165 ใบมอบหมายงาน (ครศุ าสตร์เครอ่ื งกล) ช่ือวิชา ระบบเคร่ืองล่างและระบบส่งกาลงั ยานยนต์ รหัสวิชา 3-122-120 ชอ่ื หน่วย การบารงุ รกั ษาระบบของเคร่อื งลา่ ง สัปดาห์ท่ี 15 หนว่ ยย่อยท่ี 10.1 จานวน 6 ชัว่ โมง ใบงานที่ 10.1 เร่ือง การบารุงรักษาระบบของเคร่อื งล่างรถยนต์ตามระยะทกี่ าหนดทุก ๆ 20,000 กโิ ลเมตร หรือ 12 เดือน คาส่งั ให้นักเรียนทาการบารงุ รกั ษาระบบของเครื่องล่างรถยนต์ตามระยะท่ีกาหนดทุก ๆ 20,000 กิโลเมตร หรอื 12 เดือนตามใบขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านให้ถูกต้อง จดุ ประสงคท์ ั่วไป เพอื่ ให้นักเรียนมีทักษะการบารุงรกั ษาระบบของเครื่องลา่ งรถยนตต์ ามระยะทีก่ าหนดทุก ๆ 20,000 กิโลเมตร หรอื 12 เดือน จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1.การบารงุ รกั ษาระบบรองรับน้าหนา้ และหลังได้ 2.การเปลีย่ นถา่ ยน้ามนั เบรกได้ 3.การอัดจาระบีบูชปีกนกได้ 4.การบารงุ รกั ษาระบบบังคับเล้ียวได้ 5.การบารุงรกั ษาดรมั เบรกได้ 6.การกวดขันนอตและโบลตข์ องเชสซสี และตวั ถงั รถยนต์ เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ 1.รถยนต์ 2.เครอื่ งมือพเิ ศษ 3.เคร่ืองมือชา่ งยนต์ทั่วไป
166 ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน (ครุศาสตร์เครอ่ื งกล) ชอื่ วิชา ระบบเครื่องลา่ งและระบบส่งกาลังยานยนต์ รหสั วชิ า 3-122-120 ช่ือหน่วย การบารุงรักษาระบบของเคร่ืองล่างรถยนต์ สัปดาหท์ ่ี 15 หนว่ ยยอ่ ยที่ 10.1 จานวน 6 ชั่วโมง จากใบงานท่ี 10.1 เรื่อง การบารงุ รักษาระบบของเครื่องล่างรถยนตต์ ามระยะทีก่ าหนดทกุ ๆ 20,000 กโิ ลเมตร หรอื 12 เดือน คาสง่ั ให้นักเรยี นทาการบารุงรักษาระบบของเครื่องลา่ งรถยนตต์ ามระยะที่กาหนดทุก ๆ 20,000 กิโลเมตร หรอื 12 เดือนตามใบข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงานให้ถูกต้อง ข้ันตอนการปฏิบัติงานดังน้ี การบารงุ รักษาระบบของเคร่ืองลา่ งรถยนต์ตามระยะทก่ี าหนดทกุ ๆ 20,000 กิโลเมตร หรือ 12 เดอื น สามารถ ปฏิบัติดงั น้ี 1.การบารุงรกั ษาระบบรองรบั หน้าและหลัง ส่วนประกอบของระบบรองรบั น้าหนักประกอบดว้ ยสว่ นท่สี าคญั เชน่ สปริง โช้กอัปชอรบ์ เบอร์ และปกี นกเป็นหลัก ระบบรอบรบั จะทาหนา้ ที่รักษาเสถยี รภาพในการบงั คบั เล้ยี วและจะ สกดั อาการทเี่ กิดจากการสั่นสะเทือนทม่ี ีผลแตกตา่ งจากพ้ืนผวิ ถนนทส่ี ่งไปยังตวั ถัง ทงั้ นเ้ี พือ่ การขบั ข่ีที่สะดวกสบาย แตถ่ า้ ระบบรองรบั น้าหนกั เกิดการชารุดหรือทางานได้ไม่ถูกต้องเรว็ กวา่ ทก่ี าหนดไว้ยอ่ มจะสง่ ผลให้ผขู้ ับขีน่ ้ันจะตอ้ ง ประสบปัญหาความลาบากอย่างยิ่งในการควบคุมรถ ด้วยเหตุผลนจ้ี งึ มคี วามจาเปน็ ทีจ่ ะต้องทาการตรวจสอบการทางานของระบบรองรบั ทัง้ ดา้ นหน้าและดา้ นหลงั ของรถ ตามระยะที่กาหนดไว้ทุก ๆ 20,000 กิโลเมตรหรือทกุ ๆ 12 เดอื น โดยมขี นั้ ตอนในการปฏิบัตดิ ังนี้ -ตรวจสอบประสทิ ธภิ าพการทางานของโช้กอัปชอร์บเบอร์ดว้ ยการขย่มตัวถังรถ และตรวจสอบอาการเตน้ ขน้ึ ลงของ รถ ซงึ่ อาการเต้นของรถหยุดไดโ้ ดยเรว็ ดังแสดงในรูปท่ี 1 (ก) -ตรวจสอบระดบั การเอียงของรถ ดงั แสดงในรูปที่ 1 (ข) ระดบั ของรถจะต้องไมเ่ อียง แต่ถ้าผลการตรวจสอบมกี าร เอียง ใหต้ รวจความแตกตา่ งของแรงดันลมยางของแตล่ ะล้อและนา้ หนักบรรทุก -ตรวจสอบการร่วั ของโชก้ อัปชอรบ์ เบอร์ทง้ั ด้านหน้าและด้านหลงั ตรวจสอบเหลก็ กันโคลงการสึกหรอของบชู ปกี นก ตวั บนและตวั ลา่ ง ดังแสดงในรูปที่ 1 (ค) -ตรวจสอบสภาพการสกึ หรอและเสยี งดงั ทีเ่ กิดจากลกู ปนื ทั้งล้อหนา้ และล้อหลัง โดยการโยกล้อไปทิศทางขนานและ แนวด่งิ กับตวั รถ ดังแสดงในรูปท่ี 1 (ง) เพ่ือเปน็ การตรวจสอบการสกึ หรอของลกู หมากทั้งสลี่ ้อ -หมุนลอ้ และเสียงที่ผิดปกติจากลกู ปืนล้อ ดังแสดงในรปู ท่ี 1 (จ) รปู ท่ี 1 ขนั้ ตอนการตรวจสอบระบบรองรบั
167 รปู ท่ี 1 (ต่อ) ขั้นตอนการตรวจสอบระบบรองรับ 2.การเปลย่ี นถา่ ยนา้ มันเบรก น้ามันเบรกนน้ั มีคณุ สมบัติในการดดู ความชนื่ จากอากาศ เมอ่ื รวมตัวกนั ทาใหจ้ ดุ เดอื ดของนา้ มนั เบรกตา่ ลง เม่ือไดร้ ับความร้อนจะเกิดเป็นฟองอากาศข้นึ ในระบบเบรก เป็นสาเหตใุ หเ้ บรกเกิด อาการหย่นุ ตวั ประสิทธภิ าพในการเบรกลดลง นอกจากน้ยี ังเกิดการกดั กร่อนที่กระบอกแม่ปั๊มเบรกและกระบอก เบรกทีล่ ้อ เป็นสาเหตุใหน้ า้ มันเบรกรั่วไหลออกจากระบบ ดังนั้นจงึ จาเปน็ ตอ้ งเปลย่ี นน้ามันเบรกออกจากระบบเบรกท่รี ะยะทางทุก ๆ 20,000 กโิ ลเมตรหรอื ทุก ๆ 2 เดือน ซึง่ ก็มีขน้ั ตอนในการปฏบิ ตั ิดังน้ี -ถอดยางฝาครอบสกรูไล่ลมและต่อท่อเข้ากบั สกรไู ล่ลม โดยให้ปลายดา้ นหน่ึงจุ่มลงในขวดเกบ็ น้ามันเบรก ดงั แสดง ในรปู ท่ี 2 (ก) -คลายสกรไู ลล่ มออกประมาณ ½ รอบ และเหยยี บแปน้ เบรกจนกระทั่งน้ามันเบรกภายในถงั เก็บนา้ มันสารองลดลง เหลืออยูป่ ระมาณ ¼ ของถงั เกบ็ นา้ มันเบรกสารอง ดงั แสดงในรูปที่ 2 (ข) (ขันสกรูไลล่ มให้แน่น ปอ้ งกนั อากาศเขา้ ในระบบ) -เตมิ นา้ มนั เบรกใหม่ให้ถงึ ขีดสุด MAX ดงั แสดงในรูปที่ 2 (ค) -ยา้ เบรกจนกระทเบรกจนกระท่งั นา้ มันเบรกใหมไ่ หลจากสกรูไล่ลมแล้วจงึ ขนั สกรูไล่ลมใหแ้ น่น จากนนั้ กเ็ บรก ขนั สกรไู ลล่ มใหแ้ นน่ (ใหก้ ระทาเช่นเดยี วกนั ทกุ ล้อ) ดังแสดงในรูปที่ 2 (ง) -เหยียบเบรก แปน้ เบรก และคลายสกรูไลล่ มออกประมาณ ¼ รอบจนแนใ่ จว่าฟองอากาศหมด แลว้ จงึ ขนั สกรูไลล่ ม ให้แนน่ (ใหป้ ฏิบตั ิเช่นเดยี วกันทุกลอ้ ) ดังแสดงในรูปท่ี 2 (จ) -หลงั จากไล่ฟองอากาศจนหมดแล้วทุก ๆ ล้อ แปน้ เหยยี บเบรกจะต้องไมม่ ีการหยุน่ ตัว แตถ่ ้ามีการหยนุ่ ตัวนั้นแสดง ว่าฟองอากาศอยู่ภายในระบบ ดังแสดงในรปู ที่ 2 (ฉ)
168 รปู ที่ 2 ขน้ั ตอนการเปลยี่ นนา้ มนั เบรก ข้อควรจา การเปลย่ี นนา้ มนั เบรกจะต้องมีผปู้ ฏบิ ตั งิ านร่วมกัน 2 คน ท้ังนีเ้ พื่อการปฏิบัตงิ านในแตล่ ะข้ันตอนจะได้ถกู ต้อง 3.การอดั จาระบบี ูชปกี นก ลูกหมาก สลักหูแหนบ และโตงเตง เปน็ ชิน้ สว่ นสาคัญ?ทาใหล้ อ้ เคล่อื นตวั ข้ึนและลงอยู่ อย่างสมา่ เสมอในขณะทรี่ ถเคลือ่ นทไ่ี ปในสภาพพ้นื ผวิ ถนนและโหลดทม่ี คี วามแตกต่างกัน จงึ เป็นสาเหตหุ นึ่งที่ทาให้ ลูกหมากและบชู เกิดการสึกหรอและเสยี การทรงตัวท่ีดีไปในขณะขับขี่ ดงั นั้นจึงมคี วามจาเป็นอย่างยิ่งทจ่ี ะต้องทาการหล่อลื่นดว้ ยจาระบตี ามระยะเวลาทก่ี าหนดไว้ท่รี ะยะทางทุก ๆ 20,000 กิโลเมตรหรือทกุ ๆ 12 เดอื น เพือ่ เป็นการช่วยยดื หยุ่นอายุการใช้งานของบูชและลกู หมาก การอดั จาระบหี ล่อล่นื บชู ปกี นก ลกู หมาก สลักแหนบ และโตงเตง สามารถปฏิบัติได้โดยอัดจาระบเี ข้าทหี่ วั อดั จาระบที บี่ ูชปกี นก ลูกหมาก สลกั หแู หนบ และโตงเตง ดงั แสดงในรปู ท่ี 3
169 รูปท่ี 3 แสดงการอดั จาระบีบูชปกี นก ลูกหมาก สลักหูแหนบ และโตงเตง 4.การบารุงรกั ษาระบบบังคับเลย้ี ว กระปุกเกยี ร์พวงมาลัย ก้านตอ่ พวงมาลัย และพวงมาลัย เปน็ สว่ นประกอบของ ระบบบงั คับเลยี้ ว สาหรับลกู หมากก้านต่อบังคับเล้ยี วเป็นส่วนสาคญั ของระบบทเ่ี ป็นจดุ ต่อ เพอื่ ให้พวงมาลยั สามารถบงั คบั ล้อหนา้ ให้หมุนไดอ้ ย่างคล่องตวั สอดคล้องกันแตถ่ า้ ลกู หมากกา้ นต่อถกู ใช้เป็นระยะเวลาท่ียาวนาน และขาดการบารุงรักษาท่ีดีก็จะทาให้เกดิ การควบคุมบังคบั เล้ียวทีไ่ ม่ม่ันคง แต่เชน่ เดียวกัน ถา้ ระดบั นา้ มันในกระปุก เกยี ร์พวงมาลัยเกดิ รั่วไหลก็จะเปน็ สาเหตทุ ท่ี าให้เกการควบคุมบงั คบั เล้ยี วมคี วามยากลาบากยิง่ ขึ้น ดังน้นั การ บารงุ รกั ษาและการตรวจสอบจึงมคี วามจาเป็นต่อลกู หมากก้านต่อบังคบั เล้ียวและน้ามนั เกยี รพ์ วงมาลัยตาม ระยะทางทีท่ ุก ๆ 20,000 กโิ ลเมตรหรอื ทุก ๆ 2 เดือน การตรวจสอบและบารงุ รักษาลูกหมากกา้ นตอ่ บงั คบั เลีย้ วและระดบั น้ามนั เกยี ร์พวงมาลยั สามารถปฏบิ ัติได้ดงั นี้ -ตรวจสอบพวงมาลัย โดยการจดั ตาแหน่งให้ลอ้ หนา้ ตรงไปด้านหน้าและหมุนพวงมาลัยไปในทิศทางด้านซา้ ยและ ขวา เพอื่ ตรวจหาระยะฟรขี องพวงมาลยั ซ่งึ ตามปกติแล้วจะต้องมรี ะยะฟรสี ูงสุดประมาณ 30 มิลลิเมตร (1.18นิว้ ) ดังแสดงในรปู ที่ 4 (ก) -ใชม้ ือโยกกา้ นต่อพวงมาลัยข้ึนในแนวดิง่ และแนวขนาน เพื่อการตรวจสอบสภาพการหลวมคลอนของลูกหมาก ดงั แสดงในรูปที่ 4 (ข) -ใชม้ อื ตรวจสภาพการฉีกขาดของยางกันฝุ่นลกู หมาก ดงั แสดงในรูปท่ี 4 (ค) -ตรวจการรวั่ ไหลของนา้ มันในกระเกยี ร์พวงมาลัย ดังแสดงในรูปท่ี 4 (ง)
170 รูปที่ 4 แสดงขั้นตอนการบารุงรกั ษาและตรวจสอบระบบบังคับเลยี้ ว 5.การบารงุ รักษาดรัมเบรก รถยนต์ทีใ่ ชด้ รมั เบรก ผ้าเบรกจะมีการสึกหรอท่ีเรว็ กว่าจานดรบั เบรก ทง้ั นเ้ี ปน็ เพราะว่าฝักเบรกท่ีมผี ้าเบรกยึดติดอยจู่ ะถกู ดนั ใหถ้ า่ งออกจากกาลงั ดนั ของนา้ มันเบรกท่ีกระบอกเบรกที่ลอ้ เปน็ สาเหตใุ ห้ผา้ เบรกถูกดนั ใหส้ มั ผสั กับจานของดรัมเบรกท่หี มุนไปตามความเร็วของล้อรถ จึงทาใหเ้ กิดแรงเสียดทาน ขึ้นระหวา่ งจานดรัมเบรกท่ีกาลงั หมุน แรงเสียดทานเกิดขน้ึ นจี้ ะเป็นสาเหตุท่ที าใหเ้ กิดการสึกหรอท่ีผา้ เบรก ดงั นั้น เมอ่ื ผ้าเบรกถกู ใชไ้ ปภายหลังจากท่เี กิดการสกึ หรอตามระยะเวลาทก่ี าหนด และไม่ได้รบั การตรวจสอบหรอื เปล่ยี น ใหมแ่ ลว้ ผลทตี่ ามาก็คือสมรรถนะในการเบรกจะลดลงหรือฝักเบรกสมั ผัสโดยตรงกบั จานดรมั เบรก ด้วยเหตุนจ้ี ึงมี ความจาเปน็ อย่างยิง่ ทจี่ ะต้องทาการบารุงรักษาและตรวจสอบผ้าเบรกและจานดรมั เบรกทร่ี ะยะทางทุก ๆ 20,000 กิโลเมตร โดยมีข้ันตอนในการปฏิบตั ดิ ังนี้ (รถท่ีใชด้ รมั เบรกหลัง) -ถอดลอ้ ออก โดยใช้ประแจขันนอตลอ้ ออกประมาณ ½ รอบและยกรถขน้ึ จากนนั้ จึงถอดลอ้ ออก ดงั แสดงในรูปที่ 5 (ก)
171 -สอดไขควงผ่านรแู ผงหลงั เบรกและดนั ขาปรบั ต้ังอัตโนมัตใิ ห้ห่างออกจากโบลตป์ รบั ตง้ั ดังแสดงในรปู ที่ 5 (ข) -วดั ความหนาของผ้าเบรกเพื่อตรวจสภาพของการสึกหรอ ดังแสดงในรูปที่ 5 (ค) -วดั จานดรมั เบรกและตรวจรอยขดี ข่วนใหไ้ ดค้ ่าท่ีอยู่ภายในคา่ สงู สดุ ของเสน้ ผา่ นศูนย์กลางด้านในของจานดรมั เบรก ดังแสดงในรปู ท่ี 5 (ง) -ทาความสะอาดผ้าเบรกดว้ ยกระดาษทราย และเชค็ ทาความสะอาดผิวดา้ นในของจานดรมั เบรก ดงั แสดงในรปู ท่ี 5 (จ) -ประกอบจานดรมั เบรกและปรับตง้ั ระยะห่างของฝกั เบรก โดยการดงึ และปล่อยเบรกมือให้กระทาหลาย ๆ ครั้ง จนกระท่งั ไม่สามารถดึงต่อไปได้ ค่าระยะหา่ งระหวา่ งผ้าเบรกกับจานดรมั เบรกจะถูกปรับต้ังไดโ้ ดยอัตโนมัตดิ ังแสดง ในรูปที่ 5 (ฉ) -เหยียบแป้นเบรกประมาณ 4 ถึง 5 ครงั้ เพื่อปรบั ระยะฝักเบรกให้ได้ตามความเหมาะสมดงั แสดงในรูปท่ี 5 (ช) รปู ที่ 5 ลาดับขน้ั ตอนในการตรวจสอบและบารงุ รักษาจานดรมั เบรก
172 รปู ท่ี 5 (ตอ่ )ลาดับขั้นตอนในการตรวจสอบและบารุงรักษาจานดรัมเบรก 6.การกวดขันนอตและโบลต์ของแซสซสี และตัวถังรถยนต์ แชสซีสและตัวถงั รถยนต์ถูกยดึ ตดิ กันด้วยนอตและ โบลต์ เมอ่ื ใชง้ านไประยะหนึ่ง โบลตแ์ ละนอตทย่ี ึดตวั ถงั จะเกดิ การชารดุ หรอื หลวมได้ ด้วยเหตนุ จี้ งึ มคี วามจาเป็นท่ี จะตอ้ งกวดขนั นอตและโบลต์ใหม่ตาระยะท่ีกาหนดไว้ทกุ ๆ 20,000 กิโลเมตรหรอื ทกุ ๆ 12 ดือนตามจดุ ตา่ ง ๆ ของ แชสซีสและตวั ถงั ดงั แสดงในรปู ท่ี 6
173 รูปที่ 6 การกวดขนั นอตและโบลต์ทจ่ี ุดตา่ ง ๆ ของตัวถงั รถยนต์
174 รปู ที่ 6 (ตอ่ )การกวดขนั นอตและโบลต์ท่ีจุดต่าง ๆ ของตัวถงั รถยนต์
175
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161