Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาเมืองชายแดน

การพัฒนาเมืองชายแดน

Published by pimlypim1311, 2019-07-12 04:14:08

Description: การพัฒนาเมืองชายแดน

Keywords: home

Search

Read the Text Version

38_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการคา้ ในลุม่ นาโขง ตารางที่ 3 – 2 (ตอ่ ): คลงั สนิ ค้าช่วั คราวที่เปดิ ดาเนนิ การภายใต้การกากับดูแลของดา่ น ศลุ กากรแม่สอดในปี พ.ศ. 2550 ลาดับ ชื่อคลังสินคา้ ชือ่ เจ้าของ ที่ต้งั หมู่ 4 บ้านวังผา ตาํ บลวังผา อาํ เภอแม่ระมาด 16 คลังสนิ คา้ ท่ี 16 นางนฤมล โกวนิ หมู่ 4 บา้ นวงั ผา ตาํ บลวังผา อําเภอแมร่ ะมาด 17 คลงั สนิ ค้าที่ 17 บริษัทดี.ที เยมสเ์ ทรดดงิ้ จํากัด ทม่ี า: สาํ นกั งานพาณิชย์จังหวดั ตาก, 2550. ผู้ประกอบการค้าชายแดนอําเภอแม่สอดส่วนใหญ่ เป็นผู้ประกอบการใน กรงุ เทพมหานคร และผปู้ ระกอบการในท้องถิ่นท่ีมีเครือข่ายและความคุ้นเคยกับพ่อค้าชาวพม่า โดยติดต่อค้าขายมานาน สามารถใช้ภาษาพม่าในการติดต่อได้ ในขณะท่ีผู้ประกอบการใน ต่างจังหวัดมีน้อยราย โดยสามารถแยกผู้ประกอบการท่ีทําการค้าขายกับสหภาพพม่า ได้ 2 ประเภทคือ ผู้ประกอบการส่งออก และผู้ประกอบการนําเข้า ส่วนของผู้ประกอบการส่งออก สนิ ค้าจะมีทง้ั ผูป้ ระกอบการท้องท่ี ผูป้ ระกอบการจากกรงุ เทพมหานครและจากจังหวัดอ่ืนๆ โดย สว่ นใหญจ่ ะสง่ ออกสินคา้ อุปโภคบริโภค เช่น ผงชูรส นาํ้ มันพชื ยารกั ษาโรค ผ้าผนื ฯลฯ การค้าชายแดนไทย - พม่า มีวิธีการค้าและการเคล่ือนย้ายสินค้าที่มีความหลากหลายผู้ ส่งออกสินค้าจะจําหน่ายสินค้าโดยตรงให้กับพ่อค้าชาวพม่า ทั้งพ่อค้าขายส่ง และพ่อค้าขาย ปลีกจากเมืองต่างๆ ท้ังเมืองเมาะละแหม่ง ผาอ่าง ย่างกุ้งและเมียวดี หรือจําหน่ายผ่านพ่อ ค้าขายส่งท่ีเมืองเมียวดีแล้วกระจายสินค้าไปยังเมืองต่างๆ ในสหภาพพม่าอีกทอดหนึ่ง การ สั่งซ้ือสินค้าของพ่อค้าชาวพม่าจะมีการสั่งซ้ือสินค้าหลายวิธี ท้ังทางโทรศัพท์ โทรสารการเดิน ทางเข้าไปตดิ ตอ่ คูค่ า้ ในพมา่ ด้วยตนเอง พ่อคา้ ชาวพมา่ เดินทางเข้ามาติดต่อ โดยตรงที่ร้าน หรือ ฝากบุคคลอื่นเข้ามาซ้ือในฝั่งประเทศไทย หลักฐานการค้าส่วนใหญ่เป็นใบกํากับสินค้าแต่อาจ ทําใบสัง่ ซ้ือในบางคร้ัง เพื่อใชส้ ําหรับเปน็ หลักฐานในการขอสนิ เชื่อจากสถาบันการเงิน การส่งออกสินค้า ณ ด้านอําเภอแม่สอด – เมียวดี มีลักษณะการส่งออกสินค้าหลาย รปู แบบ ดงั นี้ - รูปแบบที่ 1 พ่อค้าชายแดนในท้องถ่ิน เป็นผู้ส่ังซ้ือและรวบรวมสินค้าจากส่วนกลาง หรอื ในท้องถ่ินตามคําส่ังซื้อของพ่อค้าชาวพม่า และเป็นผู้ทําพิธีการส่งออกจากไทย ไปยังสหภาพพม่า - รูปแบบท่ี 2 พ่อค้าชายแดนทําหน้าที่เป็นเสมือนตัวแทนจําหน่ายให้บริษัท / โรงงาน จากส่วนกลาง ในการติดต่อซ้ือขายกับพ่อค้าชาวพม่า กรณีนี้พ่อค้าชาวพม่าอาจ

การท่องเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก_____39 ดาํ เนนิ การขนส่งสินค้าในนามตนเอง หรอื ในนามบริษัท / โรงงานแล้วแต่จะตกลงกัน ว่าผู้ผลิตหรอื ผูซ้ ื้อจะเปน็ ผดู้ ําเนินการขนส่ง - รูปแบบที่ 3 ผู้ผลติ จากสว่ นกลางติดต่อกบั พ่อค้าชาวพม่าโดยตรงและส่งออกในนาม ผผู้ ลติ ส่วนภาระการขนสง่ ภายในประเทศขึน้ อยกู่ ับข้อตกลงระหวา่ งกนั - รปู แบบท่ี 4 พ่อค้าชาวพม่าเข้ามาติดต่อโดยตรงกับพ่อค้าในอําเภอแม่สอด หรือเดิน ทางเขา้ ไปซอ้ื สินค้าจาก บรษิ ทั / โรงงานผผู้ ลิตในกรุงเทพมหานคร หลงั จากน้ันจะส่ง สินค้ามายังอําเภอแม่สอดและทําพิธีผ่านพิธีการศุลกากรในนามพ่อค้าชาวพม่า วธิ ีการสง่ ออกนีเ้ รียกกันโดยท่ัวไปว่า “ต๋วั พมา่ ” อย่างไรก็ดี สินค้าบางชนิดพ่อค้าชาว พมา่ ไม่สามารถส่งั ซ้อื สินคา้ จากพ่อคา้ ชายแดนท้องถ่นิ เนื่องจากมีการระบใุ ห้ต้องซ้อื ผ่านตวั แทนจําหน่ายของบรษิ ทั ในอาํ เภอแม่สอดเทา่ นนั้ ในกรณีของรูปแบบการค้าท่ี 3 และ 4 น้ัน การซ้ือขายส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของเงินสด หรือกรณีที่เป็นบริษัท / โรงงานขนาดใหญ่ท่ีกรุงเทพมหานคร พ่อค้าชาวพม่าจะชําระค่าสินค้า ลว่ งหน้ากอ่ นมารบั มอบสนิ คา้ โดยใชว้ ธิ โี อนเงนิ เขา้ บรษิ ัท / โรงงานดงั กลา่ ว การเสนอขายสินค้าอยู่ในรูปแบบของเงินบาท และเงินจ๊าด ข้ึนอยู่กับประเภทของสินค้า หากเป็นสินค้าที่มีลักษณะเฉพาะท่ีมีผู้ผลิตไม่มากนัก พ่อค้าจะมีอํานาจต่อรองสูง เช่น อะไหล่ เคร่อื งยนต์ วัสดุก่อสร้าง การกําหนดราคาสินค้าของผู้ส่งออกส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของเงินบาท และลักษณะการขายสินค้าจะเปน็ สนิ เชือ่ มากกว่าเงินสด เนื่องจากการคา้ ขายชายแดนในอําเภอ แม่สอดเป็นการค้าบนพื้นฐานของความไว้วางใจกัน ทําให้มีการให้สินเช่ือการค้าแก่คู่ค้าสูงกว่า ร้อยละ 50 ในระยะเวลาต้ังแต่ 10 - 30 วัน อย่างไรก็ตามพ่อค้าชายแดนบางรายเริ่มขายสินค้า ในรูปแบบเงินสดในสัดส่วนท่ีสูงกว่าการให้สินเชื่อ หรือขายในรูปแบบของเงินสดทั้งหมด เน่ืองจากต้องการเลี่ยงปัญหาหน้ีเสียของพ่อค้าชาวพม่า และการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่ สาํ นักงานปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน เนื่องจากสินค้าส่งออกผ่านแดนด่านพรมแดนอําเภอแม่สอดส่วนใหญ่เป็นสินค้าอุปโภค บรโิ ภค ซึง่ เป็นสินคา้ ทที่ างการพม่าหา้ มนาํ เข้า ดงั น้ันการสง่ ออกส่วนใหญ่จะสง่ ออกผ่านจุดผ่อน ปรนช่ัวคราวในสัดส่วนร้อยละ 70 การส่งมอบสินค้าโดยทั่วไปจะส่งมอบบริเวณชายแดนไทย เพ่ือลดความเสย่ี งในการขนสนิ ค้าในสหภาพพม่า ซ่ึงโดยปกติแล้วหลังจากทผ่ี ูส้ ่งออกไทยทําการ ส่งมอบสินค้าเรียบร้อยแล้ว ผู้นําเข้าชาวพม่าจะเป็นผู้รับภาระด้านการประกันภัยสินค้าและค่า ขนส่งในพม่าเอง สินค้าส่วนใหญ่จะถูกขนส่งโดยรถบรรทุกขนาดเล็กและเปลี่ยนถ่ายสินค้าท่ี เมืองเมยี วดี ภาระการขนสง่ แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 สว่ น คอื การขนส่งจากบริษทั / โรงงาน ผลิตจนถึง

40_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเทีย่ วและการคา้ ในลุม่ นาโขง ชายแดนไทย ส่วนใหญ่พ่อค้าชายแดนฝ่ังไทย หรือบริษัทผู้ผลิตจะเป็นผู้รับผิดชอบ ส่วนการ ขนส่งจากชายแดนไทยไปยังจุดหมายปลายทางในสหภาพพม่า พ่อค้าชาวพม่าจะเป็น ผดู้ ําเนนิ การท้งั หมด มเี พยี งสว่ นน้อยเท่าน้ันท่ีผู้ค้าชาวไทยรับภาระในการขนส่งเข้าไปในฝั่งของ สหภาพพม่าทั้งหมด (สํานักงานพาณิชย์จังหวัดตาก, 2552) ในส่วนการทําการค้าระหว่างประเทศกับสหภาพพม่านั้น ยังมีข้อกีดกันทางด้านการค้า บริเวณชายแดนของประเทศเพ่ือนบ้าน ซึ่งในปัจจุบันการนําเข้าและส่งออกสินค้าของ สหภาพพม่าทางด่านภูมภิ าค ยังมีการบังคับใชต้ ามประกาศกระทรวงพาณิชย์ ของสหภาพพม่า ตามประเภทของชนดิ สนิ ค้าดงั นี้ ชนิดของสินค้าห้ามนําเข้า 15 ชนิด ได้แก่ ผงชูรส น้ําหวานและเคร่ืองดื่ม ขนมปังกรอบ ทุกชนิด หมากฝรั่ง ขนมเค้ก ขนมปังเวเฟอร์ ช็อคโกแลต อาหารกระป๋อง (เนื้อสัตว์ และผลไม้) เส้นหมี่ทุกชนิด เหล้า เบียร์ บุหร่ี ผลไม้สดทุกชนิด ผลิตภัณฑ์พลาสติกสําหรับใช้ในครัวเรือน และใช้สว่ นตวั ทกุ ชนดิ และสนิ คา้ ที่ควบคมุ การนําเข้าโดยกฎหมายที่มอี ยู่แล้ว ชนิดของสนิ คา้ หา้ มส่งออก 30 ชนิด ได้แก่ ข้าว ปลายข้าว และแปง้ ข้าวจ้าว นํ้าตาลทราย นํ้าตาลทรายดิบ ถ่ัวลิสง และน้ํามันถั่วลิสง เมล็ดงา น้ํามันงา กากถ่ัวลิสง ถั่ว Gram ไม้สัก น้ํามนั ปิโตรเลียม อัญมณี ทองคํา หยก ไข่มุก เพชร ตะก่ัว ดีบุก ทังสเตน วูลแฟรม เงิน ทองแดง สังกะสี ถ่านหิน โลหะอื่นๆ งาช้าง วัว ควาย ช้าง ม้า และสัตว์หายาก หนัง และเขาสัตว์ เปลือก กงุ้ (ผง) อาวธุ และเคร่อื งกระสุน วตั ถุโบราณ และฝา้ ย จากสถิติการค้าชายแดนระหว่างประเทศไทย และสหภาพพม่า ด้านพรมแดน อําเภอ แม่สอดและจังหวัดเมียวดีของสหภาพพม่า ในรอบช่วงปีงบประมาณ 2545 – 2551 นั้น สถานการณ์การส่งออก – นําเข้ารวมผ่านด่านศุลกากรแม่สอด ในช่วงปีงบประมาณ 2547 มี มลู ค่ารวมสงู ถงึ 13,988.42 ลา้ นบาท เพมิ่ สงู ขึ้นจากปีงบประมาณ 2546 จํานวน 7,790.70 ลา้ น บาท เพิม่ ขึ้นร้อยละ 125.70 ผลเนอื่ งมาจากการเปิดเสรีทางการค้า (FTA: Free Trade Area) ที่ ทาํ ให้การคา้ และการขนสง่ มปี รมิ าณและมีมลู คา่ เพ่ิมข้นึ ดังกล่าว ในช่วงปีงบประมาณ 2550 น้ันมูลค่าการส่งออกและนําเข้ารวมของการค้าผ่านด่าน ศุลกากรแม่สอดมีมูลค่าลดลง อยู่ที่ 12,080.16 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ 2549 ท่ีมี มลู ค่าการส่งออกและนําเข้ารวม 12,939.26 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 6.64 (ตารางท่ี 3 – 3) สาเหตุท่สี าํ คญั เกดิ จากภาวะเงินเฟอ้ ในสหภาพพมา่ เน่อื งจากการปรับขึ้นเงินเดือนให้ข้าราชการ และทหารส่งผลให้ราคาสินค้าขยับตัวสูงขึ้น ในขณะท่ีอํานาจการซื้อของประชาชนลดลง เกิด ความไม่เสถียรภาพทางการเมืองภายในของสหภาพพม่า การเข้มงวดกวดขันของทหารพม่า

การทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก_____41 และความไม่สงบภายในพม่าส่งผลให้มีการจัดระเบียบชายแดน มีการจับกุมพ่อค้าชาวพม่าที่ ลกั ลอบนําสนิ ค้าไทยเข้าพม่าโดยไม่เสยี ภาษี ยดึ สนิ ค้าและลงโทษจาํ คกุ การชํารุดเคลื่อนตัวของ สะพานมิตรภาพไทย – พม่า ต้ังแต่ปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นมาถึงแม้จะมีการ ดําเนินการซอ่ มแลว้ แต่อนุญาตให้เพยี งรถบรรทุกขนาดไมเ่ กิน 12 ตันขา้ มผา่ นได้ สว่ นรถใหญ่ไม่ อนุญาตให้ผ่าน ซ่ึงสินค้าส่วนใหญ่ต้องลําเลียงขนถ่ายสินค้าใต้สะพานทําให้เป็นอุปสรรคใน การค้า การขนส่งมาก อีกทั้งทางการพม่าย้ายเมืองหลวงจากกรุงย่างกุ้งไปยังเมืองหลวง เนปีเดอร์ ทําให้ฐานการค้าเปล่ียน ประกอบกับมีการขยายช่องทางการค้ากับสหภาพพม่าใน จังหวัดต่างๆ ของประเทศไทยท่ีมีชายแดนติดกัน และประเทศต่างๆ เร่ิมขยายช่องทางการค้าสู่ ตลาดสหภาพพมา่ มากข้ึน โดยเฉพาะสินค้าราคาถูกจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าไปตีตลาด ในสหภาพพม่า ทําให้การซ้ือขายสินค้าจากประเทศไทยลดลง (สํานักงานพาณิชย์จังหวัดตาก, 2552) จากตารางที่ 3-4 มูลค่าการส่งออกมีมากกว่ามูลค่านําเข้าสินค้า ซึ่งมูลค่าการส่งออก และนําเข้าสินค้าผ่านด่านศุลกากรแม่สอดรวมในปีงบประมาณ 2545 - 2552 ณ ด่านศุลกากร แม่สอดนั้นมีปริมาณการส่งออกมากกว่าการนําเข้า โดยการส่งออกสินค้ารวมในปีงบประมาณ 2552 มีมูลค่าการส่งออกเท่ากับ 22,174.65 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2551 ท่ีมี มูลค่าการส่งออกรวมอยู่ท่ี 17,513.14 ลา้ นบาท จํานวน 4,661.51 ล้านบาท หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 26.62 (ตารางท่ี 3-3) มีสินค้าส่งออกท่ีสําคัญผ่านด่านศุลกากรแม่สอด 3 อันดับแรกได้แก่ นํา้ มนั พชื น้ํามันเบนซิน และกาแฟชนดิ ผงสําเร็จรูป ตามลําดบั ตารางท่ี 3 - 3: สถิติมูลคา่ สนิ ค่าส่งออก - นาเข้าสนิ คา้ รวม ปงี บประมาณ 2545 – 2552 ณ ดา่ นศุลกากรแมส่ อด ปงี บประมาณ มูลคา่ สง่ ออก มูลคา่ นาเขา้ มลู คา่ รวม อตั ราการเตบิ โต (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 2545 3,791.77 4,558.28 N/A 2546 5,760.76 766.51 6,197.72 35.97 2547 13,404.88 436.96 13,988.42 125.70 2548 12,062.88 583.54 12,817.31 -8.37 2549 11,684.11 754.43 12,939.26 0.95 2550 11,088.63 1,255.15 12,080.16 -6.64 991.53

42_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการค้าในลุ่มนาโขง ตารางท่ี 3 – 3 (ตอ่ ): สถติ ิมูลค่าสินคา่ ส่งออก - นาเข้าสินคา้ รวม ปงี บประมาณ 2545 – 2552 ณ ด่านศุลกากรแมส่ อด ปีงบประมาณ มูลคา่ ส่งออก มูลคา่ นาเขา้ มูลคา่ รวม อตั ราการเติบโต (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 1,236.08 18,749.22 55.21 2551 17,513.14 27.41 1,714.15 23,888.80 2552 22,174.65 อตั ราเตบิ โตเฉลยี่ 32.89 รวม 97,480.82 7,738.35 105,219.17 ที่มา: ปรับปรุงจาก ด่านศุลกากรแมส่ อด, 2552. ตารางท่ี 3 - 4: สถิตมิ ลู คา่ สนิ ค่าส่งออก ปีงบประมาณ 2545 – 2552 ณ ด่านศุลกากร แม่สอด ปีงบประมาณ มูลค่า (ล้านบาท) อัตราการเตบิ โต (ร้อยละ) N/A 2545 3,791.77 51.93 2546 5,760.76 132.69 -10.01 2547 13,404.88 -3.14 2548 12,062.88 -5.10 57.94 2549 11,684.11 26.62 35.85 2550 11,088.63 2551 17,513.14 2552 22,174.65 รวม 97,480.82 ทีม่ า: ปรบั ปรงุ จาก ดา่ นศุลกากรแมส่ อด, 2552.

การทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก_____43 ตารางท่ี 3 - 5: 25 อนั ดับสินค้าสง่ ออกผา่ นดา่ นศุลกากรแม่สอด ในปงี บประมาณ 2552 ลาดบั ชนดิ สินค้านาเข้า มูลคา่ ลาดบั ชนดิ สนิ ค้านาเขา้ มลู ค่า (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) 14 แผน่ เหลก็ ชบุ สังกะสี 15 รองเทา้ แตะ 332.56 1 นาํ้ มันพชื 891.72 16 เบยี ร์ทาํ จากมอลต์ 324.56 17 นมผง 310.12 2 น้ํามันเบนซนิ 887.73 18 รถบรรทุกเก่าใชแ้ ล้ว 298.33 19 นาํ้ มันปาลม์ 294.59 3 กาแฟชนิดผงสําเร็จรูป 794.59 20 น้ําอดั ลม 285.56 21 วิสก้ี 284.14 4 โทรทศั น์ 699.26 22 อวนจับปลา 264.16 23 แผน่ เหล็กรดี เยน็ 262.26 5 ผงชูรส 691.55 24 แผน่ เหลก็ รดี รอ้ น 227.34 25 ผ้าทอดว้ ยเส้นใยเทยี ม 207.21 6 ผา้ พิมพ์ฝา้ ย 100% 651.14 202.66 รวมมลู คา่ การนาํ เข้า 11,395.98 7 รถยนต์สภาพเกา่ ใชแ้ ล้ว 650.24 8 ยารกั ษาโรค 630.30 9 รถจกั รยานยนต์ 581.63 10 น้าํ มนั ดเี ซล 435.93 11 ครมี เทยี ม 414.24 12 แบตเตอรี่ 397.65 13 ขนมปงั กรอบ 376.51 ท่ีมา: ปรบั ปรงุ จาก ด่านศลุ กากรแมส่ อด, 2552. ในส่วนของการนาํ เขา้ สินคา้ รวมผา่ น ณ ดา่ นศุลกากรแมส่ อดในปีงบประมาณ 2552 มี มูลค่าการนําเข้าอยู่ที่ 1,714.15 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2551 จํานวน 478.07 ล้านบาท เพิ่มข้ึนร้อยละ 38.68 (ตารางที่ 3-6) มีสินค้าที่นําเข้าที่สําคัญ 3 อันดับแรก ได้แก่ ส่งิ ประดษิ ฐ์ทาํ ดว้ ยไม้ ขา้ วจ้าวขาว (WTO) และหอมแดง (AFTA) ตามลําดบั (ตารางที่ 3 - 7)

44_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการค้าในลุม่ นาโขง ตารางท่ี 3 - 6: สถิตมิ ูลคา่ สินคา่ นาเขา้ ปีงบประมาณ 2545 – 2552 ณ ด่านศลุ กากร แมส่ อด ปีงบประมาณ มลู คา่ (ล้านบาท) อัตราการเตบิ โต (ร้อยละ) N/A 2545 766.51 -42.99 2546 436.96 33.55 29.29 2547 583.54 66.37 -21.00 2548 754.43 24.66 38.68 2549 1,255.15 เฉล่ยี 18.37 2550 991.53 2551 1,236.08 2552 1,714.15 รวม 7,738.35 ท่ีมา: ปรับปรุงจาก ดา่ นศุลกากรแม่สอด, 2553. ในปีงบประมาณ 2552 (ตุลาคม 2551 – กันยายน 2552) มีสินค้านําเข้า และมูลค่า สินค้านําเข้า 25 อันดับแรก เป็นสินค้าจําพวกสินค้าเกษตรที่มีการทําข้อตกลงทางด้านการค้า ระหว่างประเทศ เช่น องค์กรการค้าโลก หรือ World Trade Organization (WTO) และเขต การค้าเสรีอาเซียน หรือ ASEAN Free Trade Area (AFTA) เป็นต้น และจําพวกอาหารแห้ง (ตารางที่ 3-6)

การทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก_____45 ตารางท่ี 3 - 7: 25 อันดับสินค้านาเข้าผ่านด่านศุลกากรแม่สอด ในปีงบประมาณ 2552 ลาดับ ชนดิ สินค้านาเข้า มลู ค่า ลาดับ ชนดิ สินคา้ นาเขา้ มูลคา่ (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) 14 ถ่ัวขาว 15 ถั่วเขียว 15.79 1 สง่ิ ประดิษฐ์ทาํ ดว้ ยไม้ 516.95 16 ถั่วลสิ ง 11.78 17 ถา่ นไม้ 10.41 2 ข้าวจ้าวขาว (WTO) 351.95 18 กุง้ แม่นาํ้ แช่แข็ง 9.30 19 หมากแห้ง (Re-Export) 8.04 3 หอมแดง (AFTA) 187.71 20 ปลาไหลนา 7.76 21 สนิ แร่พลวง 7.33 4 ปูทะเล 104.43 22 รองเท้าแตะ 7.05 5.13 5 ปลาเบญจพรรณ 73.74 23 รถแทรกเตอร์ (ภาค 4 ประเภท 2) 5.00 6 พริกแหง้ 64.34 24 หม้อแปลงไฟฟา้ 4.08 7 โคมชี ีวิต 56.65 (เข้า EPZ) 4.03 8 หวั หอมใหญ่ (AFTA) 55.35 25 มูลค้างคาว 1,680.00 รวมมลู คา่ การนาํ เขา้ 9 เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ 48.49 (AFTA) 10 กระเพาะปลาตากแหง้ 39.65 11 กระบือมีชีวิต 31.27 12 เมลด็ ขา้ วโพด (AISP) 29.53 13 เมลด็ งา (Re-Export) 24.24 ทีม่ า: ปรับปรุงจาก ด่านศลุ กากรแม่สอด, 2553. มูลคา่ รวมทม่ี าจากการคา้ ชายแดน ด่านแม่สอด จังหวดั ตาก มีมูลค่าสูง และนํารายเข้าสู่ ประเทศ และได้ดุลการค้าชายแดนกับสหภาพพม่ามาอย่างต่อเนื่อง จากมูลค่ารวมของ ปีงบประมาณ 2545 – 2552 มูลค่าการส่งออกรวมของไทยมีมูลค่า 97,480.82 ล้านบาท ได้ ดุลการค้าถึง 89,742.47 ล้านบาท ดังน้ันการค้าชายแดนในด่านพรมแดนแม่สอด อําเภอ แม่สอด จังหวดั ตาก จงึ มีความสาํ คัญในดา้ นเศรษฐกจิ ของภูมภิ าค และประเทศไทย

46_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการคา้ ในลุ่มนาโขง 3.3.2 จังหวัดเมยี วดี สหภาพพมา่ การค้าของจังหวัดเมียวดี สหภาพพม่า เป็นจังหวัดท่ีมีความสําคัญทางด้านการค้ามา ช้านานเพราะเป็นเมืองหน้าด่านของการค้าขายของเมืองท่ามะละแหม่งของภาพพม่าใน ยุค อาณานิคมมาถึงสหภาพพม่าในยุคอาณานิคม ในปัจจุบันจังหวัดเมียวดีมีความสําคัญทางด้าน เศรษฐกิจการคา้ ชายแดนท่ีสําคัญ ประกอบกับจังหวัดเมียวดีเป็นเส้นทางเช่ือมตามกรอบความ ร่วมมือ อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ําโขง (Greater Mekong Sub-region: GMS) ท่ีมีการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก (East – West Economic Corridor) เช่ือมมหาสมุทรแปซิฟิก กับมหาสมุทรอินเดีย ความสําคัญและความเป็นไปได้ในการค้าระหว่างประเทศของจังหวัด เมยี วดไี ด้สง่ ผลให้จังหวัดเมียวดียกฐานะเป็น “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” ของเมืองชายแดนหนึ่งของ สหภาพพม่า จากข้อมูลสถิติการค้าระหว่างประเทศจังหวัดเมียวดี ของหอการค้าจังหวัดตากน้ัน มูลค่าการค้าชายแดนรวมสูงถึงปีละ 10,000 ล้านบาท ซึ่งในปี พ.ศ. 2549 มีมูลค่าการค้า ระหว่างประเทศมมี ลู ค่ามากกว่า 12,000 ล้านบาท ถึงแม้จะมีเหตุการณ์ไม่สงบภายในประเทศ ของสหภาพพม่าทสี่ ่งผลใหท้ างการปิดด่านด้านจงั หวัดเมียวดบี อ่ ยครงั้ กต็ าม

บทที่ 4 การทอ่ งเทยี่ วและการคา้ ใน อาเภออรญั ประเทศ จงั หวดั สระแกว้ 4.1 ขอ้ มลู พนื้ ฐานทว่ั ไป 4.1.1 อาเภออรัญประเทศ จงั หวัดสระแกว้ อาเภออรัญประเทศ เป็นอาเภออยูต่ ิดชายแดนไทย – กัมพชู า มีการค้าระหว่างประเทศ ของไทยกับกัมพูชา เป็นที่ต้ังของจุดผ่านแดนถาวรบ้านคลองลึก ด่านพรมแดนอรัญประเทศ เช่ือมโยงเมืองปอยเปต จังหวัดบันเตียนเมียนเจย ประเทศกัมพูชา มีระยะทางใกล้กับเมือง เสียบเรียบ เมืองหลวงเก่าของกัมพูชา อันเป็นท่ีตั้งของนครวัต - นครธม อาเภออรัญประเทศ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของไทย อยู่ห่างจากอาเภอเมืองสระแก้ว 49.45 กิโลเมตร (กรมทาง หลวง, 2552) ได้รับการจัดตั้งเป็นอาเภอมาต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2453 มีพ้ืนที่ประมาณ 821.265 ตารางกิโลเมตร และอาเภออรญั ประเทศมีอาณาเขตตดิ ตอ่ ดังนี้ ทิศเหนอื มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั อาเภอโคกสูง จังหวดั สระแกว้ ทิศใต้ มีอาณาเขตติดตอ่ กบั อาเภอคลองหาด จังหวัดสระแกว้ ทศิ ตะวันออก มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั จังหวดั บนั เตียนเมียนเจย ประเทศกมั พูชา ทิศตะวนั ตก มอี าณาเขตตดิ ต่อกบั อาเภอวัฒนานคร จังหวดั สระแกว้

48_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการคา้ ในลุม่ นาโขง N รปู ที่ 4-1 แผนที่อาเภออรัญประเทศ จงั หวัดสระแก้ว ที่มา: ปรบั ปรงุ จาก การท่องเท่ียวแหง่ ประเทศไทย, 2553. ไม่มีหลักยืนยันแน่ชัดว่า อาเภออรัญประเทศมีประวัติความเป็นมาอย่างไร มีเพียงแต่ คาบอกเล่าของผู้สูงอายุ สันนิษฐานจากเค้าโครงทางประวัติศาสตร์ จากหลักฐานทางวัตถุที่ หลงเหลืออยู่ มาประกอบกันว่าชาวอรัญอพยพมาจากเวียงจันทน์ และท่าอุเทนอยู่ในแขวง เวียงจันทน์ อพยพขึ้นมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 โปรดให้ พระยาราชสุภาวดียกทัพไปตีเมืองเวียงจันทน์ ไปปราบเจ้าอนุวงศ์ที่คิดกบฏมาตีเมือง นครราชสีมา ปี พ.ศ.2378 ขากลับได้กวาดต้อนผู้คนจากเวียงจันทน์มาด้วย ในจานวนน้ีมี พระภกิ ษุ ช่ืออาจารยส์ าระบุตรเป็นหัวหน้าคณะอพยพ โดยมเี จา้ นายควบคมุ อีกช้ันหนึ่ง อาจารย์ สาระบุตรได้ลาสิขาบท การเดินทางคร้ังน้ีได้รับความลาบากยากเข็ญมาก ฝ่าดงทุรกันดารอด ยากหิวโหยมาตามทางเพราะเสบียงท่ีนามาร่อยหลอลงแต่ต้องอดทนเดินทางมาต้ังหลักฐาน ชั่วคราวอยู่ดงอรัญพร้อมที่อาเภอศรีโสภณ (ปัจจุบันเรียกว่าบ้านดงอรัญเก่า) ต่อมาจึงเลือกหา

การท่องเทีย่ วและการค้า ณ อาเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแกว้ _____49 ทาเลใหม่ไดร้ ิมห้วยพรหมโหสถ์ เรยี กหมู่บา้ นใหม่วา่ “อรัญทงุ่ แค” เพราะมตี น้ แคฝอยต้นใหญ่อยู่ บริเวณนนั้ ลาดับความเป็นมาของอาเภออรัญประเทศมดี งั น้ี ในด้านการปกครองของอาเภออรัญประเทศนั้น มีการแบ่งการปกครองออกเป็น 12 ตาบล 1 เทศบาล และ 114 หมู่บ้าน มีประชากรรวมท้ังส้ิน 85,387 คน แยกเป็นประชากรชาย 43,614 คน ประชากรหญิง 41,773 คน (สานักงานสถิติจังหวัดสระแก้ว, 2553) อาชีพหลักของ ประชากร ได้แก่เกษตรกรรม ค้าขาย รับจ้าง อาชีพเสริม ได้แก่ การเล้ียงสัตว์ อุตสาหกรรมใน ครวั เรอื น และการทอผ้า จากจุดท่ีต้ัง จุดยุทธศาสตร์ของอาเภออรัญประเทศ เป็นประตูสู่การค้าชายแดน อินโดจีน และการท่องเท่ียวกับประเทศเพ่ือนบ้าน คือกัมพูชา และเช่ือมต่อไปยังประเทศ เวียดนามได้ ชายแดนอาเภออรัญประเทศจึงมีความสาคัญต่อการค้าและการท่องเท่ียวใน ประเทศไทย และในภมู ิภาคเอเชีย 4.1.2 ตาบลปอยเปต อาเภอโอวโจรโรว จังหวัดบันเตียนเมียนเจย ประเทศ กมั พชู า จุดผ่านแดนปอยเปตเป็นจุดผ่านแดนถาวรตรงข้ามจุดผ่านแดนบ้านคลองลึก ตั้งอยู่ ตาบลปอยเปต อาเภอโอวโจวโรว จังหวัดบันเตียเมียนเจย เป็นจุดยุทธ์ศาสตร์ด้านการค้า ชายแดนของประเทศกมั พูชา อกี ท้งั เปน็ ท่ีตง้ั ของบอ่ นกาสโิ น ทนี่ ักทอ่ งเท่ยี วชาวไทยและต่างชาติ นยิ มเดนิ ทางเขา้ มาเสีย่ งโชคกันจานวนมาก ปอยเปตมอี าณาเขตติดต่อดงั น้ี ทศิ เหนือ มอี าณาเขตติดต่อกบั Khum Ou Beichoan จังหวดั บนั เตียนเมยี นเจย ประเทศกัมพูชา ทิศใต้ มีอาณาเขตตดิ ต่อกับ Srok Malai จงั หวัดบันเตียนเมยี นเจย ประเทศกัมพูชา ทิศตะวนั ออก มอี าณาเขตติดตอ่ Khum Nimitt จังหวดั บันเตยี นเมียนเจย ประเทศกมั พูชา ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกบั อาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว

50_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการค้าในลุม่ นาโขง N รปู ท่ี 4-2 แผนท่ีตาบลปอยเปต อาเภอโอวโจรโรว จงั หวัดบนั เตยี นเมยี นเจย ประเทศกมั พชู า ทมี่ า: ปรบั ปรุงจาก World Record Tour, 2010. 4.2 ขอ้ มูลพน้ื ฐานดา้ นการท่องเทยี่ ว 4.2.1 อาเภออรญั ประเทศ จงั หวดั สระแก้ว สถานท่ีท่องเที่ยวในอาเภออรัญประเทศมีความหลากหลาย ทั้งการท่องเท่ียวทาง ธรรมชาติ การทอ่ งเทยี่ วทางวัฒนธรรมท่มี ีเอกลกั ษณ์และวฒั นธรรมแบบขอม และการท่องเที่ยว ชมุ ชน การคา้ ชายแดน ซง่ึ สถานทที่ ่องเทีย่ วท่สี าคญั และนา่ สนใจ ไดแ้ ก่

การทอ่ งเทีย่ วและการค้า ณ อาเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแก้ว_____51 - ประตูชัยอรัญประเทศ เป็นประตูท่ีสร้างขึ้น ณ พรมแดนไทย – กัมพูชา ท่ีบ้าน คลองลกึ ตาบลอรัญประเทศ โดยกรมยทุ ธโยธาทหารบกไดร้ ะดมกาลงั ทหารชา่ ง ทาการก่อสร้าง ท้ังกลางวันและกลางคืนตลอด 24 ชั่วโมง และสามารถแล้วเสร็จภายใน 29 วัน โดยเริ่มลงมือ ก่อสรา้ ง เมอื่ วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2482 แล้วเสร็จเม่ือวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2482 ลักษณะ ของประตูชัยเป็นป้อม 2 ป้อม อยู่คนละฟากถนน ตัวป้อมมีลักษณะเป็นรูปหกเหลี่ยมด้านเท่า สงู 15 เมตร มีฐานประตเู ปน็ ห้องรักษาการณ์ หกเหลี่ยมดา้ นเท่า ด้านละ 1.50 เมตร ย่อมุมเรียว เล็ก ลดหล่ันกันข้ึนไป เป็นลาดับจนถึงยอดสุด ข้างบนสุดหอคอยมีครุฑฟ่าห์อันเป็นสัญลักษณ์ ของไทย ประดิษฐานผงาดอยู่อย่างสง่าผา่ เผย ต้ังแต่ปลายปี พ.ศ. 2482 เป็นต้นมา ไทยได้มีการเจรจา และเดินขบวนเรียกร้องขอ มณฑลบรู พาเดิมคนื จากฝร่ังเศส แต่ไม่เปน็ ผล และได้เกิดการปะทะกันด้วยกาลัง ในเช้าตรู่วันท่ี 5 มกราคม พ.ศ. 2483 ไทยถูกโจมตีก่อน ประตูชัยเป็นเป้าหมายแรกของกระสุนปืนใหญ่ ฝร่ังเศส ระดมเข้ามาอยา่ งหนัก ทหารไทยซ่ึงรักษาการณ์อยู่ถูกกระสุนบาดเจ็บล้มตายมากมาย ประตูชัยพังพินาศ และในวันนั้นเอง กองทัพไทยได้เปิดฉากรบและบุกยึดหัวเมืองสาคัญของ เขมรไว้ได้หลายเมือง จนกระทั่งมีการไกล่เกล่ียให้สงบศึกพิพาทในที่สุด ใน ปี พ.ศ.2502 ประตูชัย ไดร้ ับการบรู ณะซ่อมแซมใหม่แต่ยังคงรักษารูปเดิมไว้เฉพาะด้านซ้าย เพื่อเป็นอนุสรณ์ แห่งความกล้าหาญ และการเสียสละของทหารหาญท่ีได้พลีชีพเพ่ือชาติ ทางด้านขวาเม่ือได้ กอ่ สรา้ งเป็นเสมาขนาดใหญ่ หันหน้าออกไปทางประเทศกัมพูชา ทาด้วยหินอ่อนสลักครุฑฟ่าห์ ไว้ด้านบนด้านล่างใต้ตัวครุฑจารึกคาว่า “ประเทศไทย” บรรทัดถัดลงมาได้อัญเชิญพระราช นิพนธส์ ยามานุสตขิ องล้นเกลา้ รัชกาลท่ี 6 ว่า “หากสยามยงั อย่ยู ัง้ ยนื ยง เราก็เหมอื นอยคู่ ง ชีพดว้ ย หากสยามพินาศลง ไทยอยู่ ไดฤ้ า เรากเ็ หมอื นมอดม้วย หมดสิน้ สกุลไทย” (Arancity.com, 2552) - ปราสาทเขาน้อยสีชมพู ต้ังอยู่ที่ตาบลคลองน้าใส อาเภออรัญประเทศ จังหวัด สระแก้ว ปราสาทเขานอ้ ยสีชมพไู ดร้ บั การขึ้นทะเบียนเปน็ โบราณสถานของชาติใน ปี พ.ศ.2478 พบประติมากรรมรูปนางมหิษาสุรมรรธนีส่ีกร ซ่ึงสูญหายไปแล้ว นอกจากนี้ยังพบจารึกภาษา ขอมและสันสกฤต ปรากฏปีศักราช 559 (ตรงกับ ปี พ.ศ.1180) อยู่ในจารึกด้วย แสดงว่าอย่าง

52_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพือ่ รองรับผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ในลุ่มนาโขง น้อยปราสาทหลังน้ีได้สร้างข้ึนแล้วในช่วงเวลาดังกล่าว จารึกหลักนี้ทางวัดได้เก็บรักษาไว้ใน มณฑป แม้โบราณสถานแหง่ นจี้ ะอยใู่ นสภาพปรักหักพัง แต่ยังเหลือทับหลังที่สวยงามให้ได้ชม อีกทัง้ ตวั ปราสาทตัง้ อยบู่ นยอดเขาเต้ียๆ สูงราว 130 เมตร จึงมีทิวทัศน์ท่ีสวยงามให้ชมเป็นของ แถม ปราสาทเขาน้อยสีชมพูอยู่บนเขาต้องเดินขึ้นไป จึงแนะนาให้ไปเท่ียวในช่วงเช้าหรือเย็น อากาศไมร่ อ้ นมาก (Arancity.com, 2552) - พระสยามเทวาธิราชจาลอง โดยการจาลองจากพระสยามเทวาธิราชองค์จริงที่ ประดิษฐานในพระบรมมหาราชวังท่ีกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองสระแก้ว ประดิษฐานอยู่ในบุษบกยอดปราสาทที่งดงาม ต้ังอยู่ใจกลางอาเภอ หน้าสถานีตารวจภูธร อาเภออรัญประเทศ จงั หวดั สระแกว้ ประวัติความเป็นมาในการสร้างนั้น ในช่วง ปี พ.ศ.2518 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เหตุการณ์ ชายแดนด้านอรัญประเทศ - กัมพูชา ยังไม่สงบ พระครูอุทัยธรรมธารี (พระอาจารย์เส็ง) วัดปา่ มะไฟ จงั หวดั ปราจีนบุรี ดารใิ ห้จาลองพระสยามเทวาธิราชข้ึน เพ่ือเป็นขวัญกาลังใจให้แก่ ผู้คนที่อาศัยอยู่ในย่านนี้ พระสยามเทวาธิราชจาลององค์น้ี เป็นประติมากรรมรูปคล้ายพระ อนิ ทร์ทรงเครอ่ื งเหมอื นนกั รบ ขนาดสูง 1.29 เมตร ทรงช้างเอราวัณสามเศียรซ่ึงเป็นพาหนะของ พระอินทร์ อย่ภู ายในบุษบก ซ่งึ มีลกั ษณะเป็นซุ้มเปดิ โล่งทัง้ สที่ ศิ เรือนยอดทรงเจดีย์กลมประดับ ลายกลบี บัว มีบันไดขนึ้ ทั้งแปดทศิ (Arancity.com, 2552)

การทอ่ งเทีย่ วและการค้า ณ อาเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแกว้ _____53 รปู ท่ี 4-3 แผนทที่ ่องเทย่ี วอาเภออรัญประเทศ จงั หวดั สระแก้ว ที่มา: ปรบั ปรงุ จาก การทอ่ งเทยี่ วแห่งประเทศไทย, 2553. - ตลาดโรงเกลือ หรือ ตลาดชายแดนบ้านคลองลึก ต้ังอยู่ ณ บ้านคลองลึก ตาบล ท่าขา้ ม อาเภออรญั ประเทศ จังหวัดสระแกว้ บนเนือ้ ที่ประมาณ 66 ไร่ เป็นตลาดการคา้ ชายแดน ภาคตะวันออกของประเทศไทย ใกล้กับด่านตรวจคนเข้าเมืองอรัญประเทศ – ปอยเปต จังหวัด บนั เตยี นเมียนเจย ประเทศกัมพูชา และด่านศุลกากรอรัญประเทศ ตลาดโรงเกลือเปิดขายเวลา

54_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ในลุม่ นาโขง 7.00 – 20.00 น.ของทุกวัน ในสว่ นของการเดินทางมายังตลาดโรงเกลือน้ัน สามารถเดินทางมา โดยทางรถยนต์บนทางหมายเลข 33 ผ่านจังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี ผ่านวงเวียนหน้าค่าย ทหารพรหมโยธี เข้าสู่จังหวัดสระแก้ว โดยใช้เส้นทางถนนถิระวัต หรือสามารถใช้เส้นทางอ่ืนใน การเดินทางมาถึงตลาดโรงเกลือได้ นอกจากนี้ยังมีรถโดยสารปรับอากาศจากสถานีขนส่ง ผู้โดยสารหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งผู้โดยสารเอกมัย และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เข้าสู่ตลาด โรงเกลือ นอกจากรถโดยสารปรับอากาศประจาทางแล้วยังมีรถแท็กซ่ีมิเตอร์จาก กรุงเทพมหานครถึงตลาดโรงเกลือในราคาเหมา 1,800 บาท จอดอยู่บริเวณหลังธนาคาร กสิกรไทย สาขาตลาดโรงเกลือ ในส่วนของรถไฟนั้นสามารถเดินทางจากสถานีรถไฟหัวลาโพง มายังสถานีรถไฟอรญั ประเทศ และนกั ท่องเท่ยี วสามารถต่อรถโดยสารเขา้ ส่ตู ลาดโรงเกลอื ตลาดโรงเกลือในพื้นที่ประมาณ 66 ไร่ นั้นประกอบไปด้วย 5 ตลาดย่อย คือ ตลาดโรง เกลือเก่า ตลาดเดชไทย ตลาดเทศบาล 2 (ตลาดโรงเกลือใหม่) ตลาดเทศบาล 3 (ตลาด โกลเดนเกต) และตลาดเบญจพรรณ มีร้านค้าประมาณ 3,000 ร้าน ลักษณะของร้านค้าภายใน ตลาดโรงเกลือเป็นอาคารแถวชั้นเดียวมีถนนคั่นกลางไว้สาหรับขนส่งสินค้าและเดินเลือกซื้อ สินคา้ ภายในตลาดยังมีธนาคารกสิกรไทยสาขาตลาดโรงเกลือไว้บริการทางด้านการเงิน และมี ตู้เอทีเอ็มของธนาคารไทยไว้บริการอีกด้วย ในตลาดโรงเกลือจะมีบริการรถเข็นรับจ้างขนส่ง สินค้าของชาวกัมพูชา มีบริการให้เช่ารถจักรยานทั้งแบบพ่วง และแบบเด่ียว รถจักรยานยนต์ และรถกอล์ฟ เพ่อื ความสะดวกและสามารถเลือกซอื้ และชมสนิ ค้าภายในตลาดโรงเกลือไดท้ วั่ ถึง ส่วนมากผ้จู าหน่ายสินค้าในตลาดโรงเกลือเป็นคนกมั พชู ามากกว่าคนไทย สินค้าที่ขาย ในตลาดโรงเกลือมีท้ังสินค้าใหม่และสินค้ามือสองทั้งสินค้าอุปโภค บริโภค ท่ีมาจากทุกมุมโลก อาทิ เส้ือผ้า รองเท้า เพชร พลอย เคร่ืองเงิน ปลาแห้ง ปลาย่าง ถ้วยชาม เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่อง เคลือบ ผ้าม่าน สินค้าแบรนด์เนมมือหน่ึงและมือสอง จากประเทศในแถบเอเชีย ยุโรป และ อเมริกา สินค้าเหล่าน้ีผ่านเข้ามาทางท่าเรือแหลมฉบัง และจากทางกัมพูชา มีลูกค้าขาประจา และขาจรแวะเวียนมาซ้ือสินค้าในตลาดโรงเกลืออย่างไม่ขาดสาย ในตลาดโรงเกลือราคาขาย หน้าร้านของสินค้าใกล้เคียงกับราคาสินค้าในท้องตลาดทั่วไปแต่สามารถต่อรองราคาสินค้าได้ ในราคาที่ถกู กว่าค่อนข้างมาก ส่วนด่านอรัญประเทศ – ปอยเปต ในบริเวณใกล้เคียงกับตลาดโรงเกลือเป็นช่องทาง ส่งออกสินค้าที่สาคัญของประเทศไทยและกัมพูชา บรรยากาศในช่วงเวลาเปิดด่านคึกคัก โดยเฉพาะรถเข็นสินคา้ จากกัมพชู าทีเ่ ข้ามารบั จ้างขนสินค้าในตลาดโรงเกลือ และขนสินค้าจาก

การท่องเที่ยวและการค้า ณ อาเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแก้ว_____55 ไทยไปกัมพูชา และจากกัมพูชามายังไทย และบริเวณด่านและตลาดโรงเกลือจะมีเด็กๆ ชาว กัมพูชาเดนิ ขอเงินจากนักท่องเที่ยวค่อนข้างมาก อาจจะสร้างความราคาญใหก้ ับนกั ท่องเท่ยี วได้ ด้านการท่องเท่ียวในตลาดโรงเกลือนั้น นักท่องเที่ยวสามารถชมสินค้า และเลือกซื้อ สินค้าได้ ในส่วนสถานท่ีท่องเท่ียวในบริเวณตลาดโรงเกลือ และฝ่ังปอยเปต ประเทศกัมพูชา นักท่องเท่ียวสามารถเดินเท้าท่องเที่ยวได้ โดยเฉพาะสะพานมิตรภาพไทย – กัมพูชา อันเป็น จุดเชื่อมการค้า การท่องเที่ยวของท้ัง 2 ประเทศเข้าด้วยกัน บริเวณซ้ายมือจากฝั่งไทยจะมี สะพานรถไฟข้ามจากฝ่ังไทยไปยังกัมพูชาแต่มีประตูกั้นไว้ นักท่องเท่ียวสามารถชมสะพานท้ัง สองได้ แต่ต้องทาพิธีการตรวจคนเข้าเมือง ณ จุดผ่านแดนก่อนจึงจะสามารถชมประตูชัย อรัญประเทศและสะพานมิตรภาพได้ เช่นเดียวกันกับการข้ามไปท่องเท่ียวยังฝั่งปอยเปต ประเทศกัมพูชา นกั ทอ่ งเที่ยวตอ้ งทาพธิ กี ารตรวจคนเขา้ เมอื งผ่านแดนด้วย ทางด้านฝั่งปอยเปต น้ันนักท่องเที่ยวสามารถไปชมเมืองชมตลาดปอยเปตซึ่งขายสินค้าเช่นเดียวกับตลาดโรงเกลือ ชมกาสิโนขนาดใหญ่หรอื เขา้ ไปเสยี่ งโชคได้ ในการเดินทางขา้ มชายแดนไทย – กมั พูชานั้น มหี ลักปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. คนไทยท่มี ภี ูมลิ าเนาอย่ใู นเขตอาเภอคลองลึก อาเภออรญั ประเทศ อาเภอคลองหาด และอาเภอตาพระยา สามารถขอบัตรผ่านแดน ไปเช้า – เย็นกลับได้ และผู้ถือบัตรผ่านแดน ชั่วคราวชาวไทยสามารถเดินทางเข้าออกราชอาณาจักรกัมพูชาได้ในจังหวัดบันเตียนเมียนเจย และจังหวดั เสียมราฐ แต่ไม่สามารถค้างคนื ได้ 2. ผ้ถู อื บตั รผ่านแดนชั่วคราวชาวกัมพูชา สามารถเดินทางเข้าราชอาณาจักรไทยได้ใน จงั หวัดสระแกว้ และปราจีนบรุ ี แต่ไมส่ ามารถค้างคนื ได้ สาหรบั ชาวกัมพชู าทถี่ ือหนังสือผ่านแดน (Border Pass) สามารถพักคา้ งคืนทีอ่ าเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว 3. สาหรับนักท่องเท่ียวชาวไทยและชาวต่างประเทศที่เดินทางเข้าไปยังราชอาณาจักร กัมพูชาจะต้องแสดงบัตรประจาตัวประชาชนและพาสปอร์ตโดยขอวีซ่าจากสถานทูต ราชอาณาจักรกัมพูชาประเทศไทยเพอ่ื ท่จี ะเข้าไปทอ่ งเที่ยวแบบไปเช้า – เย็นกลับ 4. นักท่องเท่ียวชาวไทยที่จะเดินทางเข้าไปในราชอาณาจักรกัมพูชาแบบไปเช้า – เย็น กลับ ในระยะทางไมเ่ กินเขตเศรษฐกจิ พิเศษต้องแสดงหนังสอื เดนิ ทาง (Passport) นักท่องเท่ียวท่ีข้ามไปฝ่ังปอยเปตส่วนมากเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยท่ีเดินทางไปเช้า – เยน็ กลับ เพือ่ เดนิ ทางไปยังกาสิโน กาสโิ นในฝั่งปอยเปตน้นั มีทัง้ รปู แบบออนไลน์ และเขา้ ไปเสี่ยง โชคในกาสโิ น เมือ่ ข้ามฝ่งั ไปเสย่ี งโชคยงั ปอยเปตแล้วจะมีรถบริการรบั ส่งนักท่องเท่ียว (นักพนัน) ไปยงั กาสโิ นตา่ งๆ ด่านตรวจคนเขา้ เมอื งอรัญประเทศ เปดิ เวลา 7.30 – 20.00 น. ของทุกวัน อีก

56_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการคา้ ในลุ่มนาโขง ทั้งในบริเวณตลาดโรงเกลือมีบริษัทนาเที่ยวต้ังสานักงานไว้คอยบริการนักท่องเท่ียวในการข้าม ไปท่องเทยี่ วในกัมพชู า และเวียดนาม อาเภออรัญประเทศมีท่ีพักและร้านอาหารไว้คอยต้อนรับและบริการนักท่องเท่ียว และ ผู้เดินทางจานวนมาก ท่ีพักประเภทโรงแรม รีสอร์ท และเกสเฮ้าส์ มีประมาณ 15 แห่ง และ ร้านอาหารมีจานวน 15 ร้าน ท่ีเป็นที่รู้จักของนักท่องเท่ียว (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2552) ในสว่ นของทพ่ี ักในบริเวณตลาดโรงเกลือนั้น ไม่มีท่ีพักแบบโรงแรมขนาดใหญ่ แต่จะมี เพียงโฮมสเตย์และโรงแรมอยู่บริเวณรอบนอกตลาด โดยโฮมสเตย์อยู่ 2 ข้างทางระหว่างตัว อาเภออรัญประเทศไปตลาดโรงเกลือ ส่วนโรงแรมน้ันจะอยู่ในตัวอาเภออรัญประเทศซ่ึงห่าง ออกไปจากตลาดโรงเกลอื ประมาณ 6 กิโลเมตร จานวนนักท่องเที่ยวท่ีเดินทางผ่านแดนยังด่านถาวรพรมแดนบ้าน คลองลึก โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวไทยมีจานวนมากที่สุด โดยใน ปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา จานวน นักท่องเที่ยวเดินทางเข้า – ออก ราชอาณาจักรไทยผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองอรัญประเทศ มี จานวนเพิ่มสูงข้ึนอย่างชัดเจน จาก ปี พ.ศ. 2546 จานวนนักท่องเที่ยวไทยเดินทางเข้า ราชอาณาจักรเพียง 649,869 คน เพ่ิมสูงขึน้ เป็น 1,106,603 คน หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 70.23 และ จานวนนักท่องเท่ียวท่ีเดินทางออกราชอาณาจักร ณ ด่านตรวจคนเข้าเมืองอรัญประเทศก็มี จานวนเพ่ิมสูงข้ึน โดยจานวนนักท่องเท่ียวชาวไทยท่ีเดินทางออกนอกราชอาณาจักรใน ปี พ.ศ. 2546 มจี านวน 659,874 คน และในปี พ.ศ. 2547 เพมิ่ สงู ข้ึนเป็น 1,097,220 คน หรือเพิ่มสูงขึ้น ร้อยละ 66.28 และแนวโน้มจานวนนักท่องเที่ยวชาวไทยเดินทางออกราชอาณาจักร ณ ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก อาเภออรัญประเทศ มเี พ่มิ สูงขน้ึ ทุกปีด้วย (ตารางท่ี 4-1)

การทอ่ งเทีย่ วและการค้า ณ อาเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแก้ว_____57 ตารางที่ 4-1: จานวนสถิตกิ ารเดนิ ทางผ่านแดนเขา้ - ออก ณ จดุ ผ่านแดน อาเภออรัญประเทศ ปี พ.ศ. 2545 – 2552 ปี พ.ศ. เดินทางเข้า อัตราการเติบโต เดินทางออก อตั ราการเติบโต (คน) เดินทางเขา้ (คน) เดินทางออก (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) 416,389 N/A 2545 453,489 N/A 659,874 58.48 1,097,220 66.28 2546 649,869 43.30 1,149,896 4.80 1,316,375 14.48 2547 1,106,603 70.28 1,474,521 12.01 1,593,489 8.07 2548 1,107,993 0.13 1,721,628 8.04 9,429,392 2549 1,320,956 19.22 2550 1,482,219 12.21 2551 1,595,193 7.62 2552 1,697,761 6.43 รวม 9,414,083 ทมี่ า: ปรบั ปรงุ จาก สานักงานตรวจคนเข้าเมือง. 2553. การเดินทางเข้า – ออก ราชอาณาจักรของนักท่องเท่ียวไทย ณ ด่านตรวจคนเข้าเมือง อรัญประเทศ มี 2 ประเภท คือ ใช้หนังสือเดินทางไทย และบัตรผ่านแดนไทย โดยใน ปี พ.ศ. 2549 จานวนนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางผ่านแดนโดยใช้หนังสือเดินทางขาเข้าจานวน 997,605 คน และใช้หนังสือผ่านแดนขาออกจานวน 999,517 คน เพิ่มจาก ปี พ.ศ. 2548 จาก การใช้หนังสือเดินทางไทย เข้าราชอาณาจักร ของนักท่องเท่ียวมีจานวน 861,917 คน และใช้ หนงั สือเดินทางออกปีเดียวกัน จานวน 862,882 คนและมีจานวนนักท่องเที่ยวผ่านแดนเพิ่มขึ้น ทุกปี (ตารางท่ี 4-2) ในส่วนของจานวนชาวกัมพชู าและชาวต่างชาติทเี่ ดินทาง เข้า – ออก ณ จุด ผา่ นแดนถาวรบา้ นคลองลึกก็เพ่มิ ข้ึนเชน่ กัน (ตารางท่ี 4-3)

58_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพือ่ รองรับผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วและการค้าในลุ่มนาโขง ตารางท่ี 4-2: จานวนนักทอ่ งเท่ยี วชาวไทยเดนิ ทางเข้า – ออก ราชอาณาจกั ร ณ จุดผ่าน แดนถาวรบ้านคลองลึก ปี พ.ศ. 2545 – 2549 (แยกประเภทการถือ หนังสอื เดนิ ทางและบตั รผ่านแดน) จานวน : คน ปี พ.ศ. หนังสือเดนิ ทางไทย บตั รผ่านแดนไทย เขา้ ออก เขา้ ออก 2545 274,981 278,744 31,670 43,679 2546 474,632 477,223 41,258 59,690 2547 855,321 858,190 311,751 328,701 2548 861,917 862,882 359,225 372,075 2549 997,605 999,517 310,954 297,625 รวม 3,464,456 3,476,556 1,054,858 1,101,770 ทม่ี า: ปรบั ปรุงจาก ดา่ นตรวจคนเขา้ เมืองอรัญประเทศ. 2552. ตารางท่ี 4-3: จานวนนักท่องเท่ียวชาวกัมพูชา นักท่องเท่ียวต่างชาติ และยานพาหนะ เดินทางเข้า – ออก ราชอาณาจักร ณ จุดผ่านแดนถาวรบ้านคลองลึก ปี พ.ศ. 2545 – 2549 จานวน : 100,000 คน, คัน บตั รผ่านแดน ปี พ.ศ. PP. กมั พชู า BP. กมั พูชา PP. ต่างชาติ ชั่วคราว พาหนะ (กมั พูชา) เข้า ออก เขา้ ออก เข้า ออก เข้า ออก เขา้ ออก 2545 0.42 0.32 0.66 0.49 1.25 1.34 24.43 24.43 0.33 0.35 2546 0.39 0.32 0.77 0.53 1.41 1.52 30.22 30.22 0.63 0.64 2547 0.55 0.47 1.39 1.21 2.08 2.11 37.61 37.61 0.57 0.58 2548 0.70 0.57 1.80 1.39 2.48 2.52 38.40 38.40 0.57 0.57 2549 0.78 0.69 1.99 1.47 2.48 2.47 35.19 35.19 0.60 0.61 รวม 2.85 2.37 6.61 5.09 9.70 9.96 165.85 165.85 2.70 2.76 ***หมายเหตุ PP. หมายถึง หนงั สือเดินทาง (Passport) / BP. หมายถงึ บัตรผา่ นแดน (Border Pass) ที่มา: ด่านตรวจคนเขา้ เมืองอรญั ประเทศ. 2552.

การท่องเที่ยวและการค้า ณ อาเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแกว้ _____59 4.2.2 ตาบลปอยเปต อาเภอโอวโจรโรว จังหวะดบันเตียนเมียนเจย ประเทศ กมั พชู า ตาบลปอยเปต เป็นท่ีต้ังของเขตเศรษฐกิจพิเศษโอเนียงของประเทศกัมพูชา และเป็น ที่ต้ังจุดผ่านแดนปอยเปต ด่านตรวจคนเข้าเมืองและด่านศุลกากร เป็นตาบลท่ีมีความ หลากหลายของสถานทีท่ อ่ งเทย่ี ว อกี ทงั้ ยงั เปน็ เสน้ ทางสู่เมืองเสียบเรียบ เมืองหลวงเก่า อันเป็น ท่ีตั้งของส่ิงมหัศจรรย์ของโลก คือนครวัด – นครธม ซึ่งมีระยะทางจากด่านปอยเปตประมาณ 150 กิโลเมตร สถานทที่ อ่ งเท่ียวทีส่ าคัญของปอยเปต อาทิ - บ่อนกาสิโน ได้รับความนิยมมาก โดยเฉพาะรับนักท่องเที่ยวชาวไทยท่ีปอยเปตมี กาสโิ นหลายแห่งหลาบขนาด หลายระดับใหผ้ ูน้ ยิ มเสย่ี งโชคเข้าไปเล่น - ตลาดปอยเปต เปน็ ตลาดสินค้ามือสอง และมือหนึ่งในฝ่ังปอยเปต มีสินค้าให้เลือก มากมาย นักท่องเที่ยวท่ีมาจากฝั่งอาเภออรัญประเทศท่ีต้องการข้ามเข้าไปซ้ือสินค้ายังตลาด ปอยเปตนัน้ จะต้องเสยี ค่าธรรมเนยี มขา้ มแดน 200 บาท โดยต้องนาหนังสือเดินทางฝากเก็บไว้ ตรงด่านตรวจคนเข้าเมืองของปอยเปต หรือต้องทาวีซ่าในการผ่านเข้าไปยังตลาด เนื่องจาก ตลาดปอยเปตไม่ได้ตั้งอยู่ในบริเวณเขตเศรษฐกิจพิเศษ ที่ใช้เพียงหนังสือเดินทางเข้าไปได้ เท่านัน้ 4.3 ข้อมลู พื้นฐานดา้ นการค้า 4.3.1 อาเภออรญั ประเทศ จังหวัดสระแก้ว จังหวดั สระแก้ว เป็นจังหวัดทม่ี พี รมแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศกัมพูชา โดยมี จุดผ่านแดนบา้ นคลองลกึ – ปอยเปต เช่ือมระหว่าง ตาบลคลองลึก อาเภออรัญประเทศ จังหวัด สระแก้ว กับ ตาบลปอยเปต อาเภอโอโจรโรว จังหวัดบันเตียเมียนเจย ประเทศกัมพูชาโดยเปิด เป็นจุดผ่านแดนเมื่อวันท่ี 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 และมีจุดผ่อนปรนการค้าชายแดนในพ้ืนที่ ของจงั หวัดสระแกว้ อกี 3 แห่ง ไดแ้ ก่ - จุดผ่อนปรนการค้าชายแดนบ้านตาพระยา ตั้งอยู่ตาบลตาพระยา อาเภอ ตาพระยา จังหวัดสระแก้ว ห่างจากด่านศุลกากรอรัญประเทศประมาณ 57 กิโลเมตร อยู่ตรงข้ามบ้านบึงตากวน อาเภอทมอพวก จังหวัดบันเตียเมียนเจย อยู่ ในความรบั ผิดชอบของด่านศลุ กากรบึงตากวน ของประเทศกมั พชู า เปิดทาการทุก วนั องั คารถงึ วันศกุ ร์ ต้งั แตเ่ วลา 09.00 – 16.00 น. - จุดผ่อนปรนการค้าบ้านหนองปรือ ต้ังอยู่ตาบลหนองปรือ อาเภออรัญประเทศ จงั หวัดสระแกว้ ห่างจากดา่ นศุลกากรอรัญประเทศประมาณ 36 กิโลเมตร อยู่ตรง

60_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการค้าในลุ่มนาโขง ข้ามตาบลมาลัย อาเภอมาลัย จังหวัดบันเตียเมียนเจย ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบ ของด่านศุลกากรพนมมาลัยของประเทศกัมพูชา เปิดทาการวันอังคารถึงวันศุกร์ ตัง้ แต่เวลา 09.00 – 16.00 น. - จุดผ่อนปรนการค้าบ้านเขาดิน ตั้งอยู่ที่ตาบลเขาดิน อาเภอคลองหาด จังหวัด สระแก้ว ห่างจากด่านศุลกากรอรัญประเทศประมาณ 58 กิโลเมตร อยู่ตรงข้าม บ้านกิโล 13 อาเภอสาเภาลูน จังหวัดพระตะบอง ซ่ึงอยู่ในความรับผิดชอบของ ด่านศุลกากรพนมได ของประเทศกัมพูชา เปิดทาการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00 – 16.00 น. โดยจุดผ่อนปรนทั้ง 3 จุด มีหน้าที่และความรับผิดเช่นเดียวกัน คือ การตรวจสอบและ ควบคุมดูแลการนาเข้า – ส่งออกสินค้า การตรวจค้นคนเดินทางเข้า – ออก และจับกุมกรณีพบ ความผดิ จุดสาคัญของการค้าอาเภออรัญประเทศ อยู่ที่การค้าชายแดนเป็นหลัก เพราะเป็น ประตูสูก่ ารคา้ อินโดจีน มีการขนสง่ การเดนิ ทางท่ีสะดวก มสี ะพานมติ รภาพไทย – กัมพูชา เชื่อม เส้นทางการคา้ การขนส่ง ณ จดุ ผ่านแดนถาวรบ้านคลองลึก – ปอยเปต ซึ่งชนิดของสินค้าที่ผ่าน ด่านคลองลึกนั้น สินค้านาเข้าที่ผ่านแดนเข้ามายังประเทศไทยผ่านด่านคลองลึกเข้าสู่ประเทศ กมั พชู า โดยการกระจายของสนิ คา้ จากประเทศไทยเขา้ สปู่ ระเทศกมั พชู านน้ั จะผา่ นจดุ ผา่ นแดน ถาวรบ้านคลองลึก อาเภออรัญประเทศ – ปอยเปต – จังหวัดบันเตียเมียนเจย – พระตะบอง – โพธสิ ัตว์ – กมั ปงชะนัง – กรงุ พนมเปญ มีระยะทางประมาณ 400 กว่ากโิ ลเมตร และเสน้ ทางที่ 2 ผ่านด่านพรมแดนถาวรบ้านคลองลึก – ปอยเปต – จังหวัดบันเตียเมียนเจย – เสียมเรียบ – กัมปงธม – กรุงพนมเปญ โดยสินค้าท่ีเข้าสู่กรุงพนมเปญแล้ว ก็จะเป็นศูนย์กลางในการส่ง สินคา้ เข้าสปู่ ระเทศเวยี ดนามต่อไปได้ การค้าชายแดนด้านด่านพรมแดนถาวรบ้านคลองลึก ผ่านด่านศุลกากรอรัญประเทศ ในปีงบประมาณ 2547 – 2552 มูลคา่ การส่งออกสนิ คา้ มมี ลู คา่ มากกว่าการนาเข้าทุกปีประเทศ ไทยได้ดุลการค้าชายแดน ณ ด่านศุลกากรอรัญประเทศถึง 95,2144.44 ล้านบาท โดยมูลค่า การนาเข้าในปีงบประมาณ 2547 – 2552 มีมูลค่ารวม 8,164.03 ล้านบาท หรือมีอัตราการ เตบิ โตเฉลีย่ ร้อยละ 11.69 มลู ค่านาเขา้ ในแตล่ ะปงี บประมาณ มีแนวโน้มเพม่ิ สงู ข้ึนเรอื่ ยๆ แต่ก็มี บางช่วงที่ปริมาณการนาเข้าลดลงโดยในปีงบประมาณ 2552 การนาเข้าสินค้าของไทย ณ ด่านพรมแดนถาวรบ้านคลองลึก ลดลงไป ร้อยละ 28.93 เน่ืองจากมีปัญหาด้านการเมือง (ตารางที่ 4-4)

การท่องเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแก้ว_____61 ตารางที่ 4-4: มลู ค่าสินคา้ นาเข้า ผ่านดา่ นศุลกากรอรัญประเทศ ในปงี บประมาณ 2547 – 2552 ปีงบประมาณ มูลคา่ การนาเขา้ อัตราการเติบโต (ล้านบาท) (รอ้ ยละ) 2547 1,178.35 N/A 2548 828.59 -29.68 2549 1,194.77 44.19 2550 1,306.82 9.38 2551 2,136.81 63.51 2552 1,518.69 -28.93 รวม 8,164.03 อตั ราการเติบโต 11.69 ทมี่ า: ปรบั ปรงุ จาก ดา่ นศลุ กากรอรัญประเทศ, 2553. ในส่วนของมูลค่าการส่งออกสินค้าผ่านแดน ณ ด่านศุลกากรอรัญประเทศ ใน ปีงบประมาณ 2547 – 2552 มีมูลค่ารวม 103,378.47 ล้านบาท หรือมีอัตราการเติบโตเฉลี่ย ร่วมรอ้ ยละ 14.41 มูลคา่ ส่งออกในแต่ละปงี บประมาณ มแี นวโนม้ เพิม่ สูงข้ึนเรื่อยๆ ดังเช่นมูลค่า การนาเขา้ โดยในปีงบประมาณ 2551 มมี ูลค่าการนาเข้า เติบโตสูงถึงร้อยละ 52.24 แต่ก็มีบาง ชว่ งทีป่ รมิ าณการนาเขา้ มีปริมาณลดลงโดยในปีงบประมาณ 2552 การนาเข้าสินค้าของไทย ณ ด่านพรมแดนถาวรบ้านคลองลึก ลดลงไปร้อยละ 17.42 เนื่องจากเหตุผลทางการเมือง เช่นเดียวกนั (ตารางท่ี 4-5) ตารางท่ี 4-5: มูลค่าสินค้าสง่ ออก ผา่ นด่านศุลกากรอรัญประเทศ ในปีงบประมาณ 2547 – 2552 ปงี บประมาณ มูลคา่ การส่งออก อัตราการเปลยี่ นแปลง (ล้านบาท) (รอ้ ยละ) 2547 12,160.03 N/A 2548 14,711.86 20.99 2549 11,642.47 13.12 2550 17,161.53 3.12 2551 26,126.46 52.24 2552 21,576.12 -17.42 รวม 103,378.47 อัตราเปลี่ยนแปลงเฉล่ยี 14.41 ทม่ี า: ปรบั ปรุงจาก ดา่ นศุลกากรอรญั ประเทศ, 2553.

62_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพือ่ รองรับผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ในลุม่ นาโขง ในปีงบประมาณ 2551 (ตุลาคม 2550 – กันยายน 2551) และปีงบประมาณ 2552 (ตุลาคม 2551 – กันยายน 2552) สินค้า 10 อันดับ และมูลค่าการนาเข้าสินค้า 10 อันดับ ประกอบไปด้วยสินค้าจาพวกเศษเหล็ก สินค้าเกษตรกรรม โดยสินค้าท่ีมีมูลค่าการนาเข้าสูง ท่ีสุด 3 อันดับแรก ในปีงบประมาณ 2551 ได้แก่ เศษเหล็ก เศษอลูมิเนียม และข้าวโพดเล้ียง สัตว์ตามลาดบั และในปีงบประมาณ 2552 ไดแ้ ก่ มันสาปะหลัง ข้าวโพดใช้เลี้ยงสัตว์ และเมล็ด ถ่ัวเหลือง ส่วนเสื้อผ้าเก่าใช้แล้ว ณ ด่านศุลกากรอรัญประเทศ เข้ามาเพ่ือจาหน่ายท่ีตลาดโรง เกลือเป็นหลัก (ตารางที่ 4-6) ในส่วนของสินค่าส่งออก 10 อันดับ และมูลค่าการส่งออกสินค้า 10 อนั ดบั ผ่านด่านศลุ กากรอรญั ประเทศในปีงบประมาณ 2551 – 2552 ประกอบไปด้วยสินค้า ท่ีประกอบสาเร็จรูปแล้วโดยเฉพาะรถจักรยานยนต์ เครื่องยนต์ สุกร อาหารสัตว์สาเร็จรูป โดย สินคา้ ท่มี มี ูลค่าการส่งออกมากทส่ี ุด 3 อันดับแรก ในปงี บประมาณ 2551 ได้แก่ รถจกั รยานยนต์ เครื่องยนต์ และรถยนต์ ตามลาดับ และ 3 อันดับสินค้าส่งออก 3 อันดับแรกในปีงบประมาณ 2552 ไดแ้ ก่ สกุ ร อาหารสตั ว์ และปนู ซีเมนต์ ตามลาดบั (ตารางท่ี 4-7) ตารางที่ 4 - 6: 10 อันดับสินค้านาเขา้ และมูลค่าสินคา้ ผ่านด่านศุลกากรอรัญประเทศ ในปงี บประมาณ 2551 - 2552 ปงี บประมาณ 2551 ปีงบประมาณ 2552 ลาดับ ชนดิ สนิ คา้ นาเข้า มลู คา่ ชนดิ สนิ ค้านาเขา้ มูลค่า (ล้านบาท) (ล้านบาท) 1 เศษเหล็ก 598.91 มนั สาปะหลัง 361.71 2 เศษอลมู เิ นียม 414.48 ข้าวโพดใชเ้ ลีย้ งสัตว์ 208.59 3 ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ 219.48 เมล็ดถว่ั เหลอื ง 186.85 4 เสอื้ ผ้าเกา่ ใชแ้ ล้ว 159.44 เศษอลมู เิ นียม 134.13 5 เมล็ดถวั่ เหลือง 146.30 เศษเหลก็ 120.96 6 เศษทองแดง 141.85 เส้อื ผา้ สาเร็จรูป 95.04 7 เศษกระดาษ 136.95 เศษกระดาษ 69.64 8 เสื้อผ้าสาเร็จรูป 67.48 เศษทองแดง 61.50 9 มนั สาปะหลัง 55.33 เส้อื ผ้าเกา่ ใชแ้ ลว้ 33.79 10 สตั วน์ า้ 38.07 ปยุ๋ เคมี 31.14 11 อื่นๆ 158.53 อืน่ ๆ 215.34 รวมมูลค่าการนาเข้า 2,136.81 รวม 1,518.69 ทมี่ า: ปรบั ปรงุ จาก ด่านศุลกากรอรญั ประเทศ, 2553.

การทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแกว้ _____63 มลู ค่าการนาเขา้ สินค้าของประเทศไทย ในปงี บประมาณ 2552 ผา่ นด่านถาวรพรมแดน คลองลึกอรัญประเทศมีมูลค่าลดลงจากปีงบประมาณ 2551 จากมูลค่าการนาเข้ารวม ปีงบประมาณ 2551 มีมูลค่า 2,136.81 ล้านบาท ในปีงบประมาณ 2552 ลดลงเป็น 2,136.81 ล้านบาท ตารางที่ 4 - 7: 10 อันดับสินค้าส่งออกและมูลค่าสินค้า ผ่านด่านศุลกากรอรัญประเทศ ในปีงบประมาณ 2551 - 2552 ปงี บประมาณ 2551 ปงี บประมาณ 2552 ลาดับ ชนดิ สนิ ค้าส่งออก มูลค่า ชนดิ สนิ คา้ ส่งออก มลู คา่ (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) 1 รถจกั รยานยนต์ 2,095.29 สุกร 1,384.62 2 เครอื่ งยนต์ 1,675.66 อาหารสตั ว์ 1,229.71 3 รถยนต์ 1,576.78 ปูนซีเมนต์ 1,062.93 4 อะไหลร่ ถจักรยานยนต์ 1,314.46 เคร่ืองยนต์ 868.53 5 อาหารสัตว์ 1,195.92 รถยนต์ 856.04 6 ปูนซเี มนต์ 939.95 อะไหล่รถจักรยานยนต์ 813.91 7 รถไถ 739.87 ผา้ ถกั 798.99 8 ผา้ ถกั 633.15 รถจักรยานยนต์ 564.71 9 สกุ ร 529.96 ปยุ๋ เคมี 472.22 10 เสาโทรคมนาคม 456.13 ยางรถยนต์ 458.10 11 อ่ืนๆ 14,969.29 อน่ื ๆ 13,066.39 รวมมูลค่าการส่งออก 26,126.46 รวมมลู คา่ การส่งออก 21,576.15 ที่มา: ปรับปรงุ จาก ด่านศลุ กากรอรัญประเทศ, 2553. สินค้าส่งออกส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่ต้องใช้เทคโนโลยีในการผลิต สินค้ามีราคาสูงด้วย มูลค่าการส่งออกสินค้าผ่านด่านพรมแดนถาวรบ้านคลองลึกมีมากกว่ามูลค่านาเข้าสินค้า ซ่ึง เป็นการได้เปรียบทางดุลการค้าของไทย เป็นการสร้างเม็ดเงินเข้าสู่ประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่ม มากข้ึน แตก่ ็มบี างปงี บประมาณท่ีปริมาณการนาเข้าและสง่ ออกลดลง ดังน้นั การค้าชายแดน ณ ด่านพรมแดนถาวรบ้านคลองลึก อาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว มีความสาคัญในด้าน เศรษฐกิจของภมู ภิ าค และประเทศไทย

64_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการค้าในลุม่ นาโขง 3.2 ตาบลปอยเปต อาเภอโอวโจรโรว จังหวัดบันเตียนเมียนเจย ประเทศ กัมพชู า การค้าในฝ่งั ปอยเปต ประเทศกัมพูชาน้ัน ทาการค้าชายแดนกับประเทศไทย ด้านด่าน พรมแดนบ้านคลองลึก การส่งออกของสินค้าในด่านน้ีมีปริมาณและมูลค่าการนาเข้าสินค้า มากกว่าการส่งออกสินค้ามายังประเทศไทย จึงทาให้กัมพูชาขาดดุลการค้ากับประเทศไทย ณ ดา่ นปอยเปตทุกปี แต่ถงึ แมจ้ ะขาดดุลการค้า แตก่ ็มแี นวโน้มที่ปริมาณและมูลค่าของการค้าเพ่ิม สูงขน้ึ

บทที่ 5 การทอ่ งเทยี่ วและการคา้ ณ อาเภอเมอื ง จงั หวดั หนองคาย 5.1 ข้อมูลพน้ื ฐานท่วั ไป 5.1.1 อาเภอเมือง จังหวดั หนองคาย อาเภอเมอื ง จังหวัดหนองคาย มีชายแดนติดกับ สปป.ลาว โดยมีแม่น้าโขง กั้นระหว่าง นครหลวงเวียงจันทน์ ของ สปป.ลาว มีจุดผ่านแดนหนองคาย และสะพานมิตรภาพไทย – ลาว เป็นจดุ เชอื่ มการคา้ และการทอ่ งเท่ียวของท้ังสองประเทศ อาเภอเมืองหนองคาย มีพ้ืนที่ทั้งหมด ประมาณ 607.45 ตารางกิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานครตามทางหลวงแผ่นดินสาย 2 (มติ รภาพ) ประมาณ 616 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อ ดงั น้ี ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดตอ่ แม่น้าโขง ซึ่งเป็นพรมแดนระหว่างประเทศไทย และสปป.ลาว ทศิ ใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับก่ิงอาเภอสระใคร จังหวัดหนองคาย และ อาเภอเพญ็ จงั หวัดอุดรธานี ทิศตะวันออก มอี าณาเขตตดิ ตอ่ กบั อาเภอโพนพิสัย จงั หวดั หนองคาย ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดตอ่ กับอาเภอทา่ บอ่ จงั หวดั หนองคาย

66_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการคา้ ในลุ่มนาโขง N รปู ที่ 5-1: แผนทีอ่ าเภอเมอื ง จังหวดั หนองคาย ทมี่ า: ปรบั ปรงุ จาก การท่องเที่ยวแหง่ ประเทศไทย, 2553. ปัจจุบันอาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย มีการแบ่งการปกครองออกเป็น 16 ตาบล เทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาลตาบล 4 แห่งและ 147 หมู่บ้าน มีประชากรรวมทั้งส้ิน 143,475 คน แยกเป็นประชากรชาย 71,654 คน ประชากรหญิง 71,824 คน มีอัตราความหนาแน่นของ ประชากรอยูท่ ่ี 236.190 คนตอ่ ตารางกโิ ลเมตร (ขอ้ มูลจาก htpp://www.amphoe.com ณ วันที่ 21 มกราคม 2552) อาชพี หลกั ของประชากร ได้แก่เกษตรกรรม รับจ้าง จักสานผลิตภัณฑ์อาชีพ เสริม ได้แก่ ปลูกไมด้ อก และผลติ สนิ คา้ หน่ึงตาบลหน่งึ ผลติ ภัณฑ์ อาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย เป็นที่ตั้งของสะพานมิตรภาพไทย – ลาว เป็นประตู การค้าชายแดน ไปสู่ สปป.ลาว เวียดนาม มีการคมนาคม ท้ังทางรถยนต์ และทางรถไฟเข้าสู่ สปป.ลาว ดงั นน้ั จึงมีความสาคญั ตอ่ การคา้ และการทอ่ งเทยี่ วตอ่ ประเทศไทย และในอนุภูมิภาค ลุม่ แม่นา้ โขงด้วย

การท่องเที่ยวและการค้า ณ อาเภอเมือง จังหวดั หนองคาย_____67 5.1.2 แขวงนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว แขวงนครหลวงเวียงจันทน์ มีฐานะเป็นเมืองหลวงของ สปป.ลาว แต่เดิมเป็นส่วนหนึ่ง ของแขวงเวียงจันทน์ ต่อมามีการแยกออกเป็น 2 แขวง คือ แขวงเวียงจันทน์ในปัจจุบัน และ แขวงกาแพงพระนคร ก่อนจะเปลย่ี นชือ่ มาเป็น แขวงนครหลวงเวียงจันทน์ในปัจจุบัน แขวงนคร หลวงเวียงจันทน์เป็นที่ต้ังของเมืองหลวงของลาว อันเป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจของลาว แขวงนครหลวงเวียงจันทน์มีพื้นที่ประมาณ 3,920 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 700,000 คน (คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน, 2552) พื้นที่ส่วนใหญ่ของแขวงนครหลวง เวียงจันทน์เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะสมแก่การทาเกษตรกรรม ทาให้ภาคเกษตรกรรมมีบทบาท สาคัญมาก อีกทั้งยังเป็นแขวงท่ีมีความเจริญมากที่สุดของลาว ในด้านอาณาเขตติดต่อของ แขวงนครหลวงเวยี งจันทน์ ดงั น้ี ทศิ เหนือ มอี าณาเขตตดิ ต่อกบั แขวงเวียงจนั ทน์ และเขตปกครองพิเศษไชยบุรี สปป.ลาว ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับอาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย ประเทศไทย โดยมี แมน่ า้ โขงกั้นพรมแดน ทศิ ตะวันออก มอี าณาเขตติดต่อกับอาเภอโพนพิสยั จังหวัดหนองคาย ประเทศไทย ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกบั แขวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว

68_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพือ่ รองรับผลกระทบจากการท่องเทีย่ วและการค้าในลุ่มนาโขง รปู ท่ี 5-2: แผนทนี่ ครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ท่ีมา Thai APEC Study Center (TASC), 2010. สปป.ลาวและประเทศไทย สามารถเดินทางไปมาหากันโดยใช้ช่องทางสะพาน มิตรภาพไทย – ลาว แห่งท่ี 1 ซ่ึงเป็นเส้นทางเช่ือมอาเภอเมือง จังหวัดหนองคายของประเทศ ไทย และแขวงนครหลวงเวียงจนั ทน์ สปป.ลาว ซ่งึ การคมนาคมในแขวงนครหลวงเวียงจันทน์น้ัน ค่อนขา้ งสะดวก เน่ืองจากมีการคมนาคมทั้งทางบก ทางน้า และทางอากาศ ที่สามารถเดินทาง ต่อไปยังแขวงต่างๆ ในลาว และไปยังต่างประเทศ ได้ การคมนาคมทางอากาศน้ัน แขวงนคร หลวงเวียงจันทน์มีสนามบินนานาชาติวัตไต (Wattay International Airport) ซึ่งใหญ่ที่สุดใน ลาว มีระยะทางห่างจากนครหลวงเวียงจันทน์ประมาณ 3 กิโลเมตร มีสายการบิน ภายในประเทศและตา่ งประเทศ โดยเฉพาะสายการบินแห่งชาติลาว และสายการบินนานาชาติ

การท่องเทีย่ วและการค้า ณ อาเภอเมือง จังหวดั หนองคาย_____69 เขา้ มาใช้บริการ อาทิสายการบนิ ไทย บางกอกแอร์ไลน์ เวยี ดนามแอรไ์ ลน์ เปน็ ตน้ สว่ นทางนา้ ใช้ แมน่ ้าโขงเป็นเส้นทางหลกั ในการเดินทางภายใน และระหวา่ งประเทศ 2. ข้อมลู พ้ืนฐานด้านการทอ่ งเท่ียว 2.1 อาเภอเมือง จงั หวัดหนองคาย รปู ที่ 5-3: แผนท่ีอาเภอเมอื ง จังหวัดหนองคาย ทมี่ า: การท่องเทีย่ วแหง่ ประเทศไทย, 2553. สถานที่ท่องเท่ียวในอาเภอเมืองหนองคาย มีแหล่งท่องเที่ยวหลากหลายอาทิการ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เชิงอนุรักษ์ การท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมท่ีมีเอกลักษณ์ และการค้า ชายแดน ซงึ่ สถานทีท่ ่องเทีย่ วท่สี าคญั และน่าสนใจ ไดแ้ ก่ - วดั โพธิ์ชัย เปน็ ท่ีประดษิ ฐานของหลวงพอ่ พระใสซ่งึ เปน็ พระพทุ ธรปู สาคญั คเู่ มือง วัด โพธ์ิชัยมีฐานะเป็นวัดอารามหลวง ต้ังอยู่ท่ีถนนโพธิ์ชัย ในเขตเทศบาลเมือง ห่างจากตัวเมือง หนองคายไปประมาณ 2 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 212 ทางไป อาเภอโพนพิสัย หลวงพ่อพระใสเป็นพระพุทธรูปขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย หล่อด้วยทองสีสุก หน้าตักกว้าง 2 คืบ 8 น้ิว ส่วนสูงจากองค์พระเบื้องล่างถึงยอดพระเกศ 4 คืบ 1 น้ิว สมเด็จกรมพระยาดารง-

70_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ในลุ่มนาโขง ราชานภุ าพ ทรงสันนิษฐานไว้ในหนังสือประวัติพระพุทธรูปสาคัญ ซ่ึงพิมพ์แจกในงานทอดกฐิน พระราชทาน ปี พ.ศ. 2468 ว่า หลวงพ่อพระใส เป็นพระพุทธรูปหล่อในสมัยล้านช้าง และตาม ตานานท่ีเล่าสืบต่อกันมาว่า พระธิดา 3 องค์ แห่งกษัตริย์ล้านช้างเป็นผู้สร้าง บางท่านว่าเป็น พระราชธดิ าของ พระไชยเชษฐาธริ าช ไดห้ ล่อพระพุทธรูปขึ้น 3 องค์ และขนานนามพระพุทธรูป ตามนามของตนเองไวด้ ้วยวา่ พระเสริมประจาพใ่ี หญ่ พระสกุ ประจาคนกลาง พระใสประจาน้อง สุดท้อง มีขนาดลดหลั่นกันตามลาดับ ปี พ.ศ. 2321 พระเจ้าธรรมเทววงศ์ได้อัญเชิญไปไว้ ณ เวียงจันทน์ และในสมัยรัชกาลท่ี 3 ได้อัญเชิญมาฝั่งไทย แต่เกิดพายุ พระสุกจมน้าอยู่ท่ีปากง่ึม (เวินพระสุก) ส่วนพระเสริมและพระใส ประดิษฐานไว้ท่ีวัดโพธิ์ชัยและวัดหอกล่อง ต่อมาใน รัชกาลที่ 4 ได้อญั เชญิ พระเสรมิ ลงมาประดิษฐานท่ีกรุงเทพมหานคร ส่วนพระใสประดิษฐานอยู่ ที่วดั โพธชิ์ ัย ทุกปีในวนั เพญ็ เดือน 6 ชาวเมืองหนองคายมีงานประเพณี คือ งานบุญเซิ้งบ้ังไฟจะ แห่บ้ังไฟมาบูชาพระใสและจัดการแข่งขันการ จุดบ้ังไฟท่ีวัดโพธิ์ชัยเป็นประจา (ปัจจุบันได้ย้าย สถานท่ีจุดบ้ังไฟออกนอกเมือง ใกล้กับเทคนิคหนองคายแห่งใหม่ โดยใช้เส้นทางหนองคาย- อ.โพนพสิ ัย ระยะทางประมาณ 5 กม.) (nongkhaiweb.com, 2552) -สะพานมิตรภาพไทย-ลาว เป็นสะพานข้ามแมน่ า้ โขงแห่งแรกสรา้ งโดย ความร่วมมือ ของ 3 ประเทศคือ ออสเตรเลีย ไทย และ สปป.ลาว เช่ือมระหว่างบริเวณหาดจอมมณี อาเภอ เมอื ง จงั หวัดหนองคาย ไปยงั ท่านาแลง้ ของ สปป.ลาว ซง่ึ อยู่ห่างจากเมืองเวียงจันทน์ ประมาณ 20 กิโลเมตร เป็นสะพานเดี่ยว การจราจรบนสะพานแบ่งเป็น สองช่องจราจร มีความยาว ประมาณ 1.2 กโิ ลเมตร กวา้ ง 15 เมตร มีช่องสาหรับเดินรถ 2 ช่องทาง ซึ่งตรงช่วงกลางสะพาน เป็นทางรถไฟเปิดใช้สะพานเป็นทางการในเดือนเมษายน พ.ศ. 2537 โดยได้รับพระมหา กรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิดสะพานแห่งนี้ สร้าง ความปลม้ื ปีตใิ ห้ประชาชนทั้ง 2 ฝั่งไทย-ลาวเป็นอนั มาก - หาดจอมมณี ตั้งอยู่ที่บ้านจอมมณี หมู่ท่ี 1 ตาบลมีชัย ห่างจากเขตเทศบาลเมือง ประมาณ 2 กิโลเมตร เป็นส่วนหน่ึงของลาน้าโขง หาดแห่งนี้จะมีความยาวประมาณ 200 เมตร และจะปรากฏให้เหน็ ในช่วงฤดแู ลง้ เมือ่ นา้ ลด โดยเฉพาะเดือนเมษายน จะมีนักทอ่ งเทย่ี วทอ้ งถิ่น และจากจังหวดั ใกล้เคียง และพนี่ ้องชาวลาวเดินทางไปท่องเท่ียวพักผ่อนเป็นจานวนมาก ได้รับ การเรียกขานว่าเป็น \"พัทยาอสี าน\" อีกทง้ั ทวิ ทัศนใ์ นบริเวณหาดทรายยงั สามารถมองเห็นบริเวณ สะพานมติ รภาพไทย-ลาว ได้อย่างชัดเจน - วัดศาลาแก้วกู่ เป็นศาสนสถานอยู่ ห่างจากตัวเมืองหนองคายไปประมาณ 5 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 212 ทางไปอาเภอโพนพิสัย เป็นวัดที่มีรูปป้ันขนาดใหญ่

การท่องเทีย่ วและการค้า ณ อาเภอเมือง จังหวดั หนองคาย_____71 แสดงถึงแดนสวรรค์ แดนนรก เพ่ือเป็นสื่อสอนให้รู้จักการผลของทาความดีผลของการทาความ ชั่ว นอกจากน้ีภายในโบส์ถยังมีวัตถุโบราณต่าง เครื่องลางของคลังต่างๆ ก่อนกลับแวะชมต้น กระบองเพชรยกั ษ์ที่ทางวัดปลูกไวน้ า่ สนใจมาก - ท่าเสด็จ อยู่ในเขตเทศบาลเมือง เป็นท่าเรือโดยสารข้ามแม่น้าโขงไปยังฝ่ังลาว มี ด่านตรวจคนเข้าเมืองและร้านค้าจาหน่ายสินค้าจากนานาประเทศที่ส่งผ่านเข้ามาจากฝ่ังลาว สินค้าท่ีจาหน่ายได้แก่ เครื่องไม้ฝังมุก เคร่ืองไฟฟ้า นาฬิกา อาหาร เส้ือผ้า ฯลฯ นอกจากนี้ยังมี บรษิ ทั ทวั รท์ ีร่ ับทาบตั รผา่ นแดนและนาเทยี่ ว สปป. ลาว อกี ด้วย ชาวไทยจะต้องทาบัตรผ่านแดนท่ีสานักงานบัตรผ่านแดน บริเวณศาลากลางจังหวัด หนองคาย โดยมีเอกสารประกอบการทาบตั รผา่ นแดน คือสาเนาบัตรประชาชนหน้าหลัง รูปถ่าย ขนาด 1 น้ิว จานวน 2 รูป ชาวต่างประเทศ จะต้องใช้หนังสือเดินทาง (Passport) และขอวีซ่าที่ สถานทตู ลาวประจาประเทศไทย - พระธาตุบังพวน ต้ังอยู่ที่วัดพระธาตุบังพวน บ้านดอนหมู ตาบลพระธาตุบังพวน หา่ งจากอาเภอเมืองหนองคาย ประมาณ 21 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 2 (หนองคาย - อุดรธานี) ประมาณกม.ที่ 11 จากตัวเมืองหนองคาย จะถึงส่ีแยกบ้านหนองสองห้อง เลี้ยวขวา เข้าทางหลวงหมายเลข 211 (หนองคาย-ท่าบ่อ) ถึงบริเวณกิโลเมตรที่ 10 เดิมพระธาตุบังพวน เปน็ เจดียเ์ ก่าแก่ เปน็ ทเ่ี คารพสักการะของชาวหนองคายมาชา้ นาน ตวั องค์พระธาตุเดมิ เปน็ เจดีย์ สร้างด้วยอิฐเผา มีรูปทรงแบบสถาปัตยกรรมท้องถิ่น ลักษณะเจดีย์เป็นรูปสถูปแบบอินเดียรุ่น เดียวกับองคพ์ ระปฐมเจดยี ์ เจดีย์องคป์ ัจจุบันบูรณะขึ้นใหม่โดยกรมศิลปากรในระหว่าง ปี พ.ศ. 2519-2521 หลงั จากท่อี งคเ์ ดิมได้พังทลายลงเม่ือเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2513 เนื่องจากฐานทรุด พระธาตุองค์ปัจจุบันมีฐานทักษิณ 5 ชั้น กว้าง 17.20 เมตร สูงถึงยอดฉัตร 34.25 เมตร รูป ปรางค์สี่เหล่ียมต่อกันเป็นบัวปากระฆังชั้นที่ 6 เป็นรูประฆังคว่า ชั้นท่ี 7 เป็นรูปดาวปลี และ เหนือชน้ั ไปเป็นทตี่ ั้งฉตั รและบรรจพุ ระบรมสารีริกธาตุ - พิพธิ ภณั ฑพ์ ระธาตุบงั พวน เปน็ ห้องเล็กๆ อย่ใู กลก้ ับองค์พระธาตุ ซงึ่ ภายในจะเก็บ ซากเศษหิน ใบเสมา ศิลาจารึก ตลอดจนโบราณวัตถุของพระธาตุองค์เก่า รวมท้ังประวัติของ องคพ์ ระธาตุ - สระพญานาค อยู่ในบริเวณใกล้ๆ องค์พระธาตุ ซ่ึงในสมัยโบราณเมื่อมีการแต่งตั้ง ผู้ใดเปน็ เจา้ เมอื ง ก็จะนาน้าจากสระน้ไี ปสรงเพือ่ เปน็ สิริมงคล ในสมัยต่อมาสระพญานาคก็ทรุด โทรมลงตามกาลเวลา จนกระท่ังชาวบ้านและประชาชนท่ีมีจิตศรัทธาได้ร่วมกันบริจาคและทา การบูรณะสระพญานาคเพื่อใชน้ ้าในสระนี้นาไปประกอบพิธีมงคลต่างๆ เพื่อความเป็นสิริมงคล

72_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพือ่ รองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการคา้ ในลุ่มนาโขง ทุกปีชาวจังหวัดหนองคายจะจัดงานนมัสการพระธาตุบังพวนข้ึนในเดือนยี่ ขึ้น 11 ค่า (nongkhaiweb.com, 2552) - อนุสาวรีย์ปราบฮ่อ เป็นอนุสาวรีย์แห่งเดียวในจังหวัดหนองคาย เป็นอนุสาวรีย์ เทิดทูนความดีของผู้ล่วงลับไปแล้ว ในการปราบฮ่อ ใน ปี พ.ศ. 2429 (ร.ศ. 105) เสด็จในกรม หลวงประจักษ์ศิลปาคม รับสั่งให้สร้างอนุสาวรีย์ไว้ที่เมืองหนองคาย เพื่อบรรจุอัฐิของผู้ท่ี เสียชีวิตในการปราบฮ่อ เดิมต้ังอยู่ท่ีหลังสถานีตารวจภูธร จังหวัดหนองคาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2492 ทางจังหวัดหนองคายได้รับงบประมาณให้สร้างอนุสาวรีย์ปราบฮ่อเพ่ือให้สง่างามสมกับ เปน็ อนุสาวรยี ข์ องผทู้ ่ไี ด้เสยี สละเพอื่ ชาตบิ ้านเมืองให้เป็นศรีสงา่ แก่เมืองหนองคายสืบไป จึงย้าย มาสร้างใหม่ท่ีบริเวณหน้าศาลากลางจังหวัด มีคาจารึกท่ีอนุสาวรีย์ท้ัง 4 ทิศ ทั้งภาษาไทย จีน ลาว และอังกฤษ ทางจังหวัดไดก้ าหนดใหม้ กี ารจดั งานบวงสรวงและฉลองอนุสาวรีย์เป็นประจา ทุกวนั ท่ี 5 มนี าคม ของทุกปี - พระธาตุหนองคาย อยู่ในบ้านวัดธาตุ เขตเทศบาลเมืองหนองคาย ตามประวัติที่ ค้นพบ พบว่าในปีมะเมีย เดือน 9 ขึ้น 9 ค่า พ.ศ.2390 ใกล้ค่าพระธาตุหนองคายได้พังลง แม่น้าโขง และตล่ิงอันเป็นท่ีต้ังขององค์พระธาตุถูกน้าเซาะพังลงจนมองเห็นองค์พระธาตุเกือบ อยู่กึ่งกลางลาแม่น้า ในช่วงฤดูแล้งท่ีแม่น้าโขงลดระดับลงจะมองเห็นพระธาตุโพล่พ้นน้าข้ึนมา จงึ เป็นแหลง่ ท่องเท่ียวท่ไี ดร้ ับความสนใจอีกแห่งหนง่ึ อาเภอเมืองหนองคายมีที่พักและร้านอาหารไว้คอยต้อนรับและบริการนักท่องเที่ยว และ ผู้เดินทาง ท่ีพักประเภทโรงแรม รีสอร์ท และเกสเฮ้าส์ มีประมาณ 42 แห่ง แต่อยู่ในระดับ 2-3 ดาว นักทอ่ งเทย่ี วนิยมจะไปพักที่ จ.อุดรธานี มากกว่าเน่ืองจากอยู่ห่างจาก จ.หนองคายไม่ ไกลนัก และมีที่พักให้เลือกมากกว่า ส่วนร้านอาหารมีประมาณ 30 ร้าน ท่ีเป็นท่ีรู้จักของ นักท่องเที่ยว โดยเฉพาะอาหารท้องถิ่นขึ้นช่ือ คือ แหมเนือง (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2552) ในส่วนของจานวนของนกั ท่องเทย่ี วทเ่ี ดินทางผ่านแดนยังดา่ นถาวรพรมแดนหนองคาย ใน ปี พ.ศ. 2551 มจี านวนนกั ท่องเท่ยี วขาเข้าจานวน 974,483 คน เพิ่มข้ึนจาก ปี พ.ศ. 2550 ท่ี มีจานวนนักท่องเที่ยวอยู่ท่ี 783,724 คน (ร้อยละ 24.34) และในปี พ.ศ. 2552 จานวน นักท่องเที่ยวผ่านเข้ามาเพิ่มสูงขึ้นถึง 1,101,774 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.06 ส่วนนักท่องเท่ียว ผ่านแดนขาออกใน ปี พ.ศ. 2551 มี 974,359 คน เพ่ิมสูงขึน้ จาก ปี พ.ศ. 2550 ถึงร้อยละ 23.27 และเพิ่มจานวนขนึ้ อกี ใน ปี พ.ศ. 2552 ไปอย่ทู ี่ 1,099,835 คน หรือเพิ่มสูงข้ึนร้อยละ 12.88 ซ่ึง จานวนของนักท่องเที่ยวที่เดินทางผ่านเข้า – ออก ณ ด่านพรมแดนหนองคายนั้นมีแนวโน้ม

การท่องเที่ยวและการค้า ณ อาเภอเมือง จังหวดั หนองคาย_____73 สงู ขน้ึ ทกุ ปี และในปี พ.ศ. 2552 มีจานวนนักท่องเท่ียวผ่านด่านพรมแดนหนองคายจานวนมาก เนอ่ื งจากลาวเปน็ เจ้าภาพในการจัดแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 25 ระหว่างวันที่ 9 – 18 ธันวาคม 2552 ณ นครหลวงเวียงจันทน์ (ตารางที่ 5-1) ตารางที่ 5-1: จานวนนักทอ่ งเท่ียวเดินทางผา่ นแดนเขา้ - ออก ณ จดุ ผา่ นแดน หนองคาย ปี พ.ศ. 2545 – 2552 ปี พ.ศ. เดินทางเข้า อัตราการเตบิ โต เดินทางออก อัตราการเตบิ โต (คน) เดินทางออก (คน) เดนิ ทางเข้า (รอ้ ยละ) 187,497 N/A (รอ้ ยละ) 203,235 8.39 230,677 13.50 2545 205,255 N/A 423,865 83.75 528,645 24.72 2546 230,379 12.24 790,395 49.51 974,359 23.27 2547 244,992 6.34 1,099,835 12.88 4,438,508 2548 416,723 70.10 2549 512,592 23.01 2550 783,724 52.89 2551 974,483 24.34 2552 1,101,774 13.06 รวม 4,469,922 ทม่ี า: ปรบั ปรุงจาก สานักงานตรวจคนเขา้ เมอื ง. 2553. 5.2.2 แขวงนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว การท่องเท่ียวของแขวงนครหลวงเวียงจันทน์ มีสถานท่ีท่องเท่ียวที่มีคุณค่าทางด้าน ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมมากมาย อาทิ - พระธาตุหลวง เป็นพระธาตุใหญ่และสวยงามท่ีสุดใน สปป.ลาว สร้างโดยช่าง โบราณชาวลาว มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรมและเป็นตัวแทนของ สถาปัตยกรรมลาวล้านช้าง ด้านหน้ามีอนุสาวรีย์พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ประดิษฐานอยู่ ส่วน องค์พระธาตุเหลืองอร่ามดุจทอง ด้านหลังของอนุสาวรีย์นั้นเป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ใน แตล่ ะปจี ะมีงานนมัสการพระธาตหุ ลวงทย่ี ่ิงใหญใ่ นคืนเพ็ญที่ 12 ถอื เปน็ งานยิง่ ใหญร่ ะดบั ชาติ

74_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการคา้ ในลุ่มนาโขง - วัดหอพระแก้ว หอพระแก้ว เป็นโบราณสถานคู่ประเทศลาว ซึ่งสถานที่น้ีเคย ประดิษฐาน พระแก้วมรกต หรือ พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ต้ังอยู่ที่นครหลวงเวียงจันทน์ ประเทศลาว ปัจจุบันเหลือเพียงพระแท่นท่ีประดิษฐาน เพราะพระแก้วมรกตองค์ปัจจุบันได้รับ การอัญเชิญลงมาประทับท่ีกรุงเทพมหานคร ในสมัยของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี โดยสมเด็จ เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก เปน็ ผู้อญั เชญิ (ซเี กมส์-2009. blogspot.com, 2553) - วัดองต้ือ สร้างขึ้นภายหลังที่เจ้าชายเชษฐาธิราชสร้างเมืองเวียงจันทน์ 6 ปี สันนิษฐานว่าสร้างครอบวังเก่าในสมัยขอม แต่ก่อนเรียก “วัดไชยะพูม” เม่ือมีพระพุทธรูปองต้ือ มาประดษิ ฐานทีน่ ี้ ชาวบา้ นจงึ เรียกวา่ “วดั องต้อื ” - วัดสีสะเกด สร้างเม่ือ ปี พ.ศ. 2361 ตามบัญชาของเจ้าอนุวงศ์แห่งราชอาณาจักร ล้านช้าง ต้ังอยู่ติดกับพระราชวังหลวงด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นวัดท่ีมีความหมายทาง ประวัติศาสตร์ เนื่องจากเป็นวัดเก่าแก่ในนครหลวงเวียงจันทน์ท่ีไม่ถูกทาลายจากสงคราม ลกั ษณะพิเศษของวดั นี้อยูท่ ีค่ วามอลังการของพระพุทธรูป 6,840 องค์ ท่ีฝั่งอย่ตู ามช่องกาแพง - ประตูชยั เป็นอนสุ รณส์ ถานเพ่อื ระลึกถงึ ประชาชนชาวลาวผู้เสียสละชีวิตในสงคราม กอ่ นหนา้ การปฏวิ ัตขิ องพรรคคอมมวิ นสิ ต์ และเปน็ สัญลกั ษณ์ของนครหลวงเวยี งจนั ทน์ สร้างขน้ึ ในปี พ.ศ. 2505 และแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2512 ลักษณะสถาปัตยกรรมได้รับอิทธิพลของ ประตูชัยในกรุงปารีส แต่ก็ยังคงมีเอกลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมของลาวปรากฏให้เห็นอย่าง ชัดเจน ตั้งอยู่บนถนนล้านช้าง นักท่องเที่ยวสามารถข้ึนบันไดไปบนอนุสรณ์เพื่อชมวิวทิวทัศน์ ของตัวเมืองนครหลวงเวยี งจนั ทน์ และเลอื กซือ้ สินคา้ ทร่ี ะลกึ บนอนุสรณ์ได้ นอกจากน้ียังมีสถานท่ีท่องเท่ียวท่ีน่าสนใจอ่ืนๆ อีก เช่น วัดสีเมือง ตลาดเช้า ซ่ึงเป็น สรรพสินค้าขายเสื้อผ้าพื้นเมือง เครื่องประดับ ดีวีดีเพลง หนัง และละครไทย ฯลฯ พิพิธภัณฑ์ ไกสอนพรมวหิ าร และเขอื่ นนา้ งึม เปน็ ต้น (บรษิ ทั โชคทวีทัวร์, 2552). 5.3 ขอ้ มูลพ้ืนฐานดา้ นการค้า 5.3.1 อาเภอเมือง จงั หวัดหนองคาย การค้าชายแดนเป็นธุรกิจหลัก ของอาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย เพราะเป็นประตูสู่ การคา้ อนิ โดจีน มกี ารคมนาคมขนสง่ ทส่ี ะดวก ท้ังทางรถยนต์ และทางรถไฟ มีสะพานมิตรภาพ ไทย – ลาวเชือ่ มเส้นทางการคา้ การขนส่ง ซึ่งชนดิ ของสินคา้ ทผ่ี ่านดา่ นศลุ กากรหนองคายน้ัน ใน ปีงบประมาณ 2551 (ตุลาคม 2550 – กันยายน 2551) สินค้าท่ีมีการนาเข้าและมีมูลค่าการ นาเข้ามากที่สุด 3 อันดับแรกในปีงบประมาณ 2551 ได้แก่ ไม้แปรรูป ชุดสายไฟสาเร็จรูป และ

การท่องเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภอเมือง จังหวดั หนองคาย_____75 รถปั้นจ่ัน และสินค้าท่ีมีการส่งออกและมีมูลค่าการส่งออกมากท่ีสุด 3 อันดับแรกใน ปีงบประมาณ 2551 ไดแ้ ก่ น้ามัน รถยนต์ และผา้ ตาม ลาดับ (ตารางท่ี 5-2) ตารางที่ 5 - 2: 10 อนั ดบั สนิ คา้ นาเข้าและมลู คา่ สนิ ค้า ผ่านดา่ นศลุ กากรหนองคายใน ปงี บประมาณ 2551 ปงี บประมาณ 2551 ลาดับ ชนดิ สนิ ค้านาเข้า มลู ค่า ชนดิ สนิ คา้ สง่ ออก มูลค่า (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) 6,780.59 1 ไม้แปรรูป 460.03 น้ามัน 1,465.62 1,459.33 2 ชดุ สายไฟสาเรจ็ รปู 294.47 รถยนต์ 809.52 3 รถป้ันจนั่ 171.39 ผ้า 295.58 229.03 4 รถยนต์ 60.44 เหล็ก 190.54 187.53 5 เสื้อสตรี 54.61 เครื่องขดุ เจาะ 171.86 6 สว่ นประกอบยานยนต์ 43.34 ฝาจุก – ฝาจบี 167.86 11,757.45 7 สว่ นประกอบเครือ่ งจกั ร 43.11 รถดมั พ์ 8 ไม้ปารเ์ กต์ 28.57 ยานยนต์ส่งของ 9 อุปกรณแ์ ละเครอื่ งใชใ้ น 29.91 สว่ นประกอบยานยนต์ การสารวจ 10 รถขดุ เจาะ 28.90 ยางนอก รวมมูลค่าการนาเข้า 1,214.77 รวมมูลคา่ การส่งออก ทีม่ า: ปรับปรุงจาก ดา่ นศลุ กากรหนองคาย, 2552. มูลค่าการนาเข้า และส่งออกสินค้าของประเทศไทยผ่านด่านศุลกากรหนองคาย 10 อันดับแรกในปีงบประมาณ 2551 มีมูลค่าการนาเข้ารวม 1,214.77 ล้านบาท และมีมูลค่า ส่งออก 10 อันดบั สนิ คา้ แรกรวม 11,757.45 ลา้ นบาท สินค้าทีน่ าเข้าสว่ นมากเปน็ สนิ ค้าอุปกรณ์ ชิ้นส่วน ท่ีต้องนามาประกอบและสินค้าส่งออกส่วนมากเป็นสินค้าประเภทพลังงานน้ามัน รถยนต์ ยานยนตท์ ่ปี ระกอบแลว้ จึงทาให้มูลค่าของการส่งออกมีมากกว่ามูลค่าของสินค้านาเข้า และแนวโน้นของมูลค่าการนาเข้าและส่งออกมีมูลค่าสูงข้ึนทุกปี โดยในปีงบประมาณ 2552 มี มูลค่านาเข้าอยู่ท่ี 2,032.39 ล้านบาท มากกว่ามูลค่าการนาเข้าในปี งบประมาณ 2551 ท่ีมี

76_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพือ่ รองรับผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการค้าในลุ่มนาโขง มูลค่านาเข้าสนิ คา้ อยู่ที่ 1,851.32 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นร้อยละ 10 และมูลค่าของการส่งออกสินค้า รวมของประเทศไทย ณ ด่านศุลกากรหนองคายก็มีแนวโน้มเพิ่มสูงข้ึนเช่นกัน โดยใน ปงี บประมาณ 2552 มมี ลู ค่าการสง่ ออกอยู่ที่ 29,282.55 ลา้ นบาท เพ่ิมขนึ้ จากมลู ค่าการส่งออก ในปีงบประมาณ 2551 ที่มีมูลค่าการส่งออกอยู่ท่ี 28,604.94 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นร้อยละ 2.37 (ตารางท่ี 5-3) ตารางท่ี 5-3: มูลค่าการนาเข้า – สง่ ออกสินค่า ในปงี บประมาณ 2549 – 2552 ณ ดา่ น ศลุ กากรหนองคาย หนว่ ย : ลา้ นบาท ปี งบประมาณ มลู คา่ การ มลู ค่าการ อัตราการเตบิ โต อตั ราการเตบิ โต นาเขา้ สง่ ออก การนาเขา้ การสง่ ออก (ร้อยละ) (ร้อยละ 2549 1,526.16 18,131.70 N/A N/A 2550 1,510.42 21,743.87 -1.03 19.92 2551 1,851.32 28,604.94 22.57 31.55 2552 2,032.39 29,282.55 10.00 2.37 รวม 6,920.29 97,763.06 ท่มี า: ปรบั ปรงุ จาก ดา่ นศลุ กากรหนองคาย, 2553. นอกจากน้ี ด่านศุลกากรหนองคายยังเป็นจดุ ผ่านสนิ ค้า จาก สปป.ลาว ไปยังประเทศที่ สาม และสนิ ค้าจากประเทศท่ีสามไปยัง สปป.ลาว ปีงบประมาณ 2552 มีมูลค่าของสินค้าผ่าน จากประเทศท่สี าม ไปยงั สปป.ลาว และจากสปป.ลาว ไปยังประเทศท่ีสามเพ่ิมสูงข้ึนจากมูลค่า ของสินค้าใน 2 ปีงบประมาณก่อนหน้า โดยมูลค่าของผ่านแดนจาก สปป.ลาว ไปยังประเทศที่ สาม ในปีงบประมาณ 2552 อยูท่ ี่ 21,128.15 ล้านบาท สงู กว่าประงบประมาณ 2551 ท่ีมีมูลค่า อยู่ท่ี 11,883.53 ลา้ นบาท หรอื เพ่มิ สงู ร้อยละ 77.79 และมูลค่าของสินค้าที่ผ่านมาจากประเทศ ท่ีสาม ไปยงั สปป.ลาว ก็มีแนวโนม้ เพ่ิมสูงขึ้นทุกปี โดยในปีงบประมาณ 2552 มูลค่าของสินค่า ผ่านแดนจากประเทศท่ีสาม ไปยัง สปป.ลาว อยู่ท่ี 13,966.92 ล้านบาท เพิ่มสูงข้ึนจาก ปีงบประมาณ 2551 ท่ีมีมูลคา่ ของสนิ ค้าผ่านแดนอยู่ที่ 10,950.36 ล้านบาท หรือเพ่ิมสูงข้ึนร้อย ละ 27.55 (ตารางท่ี 5-4) และสินค้าผ่านแดนจากประเทศที่สามไปยัง สปป.ลาว 10 อันดับแรก ในปีงบประมาณ 2551 นั้นมีมูลค่า 5,726.73 ล้านบาท ซึ่งสินค้าผ่านแดนสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ รถยนต์ (รถกระบะ, รถโดยสาร, รถตู้) ผ้าและอุปกรณ์ตดั เยบ็ และอปุ กรณใ์ ชใ้ นงานเหมือง

การท่องเที่ยวและการคา้ ณ อาเภอเมือง จังหวดั หนองคาย_____77 แร่ ตามลาดบั (ตารางท่ี 5 - 5) และสนิ ค้า 10 อันดบั แรกทผ่ี า่ นแดนจาก สปป.ลาว ไปยงั ประเทศ ท่ีสาม ในปีงบประมาณ 2551 มีมูลค่า 12,022.64 ล้านบาท ซึ่งสินค้าผ่านแดนสูงสุด 3 อันดับ แรก ได้แก่ เส้อื ผ้า สินแร่ทองแดง และรถยนต์ ตามลาดับ (ตารางที่ 5 - 6) ตารางที่ 5-4: มูลค่าของผ่านแดนของประเทศที่สาม ณ ด่านศุลกากรหนองคายใน ปงี บประมาณ 2549 – 2552 หนว่ ย: ลา้ นบาท ปี สปป.ลาวไปประเทศที่สาม ประเทศท่สี ามไปสปป.ลาว งบประมาณ บาท อัตราการเตบิ โต บาท อตั ราการเตบิ โต (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) 2549 7,466.78 N/A 5,776.84 N/A 2550 6,504.29 -12.89 7,292.18 26.23 2551 11,883.53 82.70 10,950.36 50.17 2552 21,128.15 77.79 13,966.92 27.55 รวม 46,982.75 37,986.30 ท่มี า: ปรับปรงุ จาก ดา่ นศุลกากรหนองคาย, 2553. ตารางท่ี 5 - 5: 10 อนั ดบั สนิ ค้าผ่านแดนและมลู คา่ สินคา้ ผ่านแดนจากประเทศทีส่ าม ไปยัง สปป.ลาว ผ่านดา่ นศุลกากรหนองคาย ในปงี บประมาณ 2551 ลาดับ ปีงบประมาณ 2551 มูลค่า (ล้านบาท) ชนดิ สินค้าสง่ ออก 2,162.04 1,487.25 1 รถยนต์ (รถกระบะ, รถโดยสาร,รถตู้) 563.99 376.66 2 ผ้าและอปุ กรณ์ตดั เย็บ 261.23 250.81 3 อุปกรณใ์ ช้ในงานเหมอื งแร่ 240.11 190.96 4 ลูกเหล็กสาหรับบดทาด้วยเหลก็ , เหลก็ 101.38 92.28 5 สรุ า, ไวน์, บหุ ร,ี่ บร่นั ด,ี วิสกี้ 5,726.73 6 รถเอก็ ซเ์ รย์ 7 ข้าวมอลท์ 8 ส่วนประกอบเคร่อื งบดแร่ 9 อปุ กรณ์ใช้ในงานไฟฟา้ 10 อุปกรณ์โทรศพั ท์ รวมมูลค่า ที่มา: ปรบั ปรงุ จาก ดา่ นศลุ กากรหนองคาย, 2552.

78_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเทีย่ วและการคา้ ในลุม่ นาโขง ตารางที่ 5 - 6: 10 อนั ดับสินค้าผ่านแดนและมูลค่าสินค้าผ่านแดนจาก สปป.ลาว ไปยัง ประเทศทส่ี าม ผา่ นดา่ นศุลกากรหนองคาย ในปงี บประมาณ 2551 ลาดบั ปีงบประมาณ 2551 มูลคา่ (ลา้ นบาท) ชนดิ สินคา้ สง่ ออก 6,820.02 4,482.14 1 เส้อื ผา้ 176.87 169.21 2 สินแรท่ องแดง 139.49 88.23 3 รถยนต์ 48.08 41.78 4 ซิลิโคน 40.43 16.39 5 อะไหลเ่ คร่อื งบิน 12,022.64 6 รองเทา้ 7 ของใช้ส่วนตัวและของใชใ้ นบ้านเรอื น 8 ไม้ (แปรรูป, ปารเ์ กต้ ์) 9 เฟอร์นเิ จอร์ 10 หนอ่ ไมแ้ ช่น้าบรรจกุ ระปอ๋ ง รวมมลู คา่ ทม่ี า: ปรับปรงุ จาก ดา่ นศุลกากรหนองคาย, 2552. มูลค่าการส่งออกผ่านด้านศุลกากรหนองคายมีมูลค่าสูง ผ่านด่านพรมแดนหนองคาย ทาให้ประเทศไทยได้ดุลการค้าเช่นเดียวกันกับด่านพรมแดนด้านต่างๆ ของประเทศไทย อีกท้ัง ดา่ นพรมแดนหนองคายยังเปน็ จดุ ผา่ นของสนิ ค้าระหว่างประเทศทสี่ ามและ สปป.ลาว ท่ีมีมูลค่า สูงด้วย อันเนื่องจาก สปป.ลาว ไม่มีเส้นทางหรือพื้นท่ีติดกับทะเล จึงต้องผ่านประเทศไทยเพื่อ ขนสง่ สินค้าไปยังท่าเรือแหลมฉบัง อีกทั้ง อาเภอเมือง จังหวัดหนองคายมีอาณาเขตติดกับนคร หลวงเวียงจันทน์ อันเป็นเมืองหลวงของ สปปลาว ที่เป็นเขตการปกครองพิเศษด่านพรมแดน ถาวรหนองคายจึงมีความสาคัญในด้านการค้าระหว่างประเทศ การขนส่งสินค้าผ่านแดน การ กระจายสินค้า ของทั้งประเทศไทย สปป.ลาว และของประเทศท่ีสาม ท่ีทาการค้าระหว่าง ประเทศกบั ทาง สปป.ลาว

การท่องเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภอเมือง จังหวดั หนองคาย_____79 5.3.2 แขวงนครหลวงเวยี งจันทน์ สปป.ลาว แขวงนครหลวงเวียงจันทน์ เป็นเมืองหลวงท่ีมีความสาคัญของ สปป.ลาว อีกทั้งยังมี พรมแดนติดกับประเทศไทย มีเส้นทางการคมนาคมท่ีเอ้ืออานวยความสะดวกในการขนส่ง ระหว่างประเทศ โดยการค้าระหว่างประเทศของไทยกับ สปป.ลาว น้ัน มีปริมาณการค้าขายสูง มีการ ชาระเงนิ ในการซื้อสินคา้ ระหวา่ งกนั อยู่ 4 รปู แบบ ไดแ้ ก่ - รูปแบบท่ี 1 ชาระเงินโดยการใช้ระบบการเปิด L/C (Letter of Credit) ส่วนใหญ่เป็น การชาระเงินจากรัฐบาลไทยในการซอื้ พลังงานไฟฟ้าจาก สปป.ลาว - รูปแบบที่ 2 ชาระด้วยเงินสด นิยมชาระเป็นเงินบาทมากกว่าเงินกีบ เน่ืองจาก ทางการลาวจากดั การแลกเปลีย่ นเงนิ ตราตา่ งประเทศ และค่าเงินกบี ไมเ่ สถยี รภาพ - รปู แบบท่ี 3 ชาระโดยใชร้ ะบบ T/T (Telegraphic Transfer) เป็นระบบทผ่ี ู้ส่งออกไทย จะส่งสินค้าไปให้ผู้นาเข้าลาวโดยให้เครดิต เมื่อครบกาหนดผู้นาเข้าลาวจะโอนเงินกลับมาให้ผู้ ส่งออกไทย -รูปแบบที่ 4 ชาระเงินโดยระบบ D/A (Document Against Acceptance) ผู้ส่งออก ของไทยจะตรวจสอบฐานะของผู้ประกอบการลาวเป็นท่ีพอใจแล้วจึงส่งสินค้าไปให้ผู้นาเข้าลาว พรอ้ มเอกสารสง่ ออกสินค้า (Shipping Document) ใหธ้ นาคารในลาวเพ่อื ชาระเงนิ ผนู้ าเขา้ ของ ลาวจะต้องนาเงินมาชาระสินค้าที่ธนาคารก่อน จึงได้รับเอกสารเพทาอนาไปออกสินค้าจาก คลังสินคา้ ได้ (คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน, 2552) ผู้นาเข้า และส่งออกของ สปป.ลาว อยู่ในรูปแบบของบริษัทของรัฐ (State-owned Company) มีช่ือว่า “ลาวขาเข้า-ขาออก (Society Lao Import-Export)” กระทรวงการค้าของ ลาวเป็นผู้รับผิดชอบ โดยพัฒนาการนาเข้าและส่งออกสินค้าที่จาเป็นต่อการพัฒนาโครงสร้าง พ้ืนฐานของประเทศ นอกจากน้ียังมีบริษัทเอกชน (Private Company) เป็นบริษัทที่จดทะเบียน เปน็ ผู้นาเข้า-ส่งออกสินค้าตามประเภทและหมวดท่ีย่ืนขอ และได้รับอนุญาตจากรัฐแล้วเท่าน้ัน โดยลาวมบี รษิ ทั ท่ีจดทะเบียนเป็นผู้นาเข้าและส่งออกประมาณ 200 บริษัท และพ่อค้าชายแดน (Border Merchant) เป็นผู้ที่ทาการค้าขายตามแนวชายแดนท้ังท่ีจดทะเบียนเป็นผู้นาเข้า- ส่งออก หรือเป็นร้านค้าแผงลอยที่รับจ้างขนส่งสินค้า พ่อค้าชายแดนเหล่าน้ีจะมารับใบสั่งซื้อ สินค้าตามร้านค้า และมินิมาร์ทในกรุงเวียงจันทน์ ทุกวันและทาการขนสินค้าจากชายแดนไทย (คณะกรรมการสง่ เสริมการลงทุน, 2552)

80_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการค้าในลุ่มนาโขง โดยมูลค่าการนาเข้า – ส่งออกของ สปป.ลาว ด้านด่านศุลกากรหนองคายของไทยกับ แขวงนครหลวงเวียงจันทน์น้ัน สูงท้ังมูลค่าการส่งออก และนาเข้า ซ่ึงมูลค่าการส่งออกนั้นมี ปริมาณสินค้าและมูลค่าท่ีเพ่ิมสูงขึน้ ทุกปี โดยเฉพาะใน ปี พ.ศ. 2549 มปี รมิ าณการส่งออกอยู่ท่ี 18,318.4 ล้านบาท และเพ่ิมขึ้นเป็น 23,729.9 ล้านบาท หรือเพ่ิมสูงขึ้นร้อยละ 148.23 และ มูลค่าการนาเข้าใน ปี พ.ศ. 2547 มีมูลค่าสูงข้ึนมากกว่า ปี พ.ศ. 2546 โดยใน ปี พ.ศ. 2547 มีมูลค่าการนาเข้าอยู่ที่ 1,150.00 ล้านบาทสูงกว่า ปี พ.ศ. 2546 ที่มีมูลค่าการนาเข้าอยู่ท่ี 807.90 ลา้ นบาท หรอื เพิม่ สูงข้ึนรอ้ ยละ 42.34 (ตารางที่ 5-7) ตารางท่ี 5-7: มูลค่าการค้าชายแดนผ่านดา่ นศุลกากรหนองคาย – ลาว ปี พ.ศ. 2546 - 2550 ปี พ.ศ. นาเข้า อัตราการเปลีย่ นแปลง สง่ ออก อัตราการเปล่ยี นแปลง (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ลา้ นบาท) (รอ้ ยละ) 7,206.00 N/A 7,100.30 -1.47 2546 807.90 N/A 7,379.60 3.93 18,318.40 148.23 2547 1,150.00 42.34 23,729.90 29.54 63,734.60 45.06 2548 1,165.40 1.34 2549 1,506.90 29.3 2550 1,560.40 3.55 รวม 6,190.60 19.13 ท่ีมา: ปรบั ปรุงจาก คณะกรรมการสง่ เสริมการลงทุน, 2552.

บทที่ 6 ผลกระทบจากการคา้ และการทอ่ งเทยี่ วตอ่ การพฒั นา เมอื งชายแดน: กรณศี กึ ษาประชาชนในทอ้ งถิ่น การศึกษาเรื่อง การพัฒนาเมืองชายแดนเพ่ือรองรับผลกระทบจากการท่องเท่ียวและ การค้าในลมุ่ แม่น้าโขง ในครั้งนี้ ไดใ้ ชแ้ บบสอบถามเป็นเครือ่ งมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมูลความ คิดเห็นของประชาชนในพื้นท่ีและนักท่องเท่ียวชาวไทยท่ีเดินทางเข้าไปท่องเท่ียวในพื้นท่ีเมือง ชายแดนส้าคัญ 4 แหง่ ประกอบด้วย อา้ เภอแมส่ าย จังหวดั เชยี งราย อ้าเภอแม่สอด จังหวัดตาก อ้าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย และอ้าเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ผลการศึกษาสามารถ นา้ เสนอในภาพรวมทัง้ หมดได้ตามหัวขอ้ ดังนี้ 1. ขอ้ มลู ทว่ั ไปของกลุม่ ตัวอยา่ งประชาชน 2. ความคิดเห็นเกยี่ วกับผลกระทบด้านตา่ งๆ 3. เปรยี บเทยี บความคดิ เห็นของกลมุ่ ตัวอยา่ งเก่ยี วกบั ผลกระทบด้านต่างๆ ตามปัจจัย ดา้ นพ้นื ท่ี 4. ความคิดเหน็ เกี่ยวกับบทบาทขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ 5. เปรยี บเทยี บความคิดเห็นของกลุ่มตวั อย่างเกี่ยวกบั บทบาทขององคก์ รปกครองส่วน ท้องถิน่ ตามปัจจยั ด้านพื้นที่ 6.1 ขอ้ มูลท่วั ไปของกลมุ่ ตัวอยา่ งประชาชน ในการศึกษาครั้งนี้ได้ท้าการเก็บแบบสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างจาก ประชาชนใน 4 เมืองชายแดน ได้แก่ อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จ้านวน 158 คน อ้าเภอแม่ สอด จังหวัดตาก จ้านวน 146 คน อ้าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย จ้านวน 139 คน และอ้าเภอ อรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว จ้านวน 142 คน รวมจ้านวนกลุ่มตัวอย่างท่ีตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด จ้านวน 585 คน จากการสอบถามขอ้ มูลสว่ นบุคคลของกลุ่มตัวอยา่ ง พบวา่ เปน็ ชายคิด เปน็ รอ้ ยละ 49.4 และเป็นหญิงคิดเปน็ ร้อยละ 50.6 ส่วนมากมอี ายอุ ยู่ในช่วง 21 – 30 ปี คิดเป็น ร้อยละ 26.3 รองลงมาคอื มอี ายุอยใู่ นช่วง 31 – 40 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 23.4 สว่ นมากมีการศึกษา

82_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการคา้ ในลุ่มน้าโขง อยู่ในระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 31.8 รองลงมาคือ ระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 28.5 การประกอบอาชีพส่วนมากเป็นนักศึกษา รองลงมาคือ รับจ้าง และเกษตรกร โดยคิดเป็น ร้อยละ 24.4, 21.4 และ 20.2 ตามล้าดับ ส่วนมากมีรายได้น้อยกว่า 5,000 บาทต่อเดือน โดย คดิ เป็นรอ้ ยละ 45.7 รองลงมาคือ มีรายได้อยู่ในช่วง 5,001 – 10,000 บาทต่อเดือน โดยคิดเป็น ร้อยละ 25.0 (ตารางที่ 6-1 และ 6-2) ตารางที่ 6-1: ขอ้ มลู ท่ัวไปของกลุม่ ประชาชนในทอ้ งถน่ิ ทส่ี าคัญ ข้อมูล จานวน ร้อยละ 1. เพศ 585 100.0 289 ชาย 296 49.4 หญงิ 585 50.6 2. อายุ 103 100.0 นอ้ ยกวา่ หรือเท่ากับ 20 ปี 154 17.6 21 – 30 ปี 137 26.3 31 – 40 ปี 119 23.4 41 – 50 ปี 52 20.4 51 – 60 ปี 17 8.9 มากกวา่ 60 ปขี น้ึ ไป 2.9 ไม่ระบุ 3 0.5 3. ระดบั การศึกษา 585 100.0 ประถมศกึ ษา 186 31.8 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 42 7.2 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 117 20.0 อนุปริญญา/ปวส. 44 7.5 ปรญิ ญาตรี 167 28.5 สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี 15 2.6 อื่นๆ ได้แก่ ไมไ่ ด้เรยี นหนังสอื 0.2 ไม่ไดร้ ะบุ 1 2.2 13

การพัฒนาเมืองชายแดนเพือ่ รองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการค้าในลุม่ นา้ โขง_____83 ตารางท่ี 6-1 (ต่อ): ข้อมูลทว่ั ไปของกลมุ่ ประชาชนในทอ้ งถน่ิ ทีส่ าคัญ ข้อมูล จานวน ร้อยละ 4. อาชีพ 585 100.0 143 24.4 นกั ศึกษา 42 ธรุ กจิ สว่ นตัว 42 7.2 ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ 7.2 พนักงานรัฐวสิ าหกิจ 6 1.0 พนักงานบริษทั 54 9.2 รบั จา้ ง 125 21.4 พ่อบา้ น/แมบ่ า้ น 30 5.2 เกษตรกร 118 20.2 อื่นๆ 19 3.2 ไม่ได้ระบุ 6 1.0 5. ระดับรายได้ต่อเดือน 585 100.0 นอ้ ยกวา่ 5,000 บาท 267 45.7 5,001 – 10,000 บาท 146 25.0 10,001 – 15,000 บาท 33 5.6 15,001 – 20,000 บาท 14 2.4 20,001 – 25,000 บาท 7 1.2 มากกว่า 25,000 บาทขึน้ ไป 23 3.9 ไม่ไดร้ ะบุ 95 16.2 6. พ้นื ทที่ ี่อาศัย 585 100.0 158 27.0 อ้าเภอแม่สาย จงั หวัดเชยี งราย 146 25.0 อา้ เภอแม่สอด จงั หวัดตาก 139 23.7 อา้ เภอเมอื ง จงั หวัดหนองคาย 142 24.3 อ้าเภออรญั ประเทศ จังหวดั สระแก้ว ที่มา: จากการส้ารวจ, 2552.

84_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการค้าในลุ่มน้าโขง 6.2 ความคิดเห็นเก่ียวกบั ผลกระทบดา้ นต่างๆ 6.2.1 ผลกระทบด้านสงั คม ตารางท่ี 6-2: ความคดิ เห็นของกล่มุ ตวั อย่างโดยรวมทง้ั หมดทม่ี ีต่อผลกระทบดา้ นสังคม รายการ ผลกระทบท่ีได้รับ ระดับของ สรปุ ผล/ (ค่าร้อยละ) ผลกระทบ แปลผล (คา่ เฉลย่ี ) ดขี ึ้น ไม่มี แยล่ ง 1 คณุ ภาพชวี ติ และความเป็นอย่ขู อง 55.6 7.7 36.7 2.19 ดขี น้ึ ปานกลาง คนในทอ้ งถน่ิ (คา่ ครองชีพ ฯลฯ) 2 ความปลอดภัยในชีวติ และ 50.9 7.7 41.4 2.30 ดีขึ้นปานกลาง ทรัพยส์ ินของคนในทอ้ งถนิ่ 3 การศึกษาของคนในท้องถ่ิน 67.0 5.7 27.3 2.36 ดีขนึ้ ปานกลาง 4 คนในท้องถน่ิ ไดร้ บั การดแู ล 64.4 7.8 27.8 2.23 ดีขึ้นปานกลาง ทางดา้ นสาธารณสขุ 5 ความรสู้ กึ รกั และหวงแหนทอ้ งถน่ิ 60.7 7.9 31.4 2.25 ดขี น้ึ ปานกลาง 6 การอพยพเข้ามาทา้ งานหรอื อยู่ 32.0 9.9 58.1 2.37 แย่ลงปาน อาศัยของคนตา่ งถ่นิ กลาง 7 การถกู เอารดั เอาเปรียบของคนใน 20.6 18.9 60.5 2.36 แยล่ งปาน ท้องถ่ิน กลาง 8 การแพรร่ ะบาดของยาเสพตดิ และ 21.7 9.5 68.8 2.39 แยล่ งปาน กลาง ลักลอบขนยาเสพตดิ ข้ามพรมแดน 2.28 แยล่ งปาน 9 ความแออัดในตวั เมืองจากการเขา้ 28.8 13.6 57.6 กลาง มาของนักท่องเทีย่ วจ้านวนมาก 2.25 ดขี น้ึ ปานกลาง 10 การพัฒนาด้านคมนาคม การ 62.6 9.2 28.2 2.38 แย่ลงปาน กลาง สอื่ สาร และสาธารณูปโภคอน่ื ๆ ใน 2.29 แย่ลงปาน ทอ้ งถ่ิน กลาง 11 ปัญหาการลักลอบเข้าเมืองโดยผดิ 24.4 11.4 64.2 กฎหมาย และปัญหาอาชญากร ขา้ มชาติ 12 ปญั หาการจราจรและอุบตั ิเหตตุ าม 25.8 10.5 63.7 ท้องถนน

การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการคา้ ในลุม่ น้าโขง_____85 ตารางท่ี 6-2 (ต่อ): ความคดิ เห็นของกลุม่ ตัวอยา่ งโดยรวมทง้ั หมดท่มี ตี ่อผลกระทบ ดา้ นสังคม รายการ ผลกระทบทีไ่ ดร้ บั ระดบั ของ สรปุ ผล/ 13 ปญั หาการแพร่ระบาดของโรคตาม (คา่ รอ้ ยละ) ผลกระทบ แปลผล (ค่าเฉลี่ย) 23.0 16.4 60.6 แย่ลงปาน 2.32 แนวชายแดน กลาง 14 ปัญหาการคา้ ทผ่ี ดิ กฎหมาย เช่น 21.0 12.4 66.6 2.35 แยล่ งปาน การคา้ มนษุ ย์ การคา้ ประเวณี กลาง 15 ปญั หาการฟงุ้ เฟ้อกับแฟชนั่ 35.0 9.4 55.6 2.43 แยล่ งปาน เทคโนโลยี และวฒั นธรรมที่ กลาง หลัง่ ไหลเข้ามาพร้อมกบั การ พฒั นาการคา้ และการทอ่ งเทยี่ ว ของคนในท้องถนิ่ เฉลี่ยระดบั ผลกระทบดา้ นสงั คมทั้งหมด 2.32 ปานกลาง หมายเหตุ: คา่ เฉลี่ยระดบั ของผลกระทบ 1.00 – 1.49 = นอ้ ย, 1.50 – 2.49 = ปานกลาง, 2.50 – 3.00 = มาก ท่ีมา: จากการสา้ รวจ, 2552. จากตารางที่ 6-2 จะเห็นได้ว่า ระดับผลกระทบด้านสังคมโดยเฉลี่ยท้ังหมดมีค่าเท่ากับ 2.32 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างประชาชนในพ้ืนที่เมืองชายแดนท้ัง 4 แห่งเห็นว่าการพัฒนา เมืองชายแดนเพ่ือรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการค้าในลุ่มแม่น้าโขงน้ัน ส่งผล กระทบดา้ นสงั คมในระดบั ปานกลาง โดยผลกระทบด้านสังคมท่ีกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นผลกระทบในทางท่ีดีข้ึน มากที่สุด 3 อันดับแรก คือ การศึกษาของคนในท้องถ่ิน (ร้อยละ 67.0) รองลงมาคือ คนใน ท้องถ่ินได้รับการดูแลทางด้านสาธารณสุข (ร้อยละ 64.4) และการพัฒนาด้านคมนาคม การ สือ่ สาร และสาธารณูปโภคอ่ืนๆ ในท้องถิ่น (ร้อยละ 62.6) ตามล้าดับ และเม่ือพิจารณาในด้าน ระดบั ของผลกระทบ พบวา่ มผี ลกระทบดขี น้ึ อยใู่ นระดบั ปานกลางทุกรายการ สว่ นผลกระทบดา้ นสังคมที่กลมุ่ ตวั อย่าง ส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นผลกระทบในทางที่แย่ลง มากทส่ี ดุ 3 อนั ดับแรก คือ การแพรร่ ะบาดของยาเสพตดิ และลักลอบขนยาเสพติดข้ามพรมแดน (ร้อยละ 68.8) รองลงมาคือ ปัญหาการค้าที่ผิดกฎหมาย เช่น การค้ามนุษย์ การค้าประเวณี

86_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเทีย่ วและการคา้ ในลุ่มนา้ โขง (ร้อยละ 66.6) และปัญหาการลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายและปัญหาอาชญากรข้ามชาติ (ร้อยละ 64.2) ตามล้าดับ และเม่ือพิจารณาในด้านระดับของผลกระทบ พบว่า มีผลกระทบแย่ ลงอยู่ในระดบั ปานกลางทกุ รายการ 6.2.2 ผลกระทบด้านวฒั นธรรม ตารางที่ 6-3: ความคิดเห็นของกลมุ่ ตวั อยา่ งโดยรวมท้งั หมดทมี่ ตี ่อผลกระทบดา้ น วัฒนธรรม รายการ ผลกระทบทไ่ี ดร้ บั ระดบั ของ สรุปผล/ (คา่ รอ้ ยละ) ผลกระทบ แปลผล 1 คนในทอ้ งถิ่นเห็นคณุ ค่าและอนรุ กั ษ์ (ค่าเฉลีย่ ) วฒั นธรรมของทอ้ งถิ่น ดีขึน้ ไมม่ ี แย่ลง ดีข้ึนปานกลาง 2.33 2 นกั ทอ่ งเทยี่ วยอมรับและเรยี นรู้ 65.1 7.3 27.6 วฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ 66.9 7.4 25.7 2.31 ดีข้นึ ปานกลาง 3 คนในทอ้ งถน่ิ ได้เรยี นรู้ แลกเปลยี่ น วัฒนธรรมจากนกั ท่องเทยี่ ว 66.1 7.7 26.2 2.26 ดขี ึ้นปานกลาง 4 เกิดการเปล่ยี นแปลงวิถชี วี ติ และ 58.9 9.3 31.8 2.26 ดีขนึ้ ปานกลาง ความเป็นอยเู่ ดมิ ของคนในทอ้ งถน่ิ 65.1 8.2 26.7 2.29 ดีข้นึ ปาน 5 ประเพณีและวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ 52.0 8.8 39.2 2.22 กลาง ได้รับความสนใจจากคนภายนอก ดีขน้ึ ปาน กลาง 6 เกิดการผสมผสานทางวฒั นธรรม ระหวา่ งคนในทอ้ งถิ่นกับคนท่อี พยพ 25.0 17.6 57.4 2.28 แย่ลงปาน เข้ามาใหม่ กลาง 7 ปัญหาการสูญเสยี เอกลกั ษณ์ทาง 20.8 22.6 56.6 2.25 แยล่ งปาน วฒั นธรรมท้องถ่นิ เนอ่ื งจากมคี น 28.2 10.6 61.2 2.34 กลาง จากตา่ งถิ่นเขา้ มาอยใู่ นพ้ืนท่ี แยล่ งปาน 8 ปัญหาการทอดทิ้งหรอื ทา้ ลาย กลาง วัฒนธรรมทอ้ งถิ่น 9 ปญั หาค่านยิ มในการด้าเนนิ ชวี ติ ของคนในท้องถ่ินเปลย่ี นแปลงไป เช่น เงนิ มีอิทธพิ ลตอ่ ชวี ิตมากข้นึ

การพัฒนาเมืองชายแดนเพือ่ รองรับผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วและการค้าในลุม่ น้าโขง_____87 ตารางท่ี 6-3 (ตอ่ ): ความคิดเหน็ ของกลมุ่ ตวั อย่างโดยรวมท้งั หมดท่มี ีต่อผลกระทบด้าน วฒั นธรรม ผลกระทบท่ีไดร้ บั ระดบั ของ สรปุ ผล/ แปลผล รายการ (ค่าร้อยละ) ผลกระทบ ดีข้ึน ไม่มี แยล่ ง (คา่ เฉลีย่ ) 10 ปญั หาการใชภ้ าษาอนื่ มากกวา่ การ 34.8 13.9 51.3 2.28 แย่ลงปาน ใชภ้ าษาดงั้ เดิมของทอ้ งถิน่ กลาง ค่าเฉล่ียระดบั ผลกระทบด้านวฒั นธรรมทง้ั หมด 2.28 ปานกลาง หมายเหตุ: ค่าเฉล่ียระดบั ของผลกระทบ 1.00 – 1.49 = น้อย, 1.50 – 2.49 = ปานกลาง, 2.50 – 3.00 = มาก ท่ีมา: จากการส้ารวจ, 2552. จากตารางท่ี 6-3 จะเห็นได้ว่า ระดับผลกระทบด้านวัฒนธรรมโดยเฉล่ียท้ังหมดมีค่า เท่ากับ 2.28 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างประชาชนในพ้ืนท่ีเมืองชายแดนท้ัง 4 แห่งเห็นว่าการ พัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการค้าในลุ่มแม่น้าโขงนั้น ส่งผลกระทบด้านวฒั นธรรมในระดับปานกลาง โดยผลกระทบด้านวัฒนธรรมที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นผลกระทบในทางที่ดี ข้ึนมากท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ นักท่องเท่ียวยอมรับและเรียนรู้วัฒนธรรมท้องถ่ิน (ร้อยละ 66.9) รองลงมาคือ คนในทอ้ งถน่ิ ไดเ้ รียนรู้ แลกเปลี่ยนวฒั นธรรมจากนกั ท่องเที่ยว (ร้อยละ 66.1) และ คนในทอ้ งถ่นิ เหน็ คณุ ค่าและอนรุ ักษ์วฒั นธรรมทอ้ งถิ่นและประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นได้รับ ความสนใจจากคนภายนอก (ร้อยละ 65.1) เท่ากัน ตามล้าดับ และเม่ือพิจารณาในด้านระดับ ของผลกระทบ พบว่า มีผลกระทบดขี ้นึ อยู่ในระดับปานกลางทกุ รายการ สว่ นผลกระทบด้านวัฒนธรรมที่กลมุ่ ตัวอยา่ งสว่ นใหญ่เห็นวา่ เปน็ ผลกระทบในทางทแี่ ย่ ลงมากทส่ี ดุ 3 อนั ดบั แรก คือ ปัญหาคา่ นยิ มในการดา้ เนนิ ชีวิตของคนในทอ้ งถิ่นเปลี่ยนแปลงไป เช่น เงนิ มีอทิ ธพิ ลตอ่ ชีวติ มากขนึ้ (รอ้ ยละ 61.2) รองลงมาคือ ปัญหาการสูญเสียเอกลักษณ์ทาง วัฒนธรรมท้องถ่ินเน่ืองจากมีคนจากต่างถ่ินเข้ามาอยู่ในพ้ืนที่ (ร้อยละ 57.4) และปัญหาการ ทอดทิ้งหรือทา้ ลายวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น (ร้อยละ 56.6) ตามล้าดับ และเม่ือพิจารณาในด้านระดับ ของผลกระทบ พบวา่ มีผลกระทบแย่ลงอย่ใู นระดบั ปานกลางทุกรายการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook