Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิวัฒนาการภาษาไท

วิวัฒนาการภาษาไท

Published by yajing li, 2021-08-07 13:13:17

Description: วิวัฒนาการภาษาไท

Search

Read the Text Version

45 เป็นคำมรดกใช้กว้ำงขวำงในภำษำไทยถ่ินอ่ืนๆ ในควำมหมำยข้ำงล่ำง (ลุ่มกับเทิงคือข้ำงล่ำงข้ำงบน) ในภำษำ อีสำนมีภำษิตว่ำ “นอนเทิงให้เบิ่งลุ่ม นอนขุมให้เบิ่งเทิง” แปลว่ำ นอนขำ้ งบนให้มองดูข้ำงล่ำง นอนในหลุมให้ มองดูข้ำงบน (หมำยควำมว่ำ ผู้ใหญ่ที่อยู่เหนือสังคมให้ดูแลใส่ใจผู้ด้อยโอกำส และผู้น้อยผู้ด้อยโอกำสให้ดู แบบอย่ำงผูใ้ หญ่) คำว่ำ ลุ่ม (ต่ำ ใต้ ข้ำงล่ำง) พบวำ่ เป็นคำศัพท์โบรำณใช้สืบตอ่ มำจนถึงปัจจุบนั และดูเหมือนว่ำใช้ สื่อสำรกันในวงแคบในภำษำภำคกลำง ในเอกสำรสมัยสุโขทัยพบว่ำใช้ในควำมหมำยข้ำงใต้ ขำ้ งล่ำง ดังตวั อยำ่ ง - แผ่นดินในอุตรกุรุทวีปนั้นรำบคำบเสมอกันงำมหนักหนำ บ่มิได้เป็นขุมเป็นภูบ่มิได้ลุ่มบ่มิได้ เทง (ไตรภมู ิพระร่วง หนา้ 78) - งเู ง้ียวพิษทง้ั หลำยลมุ่ ฟ้ำ (โองการแชง่ น้า หนา้ 65) คำว่ำ ลมุ่ (ต่ำ ใต้ ขำ้ งล่ำง) ในภำษำมำตรฐำนปัจจบุ ันใช้นอ้ ยมำก และจะใชแ้ สดง ควำมหมำยว่ำตำ่ เชน่ ท่ีลุ่ม นำลุ่ม ท่ีรำบลุ่ม ที่ลมุ่ แอ่งกระทะ ท่ีลุ่มที่ดอน และบำงแห่งควำมหมำยคล่ีคลำยไป บำ้ ง เช่น ลุ่มๆ ดอนๆ ลมุ่ หลง เป็นต้น 2. ความหมายกว้างออก หมำยถึง ส่ิงท่ีคำนั้นมีควำมหมำยถึงหรืออ้ำงถึง โดยมีจำนวน ประเภท หรอื ปริมำณหรอื ขอบเขตที่เพิ่มมำกขึ้นกวำ่ เดมิ ซึ่งคำทีม่ ีควำมหมำยกว้ำงออกมลี กั ษณะต่ำงๆดงั น้ี 2.1 คำซ่ึงสมัยหน่ึงเคยมีควำมหมำยเฉพำะเจำะจง ต่อมำเปลี่ยนไปมีควำมหมำยกว้ำง ซ่ึงพบ คำในสมัยรัตนโกสินทร์ เช่นสวน เดิมหมำยถึง ท่ีซ่ึงก้ันเป็นเขตไว้สำหรับปลูกต้นไม้ ปัจจุบันใช้ หมำยถึง ที่ ซง่ึ กัน้ ไวเ้ ป็นขอบเขต เช่น สวนงู สวนสตั ว์ 2.2 คำซ่ึงสมัยหนงึ่ เคยมีควำมหมำยเดยี ว ภำษำไทยปัจจุบนั มหี ลำยควำมหมำย เชน่ คำว่ำ “มัก” เดิมหมำยถึง ชอบ ปัจจุบันใช้หลำยควำมหมำยคือ ชอบ พอใจ โดยมำก คอ่ นข้ำง เนอื ง ๆ เชน่ เขำเป็นคนมกั มำก 3. ความหมายย้ายที่ หมำยถงึ คำหน่ึงซึ่งเดิมมีควำมหมำยอยำ่ งหนึ่ง แต่ต่อมำมคี วำมหมำยอีกอย่ำง หนึง่ เช่น เพ่ือ แปลวำ่ เพรำะวำ่ ด้วยเหตุวำ่ (ปจั จบุ ัน แปลวำ่ สำหรบั เกีย่ วเนอื่ งดว้ ย) คำว่ำ เพือ่ เป็นคำศัพท์โบรำณที่ใช้สืบต่อมำจนปัจจุบัน และไม่นิยมใช้ในภำษำไทยถ่ินอื่นๆ พบใช้ในเอกสำรสมัยสุโขทัย มคี วำมหมำยวำ่ เพรำะวำ่ ดว้ ยเหตุวำ่ ดังตวั อยำ่ ง - เม่ือก่อนลำยสือไทยนบี้ ่มี 1205 ศกปีมะแม พ่อขุนรำมคำแหงหำใคร่ใจในใจแลใส่ลำยสือไทย นี้ ลำยสือไทยน้ีจึงมีเพอ่ื ขุนผู้นนั้ ใส่ไว้ (ศิลาจารึกหลกั ที่ 1) แพ้ แปลวำ่ ชนะ มีชยั (ปจั จบุ ันแปลว่ำ พำ่ ย ปรำชัย) คำว่ำ แพ้ เป็นคำมรดกใช้อยใู่ นภำษำถิ่นไทยใน ประเทศและนอกประเทศ มีควำมหมำยว่ำ ชนะ มีชัย เหมือนกับสุโขทัย ตัวอย่ำงกำรใช้คำว่ำ แพ้ ในสมัย สุโขทัย

46 - ตนกพู ุง่ ชำ้ งขนุ สำมชนตัวชือ่ มำสเมอื งแพ้ ขุนสำมชนพำ่ ยหนี (ศิลาจารึกหลักท่ี 1) คำวำ่ แพ้ ในสมยั สโุ ขทยั มคี วำมหมำยว่ำ ชนะ มีชัย โดยเฉพำะในตวั อย่ำงจำกศิลำ จำรึกหลักที่ 1 มีทั้ง แพ้ และ พ่ำยหนี แสดงควำมหมำยตรงกันข้ำม คือ แพ้ (มีชัย) และ พ่ำย (ปรำชัย) ภำยหลังต่อมำ (กำหนดยุคสมัยไม่ได้) เรำนิยมใช้เป็นคำซ้อนกันว่ำ พ่ำยแพ้ หรือ แพ้พ่ำย เป็นกำรเน้น ควำมหมำยของคำให้เด่นชัดข้ึน และมีคำว่ำ ชนะ มำแทนท่ีคำว่ำ แพ้ เป็นผลให้คนยุคหลังต่อมำเข้ำใจว่ำแพ้ และพ่ำยมคี วำมหมำยเดียวกัน คำวำ่ แพ้ (ชนะ มีชยั ) ในภำษำไทยถิน่ เหนือ อีสำนและลำวยังใช้ในควำมหมำยว่ำชนะ มีชัย ในปัจจุบัน ภำคอีสำนออกเสียงว่ำ แพ้ เช่น บำปบ่แพ้บุญ (บำปไม่ชนะบุญ) ภำคเหนือไทยลื้อ ไทยเขิน ออกเสยี งวำ่ “แป้” หรือ “แป”๊ เชน่ สรุป กำรเปลี่ยนแปลงภำษำด้ำนควำมหมำย เป็นกำรเปลี่ยนแปลงท่ีพิจำรณำจำกควำมหมำยของคำ ท่ีมีกำรใช้แตกต่ำงกันในแต่ละสมัยโดยท่ีรูปคำศัพ ท์น้ันไม่มีกำรเปลี่ยนแปลง ปัจจัยท่ีภำษ ำ เกดิ กำรเปลีย่ นแปลงทำงควำมหมำยน้นั ไดแ้ ก่ ควำมเจรญิ กำ้ วหนำ้ ทำงวิทยำกำร ควำมเปรียบ ลักษณะกำรเปล่ียนแปลงทำงควำมหมำยแบ่งเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ ควำมหมำยแคบเข้ำ ควำมหมำยกว้ำงออก และควำมหมำยย้ำยที่ แบบฝึกหดั 1. กำรเปลย่ี นแปลงภำษำด้ำนควำมหมำย หมำยถึงอะไร 2. ปจั จยั ใดบำ้ งท่ที ำให้คำเกิดกำรเปล่ยี นแปลงด้ำนควำมหมำย 3. กำรเปล่ียนแปลงควำมหมำยของคำในลักษณะควำมหมำยแคบเข้ำ มีกี่ประเภท อะไรบ้ำง อธิบำยและยกตัวอย่ำง 4. ห ำก ค ว ำม ห ม ำย ข อ งค ำเป ล่ี ย น แ ป ล งไป ใน ลั ก ษ ณ ะที่ มี ค ว ำม ห ม ำย เพิ่ ม ข้ึ น จ ำก เดิ ม เรยี กกำรเปลีย่ นแปลงควำมหมำยนวี้ ่ำอะไร อธบิ ำย 5. จงวิเครำะหค์ ำที่ขีดเสน้ ใตต้ ่อไปนี้ วำ่ มกี ำรเปลย่ี นแปลงทำงควำมหมำยลกั ษณะใด จงอธิบำย 5.11205 ศกปีมะแม พ่อขุนรำมคำแหงหำใคร่ใจในใจแลใส่ลำยสือไทยน้ี ลำยสือไทยนี้จงึ มีเพื่อขุนผู้ น้ันใสไ่ ว้ (จำรกึ หลกั ท่ี 1 ดำ้ นท่ี 4 บรรทัดท่ี 9-10) 5.2เม่ือช่ัวพ่อกูกูบำเรอแก่พ่อกูบำเรอแก่แม่กูกูได้ตัวเนื้อตัวปลำกูเอำมำแก่พ่อกู...(จำรึกหลักที่ 1 ดำ้ นท่ี 1 บรรทดั ที่ 11-12) 5.3 พ่อกูตำยยังพี่กู กูพร่ำบำเรอแก่พ่ีกูด่ังบำเรอแก่พ่อกู พี่กูตำยจึงได้เมืองแก่กูทังกลม(จำรึกหลักที่ 1 ด้ำนท่ี 1 บรรทดั ที่ 16-17)

47 5.4 มีบ้ำนใหญ่บ้ำนเล็กมีป่ำม่วงป่ำขำม ดูงำมดังแกล้งแต่ง (จำรึกหลักที่ 1 ด้ำนท่ี 2 บรรทัดท่ี 35-36) 5.5ตนกูพุ่งช้ำงขุนสำมชนตัวช่ือมำสเมืองแพ้ ขุนสำมชนพ่ำยหนีพ่อกูจึ่งขึ้นชื่อกูชื่อพระรำมคำแหง (จำรกึ หลกั ท่ี 1 ด้ำนท่ี 1 บรรทดั ท่ี 8-10) 6.แต่งหญิง ผู้ เผือก มโน นก จำกคำศัพท์สแลงของกำรใช้ภำษำวัยรุ่นในปัจจุบัน (พ.ศ. 2560) น้ี มีลกั ษณะกำรเปลยี่ นแปลงภำษำทำงควำมหมำยหรอื ไม่อย่ำงไร จงอธบิ ำย

48 เอกสารอา้ งองิ ณัฐวรรณ ชง่ั ใจ.(2555).วิวฒั นาการของภาษาไทย.กรุงเทพฯ:สำนกั พิมพม์ หำวิทยำลยั รำมคำแหง. ดุษฎีพร ชำนิโรคศำนต์. (2526). ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและภาษาไทยเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: พมิ พ์ลักษณ์. ธวัช ปุณโณทก. (2553).วิวัฒนาการภาษาไทยและอักษรไทย.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬำลงกรณ์ มหำวทิ ยำลยั . รำชบัณฑิตยสถำน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. กรุงเทพฯ :นำนมีบุ๊คส์ พับลเิ คช่ันส.์ _______. (2554). พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ไตรภูมิกถา, พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: บริษทั สหมิตรพริน้ ต้งิ อแนด์พบั ลิสชงิ่ จำกัด. _______. (2556). พจนานกุ รมศพั ทว์ รรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ศิลาจารึกพอ่ ขุนรามคาแหง มหาราช หลักที่ 1, พิมพ์คร้ังที่ 3. กรงุ เทพฯ: บริษัท สหมติ รพรน้ิ ติ้งอแนดพ์ บั ลิสชงิ่ จำกัด.

49 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5 เรื่อง คายมื และการเปลี่ยนแปลงดา้ นไวยากรณ์ หัวข้อเนื้อหา 1. คำยมื ภำษำบำลแี ละสันสกฤต 2. กำรสรำ้ งคำแบบไวยำกรณ์ภำษำบำลีและสนั สกฤต 3. กำรยืมคำภำษำเขมร 4. กำรสร้ำงคำแบบไวยำกรณ์ภำษำเขมร 5. สรปุ วัตถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เมือ่ เรยี นบทเรียนนแ้ี ล้วนักศกึ ษำสำมำรถแสดงพฤติกรรมต่อไปนี้ 1. มคี วำมรคู้ วำมเข้ำใจเก่ยี วกบั คำยืมภำษำบำลี สนั สกฤต และเขมรได้ 2. วเิ ครำะห์คำยืมจำกวรรณคดีสมยั ตำ่ ง ๆ ได้ 3. มคี วำมรูค้ วำมเข้ำใจเก่ยี วกบั ไวยำกรณ์คำยืม 4. สำมำรถวเิ ครำะหก์ ำรสร้ำงคำแบบไวยำกรณ์คำยมื ได้ วิธีสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. บรรยำยเนื้อหำจำกเอกสำร และ power pointเร่ือง คำยืมและกำรเปล่ียนแปลงด้ำน ไวยำกรณ์ 2. นักศกึ ษำสรปุ เนอ้ื หำ อภิปรำยแสดงควำมคดิ เห็นร่วมกัน 3. นกั ศกึ ษำตอบคำถำมท้ำยบท 4. นักศึกษำวิเครำะห์กำรเปลี่ยนแปลงภำษำด้ำนคำยืมและไวยำกรณ์คำยืมจำกวรรณคดี สมยั ตำ่ ง ๆ ท่ีกำหนดให้ได้ พรอ้ มนำเสนอผลกำรวิเครำะห์หน้ำช้ันเรยี นในคำบถดั ไป ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสำรประกอบกำรสอนวิชำ ววิ ัฒนำกำรภำษำไทยบทท่ี 5 2. เคร่อื งฉำยแผ่นทึบ 3. คอมพิวเตอร์ , power point เรอื่ ง คำยืมและกำรเปลย่ี นแปลงด้ำนไวยำกรณ์ 4. แบบฝกึ หดั

50 การวดั และการประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤติกรรม 2. กำรมีสว่ นรว่ มในช้นั เรยี น 3. ตรวจแบบฝกึ หดั ท้ำยบท 4. กำรนำเสนอผลกำรวเิ ครำะหห์ น้ำช้นั เรยี น

51 บทที่ 5 คายมื และการเปลี่ยนแปลงดา้ นไวยากรณ์ กำรยืมคำเป็นกำรพัฒนำทำงด้ำนคำไทยอย่ำงหนึ่ง เพรำะเมื่อสังคมไทยเจริญรุ่งเรืองข้ึนโดย สร้ำงคำไทยมำใช้เพ่ิมเติม และเม่ือมีกำรติดต่อสัมพันธ์กับชำวต่ำงประเทศ โดยเฉพำะชำติ ทมี่ ีควำมเจริญ ทำงวัฒนธรรม เรำมักจะรับวัฒนธรรมของชำติน้ันมำ และขณะเดียวกันย่อมรับเอำคำ ของชำตนิ นั้ มำใช้พูดจำกันดว้ ย กำรทค่ี ำยมื ภำษำตำ่ งประเทศเขำ้ มำปะปนกับภำษำไทยเป็นจำนวนมำก ไวยำกรณ์ของภำษำ น้ันย่อมติดมำกับภำษำน้ัน ๆ ด้วย เช่น คำสมำส กำรสนธิ (ภำษำบำลีและสันสกฤต) คำแผลง (ภำษำเขมร) ในบทนี้จะกล่ำวถึงคำยืมภำษำบำลีและสันสกฤต ภำษำเขมร (ส่วนคำยืมภำษำอื่นมีอิทธิพล ต่อโครงสร้ำงไวยำกรณ์ภำษำไทยไมม่ ำกจึงไมก่ ลำ่ วถึง) (ธวชั ปุณโณทก, 2553: 145) วิไลวรรณ ขนิษฐำนันท์ (2526 : 128-129) กล่ำวถึงกำรยืมภำษำ อันเป็นลักษณะของ กำรเปลี่ยนแปลงอันเน่ืองมำจำกอิทธิพลภำยนอก จำแนกได้ 3 ประเภท ได้แก่ กำรยืมอัน เนือ่ งมำจำกวัฒนธรรม กำรยืมอันเน่ืองมำจำกควำมใกล้ชิด และกำรยมื จำกภำษำกลมุ่ กำรยืมอันเนื่องมำจำกวัฒนธรรม หมำยถึง เม่ือชน 2 กลุ่มซ่ึงต่ำงภำษำต่ำงวัฒนธรรมกัน มีโอกำสติดต่อสื่อสำรกัน กลุ่มท่ีมีวัฒนธรรมหรือควำมอยู่ที่เจริญน้อยกว่ำมักจะรับเอำลักษณะควำม เป็นอยู่ หรือวัฒนธรรมบำงอยำ่ งจำกกลมุ่ ทเ่ี จริญมำกกว่ำ กำรยมื อันเน่ืองมำจำกควำมใกลช้ ิด หมำยถึง กำรยมื คำจำกภำษำอื่นเข้ำมำใช้และกำรยืมนี้ เกิดจำกกำรท่ีคนต่ำงภำษำกันอยู่ร่วมในสังคมเดียวกันมำนำน มีควำมสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมำกใน ชีวิตประจำวันจึงเกิดกำรหยิบยืมกันข้ึน กำรยืมลักษณะนี้อำจเกิดขึ้นกับท้ังสองภำษำ กล่ำวคือ ต่ำงฝ่ำยต่ำงยืมกนั และกันนัน่ เอง ส่วนกำรยืมจำกภำษำกลุ่ม หมำยถึง กำรยืมจำกภำษำของคนต่ำงกลุ่มกัน ซึ่งอำจเป็นกลุ่ม ทำงภูมิศำสตร์(ภำษำถ่ินอ่ืน) หรือกลุ่มทำงสังคม (อยู่ถิ่นเดียวกันแต่อำจต่ำงกันเพรำะฐำนะทำง เศรษฐกจิ กำรศึกษำ ฯลฯ) ก็ได้ แต่ยังนบั ว่ำเป็นภำษำเดียวกันอยู่ มใิ ชก่ ำรยมื ต่ำงภำษำเหมอื นกำร ยืมขำ้ งต้น ลกั ษณะของการยมื คา ลักษณะของกำรยืมคำ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ ๆ (วิไลวรรณ ขนิษฐำนันท์, 2526: 130-134)ดงั น้ี 1. ทับศัพท์ หมำยถึง กำรนำคำจำกอีกภำษำหนึ่งเข้ำไปใช้ในอีกภำษำหนึ่งโดยตรง เช่น ไทยยืมภำษำจีนมำใช้ในภำษำไทย ตัวอย่ำงคำ โต๊ะ เก้ำอ้ี ซำลำเปำ เป็นต้น กำรยืมลักษณะน้ีมี ลักษณะเด่น คือ ควำมพยำยำมท่ีจะรักษำเสียงไว้ให้เหมือนภำษำเดิมที่ยืมมำ แต่ว่ำกำรรักษำเสียง เดิมไว้จะมำกน้อยเพียงใดน้ันขึ้นอยู่กับควำมคล้ำยคลึงของระบบเสียงของภำษำท่ีให้ยืม และภำษำท่ี เป็นผู้ยืม

52 2. การแปลศพั ท์ หมำยถึง กำรยืมควำมหมำยของอีกภำษำหนง่ึ มำใช้ โดยกำรแปลควำมหมำยของศัพท์ ชนิดคำต่อคำ ดังน้ัน เร่ืองเสียงจึงไม่เป็นปัญหำเพรำะมิได้ยืมเสียงมำด้วย กำรแปลศัพท์น้ีมักเป็นกำรแปลคำ ประสมหรอื สำนวนกำรพดู เท่ำน้ันจะไมเ่ ปน็ คำศัพท์โดด ๆ กำรยืมชนิดแปลศัพท์น้ี ภำษำไทยมี 2 ลกั ษณะ คือ บำงครัง้ จะนำเอำภำษำสันสกฤตมำเป็นคำแปล ถ้ำภำษำที่ให้ยืมไม่ใช่ภำษำสันสกฤตเสียเอง บำงครั้งก็ใช้คำไทยล้วน ๆ แปล บำงคร้ังก็ใช้คำไทยปนกับ สันสกฤตหรือภำษำอน่ื 3. การยืมความหมาย เป็นกำรยืมควำมหมำยซึ่งเดิมไม่มีใช้อยู่ในภำษำไทยเข้ำมำใช้ และสร้ำงคำขึ้นมำ ใหม่เพื่อใช้กับควำมหมำยที่ยืมมำ คำประเภทนี้มักเป็นศัพท์วิชำกำรต่ำง ๆ ที่เรำพยำยำมบัญญัติศัพท์ไทย ข้ึนมำใช้แทนทกี่ ำรทบั ศัพท์ แตใ่ นกำรบัญญตั นิ ีบ้ ำงครั้งเรำก็หนั ไปเอำคำในภำษำสนั สกฤตมำใช้ การยืมคาภาษาบาลีและสันสกฤต หลักสังเกตคาภาษาบาลีสันสกฤต คำภำษำบำลีและสันสกฤต เรำได้นำมำใช้ในภำษำไทยเป็นจำนวนมำก เห็นได้จำกวรรณคดีและ บรรดำคำใหม่ ๆ ท่ีเรำบัญญัติขึ้นใช้ในภำษำไทย โดยเฉพำะคำที่เก่ียวกับวิทยำกำรต่ำง ๆ บำงคำเรำนำมำใช้ เฉพำะสนั สกฤตบำงคำกน็ ำมำใช้เฉพำะภำษำบำลี และบำงคำเรำก็นำมำใชท้ ง้ั ภำษำบำลีและภำษำสันสกฤต แม้ว่ำคำภำษำบำลีและสันสกฤตจะเป็นภำษำท่ีจัดอยู่ในตระกูลเดียวกัน แต่ลักษณะของคำและกำรใช้ อักษรยังมีข้อแตกต่ำงกันอยู่ เพรำะฉะนั้นจึงควรรู้ลักษณะที่แตกต่ำงกันไว้บ้ำง เพ่ือเป็นหลักสังเกตในกำร เทยี บเคยี งทั้ง 2 ภำษำ แต่หลักสงั เกตที่จะกล่ำวต่อไปนีเ้ ปน็ แต่เพยี งหลักท่วั ๆไปที่ควรรไู้ ว้เป็นเบื้องต้นเทำ่ น้ัน เพรำะควำมแตกตำ่ งของท้งั สองภำษำนี้มีมำกเกินกว่ำที่ควรจะแสดงไวโ้ ดยละเอยี ด กำชัย ทองหล่อ (2554 : 139 -147) ได้ให้หลักกำรสังเกตควำมแตกต่ำงระหว่ำงคำภำษำบำลีและ สันสกฤตไวด้ ังนี้ 1. สระภำษำบำลีมี 8 ตัว คือ อ อำ อิ อี อุ อู เอ โอ สระสันสกฤตมี 14 ตัว คอื อ อำ อิ อี อุ อู ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ เอ ไอ โอ เอำ 2. พยัญชนะบำลมี ี 33 ตวั คือ วรรค/แถวที่ 1 2345 วรรค กะ ก ขคฆง วรรค จะ จ ฉ ช ฌญ วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑฒณ วรรค ตะ ต ถทธ น วรรค ปะ ป ผพภม เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ (องั ) พยัญชนะสันสกฤตมี 34 ตัว (ไม่นับนิคหิต) คือมีตัว ศ ษ เพ่ิมเข้ำมำอีก 2 ตัว นอกนั้นเหมือน ภำษำบำลี 3. ตัวสะกดในบำลี จะต้องมีตัวพยัญชนะตำมหลัง เช่น กังขำ อิจฉำ ทุกข์ เป็นต้น แต่ตัวสะกดใน สนั สกฤต ไม่ตอ้ งมีพยัญชนะตำมหลงั ก็ได้ เช่น มนัส วิทยำ ศัตรู จักรี เป็นต้น

53 4. ตัวสะกดในภำษำบำลีแบ่งออกเป็นสองพวก คือ เป็นพยัญชนะวรรคพวกหน่ึง เป็นพยัญชนะเศษ วรรคพวกหนึ่ง มีหลักเกณฑ์ ดงั น้ี 4.1พยัญชนะวรรค ใช้เป็นตัวสะกดได้เฉพำะพยัญชนะวรรคแถวที่ 1 3 และ 5 ของวรรค เท่ำนั้น นอกน้ันเป็นตัวสะกดไม่ได้ แต่พยัญชนะวรรคในสันสกฤต นอกจำกจะใช้เป็นตัวสะกดในหลักเกณฑ์ บำลีแล้ว ยังมหี ลกั อ่ืนๆดังนี้ - ตัวสะกดตัวตำมไม่ต้องเรียงลำดับตำมแบบบำลีก็ได้ พยัญชนะวรรคแถวท่ี 3 เป็นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวท่ี 5 เปน็ ตัวตำมได้ เชน่ ปรัชญำ อำชญำ เปน็ ตน้ - ตวั สะกดตวั ตำมเปน็ พยญั ชนะต่ำงวรรคกันก็ได้ เชน่ มกุ ดำ อัคนี ศกั ดิ เปน็ ตน้ 4.2 พยัญชนะเศษวรรคในบำลีทใ่ี ช้เป็นตวั สะกดไดม้ ี 5 ตวั คอื ย ล ว ส ฬ มีหลักเกณฑ์ ดงั นี้ - ตัว ย จะเปน็ ตัวสะกดไดเ้ มื่อ ย หรอื ห ตำมหลงั เช่น อยั ยกิ ำ คยุ ห ฯลฯ - ตัว ล จะเปน็ ตวั สะกดไดเ้ ม่อื ล ย หรอื ห ตำมหลัง เช่น มัลลิกำ กลั ยำณวลุ ห ฯลฯ - ตัว ว และ ฬ จะเป็นตัวสะกดได้เม่ือมีตัว ห ตำมหลัง เช่น ชิวหำ วิรุฬหก อำสำฬห ฯลฯ - ตัว ส จะเป็นตัวสะกดได้เมื่อ ต น ม ย ว หรือ ส ตำมหลัง เช่น ภัสตำ มัสสุตสั มำ ฯลฯ ในภำษำสันสกฤต มีหลักเกณฑ์คล้ำยกับบำลี แต่มีตัวสะกดเพิ่มอีกสองตัว คือ ศ ษ เช่น อัศว พฤศจิกำยน รำษฎร ฯลฯ ส่วนตัว ร กับ ห เป็นตัวสะกดไม่ได้ทั้งในบำลีและสันสกฤต แต่เมื่อนำมำใช้ในภำษำไทยเรำให้เป็น ตัวสะกดดว้ ย เชน่ พรหม พรำหมณ์ จร ศร อมร อำหำร บริวำร อำกำร วรรค พรรค สรร มรรค ฯลฯ กำรยืมคำภำษำอ่ืนเข้ำมำใช้ในภำษำไทย เป็นกำรพัฒนำทำงด้ำนภำษำรูปแบบหนึ่ง ในภำษำไทย ปัจจุบันพบว่ำมีคำยืมภำษำบำลีสันสกฤตอย่ำงกว้ำงขวำง โดยเฉพำะในวงกำรวิชำกำร คำยืมเหล่ำนี้บำงคำใช้ อยู่ในภำษำไทยจนเป็นคำพ้ืนๆ ใช้เจรจำกันในชีวิตประจำวัน เช่น บำท สตำงค์ ศีลธรรม พระ ภำษำ เกียรติ บำป บญุ เวร กรรม สตั ว์ พืช ทำน สขุ ทุกข์ คำบำลีสันสกฤตท่ีนำเข้ำมำในสมัยสุโขทัยนั้น มักจะเป็นคำท่ีใช้ในกลุ่มผู้รู้ ผู้คงแก่เรียนและพระสงฆ์ แต่ชำวบ้ำนทั่วไปยังนิยมใช้คำไทยพื้นๆ ท่ีเรียกว่ำ “คำมรดก” แม้ว่ำในศิลำจำรึกหลักท่ี 1 พ่อขุนรำมคำแหง สร้ำงเม่ือ พ.ศ.1835 ต่อมำในรัชสมัยพระมหำธรรมรำชำลิไท มีคำยืมภำษำบำลีและสันสกฤตมำกขึ้น ดังศิลำ จำรึกหลักท่ี 2 พระมหำสวำมีศรัทธำรำชจุฬำมุนีฯ สร้ำงเมื่อ พ.ศ.1900 ปรำกฏว่ำนิยมคำยืมภำษำบำลี สันสกฤตมำกข้ึน โดยเฉพำะเตภูมิกถำหรือไตรภูมิพระร่วง อันเป็นตำรำวิชำกำรด้ำนพุทธศำสนำ จึงมีคำยืม ภำษำบำลีและสันสกฤตเพ่ิมมำกข้ึนเป็นทวีคูณ แสดงว่ำยิ่งสังคมไทยพัฒนำเจริญรุ่งเรืองมำกขึ้น ย่อมมีควำม จำเป็นที่จะต้องใช้คำศัพท์เพ่ิมขึ้น โดยเฉพำะคำศัพท์ที่ใช้ทำงด้ำนวิชำกำรศำสนำและตำรำอื่นๆ (ธวัช ปุณโณทก, 2553: 146)

54 ตวั อยา่ งคายมื ภาษาบาลแี ละสนั สกฤตที่ปรากฏในศลิ าจารึกหลกั ที่ 1 ของพอ่ ขนุ รามคาแหง รำตรี ธันวำรชร (2542: 34-49) ไดศ้ ึกษำคำทีม่ รี ำกศพั ท์จำกภำษำบำลีและสนั สกฤต ดังนี้ - เจดี ปจั จุบนั ใช้ เจดีย์ - ญดด ปัจจบุ นั ใช้ ญตั ติ - เถร ปัจจุบันใช้ เถร - นสี ไสยมดู ปัจจบุ ันใช้ - - เพชบรู ี ปัจจบุ นั ใช้ เพชรบรุ ี - สงงฆรำช ปจั จุบันใช้ สังฆรำช - สรธำ ปัจจุบันใช้ ศรทั ธำ - สำสน ปัจจุบันใช้ ศำสนำ - สลี ปัจจบุ ันใช้ ศีล - อจน ปัจจุบนั ใช้ - - อไรญิก, อไรญิญก, อรญิญก ปจั จบุ นั ใช้ อรัญญิก - (เวียง) จนั ปจั จุบนั ใช้ เวยี งจันทน์ - ตรีบูร ปัจจุบนั ใช้ - - ปีดกไตร ปจั จุบนั ใช้ ไตรปิฎก - (ถ่ีน)ถ้ำน ปัจจุบนั ใช้ ถ่นิ ฐำน - ธรมม ปัจจบุ นั ใช้ ธรรม - บุน ปจั จุบันใช้ บุญ - ปรำชญ ปจั จุบนั ใช้ ปรำชญ์ - ปรำสำท ปัจจบุ นั ใช้ ปรำสำท - พรนษำ ปจั จบุ ันใช้ พรรษำ - ศรีธรมมรำช, สรีธรมมรำช ปจั จบุ นั ใช้ ศรธี รรมรำช - ศรรี ดรธำดุ ปัจจุบนั ใช้ - - ษรำชชนำไล, ศรสี ชชนำไล ปัจจุบนั ใช้ - - ษรีอนี ทรำทีตย, สรอี นี ทรำทีตย ปัจจบุ ันใช้ - - ษำลำ ปจั จบุ นั ใช้ ศำลำ - สถำบก ปัจจบุ นั ใช้ - - สมุทร ปจั จบุ นั ใช้ สมุทร - สรดี ภงส ปจั จบุ นั ใช้ - - สูพรณณภูม ปัจจุบันใช้ สุวรรณภูมิ - อฎฐำรศ ปจั จุบนั ใช้ - - พระพทุ ธรูบ ปัจจุบนั ใช้ พระพุทธรูป - อำจำรย ปจั จุบนั ใช้ อำจำรย์ - กถิน, กถนี ปจั จบุ นั ใช้ กฐนิ - กดู ี ปัจจบุ นั ใช้ กฏุ ิ

55 - ครู ปจั จบุ นั ใช้ ครู - ตำน ปจั จบุ ันใช้ ตำล - ทำน ปจั จบุ นั ใช้ ทำน - เทพดำ ปจั จุบนั ใช้ เทวดำ - ธำดุ ปัจจุบนั ใช้ ธำตุ - บรีพำร ปัจจบุ ันใช้ บริวำร หรอื บรพิ ำร ก็ว่ำ - บชู ำ ปจั จบุ นั ใช้ บูชำ - พระ ปจั จุบนั ใช้ พระ - (เบก)พล ปจั จุบนั ใช้ พล - พลี ปจั จุบนั ใช้ พลี - พำด ปัจจบุ ันใช้ พำทย์ - พนี ปัจจบุ ันใช้ พิณ - พีหำร ปจั จบุ ันใช้ พหิ ำร หรือ วหิ ำร - มนงงษลี ำบำตร ปจั จุบันใช้ - รำชบูรี ปัจจบุ ันใช้ - - รูจำคร,ี รูจำศรี ปจั จุบันใช้ - ษกุ โขไท, สุกโขไท, สโุ ขไท ปัจจุบันใช้ รำชบุรี - อูบำสก ปจั จุบันใช้ - สโุ ขทยั อบุ ำสก การสรา้ งคาตามแบบไวยากรณ์ภาษาบาลแี ละสันสกฤต กำรสร้ำงคำในภำษำบำลีและสันสกฤตมีหลำยวิธี (กำชัย ทองหล่อ,2554 : 306-307) เช่น สนธิ สมำส ตัทธิต อำขยำต กฤต เป็นต้นในท่ีน้ีจะอธิบำยวิธีกำรสร้ำงคำแบบบำลีและสันสกฤตอันเป็นท่ี นิยมในภำษำไทยคอื กำรสร้ำงคำด้วยวิธกี ำรสมำสและสนธิ สมำส ในภำษำบำลีและภำษำสนั สกฤต หมำยถงึ วิธยี ่อบทต่ำง ๆ ตง้ั แต่ 2 บทขึ้นไปใหร้ วมเปน็ บท เดยี วกัน โดยลบวิภตั ติของศัพท์หนำ้ หรอื ไม่ลบวภิ ัตติแต่นำมำเขียนติดกัน เพ่ือให้รู้วำ่ เป็นบทเดยี วกนั บทตำ่ ง ๆ ท่ีรวมเข้ำด้วยกันโดยวิธีน้ี เรียกว่ำบทสมำสหรือ คำสมำส สมำสไทย ตำมวิธีของไทย ได้แก่กำรประสมคำตั้งแต่สองคำขึ้นไปให้เป็นคำเดียวเมื่อประสมกันแล้ว ควำมหมำยคงเดมิ ก็มี ควำมหมำยเปลยี่ นไปกม็ ี ควำมหมำยอยทู่ ่ีคำหนำ้ คำเดียวกม็ ี เช่น 1. ความหมายคงเดิม เช่น สนุ ทร + พจน์ = สุนทรพจน์ มหำ + รำชำ = มหำรำชำ 2. ความหมายเปลี่ยนไป เช่น รำช + โอรส = รำชโอรส (เม่อื ยังไม่รวมกนั เป็นคำสมำส มคี วำมหมำยว่ำ พระรำชำและ พระโอรส แตเ่ มอ่ื รวมกันเป็นคำสมำสแลว้ มคี วำมหมำยถงึ พระโอรสพระองค์เดียว)

56 3. ความหมายผิดไป เช่น = น้ำชำ (รำชำ.) สุธำ แปลว่ำอำหำรทิพย์ รส แปลว่ำ น้ำ สุธำ + รส แต่เมอื่ รวมกันเข้ำ แปลวำ่ นำ้ ชำ สุพรรณ + รำช = กระโถน (รำชำ.) สุพรรณ แปลว่ำ ทอง รำช แปลว่ำ พระรำชำ/พระมหำกษตั ริย์ แต่เมื่อรวมกันเข้ำแปลวำ่ กระโถนใหญ่ 4. ความหมายอยูท่ ี่คาหน้าคาเดยี ว เช่น กำย + ประเทศ = กำยประเทศ หมำยถงึ กำย บปุ ผ + ชำติ = บปุ ผชำติ หมำยถงึ ดอกไม้ ประชำ + ชำติ = ประชำชำติ หมำยถึง หม่คู น คำหลังของกำรสมำสชนิดนี้ไม่ต้องแปลและมีชอื่ พิเศษเรียกอกี อย่ำงหน่ึงว่ำ “คำสกรรถ” คือคำท่ีเติม ลงข้ำงหลังคำศพั ทอ์ ่ืน แตไ่ มต่ ้องกำรควำมหมำยหรือคำแปล เพรำะฉะน้ันควำมหมำยจึงอยู่ทค่ี ำหน้ำ การเรยี งคาประสมกนั เป็นคาสมาส กำชัย ทองหล่อ (2554 : 308) กล่ำวถึงกำรเรียงคำประสมกันเปน็ คำสมำสไว้ดงั นี้ 1. ถ้ำเป็นคำท่ีมำจำกภำษำบำลีและสันสกฤต โดยมำกเรำเรียงตำมระเบียบภำษำเดิม คือเรียงบท ขยำยไว้ขำ้ งหน้ำ เช่น โจรภัย – ภัยจำกโจร อำยุขัย – หมดอำย/ุ สิ้นอำยุ 2. ถ้ำบทขยำยเปน็ คำวิเศษณ์ จะเรียงบทขยำยไวข้ ำ้ งหน้ำหรือขำ้ งหลงั ก็ได้ เชน่ สนุ ทรพจน์/พจนสนุ ทร หมำยถึง คำพูดท่ีไพเรำะ เศวตคช/คชเศวต หมำยถงึ ชำ้ งเผอื ก 3. ถ้ำบทหน้ำประวิสรรชนีย์ท่ีพยำงค์หลัง ให้ตัดวิสรรชนีย์ออก ทั้งน้ีหมำยถึงคำที่มำจำกภำษำบำลี และสันสกฤตเท่ำนนั้ เชน่ สมณะ + เพศ = สมณเพศ กำญจนะ + บุรี = กำญจนบรุ ี ธรุ ะ + กำร = ธรุ กำร คณะ + บดี = คณบดี 4. ถำ้ เป็นคำไทยให้เรยี งตำมระเบยี บภำษำไทย เชน่ ชวน + หัว = ชวนหัว (กำรแสดงทที่ ำให้ขนั ) แวน่ + ตำ = แวน่ ตำ (เครื่องส่องเพอ่ื ชว่ ยนัยน์ตำให้เหน็ ชัดขึ้น) 5. ถ้ำเป็นคำซำ้ ควำม คือคำทั้ง 2 มคี วำมหมำยเหมือนกัน แต่ประสมกันเข้ำไปเพ่ือให้อกี คำหน่ึงไข ควำมอีกคำหนง่ึ ในกรณีเช่นน้ีให้เรียงตำมควำมนยิ มของไทย ไมว่ ่ำคำนนั้ จะมำจำกภำษำอะไร กำรเรียงจะไม่ ค่อยแนน่ อนนกั บำงทกี ็เรียงคำไขควำมไวข้ ้ำงหนำ้ บำงทกี เ็ รียงไวข้ ำ้ งหลัง เชน่ คช + สำร = คชสำร (ช้ำง) เหตุ + กำรณ์ = เหตุกำรณ์ (เหตุ) นร + ชน = นรชน (คน) วิถี + ทำง = วถิ ที ำง (ทำง) ลู่ + ทำง = ล่ทู ำง (ทำง)

57 การสนธิ การสนธิ คือกำรตอ่ คำต้ังแต่สองคำขึน้ ไปให้ติดเนื่องเป็นคำเดียวกัน โดยมีกำรเปล่ียนแปลงรูปสระใน ระหว่ำงคำ หรือเพ่ิมพยัญชนะแทรกลงในระหว่ำงคำ เพ่ือจะให้คำที่มำต่อกันน้ันเช่ือมกันได้สนิทกำร เปลยี่ นแปลงรปู สระนัน้ อำจจะทำโดยวิธีลบหรือโดยกำรแปลงรปู ให้ผิดไปจำกรปู เดิมกไ็ ด้ เชน่ มหำ + โอฬำร เป็น มโหฬำร สขุ + อทุ ัย เป็น สุโขทยั อน + เอก เป็น อเนก สนธทิ ่ีใช้ในภาษาไทยมลี ักษณะดังนี้ 1. คำทจ่ี ะนำมำสนธกิ นั อย่ำงน้อยจะตอ้ งมี 2 คำอย่ำงมำกไมจ่ ำกดั 2. เม่อื สนธิกนั แลว้ จะต้องเปน็ คำเดยี วกนั เชน่ เดยี วกบั คำสมำส และโดยปกติจะต้องแปลจำก คำหลงั ย้อนไปหำคำหน้ำเสมอ เพรำะต้องเรียงลำดบั ตำมคำไวยำกรณบ์ ำลแี ละสันสกฤต คอื เรยี งคำขยำยไว้ ขำ้ งหนำ้ เช่น นร (คน) + อภบิ ำล (ปกครอง) เปน็ นรำภบิ ำล = ผู้ปกครองคน 3. คำท่ีจะนำมำสนธกิ ัน ตำมปกติจะต้องเป็นคำบำลหี รือสันสกฤต อำจจะเป็นสนธิบำลกี ับบำลี สนั สกฤตกับสันสกฤต หรอื บำลกี ับสนั สกฤตกไ็ ด้ เช่น สขุ + อภิบำล เป็น สขุ ำภบิ ำล (บำลี+บำล)ี มรู ธ + อภิเษก เป็น มูรธำภิเษก (สันสกฤต+สนั สกฤต) มุทธ + อภษิ ติ เป็น มทุ ธำภษิ ิต (บำลี+สนั สกฤต) 4. คำทีจ่ ะมำสนธกิ ัน ตำมปกตจิ ะต้องมที ้งั สระหน้ำและสระหลงั สระหน้ำ คอื สระทเี่ ป็นพยำงค์สุดทำ้ ยของคำหน้ำ สระหลัง คือ สระที่เป็นพยำงค์หน้ำของคำหลัง สระหลังน้ีจะต้องเป็นสระล้วนๆที่ไม่มี พยญั ชนะประสมอยูด่ ว้ ย เช่น สระหนา้ มี 6 นร (สระ อะ ทตี่ วั ร) มหำ (สระ อำ ท่ีตวั ห) มติ (สระ อิ ทต่ี วั ต) นำรี (สระ อี ทตี่ ัว ร) จตุ (สระ อุ ทตี่ วั ต) ธนู (สระ อู ท่ตี วั น) สระหลงั มี 11 อภิบำล (สระ อ) อำภรณ์ (สระ อำ) อิทธิ (สระ อ)ิ อตี ิ (สระ อ)ี อบุ ำย (สระ อุ) อนู (สระ อ)ู เอก (สระ เอ) องค์ (สระ โอะ) โอวำท (สระ โอ)

58 ไอศวรรย์ (สระ ไอ) เอำรส (สระ เอำ) สระหลังน้ีถ้ำมีพยัญชนะประสมอยู่ด้วย (อ ไม่นับ) จะสนธิกันไม่ได้ เวน้ แต่จะประสมกันไปตำมวธิ ีของ สมำส และคำทีป่ ระสมกนั ตำมแบบนี้ และสระ อะ ในภำษำบำลแี ละสนั สกฤตต้องเขยี นแบบลดรปู วิธีสนธิ วิธีสนธิคำเขำ้ ดว้ ยกนั มี 5 วิธี ดังน้ี 1. ลบสระหนำ้ คงสระหลังไวต้ ำมรปู เดิม แลว้ นำสระหลงั ไปประสมกับพยัญชนะตวั สุดท้ำย ของคำหน้ำ เชน่ มนุ ี + อินทร์ = มุนนิ ทร์ หัตถ + อำภรณ์ = หัตถำภรณ์ 2. ลบสระหน้ำ แล้วแปลงสระหลงั ทีค่ งไว้ เชน่ นร + อศิ วร = นเรศวร มหำ + อิสี = มเหสี 3. ลบสระหลงั คงสระหนำ้ ไว้ แล้วนำคำเขำ้ ไปตอ่ กนั เช่น พรำหมณ + อธบิ ำย = พรำหมณธบิ ำย 4. แปลงสระหน้ำเปน็ พยัญชนะ แลว้ จึงสนธกิ บั สระหลงั เชน่ มติ + อธิบำย = มตั ยำธบิ ำย ธนู + อำคม = ธันวำคม 5. เติมพยญั ชนะในระหวำ่ งคำแลว้ สนธิกัน สระหลงั จะคงไวต้ ำมเดมิ หรือแปลงก็ได้ เชน่ รังสิ + โอภำส = รังสิโยภำส (เตมิ ย และคงสระหลงั ) ปติ ุ + อศิ = ปติ เุ รศ (เติม ร และคงสระหลงั ) ยพุ + อิศ = ยุพเรศ (เติม ร และคงสระหลัง) ในภำษำไทยนิยมใช้วิธีท่ี 1 และ 2 พยญั ชนะท่ีเติมลงไปในระหว่ำงคำในข้อ 5 นั้น เรียกว่ำ “พยัญชนะอำคม” ในบำลีและสนั สกฤตลงไดถ้ ึง 10 ตัว แต่ในภำษำไทยนยิ มใช้อยู่ 2 ตัว คือ ย และ ร เรยี กวำ่ ย-อำคม ร-อำคม ตัวอย่างการสร้างคาตามแบบไวยากรณ์ภาษาบาลีและสันสกฤตในศิลาจารึกหลักท่ี 1 ของพ่อขุน รามคาแหง 1.ตัวอย่างการสรา้ งคาด้วยวิธกี ารสมาสเช่น - นสี ไสยมูด ประกอบขึ้นจำก นิสฺสยฺ + มุตตฺ - เพชบูรี ประกอบขึ้นจำก เพช (วชิร) + บรู ี (ปรุ ) - สงงฆรำช ประกอบขน้ึ จำก สังฆ + รำช - ตรีบูร ประกอบข้นึ จำก ตฺริ + บูร (ปุร) - ศรรี ดนธำดุ ประกอบข้ึนจำก ศรี + รตน + ธำตุ - สรีดภงส ประกอบขนึ้ จำก สรติ ฺ + ภงฺค - สูพรณณภมู ประกอบขน้ึ จำก สวุ รณฺ + ภูมิ - รำชบูรี ประกอบขนึ้ จำก รำช + บรู ี (บุรี)

59 - พระพุทธรปู ประกอบขึ้นจำก พระ (วร) + พุทธ + รูป 2. ตัวอย่างการสรา้ งคาด้วยวธิ กี ารสนธิ เชน่ - อไรญิก, อไรญญิ ก, อรญิญก ประกอบขึ้นจำก อรญญฺ + อิก - ษกุ โขไท, สุกโขไท, สโุ ขไท ประกอบขนึ้ จำก สขุ + อุทย 3. ตัวอย่างการสรา้ งคาท่ีมีทัง้ การสมาสและการสนธิ เชน่ - ษรสี ชชนำไล, ศรีสชชนนำไล ประกอบขึ้นจำก ศรี + สชฺชน + อำลย - ษรอี ีนทรำทีตย, สรอี นี ทรำทีตย ประกอบขึ้นจำก ศรี + อนิ ทรำ + อำทิตย - มนงงษีลำบำตร ประกอบข้นึ จำก มน + องคฺ + ษีลำ + ปำตร จำกกำรศึกษำคำยืมภำษำบำลีและสันสกฤตในจำรึกหลักท่ี 1 พบว่ำคำศัพท์ส่วนใหญ่จะพยำยำม เขียนคำโดยรักษำรำกศัพท์เดิมไว้ ซึ่งแตกต่ำงจำกรูปคำยืมปัจจุบันที่คำส่วนใหญ่จะมีกำรปรับเปล่ียนวิธีกำร รับมำใชใ้ หเ้ ข้ำกบั กำรออกเสยี งของคนไทย การยมื คาภาษาเขมร ชำวไทยได้ติดต่อสัมพันธ์กับชำวเขมรสมัยก่อตั้งอำณำจักรสุโขทัย และได้รับเอำอักษรขอม (เรียก อกั ษรเขมรวำ่ “อกั ษรขอม”) มำใช้เขียนพระธรรมคัมภรี ์ และภำษำไทยเมอื่ คร้ังสมัยสุโขทยั ดังศิลำจำรกึ วัดป่ำ มะม่วง สร้ำงเม่ือ พ.ศ.1904ใช้อักษรขอมบันทึกภำษำเขมร และหลังจำกนั้นก็พบว่ำคนไทยใช้อักษรขอมคู่กับ อักษรไทยมำจนถึงสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัวรัชกำลที่ 5 จึงเลิกใช้อักษรขอม ฉะนั้นภำษำเขมรจึง เข้ำมำปะปนกับภำษำไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยหรือก่อนน้ัน แม้ว่ำในศิลำจำรึกสมัยสุโขทัยจะมีภำษำเขมรปะปน น้อยกว่ำภำษำบำลแี ละสันสกฤตก็ตำม แต่น่ำจะเช่ือได้ว่ำภำษำพูดนน้ั มีภำษำเขมรเข้ำมำปะปนอยู่จำนวนมำก และย่ิงมำกเป็นทวีคูณในสมัยกรุงศรีอยุธยำ เน่ืองจำกกรุงศรีอยุธยำได้นำระเบียบวิธีกำรปกครองของขอม โบรำณมำใช้ ฉะนน้ั คำเขมรส่วนหน่ึงจงึ นำมำใช้เปน็ “คำรำชำศพั ท์”(ธวชั ปณุ โณทก, 2553 : 160) 1. ตัวอย่างคายมื ภาษาเขมรในศลิ าจารึกหลกั ท่ี 1 ของพ่อขนุ รามคาแหง รำตรี ธันวำรชร (2542: 24-34) ได้ศึกษำคำศัพท์จำกจำรึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรำมคำแหง พบว่ำ มีคำยมื จำกภำษำเขมรดงั น้ี - ก่ หมำยถงึ ทำใหม้ ีข้นึ เร่ิมข้ึน ปัจจุบันใช้ ก่อ - กรพดด หมำยถงึ สำยรดั กูบ ปจั จุบนั ใช้ - - กรำน หมำยถึง ปู หรอื ลำด ปัจจบุ นั ใช้ กรำน เชน่ กรำบกรำน - กรุ หมำยถงึ หมู ซงึ่ เป็นช่อื ของปนี กั ษัตร ปัจจบุ ันใช้ กุน - เกรง หมำยถึง กลวั คร้ำม ปัจจบุ ันใช้ เกรง - ขดำร หมำยถึง แผ่นไม้ กระดำน ปจั จุบนั ใช้ กระดำน - ขพงุ หมำยถงึ สันเขำ เนนิ เขำ ปัจจบุ ันใช้ - - คนน หมำยถงึ เฝ้ำ ปจั จุบนั ใช้ คัล (รำชำ.) - คำแหง หมำยถึง กล้ำหำญ ขม่ เหง ตวำด ปัจจบุ ันใช้ กำแหง - จกอบ หมำยถึง ภำษี เก็บภำษี ปัจจุบันใช้ - - จำรกิ หมำยถึง เขยี น โดยเฉพำะกำรเขยี นบนหนิ ปจั จบุ นั ใช้ จำรกึ - ด หมำยถึง ตี ทุบ ปจั จบุ นั ใช้ -

60 - ตรพงง หมำยถึง แอ่ง หนอง สระ ปัจจบุ ันใช้ - - ทรง หมำยถึง รปู แบบหรอื รปู ร่ำง ปัจจบุ ันใช้ ทรง - ทเล หมำยถึง แมน่ ้ำ ปจั จุบนั ใช้ ทะเล - บงค หมำยถึง ประโคม เลน่ ดนตรีครึม้ ดัง ปจั จบุ ันใช้ - - บำเรอ หมำยถึง ปรนนบิ ัติ ดแู ล ปจั จุบนั ใช้ บำเรอ - เบก(พล) หมำยถึง เปดิ ปัจจุบนั ใช้ เบิก - ปรำบ หมำยถึง ทำใหร้ ำบ ทำให้รำบคำบ ปัจจุบันใช้ ปรำบ - พน หมำยถึง ภูเขำ พมุ่ ปัจจุบนั ใช้ พนม - มแม หมำยถงึ แพะ ซงึ่ เปน็ ชื่อหน่งึ ในรอบปีนักษตั ร ปัจจบุ นั ใช้ มะแม - มโรง หมำยถงึ มังกรหรืองูใหญ่ ซ่ึงเปน็ ชอื่ หนง่ึ ในรอบปนี ักษตั ร ปจั จบุ นั ใช้ มะโรง - เรยี น หมำยถึง ศึกษำหำควำมรู้ ปัจจุบนั ใช้ เรียน - ลยำง หมำยถึง ภู่ เคร่ืองประดบั หัวชำ้ ง ปจั จุบนั ใช้ - - เวน หมำยถึง มอบ มอบให้ ปัจจุบนั ใช้ เวน - สวน หมำยถึง ถำม ปัจจบุ ันใช้ สอบสวน - สูด หมำยถึง สวดมนต์ ปัจจบุ ันใช้ สวด - เสมอ หมำยถงึ เทำ่ กนั ปจั จุบันใช้ เสมอ - อำจ หมำยถึง หำญ กล้ำ ปจั จุบนั ใช้ อำจ - โอย หมำยถงึ ให้ ปัจจุบนั ใช้ อวย 2. การสร้างคาแบบไวยากรณ์ภาษาเขมร คำยืมภำษำเขมรเข้ำมำใช้อยู่ในภำษำไทยจำนวนมำกดังได้กล่ำวไว้แล้ว คำยืมภำษำเขมรเหล่ำนั้นได้ นำมำใช้เป็นเวลำนำน จนบำงคำไม่สำมำรถจะแยกได้ว่ำเป็นคำมรดกภำษำไทยหรือคำยืมเขมร เช่น รำบ จอง จง จำ ระวัง ประหยัด สะเดำะ ฯลฯ แต่อย่ำงไรกต็ ำมหำกศึกษำกระบวนกำรสร้ำงคำศัพท์ตำมไวยำกรณ์ภำษำ เขมรอำจจะทำให้เข้ำใจได้ว่ำ คำข้ำงต้นมีใช้ในภำษำไทยและภำษำเขมร และมีแนวโน้มที่จะเป็นคำยืมภำษำ เขมรมำกกวำ่ คำมรดกของไทย กำรที่ภำษำไทยปัจจุบันมีคำยืมภำษำเขมรจำนวนมำกและนำเข้ำมำใช้เป็นเวลำนำน จึงพบว่ำ กระบวนกำรสร้ำงคำแบบภำษำเขมรจึงเข้ำมำเป็นส่วนหน่ึงของไวยำกรณ์ไทยดว้ ย ทัง้ กำรเตมิ อปุ สรรคและกำร ลงอำคม (คำแผลง) หำกเรำพิจำรณำคำพื้นฐำนภำษำเขมรและคำพ้ืนฐำนภำษำไทย จะพบว่ำท้ังภำษำเขมร และภำษำไทยมีคำตรงกันจำนวนมำก และคำเหล่ำน้ันยำกท่ีจะชี้ชัดว่ำเป็นคำยืมเขมร หรือคำยืมไทย (คำไทย ปะปนอยู่ในภำษำเขมร) ซึ่งแสดงว่ำสมัยอดีตชำวไทยและเขมรมีควำมสัมพันธ์กันใกล้ชิดทำงด้ำนวัฒนธรรม โดยเฉพำะภำษำพูด กำรสร้ำงคำของไวยำกรณ์เขมรมี 4 แบบ คือ (1) กำรเติมอุปสรรค (2) กำรลงอำคม (3) กำรอัพภำส หรือกำรซ้ำคำ (4) กำรสร้ำงคำแบบประสม เช่น ปฺรำก่แข (เงินเดือน) ภฺนเภฺลีง (ภูเขำไฟ) ในท่ีนี้จะอธิบำย เฉพำะกระบวนกำรสร้ำงคำเขมรที่มีอิทธิพลต่อไวยำกรณ์ไทย คือกำรเติมอุปสรรคและกำรลงอำคม ดังน้ี (ธวัช ปณุ โณทก, 2553 : 170-178)

61 2.1 กำรเตมิ อุปสรรค กำรเติมอุปสรรค คือกำรเติมหน้ำคำ เพ่ือทำให้คำนั้นเปล่ียนหน้ำที่ คือทำคำกริยำให้เป็นคำนำมหรือ กรยิ ำกำรตี และมคี วำมหมำยใหมด่ ้วย เชน่ เติมอปุ สรรค ไทยใช้ แปลวา่ เกดิ (=ขึน้ ) บงฺเกดิ บงั เกิด ใหก้ ำเนดิ เป็นขึน้ โฉด (=โง่) บญโฺ ฉด บญั โฉด ทำให้โง่ หลอก เหริ (=เหำะบนิ ) บงฺเหิร บังเหิน ทำให้บนิ 2.1.1 กำรเติมอุปสรรค บ กำรเตมิ บ ข้ำงหน้ำคำเพ่ือทำคำกริยำหรือคำวิเศษณ์ให้เป็นกริยำ กำรีต(ทำให้) อุปสรรค บ เม่ืออยู่หน้ำคำให้เปล่ียนนิคหิตเป็น ง ญ ณ น มตัวหน่ึงตัวใดตำมพยัญชนะวรรคที่ เปน็ ต้นเสยี งของคำน้ันๆ เชน่ เติมอุปสรรค ไทยใช้ แปลวา่ คำบ่ (=ถกู ตอ้ ง) บงคฺ ำบ่ (บอ็ งเกอื ็บ) บงั คับ ทำใหถ้ ูกตอ้ ง คำสงั่ จง่ (=อยำก) บญฺจง (บ็อนจง) บรรจง ประจง ทำให้ดี บวง (=บชู ำ) บบวง (บอ็ มบวง) บำบวง บูชำ เชน่ “ทกุ ทิศทั่วบำบวง สนั รวงโอนอำรำธนำแล” (มหำชำตคิ ำหลวง, มทั รี) จุะ (=ใส่) บญจฺ ะุ (บอ็ นโจะ) บรรจุ ประจุ ทำให้เตม็ จบ่ (=รอบ) บญฺจบ่ (บ็อนจ็อบ) บรรจบ ทำให้ถึง ตลอด ทุก (=เก็บวำงไว้) บนฺทกุ (บอ็ นตกุ ) บรรทกุ ประทกุ ใส่ให้เตม็ บำด่ (=หำย) บบำด่ (บ็อมบัด) บำบดั รกั ษำ ทำใหห้ ำย เพญ (=เตม็ ) บเพญ (บอ็ มเป็ญ) บำเพญ็ ทำให้เต็ม ควร (=ดเี หมำะสม) บงคฺ วร (บอ็ งกวั ) บงั ควร เหมำะอยำ่ งยิง่ อำจ (=กลำ้ สำมำรถ) บงอฺ ำจ (บอ็ งอำจ) บังอำจ ทะนง กลำ้ หำญ 2.1.2 กำรเติมอปุ สรรค ป ผ พ ภ กำรเตมิ อุปสรรค ป ผ พ ภ หนำ้ คำเพอ่ื ทำคำกรยิ ำและคำ วิเศษณ์ให้เป็นกริยำกำรีต หำกต้องกำรให้เป็นเสียงอโฆษะใช้ ป ผ ถ้ำต้องกำรออกเสียงโฆษะ ใช้ พ ภ เป็น อุปสรรค ดังนี้ เติมอปุ สรรค ไทยใช้ แปลวา่ รำย (=กระจำย) ปรฺ ำย ปรำย ทำให้กระจำย รำบ (=เรยี บ) ปฺรำบ ปรำบ ทำให้เรยี บ ปรำบปรำม ชดิ (=ตดิ ) ภชฺ ิด ประชิด ทำให้ติด สนทิ จำญ่ (=แพ้) ผฺจำญ่ ผจญ ประจญั ทำให้แพ้ ฎำจ่ (=ขำด) ผฺฎำจ่ เผดจ็ ทำให้ขำด ลำญ (=แตก หกั ) ผลฺ ำญ ผลำญ ทำให้วอดวำย ทำลำย เฎมี (=ตน้ กอ่ น) เผฺฎีม เผดมิ ประเดิม คร้งั แรก ฎงี (=ร)ู้ เผฎฺ ียง เผดียง ทำให้รู้ บอกใหท้ รำบ เชน่ “ฆำตเภรีตกี ลองปำ่ ว

62 เผดยี งข่ำวแก่พลทวั่ แล” (มหำชำติคำหลวง นครกัณฑ์) จำ (=คอย เฝ้ำ) ภฺจำ ประจำ เฝำ้ คอย อยูก่ ับที่ สมำ่ เสมอ โลม (=ปลอบ) ปฺรโลม ประโลม โอ้โลม ทำให้พึงใจ สม (=รวม) ผฺสม ประสม ปนกนั รวมกัน 2.1.3 กำรเติมอุปสรรค ส อุปสรรค ส เติมหน้ำคำเพื่อแปลงคำกริยำให้เป็นกริยำกำรีต หรือ เป็นคำนำม มีควำมหมำยเปลี่ยนไปเล็กน้อย ซึ่งมักจะแปลว่ำ “ทำให้” ส เมื่ออยู่หน้ำคำจะเปลี่ยนนิคหิตเป็น พยญั ชนะตัวที่ 5 (ง ญ น ณ ม) ของพยญั ชนะตวั หนำ้ ของคำนน้ั ๆ เชน่ เติมอุปสรรค ไทยใช้ แปลวา่ กด่ (=ทบั ไว)้ สงฺกด่ (ส็องก็อด) สะกด ทำให้หยุด รวม (=รวบรวม) สรวม (ส็อมรวม) สำรวม สงบ ระมัดระวงั ประสมกนั แรก (=หำบ) สงฺแรก (สอ็ งแรก) สำแหรก ทีส่ ำหรับหำบ “กรรเชำ้ แสรก (สำแหรก)คำน ก็พลดั จำก พระอังสำ” ณกึ (=คิด) สณึก (สอ็ มนกึ ) สำนกึ ร้แู ลว้ รู้สึก เข้ำใจ ควร (=ดี เหมำะสม) สควร (ส็อมกวั ) สมควร ควำมดี ควำมเหมำะสม เรงิ (=คะนอง สนุก) สเริง (สอ็ มเริง)สำเรงิ สนกุ สนำน 2.2 กำรลงอำคม หรอื กำรเติมเสียงกลำงคำ กำรลงอำคมในภำษำเขมร ท่ีไทยนำมำใช้ในไวยำกรณ์ไทย เรียกว่ำ “คำแผลง” แต่กำรลงอำคมใน ภำษำเขมรนั้นเป็นกระบวนกำรสร้ำงคำแบบหนึ่ง เพื่อสร้ำงคำเดิมให้มีแง่ควำมหมำยแตกต่ำงไปหรือมี ควำมหมำยใหม่โดยยังคงเค้ำควำมหมำยของคำเดิมอยู่ 2.2.1 กำรลงอำคม อา น, อา ณ คำศพั ท์ท่ีเป็นคำโดด (พยำงค์เดียว) ในภำษำเขมรมีกำรแทรกเสียง อำ น ระหว่ำงพยัญชนะต้นกับสระเพ่ือทำให้เป็นคำสองพยำงค์ และเกดิ ควำมหมำยใหม่ อำคม อำ น จะใช้กับ พยัญชนะต้นเป็นเสียงโฆษะ (พยัญชนะตัวที่ 3, 4, 5 ในพยัญชนะวรรค) ถ้ำพยัญชนะต้นเป็นเสียงอโฆษะ (พยัญชนะตวั ที่ 1, 2 ในพยัญชนะวรรค) จะแปลงเปน็ อำ ณ ดงั น้ี ลงอาคม ไทยใช้ แปลวา่ เกดี (=ขน้ึ ) กเณดี (ก็อมเนิด) กำเนดิ กำรเกดิ ทีเ่ กดิ จง (=ผูก) จณง (จอ็ มนอง) จำนอง กำรผูกพัน กำหนด แต่ง “จึงจำนองโคลงอำ้ ง ถวำยแด่บพติ รเจ้ำช้ำง” (ลิลิตพระลอ) จง่ (=อยำก) จณง่ (จ็องนอ็ ง) จำนง ควำมปรำรถนำ ต้ังใจ ฎำก่ (=ใส่ พกั ) ฎณำก่ (ด็อมนกั ) ตำหนกั ที่พกั บ้ำนเจำ้ นำย ติ (=ติเตยี น) ฎณะิ (ด็อมเนะส)์ ตำหนิ กำรตำหนิ คำบ่ (=ถกู ตอ้ ง) คนำบ่ (กมเนอื บ็ ) คำนับ เคำรพ ทำใหถ้ กู ต้อง คำล่ (=เฝำ้ ) คำนำล่ (กมเนอื ็ล) กำนลั คนเฝ้ำ นำงกำนลั

63 ทบ่ (=กัน้ ) ทนบ่ (ตมนบุ ) ทำนบ เขอื่ นกั้นน้ำ ทลู (=บอกกลำ่ ว) ทนลู (ตมนูล) ทำนูล คำเพ็ดทูล สวร (=ถำม) สนวร (ส็อมนวั ร์) สำนวน คำฟอ้ งศำล สำนวนพดู ควร (=ดี เหมำะสม) คนวร (ก็อมนวร) คำนวร เหมำะสม เชน่ “คิดควิ้ คำนวรนวย คอื ธนูอันกง่ ยง” (สมุทรโฆษคำฉันท)์ จำบ่ (=จับ ถือ เริม่ ) จณำบ่ (จ็อบเนือบ) จำหนบั มำกยิง่ จำย (=จ่ำย ใชเ้ งนิ ) จณำย (จอ็ มนำย) จำหนำ่ ย แจกจำ่ ย ขำยไป แจก (=แบ่งปนั ) จแณก (จอ็ มแนก) จำแนก สดั สว่ น แบง่ สว่ น โจท (=ถำม) จโณท (จ็อมโนท) จำโนทย์ ปัญหำ คำฟ้อง จำ (=คอย เฝ้ำ) จณำ (จอ็ มนำ) จำนำ จดจำ หมำยไวใ้ ห้จำได้ จน (=แพ้ ยำกจน) จนน (จ็อมนน) จำนน ยอมแพ้ ฉงฺ ำย (=ไกล) จงำย (จอ็ มงำย) จำงำย ทำงไกล หำ่ งจำก เช่น “หำกให้เจ้ำตฉู บิ หำย จำงำยพรำกพระบรุ ”ี (มหำชำติคำหลวง, ชูชก) ฌื (=เจ็บไข้) ชงื (จว็ มงอื ) ชำงอื วติ ก ปว่ ย เป็นไข้ เช่น “ตำชมุ่ ชืน่ ชำงือใจ” (มหำชำติคำหลวง, ฉกษตั รยิ )์ 2.2.2 กำรลงอำคม - (นิคหิต) กำรลงอำคมนิคหิต เป็นกระบวนกำรสร้ำงคำเหมือนกับกำรลงอำคม อำ น ข้ำงต้น ต่ำงกันที่คำเดิมน้ันมีพยัญชนะต้นเป็นเสียงควบกล้ำ จึงลงอำคมนิคหิตกลำงคำได้ทันที (หำกคำ เดมิ มีพยัญชนะต้นธนิตกลำ้ ใหแ้ ปลงเปน็ เสยี งสิถิล) ตวั อยำ่ ง ลงอาคม ไทยใช้ แปลว่า ขลฺ ำง (=เรย่ี วแรง) กลำง (ก็อมลงั ) กำลัง กำลงั เร่ยี วแรง เฉลฺ ยี (=ตอบ) จเลีย (จ็อมเลย) จำเลย ผูต้ อบ จำเลยศำล ถฺวำย (=ถวำย) ตงวฺ ำย (ตองวำย) ตงั วำย เคร่ืองถวำย ตรฺ ง่ (=เทย่ี งตรง) ฎรง่ (ด็อมรง) ดำรง ทำใหต้ รง คงไว้ เจรฺ ยี ง (=รอ้ งเพลง) จเรยี ง (จอ็ มเรยี ง) จำเรยี ง เพลง นักรอ้ ง ปฺรำบ (=ทำใหร้ ำบ) ปรํ ำบ (บอ็ มรำบ) บำรำบ ทำให้รำบคำบ เปฺรี (=รบั ใช)้ บเรี (บอ็ มเรอ) บำเรอ คนใช้ บรกิ ำร เช่น “อันวำ่ กบู ำเรอ พณหวั ผเู้ ปน็ ผัวผ่ำนเผ้ำ” (มหำชำติคำหลวง, มทั รี) ปรฺ ำส (=ไมม่ ี) บรำส (บอ็ มระส์) บำรำส ทำใหห้ มดไป ปรำศจำก ธลฺ ำย (=พงั ) ทลำย (ตมเลียย) ทำลำย ทำใหเ้ สยี หำย

64 รลกึ (=นึกถงึ ) รลกึ (รมลกึ ) รำลกึ กำรคิดถงึ เสรฺ จ (=แลว้ ) สเรจ (สอ็ มรจั ) สำเรจ็ ทำใหแ้ ลว้ เสรจ็ ปรฺ งุ (=ตกแต่ง เตรยี ม) บรุง (บอ็ มรง) บำรงุ ทำใหพ้ ร้อม รักษำ เจฺรีน (=มำก) จเรีน (จอ็ มเรนิ ) จำเริญ มำกข้ึน เพิ่มเติม เฉียง (=เฉ เอียง) จเหยี ง (จ็อมเหียง) จำเหยี ง คร่ึงหนง่ึ เส้ยี ว (พระจนั ทร)์ เชน่ “งำเจยี งจำเหียงแข” สอฺ ำง (=แต่ง) สอำง (ส็อมอำง) สำอำง (ยวนพ่ำย) สฺอำด (=หมดจด) สอำด (ส็อมอำด) สำอำด เครอ่ื งตกแต่ง เครอ่ื งหอม ครฺ บ่ (=เพิม่ ข้นึ ) ครบ่ (ก็อมโรบ็ ) คำรบ บรสิ ุทธิ์ ควำมงำม สฺพำย (=แบก) สพำย (ส็อมเปยี ย) สำพำย ครบถว้ น ครัง้ ท่ี เชน่ เขลฺ ำ (=โง่ เขลำ) กเลำ (ก็อมเกลำ) กำเลำ คำรบสำม ถงุ ยำ่ ม กระเปำ๋ จรฺ ำย (=กระจำย) จรำย (จอ็ มรำย) จำรำย (ไทยไม่ค่อยใช้) ไม่รเู้ ทำ่ ทัน ไมม่ ไี หวพริบ กรฺ ู (=วิง่ พร้อมกนั ) กรู (กอ็ มร)ู กำรู เชน่ “ดจุ ตกั แตนเต้นเหน็ ไฟ บม่ ใิ ผหนไี กลกำเลำกำเลำะ ขึง (=โกรธ) กหึง (กอ็ มเฮงิ )็ กำหงึ หวังเขญ็ ” (อนริ ทุ ธคำฉนั ท์) แขง (=กลำ้ ) กแหง (กอ็ มแฮง) กำแหง แผไ่ ป กระจำย เกฎฺ ำ (=ร้อน) กเฎำ (กอ็ มเดำ) กำเดำ เช่น “เสด็จจรจำรำยศักด์ิ โสภิต” (ทวำทศมำส) ขฺจี (=ดิบ ออ่ น) กจี (กอ็ มเจย็ ) กำจี ประดังเข้ำมำ เชน่ สนฺ ง (=ตอบแทน) สนง (สอ็ มนอง) สำนอง “กำรคู ลืน่ เป็นเปลว” (โองกำรแช่งน้ำ) ควำมโกรธ ฉุนเฉียว ข่มเหง (ไทยใช้ –เกง่ กล้ำ) ทำให้ร้อน (เลือดกำเดำ) เช่น “ทกุ ขกำเดำอำดูร บจ่ ำรูญรำชหฤทยั ” (มหำชำติคำหลวง, วนปเวศ) ดบิ ออ่ นมำก ทดแทน เชน่ “แผ่นหล้ำสำนองไผท หนังเสือไท้ทำ่ นทรงธำร” (มหำชำตคิ ำหลวง, มหำพน)

65 สรฺ วง (=เทพ) สรวง (สอ็ มรวง) สนั รวง เทวดำ เช่น “ทุกทศิ ท่ัวบำบวง สนั รวง โอนอำรธนำแล” (มหำชำติคำหลวง, มทั ร)ี กฺลนู (=กรุณำ) กลนู (กอ็ มลนู ) กำลูน สงสำร เชน่ “คร้ันบม่ ิเหน็ ยิ่งระทด กำลนู สลดชีวำ” (มหำชำตคิ ำหลวง, มทั ร)ี 2.2.3 กำรลงอำคม น กลำงคำ กำรลงอำคม น กลำงคำ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคำกรยิ ำพยำงค์ เดียวเพ่ือทำให้คำกริยำเป็นคำนำม มีควำมหมำยใหม่เป็นคำนำมท่ีเก่ียวข้องกับคำกริยำน้ันๆ กำรลงอำคม น น้ันถ้ำพยัญชนะต้นเปน็ สิถลิ ต้องเปลีย่ นเป็นพยัญชนะธนติ (ก-ข ค-ฆ ฯลฯ) เช่น ลงอาคม ไทยใช้ แปลวา่ เกีย (=หนนุ พำก) เขนฺ ยี (เคนฺ ย) เขนย หมอน (รำชำศพั ท)์ เกดี (=เกิด ขึน้ ) เขฺนีด (เคฺนดิ ) เขนิด ข้ำงขนึ้ สง (=ตอบแทน ใชห้ น)้ี สฺนง (สฺนอง) สนอง ตอบแทน แบก (=แตก) แผฺนก (แพนฺ ก) แผนก สว่ นต่ำงๆ บวส (=บวช) ผฺนวส (ผนฺ วั ะส)์ ผนวช กำรบวช รำบ (=รำบ) รนำบ (โรเนยี บ) ระนำบ พืน้ เรยี บ 2.2.4 กำรลงอำคม บ ม กลำงคำ ลงอำคม บ กลำงคำท่ีมีพยัญชนะต้นเป็นพยัญชนะเศษวรรค ส่วน อำคม ม จะใส่คำท่ีมีพยัญชนะต้นเป็นเสียงสิถิล กำรลงอำคม บ และ ม น้ีก็เพื่อทำให้คำกริยำเป็นคำนำม ตัวอย่ำง ลงอาคม ไทยใช้ แปลว่า เรียน (=เรียน) รเบยี น (โรเบียน) ระเบียน วิชำท่ีเรยี น เรยี บ (=จัด) รเบยี บ (โรเบียบ) ระเบียบ จัดแบบแผน รำ (=รำ) รบำ (โรบำ) ระบำ กำรฟอ้ นรำ ลำส่ (=ผลิ) ลบฺ ำส่ (ลฺบะฮ์) ละบัด ผลิใบ “ละบดั อนั อ่อนเกลย้ี ง ฟัดฟนุ้ เพียงสำลีผอง” (มหำชำติคำหลวง, มหำพน) เลง (=เลน่ ) เลฺบง (ลเฺ บง) เลบง กำรเล่น เช่น เลบงละคร เฎรี (=เดิน) เถมฺ ีร (ถเฺ มอร) เถมริ เดนิ ป่ำ พรำนป่ำ เลีส (=เกนิ ) เลฺมสี (ลฺเมอะส์) ละเมดิ ลว่ งเกิน สรปุ กำรยืมคำและไวยำกรณ์จำกภำษำอื่น เป็นกำรเปลยี่ นแปลงภำษำท่ีเกิดจำกปัจจัยภำยนอก เช่น กำร รับนับถือศำสนำ กำรรับประเพณีวัฒนธรรม กำรเปล่ียนแปลงด้ำนเทคโนโลยี เป็นต้น กำรยืมคำนั้นถือเป็น

66 กำรพัฒนำด้ำนคำศัพท์อย่ำงหน่ึง กล่ำวคอื กำรใช้ภำษำในยุคสมัยหนึ่งย่อมมีกำรสญู หำยของคำศัพท์เนื่องจำก ไม่ได้กล่ำวถึงหรือใช้ศัพท์น้ันอีก เม่ือมีกำรลดย่อมมีกำรเพิ่มด้วยกำรใช้ภำษำอื่นเข้ำมำแทนที่แทนควำมหมำย ของศัพท์ท่ใี ชใ้ นชว่ งสมัยนน้ั ๆ ภำษำไทยมีคำยืมเข้ำมำต้ังแต่สมัยสุโขทัย ซึ่งคำยืมท่ีเข้ำมำมำกที่สุด ได้แก่ คำยืมภำษำบำลีสันสกฤต ภำษำเขมร คำยมื เหลำ่ นเ้ี กิดข้นึ จำกกำรรบั ประเพณวี ฒั นธรรม ศำสนำ และกำรเมอื งกำรปกครอง นอกจำกกำรรับคำยืมมำใช้แล้ว ยังรับไวยำกรณ์คำยืมเข้ำมำใช้ด้วย ได้แก่ กำรสร้ำงคำด้วยวิธี กำรสมำส กำรสนธิ กำรเติมอปุ สรรค และกำรเตมิ กลำงหรือลงอำคม ปจั จุบันกำรยืมคำทำให้ภำษำไทยมกี ำรเปลยี่ นแปลงดำ้ นภำษำและมีคำศัพท์ใชเ้ พิ่มมำกข้ึนอีกด้วย แบบฝกึ หดั 1. ปจั จัยใดบ้ำงทีท่ ำให้เกดิ กำรยมื ภำษำ 2. จงวิเครำะห์คำยืมและไวยำกรณ์ คำยืมภำษำบำลี และภำษำสันสกฤตจำกจำรึกวัดป่ำมะม่วง (ภำษำไทย)(ศลิ ปำกร, 2548: 73) คาจารกึ คาอ่าน 1. (เม)ื อกอน่ ทีหนเี ปนรำช… เมือ่ กอ่ นท่นี ่เี ปน็ รำช... 2. ...พรญำรำมรำชผูเปนป.ู ..พระยำรำมรำชเปน็ ปู่ (ป-) 3. (ล)ู กไมมวงฝูงนเี ปนถ๋องดู... ลกู ไม้ม่วงฝูงนเ้ี ป็นถ่องดู 4. ...แกกเมอื ลุนนีพรญำฦๅ (ไทย) ...แก่กมเมื่อลุนนี้พระยำลอื ไทย 5. ...รูพระปิฎกไตรยไดขีน เ(สวย) ...รู้พระปฎิ กไตรไดข้ ้นึ เสวย 6. รำชในเมืองศรีสชชนำไลย(สุโข) รำชยใ์ นเมืองศรีสชั ชนำลัยสุโข- 7. (ไ)ทยแทนปูแทนพฝงู เป(นทำ) ทยั แทนป่แู ทนพอ่ ฝูงเปน็ ท้ำ- 8. วเปนพรญำเบืองตวนนออ(กตว) วเปน็ พระยำเบ้อื งตะวันออกตะวั- 9. นนตกหววนอนตีนนอนตำ(งคน) นตกหวั นอนตีนนอนต่ำงคน 10. ตำงมใี จใคร่ ใจรกกเอำมกฏุ (ขัน ตำ่ งมีใจใคร่ใจรกั เอำมกฏุ (ขรรค์ 11. ช)ั ยศรเี สวตรฉตรมำยดดยญ(อภ)ิ ชยั ศรีเศวตรฉัตรมำยัดยัญอภิ- 12. เสกใหเปนทำวเปนพรญำทง(ง) เษกใหเ้ ป็นทำ้ วเป็นพระยำ ทงั้ 13. หลำยจิงสนมตขนื ชศื รีสรู ยพ หลำยจงึ สมมตขิ ้นึ ชื่อศรสี ุรยิ พ 14. งศรำมมหำธรมมรำชำธริ ำชเสว(ย) งศ์รำมมหำธรรมรำชำธริ ำชเสวย 15. รำชชอบดวยทสพทิ ธรำชธรมม รำชย์ชอบด้วยทศพิธรำชธรรม

67 3. จงวิเครำะห์ คำยืมและไวยำกรณ์ คำยืมภ ำษ ำเขมรจำกวรรณ คดีเรื่อง “พ ระน ลคำฉัน ท์ ” (กรมหมื่นพทิ ยำลงกรณ,์ 2511) สรรคท่ี 4 ๑๒๏ พระลำวณั ยะพรรณี พชุ ฌงคปยาตฉนั ท์ สดบั วัจน์นิษธั นำ บตุ รีภมี ะรำชำ ๏ ไฉนนน่ั พระพันตำ ถหลำกจติ กอ็ ิดใจ สุเรนทรำธิเบนทรไ์ กร เถลิงอำศน์ถวัลยไ์ อ ศวรรย์ในสวรรคเ์ วียง ๏ ประดำนำงสรุ ำงคท์ รง สเอวองคส์ อำงเคยี ง บำรุงเธอบำเรอเรยี ง ประไพตำประภำเพรำ ๏ พระอนิ ทรไ์ ซร้จะไรน้ ำง สุรำงคแ์ นบเสนห่ ์เนำ ก็เหลือเชือ่ และเหลอื เดำ จะเปนได้ไฉนเนอ ๏ พระกำลกำญจนต์ ระกำรเพรศิ วลิ ำสเลิศวไิ ลยเลอ สุรลี ้อมบำเรอเธอ ประเล้ำโฉมประโลมฉำย ๏ พระเพลิงเรงิ เถกงิ กำจ วโรภำสสพุ รรณ์พรำย ประเสริฐศกั ดติ์ ระหนกั หมำย บไ่ รร้ ำ้ งสรุ ำงคโ์ ลบม ๏ วรณุ ไซรว้ ไิ ลยทรง สอำงองคล์ ออโฉม กย็ ่อมมสี รุ ีโลม สุภทั รแ์ พร้วศภุ ำดลู ย์ ๏ พระอนิ ทรย์ มวรณุ เพลงิ เถกงิ กำญน์วมิ ำนมรู ธ์ พพิ ฒั นแ์ ผว้ พพิ ธิ ภลู พชิ ยั ฤทธพ์ิ ชิ ติ ชำญ ๏ ไฉนจงประสงค์เรำ ฉน้เี ลำ่ บ่เปนกำร คำนึงพลำงยพุ ำพำล กท็ ูลตอบพระนลไป ๏ พระทรงฤทธ์ิอดิศวร ประมวลศรรี ะวไี กร เถลงิ รฐั นิษัธไอ ศวรรย์เอย่ี มอลงกรณ์ ๏ สยุมพรพธิ นี ี้ จะมเี พื่อพระภูธร สมำคมสโมสร กษัตรยิ ์ส้นิ ณะดนิ แดน ๏ ประสงคต์ รงพระองค์เธอ พระนลเลอเสมอแมน บุรษุ อนื่ ผิหมน่ื แสน จะหมำยชมบส่ มหมำย ๏ เพรำะเหตหุ งส์พิหงคท์ อง ยุบลถ่องแถลงปรำย ประลอื โฉมประโลมฉำย พระนลเฉดิ ประเสรฐิ ทรง ๏ จำเดมิ กำละนัน้ มำ ก็จงึ ฃ้ำคำนงึ องค์ จำนงในหทัยตรง ถวำยแดพ่ ระทรงศรี ๏ ผแิ มน้ องค์พระทรงศร มนำทรบ่หอ่ นมี กต็ ัวฃ้ำจะพำชี วะกม้ หนำ้ อำลำตำย ๚

68 เอกสารอ้างอิง กรมศิลปำกร. (2548). ประชุมจารึก ภาค 8 จารึกสุโขทัย. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พร้ินต้ิงแอนด์ พบั ลิชช่ิง จำกดั (มหำชน). กำชยั ทองหลอ่ . (2540). หลกั ภาษาไทย.พมิ พ์ครัง้ ที่ 10.กรุงเทพฯ:บริษัทรวมสำสน.์ ธวัช ปุณโณทก. (2553). วิวัฒนาการภาษาไทยและอักษรไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬำลงกรณ์ มหำวทิ ยำลัย. พระรำชวงศ์เธอ กรมหมนื่ พทิ ยำลงกรณ.์ (2511). พระนลคาฉนั ท์. กรุงเทพฯ: คลังวทิ ยำ. รำตรี ธนั วำรชร. (2542). การศึกษาคา ในศลิ าจารกึ หลกั ท่ี 1 ของพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช.พิมพ์ครง้ั ที่ 2, กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพ์มหำวทิ ยำลยั ธรรมศำสตร.์ รำชบัณฑิตยสถำน. (2556). พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง มหาราชหลกั ที่ 1. พิมพ์ครงั้ ท่ี 3, กรุงเทพฯ: หำ้ งหนุ้ ส่วนจำกัดอรณุ พิมพ.์ วิไลวรรณ ขนิษฐำนันท์. (2526). ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ วิวัฒนาการภาษาไทยและภาษาอังกฤษ. กรงุ เทพฯ: สำนักพมิ พม์ หำวทิ ยำลัยธรรมศำสตร์.

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 6 เรือ่ ง อกั ษรไทยและววิ ฒั นาการตวั อักษรไทย หัวขอ้ เนอื้ หา 1. อกั ษรไทยกอ่ นสมยั สุโขทัย 2. อักษรตน้ แบบของลายสอื ไทย 3. ลายสือไทยของพอ่ ขนุ รามคาแหง 4. อกั ษรสมยั พญาลิไทย 5. อกั ษรสมัยกรุงศรอี ยุธยา 6. อักษรสมัยกรุงรตั นโกสนิ ทร์ 7. อักษรเฉพาะแบบ 8. สรุป วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เม่อื เรียนบทเรยี นนี้แล้วนักศึกษาสามารถแสดงพฤติกรรมต่อไปน้ี 1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับอักษรสมัยสุโขทัย อยุธยาตอนต้น อยุธยา ตอนกลาง อยุธยาตอนปลาย และรตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้ 2. อธิบายลักษณะสาคัญของอักษรสมัยสุโขทัย อยุธยาตอนต้น อยุธยาตอนกลาง อยุธยา ตอนปลาย และรตั นโกสินทร์ตอนต้น 3. วิเคราะห์เปรียบเทียบอักษรสมัยสมัยสุโขทัย อยุธยาตอนต้น อยุธยาตอนกลาง อยธุ ยาตอนปลาย และรัตนโกสินทร์ตอนต้นกบั อกั ษรไทยปัจจุบันได้ วธิ ีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. บรรยายเนื้อหาจากเอกสาร และ power pointเรื่อง อักษรไทยและวิวัฒนาการ ตัวอกั ษรไทย 2. นกั ศกึ ษาสรุปเนอ้ื หา อภิปราย และแสดงความคดิ เห็นร่วมกนั 3. นักศึกษาแบ่งกลุ่มวิเคราะห์อักษรไทยสมัยสุโขทัย อยุธยาตอนต้น อยุธยาตอนกลาง อยุธยาตอนปลาย และรตั นโกสนิ ทรต์ อนต้น เปรยี บเทียบกับอกั ษรไทยปจั จบุ ัน 4. นักศึกษาทาแบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 6 5. นกั ศึกษาสรปุ วิวัฒนาการอักษรไทยสมัยตา่ ง ๆ เปน็ Mind mapping

70 สือ่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชา วิวฒั นาการภาษาไทยบทท่ี 6 2. เครื่องฉายแผ่นทึบ 3. คอมพวิ เตอร์ , power point เรื่อง อกั ษรและววิ ัฒนาการตัวอกั ษรไทย 4. แบบฝกึ หดั 5. ตัวอยา่ ง Mind mapping เร่อื ง วิวัฒนาการตัวอักษรไทย 6. บัตรตัวอกั ษรไทยสมยั ต่าง ๆ การวดั และการประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤติกรรม 2. การมีส่วนรว่ มในชน้ั เรยี น 3. ตรวจแบบฝกึ หดั ท้ายบท 4. ตรวจ Mind mapping เรื่อง วิวฒั นาการอกั ษรไทยสมัยตา่ ง ๆ การนาเสนอผลการวิเคราะหห์ นา้ ชน้ั เรียน

71 บทท่ี 6 อักษรและววิ ัฒนาการตวั อกั ษรไทย อักษร หรือภาษาเขียน คือ ระบบสัญลักษณ์อันเป็นตัวแทนของภาษาพูดท่ีมนุษย์ พัฒนาขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร เน่ืองจากภาษาพูดมีข้อจากัดในบางโอกาสและ บางสถานการณ์ อักษรจึงเป็นอารยธรรมด้านอักขรวิธีที่สาคัญ อักษรบางชนิดยังมีความเก่าแก่ อีกท้ังยังเป็นเคร่ืองมือในการสืบทอดวัฒนธรรม ตลอดจนความเช่ือต่างๆ เนื่องจากอักษรเป็น ภาษาเขียนที่ช่วยให้มนุษย์สามารถบันทึกเร่ืองราว ประสบการณ์ ศิลปะวิทยาการของมนุษย์รุ่น ก่อน ๆ ไว้ได้เป็นอย่างดีทาให้คนรุ่นหลังสามารถเรียนรู้และสืบทอดวิทยาการต่างๆให้พัฒนาการ ต่อไปได้ การกาเนิดอักษรจึงมีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป เพราะแรกเริ่มมนุษย์ไม่ได้คาดการณ์ว่า เม่ือมีภาษาพูด จากน้ันจะต้องมีภาษาเขียน แต่เนื่องจากสังคมมนุษย์ที่อยู่ในถ้าหรือมีชีวิตอยู่กับ ธรรมชาติ เมื่อพบเห็นหรือสัมผัสกับส่ิงใดในชีวิตประจาวนั เป็นประจา มักต้องการบันทึกส่ิงนั้นไว้ เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงในการประกอบพิธีกรรมหรือเพ่ือติดต่อสื่อสารและอธิบายความหมายบาง ประการ อักษรจงึ เรม่ิ พัฒนาขึ้นเปน็ รปู ร่างตามความสามารถของแต่ละกลมุ่ ชน ความสามารถในการพัฒนาภาษาพูด จนกลายมาเป็นอักษรหรือภาษาเขียนน้ันใช้เวลา ยาวนานและข้ึนอยู่กับพัฒนาการและศักยภาพของแต่ละกลุ่มชนที่สามารถสรา้ งเครื่องมือเพื่อเป็น รหัสแทนภาษาพูดคืออักษรได้หรือไม่ เพราะบางกลุ่มมีเพียงภาษาพูดเท่าน้ัน (สานักวัฒนธรรม กฬี า และการทอ่ งเทยี่ วกรงุ เทพมหานคร, 2556 : 11) อักษรก่อนลายสอื ไทย อารยธรรมอินเดียได้แผ่อิทธิพลมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่สมัยโบราณ ไม่ว่าจะ เป็นด้านการปกครอง ความเชื่อ ประเพณี หรือวัฒนธรรม รวมทั้งวรรณกรรม ภาษา และ อกั ษรเปน็ ตน้ สาหรับด้านอักษรน้ัน ปรากฏอักษรพราหมีอยู่ใน จารึกโวคาญ ซ่ึงเป็นจารึกของ อาณาจักรฟูนัน มีอายุประมาณพุทธศตวรรษท่ี 7-8 พบที่หมู่บ้านโวคาญ เมืองญาตรัง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามในปัจจุบัน เป็นจารึกโบราณที่เก่าแก่ท่ีสุดในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้เท่าที่พบในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังพบจารึกอายุใกล้เคียงกัน คือ จารึกตราหิน หรอื จารกึ เมืองออกแกว้ ท่ีเมืองออกแก้วทางตอนใต้ของราชอาณาจักรกมั พชู าในปจั จบุ นั แม้อักษรพราหมีมิได้มีอิทธิพลต่ออักษรของกลุ่มชนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แต่ อักษรคฤนถ์หรืออักษรปัลลวะซ่ึงมีวิวัฒนาการมาจากอักษรพราหมีน้ัน เป็นต้นเค้าอักษรของ ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคน้ี โดยมีการสันนิษฐานว่า พ่อค้าหรือนักบวชเป็นกลุ่มคนที่นาอักษรปัล ลวะมาเผยแพร่ เพื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 9-11 ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวร่วมสมัยเดียวกับ อาณาจักรต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในอดีต ได้แก่ อาณาจักรทวารวดี (พุทธ ศตวรรษที่ 12-14) อาณาจักรขอมสมัยพระนคร (พุทธศตวรรษท่ี 12-18) อาณาจักรปยูหรือ อาณาจกั ศรีเกษตร (พุทธศตวรรษที่ 12-14) และอาณาจักรศรีวชิ ยั (พุทธศตวรรษท1่ี 2-18) ด้วยเหตุนี้ อาณาจักรต่างๆในสมัยนั้นจึงมีโอกาสได้รับอิทธิพลทางด้านภาษาโดยเฉพาะ อักษรจากอินเดียฝ่ายใต้ ดังปรากฏอักษรในจารึกหลายหลักที่ค้นพบในภูมิภาคเอเชียตะวันออก

72 เฉียงใต้ในปัจจุบัน มีรูปสัณฐานคล้ายคลึงกับอักษรปัลลวะในสมัยพระเจ้าสิงหวรมัน กษัตริย์ ราชวงศ์ปัลลวะแหง่ อนิ เดียใต้ เช่น จารกึ ลานทอง ของอาณาจกั ปยูในสาธารณรฐั แห่งสหภาพพม่า จารึกมหานาวิกพุทธคุปต์ ในประเทศมาเลเซีย จารึกพระเจ้ามูลวรมัน สาธารณรัฐอินโดนนีเซีย จารึกเขารงั จงั หวดั ปราจนี บุรี ประเทศไทย เปน็ ตน้ อักษรท่ีพบในประเทศไทยรุ่นแรกจึงได้ต้นแบบมาจากอักษรปัลลวะ ซ่ึงปัจจุบันมีการ ค้นพบหลักฐานเป็นศิลาจารึกหลายหลัก โดยหลักที่มีความเก่าแก่ท่ีสุดและมีศักราชปรากฏอยู่ อย่างชัดเจน คือ จารึกเขาน้อย จังหวัดสระแก้ว ระบุปีมหาศักราช ซ่ึงตรงกับ พ.ศ. 1180 และ จารกึ เขารัง ระบปุ มี หาศักราชซง่ึ ตรงกบั พ.ศ. 1182 นอกจากน้ี ยังพบจารึกอักษรปัลลวะอีกหลายหลักเกือบทุกภูมิภาคของประเทศไทยท่ีมี อายุใกล้เคียงกันคือในราวพุทธศตวรรษท่ี 12 เช่น จารึกเมืองศรีเทพจังหวัดเพชรบูรณ์ จารึก เยธมมฺ าฯ จงั หวัดนครปฐม จารึกวดั มเหยงค์ จังหวัดนครศรีธรรมราช จารึกช่องสระแจง จังหวัด สระแก้วเปน็ ต้น รปู สัณฐานของอักษรปัลลวะในศิลาจารกึ ที่พบในประเทศไทย ราวพุทธศตวรรษที่ 12 น้ี มีรูปลักษณะอักษรและอักขรวิธีที่คล้ายคลึงกัน มีความแตกต่างกันแต่ในด้านภาษา ด้วยบางหลัก จารึกเป็นภาษาสันสกฤต เช่น จารึกวัดมเหยงค์ บางหลักจารึกเป็นภาษาบาลี เช่น จารึกเยธมฺ มาฯ หรอื บางหลกั จารึกท้ังภาษาเขมรและภาษาสนั สกฤต เช่น จารกึ เขารงั เปน็ ต้น ต่อมา ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15-16 หลังจากมีการใช้อักษรปัลลวะในดินแดนเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ได้ประมาณ 300-400 ปี อักษรปัลลวะเริ่มมีวิวัฒนาการจากอักษรต้นแบบ กลายเป็นอกั ษรหลังปลั ลวะและใชส้ ืบต่อมาพร้อมกับมีการปรับเปล่ียนไปทีละน้อย จนวิวัฒนาการ มาเป็นอักษรมอญโบราณซึ่งถูกค้นพบในบริเวณแถบลุ่มแม่น้าอิรวดีและลุ่มแม่น้าสาละวิน และ อกั ษรขอมโบราณซ่ึงค้นพบหลักฐานในแถบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาและลุ่มแม่น้าโขง (สานักวฒั นธรรม กีฬาและการท่องเทย่ี วกรงุ เทพมหานคร, 2556: 39-43) อักษรต้นแบบของลายสอื ไทย อักษรมอญโบราณ เป็นอักษรท่ีมีพัฒนาการไปจากอักษรหลังปัลลวะ ใช้ในอาณาจักร พุกามในสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า สมัยพระเจ้าอนิรุทธหรืออนุรุทธ และได้แผ่ขยายมายัง ดินแดนแถบลุ่มแม่น้าปิงและแม่น้าวัง คือบริเวณท่ีเคยเป็นอาณาจักรหริภุญชัย ซึ่งมีอายุในราว พทุ ธศตวรรษที่ 17-18 ลกั ษณะของอกั ษรมอญโบราณนน้ั ได้ปรับเปลี่ยนตามอัตลักษณข์ องตนเองคือ ตัดเส้นด่ิง ของอักษรหลังปัลลวะให้ส้ันลง ส่วนเส้นปกน้ัน อกั ษรมอญโบราณเริ่มให้มีความสาคัญน้อยลงจน ไม่มีเส้นปกบนเหลือแต่เพียงตัวอักษรโล้น ดังปรากฏในศิลาจารึกที่มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 17 เช่น จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ (วัดกู่กุด) จังหวัดลาพูน จารึกแม่หินบดเวียงมะโน จังหวัด เชียงใหม่ เป็นตน้ และอักขรวธิ ีมอญโบราณนนั้ จะวางสระไวร้ อบพยัญชนะ ถา้ มีอักษรควบกล้าจะ เขียนอักษรควบกล้าด้วยตัวเชิงไว้ใต้บรรทัด โดยอักษรท่ีเป็นตัวสะกดและตัวตาม ในภาบาลีและ สันสกฤตจะวางตัวสะกดไว้บนบรรทัดและวางตัวตามไว้ใต้บรรทัด ซึ่งมีสระ 10 ตัว มีท้ังสระจม และสระลอย และมีพยญั ชนะ 30 ตัว อักษรขอมโบราณ เป็นอักษรที่มีพัฒนาการไปจากอักษรหลังปัลลวะ ใช้ในช่วงประมาณ พุทธศตวรรษที่ 15-18 พบทั้งในอาณาจักรทวารวดีและอาณาจักรขอมสมัยพระนคร เฉพาะท่ี

73 ค้นพบในศิลาจารึกในประเทศไทยน้ันได้รับอิทธิพลมาจากอักษรสมัยพระนคร โดยส่วนใหญ่จะ ปรากฏในศาสนสถาน ศลิ ปะขอมสมยั พระนคร อักษรขอมโบราณยังรักษาระบบอักขรวิธีของอักษรปัลลวะอย่างเคร่งครัด แต่รูปสัณฐาน กลับปรับเปลี่ยนไปตรงกันข้ามคือ อักษรขอมโบราณให้ความสาคัญกับเส้นปกบน ซ่ึงกลายมาเป็น “ศก” หรือ “หนามเตย” และได้ใช้กันอย่างแพร่หลายในบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา โดยมีเมือง ลพบุรีโบราณ เป็นศูนย์กลางและได้มีอิทธิพลต่ออักษรไทยท่ีเกิดขึ้นในสมัยสุโขทัยด้วย ดังจะเห็น ได้จากเมื่อครั้งที่พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยแล้ว อักษรขอมก็ยังมี ความสาคัญในการบันทึกคัมภีร์ทางศาสนาสืบต่อมาจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาและสมัยกรุง รตั นโกสินทร์ ส่วนอักษรมอญโบราณที่เข้ามามีอิทธิพลอยู่ทางภาคเหนือโดยมีศูนย์กลางท่ีเมืองลาพูน ได้เป็นอักษรต้นแบบของอักษรยวนและอักษรตัวเมืองท่ีใช้เขียนในภาษาไทยถิ่นเหนือ ต้ังแต่สมัย ราชวงศ์มังรายเป็นต้นมา และแพร่กระจายไปสู่อาณาจักรล้านช้างและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทยเปน็ อกั ษรธรรมหรืออักษรธรรมอีสาน ก่อนการเกิดขึ้นของอาณาจักรสุโขทัยน้ัน กลุ่มชนชาวไทยได้รวมตัวกันก่อต้ังเป็นชุมชน อาศัยปะปนอยู่กับกลุ่มชนชาวขอมและชาวมอญ และแม้จะรวมตัวกันได้เป็นปึกแผ่นและพร้อมที่ จะเป็นอิสระแต่ยังไม่มีโอกาส เน่ืองจากยังอยู่ภายใต้อิทธิพลทางการเมืองของอาณาจักรขอม ซ่ึง ยังมคี วามเรืองอานาจและแข็งแกร่งมาก กลุ่มชนชาวไทยจงึ ได้แตเ่ พยี งเสรมิ สรา้ งวัฒนธรรมประจา กลุ่ม โดยเฉพาะวัฒนธรรมการเขียนหนังสือ เช่น กลุ่มชนชาวไทยใหญ่ไดด้ ัดแปลงอักษรมอญไป ใช้ในการบันทึกภาษาไทยใหญ่ กลุ่มชนชาวโยนกได้ดัดแปลงอักษรมอญไปใช้บันทึกภาษาไทยถิ่น เหนือ (อกั ษรยวนหรืออกั ษรตัวเมือง) กลมุ่ ชนชาวไทยอาหมได้ดัดแปลงอกั ษรมอญไปใชบ้ ันทกึ เป็น ภาษาเขยี นของตนเอง จนเกดิ เป็นเอกสารชอ่ื ว่า “อาหมโบราณจี”หรือ “อาหมบรุ าณจี” การเรียนรู้วัฒนธรรมการเขียนหนังสือน้ัน เกิดข้ึนทั้งกลุ่มชนชาวไทยทางภาคเหนือ ซึ่ง ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมการเขียนอักษรมอญโบราณไปใช้ในการบันทึกภาษาไทยถิ่นเหนือ ส่วน กลุ่มชนชาวไทยทางภาคกลางก็ได้รับเอาวัฒนธรรมขอมด้านอักษรศาสตร์ในการเขียนเรื่องราว ต่างๆ ท้ังฝ่ายอาณาจักรและศาสนจักร ท้ังภาษาไทยและภาษาบาลี หรือแม้กระทั่งภาษาขอมก็ ใชอ้ ักษรขอมของอาณาจักรขอมพระนครเนื่องจากช่วงนน้ั เปน็ กล่มุ ชนชาติทม่ี วี ฒั นธรรมเจรญิ กว่า อย่างไรก็ตาม เม่ืออาณาจักรขอมสมัยพระนครเสื่อมอานาจลงราวพุทธศตวรรษที่ 18 กลุ่มชนชาวไทยนาโดยพ่อขุนผาเมืองและพ่อขุนบางกลางหาวได้ปราบ “ขอมสบาดโขลญลาพง” ผู้มีอานาจปกครองเมืองสุโขทัยได้ ต่อมาจึงได้ก่อต้ังอาณาจักรสุโขทัย โดยมีพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เป็นปฐมกษัตริย์ครองอาณาจักรสุโขทัยและรัชสมัยต่อมาคือพ่อขุนบานเมือง ท้ังสองรัชกาลนั้น ยงั คงอาศัยวฒั นธรรมดงั้ เดมิ ของอาณาจักรขอมอยู่ ทั้งระบบการปกครอง ภาษาและอกั ษร ต่อมา ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์ได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทย เม่ือปี มหาศักราช 1205 ตามทีร่ ะบุในศิลาจารกึ หลกั ท่ี 1 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 1826 อักษรไทยหรือลายสือไทยที่พ่อขุนรามคาแหงมหาราชได้ทรงประดิษฐ์ข้ึนน้ัน นับว่าเป็น อักษรชุดแรกของไทย เพราะไม่ปรากฏว่ามีศิลาจารึกหรืออักษรไทยก่อนสมัยพ่อขุนรามคาแหง มหาราช ดังท่ีป รากฏหลักฐานในหลักศิลาจารึกหลักท่ี 1 ด้านท่ี 4 ความว่า... “...เมื่อก่อนลายสือไทยน้ีบ่มี 1205 ศก ปีมะแม พ่อขุนรามคาแหงหาใคร่ใจในใจ แล ใสล่ ายสอื ไทยนี้ ลายสอื ไทยนจ้ี งึ่ มีเพือ่ ขุนผนู้ ัน้ ใส่ไว.้ ..”

74 นักวิชาการสันนิษฐานว่า ลายสือไทยหรืออักษรไทยที่พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรง ประดิษฐ์ขึ้น คงได้อาศัยอักษรต้นแบบคือ อักษรขอมโบราณและอักษรมอญโบราณเป็นต้นแบบ (สานกั วัฒนธรรมกฬี าและการทอ่ งเท่ียวกรุงเทพมหานคร, 2556 : 45-50) ลายสือไทยของพอ่ ขนุ รามคาแหง 1. รูปอกั ษรของลายสือไทย ลายสือไทยท่ีพ่อขุนรามคาแหงทรงประดิษฐ์เม่ือ พ.ศ.1826 น้ันประกอบด้วย พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลข (จไุ รรตั น์ ลกั ษณะศริ ิ, 2554: 85-88) ดงั นี้ 1.1 พยญั ชนะ จานวน 39 ตัว - พยัญชนะเขียนต่อเป็นเส้นเดียวกันยกเว้นหางอักษร ตัวอักษรค่อนข้างเหลี่ยม มุม อกั ษรเปน็ เส้นโค้งมน - พยัญชนะลายสือไทยที่ได้แบบอย่างมาจากอักษรต้นแบบมี 30 ตัว คือ ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ญ ฏฐ ณ ตถ ท ธ น ป ผ พ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส และ ห - พ่อขุนรามคาแหงประดิษฐ์เพ่ิม 9 ตัว รวมพยัญชนะลายสือไทยทั้งส้ิน 39 ตัว ได้แก่ ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ และ อ - ลายสือไทยของพ่อขุนรามคาแหงมีเพียงชุดเดียว ไม่มีพยัญชนะตัวเชิง เน่ืองจาก ระบบการเขยี นภาษาไทยไม่มรี ะบบการใช้พยญั ชนะซ้อน 1.2 สระ จานวน 20 ตวั - สระท่ีลายสือไทยประดิษฐ์จากตน้ แบบ 11 ตัว คอื อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ไอ เอา และ อ (หรือนิคหิต ซ่ึงอักษรต้นแบบใช้เป็นเครื่องหมายแทนเสียง พยัญชนะนาสิกคือ m (ม)) พระองค์ทรงนามาใช้เป็นเสียงสระ และได้เพ่ิมรูป ำ ขึน้ ใชค้ กู่ นั อกี รปู หนึง่ ดว้ ย - พ่อขุนรามคาแหงประดิษฐ์สระเพ่ิมข้ึนใช้อีก 9 ตัว คือ สระ อื แอะ แอ -อ เอยี เออื อัว เออ และ ใอ ท้งั นี้เพอื่ ใหต้ รงกบั การออกเสียงในภาษาไทย 1.3 วรรณยกุ ต์ จานวน 2 รปู เสยี งเอก รปู (ำ) เสียงโท รปู (ำ) - พ่อขุนรามคาแหงประดิษฐ์วรรณยุกต์ขึ้นใช้เป็นคร้ังแรก เพ่ือใช้กากับคาที่ออก เสยี งและเขียนให้ตรงตามเสยี งของคา ซ่งึ เสยี งวรรณยกุ ต์นี้อกั ษรต้นแบบไม่มีใช้ 1.4 ตัวเลข พบ 6 ตวั คือ 1 2 4 5 7 0 นอกจากนี้ยังพบการใชเ้ ครื่องหมายแทนสระ มีจานวน 2 รูป คอื เคร่ืองหมายฝนทอง (ำ) และเคร่ืองหมายนิคหิตส่วนเคร่ืองหมายประกอบการเขียนพบ 2 รูป คือ เครื่องหมาย ขน้ึ ต้นข้อความ และเครือ่ งหมายค่ันขอ้ ความ 2. อกั ขรวิธขี องลายสือไทย 2.1พยัญชนะและสระวางอยู่บรรทัดเดียวกัน และมีขนาดเท่ากัน ต่างจากอักษร ต้นแบบทวี่ างสระไว้รอบพยญั ชนะตน้

75 2.2เนื่องจากพ่อขุนรามคาแหงกาหนดให้พยัญชนะทุกตัววางอยู่บนบรรทัดเดียวกัน จงึ ทรงยกเลิกการใช้พยัญชนะตัวเชิงและการเขียนพยัญชนะซ้อนเหมือนอักษรต้นแบบ พยัญชนะ จึงมเี พยี งชุดเดยี ว 2.3 การใช้สระ 2.3.1 วางสระไวห้ น้าพยญั ชนะ ได้แก่ สระ อิ อี อื อุ อู เอ แอ ใอ ไอ โอ 2.3.2 วางสระไวห้ ลงั พยญั ชนะ ไดแ้ ก่ อะ อา อ อวั 2.3.3 วางสระไว้ท้งั ข้างหน้าและข้างหลงั พยญั ชนะ ไดแ้ ก่ สระแอะ เอีย เอือ เออ 2.3.4 วางสระไว้ขา้ งบนและข้างหลงั พยัญชนะ คอื สระ อา 2.3.5 สระลอยมีเพยี งตัวเดียวคอื สระ อี ปรากฏในคาว่า ษรอี ีนทราทติ ย 2.3.6 สระเขยี นติดกับพยัญชนะ ได้แก่ สระอา อี ออ (คาท่ีมีตัวสะกด) เออื 2.3.7 สระ อื ไมต่ ้องมี “อ” เคยี ง 2.3.8 สระ วว (อัว) ใช้พยัญชนะซ้อน “ว” สองตัวแทนไม้หันอากาศ อีกตัว เปน็ ตัวสะกด ถ้าสระ อัว ใชใ้ นคาท่มี ีตัวสะกด จะใช้ “ว” ตวั เดยี ว 2.3.9 สระไอ ใอ สระโอ มีรูปสงู เทา่ กับพยญั ชนะ 2.3.10ใช้ตัวสะกดสองตัวซ้อนกันแทนไม้หันอากาศ ซึ่งก็ใช้สืบมาจนถึงสมัยกรุง รัตนโกสนิ ทร์เช่น 2.3.11รูปสระ เอีย เมื่อไม่มีตัวสะกดจะเขียนเต็มรูป แต่ถ้ามีตัวสะกดจะเขียนลด รปู คงตัว ย. ไวเ้ พียงตัวเดยี ว เช่น 2.3.12สระเอือ เมื่อไม่มีตัวสะกดจะเขียนเต็มรูป เมื่อมีตัวสะกดจะลดตัว อ. ออกไปหนึง่ ตัว เชน่

76 2.3.13สระ ออ สระ อือ ไมใ่ ส่ตวั อ. เหมือนปจั จบุ ัน เชน่ สรปุ พยัญชนะลายสอื ไทยมี 39 ตวั และมสี ระ 20 ตัว ดงั ตารางต่อไปน้ี ภาพท่ี 6.1 ตวั อักษรลายสอื ไทยของพ่อขุนรามคาแหง พ.ศ. 1835(ธวชั ปุณโณทก, 2553: 222)

77 อักษรสมยั พญาลิไทย สมัยพญาลิไทยพบว่ามีการเปล่ียนแปลงระบบอักษรไทยอีกครั้ง แสดงให้เห็นว่าอักษรไทย สมัยพ่อขุนรามคาแหงน้ันได้ใช้เป็นอักษรทางราชการแล้ว แต่ชาวไทยโดยทั่วไปยังนิยมใช้อักขรวิธี แบบอักษรขอมหรืออักษรมอญท่ีวางสระไวบ้ นและล่างพยัญชนะ เน่ืองจากเคยใช้มานาน และใน ขณะเดียวกันก็ยังอ่านคัมภีร์ท่ีเป็นภาษาบาลีซ่ึงใช้อักษรขอมเขียน ฉะนั้น การปรับมาใช้อักขรวิธี แบบลายสือไทยจึงรูส้ ึกไมส่ ะดวก อักษรไทยท่ีปรากฏในจารึกสมัยพญาลิไทย จึงมีการเปล่ียนแปลงระบบอักขรวิธี โดย กลับไปใช้อักขรวิธีขอมและมอญและใช้เป็นอักษรทางราชการแทนล ายสือไทยของพ่อขุน รามคาแหง ซึ่งจากหลักฐานท่ีเป็นศิลาจารึกสมัยพญาลิไทย พบว่ามี พยัญชนะจานวน 38 ตัว สระมี 22 ตัว ส่วนวรรณยุกต์ยังคงใช้เหมือนลายสือไทย (สานักวัฒนธรรมกีฬา และการท่องเที่ยว กรงุ เทพมหานคร, 2556 : 58) ระบบอักขรวิธีเปล่ียนไปเหมือนระบบอักษรวิธีขอมและมอญ ซึ่งได้ใช้เป็นอักษรทาง ราชการแทนลายสอื ไทยของพ่อขนุ รามคาแหงเป็นต้นมา(วโิ รจน์ ผดงุ สุนทรารกั ษ,์ 2559: 89) 1. การเปลยี่ นแปลงดา้ นรูปสัณฐาน 1.1 รูปสัณฐานของพยญั ชนะบางตัวเปลีย่ นไปเช่น 1.2 รูปสระ เม่ือเปล่ียนมาไว้บนและล่างตัวพยัญชนะ จึงต้องปรับเปลี่ยนสัณฐาน เพอ่ื ให้เหมาะสม และสระบางตัวมีรปู สงู กวา่ พยัญชนะ เช่น

78 2. การเปล่ียนแปลงด้านอักขรวิธี 2.1 มีการใชไ้ ม้หันอากาศแทนพยัญชนะซ้อนโดยเฉพาะ แม่ กง เช่น นงง ใช้เป็น นงั (น่งั ) (จารึกหลกั ท่ี 7) 2.2 แม้ว่าจะเขียนสระไว้บนและล่างพยัญชนะแล้วก็ตาม แต่ยังปรากฏว่ามีรูป สระลอยอย่างท่ีใช้ในลายสือไทยของพ่อขนุ รามคาแหงปะปนอยูบ่ า้ ง เช่น (ธวชั ปณุ โทก, 2553 : 87)

79 ภาพท่ี 6.2 พยัญชนะและสระอักษรไทยสมัยพญาลิไทย พ.ศ. 1900 (ธวัช ปุณโณทก, 2553: 229) อักษรสมัยอยุธยา อกั ษรสมัยอยุธยาแบง่ การศึกษาออกเปน็ 3 ยคุ ดงั น้ี 1. อักษรสมยั อยธุ ยาตอนตน้ (พ.ศ. 1893-2034) จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ (2554: 141-142) กล่าวถึงอักษรสมัยอยุธยาว่า อาณาจักรอยุธยา มิได้ประดิษฐ์อักษรข้ึนใช้เอง แต่ได้รับอิทธิพลจากอักษรไทยในสมัยพญาลิไทยแห่งกรุงสุโขทัย เอกสารโบราณเท่าที่ตกทอดมาถึงปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นเอกสารโบราณท่ีจารึกลงบนวัสดุเนื้อแข็ง เช่น เงิน ดีบุก หิน และโลหะต่าง ๆ จารึกเหล่าน้ีมักมีเน้ือหาสั้น ๆ เก่ียวกับการทานุบารุง ศาสนสถาน การสรา้ งพระพุทธรูป การทาบญุ และการตัง้ สัตยาธษิ ฐาน เป็นต้น

80 1.1 จานวนอักษร สมัยอยุธยาตอนต้นยังไม่พบหลักฐานการใช้พยัญชนะและสระเพ่ิมขนึ้ จากสมัยสุโขทัย แต่ พบเคร่ืองหมายประกอบการเขียนเพ่ิมข้ึน 1 รูป คือ เคร่ืองหมายไม้ยมก ในจารึกหลักที่ 44 จารึก วัดส่องคบ 3 พ.ศ. 1976 นบั เป็นการปรากฏใช้เคร่ืองหมายไมย้ มกเปน็ คร้งั แรก 1.2 รปู อกั ษร จากหลักฐานจารึกดังกล่าวพบว่าอักษรไทยสมัยอยุธยารุ่นแรกยังคงมีรูปสัณฐาน คล้ายคลึงกับอักษรสมัยพญาลิไทยอยู่มาก กล่าวคือ เส้นอักษรโค้ง มุมอักษรมน และตัวอักษร กว้าง มีเพียงบางตัวท่ีเส้นตัวอักษรและมุมอักษรเร่ิมเป็นเหลี่ยม เช่น ธ และ พ เป็นต้น ใน ระยะเวลาต่อมาตัวอักษรดังกล่าวจะค่อย ๆ คลคี่ ลายรูปสัณฐานเริ่มเปน็ ทรงเหลี่ยมเกือบทุกตัว ดัง ปรากฏชัดเจนในจารึกหลักท่ี 50 พ.ศ. 1956 และจารึกหลักที่ 44 จากรึกวัดส่องคบ 3 พ.ศ. 1976 1.3 การใช้อักษรขอมและอักขรวิธีแบบขอมเขียนแทรกในคาไทย คือพบใช้เขียน ทั้งคา ใช้เชิง ร เขียนอักษรควบ และใช้อักษรขอมบางตัวแทรกในพยางค์หรือในคาภาษาไทย ท้งั นพี้ บในจารกึ หลักท่ี 44 และ 51 เป็นจานวนมาก (จุไรรัตน์ ลกั ษณะศริ ิ, 2554: 149) 2. อักษรสมัยอยธุ ยาตอนกลาง (พ.ศ. 2034 - 2231) สมัยอยุธยาตอนกลางเร่ิมต้ังแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 จนถึงสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช ช่วงสมัยน้ีมีอายรุ าว 200 ปี นับว่าระยะยาวนานกว่าสมัยอยธุ ยาตอนตน้ สมัย น้ีบ้านเมืองมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุดทั้งด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ การต่างประเทศ และวรรณกรรม โดยเฉพาะในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ถือว่าเป็นยุคทองแห่งกรุงศรี อยุธยาเพราะมีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ จนมีการทาสนธิสญั ญาการค้ากับฝร่ังเศส และมี การเจรญิ ทางพระราชไมตรรี ะหวา่ งกรงุ ศรีอยุธยากบั ฝร่ังเศสดว้ ย เนื่องจากความเจริญรุ่งเรืองดังกล่าวโดยเฉพาะการต่างประเทศ ทาให้การเขียน เจริญกา้ วหน้าขึ้นดว้ ย ดังพบว่าในสมัยนี้มีการใช้ “กระดาษฝร่งั ” บนั ทกึ เร่ืองราวเปน็ จานวนมาก นอกเหนอื จากการจารกึ ลงบนวสั ดเุ น้ือแขง็ สมดุ ไทย และใบลาน การศึกษาอักษรไทยในสมัยอยุธยาตอนกลาง เอกสารโบราณส่วนใหญ่จะได้หลักฐาน มาจากต่างประเทศ ซ่ึงเป็นเอกสารเก่ียวกับการค้าขายในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม และ เอกสารสญั ญาทางการคา้ และหนังสือราชทูตไทยในสมัยสมเด็จพระนารายณม์ หาราช 2.1จานวนอกั ษร ยังไมพ่ บจานวนพยัญชนะที่เพิ่มขึ้นจากสมัยสุโขทัย แตพ่ บเคร่ืองหมายแทนสระ 2 รูป ได้แก่ เครื่องหมายไม้ไต่คู้ (พบใช้ครัง้ แรกในคาว่า ก็) และเคร่ืองหมายฟันหนู เครอื่ งหมายทั้งสอง นพ้ี บใช้ใน พระราชพงศาวดารกรงุ ศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ พ.ศ. 2223 (อิงอร สุ พนั ธว์ุ ณชิ , 2550: 447) 2.2รปู อักษร จากการศึกษาเอกสารโบราณสมัยอยุธยาตอนกลางพบรูปอักษร 2 แบบ (จุไรรัตน์ ลักษณะศิร,ิ 2554: 157-158) คือ 2.2.1 อักษรแบบธรรมดา ซ่ึงเป็นอักษรแบบเดิมท่ีสืบต่อมาจากอักษร สมัยอยุธยาตอนต้น แต่ในช่วงนไี้ ดพ้ ัฒนารูปสัณฐานไปเป็นทรงเหลี่ยมชัดเจนมากข้นึ เส้นอักษรไม่ โคง้ มน อีกท้งั ตัวอกั ษรยงั เอนไปทางขวาเล็กน้อย รปู อกั ษรแบบธรรมดาพบหลักฐาน ดงั น้ี

81 - หนังสือออกพระจอมเมืองศรีราชโกษา กรมการเมืองตะนาวศรี อนุญาต ให้พ่อคา้ เดนมาร์กเข้ามาคา้ ขายยงั ประเทศไทย พ.ศ. 2164 ฉบบั ที่ 2 - หนังสือออกพระจอมเมืองศรีราชโกษา กรมการเมืองตะนาวศรี อนุญาต ใหพ้ อ่ ค้าเดนมารก์ เขา้ มาค้าขายยงั ประเทศไทย พ.ศ. 2164 ฉบบั ที่ 3 - พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยธุ ยา ฉบบั หลวงประเสริฐอกั ษรนติ ิ์ พ.ศ 2223 - จดหมายเหตุอยุธยา เร่ืองระยะทูตสยามไปนมัสการพระเมาลีเจดีย์เมือง หงสาวดี พ.ศ. 2225 - บันทกึ โกษาปาน พ.ศ. 2229 - หนังสือออกพระวสิ ทุ ธสนุ ธร จดหมายฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2231 2.2.2 อักษรไทยย่อ คือ อักษรท่ีมีลักษณะหักเหล่ียมย่อมุม อักษร ประเภทนี้เป็นการตกแต่งประดิษฐ์อักษรแบบธรรมดาท่ีใช้เป็นปกติให้ประณีตบรรจงงดงามขึ้น ท้งั น้ีคงไดแ้ บบอย่างมาจากอักษรขอมบรรจงซ่ึงนิยมใชค้ วบคู่กบั อักษรไทยมาแล้วตั้งแตส่ มัยสุโขทัย และจากหลักฐานเอกสารโบราณ เท่าท่ีมีพบว่า อักษรไทยย่อพบใช้คร้ังแรกในสมัยสมเด็จพระเจ้า ทรงธรรม และพบว่านิยมใช้อย่างมากในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ท้ังนี้ส่วนใหญ่นิยมใช้ บนั ทึกเรอ่ื งราวที่เป็นทางการและการศาสนา 3. อักษรสมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ. 2231 - 2310) ถึงสมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ. 2311 - 2324) สมัยอยุธยาตอนปลายเร่ิมตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเพทราชา (พ.ศ. 2231) ถึงสมัยสมเด็จ พระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ สมัยอยุธยาตอนปลายเป็นช่วงท่ีบ้านเมืองอยู่ในสภาพท่ีตกต่า และอ่อนแอ มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายท้ังทางด้านการเมือง การปกครอง และความสัมพันธ์ ทางการค้ากับต่างประเทศ และท้ังยังมีการทาสงครามกับพม่าจนทาให้กรุงศรีอยุธยาเสียเอกราช เน่ืองจากบ้านเมืองประสบปัญหารอบด้าน ทาให้ความเจริญด้านการเขียนและด้านวรรณกรรมซบ เซาไป เอกสารสัญญากับต่างประเทศก็น้อยลง งานด้านวรรณศิลป์ปรากฏเฉพาะในรัชสมัยสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศซ่ึงก็มีน้อยกว่าสมัยอยุธยาตอนกลาง ด้วยเหตุน้ีเอกสารท่ีใช้ในการศึกษา ด้านอักษรในสมัยอยุธยาตอนปลายจึงพบเป็นจานวนน้อย และบางส่วนถูกเผาทาลายไปเป็น จานวนมาก เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงกอบกู้เอกราชและได้สถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี ประกอบกับพระองค์ได้ทรงฟื้นฟูวรรณกรรมขึ้นหลายเรื่อง ทาให้มีเอกสารหลักฐานโบราณ เอกสารราชการ และวรรณกรรมท่ีสามารถนามาศึกษาอักษรช่วงสมัยน้ีได้ (จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ, 2554: 184) 3.1 จานวนอกั ษร สมัยอยุธยาตอนปลายพบพยัญชนะเพ่ิมข้ึน 2 ตัว คือ ฑ และ ฮ พบว่า เป็นอักษรไทยย่อท้ังหมด ปรากฏใช้ในนันโทปนันทสูตรคาหลวง พ.ศ. 2279 แต่งขึ้นในสมยั พระ เจา้ อยู่หวั บรมโกศ รวมพยัญชนะครบ 44 ตวั 3.2 สระ สมัยนี้มีสระเพิ่มข้ึนอีก 5 ตัว ได้แก่ สระเอะ เอียะ เอือะ อัวะ และ เออะ พบใชใ้ นหนังสือจินดามณี สมยั พระเจ้าอยูห่ ัวบรมโกศ รวมมสี ระครบ 32 ตวั เมอื่ พ.ศ. 2275

82 3.3 วรรณยกุ ต์ สมุดไทยเร่ืองจินดามณีในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่พบท่ีเมืองลอนดอน ประเทศอังกฤษ พบวรรณยุกตต์ รีและวรรณยุกตจ์ ัตวา ฉะนัน้ หากยอมรับสมุดไทยเร่ืองจินดามณี สมัยพระเจ้าอยูห่ ัวบรมโกศที่พบท่ีลอนดอน เป็นฉบับจริง มิได้เปน็ การคดั ลอกในสมัยหลัง ก็อาจกล่าวได้ว่า วรรณยุกต์ทง้ั สองรปู นี้ ปรากฏครั้ง แรกใน พ.ศ. 2275 3.4 เครอื่ งหมาย สมัยนี้ พบเคร่ืองหมายประกอบการเขียน 1 รูป คือ เครื่องหมายทัณฑ ฆาต พบใช้ในนนั โทปนนั ทสูตรคาหลวง พ.ศ. 2279ใชก้ ากับพยัญชนะที่เปน็ ตวั สะกด 3.5 รปู อักษร พบ 2 แบบ เช่นเดียวกบั สมยั อยธุ ยาตอนกลางดังน้ี 3.5.1 อักษรแบบธรรมดา อักษรชนิดนเ้ี ปน็ อักษรแบบเดิมท่ีใช้สืบต่อมา จากสมัยอยุธยาตอนกลาง แต่เส้นอักษรได้พัฒนาไปเป็นเส้นตรง ตัวอักษรหักมุมจนเป็นเหลี่ยม มากกวา่ สมยั อยธุ ยาตอนกลาง 3.5.2 อักษรไทยย่อยังนิยมใช้รูปอักษรไทยย่อในการบันทึกทั้งบนศิลา ทองแดง สมุดไทย และกระดาษเพลา จากหลักฐานที่ปรากฏส่วนใหญ่พบใช้ในการบันทึก เร่ืองราวทางศาสนาและตาราสอนตัวอักษร อักษรไทยย่อที่นับว่าประณีตสวยงามที่สุดปรากฏใน สมุดไทยเร่ืองนันโทปนันทสูตรคาหลวง (จไุ รรัตน์ ลักษณะศิริ, 2554:89-190) อักษรสมยั รัตนโกสนิ ทร์ตอนต้นและพัฒนาการ 1. อกั ษรสมยั รัตนโกสินทรต์ อนต้น เร่ืองอักษรไทยในสมัยรัตนโกสินทร์นี้ จะกล่าวถึงเฉพาะอักษรไทยตั้งแต่รัชกาลท่ี 1 พ.ศ. 2325 ถึงสมัยรัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2394 คือในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 เท่านั้น เพราะในช่วงพุทธ ศตวรรษที่ 25 เป็นต้นไปได้เกิดการพิมพ์ขึ้นในประเทศไทย ทาให้อักษรไทยหลังสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้นไม่มพี ฒั นาการทจ่ี ะทาใหร้ ปู อักษรเปลีย่ นไป (จไุ รรตั น์ ลกั ษณะศิริ, 2554: 227) ในสมัยกรุงธนบุรีและสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พบว่ามีเอกสารจานวนมากท่ีเขียนในสมุดข่อยซ่ึงมีทั้ง สมุดดาและสมุดขาว รวมทั้งท่ีเขียนในใบลาน เอกสารเหล่านี้เป็นหนังสือราชการบ้างและเป็น วรรณคดบี ้าง รวมทัง้ สาเนาหรือบันทกึ ส่วนตัวของเอกชน ลายมือทเ่ี ขียนในเอกสารน้ันๆ มที ้ังทเี่ ป็น ลายมือบรรจงและลายมือหวัด ในการพิจารณารูปสัณฐานของตัวอักษรเราต้องพิจารณาจาก ลายมือบรรจง โดยเฉพาะในหนังสือท่ีเป็นเร่ืองทางราชการที่เขียนโดยลายมืออาลักษณ์ เพราะ นอกจากคัดตัวอกั ษรสมา่ เสมอแลว้ ลายเส้นของอักษรยังประณตี สวยงามอีกดว้ ย รูปแบบของตวั อกั ษรสมัยกรุงธนบรุ ีและกรุงรตั นโกสินทรต์ อนต้น คือก่อนที่จะมกี ิจการโรง พิมพ์ จะพบว่ารูปสัณฐานของตัวอักษรยังเป็นทรงเหลี่ยม เส้นตรงหักเหล่ียมหักมุมชัดเจนแต่ไม่ นิยมเล่นหางยาวๆ และย่อมุมหักเหล่ียมเหมือนเอกสารทางราชการสมัยสมเด็จพระนารายณ์ที่ เรียกว่า “อักษรไทยย่อ” ส่วนอักขรวิธีใช้ระบบเดียวกันสืบต่อมา วรรณยุกต์ในสมัยกรุง รัตนโกสินทรพ์ บทัง้ 4 รปู คอื เอก โท ตรี และจัตวา มรี ปู สณั ฐานเหมือนปจั จุบันทุกรูป

83 รปู สัณฐานอักษรในยุคน้ีจะพิจารณารวมถึงเอกสารสมัยกรุงธนบุรีด้วย เพราะเหมือนกัน จนแยกไม่ออก และเอกสารสมัยกรุงธนบุรีก็มีจานวนน้อยกว่ามาก จึงนามากล่าวรวมไว้ในที่แห่ง เดยี วกัน 1.1 พยัญชนะ มีสณั ฐานคงรปู ท่ี 44 ตัว (คือไมม่ ีการเปล่ียนแปลง) มาตงั้ แต่สมยั กรงุ ศรี อยุธยาตอนปลายแล้ว เพียงแต่มีสัณฐานผิดแผกไปบ้างตามลายมือผู้เขียนที่มีความชานาญต่างกัน หรือเขียนหวัด เขียนบรรจง หากพิจารณาเอกสารทางราชการทเ่ี ป็นลายมือของอาลกั ษณ์จะพบว่า ความนิยมในการประดิษฐ์ลายเส้นต่างกัน น่ันคือ อาลักษณ์สมัยสมเด็จพระนารายณ์นิยมประดษิ ฐ์ ปลายอักษรเล่นหางยาว และเขียนตัวเอน ส่วนเอกสารสมยั กรงุ ธนบุรีและกรงุ รัตนโกสินทร์ ลดการ ประดิษฐป์ ลายอกั ษร ไมเ่ ลน่ หาง และตวั เอนโยห้ ลงั เพียงเลก็ นอ้ ย หรือตัวตัง้ ตรงก็มี โดยสรุปว่า สัณฐานของตัวพยัญชนะสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น โครงสร้างท่ัวไป เหมอื นสมัยกรุงศรอี ยุธยาตอนปลาย ส่วนการประดิษฐ์อักษรน้นั แตกต่างกันเล็กน้อยตามความนยิ ม แต่ละสมยั ให้ดูตัวอยา่ งเอกสารสมยั กรุงธนบุรี 1.2 รูปสระสระทั้ง 32 รูป เราพบครบถ้วนตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายแล้วนั่น คือในหนังสือจินดามณี อันเป็นหนังสือแบบเรียนท่ีแต่งข้ึนในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ได้แจกรูป สระครบถ้วนทั้ง 32 รูป / เสียง ซ่ึงปรกติจะหาได้ยากมากในสระประสมเสียงส้ัน เพราะไม่ได้ใช้ เขยี นเลยหรือเกอื บจะไม่มีคาในภาษาไทยทใ่ี ช้เสียงสระนั้น เช่น สระอัวะ เอียะ เอือะ หนงั สอื จินดา มณีอันเป็นหนังสือแบบเรียนจึงได้บันทึกสระดังกล่าวไว้ครบถ้วน ครั้นถึงสมัยกรุงธนบุรีและกรุง รัตนโกสินทรก์ ็ได้คัดลอกหนังสือจินดามณีใช้เป็นแบบเรียนสืบต่อมา รูปสระท่ีไม่ค่อยจะใช้เขียนใน เอกสารยงั ปรากฏอยู่ครบถว้ นในหนงั สือนั้นด้วย รูปสัณฐานสระ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นไม่แตกต่างจากสมัยกรุงศรีอยุธยาตอน ปลายหากผดิ แผกไปบา้ งกเ็ ปน็ เพราะลายมือผเู้ ขยี น หรอื ลายมือหวัด หรอื บรรจงเท่านนั้ 1.3 วรรณยุกต์ วรรณยุกต์ในสมัยสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา มีวรรณยุกต์เพียง 2 รูป คือ เอก และ โท ซ่ึงวรรณยุกต์เอกใช้รูปเดียวสม่าเสมอมา ส่วนวรรณยุกต์โท เริ่มต้นด้วยรูปกากบาท ( ) และในราว พ.ศ. 1922 (หลักท่ี 102) ได้ปรากฏวรรณยุกต์โทรูปปัจจุบัน ( ) และยังใช้ปนกันกับ รูปกากบาท ครั้นเมื่อ พ.ศ. 1942 (จารึกหลักท่ี 93)จะใช้วรรณยุกต์โทรูปปัจจุบันสม่าเสมอ สืบ ตอ่ มาจนถึงปัจจบุ นั ส่วนวรรณยุกต์ตรี และจัตวา เพิ่งได้ปรากฏใช้กันในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แม้ว่าใน หนังสือจินดามณี ฉบับสมัยสมเด็จพระนารายณ์ และฉบับสมัยพระเจ้าบรมโกศ จะมีการสอนผัน เสียงวรรณยุกต์ แต่ฉบับสมัยสมเด็จพระนารายณ์ กล่าวเพียงวรรณยุกต์ เอก และ โท ส่วนจินดา มณีฉบับพระเจ้าบรมโกศ (เนื้อหาต่างกับฉบับพระโหราธิบดี ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์) มีการ สอนวรรณยุกต์ทั้งส่ีตัว แต่กระนั้นก็ตามนักอักขรวิทยา มีศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นครเป็น อาทิ เสนอวา่ ต้นฉบับจนิ ดามณที ีเ่ ราพบอยนู่ เ้ี ป็นฉบบั ทีค่ ดั ลอกสมัยกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ วรรณยุกตต์ รี และจัตวา พบใช้ในการเขียนเอกสารต้นกรุงรัตนโกสินทรจ์ านวนน้อยมาก ในเอกสารของราชการพบวรรณยุกต์ตรีใน “หนังสือพระยามหาโยธาถึงอุบากองผู้หลาน” เมื่อ พ.ศ. 2346 และวรรณยุกต์จัตวาพบคร้ังแรกใน “พระราชสาสนถ์ ึงญวนว่าด้วยการเมืองเวยี งจนั ทน์ และเร่ืองของเชียงสือ”พ.ศ. 2337 ฉะนั้นวรรณยุกต์ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีครบ 4 รปู ดังกล่าว แลว้ (ธวัช ปณุ โณทก, 2553: 240-243)

84 2. พัฒนาการของอักษรไทยสมยั รัตนโกสินทร์ แมว้ ่ารปู แบบอักษรไทยจะหยุดการเปล่ียนแปลงเน่ืองจากมีระบบการพิมพ์ แต่พฒั นาการ ของอักษรไทยก็ไม่ได้หยุดน่ิงเสียทีเดียว เนื่องจากในระยะต่อ ๆ มามีการสรา้ งสรรค์รปู แบบอักษร และอักขรวิธไี ทยใหแ้ ตกตา่ งไปจากเดิม อักษรเฉพาะแบบ อักษรเฉพาะแบบนี้เป็นอักษรที่ผู้รู้พยายามคิดประดิษฐ์ข้ึนเพื่อให้เขียนในหมู่คณะ หรือ ใช้เป็นทางราชการ แต่ประชาชนส่วนใหญ่ไม่ยอมรับ ฉะนั้นอักษรเหล่านี้ก็ต้องยกเลิกไป อักษร เฉพาะแบบของไทยมีถึง 3 ชนดิ คือ (ธวชั ปุณโณทก, 2553: 249) 1. อกั ษรอรยิ กะ ของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ 4 2. อกั ษรวิธีแบบใหม่ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หัว รชั กาลที่ 6 3. อักษรสมยั จอมพล ป. พิบูลย์สงคราม (ใชเ้ ป็นอักษรทางราชการอยู่ระยะหน่งึ ) 1. อักษรอรยิ กะ อิงอร สุพันธ์ุวณิช (2550: 639-641) ได้อธิบายถึงอักษรอริยกะไว้ว่าเมื่อประมาณ พ.ศ. 2390 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ได้ทรงประดิษฐอ์ ักษรขนึ้ มาชุดหนึ่ง เรียกว่า อักษร อริยกะโดยมีพระราชประสงค์จะให้ใช้เขียนภาษาบาลีและใช้กันในหมู่สงฆ์ธรรมยุต พระองค์ทรง ประดิษฐ์พยัญชนะ 33 รปู สระ 8 รูป เท่าภาษาบาลดี ังนี้ ภาพท่ี 6.3 อักษรอรยิ กะ ของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั (องิ อร สพุ ันธุ์วณิช, 2550: 639)

85 อักขรวธิ อี รยิ กะ อักษรอริยกะมีวธิ ีประสมสระและอักษรดังนี้ 1. วางพยัญชนะและสระบนบรรทัดเดียวกัน สระจะอยู่หลังพยัญชนะ ลักษณะของ การวางพยัญชนะและสระบนบรรทดั เดยี วกนั นี้เหมอื นในสมยั พ่อขนุ รามคาแหง 2. การผสมพยัญชนะและสระนั้นใช้เกณฑ์การออกเสียงเป็นสาคัญ คาใดออกเสียงสระ ใด อกั ษรอรยิ กะก็จะใสร่ ูปสระนน้ั ดว้ ย 3. คาท่ีออกเสียง “อัง” และมีนิคหิตกากับ อักษรอริยกะจะปรากฏรูป (อะ) และ o (˚)ดว้ ย 4. ตวั สะกดในภาษาบาลีซึ่งจะมีเครือ่ งหมายพินทุอยู่ใตต้ ัวสะกดนั้นอักษรอริยกะจะใส่ รูป I กอ่ นแลว้ จึงตามด้วยพยัญชนะท่สี ะกดนั้น 5. คาทีอ่ อกเสยี งสระขึน้ ต้น ให้ใชร้ ปู สระนั้น ๆ ข้ึนต้นคาได้ 6. พยญั ชนะใดทไี่ มม่ สี ระตามหลงั พยัญชนะนั้นคือตวั สะกด ลองเขยี นอกั ษรอริยกะกนั ดสู ิจะ๊ - นโม =………………………………………………………………………………………………………………………… - สรณ = ………………………………………………………………………………………………………………………… - ธมโฺ ม=…………………………………………………………………………………………………………………..……. - อรหโต=.................................................................................................................... อักขรวิธีแบบนี้ทาให้สะดวกกับการเขียน เพราะว่าต้องมีสระกากับพยัญชนะทุกตัวท่ี ออกเสียง พยัญชนะตัวใดทไี่ มม่ ีสระกากบั เรากร็ ู้ได้ทนั ทวี ่านนั่ คือพยญั ชนะสะกด การเขียนแบบ น้ีนับได้ว่าเป็นระบบดีแต่ไม่ได้รับความนิยม เพราะผู้เขียนจะต้องจาตัวพยัญชนะและสระใหม่ ทั้งหมด อักษรเหล่านี้มีลักษณะคล้ายอักษรโรมันเป็นท่ีแปลกตาออกไปจากอักษรเดิมทาให้จาได้ ยากจึงมีผู้ใช้จากัดอยู่ในคณะสงฆ์ธรรมยุต และคงจะเลิกใช้หลังจากท่ีพระบาทสมเด็จพระจอม เกลา้ เจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตไม่นานนัก 2. อกั ขรวิธีแบบใหม่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นว่าอักษรไทยมีอักขรวิธีสับสน ชาว ตา่ งประเทศใชล้ าบากมาก เพราะสระวางไว้รอบพยัญชนะต้นไม่เป็นระบบ และเสียงสระทีเ่ ปน็ สระ ประสมกันน้ันไม่ตรงเสียง อีกประการหน่ึงการเขียนหนังสือติดกันเป็นพืดไม่เว้นเป็นคา ๆ ทาให้ ผู้อ่านสับสน โดยเฉพาะพยัญชนะที่ไม่มีสระกากับ ออกเสียงเป็น อะ บ้าง ออ บ้าง โอะลดรูปบ้าง (ปฐม จราจร จลาจล บรม บด)ี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ จึงทรงคิดดัดแปลงอักษรไทยโดยเฉพาะอักขรวิธี ให้ วางสระไว้หลังพยัญชนะต้นบนบรรทัดเดียวกันทุกตัว ฉะน้ันจึงต้องออกแบบรูปสระใหม่เพื่อให้มี

86 สณั ฐานเหมาะกับการวางไว้บนบรรทัด สว่ นตวั พยญั ชนะและวรรณยุกต์นั้นคงรูปเดิม(ธวัช ปุณโณ ทก, 2553:251) สระที่ปรับปรุงใหม่ มีทั้งส้ิน 24 รูป ใช้สระเดิม 5 รูป คือ อ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ คิดเพิ่มใหม่อีก 19 ตวั ดงั น้ี ภาพที่ 6.4 อักษรและระบบอักขรวิธขี องพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัว (ธวชั ปุณโณทก ,2553: 252)

87 อภิปรายอักษรแบบใหม่ หรืออักขรวิธีแบบใหม่ของสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ได้ใช้เป็นหนังสือราชการ นั่นคือ พระองค์คิดประดิษฐ์อักษรแบบใหม่แล้ว พระองค์พยายาม เสนอเป็นบทความในวารสารเพื่อให้ผู้รู้ได้พิจารณาเป็นการหย่ังเสียงชาวไทยว่าสมควรจะนามาใช้ เป็นอักษรทางราชการเพียงใด ในขณะเดียวกันพระองค์ก็ได้พิมพ์หนังสือบรมราชาธิบาย “เร่ืองวิธี ใหม่สาหรับใช้สระ และเขียนหนังสือไทย” แจกจ่ายเผยแพร่แต่ไม่มีผู้ตอบรับแต่อย่างใด ฉะนั้น อักษรแบบใหม่ของรัชกาลท่ี 6 น้ีจึงใช้อยู่ในเฉพาะผู้ใกล้ชิดกับพระองค์ และกลุ่มข้าราชบริพาร เท่าน้ัน เมอ่ื เสดจ็ สวรรคตกไ็ ม่มผี ใู้ ดใชส้ บื ตอ่ มา เพราะใชอ้ กั ษรไทยท่ีเคยใชอ้ ย่จู นเคยชินแล้ว 3. อักขรวิธีสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม อกั ษรเฉพาะแบบชนดิ นี้ เป็นการปรบั ปรุงอกั ขรวธิ เี ทา่ นั้น และประกาศใช้เป็นตัวหนังสือ ของทางราชการเม่ือ พ.ศ. 2485 และยกเลิกใช้ในสองปีต่อมา คือเม่ือ พ.ศ. 2487 ซ่ึงเป็นยุคสมัย จอมพลป.พิบูลสงคราม เรอื งอานาจ และปรับระบบปกครองไทยเป็นระบบผู้นา มอี านาจสทิ ธิ์ขาด จึงประกาศใช้อักษรไทยแบบใหม่เพ่ือลดความยุ่งยากในการเขียนการอ่าน เราจึงเรียกอักษรชนิดน้ี วา่ “อกั ษรจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม” อักษรสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ประกาศใช้เป็นอักษรทางราชการเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2485ให้ตัดสระและพยัญชนะบางตัวออก โดยกาหนดให้มีพยัญชนะ 31รูป สระ 27 รปู (องิ อร สพุ ันธุว์ ณชิ , 2550: 664-666 ) ดังนี้ 1. ให้ยกเลิกพยัญชนะท่ีมีเสียงซ้ากัน 13 ตัว ได้แก่ ฃ ฅ ฆ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ศ ษ ฬ และ ญ ใหต้ ดั เชงิ ออก 2. ยกเลิกสระ ใ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ใน พ.ศ. 2485 น้ี ได้มีการวางหลักเกณฑ์การเขียนหนังสือไทยไว้กว้าง ๆ สรุปได้ ดังนี้ 1. การใช้พยัญชนะ เมื่อได้ตัดพยัญชนะบางตัวออกแล้วก็ให้ใช้พยัญชนะตัวอื่นท่ีมีเสียง เหมอื นกนั แทน 2. ตวั ญ ใช้ ย แทน แต่ในกรณที ตี่ อ้ งเขียนคาภาษาบาลหี รอื สันสกฤตใหใ้ ชต้ วั ญ ได้ แตต่ ้องตัดเชงิ ออก 3. ตัวกล้า ทร ท่ีออกเสียง ซ ให้ใช้ตัว ซ เขียนแทน เช่น ทราบ – ซาบ ทรุด โทรม – ซดุ โซม เป็นต้น 4. ตัว ย ที่มี อ นาให้เปล่ียนเป็น ห นา เช่น อย่า อยู่ อย่าง อยาก เปลี่ยนเป็น หยา่ หยู่ หยา่ ง หยาก 5. ใช้คาบาลีแทนสันสกฤต เช่น กรรม (กัม) นิตย์ (นิจ) เป็นต้นถ้าคาท่ีใช้รูปบาลีมี ความหมายหนึ่ง รูปสันสกฤตมีความหมายหนึ่งให้ใช้ทั้งสองคา แต่ให้เปลี่ยนรูปการเขียนตาม อักษรที่เหลืออยู่ เช่น มายา มารยา กติ ิกา กรสิ ดีกา เปน็ ต้น 6. ร หัน ในแม่ กก กด กบ กม ให้ยกเลิกและใช้ไม้หันอากาศแทน เช่น วัธนา บพั กัมการ แต่ ร หนั ในแม่กน ให้คงใชต้ ามเดิม เชน่ วรรนคดี บรรพบุรุส เป็นตน้ 7. คาท่ีมาจากบาลี ถ้าตัวสะกดมีอักษรซ้ากันหรืออักษรซ้อนในกรณีตัวหลังไม่มีสระ กากับให้ตัดตัวสะกดตัวหน้า เช่น อัตภาพ หัถกัม ทุข แต่ถ้าตัวหลังมีสระกากับไม่ต้องตัด ตัวสะกด เช่น อัคคี สทั ธา เปน็ ต้น

88 8. ไม้ไต่คู้ ใช้เฉพาะในกรณีที่ต้องการให้ออกเสียงส้ัน ถ้าไม่ใช้อาจมีความหมายเป็น อย่างอื่นเช่น เม็ด เล็ก เย็บ ส่วนคาที่ไม่ได้ออกเสียงส้ันจริง เช่น ตะเบง ไม่มีไม้ไต่คู้ คาท่ีมา จากภาษาบาลีและสันสกฤตก็ไม่ใช้ไม้ไต่คู้ เช่น เบญจ เพชร แต่คาตา่ งประเทศท่ีจาเป็นให้คงใช้ได้ เชน่ เช็ค 9. คาที่ไม่ได้มาจากภาษาบาลีสันสกฤตให้เขียนตามระเบียบคาไทย ให้เขียนตามเสียง เปน็ หลกั เชน่ บนั (บรร) ควน (ควร) เสมิ (เสริม) ทหาน (ทหาร) เป็นตน้ ตวั อยา่ งอกั ขรวิธสี มัยจอมพล ป.พิบลู สงคราม ภาพที่ 6.5 ตวั อย่างอักขรวิธสี มยั จอมพล ป. พิบูลสงคราม (อิงอร สพุ นั ธุว์ ณิช, 2550: 667) จากประกาศฉบับน้ีทาให้เราเห็นได้ว่า รัฐบาลสมัยน้ีพยายามที่จะปรับปรุงภาษาไทยให้ กะทัดรดั ขึ้น และพยายามทีจ่ ะกาหนดการใช้ภาษาอยา่ งกว้าง ๆ เอาไว้ใหป้ ระชาชนสมัยน้ันปฏิบัติ ตามแต่อักขรวิธีแบบน้ี ไม่เป็นที่ยอมรับกันเพราะเมื่อจอมพล ป. หมดอานาจลงใน พ.ศ. 2487 อักขรวิธแี บบนกี้ ็เลิกใช้ ประชาชนได้หนั กลับไปใช้อักษรและอกั ขรวธิ เี ดิมอีกครง้ั หน่ึง

89 หลังจากมีพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 ออกมาแล้วระบบการเขียน ของไทยก็คงท่ีมากขึ้น ไม่สะกดลักลั่นกันอีกเพราะเราจะถือเอาคาในพจนานุกรมเป็นมาตรฐาน ปัจจุบันได้มีพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ปรับปรุงข้ึ นใช้ใหม่แล้ว (องิ อร สุพนั ธุว์ ณิช, 2550: 672) สรปุ วิวัฒ นาการภาษาและอักษรไทยเป็นการเปล่ียนแปลงที่เริ่มต้ังแต่สมัยสุโขทัย ที่พบ หลักฐานการประดิษฐ์ลายสือไทยของพ่อขุนรามคาแหงโดยดัดแปลงอักษรจากอักษรขอมโบร าณ และมอญโบราณ จากน้ันอักษรก็ได้พัฒนาเรื่อยมาในสมัยพญาลิไท สมัยอยุธยาตอนต้น อยุธยา ตอนกลาง อยธุ ยาตอนปลาย และรตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้ นอกจากวิวัฒนาการอักษรแต่ละยุคสมัยแล้ว ยังมีอักษรเฉพาะแบบที่สร้างข้ึนมาเป็น การเฉพาะ เช่น ใช้อ่านภาษาบาลี ปรับเพ่ือให้ภาษาไทยทันสมัย ใช้สะดวกข้ึน แต่อักษรเฉพาะ แบบเหล่าน้ีไม่นิยม ใช้จนยกเลิกไปในท่ีสุด อักษรเฉพาะแบบ ได้แก่ อักษรอริยกะ ของรัชกาลที่ 4 อักขรวิธแี บบใหม่ของรชั กาล ท่ี 6 และอกั ขรวิธีภาษาไทย ของจอมพล ป.พิบลู สงคราม แบบฝกึ หัด 1. กอ่ นท่ีพ่อขนุ รามคาแหงจะทรงประดิษฐ์อักษรไทยขนึ้ ใช้นน้ั คนไทยมอี ักษรใชห้ รือไม่ ถ้ามี จะเปน็ อักษรชนดิ ใด 2. ลายสอื ไทยของพ่อขุนรามคาแหง มอี กั ขรวิธีอยา่ งไร 3. อักษรในสมัยพญาลิไทยเปล่ียนไปจากลายสือไทยของพ่อขุนรามคาแหงอย่างไร และอกั ษรสมัยอยธุ ยาตอนปลายแตกตา่ งจากสมยั พระยาลไิ ทอยา่ งไร 4. อกั ษรสมยั อยุธยาตอนกลางมีลักษณะเด่นอยา่ งไร อธิบาย 5. อักษรไทยที่ใช้ในสมัยอยุธยาตอนปลายมีกีแ่ บบ อธบิ าย 6. อักษรสมัยอยุธยาตั้งแต่อยุธยาตอนต้นถึงสมัยอยุธยาตอนปลาย พบการใช้ครั้งแรก ของอกั ษรหรือเครอ่ื งหมายใดบ้าง 7. อกั ษรอรยิ กะเกดิ ข้นึ ในสมัยใด มีอกั ขรวิธีอยา่ งไร 8. อกั ขรวธิ ีของรชั กาลที่ 6 มีลกั ษณะอยา่ งไร 9. อกั ขรวิธสี มัยจอมพล ป.พบิ ลู สงคราม แตกตา่ งจากอกั ขรวธิ ีไทยปัจจุบนั อยา่ งไร 10. อกั ษรไทยปัจจุบันมลี กั ษณะอยา่ งไร อธบิ าย

90 เอกสารอ้างอิง จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ. (2554). จากลายสือไทยสู่อักษรไทย. พิมพ์คร้ังที่ 2, กรุงเทพฯ: บริษัท อแคทฟี พร้นิ ท์ จากดั . ธวัช ปุณโณทก. (2553). วิวัฒนาการภาษาไทยและอักษรไทย.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. วิโรจน์ ผดุงสุนทรารักษ์. (2559). อักษรไทยและอักษรขอมไทย, พิมพ์คร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง. สานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเท่ียว. (2556). พัฒนาการของอักษรไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พระพุทธศาสนา. อิงอร สุพันธ์ุวณิช. (2550). วิวัฒนาการอักษรไทยและอักขรวิธีไทย. พิมพ์คร้ังที่ 2, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

บรรณานกุ รม

บรรณานกุ รม กาญจนา นาคสกุล และคณะ. (2554). บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 1, พิมพ์คร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: สานัก วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สถาบนั ภาษาไทย. กรมศิลปากร. (2548). ประชุมจารึก ภาค 8 จารึกสุโขทัย. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์ พบั ลิชชิ่ง จากดั (มหาชน). กาชัย ทองหลอ่ . (2540). หลักภาษาไทย.พมิ พ์คร้ังท่ี 10.กรุงเทพฯ:บริษทั รวมสาสน.์ กาธร สถริ กลุ . (2526). ลายสอื ไทย 700 ป.ี กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ครุ ุสภา. จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ. (2554). จากลายสือไทยสู่อักษรไทย. พิมพ์คร้ังท่ี 2, กรุงเทพฯ: บริษัทอแคทีฟ พร้ินท์ จากัด. ณัฐวรรณ ช่ังใจ. (2555). วิวัฒนาการของภาษาไทย. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง. ดุษฎีพร ชานิโรคศานต์. (2526). ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและภาษาไทยเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: พมิ พล์ กั ษณ.์ ธวัช ปณุ โณทก. (2548). การอา่ นจารกึ สมยั ตา่ งๆ. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง. ______. (2553). วิวัฒนาการภาษาไทยและอักษรไทย. กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พระราชวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนพิทยาลงกรณ.์ (2511). พระนลคาฉนั ท.์ กรงุ เทพฯ: คลังวทิ ยา. ราตรี ธันวารชร. (2542). การศึกษาคา ในศลิ าจารกึ หลักที่ 1 ของพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช.พมิ พ์คร้ังที่ 2, กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. ______. (2548). วิวฒั นาการของภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. กรุงเทพฯ :นานมีบุ๊คส์ พบั ลเิ คชน่ั ส์. ______. (2556). พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราช หลกั ที่ 1. พมิ พ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัดอรณุ พมิ พ์. ______. (2554). พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ไตรภูมิกถา, พิมพ์คร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษทั สหมิตรพริ้นต้ิงอแนดพ์ บั ลสิ ชงิ่ จากดั . วิโรจน์ ผดุงสุนทรารักษ์. (2559). อักษรไทยและอักษรขอมไทย, พิมพ์คร้ังที่ 3.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง. วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์. (2526). ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ วิวัฒนาการภาษาไทยและภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. สานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว. (2556). พัฒนาการของอักษรไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ พระพทุ ธศาสนา. อิงอร สุพันธ์ุวณิช. (2550). วิวัฒนาการอักษรไทยและอักขรวิธีไทย. พิมพ์ครั้งท่ี 2, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

93 ภาคผนวก

94 เนอ้ื ความในศลิ าจารกึ หลกั ที่ 1 ของพ่อขุนรามคาแหง พ.ศ. 1835 (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2556: 17-31) ดา้ นท่ี 1 คาอา่ น 1. พอ่ กช่อศรอนิ ทราทิตย์ คาจารกึ แม่กช่อนางเสอง พก่ ชอ่ บานเมอง 1. พ่ ก ช่ สร นทรา ทตย 2. ตพน่ อ้ งทอ้ งเดยวหา้ คน แม่ ก ชน่ าง เสอง พ่ ก ช่ บาน เมอง ผ้ชายสาม ผญ้ งโสง พเ่ ผ- 2. ต พ่นอ๋ งท๋องดยวห๋าคน ผช๋ ายสาม 3. อ ผอ้ า้ ย ตายจากเผอเตยมแต่ ยงั เล็ก ผ๋ ญงโสง พ่ เผอ เม่อกขึน้ ใหญไ่ ด้ 3. อ ผอ๋ า๋ ยตายจาก เผออตยมแฏญ่ งงเลก 4. สิบเกา้ ข้าว ขนสามชน เจา้ เมองฉอด เมอ่ อ ก ฃ๋นให่ญได๋ มาท(่ เมองตาก พ่อกไปรบ 4. สบเกา๋ เขา๋ ฃนสามชน เจ๋า เมองฉอด 5. ขนสามชนหัวซา้ ย มาท่ เมองตากพ่ กไปรบ ขนสามชนขบั มาหวั ขวา ขนสาม- 5. ฃนสามชนหววซา๋ ย 6. ชนเกลอ่ น เข้าไพรฟ่ า้ หน้าใส ฃนสามชนขบบมาหววฃวา ฃนสาม พ่อกหนญญา่ ยพายจแจ-๋ 6. ชน เกล่ อนเฃ๋าไพร่ ฝ๋าหนา๋ ใส 7. น กบห่ น กขช่ ้างเบกพล พ่ ก หนญญา่ ยพายจแจ๋ กขับเขา้ ก่อนพอ่ ก กตอ่ - 7. (น ) กบ่ หน ก ข่ ชา๋ งเบกพล 8. ชา้ ง ดว้ ยขนสามชน ตนกพ่งช้าง กขบบ เฃ๋า ก่อนพ่ ก กฏ่ ขนสามชน ตวั ชอ่ 8. (ชา๋ )งดว๋ ย ฃนสามชนตน ก พง่ ช๋าง 9. มาส เมองแพ้ ขนสามชนพ่ายหน ฃนสามชน ตวว ช่ พ่อกจึงขนึ ้ ช่อก 9. มาส เมองแพ๋ ฃนสามชนพา่ ย หน 10. ช่อพระรามคาแหงเพอ่ กพ่งชา้ ง พ่ ก จ่ง ฃน๋ ช่ ก ขนสามชนเม-่ 10. ช่พระรามคาแหง เพ่ออ ก พง่ ชา๋ ง 11. อชวั่ พอ่ ก กบาเรอแก่พอ่ ก ฃนสามชน เมอ่ กบาเรอแกแ่ มก่ กไดต้ วั 11. อชว่ วพ่ ก กบเรอแกพ่ ่ ก 12. เนอ้ ตัวปลา กเอามาแกพ่ อ่ ก กบเรอแกแ่ ม่ ก กได๋ตวว กไดห้ มากส้ม หมากหวา- 12. เน๋ออตววปลา กเอามาแกพ่ ่ ก 13. นอนั ใดกินอร่อยกนิ ด กไดห๋ มากสห๋ มากหวา กเอามาแก่พอ่ ก กไปต- 13. นอนนใด กิ นอร่อย กิ น ด 14. หนงั วงั ช้าง ได้กเอามาอกพ่ อ่ ก กเอามาแก่พ่ ก กไปต กไปทบ่ ้านท่เม- 14. หนงงวงชา๋ งได กเอามาแก่พ่ ก 15. อง ได้ชา้ ง ไดง้ วง ได้ปว่ั ไดน้ าง กไปทบ่ า๋ นท่ เม ได้เงอนไดท้ องกเอา 15. องได๋ชา๋ งไดง๋ วงได๋ปว่ วไดน๋ าง 16. มาเวน แก่พ่อก พ่อกตายยังพก่ ได๋ เงอนได๋ทอง กเอา กพร่าบาเรอ แก่พ่ 16. มาเวนแก่พ่ ก พ่ กตายญงง พ่ ก 17. ก ด่งั บาเรอแก่พอ่ ก กพราบเรอแก่ พ่ พ่กตาย จึงได้เมองแก่กทงั ้ 17. กฎง่ งบเรอแกพ่ ่ ก 18. กลม เมอ่ ชัว่ พ่อขนรามคาแหง พ่ กตาย จง่ ได๋ เมองแก่ กทงง เมองสโขทยั นด้ ในน้า 18. (ก)ล เมอ่ อชว่ วพ่ ฃนรามคาแหง 19. มปลาในนามขา้ ว เมอง ษกโขไท น๋ ดในน๋า 19. ( ม)ปลาในนา มเขา๋


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook