Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู็ภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมัน1

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู็ภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมัน1

Published by sothisai wirawan, 2022-08-19 06:47:03

Description: ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู็ภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมัน1

Search

Read the Text Version

ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้ ภาษาญ่ปี นุ่ และภาษาเยอรมนั ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สำ�นักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ



คำ�นำ� เมอ่ื เขา้ สศู่ ตวรรษท่ี 21 โลกยง่ิ เหน็ ความส�ำ คญั ของภาษาตา่ งประเทศชดั เจนมากขนึ้ ๆ ควบคู่ ความสำ�คัญของไอซีที เพราะทั้งสองส่ิงนี้เป็นเคร่ืองมือสำ�คัญของโลกาภิวัตน์สำ�หรับเข้าถึงองค์ความรู้ ของโลก รวมทงั้ การเขา้ ถงึ และรว่ มมอื กนั ของผคู้ นตา่ งชาตติ า่ งวฒั นธรรม การรวมกลมุ่ ประเทศเพอื่ พัฒนาเศรษฐกิจและแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างประเทศ นอกจากภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษาสากล จะมบี ทบาทส�ำ คญั แล้ว ภาษาอน่ื กม็ คี วามส�ำ คัญตอ่ การส่ือสารเชน่ กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาของ ประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่จะเพ่ิมความสำ�คัญตามขนาดและอิทธิพลของเศรษฐกิจด้วย ดังนั้น หลักสตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 และฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2551 จงึ ให้ความส�ำ คัญต่อการพฒั นา การเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ โดยกำ�หนดให้ผู้เรียนทุกระดับช้ันต้องเรียนภาษาอังกฤษและ ให้เลือกเรียนภาษาตา่ งประเทศอนื่ ๆ ตามความพรอ้ มของสถานศกึ ษาและความต้องการของผูเ้ รยี น ปัจจุบันภาษาญ่ีปุ่นและภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สองที่เปิดสอนในโรงเรียน ตามนโยบายของรฐั บาลทตี่ อ้ งการสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นและประชาชนมคี วามสามารถใชภ้ าษาตา่ งประเทศ ในการสอื่ สาร เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพดา้ นภาษาของประชาชน อนั เปน็ กลยทุ ธห์ นงึ่ ของการเพมิ่ ขดี ความสามารถ ในการแขง่ ขันของประเทศบนเวทีระหวา่ งประเทศ การพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมันในระบบการศึกษา ข้ันพื้นฐานต้องเป็นไปตามมาตรฐานสาระการเรียนรู้ในหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ท้ังภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมันเป็นวิชาเลือกที่เปิดสอนในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายเป็นส่วนใหญ่ สภาพจริงของการเรียนรู้ไม่ต่อเน่ืองเหมือนเช่นภาษาอังกฤษ ครูผู้สอนและสถานศึกษาจึงประสบความยุ่งยากในการกำ�หนดขอบข่ายและสาระการเรียนรู้ ให้ สอดคลอ้ งกบั ประสบการณข์ องผเู้ รยี น ครจู งึ ตอ้ งการแนวทางทช่ี ดั เจนวา่ ขอบขา่ ยการเรยี นรภู้ าษาญปี่ นุ่ และภาษาเยอรมันในแต่ละระดับชั้นควรมีมากหรือน้อยเพียงใด สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานจึงพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนทั้งสองภาษาให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ดว้ ยการจดั ท�ำ มาตรฐานสาระการเรยี นรภู้ าษาญป่ี นุ่ และภาษา เยอรมันระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานหลักสูตร 3 ปี (ม.4-6) เพ่ือให้สถานศึกษาที่เก่ียวข้องนำ�ไปปรับใช้ ให้เหมาะสมกบั สภาพการเรยี นการสอนของตน สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารหลักสูตรฉบับน้ี จะอ�ำ นวยความสะดวกในการพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาญป่ี นุ่ และภาษาเยอรมนั ในระดบั การศกึ ษา ขนั้ พน้ื ฐานไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ขอขอบคณุ คณะกรรมการและผทู้ ม่ี สี ว่ นรว่ มในการจดั ท�ำ ตวั ชวี้ ดั และสาระ การเรียนรู้ภาษาญ่ีปุ่นและภาษาเยอรมันให้มีความสมบูรณ์และเหมาะสมสำ�หรับการจัดการเรียน การสอนให้ก้าวหน้าสืบไป (นายชินภัทร ภมู ริ ตั น) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน



คำ�ชแ้ี จง เอกสารมาตรฐานสาระการเรียนรู้ภาษาญ่ีปุ่นและภาษาเยอรมันระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับน้ี จัดทำ�ข้ึนตามกรอบมาตรฐาน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้ และรูปแบบตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โดยประยุกต์ ปรับเปลยี่ นและเพม่ิ ตัวอย่างเนือ้ หาใหเ้ หมาะสมกบั การจดั การเรียนการสอนทั้งสองภาษา สาระการเรยี นรภู้ าษาญ่ปี ่นุ และภาษาเยอรมันระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานจัดทำ�เป็นหลักสูตร 3 ปี (ม.4-6) มาตรฐานสาระการเรียนรู้ของหลักสูตรเร่ิมต้ังแต่ระดับพ้ืนฐาน ซึ่งผู้เรียนยังไม่มี ประสบการณ์เรียนภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมันมาก่อน และค่อยๆ เพ่ิมความยากขึ้นตามระดับ พัฒนาการและประสบการณ์อย่างต่อเน่ือง หลักสูตรน้ีจัดทำ�ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่น และภาษาเยอรมนั เปน็ รายช้ันปี ตามสาระการเรยี นร้ทู ง้ั 4 และมาตรฐานการเรียนรทู้ ั้ง 8 มาตรฐาน ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ซ่ึงกำ�หนดไว้เป็นมาตรฐานแกนกลาง สถานศึกษาแต่ละแห่ง อาจกำ�หนดโครงสร้างเวลาเรียนและเป้าหมายความสำ�เร็จไม่เหมือนกัน ดังนั้นจึงต้องประยุกต์ ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพท่ีสถานศึกษากำ�หนด ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นและ ภาษาเยอรมันในแต่ละระดับชั้นถือเป็นแกนหลักรวมของการเรียนรู้ และอาจซำ้�กันได้ในแต่ละ ระดับชั้น ครูผู้สอนควรจะต้องกำ�หนดจุดประสงค์หรือผลการเรียนรู้ พร้อมทั้งเพ่ิมความเข้มข้น และความซับซ้อนของเน้ือหา รวมทั้งความยากง่ายของโครงสร้างทางภาษา ตามระดับความรู้และ ทักษะของผู้เรียน ตัวอย่างที่กำ�หนดไว้ในหลักสูตรเป็นเพียงตัวอย่างเบ้ืองต้นเท่านั้น สถานศึกษา ควรประยุกต์และออกแบบเพม่ิ เติมใหส้ อดคลอ้ งและเหมาะสมกบั เปา้ หมายและผลลพั ธท์ ต่ี อ้ งการ เน่ืองจากเป็นหลักสูตรที่เริ่มตั้งแต่ระดับพื้นฐาน ดังนั้นคณะผู้จัดทำ�หวังเป็นอย่างย่ิงว่า ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ภาษาญ่ีปุ่นและภาษาเยอรมันฉบับนี้ ซ่ึงจัดทำ�ขึ้นโดยประยุกต์ตาม ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรู้ กลุม่ ภาษาตา่ งประเทศ จะอ�ำ นวยความสะดวกใหผ้ สู้ อนเขา้ ใจเปา้ หมาย ของการเรยี นรภู้ าษา และสามารถก�ำ หนดผลการเรยี นรหู้ รอื จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ไดต้ รงตามเปา้ หมาย ของหลักสูตร ครูผู้สอนควรมุ่งจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดทักษะการใช้ภาษาในการสื่อสาร มากกว่าเพียงแคร่ ภู้ าษาเท่านัน้ คณะผจู้ ดั ท�ำ

สารบญั หนา้ คำ�น�ำ 1 คำ�ช้แี จง 1 บทนำ� 2 ความสำ�คญั 2 วสิ ัยทศั น์ 5 เรียนรอู้ ะไรในภาษาญป่ี นุ่ และภาษาเยอรมนั 7 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู ้ 9 ตัวชวี้ ดั ผลลพั ธท์ ี่เกดิ จากการเรียนรู้ 11 รปู แบบการเรียนการสอน 12 แหล่งการเรยี นรู ้ 13 การประเมินผลการเรยี น ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้ภาษาญีป่ นุ่ 41 หลักสตู รพื้นฐาน 3 ปี (ม.4 – ม.6) ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรูภ้ าษาเยอรมัน 92 หลกั สตู รพ้นื ฐาน 3 ปี (ม.4 – ม.6) 94 อภิธานศัพท ์ 95 เอกสารอ้างองิ คณะผู้จดั ท�ำ

บทนำ� ความส�ำ คญั ในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศท่ีสองนอกเหนือจาก ภาษาอังกฤษเป็นส่ิงท่ีมีความสำ�คัญและจำ�เป็นอย่างยิ่งไม่ว่าจะเป็นภาษาตะวันออกหรือภาษาตะวันตก ประเทศไทยต้องเพ่ิมขีดความสามารถของคนในชาติ เพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การเรียนรู้ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ด้วยการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถทางภาษา เพ่ือ ใช้ในดา้ นการสอื่ สาร การศึกษา และการประกอบอาชีพ ดว้ ยเหตุนกี้ ระทรวงศึกษาธกิ ารตระหนักถึง ความส�ำ คญั และเหน็ ความจ�ำ เปน็ จงึ ไดก้ �ำ หนดนโยบายพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาตา่ งประเทศอนื่ ๆ เพ่ือพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สองท่ีสำ�คัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ฝรั่งเศส เยอรมัน สเปน รัสเซีย รวมทั้งภาษาในประเทศอาเซียน ให้มีประสิทธิภาพ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและกา้ วสมู่ าตรฐานอนั เปน็ ทยี่ อมรบั ในระดบั สากล สถานศกึ ษาหลายแหง่ ท้ังภาครัฐและเอกชนได้เปิดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สองเพิ่มมากข้ึน เพ่ือทางเลือก สำ�หรบั ผเู้ รยี นในการเรียนร้ภู าษาต่างๆ ภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมันเป็นอีกสองภาษาท่ีเป็นภาษาทางเลือกสำ�หรับผู้สนใจ ในระดบั โรงเรยี นทเ่ี ปดิ สอนเปน็ โปรแกรม และวชิ าเลอื กส�ำ หรบั นกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เชน่ เดยี วกบั ภาษาตา่ งประเทศอนื่ ๆ เนอื่ งจากทง้ั ประเทศญป่ี นุ่ และเยอรมนั เปน็ ประเทศทเ่ี ตบิ โตและ พัฒนาทางอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างรวดเร็วมาก ทำ�ให้ภาษาญ่ีปุ่นและ ภาษาเยอรมนั เปน็ ทน่ี ยิ มและตอ้ งการของตลาดอาชพี มากขน้ึ การจดั การเรยี นการสอนทงั้ ภาษาญป่ี นุ่ และเยอรมัน สถานศึกษาต่างจัดทำ�หลักสูตรเอง ยังไม่มีหลักสูตรเฉพาะตามมาตรฐานการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ จึงไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาซึ่งเป็น หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ ตระหนักถึง ความสำ�คัญในการพัฒนาหลักสูตรภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมันให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และ เป็นไปตามมาตรฐานสากลของเจ้าของภาษา จึงได้จัดทำ�มาตรฐานสาระการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่น และภาษาเยอรมันระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โดยกำ�หนดตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ เปน็ ชนั้ ปี เพอ่ื เปน็ แนวทางส�ำ หรบั สถานศกึ ษาในการน�ำ ไปออกแบบบทเรยี นและพฒั นาการเรยี นการสอน ภาษาญปี่ ่นุ และภาษาเยอรมนั ให้เหมาะสมกบั ผเู้ รยี นและสภาพการเรยี นการสอนในโรงเรียน ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นร้ภู าษาญีป่ ุ่นและภาษาเยอรมัน 1

วสิ ยั ทศั น์ ใชภ้ าษาส่ือสาร ในสถานการณต์ ่างๆ มีความรคู้ วามเข้าใจ วฒั นธรรมของ ใช้ภาษา วสิ ัยทศั น์เจ้าของภาษา ถา่ ยทอดความรคู้ วามคดิ ใชภ้ าษา และวัฒนธรรมไทย แสวงหาความรู้ ได้อย่างสรา้ งสรรค์ เพอื่ ศึกษาต่อและ มีเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ ภาษา ประกอบอาชพี เรียนรอู้ ะไรในภาษาญ่ีป่นุ และภาษาเยอรมัน จุดมุ่งหมายของการเรียนภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมันตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คือพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะและสามารถส่ือสารขั้นพื้นฐานอย่างมี ประสิทธิภาพตามในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งการฟัง พูด อ่าน เขียน และแสดงออก สามารถใช้ภาษา ในการแสวงหาความรู้ ศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ มีความรู้ความเข้าใจเร่ืองราวและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา เพื่อเข้าถึงปรัชญา วิธีคิด และวิถีชีวิตของคนญี่ปุ่นและเยอรมัน สามารถเปรียบเทียบ และถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยด้วยภาษาญ่ีปุ่นและเยอรมันอย่างสร้างสรรค์ และมีเจตคติ ที่ดีต่อภาษาญ่ีปุ่นและเยอรมัน ดังน้ันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว สาระส�ำคัญในการเรียนภาษา ญี่ปุ่นและเยอรมนั ตามกรอบหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 จึงประกอบดว้ ย P ภาษาเพอื่ การสอื่ สาร การใชภ้ าษาญปี่ นุ่ และเยอรมนั ในการฟงั -พดู -อา่ น-เขยี น แลกเปลย่ี น ขอ้ มูล ข่าวสาร แสดงความรู้สกึ และความคดิ เห็น ตีความ สรุปความ น�ำ เสนอขอ้ มูล ความคิดรวบยอด และความคิดเหน็ ในเรือ่ งต่างๆ รวมทง้ั สร้างความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลอยา่ งเหมาะสม 2 ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรู้ภาษาญปี่ ุ่นและภาษาเยอรมนั

P ภาษาและวฒั นธรรม การใชภ้ าษาญปี่ นุ่ และเยอรมนั ตามแบบแผนและวฒั นธรรมของ เจ้าของภาษา รู้และเข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของภาษา ตา่ งประเทศทเี่ รียนกับของไทย และน�ำ ไปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม P ภาษากับความสัมพันธ์สู่กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน การใช้ภาษาญี่ปุ่นและเยอรมัน ในการเช่ือมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และ เปดิ โลกทัศน์ของตน P ภาษากบั ความสมั พนั ธส์ ชู่ มุ ชนและโลก การใชภ้ าษาญปี่ นุ่ และเยอรมนั ในสถานการณ์ ตา่ งๆ ทง้ั ในหอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น ชมุ ชน และสงั คมโลก เปน็ เครอ่ื งมอื พน้ื ฐานในการศกึ ษาตอ่ ประกอบอาชีพ และแลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ับสงั คมโลก ทั้งนี้ เป้าหมายการเรียนรู้ดังกล่าวกำ�หนดข้ึนตามมาตรฐานการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ดังน้ี สาระที่ 1 ภาษาเพ่อื การสือ่ สาร มาตรฐาน 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดง ความคดิ เหน็ อยา่ งมเี หตผุ ล มาตรฐาน 1.2 มที กั ษะการสอ่ื สารทางภาษาในการแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสาร แสดงความรสู้ กึ และความคดิ เหน็ อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน 1.3 นำ�เสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพดู และการเขียน สาระท่ี 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศ ทเ่ี รยี น และน�ำ ไปใช้ได้อยา่ งเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของ ภาษาตา่ งประเทศทเี่ รียนและวัฒนธรรมของไทย และน�ำ ไปใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ 3 ภาษากับความสมั พนั ธก์ ับกลมุ่ สาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศท่ีเรียนในการเช่ือมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน และเป็นพนื้ ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศนข์ องตน สาระท่ี 4 ภาษากับความสัมพนั ธ์กบั ชมุ ชนโลก มาตรฐาน 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศท่ีเรียนในสถานการณ์ต่างๆ ท้ังในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศที่เรียนเป็นเคร่ืองมือพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ บั สังคมโลก ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นร้ภู าษาญ่ีปุ่นและภาษาเยอรมัน 3

ภาษาญปี่ นุ่ และภาษาเยอรมนั เปน็ ภาษาตา่ งประเทศในจ�ำ นวนหลายภาษาทหี่ ลกั สตู รก�ำ หนด ให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ โดยเริ่มเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปน็ หลกั สตู ร 3 ปี ส�ำ หรบั นกั เรยี นระดบั ชนั้ ม.4-6 ซง่ึ แตล่ ะโรงเรยี นมจี �ำ นวนผเู้ รยี นและจ�ำ นวนคาบเรยี น แตกตา่ งกนั บางแหง่ อาจมาก บางแหง่ อาจนอ้ ย ขนึ้ อยกู่ บั ความพรอ้ มและจดุ เนน้ ของโรงเรยี น ส�ำ นกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานจงึ ออกแบบหลักสูตรภาษาญีป่ ่นุ และภาษาเยอรมนั โดยมเี นื้อหาสาระ สำ�หรับการเรียนรู้ภาษามีรายละเอียดสังเขปดังผังมโนทัศน์ด้านล่าง ในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้ได้ ก�ำ หนดตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ งตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โดยกำ�หนดขอบข่ายการเรียนรู้เป็นรายปี เพื่อให้โรงเรียนได้ พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ พม่ิ พนู ความรคู้ วามสามารถ ทกั ษะการสอื่ สารภาษา และความเขา้ ใจในวฒั นธรรมของ เจ้าของภาษา ตามระดับวยั ของผ้เู รยี น ซ่งึ ซบั ซอ้ นท้งั แนวกว้างและแนวลึก และมคี วามหลากหลาย ทค่ี รอบคลมุ สาระตามผงั มโนทศั น์ รวมทง้ั เปน็ ไปตามหลกั การและมาตรฐานสากลของการเรยี นรภู้ าษา ญี่ปนุ่ และภาษาเยอรมนั ในฐานภาษาต่างประเทศ ผังมโนทัศนข์ องสาระการเรียนรู้พืน้ ฐานภาษาญีป่ ุ่นและภาษาเยอรมนั เข้าใจและมีทักษะทางภาษาในการแลกเปลยี่ น มีความรคู้ วามสามารถในการใชภ้ าษาตา่ งประเทศที่เรียนสืบคน้ และนำ�เสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ขอ้ มูลความร้ตู ามความสนใจในหัวข้อเร่ืองเกยี่ วกับ อย่างเหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ - ตนเอง - ค�ำ ศัพท์ สาระท่ี 1 สาระที่ 3 - ครอบครัว - นำ้�เสียง ภาษาเพ่อื การส่อื สาร ภาษากบั ความสมั พนั ธ์กบั - โรงเรยี น - ประโยคประสม กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน - ส่งิ แวดล้อมรอบตวั - ประโยคซับซอ้ น - อาหาร และเคร่ืองดืม่ - ข้อความท่ีเปน็ ความเรียง - ความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคล ท่มี ตี วั เชอ่ื มข้อความ - เวลาว่างและนนั ทนาการ - ขอ้ ความท่ีไม่เป็นความเรียง สาระการเรยี นรพู้ ้นื ฐาน - การศึกษาและอาชีพ - บทสนทนาทเี่ ปน็ ทางการ - การซ้ือขาย และไมเ่ ปน็ ทางการ - ลมฟา้ อากาศ - การแสดงความรู้สกึ นกึ คิด - การเดินทางทอ่ งเท่ยี ว - การสรปุ ความคิดรวมยอด สาระที่ 4 - การบรกิ าร ภาษากบั ความสมั พนั ธ์ - สถานท่ี - การแสดงความคิดเห็น สาระท่ี 2 - ภาษา กบั ชุมชนและโลก - วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาและวัฒนธรรม - อน่ื ๆ มคี วามรคู้ วามรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับ ใชภ้ าษาภายในและนอกบริบทโรงเรียนเพ่อื - วฒั นธรรมของภาษาตา่ งประเทศทีเ่ รยี น - ขยายเพม่ิ พูนความรู้และแสวงหาความเพลิดเพลิน - ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องเจา้ ของภาษา - ศึกษาตอ่ และเตรยี มเข้าสู่อาชีพ 4 ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาญีป่ นุ่ และภาษาเยอรมนั

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรยี นรเู้ ร่มิ จากระดบั พน้ื ฐานตามสภาพที่เปน็ จรงิ ของนักเรยี นไทย แล้วทวคี วามซบั ซอ้ น ข้ึนท้ังแนวลึกและแนวกว้างตามระดับวัยของผู้เรียน ต้ังแต่เริ่มเรียนรู้และท�ำความเข้าใจเน้ือหา ภาษาง่ายๆ ที่เป็นเร่ืองใกล้ตัวแล้วค่อยๆ ขยายออกในลักษณะซ�้ำแล้วคืบ ผู้เรียนจะเข้าใจกลวิธีการ เรยี นรแู้ ตล่ ะเนอื้ หา การเชอ่ื มโยงขา้ มเนอื้ หา จนถงึ ขน้ั พฒั นาวธิ กี ารเรยี นรทู้ เี่ ปน็ ของตนเอง สามารถ สื่อสารด้วยภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมัน มีความสนุกสนานและความมั่นใจในการเรียนและการใช้ ภาษา เม่ือเรียนรู้ด้วยระยะเวลาที่เพียงพอและครบถ้วนตามมาตรฐานในหลักสูตร เม่ือจบหลักสูตร ผู้เรียนจะมีความรู้ ความสามารถ และทักษะการส่ือสารภาษาญ่ีปุ่นและภาษาเยอรมันในระดับ ทเ่ี ทา่ เทยี มกัน ครูต้องท�ำความเข้าใจหลักสูตรและออกแบบบทเรียนโดยบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้พัฒนาท้ังด้านความรู้ ทักษะ และค่านิยมทางวัฒนธรรมท่ีเหมาะสมกับระดับวัยและ ความสามารถของผู้เรียน จุดรประสงค์การเรียนรู้ท่ีเรามุ่งหวังเพ่ือการพัฒนาจะเกิดผลลัพธ์ใน 3 ลกั ษณะ ได้แก่ ความร้ทู างภาษา ทักษะหรือสมรรถนะ และความเข้าใจในวัฒนธรรมของเจา้ ของ ภาษา ซึง่ สามารถขยายความโดยสงั เขปได้ดังน้ี ความรู้ทางภาษา 1. รู้และเข้าใจการออกเสียง - รู้พยัญชนะและสระ สามารถประสมพยัญชนะกับสระได้ รู้และเข้าใจการออกเสียงต่อเนื่องและการเปลี่ยนเสียง การแยกแยะเสียง สามารถสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างเสยี ง ตวั อักษร และความหมายได้ เม่ือเข้าใจหลักการเบอ้ื งต้นเช่นนี้ จึงสามารถใชเ้ ปน็ ฐาน ในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนในขั้นสูงขึ้นเป็นลำ�ดับได้ จนสามารถออกเสียงได้อย่างคล่องแคล่ว และเป็นธรรมชาติ รวมท้ังออกเสียงด้วยท�ำ นองเสียงและนำ้�หนักเสยี งเพ่อื สอื่ สารความหมายพเิ ศษได้ 2. ร้ตู ัวอักษรและคำ�ศัพท์ - ร้ตู ัวอักษรและคำ�ศัพท์โดยเร่มิ จากส่วนท่ีใช้บ่อยในชีวิตประจำ�วัน สามารถจำ�และอ่านตัวอักษรและคำ�ศัพท์ สามารถแยกแยะเสียงอ่าน รูป และความหมายของ ตัวอักษร เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างตัวอักษรกับคำ�ศัพท์ เข้าใจความหมายของคำ�ศัพท์ในบริบท ต่างๆ เรียนรู้และเพ่ิมพูนคำ�ศัพท์ใหม่ๆ จากเร่ืองใกล้ตัวและเร่ืองราวในชีวิตประจำ�วันจนถึงเร่ืองใน สังคมวงกว้าง และข้ามสาระวิชา สามารถเลือกใช้คำ�ศัพท์เพ่ือส่ือสารและส่ือความหมายในหัวข้อ ต่างๆ ในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายควรรู้และใช้ค�ำ ศัพท์ไมต่ �่ำ กวา่ 1,500 ค�ำ 3. รู้และสามารถใช้ไวยากรณ์ - รู้และเข้าใจหน้าท่ีของคำ�ท่ีใช้บ่อยในชีวิตประจำ�วัน เพราะค�ำ ศพั ทแ์ ตล่ ะค�ำ จะสอ่ื ความหมาย และท�ำ หนา้ ทตี่ า่ งกนั เมอ่ื น�ำ มาเรยี งกนั ตามหลกั ไวยากรณ์ ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้ภาษาญี่ปนุ่ และภาษาเยอรมนั 5

จึงจะส่ือความหมายได้ครบถ้วนและกว้างข้ึน ผู้เรียนจึงต้องรู้และเข้าใจหน้าท่ีของคำ� ได้แก่ คำ�นาม ลกั ษณะนาม สรรพนาม บพุ บท สนั ธาน คณุ ศพั ท์ ค�ำ วเิ ศษณ์ ค�ำ กรยิ า กรยิ าชว่ ย การซ�ำ้ ค�ำ กรยิ า และ รลู้ �ำ ดบั ของค�ำ โครงสรา้ งและรปู ประโยคท่ีใชบ้ อ่ ย ไดแ้ ก่ ประโยคบอกเลา่ ประโยคปฏเิ สธ ประโยค ค�ำ ถาม ประโยคอทุ าน ประโยคเปรยี บเทยี บ ประโยคความรวมประเภทตา่ งๆ ทซ่ี บั ซอ้ นขน้ึ เปน็ ล�ำ ดบั ในบริบทต่างๆ รวมทั้งไวยากรณ์อื่นๆ ท่ีเป็นแบบแผนสำ�หรับการสื่อสารท่ีถูกต้องตามระเบียบวิธี ทางภาษา เพราะเมอื่ ผเู้ รยี นรคู้ �ำ ศพั ทแ์ ละความหมายของค�ำ เหลา่ นน้ั แลว้ ไวยากรณจ์ ะเปน็ สว่ นทจี่ ดั เรยี งคำ�ลงในลำ�ดบั ตามหน้าทท่ี ี่ถูกต้องของคำ�นั้นๆ เพื่อสือ่ ความหมาย ทกั ษะทางภาษา 1. มีสมรรถนะทางภาษา - เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการสื่อสารที่คล่องแคล่วข้ึนเป็น ล�ำดับตามวัยและประสบการณ์ที่ส่ังสม ได้แก่ การทักทาย อ�ำลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย อวยพร เช้ือเชิญ แนะน�ำ สอบถาม เตือน เล่าเร่ือง อธิบาย บรรยาย แสดงอารมณ์ความรู้สึก ท่าที ความคิดเห็น สนทนาโต้ตอบพูดคุยเก่ียวกับการใช้ชีวิต-การเรียน-สถานการณ์-ประเด็นทางสังคม และวัฒนธรรม 2. เข้าใจและสามารถใช้ประเด็นสนทนาจากเรื่องใกล้ตัวในชีวิตประจำ�วัน สู่เร่ืองไกลตัว เช่น ข้อมูลส่วนตัว งานอดิเรก ครอบครัว โรงเรียน ชีวิตการเรียน การดำ�เนินชีวิตในสังคม สภาพแวดล้อม ขนบธรรมเนียมประเพณี ประเด็นเก่ียวกับสังคม ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ สง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ การเมอื ง ทั้งในระดบั ชาติและนานาชาติ เรื่องในอดตี -ปจั จุบัน-อนาคต 3. เข้าใจและสามารถสื่อความหมายตรงตัวและความหมายแฝง จับใจความสำ�คัญ ใช้ภาษากายหรือส่ิงของเพื่อช่วยในการสื่อสารในชีวิตประจำ�วัน เขียนความเรียงและขัดเกลาภาษา ไดอ้ ย่างเหมาะสม ความร้แู ละเขา้ ใจทางวัฒนธรรม 1. รู้และเข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และสามารถเปรียบเทียบความคล้ายคลึง และความแตกตา่ งกบั วัฒนธรรมไทย เชน่ ชนชาติ บคุ คลสำ�คัญ เทศกาล ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชอ่ื ศรทั ธา มารยาท อาหาร การละเลน่ สง่ิ ประดษิ ฐ์ วถิ ชี วี ติ ในอดตี และปจั จบุ นั ประวตั ศิ าสตร์ ภมู ศิ าสตร์ ระบอบการปกครอง และความเปน็ ไปตา่ งๆ ทส่ี ะทอ้ นถงึ ความเปน็ ชนชาตแิ ละวฒั นธรรม ของเจา้ ของภาษา 6 ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรูภ้ าษาญป่ี นุ่ และภาษาเยอรมนั

ตัวชวี้ ัดผลลพั ธ์ที่เกิดจากการเรยี นรู้ ➲ ปฏิบัติตามคำ�ส่ัง คำ�ขอร้อง คำ�แนะนำ�ในคู่มือการใช้งานต่างๆ คำ�ชี้แจง คำ�อธิบาย และค�ำ บรรยายทีฟ่ ังและอา่ น อ่านออกเสียงคำ� ประโยค ขอ้ ความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครสั้นตามหลักการอ่าน อธิบายและเขียนประโยคและข้อความให้สัมพันธ์กับส่ือที่ไม่ใช่ ความเรียงรูปแบบต่างๆ รวมท้ังระบุและเขียนสื่อท่ีไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ ให้สัมพันธ์กับ ประโยคและข้อความท่ีฟังหรืออ่าน จับใจความสำ�คัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ และ แสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเร่ืองที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้เหตุผลและ ยกตัวอย่างประกอบ ➲ สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมลู เกย่ี วกบั ตนเอง เรอื่ งใกลต้ ัว ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม และส่ือสารอย่างต่อเน่ืองและเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ ความช่วยเหลือในสถานการณ์จ�ำลองหรือสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม พูดและเขียนเพื่อขอ และให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น ต่างๆ ข่าว เหตุการณ์ที่ฟังและอ่าน พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็น ของตนเองเกีย่ วกับเรอ่ื งตา่ งๆ กจิ กรรม ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ อย่างมเี หตุผล ➲ พูดและเขียนนำ�เสนอข้อมูลเก่ียวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ เร่ืองและ ประเด็นต่างๆ ตามความสนใจ พูดและเขียนสรุปใจความสำ�คัญ แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์ เร่ือง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถ่ิน สังคม และโลก พร้อมทั้งให้เหตุผล และยกตวั อยา่ งประกอบ ➲ เลือกใช้ภาษา นำ้�เสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล เวลา โอกาส และสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของญ่ีปุ่นและเยอรมัน อธิบายหรืออภิปรายเกี่ยวกับ วิถีชีวิต ความคิด ความเช่ือ และขนบธรรมเนียมและประเพณีของจีน เข้าร่วม แนะนำ� และจัด กจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมอยา่ งเหมาะสม ➲ อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำ�นวน สภุ าษติ และบทกลอนของภาษาญป่ี นุ่ และเยอรมนั กบั ภาษาไทย วเิ คราะห/์ อภปิ รายความเหมอื นและ ความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเช่ือ และวัฒนธรรมของญี่ปุ่นและเยอรมันกับของไทย และนำ� ไปใชอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาญปี่ นุ่ และภาษาเยอรมัน 7

➲ ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เก่ียวข้องกับ กลมุ่ สาระการเรียนรูอ้ น่ื จากแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ และน�ำ เสนอด้วยการพดู และการเขียน ➲ ใช้ภาษาญ่ีปุ่นและภาษาเยอรมันส่ือสารในสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จำ�ลองท่ีเกิดขึ้น ในห้องเรียน สถานศึกษา ชมุ ชน และสังคม ➲ ใช้ภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมันสืบค้น ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์และสรุปความรู้ หรือข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่/ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน ท้องถ่ิน และประเทศชาติเป็นภาษาญี่ปุ่นและ ภาษาเยอรมนั ➲ มีทักษะการใช้ภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมัน (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) ส่ือสารตาม หวั เรอ่ื งเกยี่ วกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น สง่ิ แวดลอ้ ม อาหาร เครอ่ื งดม่ื ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซ้ือ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานท่ี ภาษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอ่ืนๆ ที่จำ�เป็น ตามสถานการณ์ ➲ ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อนส่ือความหมายตามบริบทต่างๆ ในการสนทนา ทง้ั ทเี่ ป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ 8 ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรภู้ าษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมัน

รปู แบบการเรยี นการสอน ➲ การเรียนรู้ภาษาญ่ีปุ่นและภาษาเยอรมันให้ได้ผลดีครูต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้นักเรียนได้ฝึกฝนทักษะอย่างต่อเนื่องจึงจะเกิดการพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะในการ ใช้ภาษา รูปแบบการเรียนการสอนควรหลากหลายและดึงดูดความสนใจของผู้เรียน การกำ�หนด หัวข้อเป็นเร่ืองๆ และการกำ�หนดสถานการณ์ แล้วสอนภาษาให้สอดคล้องกับเร่ืองหรือสถานการณ์นั้น จะสง่ ผลใหเ้ รียนร้ภู าษาแบบสื่อสารไดเ้ รว็ ขึ้น เพราะสถานการณ์จะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจและจดจ�ำ ในแต่ละ สถานการณ์ครูสามารถผสมผสานการสอนทั้งคำ�ศัพท์ (เสียงและความหมาย) โครงสร้างหรือ ไวยากรณท์ เี่ กย่ี วขอ้ ง และวฒั นธรรม ตามบรบิ ทของสถานการณ์ได้ พรอ้ มฝกึ ทกั ษะการฟงั -พดู -อา่ น- หรือเขียนให้เหมาะสมกับบทเรียน ส่วนวิธีสอนขึ้นอยู่กับบริบทของเน้ือหาและจุดประสงค์ที่ต้องการ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้ในลกั ษณะใดบ้าง ดังน้ันครคู วรเลือกหรือก�ำ หนดวธิ สี อนให้เหมาะสม เช่น l อธบิ าย l ใหฟ้ งั เสยี งที่คล้าย/ ต่าง l แสดง/ สาธิตใหด้ ู l ให้ท่องจ�ำ คำ�ศัพท์ l จำ�ลองสถานการณ์ l ใหฝ้ กึ ซ้�ำ / ทำ�แบบฝกึ หดั ลักษณะตา่ งๆ l ยกตวั อย่าง l ใหจ้ ดจ�ำ ลักษณะเฉพาะหรอื ขอ้ ยกเว้นต่างๆ l เชือ่ มโยงและเปรียบเทียบ l ให้อ่านออกเสียง l ถาม-ตอบ l ให้พดู +เขียนตามโครงสร้างทกี่ �ำ หนด และ l นำ�ขอ้ ผดิ พลาดมาอธบิ ายซ�ำ้ เปลยี่ นคำ�ศัพท์โดยใช้โครงสรา้ งเดิม l ใหส้ บื ค้นคำ�ศัพท์หรอื เรอื่ ง l ให้โต้ตอบบทสนทนาเปน็ คูห่ รอื กลุ่ม จากสิ่งพมิ พห์ รือเวบ็ ไซต ์ l ใชเ้ กม/ เพลง l ใหอ้ ธบิ าย/ อภิปรายภาพน่งิ หรือภาพเคลอ่ื นไหว ➲ การเตรยี มบทอา่ นหรอื เรอ่ื งใหน้ กั เรยี นฟงั และอา่ น ครคู วรเตรยี มค�ำ ถามและค�ำ ตอบตาม เนอ้ื หาดว้ ย และอธบิ ายค�ำ ศพั ทย์ ากๆ เพอื่ ขยายความรคู้ วามเขา้ ใจ และใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สดงความคดิ เหน็ ➲ การสร้างสิ่งแวดล้อมการเรียนภาษาให้เร้าใจ มีกิจกรรมเคล่ือนไหว รวมถึงการใช้ส่ือ ประกอบท่ีเป็นภาพและของจริง ตลอดจนจัดการเรียนรู้นอกชั้นเรียนจะเพ่ิมบรรยากาศการเรียนรู้ สู่ผลลัพธ์ท่ดี ี ➲ การใช้ส่ือ ICT จะช่วยอำ�นวยความสะดวกในการสอนและเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนรู้ สามารถนำ�สถานการณ์เสมือนจริงเข้ามาประกอบในบทเรียนได้ และออกแบบกิจกรรมการเรียน การสอนไดอ้ ย่างหลากหลาย ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นร้ภู าษาญปี่ ่นุ และภาษาเยอรมัน 9

➲ การจัดเวทีให้นักเรียนแสดงออกทางความรู้และทักษะภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมัน รวมท้ังการส่งเสริมกิจกรรมนอกสถานศึกษาจะช่วยเพ่ิมโอกาสให้เด็กได้พัฒนาสมรรถนะและเห็น ศกั ยภาพของตนเองไดช้ ดั ขนึ้ เชน่ การประกวด-แขง่ ขน้ พดู –อา่ น-เขยี น-กลา่ วสนุ ทรพจน์ รอ้ งเพลง และการแสดงทางวฒั นธรรม ➲ หวั ข้อทั่วไปท่นี ิยมก�ำ หนดในการเรียนรภู้ าษาญป่ี ุ่นและเยอรมนั l ตนเอง l การศกึ ษา l บ้าน - ครอบครวั l อาชพี l โรงเรียน l การทอ่ งเทยี่ ว l ธรรมชาต–ิ สง่ิ แวดล้อม l อาหาร – เครื่องด่ืม l สถานท ี่ l ลมฟ้าอากาศ l สุขภาพ–สวัสดิการ l เวลาว่าง – นนั ทนาการ l การซ้ือขาย l การบริการ l อารมณ์ – ความรู้สึก l ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล l ภาษา l วิทยาศาสตร์ l เทคโนโลยี 10 ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนร้ภู าษาญ่ปี ุ่นและภาษาเยอรมัน

แหลง่ การเรียนรู้ สื่อการเรียนการสอนและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ที่ครูผู้สอนสามารถแนะนำ�ผู้เรียนให้ใช้ ประโยชน์เพื่อการศึกษาค้นคว้า เรียนรู้ และเพิ่มพูนฝึกฝนทักษะทางภาษาเพิ่มเติมนอกเหนือจาก การเรียนในช้ันเรยี นไดอ้ กี หลายรายการทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศกึ ษา มีดังนี้ บุคคล ส่อื /หนังสือ/เอกสาร สถานท่ี - ครูผ้สู อน - หนงั สอื ตำ�รา (Textbooks) - ห้องสมุดโรงเรยี น - ครเู จา้ ของภาษา - หนังสอื อา้ งองิ (Dictionaries) - ห้อง Lap ทางภาษา - เพอื่ นร่วมช้ันเรียน - หนังสือสารคดี นยิ าย บทละคร - ห้องสมุดหมวดวชิ า - พอ่ แม่ ผู้ปกครองและสมาชกิ - สอ่ื จรงิ (Authentic materials) : - มมุ ภาษา ในครอบครวั ● แผ่นพับ - หอ้ งศูนย์การเรียน - วทิ ยากรท้องถนิ่ /ภูมปิ ญั ญาไทย ● ใบปลิว - เจ้าของภาษาทีอ่ าศัยอยู่ใน (Self access) ท้องถน่ิ ● โฆษณา - สถานท่ีท�ำ การตา่ งๆ ท้ังภาครฐั - เพื่อนชาวต่างประเทศ ● โปสเตอร์ ภาคเอกชน และวสิ าหกิจ เชน่ Pen-pal / e- pal ● แผนท่ี แผนภมู ิ การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย ● สญั ลกั ษณ์ เคร่ืองหมาย ท่าอากาศยาน โรงแรม ● รายการวทิ ยุ ทวี ี ธนาคาร กรมประชาสมั พนั ธ์ ● ภาพยนตร/์ เพลง หา้ งร้าน รา้ นค้า บรษิ ทั - สื่อเทคโนโลยี : ร้านหนังสือ ศูนย์หนงั สือ ฯลฯ ● คอมพวิ เตอร์ - สถานทท่ี อ่ งเท่ยี วต่างๆ ● ดวี ีดี/ วดิ ีโอ/ วซี ีดี ทีช่ าวตา่ งประเทศสนใจเข้าไป ● Software เยยี่ มชมเป็นประจำ� เช่น ● Interactive media วดั พพิ ิธภัณฑ์ โบราณสถาน ● Online resources เช่น วนอุทยาน ฯลฯ http://www.google.com - สถานทตู ประเทศตา่ งๆ - องคก์ รระหวา่ งประเทศ ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาญ่ีป่นุ และภาษาเยอรมัน 11

การประเมนิ ผลการเรียน 1. การประเมินผลการเรียนของผู้เรียนต้องประเมินตามมาตรฐานการวัดระดับความรู้ ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรภู้ าษาญป่ี นุ่ และภาษาเยอรมัน เพือ่ บรรลมุ าตรฐานการเรียนรู้ กลมุ่ สาระ การเรียนรู้เพิ่มเติม (ภาษาญี่ปุ่นและภาษาเยอรมัน) ตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2. ใช้รูปแบบวิธีการประเมินท่ีหลากหลายเพื่อให้เหมาะสมกับเน้ือหา วิธีการสอน และ สอดคลอ้ งกบั ตัวชว้ี ัด ตามลกั ษณะการประเมินผลทางภาษา ดังแผนภูมกิ ารประเมินผล 1 3. การประเมินผลการเรียนของผู้เรียนต้องเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริม และให้กำ�ลังใจ ผู้เรียน พัฒนาการเรียนภาษาโดยพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ ความคิดของผู้เรียน รวมท้ัง มกี ารวเิ คราะห์ผลประเมินเพ่อื พัฒนาและปรบั ปรงุ การเรยี นการสอน แผนภมู ิการประเมินผล 1 (Assessment Profile) การสนทนา (Conโvคeรrงsงaาtนion(P) ro▲iects) (S▲ขtอ้aทndดaสrอdบizมeาdตรTฐeาsนts) การวาดภาพ (Drawing) ▲ ข้อทดสอบท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ ▲ ▲ (End-Of-Unit Tests) การสาธิต (Demonstration) ▲ การเขยี นเรยี งความ (Essay) ▲ ว(ดี Vิทidศั eนo์//แAถuบdบioนั /Tทaึกpเสesยี )ง ▲ การปฏิบตั ิจรงิ ขอ้ ทดสอบท่วั ไป ▲▲(Tขeอ้acทhดeสrอMบทadค่ี eรทู T�ำ eขsึ้นts) สุนทรพจน์ (Speeches) Paper-and- ▲ (Eกxาpรeทriดmลeอnงts)▲ Performance Pencil Tests ▲ (WกาrรitเtขeียnนRรeายpoงาrtนs)▲ OกbPsาeรeกrสrcvางั eaรเpรtกiับtoตioรnแู้nลasะnd กาCรoสmP่ือemบสrคุusาnคoรiรลncะaatหlioวn่าง (Smกaาllร-Gอภroปิ uรpายDกiลscมุ่ uยsอ่ sยions) การโตว้ าที (Debates) (Jouบrnนั aทl/กึ LกeาaรrเnรinียgนรLู้ og) ▲ (Cปlaฏsสิ sัมroพoนั mธ์ใIนntชeั้นraเรcยีtiนon) ▲ ▲ ▲ (BehบaันviทoึกrพOฤbตsกิ eรrvรaมtion) ▲ การสมั ภาษณ์ (Interviews) (Studeกnาt รPมaีสrว่tiนciรpว่ aมtiขoอnง/Iผnเู้vรoียlvนement) แฟ้มผลงาน (Portfolios) ▲ ปรบั จากแผนภูมขิ อง Heartland AEA (อ้างถึงใน Helena Curtain 2000) 12 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาญ่ีปนุ่ และภาษาเยอรมนั

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ ภาษาญี่ปุ่น หลักสูตรพื้นฐาน 3 ปี (ม.4 - ม.6) ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาญ่ีปุ่นและภาษาเยอรมัน 13



สาระท่ี 1 ภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตคี วามเรอ่ื งทฟ่ี งั และอา่ นจากสอ่ื ประเภทตา่ งๆ และแสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมีเหตุผล ชนั้ ตัวช้ีวดั ชน้ั ป ี สาระการเรียนรู้ภาษาญป่ี นุ่ ม. 4 1. ปฏิบตั ติ ามคำ�ส่งั และ  ค �ำ สั่ง ค�ำ ขอรอ้ งท่ีใช้ในห้องเรยี นและ คำ�ขอรอ้ งงา่ ยๆ ท่ีฟงั ในชวี ติ ประจ�ำ วัน หรอื อ่าน ตัวอย่าง 2. อ่านออกเสียงตวั อักษร คำ� กลมุ่ คำ� ประโยค และ - きりつ・れい・ちゃくせき ข้อความงา่ ยๆ ถกู ต้อง ตามหลกั การอา่ น - …………..てください。เชน่ 見てください。 - はじめましょう。 - Nをください。  ตวั อักษรฮริ างานะ คาตาคานะ และคนั จิ  ห ลกั การอ่านออกเสยี งตวั อกั ษรค�ำ กลมุ่ ค�ำ ประโยค และข้อความ ตัวอย่าง - ตัวอกั ษร: あ~ん、ア~ン, อักษรคนั จเิ บ้อื งต้น เช่น 日、本、人 - เคร่อื งหมาย ゛てんてん)และ ゜(まる) - เสียงกกั (เสียง っเล็ก) - เสยี งยาว - เสียงควบ (เสียงゃ、ゅ、ょเลก็ ) - เสยี งสูงต่ำ�ระหวา่ งพยางค์ภายในคำ� : あ め (ฝน) あ め (ลูกกวาด) - เสียงสูง-ตำ่�ในประโยค : お名前は。(  )   ああ、あそこですか。(   ) ▲ ▲ ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาญป่ี นุ่ และภาษาเยอรมัน 15

ช้นั ตวั ชีว้ ดั ชนั้ ปี สาระการเรียนร้ภู าษาญปี่ ุ่น 3. เลือกและระบภุ าพตรงตาม  ค ำ� กลุ่มคำ� ประโยคหรอื ข้อความ เก่ียวกบั เรือ่ ง ความหมายของค�ำ กลมุ่ คำ� ใกล้ตวั เชน่ ตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น อาหาร ประโยค และข้อความสั้นๆ เครื่องดม่ื  ค�ำ ศัพท์ 300 - 500 ค�ำ ทีฟ่ ังหรืออา่ น  อกั ษรคนั จิ 50 - 80 ตวั ตัวอย่าง - わたしはいつも6時に起きます。 - この学校の校庭は広いです。 - 学校へ行きます。 4. ตอบค�ำ ถามจากการฟงั - 上 の兄はピアノをひくことができます。 และอา่ นประโยค บทสนทนา ข้อความ  ประโยค บทสนทนา ขอ้ ความ บทอ่านส้ันๆ หรอื บทอา่ นส้ันๆ  ป ระโยคคำ�ถามแบบตอบรับ/ปฏเิ สธ แบบใหเ้ ลอื ก และแบบท่มี ีคำ�แสดงคำ�ถาม ตวั อยา่ ง - 日本人ですか。 - 日本人ですか、タイ人ですか。 - どこへ行きますか。 - だれ・何・どこ・いつ・どうやって・どちら・ どう・ - どんな+N・どの+N・ - どれ・どのぐらい ม. 5 1. ปฏิบตั ติ ามคำ�สัง่ ค�ำ ขอรอ้ ง  ค ำ�สงั่ ค�ำ ขอร้อง ค�ำ แนะน�ำ ค�ำ อธิบาย และ ค�ำ แนะนำ� ค�ำ อธิบาย และ คำ�บรรยาย คำ�บรรยายทีฟ่ งั และอา่ น ตวั อยา่ ง - 聞いてください。 - かしてくださいませんか。 - 飲まないでください。 - 休んだほうがいいです。 16 ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้ภาษาญป่ี ุน่ และภาษาเยอรมนั

ชั้น ตัวช้ีวัดช้ันป ี สาระการเรียนรูภ้ าษาญปี่ ่นุ - 出かけないほうがいいです。 2. อ่านออกเสยี งคำ� กลุ่มค�ำ ▲ ประโยค ข้อความ และ - 先生にそうだんしたらいいですよ。 บทอา่ นส้นั ๆ ถูกต้องตาม หลกั การอ่าน ค�ำ แนะนำ�ในฉลากยา เชน่ 3. อธบิ ายหรอื เขียนประโยค - 一日に二回 薬を飲んでください。 และขอ้ ความใหส้ มั พนั ธ์ กบั สอื่ ท่ีไม่ใชค่ วามเรยี ง - 朝 ご飯の後と、晩ご飯の後です。 รูปแบบต่างๆ ท่อี า่ น รวมท้ังระบุและเขยี นสื่อ คำ�อธบิ ายในการทำ�ส่ิงใดสงิ่ หนึง่ เช่น การทำ�อาหาร ที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบ ต่างๆ ให้สัมพนั ธ์กบั - 初めにえびをあらいます。 ประโยคและข้อความ ท่ีฟังหรอื อา่ น ค�ำ บรรยายลักษณะบคุ คลและสงิ่ ของ เชน่ - 新 しい先生はかみが長くてめがねをかけてい ます。  ค ำ� กลมุ่ ค�ำ ประโยค ข้อความ และบทอ่านส้ันๆ  ห ลกั การอ่านออกเสยี ง เชน่ การออกเสียงตามระดบั สูงต�ำ่ ในพยางค์ คำ� กลุ่มค�ำ ประโยคหรอื ข้อความ ตวั อยา่ ง - A: それは何ですか。 B: これですか。(   )とけいです。  ป ระโยคและข้อความที่เกยี่ วกับเรอื่ งใกลต้ วั เชน่ ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน อาหาร เคร่อื งดม่ื สขุ ภาพ การเดินทาง การท่องเที่ยว ลมฟา้ อากาศ การซ้อื -ขาย งานอดเิ รก การแตง่ กาย  ค �ำ ศัพท์สะสม 500 – 1000 ค�ำ  อ ักษรคนั จิสะสม 80 - 250 ตัว  ส อื่ ท่ีไม่ใช่ความเรียง เชน่ ภาพ กราฟ แผนภมู ิ แผนผงั แผนท่ี ตาราง สัญลักษณ์ เครื่องหมาย ตัวอยา่ ง - まっすぐ行ってください。 - しゅみはゲームをすることです。 - 白いシャツを着ています。 ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนร้ภู าษาญีป่ นุ่ และภาษาเยอรมัน 17

ชนั้ ตวั ช้ีวัดช้ันป ี สาระการเรียนรูภ้ าษาญีป่ ุน่ 4. จบั ใจความสำ�คญั และ  บ ทสนทนา บทอ่านสัน้ ๆ เรือ่ งเลา่ เชน่ อเี มล์ ม. 6 ตอบคำ�ถามจากการฟัง จดหมาย ป้ายประกาศ บนั ทกึ ประจำ�วนั บันทึกชว่ ยจ�ำ และอ่านบทสนทนา บทอา่ นสั้นๆ และเรอื่ งเลา่  ก ารจับใจความส�ำ คัญ เชน่ หัวข้อเรื่อง ใจความสำ�คญั รายละเอียดสนบั สนนุ 1. ปฏบิ ัติตามคำ�แนะนำ� คำ�ชี้แจง ค�ำ อธบิ าย และ  ค �ำ ถามเก่ยี วกบั ใจความสำ�คญั ของเร่อื ง เชน่ ใคร ค�ำ บรรยายท่ฟี ังและอา่ น ทำ�อะไร ท่ีไหน เมื่อไร อย่างไร ทำ�ไม ใช่หรือไม่ 2. อา่ นออกเสยี งขอ้ ความ ตวั อย่าง ขา่ ว ประกาศ โฆษณา บทรอ้ ยกรอง และนิทาน - どうしてですか。 ถูกต้องตามหลกั การอ่าน - どうしたんですか。 3. อธบิ ายและเขียนประโยค ข้อความใหส้ มั พันธก์ บั ส่อื - どちらが長いですか。 ท่ีไม่ใช่ความเรียง รปู แบบ ต่างๆ ทีอ่ า่ น รวมทั้งระบุ - どれが一番好きですか。 และเขียนสอื่ ที่ไม่ใช่ ความเรยี งรปู แบบต่างๆ  ค ำ�แนะนำ� ค�ำ ชแี้ จง คำ�อธิบาย และคำ�บรรยาย ให้สัมพนั ธ์กบั ประโยคและ ตวั อยา่ ง ข้อความทฟ่ี ังหรอื อ่าน - きかいの説明 - 学校のきそく  ข อ้ ความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และ นิทาน  ห ลกั การอ่านออกเสยี ง เชน่ การออกเสียงตามระดบั สงู ต�่ำ ในประโยคหรือขอ้ ความ ขา่ ว ประกาศ โฆษณา บทรอ้ ยกรอง และนิทาน  ป ระโยคและขอ้ ความที่เกย่ี วกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรียน ชุมชน สิ่งแวดล้อม สุขภาพ การเดินทาง การทอ่ งเท่ียว ลมฟา้ อากาศ การซื้อ-ขาย งานอดเิ รก การแต่งกาย เทศกาล การศึกษา อาชพี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ  ค �ำ ศพั ท์สะสม 1,000- 1,500 คำ�  อ กั ษรคนั จิสะสม 250 - 300 ตวั  ส อ่ื ท่ีไม่ใชค่ วามเรียง เช่น ภาพ กราฟ แผนภูมิ แผนผงั แผนที่ ตาราง สญั ลกั ษณ์ เคร่อื งหมาย 18 ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนร้ภู าษาญีป่ ่นุ และภาษาเยอรมนั

ชั้น ตวั ชี้วัดชนั้ ป ี สาระการเรยี นร้ภู าษาญ่ีป่นุ ตวั อย่าง - 新聞によると北海道で地震があったそうです。 - ごみがふえてきました。これ からもふえていくと思います。 - ファーストフードばかり食 べるのは体にわるいです。 4. จับใจความส�ำ คัญ  บ ทอ่าน บทสนทนา นทิ านง่ายๆ และเร่อื งเลา่ วิเคราะหค์ วาม สรุปความ  ก ารจบั ใจความส�ำ คญั การวเิ คราะหค์ วาม การสรปุ ความ ตีความ และแสดง การตีความ ความคิดเห็น จากการฟงั  ค �ำ ถามเก่ียวกบั ใจความสำ�คัญ เช่น และอ่านบทอา่ น บทสนทนา ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน เมอื่ ไร อย่างไร ท�ำ ไม ใชห่ รือไม่ นิทานง่ายๆ และเรื่องเล่า  ป ระโยคท่ีใช้ในการแสดงความคิดเห็น สรปุ ความ พร้อมทัง้ ให้เหตุผลและ การให้เหตุผล และการยกตัวอย่าง ยกตัวอย่างประกอบ ตวั อยา่ ง - パイロットやがいこうかんのような仕事です。 - どうして交通じゅうたいがひどくなったん ですか。 - たばこをすわない人はこれからもふえてい くと思います。 - す てきなかばんですね。チェンマイで買っ たんですか。 - 将来外国へいける仕事したいと思っています。 たとえば、 パ イロットやがいこうかんのような仕事です。 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรภู้ าษาญ่ีป่นุ และภาษาเยอรมนั 19

สาระท่ี 1 ภาษาเพ่ือการสือ่ สาร มาตรฐาน ต 1.2 มที กั ษะการสอื่ สารทางภาษาในการแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ขา่ วสาร แสดงความรสู้ กึ และความคดิ เหน็ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ชน้ั ตัวชีว้ ดั ชน้ั ป ี สาระการเรยี นรภู้ าษาญ่ปี ุน่ ม. 4 1. พดู โตต้ อบดว้ ยคำ�สนั้ ๆ  ภ าษาท่ีใช้ในการสือ่ สารระหว่างบุคคล เชน่ งา่ ยๆ ในการแลกเปลยี่ น ค�ำ ทกั ทายในโอกาสต่างๆ ค�ำ ขอบคณุ ขอโทษ ข้อมูลเก่ียวกบั ตนเอง การชกั ชวน เรอ่ื งต่างๆ ใกล้ตวั และ สถานการณ์ในชีวติ  ภ าษาท่ีใช้บอกขอ้ มูลเก่ียวกับตนเอง เรือ่ งต่างๆ ประจ�ำ วัน ใกลต้ ัว และสถานการณ์ในชีวิตประจำ�วนั เชน่ การแนะน�ำ ตวั เองและผ้อู นื่ การแนะน�ำ โรงเรียน 2. เลอื กและใช้ค�ำ สงั่ กจิ วตั รประจ�ำ วัน คำ�ชกั ชวน คำ�ขอร้องงา่ ยๆ ตัวอยา่ ง 3. พดู และเขยี นแสดงความ ต้องการของตนเองงา่ ยๆ - おはようございます。 - はじめまして。よろしくおねがいします。 - 日本語のきょうしつはにかいにあります。 - 六時におきます。 - A:一緒に映画を見に行きませんか。 B : ええ、いいですね。行きましょう。  ค ำ�ส่งั ค�ำ ชกั ชวน ค�ำ ขอร้องง่ายๆ ตัวอยา่ ง - すわってください。 - コーラをください。 - A : いっしょに日本料理を作りませんか。 B: はい、作りましょう。  ภ าษาท่ีใชแ้ สดงความต้องการในสถานการณ์ตา่ งๆ ตวั อย่าง - A:飲み物は何にしますか。 B:私はコーラにします。 - 白いかばんをください。 20 ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรู้ภาษาญ่ปี นุ่ และภาษาเยอรมนั

ช้ัน ตวั ช้วี ัดชัน้ ป ี สาระการเรยี นรู้ภาษาญป่ี นุ่ 4. พูดและเขยี นเพ่อื ขอและ  ภ าษาท่ีใชข้ อและให้ขอ้ มลู เกี่ยวกับตนเอง เพอ่ื น ใหข้ อ้ มลู เกี่ยวกบั ตนเอง ครอบครวั และเรื่องใกลต้ ัว เพอื่ น ครอบครวั และ ตวั อย่าง เรอ่ื งใกลต้ ัว - お名前は。 - 何人兄弟ですか。 - 妹は目が大きいです 。 - A さんは英語が好きです。 /上手です。 - 学校はチェンマイにあります。 5. พ ดู และเขยี นแสดงความ  ภ าษาท่ีใช้ในการแสดงความรู้สึกของตนเองเกยี่ วกับ รสู้ กึ ของตนเองเกีย่ วกับ เรือ่ งใกลต้ วั และกิจกรรมตา่ งๆ เรื่องใกลต้ วั และกจิ กรรม ตัวอย่าง ตา่ งๆ - A: りょこうはどうでしたか。 B: たのしかったです。 - A: タイ語はやさしいです。 日本語はどうですか。 B: 日本語もやさしいです。 ม. 5 1. สนทนาและเขียนโตต้ อบ  ภ าษาท่ีใช้ในการส่อื สารระหว่างบคุ คล เช่น เกีย่ วกับตนเอง เรอ่ื งใกล้ตวั การแลกเปล่ียนขอ้ มลู เกีย่ วกบั ตนเอง เรอื่ งใกลต้ ัว สถานการณ์ในชวี ิตประจำ�วัน สถานการณต์ ่างๆ ท้ังในภาษาพดู และภาษาเขียน ประสบการณ์ และสื่อสาร  ข อ้ มลู เก่ยี วกบั ตนเอง บุคคล กจิ กรรม ประสบการณ์ อย่างตอ่ เน่อื งและเหมาะสม สถานการณ์ตา่ งๆ เหตุการณ์ ประเด็นท่ีกำ�ลงั อยู่ ในความสนใจ ตัวอย่าง - カ メラを買いたいんですが….どこで買ったら いいですか。 - す みません、一番ラーメンレストランはどこ ですか。 - 日 本へ行ったことがありますか。 ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรภู้ าษาญ่ีปนุ่ และภาษาเยอรมนั 21

ชัน้ ตวั ช้ีวดั ชัน้ ปี สาระการเรยี นรภู้ าษาญี่ปนุ่ - からいものが食べられます。 - 家 族の中で父が一番やさしいです。 - 今何をしていますか。 - A:トムヤムクンの作り方を知っていますか。 B: はい、知っています/いいえ、知りません。 教えてください。 - 日本の文学の勉強をしたいと言っていました。 - 何と書いてありますか。 2. เลือกและใชค้ ำ�ขอรอ้ ง  ค ำ�ขอร้อง ค�ำ แนะน�ำ คำ�ขออนญุ าต คำ�ช้ีแจง ให้ค�ำ แนะนำ� ค�ำ ขออนญุ าต ค�ำ อธบิ ายในสถานการณ์ตา่ งๆ ค�ำ ชีแ้ จง และคำ�อธิบาย ตวั อยา่ ง ตามสถานการณ์อยา่ ง - A: まどを閉めてくださいませんか。 เหมาะสม B: はい、いいですよ。 - A : この本をかしてくださいませんか。 B: すみません。今、ちょっと。。。 - A: ケーキを買いたいんですが。。。 B: ケーキならABC屋で買ったらいいですよ。 - は じめに、つぎに、それから、さいごに  3. พดู และเขียนแสดง  ภ าษาท่ีใชแ้ สดงความต้องการ ขอและให้ ความต้องการขอและให้ ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏเิ สธการให้ ความช่วยเหลือ ตอบรับ ความชว่ ยเหลือในสถานการณ์ตา่ งๆ และปฏเิ สธการให้ความ ตวั อยา่ ง ชว่ ยเหลอื ในสถานการณ์ - じしょを借りたいんですが。。。 ต่างๆ อยา่ งเหมาะสม - A : ゲームのやり方をおしえてくださいませんか。 B: すみません。わたしもわかりません。 - 先生にもう一度説明してもらいます。 22 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรภู้ าษาญ่ปี ุ่นและภาษาเยอรมนั

ชน้ั ตวั ช้วี ัดช้ันป ี สาระการเรยี นรู้ภาษาญ่ีปุ่น 4. พดู และเขยี นเพอ่ื ขอและ  ภ าษาท่ีใช้ขอและให้ข้อมลู บรรยาย อธิบาย และ ใหข้ อ้ มลู บรรยาย อธิบาย เปรยี บเทยี บเกี่ยวกบั เรอ่ื งท่ีฟงั หรืออา่ น และเปรียบเทยี บเกยี่ วกับ ตวั อยา่ ง เร่ืองที่ฟังหรอื อา่ นอย่าง - A:すみません、本やはどこですか。 เหมาะสม B :一つ目のかどを右にまがってください。 - A:すいかとぶどうとどちらが高いですか。 B :ぶどうのほうがすいかより高いです。 - A :日本りょうりの中で何が一番好きですか。 B:さしみが一番好きです。 5. พดู และเขยี นบรรยาย  ภ าษาท่ีใช้ในการแสดงความร้สู กึ ของตนเองเก่ยี วกบั แสดงความร้สู ึกของตนเอง เรอื่ งใกลต้ ัว กิจกรรม ประสบการณ์ และให้เหตุผล ประกอบ เกยี่ วกบั เรอื่ งใกล้ตัว กิจกรรม และประสบการณ์ ตัวอย่าง อยา่ งมีเหตุผล - 道 がこんでいたので、おくれました。 - てつだってくれて、ありがとう。 - おそくなって、すみません。 - A :昼ごはんを食べませんでしたね。   どうしてですか。 B:おなかがいたいですから。 - A:どうしたんですか。 B:かぜをひいたんです。 ม. 6 1. สนทนาและเขยี นขอ้ มลู  ภ าษาที่ใช้ในการสอ่ื สารระหวา่ งบคุ คล เชน่ เก่ียวกับตนเอง เรอ่ื งต่างๆ การแลกเปลีย่ นข้อมูลเกยี่ วกับตนเอง เร่อื งตา่ งๆ ใกลต้ ัว ประสบการณ์ สถานการณข์ ่าว/เหตุการณ์ ใกล้ตวั ประสบการณ์ สถานการณ์ ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ และประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม ประเด็นท่ีอยู่ในความสนใจ  ข้อมลู เก่ยี วกับตนเอง บคุ คล กจิ กรรม ประสบการณ์ สถานการณข์ า่ ว เหตกุ ารณ์ ประเด็นท่อี ยู่ใน ของสังคม และส่ือสาร อยา่ งตอ่ เนอื่ งและเหมาะสม ความสนใจของตนเองและสังคม ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาญี่ปนุ่ และภาษาเยอรมนั 23

ชน้ั ตวั ช้วี ัดช้นั ปี สาระการเรยี นรู้ภาษาญปี่ นุ่ 2. เลือกและใช้คำ�ขอรอ้ ง ตวั อยา่ ง ค�ำ แนะน�ำ ค�ำ ขออนุญาต ค�ำ ชี้แจง ค�ำ อธิบาย - テレビによると中国で地震があったそうです。 ไดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่ - 社会問題ついて書いてください。 3. พูดและเขยี นแสดงความ ตอ้ งการ ขอและเสนอให้ - A :ニュースによるとさいきん、 ความชว่ ยเหลอื ตอบรบั และปฏเิ สธการให้ความ けいたい電話を持っている ช่วยเหลือในสถานการณ์ จำ�ลองหรือสถานการณ์ 高 校生がふえるそうです。 จรงิ อยา่ งเหมาะสม これについてどう思いますか。 B:便利でいいと思います。  ค �ำ ขอร้อง ค�ำ แนะนำ� ค�ำ ขออนญุ าต คำ�ชแี้ จง ค�ำ อธบิ ายท่มี รี ูปประโยคท่ซี ับซ้อนข้นึ ตัวอยา่ ง - A: カメラを買いたいんですが。。。 B : カメラなら、駅の前の店で買ったら いいですよ。 安 いし、サービスもいいです。 - A:答えは、えんぴつで書いてもいいですか。 B:はい、いいですよ。 い いえ、えんぴつで書かないでください。 いいえ、ペンで書いてください。 - がいこうかんになりたいなら、いろいろな 外国語を勉強した 方 がいいですね。  ภ าษาที่ใชแ้ สดงความต้องการ ขอและเสนอ ใหค้ วามช่วยเหลือ ตอบรบั และปฏเิ สธการ ให้ความชว่ ยเหลอื ในสถานการณ์จ�ำ ลองหรือ สถานการณจ์ รงิ ตัวอย่าง - 車がほしいです。 - A :さいふを落としてしまったんです。 24 ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรภู้ าษาญ่ปี ุน่ และภาษาเยอรมัน

ชัน้ ตวั ช้ีวดั ชน้ั ปี สาระการเรยี นรภู้ าษาญ่ีปุ่น 4. พูดและเขยี นเพือ่ ขอ B:お金を貸しましょうか。 และใหข้ อ้ มูลบรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ (นกั เรยี นเสนอช่วยถือของให้ครู) และแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั เรื่อง/ประเด็น/ - 学 生:先生、重そうですね。 ขา่ ว/เหตุการณท์ ่ฟี งั และ อ่านอย่างเหมาะสม お持ちしましょうか。 5. พดู และเขียนบรรยาย 先 生:ありがとうございます。/ ความรู้สกึ และแสดง ความคิดเหน็ ของตนเอง おねがいします。(ตอบรับ) เกยี่ วกับเรอื่ งตา่ งๆ  いいえ、だいじょうぶです。 (ตอบปฏิเสธ) กจิ กรรม ประสบการณ์  ภ าษาท่ีใช้ขอและให้ข้อมลู บรรยาย อธบิ าย ข่าว/เหตกุ ารณ์ อยา่ งมี เหตผุ ล เปรยี บเทยี บ และแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั เรอื่ ง/ ประเดน็ /ขา่ ว/เหตุการณ์ท่ีฟังและอา่ น ตวั อย่าง - すみません。インタビューをおねがいしたいん です。。。 - ろうそく祭りは七月に行われます。 - だれが発てましたか。 - どんな時に「さようなら」と言いますか。 - A: 日本人についてどう思いますか。 B: やさしいと思います。  ภ าษาท่ีใช้ในการแสดงความรู้สึก ความคิดเห็นของ ตนเองเกย่ี วกบั เรอ่ื งตา่ งๆ กิจกรรม ประสบการณ์ ข่าวหรอื เหตุการณ์ และให้เหตผุ ลประกอบ ตัวอย่าง - 作文 / スピーチ/ ニュース ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นร้ภู าษาญป่ี ุน่ และภาษาเยอรมนั 25

สาระท่ี 1 ภาษาเพอื่ การสอื่ สาร มาตรฐาน ต 1.3 นำ�เสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน ชัน้ ตัวชวี้ ดั ชนั้ ปี สาระการเรียนรูภ้ าษาญ่ีป่นุ ม. 4 1. พูดและเขยี นขอ้ มลู  ภ าษาท่ีใช้ในการนำ�เสนอข้อมลู เกย่ี วกบั ตนเอง เกี่ยวกับตนเอง เพ่อื น เพ่ือน กิจวัตรประจำ�วัน และสง่ิ แวดลอ้ มใกล้ตวั กิจวตั รประจำ�วนั และ สง่ิ แวดลอ้ มใกลต้ วั ตวั อยา่ ง 2. เขียนภาพ แผนผงั และ - たなかです。 ตารางแสดงข้อมลู ต่างๆ ตามที่ไดฟ้ งั หรอื อ่าน - あ きこさんはタイダンスが好きです。 3. พูดและเขยี นแสดงความ Nが好きです。/上手です。 คิดเห็นงา่ ยๆ เก่ียวกับ 私は六時におきます。 เร่ืองตา่ งๆ ใกลต้ ัว 日本語のきょうしつはにかいにあります。 ม. 5 1. พดู และเขียนน�ำ เสนอ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง 毎日新聞を読みます。 กิจวัตรประจ�ำ วนั うちから学校まで一時間かかります。 - き ょうしつは小さいです。 - ホアヒンの海はどうですか。  ค ำ� กลมุ่ ค�ำ ประโยค และข้อความที่มีความหมาย สมั พนั ธ์กับภาพ แผนผัง และตารางแสดง ขอ้ มลู ตา่ งๆ  ภ าษาท่ีใช้ในการแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับ เรอื่ งตา่ งๆ ใกลต้ ัว ตวั อยา่ ง - 私 の学校 - 私 の家族 - 私 の一日。  ภ าษาที่ใช้ในการนำ�เสนอขอ้ มลู เกยี่ วกบั ตนเอง กจิ วตั รประจ�ำ วัน สิง่ แวดล้อมใกล้ตัว และ ประสบการณ์ 26 ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้ภาษาญป่ี ุ่นและภาษาเยอรมนั

ชน้ั ตัวช้วี ัดช้นั ปี สาระการเรียนรู้ภาษาญี่ปนุ่ สงิ่ แวดลอ้ มใกลต้ ัว และประสบการณ์ ตวั อยา่ ง 2. พดู และเขยี นสรุปใจความ - お もしろい本だったら、買います。 สำ�คญั ท่ีไดจ้ ากเร่อื งราว กจิ กรรม เหตุการณ์ท่อี ยู่ - 道が混んでいるかもしれませんから、 ในความสนใจ 早く出ましょう。 3. พูดและเขียนแสดงความ คดิ เหน็ เกยี่ วกับกจิ กรรม - A : いつも朝ごはんを食べませんね。 หรอื เรอ่ื งใกลต้ ัว พรอ้ มท้ัง ใหเ้ หตผุ ลสนั้ ๆ   どうしてですか。 ม. 6 1. พูดและเขียนน�ำ เสนอ B : ばんごはんをたくさん食 ข้อมลู เกีย่ วกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/ べますから。 เหตุการณ์ เร่ืองและ ประเดน็ ตา่ งๆ ทอ่ี ยู่ใน ~と思う。 ความสนใจของสงั คม  ก ารจับใจความส�ำ คญั เร่ือง กจิ กรรม เหตกุ ารณ์ทอ่ี ยู่ ในความสนใจ ตัวอย่าง - ア ンケートの発表 (รายงานความคิดเห็น)  ภ าษาท่ีใช้ในการแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกับกจิ กรรม เร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว และการใหเ้ หตผุ ล เช่น การแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกับการคบเพ่อื น ส่ฤี ดู ในญป่ี ุ่น อาหารญป่ี ุ่น ของฝาก ตวั อยา่ ง - 家 からがっこうまで - わ たしのけいけん - わ たしのしゅみ - わ たしの友達  ภ าษาที่ใช้ในการนำ�เสนอขอ้ มูลเกย่ี วกับตนเอง ประสบการณ์ ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ เรือ่ งและประเดน็ ตา่ งๆ ทีอ่ ยู่ในความสนใจของสงั คม ตัวอยา่ ง - A : テレビのニュースによると、ファースト フードばかり食 べる若者が増えたそうです。 ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้ภาษาญปี่ นุ่ และภาษาเยอรมนั 27

ชนั้ ตวั ชีว้ ดั ช้นั ปี สาระการเรียนรู้ภาษาญี่ปนุ่ これについてどう思いますか。 B: ファーストフードは体に悪いと思います。 あまり食べ ないほうがいいと思います。 2. พดู และเขยี นสรุปใจความ  ก ารจบั ใจความส�ำ คญั แกน่ สาระที่ได้จากการ วเิ คราะหเ์ รื่อง กจิ กรรม ขา่ ว เหตกุ ารณ์ และ ส�ำ คญั แกน่ สาระที่ได้ สถานการณท์ ีอ่ ยู่ในความสนใจของสังคม จากการวเิ คราะหเ์ รอ่ื ง กิจกรรม ขา่ ว เหตุการณ์ ตวั อย่าง และสถานการณท์ อ่ี ยู่ใน - ごみ問題 ความสนใจของสงั คม  ก ารแสดงความคิดเหน็ การให้เหตผุ ลและยกตัวอยา่ ง 3. พูดและเขียนแสดง ประกอบเก่ียวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และ ความคิดเหน็ เกยี่ วกบั เหตกุ ารณ์ในท้องถิน่ สงั คม และโลก เช่น おふろ กจิ กรรม ประสบการณ์ ตู้ขายสนิ ค้าอัตโนมตั ิ การก�ำ จัดขยะ อาชพี ยอดนิยม และเหตุการณ์ทั้งใน ทอ้ งถน่ิ สงั คม และโลก เครอื่ งแบบนักเรยี น แผ่นดินไหว พรอ้ มทัง้ ให้เหตุผลและ ตัวอยา่ ง - โครงสรา้ งคำ�กล่าว (スピーチ) ยกตวั อย่างประกอบ み なさん、今日は___についてお話し します。 ・ ・・・・・・・・・・・・・・・・・・ ・・・・・・・・・・・・・・・・みなさん はどう思いますか。これでおわります。 ありがとうございました。 - 社会問題 28 ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นร้ภู าษาญี่ปนุ่ และภาษาเยอรมัน

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำ� ไปใช้ไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั กาลเทศะ ช้ัน ตวั ช้วี ัดชั้นป ี สาระการเรยี นรู้ภาษาญป่ี นุ่ ม. 4 1. ใชถ้ ้อยคำ� นำ�้ เสียง และ  ก ารใช้ถ้อยค�ำ นำ้�เสียง และกิรยิ าทา่ ทางในการ กิริยาทา่ ทางอย่างสุภาพ สนทนาตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของ ตามมารยาทสงั คมและ ญี่ปุ่น วัฒนธรรมของญีป่ ุน่ ตวั อยา่ ง - การแนะนำ�ตัวและการแลกนามบัตร - การโคง้ แบบญปี่ นุ่ - การลงทา้ ยชอื่ ผอู้ ื่นดว้ ย ~さん、~先生  - ค�ำ พูดหรอื คำ�ทักทายในโอกาสต่างๆ เช่น しつれいします。 いただきます。 また、あした。 2. อธิบายอยา่ งงา่ ยๆ เกย่ี วกบั  ค ำ�ศัพทแ์ ละขอ้ มูลเก่ียวกบั เทศกาล วนั ส�ำ คัญ เทศกาล วนั ส�ำ คญั งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยขู่ องชาวญี่ปุน่ งานฉลอง และชีวติ ตัวอยา่ ง ความเปน็ อยขู่ องชาวญ่ปี ่นุ - วนั เดก็ (子供の日) - ว นั ปใี หม(่ 正月) - ว นั บรรลนุ ิตภิ าวะ(成人の日) 3. เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางภาษา  ก จิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมญป่ี นุ่ และวัฒนธรรมญป่ี ุ่นตาม ตัวอย่าง ความสนใจ - การเล่นเกม - การร้องเพลง - การพับกระดาษ - การเขียนพ่กู ัน - การแต่งชุดยุคาตะ - กิจกรรมคา่ ยภาษาญี่ป่นุ ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรภู้ าษาญีป่ ุ่นและภาษาเยอรมัน 29

ชนั้ ตวั ชี้วัดชั้นปี สาระการเรยี นร้ภู าษาญปี่ ่นุ ม. 5 1. ใชภ้ าษา น้ำ�เสียง และ  ก ารใชภ้ าษา น้�ำ เสียง และกิรยิ าทา่ ทางเหมาะสม กริ ยิ าทา่ ทางอย่างสุภาพ กบั ระดับบคุ คล และโอกาสตามมารยาทสงั คมและ เหมาะสมกับระดบั บุคคล วัฒนธรรมญ่ีปุ่น และโอกาสตามมารยาท ตวั อยา่ ง สังคมและวฒั นธรรมของ - มารยาทในการรบั ประทานอาหาร ญี่ปนุ่ - การใช้ส�ำ นวน おねがいします。 - การใหข้ องขวัญ ของฝาก (日本で買ったもの ですが。。。) 2. ใหข้ อ้ มูลเกีย่ วกับเทศกาล  ข ้อมูลเก่ยี วกบั เทศกาล วนั สำ�คญั งานฉลอง และ วันส�ำ คัญ งานฉลอง และ ชีวิตความเปน็ อยู่ของญ่ปี ุ่น ชวี ิตความเป็นอยูข่ องญี่ปุ่น ตัวอยา่ ง - บัตรอวยพรปใี หม(่ 年賀状) - ว นั ทานะบาตะ(七夕) - อาหารญปี่ ุน่ (日本料理) - ไฮก(ุ 俳句) 3. เข้ารว่ ม แนะนำ� และ  ก ิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม จัดกจิ กรรมทางภาษา ตัวอยา่ ง และวัฒนธรรมญีป่ ุ่นตาม - การเล่นเกม - การรอ้ งเพลง ความสนใจ - การพับกระดาษ - การเขยี นพกู่ ัน - การท�ำ อาหารญป่ี ุ่น - กิจกรรมคา่ ยภาษาญปี่ นุ่ ม. 6 1. เลือกใชภ้ าษา น�ำ้ เสียง  ก ารใช้ภาษา น้�ำ เสยี ง และกริ ิยาทา่ ทางเหมาะสมกับ และกิรยิ าทา่ ทางเหมาะสม ระดบั บุคคล โอกาส สถานท่ี ตามมารยาทสังคมและ วฒั นธรรมของญ่ปี นุ่ กบั ระดบั บคุ คล โอกาส สถานที่ ตามมารยาทสังคม ตวั อย่าง และวฒั นธรรมของญ่ีปุน่ - ภาษาสุภาพ(敬語) 30 ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นร้ภู าษาญ่ีปุน่ และภาษาเยอรมัน

ช้นั ตวั ช้วี ดั ชน้ั ปี สาระการเรียนรภู้ าษาญปี่ ุน่ - คำ�ยกยอ่ ง ご家族/ いらっしゃる - ค�ำ ถ่อมตัว もうします/いただく - คำ�สุภาพ こちら/いかが  วถิ ีชวี ติ ความคดิ ความเชื่อ และท่ีมาของ 2. อธบิ ายหรอื อภิปราย วถิ ีชวี ิตความคดิ ความเช่ือ ขนบธรรมเนยี มและประเพณขี องญี่ป่นุ และทม่ี าของขนบธรรมเนยี ม ตวั อย่าง และประเพณขี องญี่ปนุ่ - เทศกาลญ่ปี ุน่ (日本祭り) - ค วามเช่ือ เช่น 日本では一月一日 の夜に、いい夢を見ると、その年は幸せになる と言われています。 - พธิ สี �ำ เร็จการศกึ ษา(卒業式) 3. เข้ารว่ ม แนะน�ำ และ - การอาบน้�ำ แบบญีป่ ุ่น(おふろ)  ก จิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม จัดกิจกรรมทางภาษา ตัวอย่าง และวัฒนธรรมของญี่ป่นุ - การเล่นเกม เช่น(かるた) อย่างเหมาะสม - การพับกระดาษ(折り紙) - การเขียนพู่กนั (書道) - ล ะครญป่ี ุ่น(劇) - สนุ ทรพจนภ์ าษาญปี่ ุน่ (弁論大会) - ถามตอบเกยี่ วกับญีป่ นุ่ (クイズ) - การหอ่ ของแบบญี่ป่นุ (風呂敷) - พ ิธีชงชา(茶道) - กิจกรรมคา่ ยภาษาญป่ี ุ่น(日本語キャンプ) ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาญี่ป่นุ และภาษาเยอรมัน 31

สาระท่ี 2 ภาษาและวฒั นธรรม มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำ�มาใช้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม ชั้น ตวั ชีว้ ัดชนั้ ป ี สาระการเรยี นรู้ภาษาญีป่ ุ่น ม. 4 1. บอกความเหมอื นหรือ  ค วามเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างเสยี ง ความแตกต่างของเสียง ตัวอักษร ค�ำ กลุ่มค�ำ ประโยค ขอ้ ความของภาษา ตวั อักษร ค�ำ กลมุ่ ค�ำ ญปี่ นุ่ และภาษาไทย ประโยค ขอ้ ความ เครือ่ งหมายวรรคตอน  ก ารใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอน และการเรยี งลำ�ดบั ค�ำ และการเรยี งล�ำ ดบั คำ� ตามโครงสรา้ งประโยคของภาษาญีป่ ุ่นและภาษาไทย ตามโครงสรา้ งประโยค ตัวอย่าง ของภาษาญีป่ นุ่ และ ภาษาไทย - อกั ษรญป่ี ุ่นแต่ละตัวเปน็ พยางค์ ประกอบด้วย เสียงสระ หรอื พยญั ชนะ+สระ 2. บอกความเหมือนหรอื ความแตกตา่ งระหวา่ ง - ล�ำ ดบั คำ�ในประโยคภาษาญ่ปี นุ่ คือ “ประธาน+ เทศกาล งานฉลอง และ กรรม+กริยา” ประเพณตี ามวัฒนธรรม ของญ่ปี ุน่ กบั ของไทย - คำ�ชว่ ยเป็นคำ�ท่ีวางไวห้ ลงั คำ�ตา่ งๆ เพ่ือบอกวา่ ค�ำ น้นั ๆ ทำ�หนา้ ทอี่ ะไรในประโยค เชน่ เปน็ ประธาน หรือกรรม - คำ�ขยายอยู่หนา้ คำ�ทถ่ี กู ขยาย - เคร่ืองหมาย 、(てん)เม่ือต้องการใหอ้ า่ นง่าย/ เคร่อื งหมาย 。(まる)เมือ่ จบประโยค  ค วามเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างเทศกาล งานฉลอง และประเพณขี องญีป่ ุ่นกบั ของไทย ตัวอย่าง - วันแม(่ 母の日) - วนั เดก็ (子供の日) - วนั ปใี หม(่ お正月) - โอบง(お盆) 32 ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้ภาษาญีป่ นุ่ และภาษาเยอรมัน

ช้นั ตัวชว้ี ดั ชน้ั ปี สาระการเรียนร้ภู าษาญี่ปนุ่ ม. 5 1. บอกความแตกต่างระหวา่ ง  ค วามแตกต่างระหวา่ งการออกเสยี งประโยค การออกเสียงประโยค ข้อความ การลำ�ดบั ค�ำ ตามโครงสรา้ งประโยคภาษา ข้อความ การล�ำ ดบั ค�ำ ญ่ีปนุ่ และภาษาไทย ตามโครงสรา้ งประโยค  ก ารใชเ้ ครอื่ งหมายวรรคตอน ภาษาญ่ปี ุน่ และภาษาไทย ตัวอยา่ ง - คำ�กริยาภาษาญี่ป่นุ มีการผนั ในรปู แบบต่างๆ เชน่ ます形、て形、ない形   - ค �ำ สันธานอาจอยู่ต้น กลาง หรือทา้ ยประโยค เช่น - あ さってのコンサートのことなんですが、 明日買いに行った ら、 もう切符がないか もしれないから、 今から プイさんと一緒に買 いに行きます。 2. อธบิ ายเปรียบเทียบ  ก ารเปรยี บเทยี บความเหมือนและความแตกต่าง ความเหมอื นและความ ระหวา่ งเทศกาลงานฉลอง วันสำ�คัญ และชวี ติ แตกตา่ งระหว่างเทศกาล ความเป็นอยู่ของญปี่ ุ่นกบั ของไทย งานฉลอง วันสำ�คญั และ ตัวอย่าง ชีวติ ความเป็นอยขู่ องญีป่ ุ่น - ของฝาก(おみやげ) กับของไทย - การนดั พบ(待ち合わせ) - ฤดูกาลที่แตกตา่ งของญป่ี ุ่นกบั ของไทย - วิธีการรบั ประทานอาหาร(食事のマーナー) ม. 6 1. อธิบายหรือเปรยี บเทยี บ  ก ารอธิบายและการเปรยี บเทยี บความแตกต่าง ความแตกต่างระหว่าง ระหวา่ งโครงสรา้ งประโยค ข้อความ สำ�นวน และ โครงสร้างประโยค บทกลอนของภาษาญ่ีปุ่นและภาษาไทย ข้อความ สำ�นวน และ ตวั อยา่ ง บทกลอนของภาษาญป่ี ุ่น - บทกลอนของภาษาญ่ีปุ่นและภาษาไทย และภาษาไทย - รปู ถูกกระทำ� เช่น 妹 に日記を読まれました。 父に死なれて、困っています。 ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรูภ้ าษาญ่ีป่นุ และภาษาเยอรมนั 33

ช้นั ตัวชี้วัดช้นั ป ี สาระการเรยี นรู้ภาษาญีป่ นุ่ 赤ちゃんに泣かれて、 寝られませんでした。 - รปู แบบการเขียนจดหมายของญ่ีปุ่น และของไทย 2. วเิ คราะห์และอภปิ ราย  ก ารวิเคราะห์และการอภิปรายความเหมือนและ ความเหมือนและความ ความแตกตา่ งระหว่างวถิ ีชีวิต ความเช่อื และ แตกต่างระหวา่ งวถิ ชี วี ติ วฒั นธรรมของญป่ี ุน่ กับของไทย และการนำ� ความเชอ่ื และวฒั นธรรม วัฒนธรรมญป่ี นุ่ ไปใช้ ของญปี่ ุ่นกบั ของไทย และ ตัวอย่าง น�ำ ไปใชอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล - ความเชือ่ :日本では鳥が低く飛ぶと、 雨が降ります。 タイでは、ありが並んで歩くと、 雨が降ります。 - อาชีพยอดนิยมของนักเรยี นมธั ยมปลาย - เครือ่ งแบบนักเรยี น - การอาบน�ำ้ แบบญปี่ ุน่ (おふろ) - การก�ำ จดั ขยะ - ตขู้ ายสินค้าอัตโนมตั ิ - การแตง่ กาย 34 ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้ภาษาญี่ปุน่ และภาษาเยอรมัน

สาระท่ี 3 ภาษากบั ความสัมพนั ธก์ ับกล่มุ สาระการเรยี นรูอ้ ืน่ มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนและ เปน็ พ้นื ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ชัน้ ตัวชวี้ ัดชน้ั ป ี สาระการเรียนรู้ภาษาญปี่ ุ่น ม. 4 1. บอกคำ�ศัพท์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั  ค �ำ ศพั ท์ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ่นื กลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่ืน ตวั อยา่ ง และนำ�เสนอดว้ ยการพูด - ชือ่ วชิ าต่างๆ เช่น 歴史、地理、数学 หรือเขียน - ช ่ือห้อง และสถานทต่ี ่างๆ ในโรงเรียน - การนับจำ�นวน (วชิ าคณิตศาสตร์) - ค�ำ ศพั ท์ カタカナ (วชิ าภาษาอังกฤษ) - ชอ่ื ประเทศต่างๆ (วิชาสงั คมศึกษา) ม. 5 1. ค้นควา้ รวบรวม และ  ก ารคน้ ควา้ การรวบรวม การสรุป และการนำ�เสนอ สรปุ ขอ้ มูล ข้อเทจ็ จริง ข้อมลู ขอ้ เทจ็ จรงิ ท่เี กย่ี วข้องกับกลุ่มสาระ ทเ่ี กีย่ วข้องกบั กลมุ่ สาระ การเรยี นรูอ้ น่ื จากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ งๆ การเรยี นรูอ้ ื่นจากแหลง่ ตวั อยา่ ง เรียนรู้ต่างๆ และน�ำ เสนอ - การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ สบื คน้ และน�ำ เสนอข้อมูล ดว้ ยการพูดหรอื เขยี น - การศกึ ษาจากแหล่งเรียนรทู้ ง้ั ในและนอก สถานศึกษา ม. 6 1. ค้นควา้ สืบค้น บนั ทกึ  ก ารค้นคว้า การสืบคน้ การบนั ทกึ การสรุป สรปุ และแสดง การแสดงความคิดเห็น และการน�ำ เสนอขอ้ มลู ความคิดเห็นเก่ียวกับ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กลุ่มสาระการเรยี นรอู้ น่ื จากแหลง่ ขอ้ มูลทเ่ี กย่ี วข้องกบั เรียนรตู้ า่ งๆ กลุม่ สาระการเรียนรูอ้ นื่ ตัวอย่าง จากแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ - การใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตสบื ค้น และนำ�เสนอขอ้ มูล และน�ำ เสนอดว้ ยการพูด - การศกึ ษาจากแหล่งเรยี นรู้ทั้งในและนอก และการเขียน สถานศึกษา - ประวตั ิศาสตร์โลก ประวัติสถานท่สี ำ�คัญ ส่ิงประดษิ ฐ์ วรรณกรรม ผลงานศิลปะ ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรู้ภาษาญ่ปี ุ่นและภาษาเยอรมัน 35

สาระที่ 4 ภาษากบั ความสัมพนั ธก์ ับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และ สงั คม ช้ัน ตวั ชี้วดั ชั้นปี สาระการเรียนรู้ภาษาญ่ปี นุ่ ม. 4 1. ใชภ้ าษาส่อื สารใน  ก ารใชภ้ าษาสอื่ สารในสถานการณจ์ ริงและ สถานการณ์จรงิ หรอื สถานการณ์จำ�ลองที่เกิดขึน้ ในห้องเรยี น สถานศึกษา สถานการณจ์ ำ�ลอง และในชีวติ ประจำ�วนั ท่ีเกดิ ข้นึ ในห้องเรยี น ตัวอย่าง สถานศึกษา และในชวี ติ  ก ารทกั ทาย การแนะนำ�ตนเอง เพอ่ื น และครอบครัว ประจำ�วนั - おはようございます。 ม. 5 1. ใชภ้ าษาสือ่ สารใน สถานการณ์จริงหรือ - は じめまして。よろしくおねがいします。 สถานการณจ์ �ำ ลอง ที่เกิดขน้ึ ในหอ้ งเรยี น - 山田先生はどこにいますか。 สถานศึกษา และชมุ ชน - 毎日日本語を勉強します。 - し ゅくだいを出しましたか。 - いっしょに食事に行きませんか。  ก ารใชภ้ าษาส่ือสารในสถานการณ์จรงิ และ สถานการณ์จ�ำ ลองท่เี กิดข้นึ ในห้องเรียน สถานศกึ ษา และชมุ ชน ตวั อย่าง - す みませんが、辞書を貸してくださいませんか。 - コーヒーはどうですか。 - 午後、日本語の教室で会議があります。 - 順 番なので、並んで待ってください。 - A : どうしたんですか。 B : ちょっと気分が悪いんです。 A: 保健室で休んだほうがいいですよ。 B : ありがとうございます。そうします。 36 ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรภู้ าษาญี่ปนุ่ และภาษาเยอรมนั

ชั้น ตวั ชว้ี ดั ชั้นปี สาระการเรยี นร้ภู าษาญปี่ ่นุ ม. 6 1. ใชภ้ าษาสื่อสารใน  ก ารใชภ้ าษาส่อื สารในสถานการณ์จริงและ สถานการณ์จรงิ หรอื สถานการณ์จ�ำ ลองท่ีเกดิ ขึ้นในห้องเรยี น สถานศกึ ษา สถานการณจ์ �ำ ลอง ชุมชน และสังคม ทเ่ี กิดขึ้นในห้องเรยี น สถานศึกษา ชมุ ชน และ ตวั อยา่ ง สังคม - การแนะนำ�สถานทที่ ่องเท่ยี ว/สถานท่สี �ำ คญั ใน ชุมชน เช่น ワット・プラケオは、ぶつれき2327 年に ラーマ1世によって建てられました。 - การกล่าวตอ้ นรับ และการแนะน�ำ โรงเรยี น ○○校へようこそ。 ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรภู้ าษาญปี่ ่นุ และภาษาเยอรมนั 37

สาระที่ 4 ภาษากบั ความสมั พันธ์กับชมุ ชนและโลก มาตรฐาน ต 4.2 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเปน็ เครอ่ื งมอื พนื้ ฐานในการศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชพี และการแลกเปล่ยี นเรียนร้กู บั สงั คมโลก ช้ัน ตวั ช้วี ัดชัน้ ป ี สาระการเรียนรภู้ าษาญ่ปี ุ่น ม. 4 1. ใชภ้ าษาญ่ีปนุ่ ในการสบื คน้  ก ารใชภ้ าษาญ่ีปุ่นในการสบื คน้ การคน้ ควา้ ความรู้ คน้ คว้าความรู้หรอื ขอ้ มูล หรอื ขอ้ มูลตา่ งๆ จากสอื่ และแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ ต่างๆ จากสอื่ และแหลง่ ตวั อยา่ ง เรยี นร้ตู ่างๆ - เพลง - การ์ตูน - บคุ คลส�ำ คัญ - บุคคลทมี่ ชี ่ือเสียง - สถานท่ีสำ�คัญ - เทศกาล 2. เผยแพรห่ รอื ประชาสมั พนั ธ์  ก ารใช้ภาษาญปี่ ุ่นในการเผยแพร่หรอื ประชาสัมพนั ธ์ ขอ้ มลู ขา่ วสารของโรงเรยี น ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรยี น โดยใชภ้ าษาญ่ปี ุน่ งา่ ยๆ ตวั อย่าง - แผน่ พับแนะนำ�โรงเรียน - โปสเตอร์กิจกรรม - ปา้ ยนเิ ทศ ม. 5 1. ใช้ภาษาญ่ปี ุ่นในการสืบค้น  ก ารใชภ้ าษาญี่ปนุ่ ในการสืบคน้ ค้นควา้ สรปุ ความรู้ ค้นคว้า สรุปความรหู้ รือ หรือข้อมลู จากสือ่ และแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ ข้อมลู จากสื่อและแหล่ง ตัวอยา่ ง เรยี นร้ตู ่างๆ - การสืบค้นขอ้ มูลจากส่ือสิง่ พิมพ์ และ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ - การกรอกแบบฟอรม์ - ฉลากยา - ค�ำ แนะนำ�ด้านสขุ ภาพ - วิธีทำ�อาหาร 38 ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรภู้ าษาญปี่ ุน่ และภาษาเยอรมนั

ช้นั ตัวช้วี ดั ช้นั ปี สาระการเรียนรูภ้ าษาญปี่ ่นุ 2. เผยแพรห่ รอื ประชาสมั พนั ธ์  ก ารใชภ้ าษาญี่ปุ่นในการเผยแพร่หรือประชาสมั พันธ์ ขอ้ มลู ขา่ วสารของโรงเรยี น ข้อมูล ข่าวสาร ของโรงเรยี น และชมุ ชน ชมุ ชน เปน็ ภาษาญีป่ นุ่ ตัวอย่าง - แผน่ พบั แนะน�ำ โรงเรยี น และชุมชน - แผ่นปลิว - ประกาศ - ป้ายคำ�ขวญั - นทิ รรศการ  ก ารใชภ้ าษาญป่ี นุ่ ในการสืบค้น คน้ ควา้ รวบรวม ม. 6 1. ใช้ภาษาญ่ปี ุน่ ในการ สบื คน้ ค้นควา้ รวบรวม วิเคราะห์ สรปุ ความรู้หรอื ข้อมลู จากส่ือและแหลง่ วเิ คราะห์ และสรุปความรู้ เรียนรู้ตา่ งๆ ในการศึกษาตอ่ และการประกอบอาชพี หรือข้อมลู จากสอ่ื และ ตัวอย่าง แหล่งเรียนร้ตู ่างๆ - การสบื คน้ ขอ้ มลู จากส่อื สง่ิ พมิ พ์ และส่ือ ในการศกึ ษาตอ่ และ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ การประกอบอาชพี - การกรอกแบบฟอร์ม เชน่ กรอกข้อมูลในใบสมัคร สอบวัดระดับความร้ภู าษาญีป่ ุ่น - การเขยี นใบเซยี มซ(ี おみくじ) 2. เผยแพรห่ รอื ประชาสมั พนั ธ์  ก ารใช้ภาษาญ่ีปุ่นในการเผยแพร่หรอื ประชาสมั พนั ธ์ ขอ้ มลู ขา่ วสารของโรงเรยี น ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ หรอื หรอื ประเทศ ประเทศเป็นภาษาญ่ีปนุ่ ตัวอยา่ ง - แผน่ พบั แนะน�ำ โรงเรียน ชุมชน ท้องถ่ิน ประเทศ - แผ่นปลิว - โปสเตอร์ - ประกาศ - ปา้ ยค�ำ ขวญั - นิทรรศการ - โครงการแลกเปล่ียนวฒั นธรรมไทย-ญีป่ นุ่ ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรภู้ าษาญปี่ นุ่ และภาษาเยอรมนั 39



ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ ภาษาเยอรมัน หลักสูตรพื้นฐาน 3 ปี (ม.4- ม.6)



สาระท่ี 1 ภาษาเพื่อการสอ่ื สาร มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตคี วามเรอ่ื งท่ฟี งั และอ่านจากสอื่ ประเภทต่างๆ และแสดงความ คดิ เหน็ อยา่ งมเี หตผุ ล ชน้ั ตวั ชี้วัดชน้ั ปี สาระการเรยี นร้ภู าษาเยอรมัน ม. 4 1. ป ฏบิ ัตติ ามค�ำ สั่ง ค�ำ ขอรอ้ ง  ค ำ�ส่งั และค�ำ ขอรอ้ งท่ีใช้ในห้องเรยี น ภาษาทา่ ทาง และค�ำ แนะนำ�ง่ายๆ ทฟี่ งั และค�ำ แนะนำ�ในกจิ กรรมต่างๆ หรอื อ่าน ตวั อย่าง 1. du-Form - M ach das Buch auf Seite … auf! (Öffne das Buch auf Seite …!) - L ies den Satz vor! - S teh bitte auf! 2. ihr-Form - S etzt bitte euch! - H Ört bitte gut zu! - P asst bitte auf! 3. Sie-Form - W iederholen Sie das bitte noch einmal! - S prechen Sie bitte lauter! 2. อา่ นออกเสยี งตัวอักษร  ต ัวอกั ษร คำ� กลมุ่ คำ� ประโยคและข้อความงา่ ยๆ สะกดคำ� อา่ นกลุ่มค�ำ  ห ลักการอ่านออกเสยี ง ประโยค และข้อความ ตัวอย่าง งา่ ยๆ ถกู ตอ้ งตาม - W ortakzent: gehen, Musik, Kartoffel หลักการอ่าน - A lphabet: a, b, c, …, ß, ä, Ö, ü - S atzmelodie: Ich heiße Timo.  Heißt du Timo?  Wie heißt du?  Öffne das Buch!  ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้ภาษาญ่ีป่นุ และภาษาเยอรมนั 43

ชัน้ ตวั ช้ีวัดช้ันปี สาระการเรยี นรูภ้ าษาเยอรมัน - T exte Emails, SMS, Postkarte, Briefe, Einladungskarte, Comics, Notizen, Kochrezepte  ค �ำ กลุ่มคำ� ประโยคเดยี่ ว สญั ลกั ษณ์ เครอื่ งหมาย 3. เลอื กและระบุภาพ สัญลักษณห์ รือเครือ่ งหมาย และความหมาย เกีย่ วกับตนเอง ครอบครวั โรงเรียน ตรงตามความหมายของค�ำ ส่งิ รอบตัวอาหาร เครอ่ื งด่ืม เวลาว่าง และ กลุ่มคำ� ประโยค และ การซื้อ-ขาย ข้อความสั้นๆ ที่ฟงั หรืออ่าน ตวั อย่าง - ร ปู Familienstammbaum, KÖrperteile, Verkehrszeichen, Verbotsschilder, Wetter- zeichen, Gesichtsausdrücke / Smilies, Piktogramm - ป ระโยค Das ist mein Vater.  = Es geht mir schlecht. / Ich bin krank.  = Das ist ein Restaurant.  = Es ist Winter. / Es schneit. 4. บอกใจความส�ำ คญั และ  ป ระโยค บทสนทนา และข้อความสนั้ ๆ ตอบคำ�ถามจากการฟัง  ค ำ�ถามเกย่ี วกบั ใจความสำ�คญั ของเรือ่ ง เชน่ และอ่านประโยค ใคร ท�ำ อะไร ที่ไหน เมอื่ ไร บทสนทนา และข้อความ ตัวอย่าง สน้ั ๆ W-Fragen: Wer? / Was? / Wie? / Wo? / Wann? usw. Entscheidungsfragen: - ja/nein-Fragen - o der-Fragen 44 ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรูภ้ าษาญ่ีป่นุ และภาษาเยอรมนั