตร์กระทรวงศึกษาธกิ ารมาอยา่ งต่อเนื่อง เพ่ือให้คนไทยไดร้ บั โอกาสการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจาเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 โดยมีผลการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดังน้ี 1. ผลการดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรมสาคัญ ตามแผนงบประมาณรายจ่าย สานักงาน กศน. ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และ เบิกจ่ายงบประมาณเพื่อดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม ตามแผนงานพืน้ ฐาน แผนงานยทุ ธศาสตร์ และแผนงาน บรู ณาการ ดังน้ี ท่ี แผนงาน/โครงการ งบประมาณ (บาท) แผนงานพน้ื ฐาน ไดร้ ับจัดสรร เบิกจา่ ย รอ้ ยละ แผนงานพื้นฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน 1 โครงการความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศด้านการพฒั นาสง่ เสรมิ 1,300,000.00 1,051,710.00 80.90 41,468,700.00 39,843,151.26 96.08 และเผยแพรเ่ กษตรธรรมชาติ 2 โครงการจดั การศึกษาสาหรับเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กนั ดาร 33,714,800.00 32,593,896.00 96.68 เพอ่ื สนองงานตามพระราชดารสิ มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า 11,274,100.00 7,672,760.00 68.06 กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 3 โครงการทนุ การศกึ ษาเดก็ สภาวะยากลาบากในเขตพ้นื ท่ีสูง 2,407,700.00 2,262,016.00 93.95 ภาคเหนือ 4 โครงการสนบั สนนุ เส้ือผ้าและอุปกรณ์การเรยี นสาหรับเด็ก 7,280,000.00 4,504,238.47 61.87 และเยาวชนทอี่ าศัยอยู่ในถ่ินทุรกนั ดาร 4,500,000.00 4,390,523.60 97.57 5 โครงการขยายผลโครงการหลวงเพอ่ื แก้ปญั หาพ้นื ที่ปลกู ฝิน่ อยา่ งย่ังยนื 22,500,000.00 20,005,575.00 88.91 6 โครงการเทยี บโอนความรู้เทยี บระดบั การศึกษามติ คิ วามรคู้ วามคดิ 7 โครงการส่งเสรมิ การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษและภาษา 81,934,900.00 39,283,652.83 47.94 ของกลุ่มประเทศอาเซยี น 8 โครงการสง่ เสริมการศึกษานอกระบบผ่านทวี ีสาธารณะ (ติวเข้มเตม็ ความร)ู้ 9 กจิ กรรมจดั สรา้ งแหล่งการเรยี นรใู้ นระดบั ตาบล รายงานผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 39

ท่ี แผนงาน/โครงการ งบประมาณ (บาท) 10 กิจกรรมสนับสนุนคา่ บรกิ ารเครอื ข่ายสารสนเทศ ได้รบั จัดสรร เบกิ จา่ ย ร้อยละ เพอ่ื การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 43,580,200.00 36,086,586.74 82.81 แผนงานพน้ื ฐานด้านความมั่นคง 2,505,300.00 2,238,908.00 89.37 1 โครงการพัฒนาบคุ ลากรเพ่อื เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการปฏบิ ัตงิ าน 875,000.00 875,000.00 100 ในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 4,319,254,000.00 2,923,882,394.27 67.69 2 โครงการติดตามและประสานแผนการประเมินการจดั กจิ กรรม 470,862,000.00 450,582,027.81 95.69 การเรยี นรู้ดา้ นการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาในพ้ืนทีจ่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตรพ์ ัฒนาการศึกษาเพอ่ื ความยงั่ ยืน 1 โครงการสนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาตัง้ แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 2 โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน 3 โครงการพฒั นาทักษะครู กศน. ตน้ แบบการสอนภาษาองั กฤษ 3,300,000.00 3,152,299.64 95.52 เพื่อการส่อื สาร 43,792,203.28 97.66 1,500,000.00 16.86 แผนงานบูรณาการ 13,072,859.40 96.54 แผนงานบรู ณาการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรูใ้ ห้มีคุณภาพเทา่ เทียมและทั่วถงึ 15,298,050.00 99.85 1 โครงการภาษาองั กฤษเพอื่ การส่อื สารดา้ นอาชพี 44,840,000.00 2,723,090.00 82.52 11,194,550.00 99.07 2 โครงการพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การและสารสนเทศ 8,894,600.00 5,810,968.00 100 1,942,300.00 86.32 ทางการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 5,008,355.00 92.95 72,714,785.35 96.95 แผนงานบูรณาการพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวติ 1 โครงการความรว่ มมอื การผลติ ผ้ดู แู ลผสู้ ูงอายุ 13,540,900.00 ระหว่างกระทรวงศกึ ษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข แผนงานบูรณาการขับเคล่อื นการแก้ไขปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 1 โครงการจดั การศกึ ษาตลอดชีวิตในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ 15,321,600.00 2 โครงการฝึกอาชพี จังหวัดชายแดนภาคใตต้ ามแนวทาง 3,300,000.00 โรงเรยี นพระดาบส 3 โครงการสง่ เสรมิ ภาษาเพื่อการเรียนรู้และส่อื สาร 11,300,000.00 4 โครงการนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสปู่ ระชาชน 5,811,100.00 จังหวดั ชายแดนใต้ 5 โครงการกีฬา กศน. สายสมั พันธช์ ายแดนใต้ 2,250,000.00 6 โครงการลกู เสอื กศน. ชายแดนใต้ 5,388,000.00 แผนงานบรู ณาการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมดจิ ิทลั 1 โครงการสร้างเครอื ขา่ ยดจิ ิทลั ชุมชนระดบั ตาบล 75,001,300.00 รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 40

ท่ี แผนงาน/โครงการ งบประมาณ (บาท) แผนงานบูรณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร ไดร้ ับจัดสรร เบิกจา่ ย ร้อยละ 1 โครงการ Smart ONIE เพอื่ สรา้ ง Smart Farmer 19,121,300.00 16,357,824.89 85.55 โดยการจัด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตาม แผนงานดังกล่าวข้างต้น สานักงาน กศน. ได้ดาเนินการจัดการศึกษานอกระบบ (การศึกษาพ้ืนฐาน การศึกษา ตอ่ เนอ่ื ง) และการศึกษาตามอัธยาศยั โดยสรปุ ดังน้ี การศึกษานอกระบบ มีผลการดาเนนิ งาน ดงั น้ี 1. การศึกษาขัน้ พื้นฐาน สานักงาน กศน. ได้จัดการศึกษาข้ันพื้นฐานในระดับประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ให้กับประชากร กลุ่มเป้าหมายท่ียังไม่จบการศึกษาภาคบังคับและไม่อยู่ในระบบโรงเรียน เช่น ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ใช้แรงงาน แรงงานต่างด้าว ผู้ต้องขัง ชาวไทยภูเขา ทหารกองประจาการ และเด็กเร่ร่อน เป็นต้น ท่ีสอดคล้องกับความ ต้องการ ศักยภาพ และความพร้อมของผู้เรียน เพื่อให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึน โดยจัด การศึกษาใน 2 หลกั สตู ร คือ 1.1 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและ การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง ซง่ึ เปน็ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ที่ตอ้ งการ 1.2 หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2556 เปน็ การจดั การศึกษาให้ กลุ่มเป้าหมายท่ีมีพ้ืนความรู้ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และประกอบอาชีพอยู่ในสถานประกอบการหรือ ประกอบอาชีพอิสระ มีสมรรถนะตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก การฝึกปฏิบตั ิและการปฏิบัติจรงิ ในสถานประกอบการ ผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ดาเนินการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยมีนักศึกษาท่ีลงทะเบยี น เรียนและจบหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2556 ในภาคเรยี นท่ี 2/2561 และภาคเรยี นที่ 1/2562 โดยสรุปดังน้ี รายงานผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 41

กิจกรรม ผลการดาเนนิ งาน (คน) ภาคเรียนที่ 2/2561 ผู้ลงทะเบียน ผูจ้ บการศกึ ษา ระดับปฐมวยั ระดบั ประถมศึกษา 985,011 98,669 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 29 - ระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) ภาคเรียนท่ี 1/2562 72,392 4,133 ระดบั ปฐมวัย ระดบั ประถมศึกษา 381,360 35,063 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 522,325 59,287 ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) 8,905 186 951,939 112,110 27 - 70,247 6,222 370,434 42,794 503,669 62,638 7,562 456 รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 42

2. การศึกษาตอ่ เน่อื ง การจัดการศึกษาต่อเนื่อง เป็นการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการ และ ความจาเป็นในชีวิตประจาวันให้กับผู้เรียน เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ รวมทั้งมุ่งกระบวนการศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคม และชุมชนให้ สามารถพ่ึงตนเองได้ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อนั ประกอบด้วยกิจกรรม การจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพ การศกึ ษา เพื่อพฒั นาทักษะชีวติ และการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน โดยมวี ิธีการจัดใน 2 รปู แบบ คือ 2.1 รูปแบบกลุ่มสนใจ เป็นการจัดการศึกษาหลักสูตรไม่เกิน 30 ช่ัวโมง โดยมีผเู้ รียน จานวนกลมุ่ ละ 6 คนขน้ึ ไป 2.2 รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ เป็นการจัดการศึกษาหลักสูตร 31 ชั่วโมงขึ้นไป โดยมีผู้เรียนจานวนกลุ่มละ 11 คนข้ึนไป ซ่ึงแบ่งเป็นช้ันเรียนระยะส้ัน เป็นการจัดการศึกษาหลักสูตร 31-100 ชวั่ โมง และชน้ั เรยี นระยะยาว เปน็ การจดั การศึกษาหลกั สตู ร 100 ช่ัวโมงขึน้ ไป ผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ดาเนินการจัดการศึกษาต่อเน่ือง โดยมีผู้เรียนท่ีผ่านกิจกรรม จานวนท้ังสิ้น 2,016,991 คน จาแนกตามกิจกรรม ดงั น้ี 1. การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ จานวน 381,175 คน 2. การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชพี (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) จานวน 942,178 คน 3. การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน จานวน 345,092 คน 4. การเรียนรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จานวน 192,150 คน 5. การจัดการศึกษาเพ่ือชมุ ชนในเขตภูเขา (ศศช.) จานวน 77,444 คน 6. การส่งเสริมการรูห้ นังสือ จานวน 78,952 คน รายงานผลการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 43

การศกึ ษาตามอธั ยาศัย การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิตประจาวันให้กับ กลุ่มเป้าหมาย สามารถเลือกเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส ความพร้อม และศักยภาพในการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล ซึ่งได้จัดบริการแหล่งการเรียนรู้ให้เกิดความหลากหลาย สอดคล้องกับความสนใจและวิถีชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้และมีทักษะพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้ที่เออ้ื ต่อการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต ผลการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ได้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยในหลายรูปแบบท้ังการให้บริการ รายการวิทยุเพื่อการศึกษา รายการโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา บริการส่ือเพ่ือการศึกษา บริการนิทรรศการ ทางวิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา บริการกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา บริการกิจกรรมส่งเสริม การอา่ น ใหก้ บั ผ้รู ับบรกิ าร จานวนทงั้ สนิ้ 27,558,463 คน ดงั น้ี 1. กจิ กรรมด้านวิทยาศาสตร์ จานวน 5,026,538 คน 1.1 การเรยี นร้ผู า่ นนิทรรศการ จานวน 1,450,594 คน 1.2 คา่ ยวทิ ยาศาสตร์ จานวน 124,802 คน 1.3 กจิ กรรมการศกึ ษา จานวน 1,278,418 คน 1.4 บริการวชิ าการ จานวน 1,307,171 คน 1.5 พพิ ธิ ภัณฑส์ ัตว์นา้ จานวน 391,752 คน 1.6 ทอ้ งฟา้ จาลอง จานวน 473,801 คน 2. กจิ กรรมดา้ นบรกิ ารสง่ เสรมิ การอ่าน จานวน 13,373,933 คน 2.1 หอ้ งสมุดประชาชนทกุ ประเภท จานวน 7,041,635 คน 2.2 รถหอ้ งสมดุ เคล่อื นที่ขนาดใหญ่ จานวน 428,525 คน 2.3 รถหอ้ งสมุดเคลื่อนที่ Mini Mobile จานวน 163,760 คน 2.4 หอ้ งสมุดสาหรับชาวตลาด จานวน 973,355 คน 2.5 บ้านหนงั สือชุมชน จานวน 4,766,658 คน รายงานผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 44