115 อัตราทดของการบังคับเล้ียว = มุมของการหมุนของพวงมาลยั (องศา) มุมของการเคลอ่ื นท่ขี องขาไก่(องศา) แต่สาหรับกระปุกเกียร์พวงมาลยั แบบเฟืองขับและเฟืองสะพาน จะมวี ิธีการหาอตั ราการทดดังนี้ อตั ราทดของการบังคับเลีย้ ว = มุมของการหมนุ ของพวงมาลยั (องศา) มุมของการเคลือ่ นทขี่ องล้อหน้า(องศา) 6.5 โครงสร้างของกระปุกเกียรพ์ วงมาลัย โครงสรา้ งของกระปุกเกยี ร์พวงมาลัย ประกอบดว้ ยสว่ นท่สี าคัญ ๆ ดังนี้ 6.5.1 เรือนกระปุกเกียร์ (Nousing) ทาดว้ ยเหล็กหล่อเหนยี ว เป็นชนิ้ สว่ นหลักท่ีทาหน้าที่บรรจุกลไกเฟืองทด รอบ โดยเฟืองทดรอบจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน เช่น เฟืองตวั หนอน ลูกเบ้ียว กระเดื่อง และเฟืองเซกเตอร์ เป็นต้น ทงั้ นี้ข้ึนอยู่กับแบบของกระปุกเกียร์ในแตล่ ะแบบ ดงั แสดงในรปู 6.19 6.5.2 แกนพวงมาลยั (Steering column) หรือเพลาพวงมาลัย ทาจากเหล็กเหนียวกลมยาวดังแสดงในรูป 6.18 ซึ่งทาหนา้ ที่สง่ ถ่ายแรงหมุนจากพวงมาลัยไปยังเฟืองทดรอบ โดยที่ปลายด้านหน่ึงของแกนพวงมาลยั ถูกทา เปน็ สไปลน์ เพื่อยึดกับพวงมาลัย ส่วนปลายด้านล่างที่อย่ภู ายในเรื่อนกระปกุ เกียร์เปน็ ทตี่ ิดต้ังของเฟืองตัวหนอนลูก เบี้ยวและเฟือง 6.5.3 เพลาขวาง (Cross Shaft) ดังแสดงในรูป 6.19 ถูกติดตั้งอยู่ภายในเรือนกระปุกเกยี ร์พวงมาลยั และทา มมุ ฉากกับแกนพวงมาลยั มันจะทางานร่วมกับเฟืองเซกเตอร์ ลกู กลิ่ง หรือกระเด่ืองท่ีขบอยู่กบั เฟืองตัวหนอนท่ีแกน พวงมาลัย ในทางตรงกันข้าม ปลายอีด้านของเพลาขวางจะยืดออกภายนอกตัวเรือนและถูกรองรบั ไว้ดว้ ยบูช เพื่อชว่ ย ลดความฝืดทเ่ี กิดข้นึ ในขณะที่หมนุ และเปน็ ท่ีตดิ ต้ังขาไกท่ ส่ี ง่ ถ่ายแรงการหมุนไปยังคันชกั 6.5.4 ขาไก่ (Pitman Atm) ทาจากเหลก็ เหนียว โดยสวมยดึ ติดกบั เพลาขวางสว่ นทยี่ ดื ออกมาจากตวั เรือน กระปุกเกียร์ ดังแสดงในรูป 6.19
116 ใบมอบหมายงาน (ครุศาสตรเ์ คร่อื งกล) ช่อื วิชา ระบบเครือ่ งล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ชอ่ื หน่วย ระบบบังคบั เลี้ยว สปั ดาห์ที่ 11 หนว่ ยย่อยท่ี 6.1-6.5 จานวน 6 ชั่วโมง ใบงานท่ี 6.1 เรอ่ื ง การถอดประกอบกา้ นต่อบงั คบั เลี้ยว จุดประสงค์ทั่วไป เพ่อื ให้นักเรยี นมีทกั ษะการถอดและประกอบก้านต่อบงั คับเล้ียว จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1.ถอดและประกอบก้านบังคับเล้ียวได้ 2.ใช้เครอ่ื งมือทั่วไปและเครื่องมือพเิ ศษได้ เครอ่ื งและอุกรณ์ 1.รถยนต์ 2.เครอ่ื งมือพิเศษ 3.เครื่องมือช่างยนตท์ ั่วไป
117 ใบขัน้ ตอนการปฏิบัติงาน (ครุศาสตร์เครอ่ื งกล) ชอ่ื วิชา ระบบเครื่องลา่ งและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ชื่อหน่วย ระบบบังคับเลี้ยว สัปดาหท์ ี่ 11 หน่วยย่อยที่ 6.1-6.5 จานวน 6 ชวั่ โมง จากใบงานที่ 6.1 เรื่อง กาถอดและประกอบก้านบังคบั เลยี้ ว ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ ภายหลงั จากการตรวจสอบก้านตอ่ บังคับเล้ียว ถ้าเกิดการหลวมหรือสึกหรอ ให้ปฏบิ ัติตามขัน้ ตอนดังต่อไปน้ี อยา่ งระมัดระวัง เพ่อื ป้องกันการชารจุ เสียหายที่จะเกิดขนึ้ กับการบังคบั เลีย้ วในภายหลัง ส่วนประกอบของ ก้านต่อบังคลั เลย้ี วแสดงดังรูปท่ี 1 รปู ท่ี 1 ส่วนประกอบของก้านต่อบังคับเลี้ยว การถอดขาไก่ คนั ชกั และคันส่ง การถอดขไก่ คันชกั และคันส่ง สามารถปฏบิ ตั ิได้ตามข้ันตอนตอ่ ไปน้ี 1.คลายนอตยดึ ขาไก่และดูดขาไก่ออก ดังแสดงในรูปท่ี 2 (ก) 2.ก่อนถอดขาไก่ออกจากกระปุกเกยี ร์พวงมาลัย ควรทาเครื่องหมายไว้เพ่ือป้องกนั การประกอบผดิ พลาด ดัง แสดงในรปู ที่ 2 (ข) 3.ถอดขาไก่ออกจากคันชักดว้ ยเคร่ืองดูด ดังแสดงในรูปท่ี 2 (ค) (อยา่ ทาใหล้ ูกยางกันฝุ่นลกู หมากชารุจ) 4.ใช้เครื่องมือดดู ลูกหมากคันส่งออกจากคนั ชัก ดังแสดงในรูปที่ 2 (ง) 5.ถอดลกู หมากคนั ส่งและคันส่งออกจากแขนบงั คับเล้ยี ว ดังแสดงในรูปที่ 2 (จ) 6.ใช้เครื่องมือดดู ลูกหมากคันชักออกจากแขนประคอง ดังแสดงในรปู ท่ี 2 (ฉ)
118 รปู ท่ี 2 แสดงลาดบั ขั้นตอนการถอดกา้ นต่อบงั คบั เลย้ี ว การประกอบก้านต่อบังคับเล้ียว การประกอบกา้ นต่อบังคบั เลี้ยว ใหป้ ฏบิ ตั ิย้อนกลบั ตามลาดับขน้ั ตอนการถอดังนี้ 1.ประกอบคนั สง่ ท้ังด้านซ้ายและด้านขวาเข้ากบั ปลอกยึด โดยการหมุนลูกหมากคันส่งด้านซา้ ยและด้านขวา เพื่อให้ไดช้ ่วงระยะความยาวท่ีเทา่ กัน ดงั แสดงในรูปที่ 3 (ก) 2.ก่อนทาการประกอบจะต้องลอ็ กลกู หมากคันสง่ โดยยึดแคลมป์พร้อมกบั ปรับทิศทางแกนลูกหมากให้ทามุม กนั ประมาณ 91 องศา ดังแสดงในรูปท่ี 3 (ข)
119 รูปท่ี 3 แสดงการปรับความยาวของคนั ส่งและมุมของลูกหมากก่อนทาการประกอบ
120 แผนการจดั การเรียนรู้ (ครุศาสตร์เคร่ืองกล) ชือ่ วิชา ระบบเครอื่ งล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วิชา 3-122-120 ชอ่ื หน่วย ระบบรองรบั น้าหนกั สัปดาหท์ ี่ 12 หนว่ ยย่อย 7.1-7.4 จานวน 6 ชว่ั โมง แนวคดิ สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงค์การสอน หนว่ ยย่อยที่ 7.1 องค์ประกอบที่สาคัญที่ทาใหร้ ถหยุด หนว่ ยยอ่ ยที่ 7.1.1 บอกองค์ประกอบทีส่ าคัญท่ที าให้ หน่วยย่อยที่ 7.2 แบบของเบรก รถหยดุ ได้ หนว่ ยย่อยที่ 7.3 ดรัมเบรก หนว่ ยย่อยที่ 7.2.1 อธิบายความหมายแบบของเบรก หนว่ ยย่อยที่ 7.4 ดิสก์เบรก ได้ถูกต้อง หนว่ ยยอ่ ยที่ 7.3.1 อธบิ ายความหมายของดรมั เบรกได้ หน่วยย่อยที่ 7.4.1 อธิบายความหมายของดสิ ก์เบรกได้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมครู 1.ขน้ั นาเขา้ สู้บทเรียน 1.ขนั้ นาเขา้ สู้บทเรยี น - ครูถามคาถามใหน้ ักเรียนแสดงความคดิ เหน็ ถามขอ้ - นกั เรยี นตอบคาถามแสดงความคิดเหน็ ถามข้อสงสัย สงสัย 2.ขั้นการสอน 2.ขน้ั การสอน 1. นักเรยี นเนือ้ หาจากครู 1. ครูอธิบายเนอ้ื หาเร่ิมต้น 2. ศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน 2. ครแู จกใบเน้ือหา อธบิ ายความหมายความสาคัญ 3. ฟงั การบรรยาย และบนั ทึกสรปุ สาระสาคญั ของ เนอื้ หาสาระ ในหวั ข้อตา่ ง ๆ ในเอกสารประกอบการ สอน หัวขอ้ ตา่ ง ๆ 3. แจกแบบฝึกหดั ให้กบั นักเรยี นทาแบบฝึกหัด 4. ซกั ถาม ข้อสงสัยในเน้ือหาสาระตา่ ง ๆ 4. แจกแบบประเมนิ ผลหลังเรยี นใหก้ ับผู้เรียนทา 5. ปฏิบัติงานตามใบงาน สรปุ รายงานผลการ แบบทดสอบ 5. มอบหมายงานให้นักเรียนปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน ปฏบิ ัติงาน และนาเสนอผลงานสง่ ครู และควบคุมดแู ลการปฏบิ ัติงานของนักเรียน 6. ทาแบบฝึกหัด การวดั และการประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื วดั ผล 1. จากแบบฝกึ หัด วธิ ีวดั ผล 2. แบบประเมนิ ผลก่อนเรียนและหลังเรียน 1. ก่อนเรยี น:วดั ผลและประเมินผลโดยทาแบบทดสอบ 3. ประเมินผลจากการปฏบิ ัติงานตามใบงาน 2. ขณะเรียน วดั และประเมินผลโดยการถามตอบ วดั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 3. หลังเรียน: วัดและประเมินผลโดยทาแบบทดสอบ
121 เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ผเู้ รียนสามารถปฏิบัตงิ านที่ไดร้ ับมอบหมายไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง งานทีม่ อบหมาย แบบฝึกหดั สอื่ การเรียนและการสอน และอปุ กรณช์ ่วยฝกึ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ส่อื จริง 3. แบบฝึกหัด / แบบประเมินผล / ใบงาน 4. เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ของจริง หนังสอื อ้างองิ ประสานพงษ์ หาเรอื นชพี . 2560. งานสง่ กาลังรถยนต์.กรุงเทพฯ
122 ใบเนือ้ หา (ครศุ าสตรเ์ ครื่องกล) ชือ่ วิชา ระบบเคร่อื งลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วชิ า 3-122-120 ชือ่ หน่วย ระบบเบรก สัปดาห์ท่ี 12 หนว่ ยย่อยท่ี 7.1-7.4 จานวน 6 ชั่วโมง วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม หน่วยย่อยท่ี 7.1.1 บอกองค์ประกอบทส่ี าคัญที่ทาให้รถหยุดได้ หน่วยย่อยที่ 7.2.1 อธบิ ายความหมายแบบของเบรกได้ถูกต้อง หนว่ ยย่อยที่ 7.3.1 อธบิ ายความหมายของดรมั เบรกได้ หนว่ ยย่อยที่ 7.4.1 อธบิ ายความหมายของดิสกเ์ บรกได้ บทท่ี 7 ระบบเบรก 7.1 องคป์ ระกอบสาคัญที่ทาให้รถหยุด องค์ประกอบสาคัญที่ทาใหร้ ถหยุดไดน้ ้นั นอกจากสภาพของพืน้ ผวิ ถนน ชนิดของเบรก และความเร็วของรถ ก็ ยงั มีองค์ประกอบอืน่ ๆ ทม่ี ีสว่ นเกี่ยวข้องในการควบคุมใหร้ ถหยดุ ไดด้ ้วยเชน่ กันคือ 1.ดอกยาง (Tier Tread) สภาพของดอกยางเป็นสว่ นประกอบหนงึ่ ทเี่ ป็นตัวบงบอกถึงสภาพในการควบคุมใหร้ ถหยุด ซ่ึง ลกั ษณะของดอกยางท่ีใหมย่ ่อมมรี ่องรีดน้าและสัมประสิทธิ์ความฝดื ทดี่ ีกว่าดอกยางท่สี ึกมาก ๆ 2.จานวนเบรกในแตล่ ะล้อ (Number of Tires Braking) ในรถยนต์แต่ละคนั ล้อแต่ละจะต้องมีเบรกไว้เป็นอุปกรณเ์ พือ่ ห้ามให้ล้อหยดุ หมดุ แตถ่ ้าหากล้อใดล้อหน่ึงไมม่ ีอปุ กรณ์ในการเบรกล้อ ก็จะเป็นสาเหตหุ นึ่งท่ีจะทาให้การห้ามลอ้ ให้ หยดุ หมุนจาเป็นที่จะต้องใช้ระยะทางในการทีจ่ ะหยุดรถนน้ั มีเพิ่มมากขึน้ 3.การเบรกด้วยเครือ่ งยนต์ (Braking Force Engine) เป็นวิธีการหน่ึงท่จี ะทาให้รถยนตม์ ีความเร็วลดลงโดยปรากา ศจากการใช้เทา้ เหยียบแป้นเบรก แต่อาศยั แรงต้านทานการหมุนของล้อท่ีเกิดจากแรงหน่วยของเครื่องยนต์ลดความเรว็ ของรถยนต์ ซ่ึงวิธนี ใ้ี ชก้ บั รถยนตท์ ต่ี ้องวง่ิ ลงจากเขาหรือพืน้ ที่ลาดเอียงโดยการเปลยี่ นแปลงเกยี ร์ในตาแหน่งเกียรต์ ่า 4.การเพิ่มแรงเบ่งในตัวเองของฝกั เบรก (Pressure Aappled Through Energization) ในขณะทฝี่ ักเบรกถูกดันด้วย กาลังดันไฮดรอลิกจากกระบอกเบรกทลี่ ้อออกไปต้านการหมุนของดรัมเบรก ฝักเบรกจะถูกแรงเหวียงทาใหม้ ุมตาม กับดรัมเบรก จงึ เปน็ สาเหตุให้ผา้ เบรกเกิดการอดั ตัวกับดรมั เบรกมากขึน้ อาการที่เกิดข้ึนนเ้ี รียกว่า การเพ่ิมแรงเบ่งใน ตัวของฝักเบรก (Self Energization Brake) 5.สภาพพ้ืนผวิ ถนน (Road Surface) แรงจากการเบรกสูงสุดจะทาให้ลอ้ หยดุ หมนุ ได้อย่างไรก็ตาม การท่ีจะทาให้ล้อ หยดุ ได้อย่างรวดเร็วก็ใช่ว่าจะเกดิ ขึ้นจากล้อหยุดหมุนในขณะท่ีมนั ลืน่ ไถล แต่อาการเชน่ น้ีมักจะเกิดข้นึ ก่อนทลี่ ้อนน้ั จะ หยุดหมุน แต่เม่ือมีสมั ประสทิ ธค์ิ วามฝดื ท่ีเกิดขึน้ ระหว่างพื้นผิวถนนกับยางรถยนต์มีสูง ทาให้ลอ้ หยุดหมุนได้ก่อนท่ี เรมิ่ ตน้ การล่ืนไถล ดังน้นั ค่าสมั ประสทิ ธิ์ความฝดื ท่ีเกิดขน้ึ ระหวา่ งยางกับพ้ืนถนนจึงมีความแตกต่างกัน ทงั้ น้ีขน้ึ อยกู่ ับ ความแตกตา่ งของชนิดดอกยางและสภาพพ้ืนผิวถนนเป็นสาคัญ 6.สภาพถนนทีล่ าดชนั (Hill) ถ้าขับรถบนถนนทมี่ ีความลาดชันหรือข้ึนเขา ถ้าต้องการที่จะหยุดรถในขณะนน้ั แรงโนม้ ถ่วงจะเป็นตวั ช่วยให้การหยุดรถเป็นไปได้อยา่ งรวดเร็ว แตถ่ ้าขับรถลงจากถนนที่ลาดเอียงหรอื ลงเขาภายใต้โหลด เม่ือ ทาการเบรกรถใหห้ ยุดจะต้องใช้แรงในการทีจ่ ะเหยยี บเบรกน้ันมากขนึ้ ทั้งน้ีเนื่องจากมีแรงโนม้ ถ่วงเป็นแรงเสริมเพื่อให้ รถน้ันขับเคล่ือนที่ 7.ความฝืดทเ่ี กิดข้นึ ระหวา่ งผ้าเบรกและดรัมเบรก (Friction Between Brake Lining and Drum) ค่าสัมประสิทธิ์ ความฝืดระหว่างผ้าเบรกและดรัมเบรกทาหน้าท่ีเปน็ ตวั ชว่ ยควบคมุ สมรรถนะในการเบรกล้อรถ เพื่อป้องกันล้อไม่ให้
123 หมนุ 8.ความเร็วและโหลด (Vehicle Speed and Load) การห้ามลอ้ ให้รถหยุดเป็นการสะสมพลงั งานเอาไว้ ดังนน้ั ถ้ารถมี ความเร็วและโหลดมาก การสะสมพลังงานเพ่ือที่จะใหร้ ถหยุดกจ็ ะเพ่ิมมากขึ้น 9.แรงดนั ท่ีเกิดจากการเหยยี บเบรก (Pressure Applied by Leverag) เปน็ องค์ประกอบหนงึ่ ทสี่ าคัญในการควบคุม การหยุดรถท่ีเกิดจากแรงท่ีใช้ในการเหยยี บเบรก แรงดันเบรกจะมากข้ึนก็ขึ้นอย่กู ับการเพ่ิมอัตราส่วนระหว่างกา้ น เหยยี บแป้นเบรกและฝักเบรก 10.การถ่ายเทโหลด (Transfer of Load) รถยนตส์ ่วนมาก โหลดหรือน้าหนักทีก่ ดลงบนระบบรองรบั น้าหนักหน้าและ หลงั จะถูกเฉล่ียได้เทา่ กนั อย่างไรก็ตาม เมื่อเกิดการเบรกขึน้ นา้ หนักท่ีอยทู่ างดา้ นระบบรองรบั นา้ หนักหลงั จะถูก ถา่ ยเทไปยงั ด้านหน้า ซึ่งสาเหตนุ ี้เกิดจากการทีร่ ถเคล่ือนที่ไปข้างหน้า แต่ถา้ ผู้ขับข่ีเหยียบเบรกอย่างรุนแรง การห้ามล้อ ของเบรกก็จะมากข้ึน ในทานองเดยี วกัน การถ่ายเทน้าหนักจากล้อด้านหลังไปยงั ล้อด้านหน้ากจ็ ะย่ิงมากข้ึน จึงเป็น เหตผุ ลหน่ึงทีจ่ ะต้องออกแบบใหเ้ บรกของล้อดา้ นหนา้ มแี รงในการหา้ มล้อมากกว่าล้อด้านหลัง ทัง้ นีโ้ ดยการทาให้ กระบอกเบรกทลี่ ้อด้านหน้ามีขนาดโตกว่าทีล่ ้อด้านหลัง ในรูปท่ี 7.1 แสดงการถ่ายเทน้าหนักจากระบบรองนับนา้ หนัก หลงั มายงั ระบบรองรับน้าหนักหน้าเม่ือเกิดการเบรกอย่างรนุ แรง รปู ที่ 7.1 แสดงการถา่ ยเทนา้ หนักจากระบบรองนับน้าหนักหลังมายังระบบรองรับน้าหนักหนา้ เม่ือเกิดการเบรกอย่าง รนุ แรง 7.2 แบบของเบรก เบรกเป็นกลไกที่ทาใหเ้ กิดการหน่วงความเรว็ ของรถหรือทาให้รถหยุด และจะทางานไดโ้ ดยอาศัยระบบกลไก กาลัง ดันไฮดรอลิก แรงดันลมหรือไฟฟา้ แตใ่ นที่นีจ้ ะกล่าวถงึ เฉพาะเบรกท่นี ามาใช้กับรถยนต์ขนาดเล็ก ซ่ึงปัจจบุ ันมีใช้อยู่ 2 แบบด้วยกันคือ เบรกแบบกลไก และเบรกแบบไฮดรอลิก 7.2.1 เบรกแบบกลไก (Mechanical Brake) เบรกแบบกลไก ดังแสดงในรูปท่ี 7.2 เป็นแบบที่ถูกยกเลิกการผลิตใช้กับรถยนตใ์ นปัจจบุ นั เพ่ือใช้สาหรับการห้ามล้อให้ รถหยุด แต่จะใช้เบรกแบบกลไกน้เี ฉพาะห้ามล้อในขณะที่จอดรถเท่าน้ัน เบรกกลไกจะสามารถควบคุมการทางานไดโ้ ดยใชส้ ายเคเบิลท่ียดึ ตดิ ต่อกนั กับแปน้ เหยยี บเบรกและลกู เบี้ยวของเบรก แต่ละล้อ ลูกเบี้ยวจะทาหน้าท่ีเปน็ กลไกควบคุมการทางานของฝักเบรกท้ังสองดังแสดงในรูปท่ี 7.3 เม่ือผ้ขู บั ข่เี หยียบ แปน้ เบรก สาเคเบิลที่ถูกต่อไปยังลกู เบีย้ วของเบรกแตล่ ะล้อจะถูกดึงใหล้ ูกเบี้ยวหมุนไปดันให้ขาฝักเบรกดา้ นบนทั้งสอง ถูกกางออกไปต้านแรงการหมุนของจานดรัมเบรก ซงึ่ ปลายของขาฝกั เบรกทั้งสองถูกยึดติดกบั แผ่นหลังเบรกดว้ ยสลัก ยึด
124 รูปท่ี 7.2 แสดงการทางานของเบรกแบบกลไก รปู ท่ี 7.3 แสดงการกางออกของฝักเบรกด้วยการหมนุ ของลูกเบ้ยี วเม่ือสายเคเบลิ ถูกดึงจากแปน้ เหยยี บเบรก 7.2.2 เบรกแบบไฮดรอลิก (Hydraulic Brake) เบรกแบบไฮดรอลิก ดงั แสดงในรูปท่ี 7.4 ประกอบด้วยแป้นเหยยี บเบรก แม่ป๊ัมเบรก ท่อทางน้ามันเบรก กระบอก้ลั ้อ และจานเบรก ปกติแล้วแมป่ มั๊ เบรกที่ใช้กับรถยนตโ์ ดยทั่วไปจะทางานได้ดว้ ยวิธีเซอรโ์ ว ดังน้ันกาลังดนั ไฮดรอลิกทีม่ ันผลติ ข฿นมาน้ัน จะมีมากจนทาให้ขาของฝักเบรกกางออกดันดรัมเบรกหรือดันลกู สูบทาให้ผา้ เบรกบีบจานเบรกของดิสก์เบรกห้ามล้อ เอาไว้ ดว้ ยเหตุน้ีรถยนตท์ ี่ใช้อยู่บนท้องถนนในปัจจุบันจึงมีท้ังแบบใช้ดสิ ก์เบรกห้ามล้อด้านหน้า และดรัมเบรกห้ามล้อ ดา้ นหลัง หรือจะใช้ดสิ ก์เบรกห้ามล้อท้ังสลี่ ้อ แตส่ ่วนใหญ่ของรถบรรทุกและรถโดยสารขนาดใหญจ่ ะใชด้ รัมเบรกในการ หา้ มล้อทั้งหมด สาหรบั ในด้านความปลอดภยั ของรถยนต์ทกุ ประเภท ในแตล่ ะประเทศได้ออกกฎหมายมาความคุมใหร้ ถยนตท์ ีผ่ ลติ ออก ใชง้ านจะต้องใช้ป๊มั เบรก 2 วงจรหรือแบบแทนเด็มเทา่ นั้น ทั้งนี้กเ็ น่ืองจากเมื่อวงจรใดวงจรหนึง่ ของเบรกไฮดรอลิกเกดิ การร่ัวข้ึน อีกวงจรก็ยังสามารถใช้งานที่จะทางานได้อย่างปกติ
125 รปู ท่ี 7.4 แสดงส่วนประกอบของเบรกไฮดรอลกิ 7.3 ดรมั เบรก (Drum Brake) ดรัมเบรกเป็นอุปกรณ์ส่วนหน่งึ ของระบบเบรกท่ีทาหน้าท่หี ้ามล้อ ซึ่งมีหลักการทางานพ้ืนฐานของการขยายและหบุ ตวั ของฝักเบรกภายในจานดรัมเบรก โดยอาศัยแรงกลไกและกาลังดนั ไฮดรอลิก ประกอบด้วยจานดรมั เบรก แผน่ หลังเบรก ฝักเบรก กระบอกทลี่ ้อและสปริงดงึ กลบั ฝักเบรก ดังแสดงในรูปท่ี 7.5 จานดรัมเบรกถูกยึดตดิ กับดุมล้อด้วยสลักเกล่ียว ฝักเบรก สปริงดึงกลับฝกั เบรก และกระบอกเบรกท่ลี ้อถูกติดตั้งอยู่กบั แผ่นหลงั เบรก และสวมอยูใ่ นจานหลังเบรก โดยไม่มีการสัมผัสกันและหมุนไปพร้อมกบั ล้อ เมอื่ ทาการหา้ มล้อ ฝักเบรก จะถูกแรงผลักดนั จากกระบอกเบรกทล่ี ้อดันให้ถ่างออกต้านกับผนงั ของจานดรมั เบรก ดว้ ยค่าสมั ประสทิ ธ์คิ วามฝดื ของ ผ้าเบรกทีย่ ึดติดกับฝักเบรก จึงทาใหล้ ้อหมนุ ช้าลง รูปที่ 7.5 แสดงสว่ นประกอบของดรัมเบรก 7.4 ดิสก์เบรก (Disc Brake) ดิสกเ์ บรกเป็นอุปกรณ์สว่ นหน่ึงในระบบห้ามลอ้ ของรถยนต์ ซ่ึงทาหน้าท่ลี ดความเร็วและทาใหร้ ถหยุดไดใ้ นทนั ที เช่นเดียวกับดรมั เบรก ดิสกเ์ บรกประกอบดว้ ยจานโรเตอร์ท่ีทาจากเหล็กหล่อและติดต้ังให้หมุนเคล่ือนท่ีไปพร้อมกับล้อ รถยนต์ โดยทาใหม้ ันหมุนอยู่ระหว่างผา้ เบรกท้ังสองดา้ นและถกู บีบเพ่ือให้เกดิ ความฝืดข้ึนที่จานโรเตอร์ดว้ ยแรงเบรกที่ เกิดจากลูกสูบ ซึ่งเปน็ กาลังดนั จากไฮดรอลิกในขณะที่เหยยี บเบรก ดังน้นั ดิสก์เบรกทีถ่ ูกผลิตขึ้นใช้กบั รถยนต์จงึ ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะที่แตกต่างจากดรัมเบรก
126 รูปท่ี 7.6 แสดงส่วนประกอบของดสิ ก์เบรกแบบทใี่ ช้คาลิเปอร์แบบตายตัว
127 แบบฝกึ หดั (ครศุ าสตร์เครอ่ื งกล) ชือ่ วิชา ระบบเครื่องล่างและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหัสวิชา 3-122-120 ชอื่ หน่วย ระบบเบรก สัปดาหท์ ี่ 12 หน่วยยอ่ ยท่ี 7.1-7.4 จานวน 6 ชั่วโมง คาส่งั : จงทาเคร่อื งหมายกากบาท (x) ลงในคาตอบทถี่ ูกท่ีสดุ เพียงข้อเดียว 1. อปุ กรณ์ที่ทาหนา้ ที่ลดหรอื หน่วงความเรว็ ของรถในขณะเคลื่อนทีก่ ค็ ืออะไร ก. ระบบพวงมาลัยเพาเวอร์ ข. ระบบรองรบั น้าหนัก ค. ระบบเบรก ง. ระบบสง่ กาลัง 2. องค์ประกอบท่ีสาคัญท่ที าให้รถหยุดไดน้ ้ันคืออะไร ก. ความเรว็ และโหลด ข. ดอกยางและการถ่ายเทโหลด ค. สภาพพื้นผวิ ถนนและแรงดนั ในการเหยียบเบรก ง. ความเร็ว โหลด และสภาพพน้ื ผวิ ถนน 3. อะไรเป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคัญทีท่ าให้ระยะทางในการห้ามล้อให้รถหยดุ ได้ ก. ปฏกิ ิรยิ าโต้ตอบของผู้ขบั ขี่ ข. สภาพของพื้นถนน ค. คา่ สัมประสทิ ธ์ิและค่าความฝดื ของผ้าเบรก ง. แรงดนั ในการเหยียบเบรก 4. ปฏกิ ริ ยิ าของแรงที่เกิดจากแรงเบ่งในตวั เองของฝกั เบรกอันหนึ่งทีจ่ ะพยายามช่วยผลักดันให้ฝักเบรกอีก อันหนึ่งเกิดปฏิกริ ยิ าตาม ปฏกิ ิรยิ าน้เี รียกว่าอะไร ก. การเพมิ่ แรงเบ่งในตัวเองของฝักเบรก ข. เกดิ การเซอรโ์ ว ค. เกดิ การเคลื่อนตวั ตาม ง. เกดิ การขยายตวั ฝักเบรก 5. เมื่อฝกั เบรกพยายามท่จะหมุนตามดรัมเบรกและไปดันให้สลักยึดเบรกเกิดปฏิกริ ยิ าแรงด้านดรมั เบรกเพ่ิมมาก ขน้ึ ปฏิกิริยาแรงดันที่เกิดข้นึ น้ีเรยี กว่าอะไร ก. การเพม่ิ แรงเบ่งในตวั เองของฝักเบรก ข. เกิดการเซอรโ์ ว ค. เกิดการเคลื่อนตัวตาม ง. เกิดการขยายตัวฝักเบรก
128 เฉลยแบบฝกึ หดั (ครุศาสตร์เคร่ืองกล) ชื่อวิชา ระบบเครื่องล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ชอื่ หน่วย ระบบเบรก สัปดาหท์ ่ี 12 หน่วยยอ่ ยท่ี 7.1-7.4 จานวน 6 ช่ัวโมง คาส่งั : จงทาเครอื่ งหมายกากบาท (x) ลงในคาตอบทีถ่ ูกท่ีสดุ เพียงข้อเดียว 1. อุปกรณ์ทีท่ าหน้าทล่ี ดหรือหน่วงความเรว็ ของรถในขณะเคลื่อนทก่ี ็คืออะไร จ. ระบบพวงมาลัยเพาเวอร์ ฉ. ระบบรองรบั น้าหนัก ช. ระบบเบรก ซ. ระบบส่งกาลัง 2. องค์ประกอบท่ีสาคัญทท่ี าใหร้ ถหยดุ ได้น้ันคืออะไร จ. ความเรว็ และโหลด ฉ. ดอกยางและการถ่ายเทโหลด ช. สภาพพ้นื ผิวถนนและแรงดันในการเหยียบเบรก ซ. ความเร็ว โหลด และสภาพพืน้ ผวิ ถนน 3. อะไรเป็นองค์ประกอบท่สี าคัญทที่ าใหร้ ะยะทางในการห้ามล้อใหร้ ถหยดุ ได้ จ. ปฏิกริ ยิ าโต้ตอบของผู้ขบั ขี่ ฉ. สภาพของพ้ืนถนน ช. คา่ สมั ประสทิ ธ์ิและค่าความฝดื ของผา้ เบรก ซ. แรงดันในการเหยียบเบรก 4. ปฏกิ ริ ยิ าของแรงที่เกิดจากแรงเบ่งในตวั เองของฝักเบรกอันหน่ึงทจ่ี ะพยายามชว่ ยผลักดันให้ฝักเบรกอีก อันหน่ึงเกดิ ปฏิกิรยิ าตาม ปฏกิ ิรยิ านเี้ รยี กว่าอะไร จ. การเพ่ิมแรงเบ่งในตวั เองของฝักเบรก ฉ. เกิดการเซอร์โว ช. เกดิ การเคล่ือนตวั ตาม ซ. เกดิ การขยายตวั ฝักเบรก 5. เมื่อฝกั เบรกพยายามทจี่ ะหมนุ ตามดรัมเบรกและไปดันใหส้ ลักยึดเบรกเกิดปฏิกริ ิยาแรงต้านดรัมเบรกเพิ่มมาก ข้นึ ปฏกิ ริ ิยาแรงดนั ท่ีเกิดขึ้นน้ีเรียกว่าอะไร จ. การเพิม่ แรงเบ่งในตวั เองของฝักเบรก ฉ. เกดิ การเซอร์โว ช. เกิดการเคลื่อนตวั ตาม ซ. เกิดการขยายตัวฝักเบรก
129 ใบมอบหมายงาน (ครศุ าสตรเ์ ครอื่ งกล) ช่อื วิชา ระบบเครอ่ื งล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ชือ่ หน่วย ระบบเบรก สัปดาห์ที่ 12 หน่วยย่อยที่ 7.1-7.4 จานวน 6 ช่ัวโมง ใบงานที่ 7.1 เรอ่ื ง การถอดและประกอบแม่ปม๊ั เบรก คาสงั่ ให้นกั เรยี นทาการถอดและประกอบแมป่ มั๊ เบรกตามใบขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงานให้ถูกต้อง จดุ ประสงค์ทั่วไป เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นมีทกั ษะการถอดและประกอบแม่ปั๊มเบรก จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1.การถอดและประกอบแมป่ ๊ัมเบรกได้ 2.ใชเ้ ครอ่ื งมือทั่วไปและเครื่องมอื พเิ ศษได้ เครอื่ งมือและอุปกรณ์ 1.รถยนต์ท่ใี ช้ระบบเบรกไฮดรอลิก แม่ปั๊มเบรกแบบเทนเด็ม 2.เครือ่ งมือพเิ ศษ 3.เคร่อื งมือชา่ งยนต์ทว่ั ไป
130 ใบขั้นตอนการปฏิบตั งิ าน (ครศุ าสตร์เครือ่ งกล) ชอื่ วิชา ระบบเคร่ืองล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ชอื่ หน่วย ระบบเบรก สัปดาห์ท่ี 12 หน่วยย่อยท่ี 7.1-7.4 จานวน 6 ชั่วโมง จากใบงานท่ี 7.1 เร่อื ง การถอดและประกอบแม่ปม๊ั เบรก คาสั่ง ให้นกั เรียนทาการถอดและประกอบแมป่ ม๊ั เบรกตามใบขนั้ ตอนการปฏบิ ัติงานใหถ้ ูกต้อง การถอดและประกอบแม่ป๊มั เบรก การถอดและประกอบแม่ปั๊มเบรก ซึง่ จะปฏบิ ัติไดเ้ มื่อแม่ป๊ัมเบรกเกดิ การรวั่ ของนา้ มันเบรกขน้ึ ซ่งึ กเ็ ป็นสาเหตุ มาจากการเกิดรอยขดี ข่วนหรอื สนิมในกระบอกแมป่ ๊ัมเบรก และลกู ยางเบรกบวม จงึ จาเปน็ ทจ่ี ะต้องเปล่ยี นช้ินส่วน ตา่ ง ๆ เพ่ือใหแ้ ม่ปั๊มเบรกมีสภาพท่ีใชง้ านได้ดังเดิม รูปท่ี 1 ส่วนประกอบของแม่ป๊ัมเบรก การถอดแมป่ ๊มั เบรก การถอดแม่ป๊ัมเบรกสามารถปฏิบัติได้ตามขัน้ ตอนดังตอ่ ไปน้ี 1.ใช้ประแจคลายนอตท่อน้ามันเบรกออก ดังแสดงในรูปท่ี 2
131 รปู ที่ 2 คลายนอตท่อน้ามนั เบรกออกจากแม่ป๊ัมเบรก 2.ใช้ประแจบ็อกชค์ ลายนอตยึดแม่ป๊มั เบรกกับหม้อลมเบรก ดังแสดงในรูปท่ี 3 รปู ที่ 3 ถอดแมป่ ม๊ั เบรกออกจากหม้อลมเบรก 3.ใช้ประแจบ็อกช์คลายนอตยึดถงั เกบ็ น้ามนั สารอง ดังแสดงในรปู ที่ 4 รปู ที่ 4 ถอดถงั เก็บน้ามันเบรกสารอง
132 4.ใชไ้ ขควงดันลูกสูบใหเ้ คลื่อนตวั เข้าจนสดุ และใช้ประแจแหวนคลายโบลต์กับลกู สูบออก ดงั แสดงในรูปท่ี 5 รูปที่ 5 คลายล็อคลูกสูบ 5.ใชไ้ ขควงดันลกู สูบให้จมลงและใชค้ ีมถอดแหวนล็อคลกู สบู ดงั แสดงในรูปที่ 6 รปู ท่ี 6 ปลดแหวนล็กลกู สูบ 6.ใชล้ มกาลงั ดันสูงเปา่ ใหล้ กู สูบเคล่ือนตัวออกจากแม่ปม๊ั เบรก ดงั แสดงในรปู ท่ี 7 รปู ท่ี 7 ใชล้ มดันลูกสบู ออกจากแม่ปัม๊ เบรก 7.เปล่ียนยางลูกสบู ตัวท่ี 1 และตัวท่ี 2 ดังแสดงในรปู ท่ี 8
133 รูปที่ 8 เปลี่ยนลกู ยางลกู สูบของแมป่ ๊ัมเบรกใหม่ทงั้ หมด เพ่ือปอ้ งกันการรว่ั การประกอบแมป่ ม๊ั เบรก ส่วนประกอบของแมป่ มั๊ เบรก กอ่ นทาการประกอบแม่ป๊มั เบรก จะต้องทาความสะอาดและตรวจสอบสภาพของ ลกู ยางเบรก ลกู สบู รอยขดี ขว่ น สนิม และความออ่ นล้าของสปริงดันกลบั ภายในกระบอกแม่ป๊ัมเสียก่อน ถา้ มกี าร สกึ หรอของชิ้นส่วนต่าง ๆ ให้เปลย่ี นใหม่ ดงั นน้ั ในการประกอบแม่ปั๊มเบรก ใหป้ ฏิบัตติ ามลาดบั ยอ้ นกลบั 1.ใชไ้ ขควงดันลกู สบู ใหจ้ มลงและใช้คีมใสแ่ หวนลอ็ คลูกสูบ ดังแสดงในรปู ที่ 9 รูปที่ 9 ประกอบลกู สบู เขา้ แม่ปม๊ั เบรก 2.ใช้ไขควงดนั ลกู สบู ให้เคล่ือนตัวจนสดุ และใช้ประแจแหวนขนั โบลตก์ นั ลกู สูบให้แน่น ดงั แสดงในรูปที่ 10 รูปท่ี 10 ล็อคลูกสูบด้วยโบลต์
134 3.ใชป้ ระแจบอ็ กชข์ นั นอตยดึ ถงั เก็บนา้ มันเบรกสารอง ดงั แสดงในรปู ท่ี 11 รูปท่ี 11 ประกอบถงั เก็บน้ามันเบรกสารอง 4.ก่อนติดตั้งแม่ปั๊มเบรก ใหท้ าการปรับตงั้ ก้านดนั ที่หม้อลม ดงั แสดงในรูปท่ี 12 รูปที่ 12 ปรับต้ังก้านดันทีห่ ม้อลมเบรก 5.ติดต้ังแม่ป๊มั เบรกเข้ากับหม้อลมเบรก ขันนอตย฿ดแมป่ ม๊ั เบรกกบั หม้อลมเบรก และนอตท่อนา้ มันเบรกเขา้ กบั แม่ปั๊มเบรกเข้ากับแมป่ ม๊ั ตามลาดับ ดังแสดงในรปู ท่ี 13
135 รปู ท่ี 13 ตดิ ตงั้ แม่ปม๊ั เบรกเขา้ กับหม้อลมเบรก หมายเหตุ : 1.ก่อนประกอบลูกสบู และยางเบรก ใหช้ โลมนา้ มันเบรกทีผ่ นงั กระบอกสูบยางเบรกและชน้ิ สว่ นต่าง ๆ 2.ในขณะปฏบิ ัติไม่ควรใหน้ ้ามันเบรกเปรอะเปื้อนสีรถยนต์ เพราะจะทาใหส้ รี ถถูกทาลายควรชะลา่ งด้วยน้า ทนั ที
136 แผนการจดั การเรยี นรู้ (ครศุ าสตรเ์ ครอื่ งกล) ช่อื วิชา ระบบเคร่อื งลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ช่ือหน่วย ระบบป้องกนั การล๊อค สัปดาห์ที่ 13 หน่วยยอ่ ย 8.1 จานวน 6 ชว่ั โมง แนวคดิ สาระการเรยี นรู้ จุดประสงค์การสอน หน่วยย่อย 8.1 กลไกล็อกพวงมาลัย หน่วยยอ่ ยที่ 8.1.1 อธบิ ายหลักการทางานของกลไกล็ อกพวงมาลยั กิจกรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมครู กิจกรรมนักเรียน 1.ขัน้ นาเข้าสู้บทเรียน 1.ขัน้ นาเข้าสบู้ ทเรียน - ครูถามคาถามใหน้ ักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ ถามข้อ - นักเรยี นตอบคาถามแสดงความคดิ เห็นถามข้อสงสัย สงสยั 2.ขน้ั การสอน 2.ขัน้ การสอน 1. นักเรียนฟังการอธบิ ายเนื้อหา และถามขอ้ สงสัย 1. ครูอธบิ ายเนอ้ื หาเร่ิมต้น 2. ศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน 2. ครูแจกใบเน้ือหา อธิบายความหมายความสาคัญ 3. ฟงั การบรรยาย และบนั ทกึ สรุปสาระสาคญั ของ เนื้อหาสาระ ในหัวข้อตา่ ง ๆ ในเอกสารประกอบการ สอน หวั ขอ้ ต่าง ๆ 3. แจกแบบฝึกหดั ให้กบั นักเรยี นทาแบบฝกึ หัด 4. ซักถาม ข้อสงสยั ในเน้ือหาสาระตา่ ง ๆ 4. แจกแบบประเมนิ ผลหลังเรยี นให้กบั ผ้เู รียนทา 5. ปฏิบตั ิงานตามใบงาน สรปุ รายงานผลการ แบบทดสอบ 5. มอบหมายงานให้นักเรยี นปฏิบัตงิ านตามใบงาน ปฏบิ ัติงาน และนาเสนอผลงานส่งครู และควบคุมดแู ลการปฏบิ ัติงานของนักเรยี น 6. ทาแบบฝกึ หัด การวดั และการประเมนิ ผล เคร่อื งมอื วัดผล 1. จากแบบฝึกหัด วิธวี ัดผล 2. แบบประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียน 1. ก่อนเรียน:วัดผลและประเมนิ ผลโดยทาแบบทดสอบ 3. ประเมินผลจากการปฏบิ ัติงานตามใบงาน 2. ขณะเรยี น วดั และประเมนิ ผลโดยการถามตอบ วดั คณุ ธรรมจริยธรรม 3. หลังเรยี น: วดั และประเมินผลโดยทาแบบทดสอบ
137 เกณฑ์การประเมนิ ผล ผเู้ รยี นสามารถปฏิบตั ิงานทไ่ี ด้รับมอบหมายได้อย่างถกู ต้อง งานท่มี อบหมาย แบบฝึกหัด สอื่ การเรยี นและการสอน และอปุ กรณช์ ่วยฝกึ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สอื่ จริง 3. แบบฝกึ หัด / แบบประเมนิ ผล / ใบงาน 4. เครือ่ งมือและอุปกรณข์ องจริง หนังสืออ้างองิ ประสานพงษ์ หาเรือนชพี . 2560. งานสง่ กาลงั รถยนต์.กรงุ เทพ
138 ใบเน้ือหา (ครุศาสตรเ์ ครื่องกล) ชือ่ วิชา ระบบเครอ่ื งล่างและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหัสวิชา 3-122-120 ชือ่ หน่วย ระบบปอ้ งกนั การล็อค สัปดาห์ที่ 13 หนว่ ยย่อยที่ 8.1 จานวน 6 ช่ัวโมง วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม 8.1.1 อธิบายหลักการทางานของกลไกล็อคพวงมาลัย บทที่ 8 ระบบป้องกนั การล็อค 8.1 กลไกล็อคพวงมาลัย (Steering lock mechanism) กลไกล็อคพวงมาลัยถูกจดั ให้มีไว้เพื่อปอ้ งกันการขโมยรถภายหลงั ทผ่ี ู้ขับขี่ออกจากรถแลว้ กลไกนจ้ี ะทางานได้โดยการล็อคเพลาบงั คับเล้ียวหลักเข้ากับแกนพวงมาลัย เม่ือผขู้ ับข่ีได้ดึงลูกกุญแจออกจากสวติ ชจ์ ุด ระเบดิ พวงมาลยั จะถกู ล็อก ทาให้ไม่สามารถบังคบั เลย้ี วได้ ถึงแม้ว่าจะใชว้ ิธีสตาร์ตเครื่องยนต์ใหต้ ิดไดด้ ว้ ยวิธีอน่ื กต็ าม ในทานองเดยี วกัน ก็จะป้องกนั อุบัติเหตทุ ่ีเกิดขน้ึ จากการล็อคพวงมาลัยในขณะขบั ขี่ปกติ ดังนัน้ การออกแบบให้กลไกล็อคพวงมาลัยในสวิตชจ์ ดุ ระเบิดสามารถทาการล็อคได้นั้น ผขู้ ับข่จี ะต้องใช้วธิ กี ารกดลูก กญุ แจก่อนทีจ่ ะหมุนจากตาแหนง่ ACC ไปยังตาแหนง่ ล็อก โครงสรา้ ง กลไกล็อคพวงมาลัยจงึ ประกอบด้วยกระบอกกุญแจ ตวั กันล็อค สลักล็อค ลูกเบ้ียว และแผ่นกด ดังแสดงใน รปู ท่ี 8.1 รปู ที่ 8.1 แสดงโครงสร้างสว่ นประกอบของกลไคลอ็ กพวงมาลยั การทางาน มรี ายละเอียดดังนี้ 1.เมื่อบิดลกู กุญแจไปตาแหน่ง ACC, NO, หรือ ST ตวั ก้ันล็อคและสลกล็อกจะถูกดันด้วยลูกเบย้ี วให้ตวั เลื่อนไป ทางด้านขวา ทาให้ก้านปลดล็อคตกลงในร่องของตัวล็อก จ฿งเป็นสาเหตุทาใหส้ ลักล็อคเคลื่อนตัวไปทางด้านซา้ ย พวงมาลัยจึงถูกปลดล้อกออก ดังแสดงในรูปที่ 8.2
139 รูปท่ี 8.2 แสดงตาแหน่งการปลดล็อคพวงมาลยั (ตาแหน่ง ACC, NO, หรอื ST) 2.เม่ือบิดลูกกญุ แจจากตาแหน่ง ON ไปตาแหนง่ ACC ก้านปลดลอ็ คจะถกู ดันให้ตกลงทีป่ ลายทางดา้ นซ้ายของร่องตัว กนั้ ล็อก ทงั้ นี้เพ่ือที่จะป้องกันไม่ให้แผ่นกน้ั ล็อคและสลัคล็อคเคลอ่ื นตัวมาทางด้านซา้ ยและทาให้พวงมาลยั ล็อก ดงั แสดงในรูปท่ี 8.3 รปู ที่ 8.3 แสดงการทางานของตาแหน่งป้องกนั การล็อคเมื่อบิดกุญแจมาในตาแหนง่ ON จนถงึ ACC 3.ในตาแหนง่ ACC น้ี กุญแจจะไม่ถกู กดให้ล็อก เนื่องจากสปรงิ ดนั โรเตอร์กลับจะไปดันให้แผน่ กดเลื่อนออก ตวั ก้ันลอ็ ค จงึ ถูกเลื่อนลงมากดอยู่กับตวั เรือนล็อคไว้ ทั้งนี้เพ่ือกนั้ ไม่ให้โรเตอร์และลูกกุญแจหมนุ ไปในตาแหน่งล็อคได้ ดังแสดงใน รปู ท่ี 8.4
140 รปู ท่ี 8.4 แสดงการป้องกันการล็อกกุญแจของตวั กั้นลอ็ คในตาแหน่ง ACC 4.แต่เมื่อกดลูกกุญแจซึ่งอยู่ในตาแหน่ง ACC ตัวก้นั ล็อคจะดันใหเ้ คล่ือนตวั ข้ึนดว้ ยแรงดันจากร่องเอียงของแผ่นกด และ ส่วนปลายของแผ่นกดจะเคลื่อนตวั ไปยังเพลาลูกเบี้ยว โดยเอาชนะแรงสปริงดันกลับ ทาให้หมนุ ไปรวมกนั จากตาแหน่ง ACC ไปตาแหน่งล็อก ดังแสดงในรูปที่ 8.5 รปู ท่ี 8.5 แสดงการกดลกู กญุ แจจากตาแหน่ง ACC ไปตาแหน่งล็อค 5.อย่างไรก็ตาม ลกู กุญแจจะยังทาใหต้ อนลา่ งของปลายก้านปลดล็อคไม่ลอ็ คนั้นคงค้างอยู่เพื่อป้องกันไม่ใหต้ ัวก้ันล็อค เคลื่อนตวั ทางด้านซ้าย ดังแสดงในรูปท่ี 8.6
141 รปู ท่ี 8.6 แสดงตาแหน่งยังไม่ลอ็ คพวงมาลยั 6.เมื่อหมนุ และดึงลูกกุญแจออกจากสวิตช์กญุ แจ กจ็ ะทาให้ก้านปลดล็อคเลือ่ นตัวข้ึนจากตวั ก้ันล็อค ซึ่งจะทาใหส้ ลกั ล็อคเคลอ่ื นตวั เขา้ ล็อคทร่ี ่องของเพลาพวงมาลัยหลักทันที ดังแสดงในรูปท่ี 8.7 รปู ท่ี 8.7 เม่ือดึงลูกกุญแจออกจากสวติ ชจ์ ดุ ระเบิด จะทาใหส้ ลกั ล็อคเล่ือนท่ีร่องเพลาพวงมาลัย
142 แบบฝึกหดั (ครศุ าสตรเ์ คร่ืองกล) ชื่อวิชา ระบบเคร่ืองลา่ งและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ช่อื หน่วย ระบบปอ้ งกันการล็อก สปั ดาหท์ ี่ 13 หนว่ ยย่อยท่ี 8.1 จานวน 6 ชั่วโมง คาสัง่ : จงทาเครอื่ งหมายกากบาท (x) ลงในคาตอบท่ีถูกที่สดุ เพยี งข้อเดียว 1. กลไกลอ็ กพวงมาลัยสาหรับป้องกันขโมยจะทาการล็อกแกนเพลาพวงมาลยั หลักได้อย่างไร ก. กา้ นปลดล็อก ข. สลกั ลอ็ ก ค. ตวั ก้นั แผน่ ลอ็ ก ง. สปรงิ ล็อก 2. กลไกปรบั การเอนของพวงมาลัยแบบจดุ หมนุ อยู่บนจะสามารถปรับล็อกระดับการเอนของพวงมาลัยได้ ประมาณก่ีองศา ก. 8 องศา ข. 9 องศา ค. 10 องศา ง. 11 องศา 3. เมื่อบดิ กุญแจไปท่ตี าแหน่ง ACC, NO หรือ ST จะเกดิ อะไรข้ึน ก. ปลดล็อกพวงมาลัย ข. ลอ็ กพวงมาลยั ค. สตาร์ตเคร่ือง ง. ดับเครื่อง 4. การทางานของตาแหน่งป้องกันการล็อกเมื่อบิดกุญแจมาในตาแหน่งในข้อใดถกู ท่สี ุด ก. ACC ข. NO ค. ST ง. NO จนถึง ACC 5. เมื่อกดลูกกุญแจซ่ึงอยู่ในตาแหนง่ ACC ตวั กนั ล็อกจะดันให้เคลือ่ นตวั ขนึ้ ดว้ ยแรงดันจากร่องเอียงของอะไร ก. เพลาลูกเบย้ี ว ข. โรเตอร์ ค. เรือนโรเตอร์ ง. แผน่ กด
143 เฉลยแบบฝึกหัด (ครศุ าสตร์เครือ่ งกล) ชอื่ วิชา ระบบเคร่อื งลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวิชา 3-122-120 ช่ือหน่วย ระบบปอ้ งกนั การล็อก สัปดาห์ท่ี 13 หนว่ ยยอ่ ยที่ 8.1 จานวน 6 ชั่วโมง คาสั่ง : จงทาเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงในคาตอบทถี่ ูกท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. กลไกลอ็ กพวงมาลัยสาหรับป้องกนั ขโมยจะทาการล็อกแกนเพลาพวงมาลัยหลักได้อย่างไร ก. ก้านปลดล็อก ข. สลักลอ็ ก ค. ตวั กัน้ แผน่ ลอ็ ก ง. สปรงิ ล็อก 2. กลไกปรบั การเอนของพวงมาลัยแบบจดุ หมุนอยู่บนจะสามารถปรับล็อกระดับการเอนของพวงมาลัยได้ ประมาณก่ีองศา ก. 8 องศา ข. 9 องศา ค. 10 องศา ง. 11 องศา 3. เม่ือบดิ กญุ แจไปท่ีตาแหน่ง ACC, NO หรือ ST จะเกิดอะไรข้ึน ก. ปลดล็อกพวงมาลัย ข. ล็อกพวงมาลัย ค. สตาร์ตเครื่อง ง. ดบั เคร่ือง 4. การทางานของตาแหน่งป้องกันการล็อกเม่ือบิดกุญแจมาในตาแหน่งในข้อใดถกู ท่สี ุด ก. ACC ข. NO ค. ST ง. NO จนถึง ACC 5. เม่ือกดลูกกุญแจซ่งึ อยู่ในตาแหนง่ ACC ตัวกันล็อกจะดันให้เคล่ือนตวั ข้ึนดว้ ยแรงดนั จากร่องเอยี งของอะไร ก. เพลาลูกเบ้ียว ข. โรเตอร์ ค. เรอื นโรเตอร์ ง. แผน่ กด
144 ใบมอบหมายงาน (ครุศาสตรเ์ ครือ่ งกล) ชอ่ื วิชา ระบบเคร่ืองลา่ งและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหสั วิชา 3-122-120 ชอื่ หน่วย ระบบปอ้ งกนั การลอ็ ก สปั ดาห์ที่ 13 หนว่ ยย่อยท่ี 8.1 จานวน 6 ช่ัวโมง ใบงานที่ 8.1 เร่ือง การตรวจสอบระยะฟรขี องพวงมาลัย การหลวมของลูกปนื ล้อการคลอนหรือการหลวมของคันสง่ และก้าน ต่อบังคบั เลยี้ ว คาสั่ง ใหน้ ักเรยี นทาการการตรวจสอบระยะฟรขี องพวงมาลัย การหลวมของลูกปนื ล้อการคลอนหรือการหลวม ของคนั สง่ และกา้ นต่อบังคบั เลย้ี ว จุดประสงคท์ ั่วไป เพื่อใหน้ ักเรยี นมีทกั ษะการตรวจสอบระยะฟรขี องพวงมาลัย การหลวมของลูกปืนลอ้ การคลอนหรอื การหลวม ของคนั สง่ และก้านต่อบงั คบั เลี้ยว จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1.ตรวจสอบระยะฟรีของพวงมาลัยได้ 2.ตรวจสอบการหลวมของลกู ปืนล้อได้ 3.ตรวจสอบการคลอนหรือหลวมของคันส่งและก้านต่อบงั คบั เล้ียวได้ 4.ใช้เคร่ืองมือท่วั ไปและเครอ่ื งมือพิเศษได้ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ 1.รถยนต์ 2.เครอื่ งมือพเิ ศษ 3.เคร่ืองมือชา่ งยนต์ทั่วไป
145 ใบขนั้ ตอนการปฏบิ ัติงาน (ครศุ าสตรเ์ ครอื่ งกล) ชอื่ วิชา ระบบเครื่องลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วิชา 3-122-120 ชื่อหน่วย ระบบปอ้ งกนั การล็อก สัปดาหท์ ี่ 13 หน่วยยอ่ ยที่ 8.1 จานวน 6 ชว่ั โมง จากใบงานท่ี 8.1 เรื่อง การตรวจสอบระยะฟรีของพวงมาลยั การหลวมของลูกปืนล้อการคลอนหรอื การหลวมของคนั สง่ และก้านต่อบังคับเลย้ี ว คาสง่ั ให้นักเรียนทาการการตรวจสอบระยะฟรีของพวงมาลัย การหลวมของลูกปนื ล้อการคลอนหรือการหลวมของคัน สง่ และก้านต่อบังคับเลี้ยว ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงาน การตรวจสอบระยะฟรีของพวงมาลยั การหลวมของลูกปืนล้อ การคลอนหรือการหลวมของคนั ส่งและก้านต่อบังคบั เลยี้ ว มขี ้ันตอนการปฏิบตั ดิ ังต่อไปนี้ การตรวจสอบระยะฟรขี องพวงมาลัย ถ้าพวงมาลัยมีระยะฟรีทีม่ ากเกนิ ไป กย็ ่อมทาให้การหมนุ ของพวงมาลัยมีมาก ลอ้ หนา้ ท้ังด้านซา้ ยและดา้ นขวาไม่ เคลื่อนที่ ผลที่ตามมากค็ ือ การบังคับเล้ยี วไม่สะดวก ซึง่ ตามปกติแลว้ พวงมาลยั จะต้องมีระยะฟรปี ระมาณ 30 มลิ ลิเมตร ดังนนั้ จึงสามารถทาการตรวจสอบไดด้ ว้ ยการหมนุ ล้อหนา้ ทง้ั ซ้ายและขวาให้อย่ใู นตาแหนง่ ทศิ ทางตรง จากนั้นให้พวงมาลยั ขน้ึ ลงไปมาเบา ๆ อย่างช้า ๆ ดงั แสดงในรปู ที่ 1 โดยไม่ทาใหล้ ้อหมุนตามระยะพวงมาลยั หมนุ ซ่ึง เราเรียกระยะน้ีวา่ ระยะฟรีพวงมาลยั (Free Play) อยา่ งไรก็ตาม ถ้าระยะฟรพี วงมาลัยมีมากเกินกว่าระยะทีก่ าหนดไว้ อาจเกิดมาจากสาเหตุดงั ต่อไปน้ี 1.ข้อต่อต่าง ๆ เกิดการสึกหรอ 2.ลูกปืนล้อหนา้ หลวม 3.กระปกุ เกียร์พวงมาลัยปรบั ต้ังไมถ่ ูกต้อง 4.กา้ นต่อบงั คับเล้ยี วเกดิ การหลวม เป็นตน้ รปู ท่ี 1 แสดงการหมุนพวงมาลัยเพ่ือตรวจระยะฟรีของพวงมาลยั การตรวจสอบการคลอนหรอื หลวมของคนั ส่งและก้านต่อบังคับเล้ียว การตรวจสามารถปฏบิ ัตไิ ด้โดยการใชแ้ ม่แรงยกด้านหนา้ ของรถใหล้ ้อหน้าทั้งสองพน้ จากพ้ืน จากน้ันให้ผลักและดึงล้อ ทงั้ ซ้ายและขวาเขา้ ออกพร้อม ๆ กัน ดังแสดงในรูปท่ี 2 ถ้ามรี ะยะการคลอนมากเกนิ อาจมีสาเหตุมาจากลูกหมากคันสง่
146 ลกู ปนื ล้อ และก้านต่อต่าง ๆ สึกหรอ รูปท่ี 2 การตรวจสอบการคลอนหรอื หลวมของลกู หมากคันส่ง ลกู ปืนล้อ และกา้ นต่อตา่ ง ๆ การตรวจสอบการหลวมของลกู ปนื ล้อ การตรวจสอบการหลวมของลูกปนื ล้อหน้าท้ังดา้ นซ้ายและขวา สามารถปฏิบตั ิได้โดยการใชแ้ ม่แรงยกด้านหน้าของรถ เพื่อใหล้ อ้ หน้าท้ังดา้ นซา้ ยและขวาพ้นจากพื้น และตรวจสอบการหลวมของลกู ปืนล้อดว้ ยการจับด้านบนและด้านล่าง ของล้อโยกเข้าออก ดังแสดงในรูปที่ 3 ถา้ เกิดการหลวมมาเกินไป ก็อาจมีสาเหตุมาจากการหลวมของบูชปีกนกหรือ ลูกปืนล้อ รปู ท่ี 3 แสดงการตรวจสอบการหลวมของลกู ปืนลอ้ หนา้
147 แผนการจดั การเรยี นรู้ (ครุศาสตรเ์ คร่อื งกล) ชอื่ วิชา ระบบเครอ่ื งลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วชิ า 3-122-120 ชอ่ื หน่วย การตรวจวเิ คราะห์แกไ้ ขขอ้ ขดั ข้อง สปั ดาห์ท่ี 14 หนว่ ยยอ่ ย 9.1-9.3 จานวน 6 ชวั่ โมง แนวคิด สาระการเรียนรู้ จุดประสงคก์ ารสอน หน่วยยอ่ ย 9.1 ปัญหาข้อขัดข้องในระบบรองรับนา้ หนัก 9.1.1 บอกปญั หาขอ้ ขดั ข้องในระบบรองรบั น้าหนกั ได้ หนว่ ยย่อย 9.2 ปัญหาข้อขดั ขอ้ งในระบบบังคบั เล้ยี ว 9.2.1 บอกปญั หาข้อขดั ข้องในระบบบงั คับเล้ียวได้ หน่วยย่อย 9.3 ปญั หาข้อขดั ขอ้ งในระบบเบรก 9.3.1 บอกปัญหาข้อขดั ข้องในระบบเบรก กจิ กรรมการเรียนการสอน กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมครู 1.ขั้นนาเข้าสบู้ ทเรียน 1.ขนั้ นาเขา้ สู้บทเรยี น - ครูถามคาถามใหน้ ักเรียนแสดงความคดิ เห็นถามขอ้ - นักเรียนตอบคาถามแสดงความคิดเห็นถามข้อสงสัย สงสยั 2.ขั้นการสอน 2.ข้ันการสอน 1. นักเรียนฟังการอธิบายจากครู และถามข้อสงสยั 1. ครูอธยิ บายเนื้อหาเร่ิมต้น 2. ศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน 2. ครูแจกใบเนื้อหา อธบิ ายความหมายความสาคัญ 3. ฟังการบรรยาย และบนั ทึกสรปุ สาระสาคัญของ เน้ือหาสาระ ในหัวข้อตา่ ง ๆ ในเอกสารประกอบการ สอน หวั ขอ้ ต่าง ๆ 3. แจกแบบฝึกหดั ใหก้ ับนักเรยี นทาแบบฝึกหัด 4. ซกั ถาม ข้อสงสยั ในเนื้อหาสาระตา่ ง ๆ 4. แจกแบบประเมนิ ผลหลังเรยี นให้กบั ผ้เู รียนทา 5. ทาแบบฝกึ หัด แบบทดสอบ 5. มอบหมายงานให้นักเรียนปฏิบัตแิ ละควบคุมดูแล เครอ่ื งมือวดั ผล 1. จากแบบฝึกหัด การวดั และการประเมนิ ผล 2. แบบประเมินผลก่อนเรียนและหลงั เรียน 3. ประเมนิ ผลจากการปฏิบัติงานตามใบงาน วธิ วี ัดผล 1. กอ่ นเรยี น:วดั ผลและประเมนิ ผลโดยทาแบบทดสอบ 2. ขณะเรียน วัดและประเมนิ ผลโดยการถามตอบ วดั คุณธรรมจริยธรรม 3. หลังเรยี น: วดั และประเมินผลโดยทาแบบทดสอบ
148 เกณฑ์การประเมนิ ผล ผเู้ รยี นสามารถปฏิบตั ิงานทไ่ี ด้รับมอบหมายได้อย่างถกู ต้อง งานท่มี อบหมาย แบบฝึกหัด สอื่ การเรยี นและการสอน และอปุ กรณช์ ่วยฝกึ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สอื่ จริง 3. แบบฝกึ หัด / แบบประเมนิ ผล / ใบงาน 4. เครือ่ งมือและอุปกรณข์ องจริง หนังสืออ้างองิ ประสานพงษ์ หาเรือนชพี . 2560. งานสง่ กาลงั รถยนต์.กรงุ เทพ
149 ใบเน้ือหา (ครศุ าสตร์เครอ่ื งกล) ชือ่ วิชา ระบบเครื่องลา่ งและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ช่ือหน่วย การตรวจวเิ คราะห์แกไ้ ขขอ้ ขดั ข้อง สัปดาหท์ ่ี 14 หน่วยย่อยที่ 9.1-9.3 จานวน 6 ชั่วโมง วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 9.1.1 บอกปัญหาข้อขัดข้องในระบบรองรับน้าหนักได้ 9.2.1 บอกปัญหาข้อขัดข้องในระบบบังคับเล้ยี วได้ 9.3.1 บอกปัญหาข้อขัดข้องในระบบเบรก บทท่ี 9 การตรวจวิเคราะห์แกไ้ ขข้อขัดข้อง 9.1 ปญั หาข้อขัดข้องในระบบรองรับ สาเหตุของการขัดข้องน้นั เป็นผลมาจากการสึกหรอหรือล้าตัวในสว่ นประกอบในระบบรองรบั และจะเป็นสาเหตุหน่งึ ท่ี เกย่ี วข้องกับการทางานของระบบอ่ืนดงั กลา่ วถึงต่อไปนี้ 9.1.1 พวงมาลัยเกิดอาการเต้น สาเหตุและการแก้ไขพวงมาลัยเกิดอาการเตน้ แสดงดังตารางที่ 9.1 ตารางที่ 9.1 สาเหตุทเี่ ป็นไปได้ การแก้ไข 1. ปรับมุมโทอนิ ไม่ถูกต้อง 1. ปรับแก้ไขมุมโทอิน 2. บชู ยึดเหล็กกันโคลงสึกหรอ 2. เปลย่ี นบชู ใหม่ 3. โช้กอัปหลวมหรือหลดุ 3. กวดขนั ใหแ้ นน่ 4. ยอยข้อต่ออ่อนของแกนพวงมาลยั หลวม 4. กวดขันหรือปลี่ยนใหม่ 5. คันชักและคันสง่ บิดงอเสียรปู ทรง 5. เปล่ยี นคันชักและคนั สง่ ใหม่ 6. ลกู หมากปีกนกตวั บนและตวั ล่างสึกหรอ 6. เปลย่ี นใหม่ 7. ปรับความตงึ ของเฟอื งขับไมถ่ ูกต้อง 7. ปรบั ระยะความตึงให้ถูกต้อง 8. ลกู ปนื ดุมล้อสกึ หรอมาก 8. เปลยี่ นลูกปืนและดุมล้อใหม่
9.1.2 ตวั ถังโคลง 150 สาเหตุและการแก้ไขถงั โคลง แสดงดังตารางที่ 9.2 การแกไ้ ข ตารางท่ี 9.2 1. เปลย่ี นใหม่ 2. เปลย่ี นใหม่ สาเหตุที่เป็นไปได้ 3. เปลย่ี นโช้กอัปใหม่ 1. เหล็กกนั โคลงอ่อนตัว 2. บชู เหล็กกันโคลงหรือบูชเหล็กยดึ หนวดกุ้งสกึ การแกไ้ ข 1. เปลี่ยนใหม่ หรอ 2. เปล่ยี นใหม่ 3. โชก้ อัปเสีย การแก้ไข 9.1.3 ตัวถังเอียง 1. ปรบั กาลังดันลมให้ได้ตามคา่ ที่กาหนด สาเหตุและการแก้ไขตวั ถงั เอียง แสดงดังตารางที่ 9.3 2. ตรวจสภาพการสึกหรอของดอกยางและแก้ไข ตารางท่ี 9.3 ตามสาเหตนุ ้ัน สาเหตุทเ่ี ป็นไปได้ 3. ใสจ่ าระบีหรือเปลี่ยนใหม่ 1. แหนบแผน่ หรือทอรช์ ันบาร์อ่อนล้า 4. เปลยี่ นลูกหมากใหม่ 2. บูชเหล็กกนั โคลงอ่อนล้า 5. เปลี่ยนลูกหมากปีกนกตัวบนและตัวล่างใหม่ 6. ปรบั มุมล้อใหถ้ ูกต้อง 9.1.4 พวงมาลัยหนัก 7. เปลี่ยนยอยข้อต่อของแกนพวงมาลัยใหม่ สาเหตุและการแก้ไขพวงมาลยั หนกั ดังตารางที่ 9.4 8. เปลี่ยนบูชใหม่ ตารางที่ 9.4 สาเหตุทเ่ี ป็นไปได้ 1. กาลังดันลมยางต่ากว่าคา่ ทก่ี าหนด 2. ยางสึกผิดปกติ 3. จาระบีลูกหมากแห้งและมเี ศษโลหะ 4. ลกู หมากตดิ หรือชารุด 5. ลูกหมากปีกนกตัวบนและตวั ลา่ งยึดติด 6. ปรบั มุมโทอินไม่ถูกต้อง 7. ยอยข้อต่ออ่อนของแกนพวงมาลัยสึกหรอ 8. บชู กระปุกเกียร์พวงมาลยั สึกหรอ
151 9.1.5 พวงมาลัยดงึ ไปข้างหนึ่ง สาเหตุและการแก้ไขพวงมาลัยหนกั ข้างหน่ึง แสดงดังตารางท่ี 9.5 ตารางท่ี 9.5 สาเหตุที่เป็นไปได้ การแกไ้ ข 1. ทอร์ชันบารบ์ ิดตวั หรือลา้ 1. เปลี่ยนใหม่ 2. บูชยดึ เหล็กกันโคลงหรือเหลก็ หนวดกุ้งชารุด 2. เปลีย่ นใหม่ 3. คันชัก คนั ส่ง เสยี รปู ทรง 3. เปลย่ี นคนั ชักคนั ส่งใหม่ 4. กาลังลมยางไม่เท่ากัน 4. ปรบั กาลังดันลมใหม่ 5. เบรกติด 5. ถอดเบรกและปรับเบรก 6. ปรับมุมล้อไมถ่ ูกต้อง (มมุ โทอิน) 6. ปรบั มุมลอ้ ใหม่ 9.1.6 เสยี งดังผดิ ปกตจิ ากระบบรองรับ สาเหตุและการแก้ไขเสยี งดังผิดปกตจิ ากระบบรองรับ แสดงดังตารางท่ี 9.6 ตารางท่ี 9.6 สาเหตุที่เป็นไปได้ การแกไ้ ข 1. โชก้ อัปผิดปกติ 1. เปล่ียนโช้กอัปใหม่ 2. ลกู หมากปีกนกตวั บนและตวั ลา่ งสึกหรอสาเหตุ 2. เปลี่ยนลูกหมากใหม่ 3. เปลยี่ นบูชใหม่ มาจากขาดการหล่อล่ืน 3. บูชเหล็กเกิดการสึกหรอ 9.2 ปัญหาขัดข้องในระบบบังคบั เล้ียว ปญั หาท่เี กิดข้ึนในระบบบงั คับเลย้ี วย่อมเป็นผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการบังคับเล้ยี วโดยตรง และผลลัพธ์ ท่ตี ามมาก็จะทาให้เกดิ อันตรายต่อผู้ขบั ขี่ ดว้ ยเหตนุ ผี้ ูท้ ป่ี ฏิบัติการตรวจสอบซ่อมจึงต้องคานึงถงึ และระมดั ระวังต่อการ เปล่ียนช้ินสว่ นอย่างถูกต้อง ดังนั้นกานหาสาเหตทุ ่ีถูกต้องจึงมีความสาคญั ดังจะกล่าวถึงต่อไปน้ี 9.2.1 พวงมาลัยดึง สาเหตุและการแก้ไขพวงมาลยั ดงึ แสดงดังตารางท่ี 9.7 ตารางท่ี 9.7 สาเหตุทเี่ ป็นไปได้ การแก้ไข 1. เพลาพวงมาลัยเสยี รูปทรง 1. เปลยี่ นใหม่ 2. ปรับความตงึ ลูกปืนดุมล้อหน้าไม่ถกู ตอ้ ง 2. ปรบั แต่งใหม่ 3. สปรงิ ล้อหน้าอ่อนล้า 3. เปลย่ี นใหม่ 4. สลกั ดุมล้อเสียรูปทรง 4. เปลย่ี นใหม่ 5. เบรกติด 5. ปรบั แต่งใหม่ 6. ปรบั มุมลอ้ ไมถ่ ูกต้อง (โทอิน) 6. ปรับแต่งใหม่
152 7. กาลงั ดันลมยางไม่ถกู ต้อง 7. ปรับแต่งใหม่ 8. ยากสกึ หรอไมส่ ม่าเสมอ 8. เปลย่ี นใหม่ 9.2.2 พวงมาลัยหนัก (ขณะที่ยกรถใหล้ ้อลอย) สาเหตุและการแก้ไขพวงมาลยั หนัก (ขณะทย่ี ดรถให้ล้อลอย) แสดงดังตารางที่ 9.8 ตารางที่ 9.8 สาเหตุทีเ่ ป็นไปได้ การแกไ้ ข 1. กาลังดันลมยางไม่เพียงพอ (ยางอ่อน) 1. ปรับเติมกาลังดันลมยาง 2. ยางสึกหรอไม่สม่าเสมอมากเกินไป 2. เปลี่ยนใหม่ ถ้าต้องใช้แรงมากในการหมุนล้อ 3. ใช้น้ามันหลอ่ ล่ืนผดิ 3. เปลี่ยนน้ามนั หล่อลื่นใหม่ 4. ลูกหมากสกึ ผิดปกติ 4. ทาจาระบีตามลกู หมาก 5. ลูกหมากตดิ หรือชารดุ 5. เปลย่ี นใหม่ 6. เฟืองในกระปุกพวงมาลัยชารุด 6. เปล่ียนใหม่ 7. ปรับค่าความตงึ ของเฟืองขับ (ตัวหนอน) ผดิ ค่า 7. ปรับแต่งใหม่ 8. นา้ มนั หล่อลื่นในกระปุกเกียร์น้อยเกินไป 8. เตมิ ใหเ้ ต็ม 9.2.3 รถวง่ิ ไม่ตรงทาง (ขณะท่ีปล่อยมือ) สาเหตุและการแก้ไขรถวิ่งไม่ตรงทาง (ขณะทีป่ ล่อยมือ) แสดงดงั ตารางท่ี 9.9 ตารางที่ 9.9 สาเหตุทเ่ี ป็นไปได้ การแก้ไข 1. คนั ชักคนั สง่ ฯลฯ เสยี รูปทรง 1. เปลี่ยนใหม่ 2. ยอยของระบบพวงมาลัยชารดุ หรอื สึกหรอ 2. เปลยี่ นใหม่ 3. ปรับความตึงเฟืองขับ (ตัวหนอน) ผิดค่า 3. ปรับแต่งใหม่ 4. ปรับค่าความตงึ ลูกปนื ดุมล้อหน้าไมถ่ ูกต้อง 4. ปรบั แต่งใหม่ 5. สปรงิ ล้ออ่อนลา้ 5. เปลี่ยนใหม่ 6. กระบอกโช้กผิดปกติ 6. เปลย่ี นใหม่ 7. ปรับมุมล้อหน้าไม่ถูกต้อง (โทอิน) 7. ปรบั แต่งใหม่ 8. กาลงั ดันลมยางไม่ถกู ต้อง 8. ปรับแต่งใหม่ 9. ล้อไม่ไดศ้ ูนย์ถว่ งหรือเสยี ทรง 9. ซอ่ มหรือเปล่ยี นใหม่
153 9.2.4 พวงมาลัยส่ัน สาเหตุและการแก้ไขพวงมาลยั ส่นั แสดงดังในตารางที่ 9.10 ตารางท่ี 9.10 สาเหตุที่เป็นไปได้ การแก้ไข 1. ปรบั ค่าความตงึ ลูกปืนล้อหน้าไม่ถูกต้อง 1. ปรบั แต่งใหม่ 2. ลูกปนื ล้อสกึ หรอ 2. เปลี่ยนใหม่ 3. คนั ชัก คนั สง่ ฯลฯ เสยี รูปทรง 3. เปลี่ยนใหม่เปลีย่ นใหม่ 4. ยอยของระบบพวงมาลัยชารดุ หรือสึกหรอ 4. ปรับแต่งใหม่ 5. ปรับความตงึ ของเฟืองขับ (ตัวหนอน) ผิดค่า 5. กวดขนั ใหม่ 6. โบลตย์ ึดกระปุกพวงมาลยั หลดุ หลวม 6. ปรับแต่งใหม่ 7. ปรบั มุมลอ้ หนา้ ไม่ถูกต้อง 7. ปรับแต่งใหม่ 8. กาลังดันลมยางไม่ถูกต้อง 8. ปรบั แต่งใหม่ 9. ยางสึกหรอไม่สม่าเสมอ 9. เปล่ียนใหม่ 10. ดอกยางล้อซ้ายและล้อขวาสึกเทา่ กัน 10. เปลี่ยนใหม่ 11. ล้อไม่ได้ศูนย์ถ่วงหรือเสียรูปทรง 11. ซ่อมหรือเปลย่ี นใหม่ 12. กระบอกโช้กอัปหลวมหรือผิดปกติ 12. เปลยี่ นหรือกวดขนั ใหม่ 9.2.5 พวงมาลัยมรี ะยะฟรีมากเกินไป สาเหตุและการแก้ไขพวงมาลยั มรี ะยะฟรีมากเกินไปแสดงดังในตารางท่ี 9.11 ตารางที่ 9.11 สาเหตุท่ีเป็นไปได้ การแก้ไข 1. ปรับระยะสัมผัสของฟันเฟืองในกระปุกเฟืองไม่ 1. ปรบั แต่งใหม่ ถกู ต้อง 2. เปลี่ยนใหม่ 3. เปลีย่ นใหม่ 2. เฟืองในกระปุกพวงมาลัยสึกหรอ 4. ปรบั แต่งใหม่ 3. ยอยของพวงมาลัยชารุดสึกหรอ 4. ปรับค่าความตึงเฟืองขบั (ตวั หนอน) ผิดค่า 9.2.6 พวงมาลัยไม่ตง้ั ศนู ย์ สาเหตุและการแก้ไขพวงมาลยั ไม่ได้ศูนย์แสดงดงั ตารางที่ 9.12 ตารางที่ 9.12 สาเหตุที่เป็นไปได้ การแก้ไข 1. ยอยของระบบพวงมาลัยตดิ หรือชารุด 1. เปล่ียนใหม่ 2. ปรับมุมลอ้ หน้าไม่ถูกต้อง (โทอิน) 2. ปรบั แต่งใหม่ 3. ปรบั ความตึงเฟืองขับ (ตวั หนอน) ผดิ คา่ 3. ปรับแต่งใหม่
154 4. กาลังดันลมยางไม่ถกู ต้อง 4. ปรบั แต่งใหม่ 9.2.7 สาเหตุการแก้ไขพวงมาลัยเสยี งดังแสดงดังตารางที่ 9.13 ตารางท่ี 9.13 สาเหตุทเ่ี ป็นไปได้ การแก้ไข 1. คันชกั คันส่ง ฯลฯ สกึ หรอ หลวม 1. กวดขนั หรือเปล่ียนใหม่ 2. ยอยของระบบพวงมาลัยชารุดหรอื สึกหรอ 2. เปล่ยี นใหม่ 3. ปรับระยะสัมผัสของฟันเฟืองในกระปุกเฟืองไม่ 3. ปรับแต่งใหม่ ถกู ต้อง 9.3 ปญั หาข้อขัดข้องในระบบเบรก ปญั หาข้อขัดข้องท่เี กิดขนึ้ กับระบบเบรกอาจมผี ลต่อสมรรถนะในการเบรกและเป็นอันตรายต่อผ้ขู ับขี่ ดังนน้ั ตาราง วเิ คราะหป์ ัญหาขัดข้องจึงเป็นแนวทางในการหาข้อขัดข้องและหาสาเหตุของเบรกเพ่ือแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว ดังกล่าวถึง ต่อไปน้ี 9.3.1 เบรกยนั การแกไ้ ข สาเหตุและการแก้ไขเบรกยันแสดงตารางที่ 9.14 ตารางที่ 9.14 1. ปรับแต่งใหม่ 2. ปรบั แต่งใหม่ สาเหตุท่ีเป็นไปได้ 3. ทาความสะอาด 1. ไม่มีระยะทางฟรีแป้นเหยียบเบรก 4. ปรับแต่งใหม่ 2. ปรับระยะแกนดันลูกสบู แม่ปั๊มเบรกไมด่ ี 5. ทาความสะอาดหรือเปลยี่ นใหม่ 3. รนู า้ มันไหลกลับในกระบอกแม่ปมั๊ อุดตนั 6. เปลยี่ นใหม่ 4. ก้ามปูฝกั เบรกถอยกลบั ไม่ดี 7. เปล่ยี นใหม่ 5. ลกู ป๊ัมกระบอกเบรก (ทล่ี ้อ) ถอยกลบั ไม่ดี 8. ซอ่ มหรือปรับแต่ง 6. ซลี ลกู สูบดสิ ก์เบรกผิดปกติถอยกลบั ไมด่ ี 7. แผน่ ดิสก์เบรกบิดตวั มากเกินไป 8. สายเบรกมือถอยกลบั ไม่เต็มท่ีหรอื ปรับไมด่ ี 9.3.2 เบรกลึก (เบรกหยุ่นตัว) สาเหตุและการแก้ไขเบรกลึก (เบรกหยนุ่ ตวั ) ดงั แสดงในตารางท่ี 9.15 ตารางที่ 9.15 สาเหตุทีเ่ ป็นไปได้ การแก้ไข 1. มฟี องอากาศเขา้ ในระบบขณะท่นี า้ มนั เบรกแหง้ 1. เติมน้ามนั เบรกไล่ลม 2. ปรบั ระยะฟรีแปน้ เหยยี บเบรกไม่ถกู ตอ้ ง 2. ปรับแต่งใหม่ 3. ผ้าเบรกสึก 3. เปลี่ยนใหม่
155 4. มฟี องอากาศภายในระบบ 4. ไล่ลม 5. แผ่นผา้ ดิสก์เบรกสกึ ผิดปกติ 5. เปล่ียนใหม่ 9.3.3 เบรกสะท้านและมีเสยี งดงั สาเหตุและการแก้ไขปัญหาเบรกสะท้านและมเี สียงดัง แสดงดังตารางที่ 9.16 ตารางท่ี 9.16 สาเหตุทเี่ ป็นไปได้ การแกไ้ ข 1. แผน่ ดิสก์เบรกหรือจานเบรกสึกหรอ 1. เปลย่ี นใหม่ 2. จานเบรกหรือผวิ หน้าผ้าเบรกเสยี รปู ทรง 2. เจยี ระไนหรือเปล่ียนใหม่ 3. มเี ศษโลหะอ่ืน ๆ เกาะตดิ แผ่นดิสกเ์ บรกหรือ 3. ทาความสะอาด 4. กวดขนั ใหม่ กระทะเบรก 5. เปลีย่ นใหม่ 4. นอตยดึ เรือนกระบอกเบรกหรือส่วนอื่น ๆ ที่ 6. ซ่อมหรือเปลี่ยน 7. ใสจ่ าระบี เกี่ยวข้องหลุดหลวมไม่แนน่ 5. หน้าสมั ผสั ของแผน่ ดสิ กห์ รือกระทะเบรกเอียง หรอื ชารุด 6. หนา้ สัมผสั ของแผน่ จานดสิ กเ์ บรกหรือผ้าเบรก ไมด่ ี 7. จาระบีในส่วนท่ีเลื่อนไปมาไมเ่ พยี งพอ 9.3.4 เบรกมือทางานได้ไม่เต็มที่ สาเหตุและการแก้ไขเบรกมือทางานได้ไม่เตม็ ท่ี แสดงดังตารางท่ี 9.17 ตารางท่ี 9.17 สาเหตุทเ่ี ป็นไปได้ การแกไ้ ข 1. ระยะดงึ มากเกินไป 1. ปรบั แต่งใหม่ 2. สายเบรกตดิ หรือชารดุ 2. ซ่อมหรือเปลีย่ นใหม่ 3. น้ามันหรือน้ามนั เบรกเปื้อนผ้าเบรก 3. ทาความสะอาดหรือเปลย่ี นใหม่ 4. หนา้ ผ้าเบรกแขง็ เปน็ มนั หรือหนา้ สมั ผสั ไม่ดี 4. ขัด เจียระไน หรือเปลย่ี นใหม่ 9.3.5 เบรกไม่อยู่ สาเหตุและการแก้ไขเบรกไม่อยแู่ สดงดงั ตารางท่ี 9.18 ตารางที่ 9.18 สาเหตุท่เี ป็นไปได้ การแก้ไข 1. น้ามนั เบรกรว่ั 1. ซอ่ ม 2. มีอากาศในท่อเบรก 2. ไล่ฟองอากาศ 3. ผ้าเบรกสึกหรอ 3. เปล่ียนใหม่
156 4. ผา้ เบรกเป้ือนน้ามนั เบรก จาระบี น้า หรือ 4. ค้นหาสาเหตแุ ละตัดสนิ ใจทาความสะอาดหรือ น้ามนั เปลี่ยนใหม่ 5. หนา้ ผา้ เบรกแข็งเป็นมนั หรือผ้าเบรกไม่ดี 5. ขัดหรือเปลย่ี นใหม่ 6. ลกู สูบระบบดิสกเ์ บรกผิดปกติ 6. ถอดช้ินสว่ นมาวัดความโตและเปลยี่ นใหม่ 7. ชดุ กระบอกแมป่ ั๊มเบรกหรือกระปอดเบรกทลี่ ้อ 7. ซอ่ มหรือเปล่ยี นใหม่ 8. ซอ่ มหรือเปลีย่ นใหม่ ผิดปกติ 9. ซ่อมหรือเปลย่ี นใหม่ 8. ชุดหม้อลมเบรกผิดปกติ 10. เปลี่ยนใหม่ 9. ลน้ิ กันกลบั ผิดปกติหรือแตกหัก (ในท่อดูดลม) 11. เปลี่ยนใหม่ 10. ทอ่ ลมดูดชารุด 12. เปล่ียนใหม่ 11. ท่อต่ออ่อนหรือท่อลมดูดแบบลบี เสียรปู ทรง 12. ลน้ิ LSPV ผดิ ปกติ 9.3.6 เบรกปัด การแกไ้ ข สาเหตุการแก้ไขเบรกปดั แสดงดังตารางท่ี 9.19 ตารางท่ี 9.19 1. เปลี่ยนใหม่ 2. หาสาเหตุและตดั สินใจทาความสะอาดหรือ สาเหตุที่เป็นไปได้ 1. ผา้ เบรกสึกหรอ เปลี่ยนใหม่ 2. จาระบี น้ามัน น้า หรือน้ามนั เบรกเปื้อนผา้ 3. ขัดหรือเปลย่ี นใหม่ 4. เจียระไนหรือเปลีย่ นใหม่ เบรก 5. ซ่อมหรือเปลย่ี นใหม่ 3. หนา้ ผา้ เบรกแข็งเป็นมันหรือหน้าผ้าเบรกไมด่ ี 6. กวดขันหรือเปลยี่ นใหม่ 4. ผ้าเบรกหรือจานดิสกบ์ ิดงอ สึกไมเ่ สมอหรือ 7. ซ่อมหรือเปลี่ยนใหม่ 8. ปรับแต่งใหม่ แกว่งตัว 5. ระบบปรับระยะห่างอตั โนมัตผิ ิดปกติ 6. แผ่นหลงั กระทะเบรกเสียรูปทรงหรือโบลต์ยึด หลวม 7. ชดุ กระบอกเบรกในกระทะเบรกผิดปกติ 8. ผา้ เบรกผดิ ปกติ
157 แบบฝกึ หัด (ครุศาสตร์เคร่อื งกล) ช่ือวิชา ระบบเคร่ืองลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ช่ือหน่วย การตรวจวิเคราะห์แกไ้ ขข้อขดั ข้อง สัปดาห์ท่ี 14 หน่วยยอ่ ยท่ี 9.1-9.3 จานวน 6 ชั่วโมง คาส่ัง : จงทาเครอื่ งหมายกากบาท (x) ลงในคาตอบที่ถูกที่สดุ เพียงข้อเดียว 1. ในขณะทีร่ ถวิ่ง พวงมาลัยเกดิ อาการเตน้ มสี าเหตมุ าจากอะไร ก. เหลก็ กันโคลงอ่อนตัว ข. กาลงั ดันลมยางต่ากวา่ คา่ ท่ีกาหนด ค. ลูกหมากปีกนกตัวบนและตัวลา่ งสึกหรอ ง. ลกู ปนื ดุมล้อสกึ หรอ 2. อาการพวงมาลัยหนักไปด้านหนึ่งด้านใดเป็นสาเหตทุ ี่เกิดมาจากอะไร ก. เหล็กกันโคลงอ่อนตัว ข. กาลังดันลมยางต่ากว่าคา่ ทีก่ าหนด ค. ลูกหมากปีกนกตัวบนและตวั ล่างสึกหรอ ง. ลูกปืนดุมล้อสกึ หรอ 3. สาเหตุใดทีท่ าใหร้ ถวงิ่ ไมต่ รงทางในขณะปล่อยมือ ก. ลอ้ ไม่ได้ศูนย์ถว่ งหรือเสียรูปทรง ข. ยอยพวงมาลยั ชารดุ ค. กาลังดันลมไมถ่ ูกต้อง ง. กาลังลมยางและล้อเสียรูปทรง 4. สาเหตุใดทที่ าให้พวงมาลยั รถยนตส์ ่นั ก. ปรบั ความตึงของเฟอื งขับผดิ ข. นอตยึดเรอื นกระบอกเบรกหลวม ค. จานดรมั เบรกมผี วิ หน้าเสยี รูปทรง ง. เฟืองในกระปุกเกียร์พวงมาลยั สึกหรอ 5. อาการที่เกิดจากการเบรกในขณะทเ่ี หยยี บเบรกจะเกิดการหยนุ่ ตัว มีสาเหตุเกิดมาจากอะไร ก. นอตยดึ เรือนกระบอกเบรกหลุดหลวม ข. มีฟองอากาศในระบบเบรก ค. ผ้าเบรกสึก ง. นอตยดึ กระบอกเบรกหลุดและผา้ เบรกสึก
158 เฉลยแบบฝกึ หัด (ครุศาสตร์เคร่อื งกล) ชื่อวิชา ระบบเครอ่ื งลา่ งและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ช่ือหน่วย การตรวจวเิ คราะหแ์ ก้ไขขอ้ ขัดข้อง สัปดาห์ที่ 14 หน่วยยอ่ ยท่ี 9.1-9.3 จานวน 6 ช่วั โมง คาสั่ง : จงทาเครื่องหมายกากบาท (x) ลงในคาตอบท่ีถูกที่สุดเพยี งข้อเดียว 1. ในขณะท่รี ถว่ิง พวงมาลัยเกิดอาการเตน้ มีสาเหตุมาจากอะไร ก. เหล็กกนั โคลงอ่อนตวั ข. กาลงั ดันลมยางต่ากวา่ คา่ ท่ีกาหนด ค. ลูกหมากปีกนกตวั บนและตัวลา่ งสึกหรอ ง. ลกู ปืนดุมล้อสกึ หรอ 2. อาการพวงมาลัยหนักไปด้านหนึ่งดา้ นใดเปน็ สาเหตทุ ี่เกิดมาจากอะไร ก. เหล็กกันโคลงอ่อนตัว ข. กาลงั ดันลมยางต่ากว่าคา่ ทีก่ าหนด ค. ลูกหมากปีกนกตวั บนและตัวล่างสึกหรอ ง. ลูกปืนดุมล้อสึกหรอ 3. สาเหตุใดทที่ าใหร้ ถวงิ่ ไมต่ รงทางในขณะปล่อยมือ ก. ลอ้ ไม่ได้ศูนย์ถว่ งหรือเสียรูปทรง ข. ยอยพวงมาลยั ชารุด ค. กาลงั ดันลมไมถ่ ูกต้อง ง. กาลังลมยางและล้อเสียรูปทรง 4. สาเหตุใดทีท่ าให้พวงมาลยั รถยนตส์ ัน่ ก. ปรบั ความตงึ ของเฟอื งขับผิด ข. นอตยึดเรือนกระบอกเบรกหลวม ค. จานดรมั เบรกมีผิวหน้าเสียรูปทรง ง. เฟืองในกระปุกเกียรพ์ วงมาลยั สึกหรอ 5. อาการที่เกิดจากการเบรกในขณะทเี่ หยยี บเบรกจะเกิดการหยุ่นตัว มสี าเหตุเกิดมาจากอะไร ก. นอตยดึ เรือนกระบอกเบรกหลุดหลวม ข. มีฟองอากาศในระบบเบรก ค. ผ้าเบรกสึก ง. นอตยึดกระบอกเบรกหลดุ และผา้ เบรกสึก
159 ใบมอบหมายงาน (ครุศาสตร์เครอื่ งกล) ช่อื วิชา ระบบเครอื่ งล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ช่อื หน่วย การตรวจวเิ คราะหแ์ กไ้ ขขอ้ ขดั ข้อง สปั ดาห์ท่ี 14 หนว่ ยย่อยที่ 9.1-9.3 จานวน 6 ชวั่ โมง ใหผ้ ้เู รียนฝกึ การเจยี รจ์ านเบรกทถ่ี กู ตอ้ งจากครผู ู้สอนจากประสบการณ์ของครผู สู้ อน จุดประสงค์ ผเู้ รียนสามารถ เจียร์จานเบรกได้ ผู้เรยี นสามารถ ใช้เครอ่ื งเจียร์จานได้
160 ใบขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน (ครศุ าสตรเ์ ครือ่ งกล) ชื่อวิชา ระบบเครอ่ื งล่างและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วชิ า 3-122-120 ชอ่ื หน่วย การตรวจวิเคราะหแ์ กไ้ ขขอ้ ขดั ข้อง สปั ดาห์ท่ี 14 หนว่ ยยอ่ ยท่ี 9.1-9.3 จานวน 6 ช่ัวโมง เคร่ืองมือและอุปกรณ์ 1.จานเบรก 2.เครื่องเจียรจ์ าน ขั้นตอนการเจยี ร์จาน 1.นาจานเบรกวางที่แท่นเครื่องเจยี รจานและยึดให้แน่น 2.เปิดเครือ่ งเจียร์ ปรับตาแหน่งใบมีดไปท่ีจานเบรกใหก้ นิ เน้ือเพียงเล็กน้อยให้เคล่ือนใบมีดไปทเี่ กือบจดุ กลางของจาน เมื่อถึงแล้วใหป้ รับใบมีดลึกลง 0.5 มม. แลว้ ให้เคร่ืองเดินออโต้ 3.พอเครื่องเจียร์เสร็จใหท้ าการถอดจานออกจากเคร่ือง แลว้ ทาความสะอาดเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย
161 แผนการจดั การเรียนรู้ (ครศุ าสตรเ์ ครอื่ งกล) ชื่อวิชา ระบบเครือ่ งลา่ งและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหสั วชิ า 3-122-120 ช่ือหน่วย การบารุงรกั ษาระบบของเครอ่ื งลา่ ง สัปดาห์ที่ 15 หนว่ ยยอ่ ย 10.1 จานวน 6 ชว่ั โมง แนวคิด สาระการเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารสอน หน่วยยอ่ ย 10.1 การบารงุ รักษาระบบของเครื่องลา่ ง หน่วยยอ่ ยท่ี 10.1 อธิบายการบารุงรักษาระบบของ เครือ่ งล่างไดถ้ ูกต้อง กจิ กรรมการเรยี นการสอน กิจกรรมนักเรยี น กจิ กรรมครู 1.ข้นั นาเข้าสูบ้ ทเรยี น 1.ขน้ั นาเขา้ สู้บทเรียน - ครูถามคาถามใหน้ ักเรยี นแสดงความคดิ เห็นถามข้อ - นักเรียนตอบคาถามแสดงความคดิ เหน็ ถามข้อสงสยั สงสยั 2.ขัน้ การสอน 2.ข้นั การสอน 1. นักเรยี นฟงั การอธบิ าย และถามข้อสงสยั 1. ครูอธิบายเนอื้ หาเริ่มต้น 2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน 2. ครแู จกใบเน้ือหา อธิบายความหมายความสาคัญ 3. ฟงั การบรรยาย และบันทึกสรุปสาระสาคัญของ เน้อื หาสาระ ในหัวข้อตา่ ง ๆ ในเอกสารประกอบการ สอน หัวขอ้ ตา่ ง ๆ 3. แจกแบบฝึกหดั ให้กบั นักเรยี นทาแบบฝกึ หัด 4. ซักถาม ข้อสงสัยในเน้ือหาสาระตา่ ง ๆ 4. แจกแบบประเมินผลหลังเรียนให้กับผ้เู รียนทา 5. ปฏบิ ัติงานตามใบงาน สรุปรายงานผลการ แบบทดสอบ 5. มอบหมายงานให้นักเรียนปฏิบัตงิ านตามใบงาน ปฏบิ ัติงาน และนาเสนอผลงานส่งครู และควบคุมดูแลการปฏบิ ัติงานของนักเรยี น 6. ทาแบบฝึกหัด การวัดและการประเมินผล เครื่องมือวดั ผล 1. จากแบบฝกึ หัด วิธวี ดั ผล 2. แบบประเมนิ ผลก่อนเรียนและหลงั เรยี น 1. กอ่ นเรียน:วัดผลและประเมนิ ผลโดยทาแบบทดสอบ 3. ประเมินผลจากการปฏบิ ัติงานตามใบงาน 2. ขณะเรียน วัดและประเมินผลโดยการถามตอบ วดั คุณธรรมจรยิ ธรรม 3. หลังเรียน: วัดและประเมินผลโดยทาแบบทดสอบ
162 เกณฑ์การประเมนิ ผล ผเู้ รยี นสามารถปฏิบตั ิงานทไ่ี ด้รับมอบหมายได้อย่างถกู ต้อง งานท่มี อบหมาย แบบฝึกหัด สอื่ การเรยี นและการสอน และอปุ กรณช์ ่วยฝกึ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สอื่ จริง 3. แบบฝกึ หัด / แบบประเมนิ ผล / ใบงาน 4. เครือ่ งมือและอุปกรณข์ องจริง หนังสืออ้างองิ ประสานพงษ์ หาเรือนชพี . 2560. งานสง่ กาลงั รถยนต์.กรงุ เทพ
163 ใบเน้ือหา (ครศุ าสตรเ์ ครือ่ งกล) ชอ่ื วิชา ระบบเครือ่ งล่างและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหัสวชิ า 3-122-120 ชอ่ื หน่วย การบารงุ รักษาระบบของเครอื่ งลา่ ง สปั ดาหท์ ่ี 15 หน่วยยอ่ ยที่ 10.1 จานวน 6 ช่ัวโมง วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม หนว่ ยย่อยท่ี 10.1 อธิบายการบารงุ รักษาระบบของเคร่ืองล่างไดถ้ ูกต้อง บทท่ี 10 การบารงุ รกั ษาระบบของเคร่อื งล่าง 10.1 การบารุงรักษาระบบของเคร่ืองลา่ ง การบารุงรักษา ระบบเคร่ืองลา่ งรถยนต์ตามระยะท่กี าหนดทุก ๆ 20,000 กิโลเมตรหรอื 12 เดือน สามารถปฏบิ ัติดงั นี้ 1. การบารุงรักษาระบบรองหนา้ และหลัง สว่ นประกอบของระบบรองรับนั้นประกอบดว้ ยส่วนที่สาคัญดังเชน่ สปริง โชก้ อัปซอรบ์ เบอร์ และปีกนกเป็นหลัก ระบบรองรับจะทาหน้าท่รี ักษาเสถียรภาพในการบังคับเล้ยี วและจะสกัดกั้น อาการท่ีเกิดจากการสนั่ สะเทือนทม่ี ีผลแตกต่างจากผน้ื ผวิ ถนนที่ส่งไปยังตัวถัง ทั้งนเ้ี พ่ือการขับข่ีทส่ี ะดวกสบาย แต่ถา้ ระบบรองรบั รถเกดิ การชารุดหรือทางานได้ไม่ถกู ต้องเรว้ กวา่ เวลาทก่ี าหนดไว้ ย่อมจะส่งผลใหผ้ ู้ขับข่ีนนั้ จะต้องประสบ ปัญหาความยากลาบากอยา่ งย่ิงในการคุมรถ 2. การเปล่ยี นถา่ ยนา้ มนั เบรก นา้ มนั เบรกนัน้ มคี ุณสมบตั ิในการดูดความชืน้ จากอากาศ เมื่อรวมตวั กนั จะทาให้จดุ เดือด ของน้ามันเบรกต่าลง เมื่อได้รับความร้อนจะเกดิ เปน็ ฟองอากาศขึ้นในระบบเบรกเปน้ สาเหตใุ ห้เบรกเกิดอาการหยนุ่ ตัว ประสิทธภิ าพในการเบรกลดลง นอกจากน้ียังเกิดการกดั กร่อนท่ีกระบอกแม่ป๊ัมเบรกและกระบอกเบรกท่ลี ้อ เปน้ เหตุให้ น้ามันเบรกรว่ั ไหลออกจากระบบ 3. การอดั จารบบี ชู ปีกนก ลกู หมาก สลักหแู หนบ และโตงเตง เปน็ ช้นิ สว่ นทส่ี าคัญทีท่ าให้ล้อเคล่ือนตวั ขึน้ และลงอยู่ อยา่ งสม่าเสมอในขณะท่ีรถเคลื่อนทีไ่ ปในสภาพผิวพนื้ ถนนและโหลดที่มีความแตกต่างกนั จึงเปน็ สาเหตทุ ่ที าให้ ลกู หมากและบชู เกิดการสึกหรอและเสียการทรงตวั ทด่ี ีไปในขณะขับขี่ 4. การบารุงรักษาระบบบังคับเลี้ยว กระปุกเกียรพ์ วงมาลยั ก้านต่อพวงมาลัย และพวงมาลัย เป้นสว่ นประกอบของ ระบบบังคับเล้ยี ว สาหรบั ลุกหมากก้านต่อบังคับเลย้ี วเปน็ ส่วนทีส่ าคัญของระบบที่เป็นจุดต่อ เพื่อใหพ้ วงมาลยั สามารถ บงั คับล้อใหห้ มุนได้อยา่ งคล่องตัวสอดคล้องกัน แต่ถา้ ลูกหมากก้านต่อถูกใชเ้ ปน็ ระยะท่ียาวนาน ถา้ ขาดการบารงุ รักษา ที่ดกี จ็ ะทาให้เกิดการควบคุมบังคับเลีย้ วที่ไม่มัน่ คงและเชน่ เดียวกนั ถ้าระดับนา้ มันในกระปุกเกยี ร์พวงมาลยั เกิดการ รั่วไหล ก็จะเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการควบคุมบงั คบั มีความยากลาบากย่ิงข้ึน 5. การเปล่ยี นถา่ ยนา้ มนั เบรก – นา้ มันเบรกจะมีคุณสมบตั ิดูดความช้ืนจากอากาศจะทาให้จุดเดือดลดลง เมอ่ื เจอความ ร้อนจะทาให้เป็นฟองอากาศในระบบเบรกทาให้เบรกเกิดการยดื หยุ่น ประสิทธิภาพกย็ ่อมลดลงควรตรวจเช็คให้ดี เกิด การกัดกร่อนท่ีกระบอกแมป่ ั๊มเบรกกบั กระบอกเบรกทล่ี อ้ อาจทาใหน้ ้ามนั เบรกรว่ั ออกมาได้ ทาให้รถของท่านืเบรคไม่ดี เทา่ ทีค่ วร
164 6. อัดจารบีบชู ปีกนก – ลกู หมาก สลกั หูแหนบ กับโตงเตง ทาหนา้ ข้ึนลงอย่างสม่าเสมอขณะท่ีรถเจอกับสภาพพน้ื ผิวที่ แตกต่างกันออกไป ทาใหล้ ูกหมากกับบชู เกิดการสึกกร่อนได้ ท่สี าคัญอาจทาให้เสียการทรงตัวเมื่อทิ้งเอาไวน้ านๆ จึง จาเปน็ ต้องอัดจารบีเขา้ ไปอยู่เสมอ 7. บารุงรกั ษาเรื่องของระบบเลี้ยว – กระปุกเกียร์พวงมาลัย รวมถึงตัวพวงมาลยั เองคือส่วนประกอบทั้งหมดของระบบ เลย้ี ว ตวั ลกู หมากก้านต่อบังคับเลย้ี วเป็นจุดสาคญั ในระบบท่ีเป็นตวั เช่ือมต่อเพื่อให้พวงมาลัยสามารถหมนุ ล้อไปไดด้ ว้ ย ความคล่องการทล่ี กู หมากก้านตอ่ ถูกใช้งานมาเปน็ เวลานานหากขาดการดูแลรักษาท่ดี ีการบังคับเลีย้ วก็จะเกิดความไม่ แนน่ หรือหลาม เส่ือมสภาพ ช่วงล่างรถยนต์ เป็นส่วนสาคัญของตวั รถและประกอบด้วยชิ้นส่วนมากมายในระบบชว่ งล่างน้ี เช่น โชค๊ อัพ, สปริง, ระบบเบรค, บูชปีกนก, ลูกหมาก และอืน่ ๆ อีกมากมาย ระบบชว่ งลา่ งทาหนา้ ที่ในการรับนา้ หนัก, รักษาระดบั ระหวา่ ง ผิวรถกับพ้ืนถนนใหค้ งท,ี่ คอยควบคุมล้อรถตั้งฉากกับผิวถนน, ลดแรงส่ันสะเทือนตอนรถว่ิง จึงชว่ ยให้คนขับสามารถ ควบคุมรถและทาให้แรงสัน่ สะเทือนไปยังภายในรถให้น้อยท่ีสดุ การดูแลรักษาชว่ งลา่ งสาหรับคนที่อาจไม่ได้มีความรู้ หรอื ไม่ได้มปี ระสบการณ์ส่วนใหญเ่ ม่ือถงึ กาหนดเช็คระยะตรวจสภาพรถช่างที่เป็นคนทาการตรวจกจ็ ะมีการตรวจสอบ ช่วงลา่ งใหต้ ามปกติอยู่แล้ว รถรับจา้ ง หรือ รถส่งของท่ีใช้งานหนกั และรถมีอาการแปลกๆก็ควรท่ีจะรบี หาร้านหรือช่าง ทพ่ี อจะช่วยเหลือได้ให้ตรวจสอบใหด้ ีกว่าจะปลอ่ ยท้ิงไว้นานๆ สดุ ท้ายก็เกิดอันตรายในระหว่างขบั ขี่
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161