Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาเมืองชายแดน

การพัฒนาเมืองชายแดน

Published by pimlypim1311, 2019-07-12 04:14:08

Description: การพัฒนาเมืองชายแดน

Keywords: home

Search

Read the Text Version

การพัฒนาเมืองชายแดน เพื่อรองรบั ผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการคา้ ในลุม่ แมน่ า้ โขง ผเู้ ขยี น: กรวรรณ สงั ขกร ผูช้ ว่ ยวิจยั : กาญจนา จี้รตั น์ ปีที่พิมพ:์ 2553 จัดพิมพ์และเผยแพร่ สถาบนั วิจยั สังคม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 239 ถนนห้วยแกว้ อ.เมือง จ.เชยี งใหม่ โทรศัพท์ 0 5394 2571 โทรสาร 0 5389 2649 E-mail: [email protected] SRI-CMU: 53-2-513 พิมพท์ ่ี ล๊อคอินดไี ซนเ์ วริ ค์ 1/19 หมบู่ า้ นล้านนาวลิ ล่า ต.ชา้ งเผอื ก อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม่ ภาพปก: โทร. 0 5321 3558, 08 9835 1789 กาญจนา จ้รี ตั น์ พมิ พช์ นก นาคะเกศ

คำนำ ตามที่รัฐบาลได้มียุทธศาสตร์เพ่ือพัฒนาเมืองชายแดน ให้เป็นประตูส่งออกสินค้า ตลอดจนเปน็ ฐานการผลิตที่สาคัญของภาคและประเทศ โดยพิจารณาในด้านการค้า การลงทุน การท่องเท่ยี ว ความพรอ้ มของแหลง่ วัตถดุ ิบและแรงงานและความได้เปรียบด้านท่ีต้ังของเมืองที่ อยู่ในแนวเส้นทางหลักเช่ือมโยงประเทศเพื่อนบ้าน ตลอดจนปัจจัยด้านความม่ันคง ด้วยเหตุน้ี สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งเป็นสถาบันท่ีให้ความสาคัญในการผลิตงานวิจัย เพ่ือใช้ในการพัฒนาชุมชนท้องถ่ินภาคเหนือ ประเทศ และกลุ่มประเทศในอนุภูมิภาคลุ่ม แม่น้าโขง จึงได้ทาการศึกษาวิจัย เรื่อง “การพัฒนาเมืองชายแดน เพื่อรองรับผลกระทบ จากการท่องเท่ียวและการค้าในลุ่มน้าโขง” โดยได้เลือกพ้ืนที่ศึกษา 4 เมืองชายแดนท่ีมี ความสาคัญของไทย คือ อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก อาเภอ เมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย และอาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว เพื่อศึกษา ผลกระทบจากการค้าและการท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงต่อการพัฒนาเมืองชายแดน จัดทาฐานข้อมูลด้านการค้าและการท่องเที่ยว และหาแนวทางสนับสนุนการพัฒนาเมือง ชายแดนเพือ่ รองรบั การค้าและการทอ่ งเทย่ี ว ผลงานวิจัยฉบับนี้ เป็นงานหนึ่งที่ได้ให้ข้อมูล และความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยวและ การค้าของเมืองเมืองชายแดนท้ัง 4 เมือง และเมืองชายแดนของประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ติดกัน และหวังว่ารายงานฉบับนีจ้ ะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้ทน่ี าไปใช้ตอ่ ไป นางกรวรรณ สงั ขกร

บทคัดย่อ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของการค้าและการท่องเที่ยวในลุ่มแม่น้าโขง โดยมีเมือง ชายแดนเปน็ ประตูการค้าและการท่องเที่ยว ในการวิจัยนี้ได้เลือกเมืองชายแดนท่ีมีความส้าคัญ 4 เมือง คือ เมืองแม่สาย จังหวัดเชียงราย เมืองแม่สอด จังหวัดตาก เมืองอรัญประเทศ จังหวัด สระแก้ว และเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย การศึกษาน้ีได้เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้น้าท้องถ่ิน และเก็บแบบสอบถามจาก ประชาชนในท้องถิ่นและนักท่องเท่ียวท่ีเดินทางมาท่องเท่ียวยังเมืองชายแดนทั้ง 4 เมือง โดยใช้ แนวคิดในด้านสังคม เศรษฐกจิ การจดั การของภาครัฐ จากการศึกษาพบว่า จังหวัดหนองคายมีมูลค่าสินค้าผ่านด่านศุลกากรมากที่สุด จังหวัดสระแก้วมีจ้านวนนักท่องเท่ียวผ่านแดนทั้งเข้าและออกมากที่สุด ผลกระทบทางสังคม ด้านบวก ได้แก่ คนในท้องถ่ินดีได้รับการศึกษา การดูแลทางด้านสาธารณสุข และการพัฒนา ด้านคมนาคม การส่ือสารดีขึ้น ส่วนผลกระทบทางด้านลบได้แก่ การแพร่ระบาดของยาเสพติด การค้าที่ผิดกฎหมาย และการลักลอบเข้าเมือง ผลกระทบด้านวัฒนธรรมทางบวก ได้แก่ นักท่องเท่ียวและคนในท้องถิ่นได้เรียนรู้แลกเปล่ียนวัฒนธรรมซ่ึงกันและกัน และคนในท้องถ่ิน เห็นคุณค่าและอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น ในด้านลบได้แก่ ค่านิยมในการด้าเนินชีวิตของคนใน ท้องถ่ินเปลี่ยนแปลงไป เกิดการสูญเสียเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมท้องถิ่น เกิดการทอดทิ้งหรือ ท้าลายวัฒนธรรมท้องถ่ิน ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจในด้านบวก ได้แก่ มีการปรับปรุงแหล่ง การคา้ และแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว เพ่อื อา้ นวยความสะดวกและรองรับการขยายตัวของการค้าและการ ท่องเทย่ี ว นักทอ่ งเทีย่ วเหน็ วา่ เมืองชายแดนกลายเปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ียวของไทยและประเทศเพ่ือน บ้าน และเมื่อมีชายแดนติดกับประเทศเพ่ือนบ้านจึงเป็นจุดขายของการท่องเท่ียว ผลกระทบ ทางด้านลบได้แก่ ปัญหาการลักลอบท้าการค้านอกระบบ การลักลอบน้าเข้าและส่งออกสินค้า หนีภาษี ผลกระทบทางด้านส่ิงแวดล้อมทางด้านบวก ได้แก่ การให้ความส้าคัญกับสิ่งแวดล้อม คนในท้องถน่ิ เกิดความรู้สึกรกั และหวงแหนธรรมชาติ มีการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานของ เมอื ง สว่ นผลกระทบดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ ปัญหาขยะ ปญั หามลพษิ ทางอากาศ และทางน้า แนวทางการพัฒนาควรมงุ่ เน้นการพัฒนาด้านกายภาพของเมืองชายแดน ผลักดันการ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเพอ่ื แกป้ ญั หาเมอื งชายแดน ปรบั ปรุงพ้ืนท่ีพัฒนาการค้า การท่องเท่ียว โครงสร้างพื้นฐานหลัก แก้ไขกฎระเบียบท่ีเป็นอุปสรรคต่อการลงทุนการค้า และการท่องเท่ียว ท้งั นี้ ตอ้ งอยบู่ นพื้นฐานของความปลอดภัยและความมนั่ คงของประเทศเป็นหลัก

v สารบญั เรอื่ ง หนา้ คานา.................................................................................................................. I บทคัดยอ่ ............................................................................................................ iii สารบญั .............................................................................................................. v สารบญั ตาราง.................................................................................................... xi สารบัญรูป.......................................................................................................... xxi บทที่ 1 บทนา…………………………………………………..……………………. 1 1.1 ความสาคัญ และท่มี าของปญั หาทท่ี าการวิจัย...................................... 1 1.2 วตั ถปุ ระสงค์หลกั ของโครงการวิจัย....................................................... 2 1.3 กรอบแนวความคิดของการวิจัย......................................................... 2 1.4 วรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง....................................................................... 4 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................................................................... 5 1.6 วธิ กี ารดาเนนิ การวิจยั ......................................................................... 6 บทท่ี 2 การท่องเท่ียวและการค้า ณ อาเภอแมส่ าย จงั หวดั เชียงราย................ 9 2.1 ข้อมลู พนื้ ฐานทั่วไป........................................................................... 9 2.2 ขอ้ มูลพน้ื ฐานดา้ นการทอ่ งเท่ยี ว.......................................................... 14 2.3 ขอ้ มลู พนื้ ฐานด้านการคา้ ................................................................... 23 บทที่ 3 การท่องเทย่ี วและการค้า ณ อาเภอแม่สอด จงั หวดั ตาก...................... 29 3.1 ข้อมลู พนื้ ฐานท่ัวไป........................................................................... 29 3.2 ขอ้ มูลพน้ื ฐานด้านการทอ่ งเที่ยว.......................................................... 31 3.3 ขอ้ มูลพน้ื ฐานดา้ นการคา้ ................................................................... 36

vi สารบญั (ต่อ) เรอื่ ง หน้า บทที่ 4 การท่องเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภออรญั ประเทศ จงั หวดั สระแกว้ ............ 47 4.1 ขอ้ มูลพนื้ ฐานทวั่ ไป................................................................................ 47 4.2 ข้อมลู พน้ื ฐานด้านการท่องเที่ยว.............................................................. 50 4.3 ข้อมูลพน้ื ฐานดา้ นการค้า........................................................................ 59 บทท่ี 5 การท่องเท่ยี วและการคา้ ณ อาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย...................... 65 5.1 ขอ้ มลู พนื้ ฐานทว่ั ไป................................................................................ 65 5.2 ขอ้ มลู พน้ื ฐานด้านการท่องเท่ียว.............................................................. 69 5.3 ขอ้ มูลพนื้ ฐานด้านการคา้ ........................................................................ 74 บทท่ี 6 ผลกระทบจากการค้าและการทอ่ งเท่ียวตอ่ การพัฒนาเมอื งชายแดน: กรณีศกึ ษาประชาชนในทอ้ งถนิ่ .................................................................. 81 6.1 ข้อมูลท่วั ไปของกลมุ่ ตวั อย่างประชาชน...................................................... 81 6.2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบด้านต่างๆ…………………………………… 84 6.3 เปรยี บเทยี บความคิดเห็นของกลุ่มตัวอยา่ งเก่ียวกับผลกระทบดา้ นตา่ งๆ ตามปจั จัยดา้ นพน้ื ท่ี................................................................................. 94 6.4 ความคิดเห็นเกย่ี วกบั บทบาทขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น...................... 101 6.5 เปรียบเทียบความคดิ เหน็ ของกลุม่ ตวั อย่างเก่ียวกับบทบาทขององค์กรส่วน ปกครองทอ้ งถ่นิ ตามปจั จยั ด้านพน้ื ท่ี......................................................... 102

vii สารบญั (ตอ่ ) เรอ่ื ง หนา้ บทท่ี 7 ผลกระทบจากการค้าและการท่องเท่ยี วต่อการพัฒนาเมอื งชายแดน: กรณศี กึ ษานกั ท่องเท่ียว..................................................................................... 107 7.1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของกลุ่มตวั อยา่ งนกั ท่องเทีย่ ว.......................................................... 107 7.2 ความคิดเหน็ ของกลุม่ ตวั อยา่ งนกั ทอ่ งเทย่ี วท้งั หมดเกีย่ วกับผลกระทบดา้ นต่างๆ... 110 7.3 เปรยี บเทียบความคดิ เหน็ ของกล่มุ ตัวอย่างเกีย่ วกับผลกระทบดา้ นตา่ งๆ ตามปัจจยั ด้านพน้ื ที่......................................................................................... 116 7.4 ความคิดเห็นของกลุ่มตวั อยา่ งนักทอ่ งเท่ยี วทงั้ หมดเกีย่ วกับบทบาทของ 122 องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ .............................................................................. 7.5 เปรียบเทยี บความคิดเห็นของกลมุ่ ตัวอยา่ งนักท่องเทีย่ วเกยี่ วกับบทบาทของ 124 องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นตามปจั จัยดา้ นพืน้ ท่ี…………………………………. บทท่ี 8 บทสรปุ .............................................................................................................. 127 8.1 ผลกระทบจากการคา้ และการท่องเท่ียวในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงต่อการพฒั นา เมอื งชายแดน.................................................................................................. 127 8.2 แนวทาง และมาตรการสนับสนนุ เมอื งชายแดนทางดา้ นการทอ่ งเทย่ี วและการคา้ .. 131 บรรณานุกรม................................................................................................................. 133

v สารบญั ตาราง ตารางที่ หน้า 2-1: จานวนนักท่องเท่ียวเดนิ ทางผ่านแดนเข้า - ออก ณ จดุ ผา่ นแดน อาเภอแมส่ าย 17 นกั ท่องเที่ยว ชาว ปี พ.ศ. 2545 – 2552....................................................................................... 21 2-2: จานวนนกั ท่องเทยี่ วตา่ งชาตทิ ่ีเดนิ ทางเข้ามายังมณฑลยนู นาน 22 ปี พ.ศ. 2545 – 2552....................................................................................... 25 2-3: รายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วของมณฑลยนู นาน ปี พ.ศ. 2545 – 2552...................... 25 2-4: สถติ กิ ารนาเข้า – สง่ ออกสนิ คา้ สนิ คา้ 10 อันดับ ปงี บประมาณ 2552 35 ด่านศลุ กากรแม่สาย……………………………………………………………..... 2-5: มูลคา่ สนิ คา้ นาเข้า – ส่งออก ปีงบประมาณ 2540 – 2552 ด่านศุลกากรแมส่ าย.... 37 3-1: สถิตคิ นไทยเดินทางผา่ นเข้า – ออกราชอาณาจักร (ใชบ้ ัตรผา่ นแดน) 41 ด่านตรวจคนเขา้ เมอื งตาก ปี พ.ศ. 2544 – 2552............................................... 42 3-2: ตารางคลังสนิ คา้ ช่ัวคราวท่ีเปดิ ดาเนินการภายใต้การกากับดูแลของ 43 44 ดา่ นศลุ กากรแม่สอด ใน ปี พ.ศ. 2550............................................................. 45 3-3: สถิตมิ ูลคา่ สนิ ค่าส่งออก - นาเข้าสินค้ารวม ปงี บประมาณ 2545 – 2552 57 ณ ด่านศุลกากรแม่สอด.................................................................................. 3-4: สถติ ิมูลค่าสนิ คา่ สง่ ออก ปงี บประมาณ 2545 – 2552 ณ ดา่ นศุลกากรแม่สอด..... 3-5: 25 อันดับสินค้าสง่ ออกผ่านดา่ นศุลกากรแมส่ อด ในปงี บประมาณ 2552............. 3-6: สถิติมูลคา่ สนิ ค่านาเขา้ ปงี บประมาณ 2545 – 2552 ณ ดา่ นศลุ กากรแม่สอด...... 3-7: 25 อนั ดบั สนิ ค้านาเข้าผ่านดา่ นศุลกากรแม่สอด ในปงี บประมาณ 2552.............. 4-1: จานวนสถิติการเดนิ ทางผา่ นแดนเข้า - ออก ณ จุดผ่านแดนอาเภออรญั ประเทศ ปี พ.ศ. 2545 – 2552 ……………………………………………….…………….

vi สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางที่ หนา้ 4-2: จานวนนักท่องเท่ียวชาวไทยเดนิ ทางเขา้ – ออก ราชอาณาจักร ณ จุดผ่านแดน 58 ถาวรบ้านคลองลกึ ปี พ.ศ. 2545 – 2549 (แยกประเภทการถอื หนงั สือเดินทาง และบตั รผา่ นแดน)......................................................................................... 58 61 4-3: จานวนนักทอ่ งเทย่ี วชาวกัมพูชา นักท่องเทย่ี วต่างชาติ และยานพาหนะเดนิ 61 ทางเข้า – ออก ราชอาณาจักร ณ จุดผ่านแดนถาวรบ้านคลองลกึ ปี พ.ศ. 2545 – 62 2549...................................................................................................... 63 73 4-4: มูลคา่ สนิ คา้ นาเขา้ ผา่ นดา่ นศลุ กากรอรัญประเทศ ในปงี บประมาณ 75 2547 – 2552................................................................................................. 76 77 4-5: มูลค่าสนิ ค้าสง่ ออก ผา่ นดา่ นศลุ กากรอรญั ประเทศ ในปีงบประมาณ 2547 – 2552……………………………………………………………………… 4-6: 10 อันดับสินคา้ นาเข้าและมลู ค่าสนิ ค้า ผา่ นดา่ นศลุ กากรอรัญประเทศ ในปงี บประมาณ 2551 – 2552........................................................................ 4-7: 10 อันดับสินคา้ สง่ ออกและมูลคา่ สินคา้ ผา่ นดา่ นศุลกากรอรัญประเทศ ในปงี บประมาณ 2551 – 2552………………………………………………….. 5-1: จานวนนกั ท่องเทยี่ วเดินทางผา่ นแดนเข้า - ออก ณ จุดผา่ นแดนหนองคาย ปี พ.ศ. 2545 – 2552....................................................................................... 5-2: 10 อนั ดบั สินค้านาเข้าและมูลคา่ สินค้า ผา่ นด่านศลุ กากรหนองคายใน ปีงบประมาณ 2551....................................................................................... 5-3: มูลค่าการนาเข้า – ส่งออกสนิ ค่า ในปีงบประมาณ 2549 – 2552 ณ ด่านศลุ กากรหนองคาย............................................................................... 5-4: มลู คา่ ของผ่านแดนจากประเทศทสี่ าม ณ ด่านศุลกากรหนองคาย ในปีงบประมาณ 2549 – 2552.........................................................................

vii สารบญั ตาราง (ตอ่ ) ตารางท่ี หน้า 5-5: 10 อันดบั สนิ ค้าผ่านแดนและมลู คา่ สินคา้ ผ่านแดนจากประเทศที่สาม 77 ไปยงั สปป.ลาว ผ่านด่านศลุ กากรหนองคาย ในปงี บประมาณ 2551.................. 78 5-6: 10 อันดบั สนิ ค้าผ่านแดนและมูลค่าสนิ คา้ ผ่านแดนจากสปป.ลาว ไปยงั 80 ประเทศทสี่ าม ผา่ นดา่ นศลุ กากรหนองคาย ในปงี บประมาณ 2551.................... 82 84 5-7: มลู คา่ การคา้ ชายแดนผา่ นด่านศุลกากรหนองคาย – ลาว ปี พ.ศ. 2546 – 2550... 86 6-1: ขอ้ มลู ท่ัวไปของกล่มุ ประชาชนในทอ้ งถ่ินทส่ี าคัญ.............................................. 88 6-2: ความคดิ เหน็ ของกลุ่มตวั อย่างโดยรวมท้ังหมดท่มี ีต่อผลกระทบดา้ นสงั คม........... 91 6-3: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างโดยรวมทั้งหมดทมี่ ีต่อผลกระทบด้านวัฒนธรรม..... 6-4: ความคิดเหน็ ของกลุม่ ตวั อยา่ งโดยรวมทงั้ หมดทมี่ ีต่อผลกระทบด้าน เศรษฐกิจ..... 93 6-5: ความคดิ เหน็ ของกลมุ่ ตวั อย่างโดยรวมทงั้ หมดท่มี ตี ่อผลกระทบด้านสง่ิ แวดล้อม... 6-6: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอยา่ งโดยรวมทง้ั หมดทมี่ ตี ่อผลกระทบดา้ นการ 94 95 ท่องเทีย่ ว....................................................................................................... 6-7: คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของระดับผลกระทบด้านสังคม 96 96 โดยรวมจาแนกตามพืน้ ท่ี................................................................................. 6-8: เปรยี บเทยี บค่าเฉลี่ยระดับผลกระทบดา้ นสงั คมจาแนกตามพื้นที่........................ 97 6-9: ค่าเฉล่ยี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของระดับผลกระทบด้านวฒั นธรรมโดยรวม 97 จาแนกตามพื้นท…่ี ………………………………………………………….…... 98 6-10: เปรยี บเทียบค่าเฉลีย่ ระดบั ผลกระทบด้านวัฒนธรรมจาแนกตามพ้นื ท่ี................ 6-11: เปรยี บเทยี บค่าเฉลี่ยระดับผลกระทบดา้ นวฒั นธรรมโดยรวมจาแนกตามพน้ื ท่ี โดยเปรยี บเทยี บเปน็ รายคู่............................................................................. 6-12: ค่าเฉลยี่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับผลกระทบด้านเศรษฐกิจโดยรวม จาแนกตามพื้นท.่ี .......................................................................................... 6-13: เปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี ระดบั ผลกระทบด้านเศรษฐกิจจาแนกตามพ้นื ที่.................

viii สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางท่ี หน้า 6-14: คา่ เฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับผลกระทบดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม 98 99 โดยรวมจาแนกตามพนื้ ท่ี.............................................................................. 6-15: เปรียบเทียบคา่ เฉลีย่ ระดับผลกระทบดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มจาแนกตามพ้นื ที่.............. 99 6-16: คา่ เฉลยี่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของระดับผลกระทบด้านการท่องเที่ยว 100 โดยรวมจาแนกตามพน้ื ที่............................................................................... 100 6-17: เปรียบเทยี บค่าเฉลี่ยระดบั ผลกระทบดา้ นการทอ่ งเทยี่ วจาแนกตามพืน้ ท่ี………. 6-18: เปรยี บเทยี บค่าเฉล่ยี ระดบั ผลกระทบดา้ นการทอ่ งเทยี่ วโดยรวมจาแนกตามพนื้ ที่ 101 โดยเปรยี บเทยี บเป็นรายคู่............................................................................. 102 6-19: ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างโดยรวมทัง้ หมดทีม่ ตี ่อบทบาทของหน่วยงานใน 103 ทอ้ งถ่นิ ........................................................................................................ 6-20: ค่าเฉลี่ย และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานความคิดเหน็ เกย่ี วกับบทบาทขององค์การ 103 บรหิ ารส่วนท้องถน่ิ โดยรวมจาแนกตามพื้นท่ี.................................................... 104 6-21: เปรียบเทยี บค่าเฉลยี่ ความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั บทบาทขององค์การบรหิ ารส่วน 108 101 ท้องถ่นิ จาแนกตามพ้ืนท่ี................................................................................ 6-22: เปรียบเทียบคา่ เฉล่ยี ระดบั ผลกระทบดา้ นการทอ่ งเทยี่ วโดยรวมจาแนกตามพื้นที่ 111 โดยเปรียบเทียบเปน็ รายคู่............................................................................. 112 6-23: สรุประดับความคดิ เหน็ เกี่ยวกับบทบาทขององค์การบริหารส่วนทอ้ งถิ่นจาแนก ตามพน้ื ท่ี………………………………………………………………………… 7-1: ข้อมลู ทวั่ ไปของกลุม่ ตัวอยา่ งนักทอ่ งเทย่ี วทีส่ าคญั …...…………………………... 7-2: ความคดิ เห็นของกลุม่ ตัวอย่างโดยรวมทงั้ หมดทีม่ ีต่อผลกระทบดา้ นสงั คม........... 7-3: ความคิดเหน็ ของกลมุ่ ตัวอยา่ งนักทอ่ งเที่ยวท้ังหมดทีม่ ีตอ่ ผลกระทบด้าน วัฒนธรรม…………………………………………………………………………. 7-4: ความคดิ เห็นของกลุ่มตวั อยา่ งนกั ทอ่ งเที่ยวท้งั หมดทีม่ ตี อ่ ผลกระทบด้าน เศรษฐกจิ ......................................................................................................

ix สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางท่ี หนา้ 7-5: ความคิดเห็นของกลมุ่ ตัวอยา่ งนกั ท่องเที่ยวท้งั หมดทม่ี ตี ่อผลกระทบด้าน 113 ส่ิงแวดล้อม………………………………………………………………………... 114 7-6: ความคิดเหน็ ของกลุ่มตัวอย่างนักทอ่ งเทย่ี วทั้งหมดที่มตี ่อผลกระทบด้าน 115 การทอ่ งเทยี่ ว……………………………………………………………………….. 116 117 7-7: สรุประดับผลกระทบด้านตา่ งๆ โดยเฉลยี่ ตามความคิดเห็นของกลุม่ ตวั อย่าง 117 นักท่องเทีย่ วทง้ั หมด………………………………………………………………. 118 118 7-8: ค่าเฉล่ีย และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของระดับผลกระทบดา้ นสังคมโดยรวม 119 119 จาแนกตามพืน้ ท…ี่ ………………………………………………………………. 120 120 7-9: เปรยี บเทียบค่าเฉลย่ี ระดับผลกระทบด้านสังคมจาแนกตามพ้ืนที่...................... 121 7-10: เปรยี บเทยี บค่าเฉลีย่ ระดบั ผลกระทบด้านสงั คมโดยรวมจาแนกตามพ้ืนทโี่ ดย เปรยี บเทยี บเป็นรายคู่.................................................................................... 7-11: ค่าเฉลี่ย และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานของระดบั ผลกระทบดา้ นวัฒนธรรม โดยรวมจาแนกตามพ้ืนที่............................................................................... 7-12: เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดบั ผลกระทบดา้ นวฒั นธรรมจาแนกตามพื้นที่................ 7-13: ค่าเฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจโดยรวม จาแนกตามพนื้ ที่.......................................................................................... 7-14: เปรยี บเทียบค่าเฉลย่ี ระดบั ผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจจาแนกตามพืน้ ที่................. 7-15: เปรยี บเทยี บคา่ เฉล่ยี ระดบั ผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจโดยรวมจาแนกตามพน้ื ท่ี โดยเปรียบเทยี บเป็นรายคู่............................................................................. 7-16: คา่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของระดบั ผลกระทบด้านสง่ิ แวดล้อม โดยรวมจาแนกตามพืน้ ที่………………………………………………………... 7-17: เปรยี บเทยี บค่าเฉล่ยี ระดับผลกระทบด้านสงิ่ แวดลอ้ มจาแนกตามพ้ืนที่…………

x สารบญั ตาราง (ตอ่ ) ตารางที่ หน้า 7-18: คา่ เฉลีย่ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของระดับผลกระทบดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว 121 122 โดยรวมจาแนกตามพน้ื ที่.............................................................................. 123 7-19: เปรยี บเทียบคา่ เฉลย่ี ระดบั ผลกระทบดา้ นการท่องเท่ยี วจาแนกตามพ้ืนที่………. 124 7-20: ความคดิ เหน็ ของกลมุ่ ตัวอยา่ งนักทอ่ งเท่ียวทง้ั หมดท่มี ีต่อบทบาทของหน่วยงาน 124 ในทอ้ งถิ่น………………………………………………………………………... 125 7-21: คา่ เฉล่ยี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความคดิ เหน็ เก่ียวกับบทบาทขององค์การ 128 บริหารส่วนทอ้ งถน่ิ โดยรวมจาแนกตามพืน้ ท่ี................................................... 128 7-22: เปรียบเทยี บค่าเฉลยี่ ความคดิ เห็นเก่ียวกับบทบาทขององค์การบริหารส่วน ท้องถนิ่ จาแนกตามพื้นท่ี................................................................................ 7-23: สรปุ ระดบั ความคดิ เห็นเกย่ี วกบั บทบาทขององค์การบรหิ ารสว่ นท้องถิ่นจาแนก ตามพื้นท่ี..................................................................................................... 8-1: สรปุ ภาพรวมการคา้ ชายแดน 4 เมอื ง ปี พ.ศ. 2552.......................................... 8-2: สรปุ ภาพรวมการทอ่ งเทย่ี วชายแดน 4 เมอื ง ปี พ.ศ. 2552................................

xiii สารบญั รูป รูปที่ หน้า 1-1: กรอบแนวคิดในการวิจัย............................................................................... 3 2-1: แผนที่อาเภอแมส่ าย จังหวดั ชียงราย………………………….…………………. 10 2-2: แผนทจ่ี งั หวดั ท่าข้ีเหล็ก สหภาพพมา่ ............................................................... 12 2-3: แผนท่ีมณฑลยนู นาน สาธารณรัฐประชาชนจนี ................................................ 13 2-4: สถานที่ทาบตั รผ่านแดน อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย................................... 17 3-1: แผนท่อี าเภอแม่สอด จังหวดั ตาก………………………………………………………………….. 28 3-2: แผนท่เี มอื งเมยี วดี สหภาพพม่า……………………..…………………………... 30 3-3: แผนทที่ อ่ งเท่ียว อาเภอแมส่ อด จงั หวดั ตาก..................................................... 31 4-1: แผนทีอ่ าเภออรัญประเทศ จงั หวัดสระแก้ว……………………………………… 48 4-2: แผนท่ตี าบลปอยเปต อาเภอโอวโจรโรว จงั หวดั บนั เตียนเมียนเจย ประเทศกมั พชู า…………………………………………………………………. 50 4-3: แผนทีท่ ่องเที่ยวอาเภออรญั ประเทศ จงั หวดั สระแกว้ ........................................ 53 5-1: แผนที่อาเภอเมอื ง จงั หวัดหนองคาย............................................................... 66 5-2: แผนทน่ี ครหลวงเวยี งจันทน์ สปป.ลาว................................................................. 68 5-3: แผนทีอ่ าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย.................................................................... 69

บทที่ 1 บทนา 1.1 ความสาคัญ และทมี่ าของปญั หาทีท่ าการวจิ ยั การขยายความร่วมมือระหว่างประเทศภายใต้เศรษฐกิจยุคโลกาภิวัฒน์ในรูปของ การค้า การลงทุน ส่งผลให้เกิดการเพิ่มพูนความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงมีโครงการความร่วมมือเพ่ือส่งเสริมการค้า การลงทุนและการ ท่องเท่ียวของประเทศต่างๆ ในอนุภูมิภาคหลายโครงการด้วยกัน ประเทศไทยได้ก้าหนดทิศ ทางการวิจัยยุทธศาสตร์ของชาติว่าด้วยเร่ืองของศักยภาพการพัฒนาทางเศรษฐกิจจากการ ท่องเที่ยว เน่ืองจากเล็งเห็นถึงความส้าคัญของการท่องเท่ียวและการค้าชายแดน ประกอบกับ การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้มีกลยุทธ์การพัฒนาการท่องเท่ียวที่ก้าหนดให้มี ผงั เมอื งเฉพาะสา้ หรบั การท่องเทีย่ วเมอื งชายแดนที่ส้าคัญ เพ่ือยกระดับมาตรฐานการท่องเท่ียว สู่สากล (การท่องเที่ยวแหง่ ประเทศไทย, 2552) การสง่ เสริมการท่องเที่ยวและการค้าชายแดนจึง เป็นช่องทางการสร้างงานและการพัฒนาภูมิภาคของท้ังไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ส่งเสริมให้ ประเทศไทยเป็นประตูเศรษฐกิจ (Gate Way) สู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง และมีความร่วมมือกับ ประเทศเพื่อนบา้ น ได้รบั ผลประโยชน์ร่วมกันทงั้ สองฝ่าย (Win – Win Strategy) จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้น สถาบันวิจัยสังคมจึงเลือกศึกษาเมืองชายแดนที่มี ความส้าคัญระหว่างไทยและประเทศเพ่ือนบ้านในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง คือ เมืองแม่สาย จังหวัดเชียงราย เมืองแม่สอด จังหวัดตาก เมืองอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว และเมือง หนองคาย จังหวัดหนองคาย ซ่ึงจังหวัดดังกล่าวเป็นประตูเชื่อมโยงไปยังประเทศเพ่ือนบ้านได้ และเป็นเมืองหลักในการสนับสนุนการค้าของชุมชนชายแดนทั้งทางบกและทางน้า ซ่ึงได้ส่งผล ให้เกิดการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางคมนาคมท้ังทางบก ทางน้า และทางอากาศเช่ือมโยงกับ ประเทศในอนภุ มู ภิ าคลุ่มแมน่ ้าโขง ปัจจุบันมีองค์กรและประชาชนให้ความสนใจท่ีจะเข้าไปท้าการค้าและท่องเท่ียว ใน จังหวัดเหล่าน้ีเป็นอย่างมากท้าให้ปริมาณการค้าและการท่องเที่ยวในเมืองชายแดนเพ่ิมข้ึน อยา่ งเห็นไดช้ ดั เจน ที่ผ่านมามักจะเกดิ ปญั หาในเรอ่ื งของการขาดแคลน และการเข้าถึงข้อมูลใน ด้านการค้าและการท่องเท่ียวซ่ึงมีอยู่อย่างกระจัดกระจายแยกส่วน และไม่มีการเผยแพร่อย่าง

2_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ในลุ่มนาโขง เปน็ ระบบ นอกจากนี้ยังมีปญั หาการพัฒนาเมอื งชายแดนซึง่ รบั นโยบายจากสว่ นกลางมาบรหิ าร พัฒนาเมือง และความพร้อมขององค์กรและประชาชนในท้องถ่ินส้าหรับเตรียมตัวเพื่อรองรับ ผลกระทบที่เกิดขน้ึ สีจ่ งั หวดั ชายแดนดงั กล่าวควรได้รับการวางแผนและพัฒนาแบบบูรณาการ เพื่อรองรับ ผลกระทบจากการค้าและการท่องเที่ยวท่ีเกิดขึ้นอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ เพ่ือให้ภาครัฐและเอกชน สามารถน้าองค์ความรู้ท่ีเกิดจากการศึกษาวิจัยที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาเร่งด่วน และเพ่ือประโยชน์ในการวางแผนกา้ หนดนโยบายทีส่ ้าคญั ต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ ประชาชน ท่ัวไปยงั สามารถเขา้ ถึง และใช้ประโยชนจ์ ากขอ้ มลู ท่ีไดส้ ้าหรับการท่องเทย่ี วและการค้าขายตาม แนวชายแดน เพื่อการพฒั นาการค้าและการทอ่ งเทย่ี วในอนุภูมภิ าคแม่น้าโขงอยา่ งยัง่ ยนื ต่อไป 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการวิจัย 1) เพอ่ื ศึกษาผลกระทบจากการคา้ และการทอ่ งเทยี่ วในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงต่อการ พัฒนาเมืองชายแดน 2) เพอ่ื จดั ทา้ ฐานขอ้ มูลดา้ นการค้าและการทอ่ งเทย่ี วของจังหวดั ชายแดน 3) เพ่อื หาแนวทางและมาตรการสนับสนุนแผนงานและกิจกรรมในการรองรับการเป็น เมอื งชายแดน ตลอดจนก้าหนดรปู แบบและเสนอแนะบทบาทตอ่ ภาคเอกชนของประเทศไทย 1.3 กรอบแนวความคิดของการวิจัย แนวคิดในการศึกษาการพัฒนาในเขตเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการ ท่องเที่ยว และการค้าในลุ่มน้าโขง ศึกษาการพัฒนาในด้านสังคม เศรษฐกิจ การจัดการของ ภาครัฐ การท่องเท่ียว และประชาชน โดยอาศัยตัวแปร 3 ตัวแปร ในการพิจารณาความพร้อม ด้านการค้าและการท่องเทย่ี ว คือ ตัวแปรด้านอุปทาน 3 ตวั แปร คือ จุดผ่านแดน จ้านวนห้องพัก และโครงการก้าจัดขยะ ตัวแปรด้านอุปสงค์ 5 ตัวแปร คือ จ้านวนนักท่องเที่ยวของไทย จ้านวน นักท่องเท่ียวต่างชาติ จ้านวนแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ จ้านวนแห ล่งท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์/ศาสนา จ้านวนแหล่งท่องเท่ียวทางศิลปวัฒนธรรม/ประเพณี/กิจกรรม ตัวแปร ด้านศักยภาพการค้าและการท่องเที่ยวระดับอ้าเภอ 2 ตัวแปร คือ คุณลักษณะหรือคุณสมบัติ พ้ืนฐานของส่ิงดงึ ดดู ใจ และความพร้อมและอัธยาศัยของคนท้องถนิ่

บทนา_____3 กรอบแนวคดิ ตัวแปรด้านอุปทาน ตัวแปรด้านอปุ สงค์ ตวั แปรดา้ นศักยภาพ  จดุ ผา่ นแดน  จ้านวนนักทอ่ งเที่ยวของไทย การคา้ และการทอ่ งเท่ียว  จา้ นวนหอ้ งพัก ระดบั อาเภอ  โครงการกา้ จดั ขยะ และจา้ นวนนักทอ่ งเท่ียว  คณุ ลักษณะหรอื ต่างชาติ  แหล่งท่องเท่ยี วทางธรรมชาติ คณุ สมบัติพนื้ ฐานของ  แหล่งท่องเที่ยวทาง ส่ิงดงึ ดดู ใจ ประวตั ศิ าสตร์/ศาสนา  แหล่งทอ่ งเที่ยวทาง  ความพร้อมและ ศิลปวฒั นธรรม/ประเพณี/ อธั ยาศัยของคน กจิ กรรม ทอ้ งถ่ิน  ความส้าคญั ของแหลง่ ท่องเที่ยว  หน่วยงานของรัฐ การพัฒนา สังคม เศรษฐกิจ การจัดการของภาครัฐ การทอ่ งเทีย่ ว ประชาชน -ความเป็นอยู่ -การค้า -การศกึ ษา -ปัจจยั พื้นฐาน -การลงทนุ -ความพร้อม - สถานท่ี -สุขภาพ -ยาเสพติด -การจา้ งงาน -การย้ายถ่ิน -อาชญากรรม -นโยบาย -เพม่ิ มูลค่า - แบบยงั่ ยืน การค้า การทอ่ งเทีย่ ว แนวทาง/มาตรการท่ีน้าเสนอ รูปท่ี 1-1 กรอบแนวคิดในการวิจัย นอกจากนี้ การท้าวิจัยในคร้ังนี้ยังได้จัดท้าฐานข้อมูลพื้นฐานด้านการค้า (สถิติการค้า ชายแดน ชนิดของสินค้าขาเข้าและขาออกที่เป็นท่ีต้องการของผู้บริโภค บริษัทคู่ค้า ฯลฯ)และ การท่องเท่ียว (สถานท่ีท่องเท่ียว ที่พัก ร้านอาหาร จ้านวนนักท่องเที่ยว ฯลฯ) ของจังหวัด

4_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเทีย่ วและการคา้ ในลุม่ นาโขง เชียงราย จังหวัดตาก จังหวัดหนองคาย และจังหวัดสระแก้ว รวมทั้งข้อมูลเมืองชายแดนของ ประเทศเพ่อื นบ้านที่อย่ตู ดิ กัน เพ่อื บริการขอ้ มูลแก่ประชาชนและองคก์ รที่ตอ้ งการใช้ประโยชน์ 1.4 วรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้ท้าการศึกษาเพื่อก้าหนดวิสัยทัศน์และกลยุทธ์การ ด้าเนินการด้านการพัฒนา เพื่อให้การท่องเท่ียวของประเทศขยายตัวและสามารถรองรับ นักท่องเท่ียวได้มากขึ้น โดยกา้ หนดวิสัยทัศน์ในการส่งเสริมและพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นแหล่ง ท่องเท่ียวของประเทศอยู่ในสภาพท่ีงดงาม คงประเพณีและเอกลักษณ์อันดีงามไว้ มีสภาพ สิ่งแวดล้อมท่ีปลอดภาวะมลพิษ มีความปลอดภัย มีส่ิงอ้านวยความสะดวกที่เหมาะสม มีการ คมนาคมติดต่อถึงกันได้โดยสะดวก ท้ังในและระหว่างประเทศ และให้คนไทยมีส่วนร่วมในการ ไดร้ ับสวัสดิการในมาตรฐานเดียวกัน ในส่วนของกลยุทธ์ด้านพัฒนาการท่องเท่ียวได้ก้าหนดไว้ 7 กลยุทธ์ โดยการพัฒนา แหล่งท่องเทย่ี วตามกลมุ่ พน้ื ท่ี (Area Approach) ถกู ก้าหนดให้เป็นกลยุทธ์ล้าดับท่ี 1 เป้าหมาย ส้าคัญคือส่งเสริมให้เกิดการกระจายตัวของนักท่องเท่ียว และเพิ่มทางเลือกใหม่ในการเดินทาง มากขึ้น โดยแบ่งแนวทางสินค้าของแต่ละพื้นที่ท่ีจะเสนอขายไว้เป็น 3 กลุ่ม คือ พื้นท่ีแหล่ง ท่องเทยี่ วเสรมิ 7 กลมุ่ พื้นที่ พ้ืนท่ีแหลง่ ท่องเทีย่ วหลัก และพื้นทท่ี ีม่ ีศักยภาพและเมอื งชายแดน จังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน ถูกจัดให้เป็นพ้ืนที่แหล่งท่องเท่ียวเสริม 1 ใน 7 กลมุ่ ที่จะต้องไดร้ ับการพัฒนาใหเ้ กิดความสมบรู ณ์ เพ่ือรองรบั การขยายตัวของการท่องเท่ียวได้ อย่างเหมาะสมในปีต่อๆ ไป จากการศึกษาทราบว่า สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยวในพ้ืนท่ี 4 จังหวัดดังกล่าว ยังไม่สามารถดึงดูดนักท่องเท่ียวได้มากเท่าที่ควร ท้ังท่ีมีแหล่งท่องเที่ยวทั้ง ประเภทธรรมชาติ โบราณวัตถุสถาน และศิลปวัฒนธรรมอยู่มากมาย จึงจ้าเป็นต้องด้าเนินการ ศึกษาเพื่อหานโยบายและมาตรการต่างๆ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวต่อไป ดังการศึกษาของ มนัส สุวรรณ และคณะ (2545) ในดา้ นการค้าตามแนวชายแดนได้มีผู้สนใจท้าการศึกษาการค้าชายแดนตามจุดต่างๆ ในหัวข้อทมี่ คี วามหลากหลายแตกต่างกันไป อาทิ การศึกษาเรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจภาคเหนือตอนบน อุตสาหกรรม การ ลงทุน และการค้าชายแดน มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสถานการณ์การพัฒนาเศรษฐกิจด้าน อุตสาหกรรม การลงทุน การค้าชายแดนภาคเหนือ ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานภาคเหนือ

บทนา_____5 ตอนบน และเพื่อวิเคราะห์แนวโน้ม และศักยภาพเศรษฐกิจด้านอุตสาหกรรม การลงทุน และ การค้าชายแดนภาคเหนอื ตอนบน (ลือชัย จลุ าสัย และคณะ, 2544) คณะท้างานร่วมธนาคารแห่งประเทศไทย และธนาคารแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว (2539) ได้ศึกษาเรื่อง ปัญหาการค้าชายแดนไทย-ลาว (นครพนม- ค้าม่วน และ เชียงราย-บ่อแก้ว) ซึ่งพบว่า เชียงราย-บ่อแก้วจะเป็นเมืองคู่แฝดระหว่างภาคเหนือของไทยกับ ภาคเหนือของลาว ซึ่งจะมีการขยายตัวด้านการค้า การบริการ และการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว นอกจากน้ีเชียงรายยังมีศักยภาพที่จะขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่าง ไทย-ลาว-พมา่ -จนี และเวียดนาม โดยใช้เส้นทางความเช่ือมโยงได้ทั้งทางแม่น้าโขงจากจีนตอน ใต้ผ่านลาวผ่านพม่ามายังประเทศไทย และทางถนนเช่ือมโยงไทย-ลาว-จีน (เส้นทางเชียงราย- หลวง น้าทา-บ่อเต็น-เชียงรุ้ง) รวมท้ังโครงการถนนเช่ือมโยงไทย-พม่า-จีน (เชียงราย-เชียงตุง- ต้าหลั่ว- เชียงรุ้ง) และเช่ือมโยงไทย-ลาว-เวียดนาม (เชียงราย-บ่อแก้ว-หลวงน้าทา-นาเตย- อุดมไชย-เมืองขวา-เดียนเบียนฟู หรือเชียงราย-บ่อแก้ว-หลวงน้าทา-อุดมไชย-หัวพัน-ฮวาบิงห์ และแทงฮวา) ส้าหรับการค้าระหว่างเชียงราย-บ่อแก้ว ส่วนใหญ่ผ่านทางด่านอ้าเภอเชียงของ- เมืองห้วยทราย โดยสินค้าออกจากสปป.ลาว เข้าไทยที่ส้าคัญคือพืชเกษตรและของป่า ส่วน สินค้าออกจากไทยไป สปป.ลาว คือ สินค้าอุปโภคบริโภค รวมทั้งเคร่ืองจักรและอุปกรณ์การ ก่อสรา้ งและการทา้ เหมอื งแร่ ซึง่ ทวีความส้าคญั มากขึ้นเพื่อรองรับการก่อสร้างถนนใน สปป.ลาว สว่ นการคา้ ทางด่านเชยี งแสนยังมีค่อนข้างน้อย เพราะเมืองต้นผ้ึงของ สปป.ลาว ซึ่งอยู่ตรงข้าม ยงั ไม่ได้รับการพฒั นามากนกั และไมส่ ามารถท้าพิธีการทางศุลกากรได้ 1.5 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั การศึกษาเรื่องการพัฒนาเมืองชายแดนเพ่ือรองรับผลกระทบจากการท่องเท่ียวและ การค้าในลุ่มนา้ โขง จะเกิดประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ดังน้ี 1) เปน็ องคค์ วามรู้ในการวิจัย เนื่องจากการศึกษานี้ เป็นพ้ืนฐานของการศึกษาในเร่ือง การทอ่ งเท่ยี ว การคา้ การลงทนุ ในอนภุ ูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง นักวชิ าการในสถาบันการศึกษาของ รัฐและเอกชน สามารถใชข้ ้อมูลไปต่อยอดในการศกึ ษา วจิ ยั ได้ 2) บริการความรู้แก่ประชาชน ซ่ึงประชาชนในพ้ืนท่ี และประชาชนที่สนใจในด้านการ ท่องเที่ยว และการค้าในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงสามารถน้าข้อค้นพบ และข้อมูลท่ีได้จาก การศกึ ษาไปใช้เป็นประโยชน์ต่อไป

6_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการค้าในลุ่มนาโขง 3) บริการความรู้แก่ภาคธุรกิจ ผู้ประกอบการท่องเที่ยว บริษัททัวร์ โรงแรม ร้านอาหาร และรา้ นคา้ ในพืน้ ท่ี สามารถนา้ ความรู้ และข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาไปใช้ประโยชน์ในธุรกิจ ของตนเอง 1.6 วิธีการดาเนินการวจิ ัย 1) วธิ ีการศึกษา 1.) เก็บรวบรวมข้อมูลกายภาพพ้ืนฐานของ 4 จังหวัด และเมืองชายแดนของ ประเทศเพ่อื นบา้ น 2.) วัดความพร้อมของเมืองชายแดนทั้ง 4 จังหวัด โดยเปรียบเทียบความ แตกตา่ งในดา้ นความพรอ้ มดว้ ยตัวชีว้ ดั 3 ตวั แปร 3.) เก็บขอ้ มลู ปฐมภูมดิ ว้ ยการสมั ภาษณแ์ ละสอบถาม 4.) วเิ คราะห์ขอ้ มูล 2) การเก็บรวบรวมข้อมูลกายภาพพ้ืนฐาน เบื้องต้นเป็นการศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูล สถิติพื้นฐาน ข้อมูลกายภาพ โดยทบทวน วรรณกรรมจากหนงั สอื และต้ารา รายงานการวิจยั จุลสาร วารสารซึ่งจัดพิมพ์โดยหน่วยงานของ ราชการและเอกชน เอกสารอนื่ ๆ และค้นควา้ จากเว็บไซตท์ เี่ กย่ี วข้อง 3) การเก็บข้อมลู ปฐมภมู ิ ท้าการศึกษาภาคสนาม ณ จังหวัดเชยี งราย จังหวดั ตาก จงั หวัดหนองคาย และจงั หวดั สระแกว้ โดย  การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) โดยสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง ซึ่ง เลือกจากผูท้ ส่ี ามารถให้ข้อมูลส้าคญั ในทอ้ งถ่นิ คือ ผนู้ ้าทีเ่ ปน็ ทางการ และผู้น้าทไี่ มเ่ ปน็ ทางการ เกี่ยวกับนโยบายของภาครัฐในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ผลกระทบที่เกิดข้ึนใน ด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว บทบาทและการมีส่วนร่วมของ หน่วยงานในท้องถิ่น ปัญหาที่เกิดขึ้นและข้อเสนอแนะ แนวทางและมาตรการสนับสนุนส้าหรับ ภาครัฐและเอกชน  การออกแบบสอบถามส้าหรับกลุ่มตัวอย่างท่ัวไป ได้แก่ พ่อค้า เจ้าของกิจการ ประชาชน และนักท่องเที่ยว จาก อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย 158 คน อ้าเภอแม่สอด

บทนา_____7 จังหวัดตาก 140 คน อ้าเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 139 คน และอ้าเภออรัญประเทศ จังหวัด สระแก้ว 142 คน รวมเป็น 585 คน โดยสอบถามในเรื่องผลกระทบด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อมและการท่องเท่ียว บทบาทของหน่วยงานในท้องถิ่นต่อการเป็น เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ปัญหาที่เกิดขึ้นและข้อเสนอแนะแนวทางและมาตรการสนับสนุน ส้าหรับภาครัฐและเอกชน 4) การวเิ คราะห์ขอ้ มูล น้าข้อมูลที่ได้จากแหล่งปฐมภูมิทั้ง 2 แหล่ง คือจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และ จากแบบสอบถาม ซ่ึงวเิ คราะหโ์ ดยโปรแกรมทางสถติ ิ SPSS และน้ามาวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา โดยน้าข้อมูลทุติยภูมิท่ีได้จากการ ค้นคว้าไว้มาประกอบ เพ่ือให้เกิดความครอบคลุมและได้ผลการศึกษาท่ีชัดเจนมากยิ่งข้ึน และ เขยี นเป็นรายงานการวิจัย

บทที่ 2 การทอ่ งเทยี่ วและการคา้ ณ อาเภอแมส่ าย จงั หวัดเชยี งราย 2.1 ข้อมูลพื้นฐานทว่ั ไป 2.1.1 อาเภอแม่สาย จงั หวัดเชยี งราย อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ตั้งอยู่เหนือสุดของประเทศไทย จึงถูกขนานนามว่า “เหนือสุดแดนสยาม” เป็นอําเภอชายแดนหน่ึงของประเทศไทยท่ีมีความสําคัญในด้าน ยทุ ธศาสตร์การคา้ และการท่องเที่ยว มีพื้นที่ประมาณ 258 ตารางกิโลเมตร (178,125 ไร่) มาก เป็นลําดับท่ี 14 ในจํานวน 16 อําเภอ 2 ก่ิงอําเภอ ของจังหวัดเชียงราย มีระยะทางห่างจาก กรงุ เทพมหานคร 891 กิโลเมตร และห่างจากตัวเมืองเชยี งราย 65 ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดกับสหภาพพม่า โดยมีแม่น้ําสายและแม่นํ้ารวกเป็น พรมแดนก้ันระหว่างประเทศ ทศิ ใต้ มอี าณาเขตตดิ กบั อาํ เภอแมจ่ ัน จงั หวดั เชียงราย ทศิ ตะวันตก มีอาณาเขตติดกบั สหภาพพม่า โดยมีเทือกเขาแดนลาวเป็นพรมแดน กั้นระหวา่ งประเทศไทย และสหภาพพม่า ทิศตะวนั ออก มอี าณาเขตติดกับอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชยี งราย

10_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเทีย่ วและการค้าในลุ่มนาโขง N จ.ทา่ ขเี้ หลก็ สหภาพพม่า ภาพที่ 2-1 แผนทอี่ าเภอแม่สาย จงั หวัดเชยี งราย ทม่ี า: ปรบั ปรุงจาก การทอ่ งเทีย่ วแห่งประเทศไทย, 2553. อําเภอแม่สายมีประวัติความเป็นมาท่ียาวนาน ชื่อแม่สายมาจากช่ือของแม่น้ําสาย ท่ี ไหลผ่านตวั เมืองแมส่ าย จากประวัติความเป็นมา แม่น้ําสาย เดิมชื่อ แม่น้ําใส และเมืองแม่สาย เดิมคอื เวียงสีต่ วง ขึ้นกับแควน้ โยนกนคร ปรากฏหลกั ฐานตามประวัติศาสตร์ (ตาํ นานสิงหนวัต) เมื่อปี พ.ศ.1462 พระเจ้ามังคราช เจ้าผู้ครองแคว้นโยนกถูกขอมดํารุกราน จึงอพยพราษฎรมา อยู่ริมแมน่ ้าํ สาย ตอ้ งสง่ ส่วยใหข้ อมดาํ เป็นทองคาํ ปีละ 4 ตวง หมากพินลูกเล็ก (มะตูม) จึงได้ชื่อ \"เวียงส่ีตวง\" ต่อมาพระเจ้าพรหมมหาราช พระราชโอรสของพระเจ้าพังคราช ได้เปล่ียนช่ือเมือง \"เวียงสี่ตวง\" เป็น \"เวียงพางคํา\" อันหมายถึง พานทองคําท่ีใช้ตีเชิญช้างคู่บารมีของพระองค์ข้ึน

การท่องเที่ยวและการค้า ณ อาเภอแม่สาย จงั หวัดเชียงราย____11 จากนํา้ ของ (แม่น้าํ โขง) จนสามารถกอบกแู้ ควน้ โยนกนคร จากขอมดําได้สําเร็จ ต่อมาเวียงพาน คําได้เพ้ียนเป็นเวียงพางคํา คือ พ้ืนท่ีตําบลเวียงพางคําในปัจจุบันนี้ (เชียงรายโฟกัส ดอทคอม, 2552) อําเภอแม่สายแบ่งการปกครองออกเป็น 7 ตําบล 3 เทศบาล 87 หมู่บ้าน มีประชากร รวมทั้งส้ิน 84,830 คน แยกเป็นประชากรชาย 40,521 คน ประชากรหญิง 44,309 คน (สํานักงานสถิติจังหวัดเชียงราย, 2553) อาชีพหลักของประชากร ได้แก่ การเกษตร การทํานา การค้าตามบริเวณด่านพรมแดนไทย – สหภาพพม่า ทําสวนสตรอเบอรี่ และไผ่กวนอิม และมี อาชพี เสริม ไดแ้ ก่ เล้ยี งสตั ว์ หตั ถกรรมพืน้ บา้ น ผลติ ภณั ฑ์ท้องถนิ่ อําเภอแม่สาย มีภูมิประเทศที่ติดกับสหภาพพม่าทําให้อําเภอแม่สายเป็นจุดเด่นและ เป็นจุดศนู ยก์ ลางในการตดิ ต่อกับประเทศใกล้เคยี งจึงมคี วามสาํ คัญตอ่ เศรษฐกิจการค้าและการ ทอ่ งเทย่ี วของประเทศไทย 2.1.2 จงั หวดั ท่าขเี้ หลก็ สหภาพพมา่ จังหวัดท่าข้ีเหล็ก เป็นจังหวัดชายแดนของสหภาพพม่า มีอาณาเขตติดกับอําเภอ แม่สายของประเทศไทย โดยมีแมน่ า้ํ สายเปน็ เส้นกน้ั พรมแดน มีอาณาเขตติดต่อดงั น้ี ทศิ เหนอื มอี าณาเขตติดต่อกับเมอื งพยาค จังหวัดทา่ ข้ีเหลก็ สหภาพพม่า ทิศใต้ มีอาณาเขตติดตอ่ กับอําเภอแม่สาย และอาํ เภอเชยี งแสน จังหวัดเชยี งราย ทศิ ตะวันออก มอี าณาเขตติดตอ่ กับ สปป.ลาว ทิศตะวันตก มอี าณาเขตติดตอ่ กบั เมืองสาด จงั หวัดทา่ ขี้เหลก็ สหภาพพม่า

12_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการคา้ ในลุม่ นาโขง N ภาพที่ 2-2 แผนทจี่ งั หวัดท่าขเ้ี หล็ก สหภาพพมา่ ทม่ี า: ปรบั ปรุงจาก The Wa Dictionary Project. 2010. จังหวัดท่าข้ีเหล็กถือเป็นเมืองหน้าด่านการค้าชายแดน เป็นจุดผ่านและกระจายสินค้า จากประเทศไทยไปยังเมืองต่างๆ ของสหภาพพม่า จีนตอนใต้ และส่งผ่านสินค้าจากจีนตอนใต้ และสหภาพพมา่ เขา้ สู่ประเทศไทย อีกทง้ั ยงั เป็นประตูสู่การทอ่ งเทย่ี วไปยังจังหวดั ท่าขี้เหลก็ และ จนี ตอนใต้บนเสน้ ทาง R3B อีกดว้ ย 2.1.3 ตอ สาธารณรฐั ประชาชนจีน จีนตอนใต้ ด้วยลักษณะทางด้านกายภาพน้ันไม่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย ดังเช่น สหภาพพม่า สปป.ลาว และกัมพูชา แต่จีนตอนใต้ โดยเฉพาะมณฑลยูนนานเป็นมณฑลท่ีมี ความเชื่อมโยงทางด้านการค้าและการท่องเที่ยวกับประเทศไทยมานานโดยผ่านทางแม่น้ําโขง และการเดนิ ทางผ่านเมอื งต่างๆ ของสหภาพพมา่ เขา้ สสู่ ิบสองปันนา และเขา้ สมู่ ณฑลยนู นาน มณฑลยูนนานอยทู่ างภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้เปน็ มณฑลท่ไี มม่ ที างออกสู่ทะเล และใหญ่ เป็นอันดับที่ 8 ของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีพื้นที่ท้ังหมดประมาณ 394,000 ตารางกิโลเมตร มอี าณาเขตติดต่อดงั นี้

การทอ่ งเที่ยวและการคา้ ณ อาเภอแม่สาย จงั หวัดเชียงราย____13 ทศิ เหนอื มอี าณาเขตตดิ ต่อกับมณฑลเสฉวน สาธารณรฐั ประชาชนจีน ทศิ ใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเวียดนาม สปป.ลาว และ สหภาพพม่า ทศิ ตะวันออก มีอาณาเขตตดิ ต่อกับมณฑลกุ้ยโจว และเขตปกครองตนเอง กวางสี สาธารณรัฐประชาชนจนี ทิศตะวันออกเฉยี งใต้ มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั ประเทศเวียดนาม ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดตอ่ กับสหภาพพมา่ ทิศตะวนั ตกเฉยี งใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับสหภาพพมา่ N ภาพที่ 2-3 แผนทม่ี ณฑลยนู นาน สาธารณรัฐประชาชนจนี ทมี่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2553. มณฑลยูนนานมีนครคุณหมงิ เป็นเมืองหลวง ต้ังอยู่ตอนกลางของที่ราบยูนนาน ติดกับ ทะเลสาบเตียนฉือ ซ่ึงใหญ่เป็นอันดับ 6 ของสาธารณรัฐประชาชนจีน นครคุณหมิงมีพ้ืนท่ี ประมาณ 15,561 ตารางกโิ ลเมตร (คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน, 2551)

14_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเทีย่ วและการค้าในลุ่มนาโขง มณฑลยูนนาน เป็นมณฑลที่มีขนาดใหญ่ มีจํานวนประชากรมาก จึงมีปริมาณความ ต้องการของสินค้าสูงตามไปด้วย อีกทั้งยังเป็นมณฑลหนึ่งเดียวของจีนท่ีอยู่ในกรอบความ ร่วมมือประเทศ อนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง (Greater Mekong Sub-region: GMS) เป็นมณฑล หน้าด่านของการค้าของจีนตอนใต้ รวมทั้งเป็นมณฑลท่ีมีสถานท่ีท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง อัน เน่ืองมาจากความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติ ชาติพันธ์ุ ความมีชื่อเสียงของแหล่ง ท่องเทย่ี ว 2.2 ข้อมูลพื้นฐานดา้ นการทอ่ งเท่ยี ว 2.2.1 อาเภอแม่สาย จังหวดั เชีงราย 2.2.1.1 สถานท่ีทอ่ งเท่ียว สถานท่ที ่องเที่ยวที่น่าสนใจในอําเภอแม่สาย มีหลากหลาย ไดแ้ ก่ - ถ้าปุ่ม ถ้าปลา ถ้าเสาหินพญานาค ต้ังอยู่ที่ดอยจ้อง หมู่ท่ี 11 ตําบลโป่งผา ห่าง จากตัวอําเภอแม่สายไปทางทิศใต้ตามทางหลวงหมายเลข 110 ประมาณ 12 กิโลเมตร มีทาง แยกเข้าไปอีกประมาณ 2 กิโลเมตร ดอยจ้องเป็นภูเขาหินปูนจึงประกอบไปด้วย ถํ้าหินงอก ถา้ํ หินย้อย และทางนา้ํ ไหลมากมาย ถํ้าปุ่ม น้ันอยู่สูงขึ้นไปบนยอดเขา ต้องปืนข้ึนไป ภายในถํ้ามืดมาก การ ท่องเทยี่ วถํา้ ปุ่มจงึ ตอ้ งมีผู้นาํ ทางเทย่ี วชมความงดงามของธรรมชาตภิ ายในถํ้า ถํ้าปลา เป็นถ้ําหนึ่งท่ีมีน้ําไหลภายในถํ้า เคยมีปลาชนิดต่างๆ ทั้งใหญ่น้อย ว่ายออกมาให้ชมเป็นประจํา ภายในถํ้ายังมีพระพุทธรูปศิลปะพม่าสร้างขึ้นโดยพระภิกษุชาว พม่าประดิษฐานอยู่เมื่อกว่า 50 ปีก่อน ประชาชนท่ัวไปเรียกว่า “พระทรงเคร่ือง” อันเป็นที่ เลื่อมใสของประชาชนในบริเวณ ถา้ํ เสาหินพญานาค อยใู่ นบรเิ วณเดียวกนั กบั ถ้ําปุ่ม และถํ้าปลา เดิมต้องพาย เรือข้ามน้ําเขา้ ไปชม ภายหลงั ไดส้ รา้ งทางเดินเช่ือมถ้าํ ปลา เป็นระยะทาง 150 เมตร ภายในถ้ํามี หนิ งอก หนิ ยอ้ ย และยงั เป็นสถานทป่ี ฏิบตั ิธรรมด้วย - ขุนน้านางงอน ตั้งอยู่หมู่บ้านจ้อง หมู่ที่ 1 ตําบลโป่งผา ห่างจาก อําเภอแม่สายไป ทางทิศใต้ตามทางหลวงหมายเลข 110 ไปประมาณ 9 กิโลเมตร แล้วแยกไปทางขวาอีก 2 กโิ ลเมตร เป็นสถานทีท่ ี่มแี อง่ นํ้าไหลจากถ้ําบริเวณเชิงดอยจ้องซ่ึงมีหลายถ้ํา น้ําในแอ่งใสเย็น มี ความร่มร่ืนด้วยไม้น้อยใหญ่ ประชาชนในท้องถ่ินนิยมเข้ามาพักผ่อน (บริษัท ไทยทัวร์ อินโฟ จาํ กัด, 2552)

การท่องเที่ยวและการคา้ ณ อาเภอแม่สาย จงั หวัดเชียงราย____15 - ถ้าผาจม ต้ังอยู่หมู่ที่ 1 ตําบลแม่สาย อยู่ห่างจากตําบลแม่สายไปทางทิศเหนือ ประมาณ 1.5 กิโลเมตร ถํ้าผาจมต้ังอยู่บนดอยอีกลูกหน่ึงทางทิศตะวันตกของดอยเวา ติดกับ แม่น้ําสาย เคยเป็นสถานที่ซ่ึงพระภิกษุสงฆ์น่ังบําเพ็ญเพียรภาวนา เช่น พระอาจารย์ม่ัน ภรู ิทัตโต ปัจจุบนั มีรูปปน้ั พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ประดิษฐานไว้บนดอย ภายในถํ้าผาจมมีหิน งอก หนิ ยอ้ ยอยตู่ ามผนงั ถ้าํ และเพดานถํา้ มีความสวยงามวิจติ รตระการตา - พระธาตดุ อยเวา ต้ังอยหู่ มู่ท่ี 1 ตําบลแม่สายก่อนถึงชายแดนแม่สายประมาณ 100 เมตร บนดอยริมฝ่ังแม่น้ําสาย ตามประวัติกล่าวว่าพระองค์เวาหรือเว้า ผู้ครองนครโยนก นาคพันธุ์เป็นผู้สร้างเพื่อบรรจุพระเกศาธาตุองค์หนึ่งเม่ือ ปี พ.ศ.364 นับเป็นพระบรมธาตุท่ี เก่าแก่องค์หน่ึงรองมาจากพระบรมธาตุดอยตุง นอกจากน้ีบนดอยเวายังเป็นจุดชมทิวทัศน์ของ อําเภอแม่สาย และจังหวัดท่าขี้เหล็กทางฝ่ังสหภาพพม่าได้อย่างชัดเจน สามารถนํารถขึ้นไป จนถงึ พระธาตไุ ด้ (ศนู ย์บรหิ ารจดั การการท่องเทย่ี วจังหวัดเชียงราย, 2552) 2.2.1.2 แหลง่ ช๊อปป้ิง - ตลาดชายแดนแม่สาย เป็นตลาดการค้าชายแดนที่มีช่ือเสียงมานานหลายสิบปี เนื่องจากชาวพม่าและชนกลุ่มน้อยจะเข้ามาซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคต่างๆ จากฝ่ังไทยอย่าง คึกคักเดิมนักท่องเท่ียวสามารถเดินข้ามไปท่องเท่ียวท่าข้ีเหล็กได้โดยไม่ต้องออกหนังสือผ่าน แดนภายหลงั เกิดการต่อสู้ระหว่างรัฐบาลพม่ากับกองกําลังชนกลุ่มน้อย ทําให้เป็นปัญหาความ ขดั แย้งระหว่างสองประเทศ จึงมีการปิดด่านอยู่บ่อยครั้ง แต่ก็มีการเจรจาจนสถานการณ์ความ ตึงเครียดคลี่คลายไปได้ด้วยดี อย่างไรก็ตามปัญหาชนกลุ่มน้อย ปัญหาคนหลบหนีเข้าเมือง และปัญหายาเสพตดิ ทาํ ให้การผา่ นแดนตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งเข้มงวด คนไทยจึงต้องทําหนังสือผ่าน แดนหากต้องการเดินทางข้ามไปท่องเที่ยวที่ฝั่งท่าข้ีเหล็กของสหภาพพม่า (สํานักงานการ ท่องเที่ยวและกีฬา จงั หวดั เชยี งราย, 2552) ปัจจุบันตลาดแม่สายเป็นแหล่งช้อปปิ้งสินค้าแหล่งใหญ่ ร้านค้าเรียงรายอยู่ริมสองฝ่ัง ถนนพหลโยธินช่วงที่ว่าการอาํ เภอเมืองแมส่ ายถึงช่วงสะพานข้ามแม่น้ําสาย สําหรับย่านการค้า ของตลาดแม่สายมีอยูห่ ลายแหล่ง ไดแ้ ก่ กลมุ่ การคา้ ริมสองฝั่งถนนพหลโยธิน เป็นบรเิ วณท่ีมนี ักท่องเท่ียวจํานวนมากท่ีสุด แยก แหล่งขายสนิ คา้ ตามประเภทได้ดงั นี้ - ย่านสินค้าประเภทอาหารแห้ง ต้ังอยู่บริเวณเชิงสะพานข้ามแม่น้ําสาย ร้านค้ามีลักษณะเป็นแบบแผงลอยวางขายสินค้าประเภท เมล็ดทานตะวัน ถ่ัวปะจี ถ่ัวปากอ้า

16_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ในลุม่ นาโขง เห็ดหอมแห้ง ผลไม้เชื่อมอบแห้ง สาหร่ายทะเล เห็ดหูหนูขาว รังนก และผลิตภัณฑ์จากป่า เช่น หวาย ไม้ไผ่ และจ๊ักค่าน สินค้าเหล่าน้ีราคาไม่สูงนัก นักท่องเท่ียวส่วนใหญ่จึงนิยมซื้อ เพราะมี ราคาถูกกวา่ สนิ คา้ ชนดิ อืน่ - ย่านสินค้าประเภทเคร่ืองประดับ อยู่ถัดออกมาทางด้านใต้ของย่านสินค้า อาหารแห้ง บริเวณน้ีมีร้านขายสินค้าเครื่องประดับ เช่น กําไล แหวนที่ทําด้วยเงิน และหินสี คล้ายหยก และมีราคาไมส่ ูงมากนัก - ยา่ นสินค้าเส้ือผา้ และอาหาร อยูถ่ ัดออกมาดา้ นทิศใตข้ องยา่ นสินค้าประเภท เครอ่ื งประดับ บริเวณน้ีมีร้านขายเสื้อผา้ ปะปนอยู่ - ย่านสินค้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า ซีดี และของเล่น อยู่ถัดออกมาจากย่าน สินค้าประเภทเครอื่ งประดับ ทางดา้ นทิศตะวันตกของถนนพหลโยธิน บรเิ วณทางเข้าวดั พระธาตุ ดอยเวา บริเวณนี้ประกอบด้วยร้านขายเคร่ืองเล่นซีดี แผ่นซีดี วิทยุ ตุ๊กตา และของเล่นเด็ก ปะปนกันอยจู่ าํ นวนมาก กลุ่มการค้าบริเวณถนนสายลมจอย อยู่ติดกับแม่น้ําสายเป็นถนนสายรองที่แยกจาก ถนนพหลโยธินเชิงสะพานข้ามแม่น้ําสายไปทางทศิ ตะวนั ตก ประกอบดว้ ย - ย่านสินค้าประเภทเสื้อผ้า ตั้งอยู่ถัดจากสินค้าประเภทอาหารแห้ง เสื้อผ้า สาํ เรจ็ รปู ของสตรี หมวก เส้ือยืด ผ้าผืนและผ้าทอ กลุ่มสินค้าวัสดุก่อสร้างบริเวณถนนเหมืองแดง เป็นถนนท่ีแยกจากถนนพหลโยธินไป ทางทิศตะวันออกของเมือง มีร้านค้าและคลังสินค้าก่อสร้างจํานวนมาก โดยเฉพาะร้านเคร่ือง เหล็กและอุปกรณ์การกอ่ สร้าง (สืบพงษ์ พงษส์ วสั ดิ์, 2546) 2.2.1.3 ทีพ่ กั และรา้ นอาหาร ในส่วนของทีพ่ กั และร้านอาหารในอําเภอแมส่ ายน้ัน มีท่ีพักประเภทโรงแรมและรีสอร์ท มี 41 แห่ง ที่พักแบบเกสเฮ้าส์ 9 แห่ง และร้านอาหารจํานวน 16 ร้าน (สํานักงานการท่องเท่ียว และกีฬา จงั หวดั เชียงราย, 2552) ในปี พ.ศ. 2551 มีจํานวนนักท่องเที่ยวเดินทางทางผ่านด่านพรมแดนแม่สาย 62,370 คน ซึ่งมีจํานวนลดลงจากปี พ.ศ. 2550 ที่มีจํานวนนักท่องเท่ียว 69,296 คน (อัตราการเติบโต ลดลงร้อยละ -9.99) แตใ่ น ปี พ.ศ.2549 มีจํานวนนกั ท่องเทีย่ วเดินทางผ่านเข้า-ออก ประเทศสูง กว่า 100,000 คน เน่ืองจากได้อานิสงสจ์ ากงานพชื สวนโลก (ตารางที่ 2-1)

การท่องเที่ยวและการคา้ ณ อาเภอแม่สาย จงั หวัดเชียงราย____17 ภาพที่ 2-4 สถานท่ที าบตั รผ่านแดน ณ ทวี่ า่ การอาเภอแมส่ าย จังหวัดเชียงราย ตารางที่ 2-1: จานวนนกั ทอ่ งเท่ยี วเดนิ ทางผา่ นแดนเขา้ - ออก ณ จุดผ่านแดน อาเภอ แม่สาย ปี พ.ศ. 2545 – 2552 ปี พ.ศ. เดนิ ทางเข้า อตั ราการเติบโต เดนิ ทางออก อัตราการเตบิ โต (คน) เดนิ ทางเขา้ (คน) เดนิ ทางออก 2545 (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) 2546 43,992 N/A 36,792 N/A 2547 66,144 50.35 59,292 61.15 2548 82,224 24.31 81,975 38.26 2549 99,680 21.23 95,366 16.34 2550 114,945 15.31 107,681 12.91 2551 69296 -39.71 76,985 -28.51 62370 -9.99 76,212 -1.00

18_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการคา้ ในลุม่ นาโขง ตารางที่ 2-1(ต่อ): จานวนนักท่องเท่ียวเดนิ ทางผา่ นแดนเขา้ - ออก ณ จดุ ผา่ นแดน อาเภอแม่สาย ปี พ.ศ. 2545 – 2552 ปี พ.ศ. เดนิ ทางเข้า อตั ราการเติบโต เดินทางออก อตั ราการเติบโต (คน) เดินทางเขา้ (คน) เดนิ ทางออก (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 2552 60,557 -2.91 68,703 -9.85 รวม 599,208 603,006 ท่ีมา: ปรับปรุงจาก สถิติการเดินทางเข้า – ออก ราชอาณาจักร จําแนกตามหน่วยงานประเภทการตรวจลงตรา เดือน มกราคม – ธนั วาคม 2545 – 2552, สาํ นักงานตรวจคนเข้าเมือง. 2553. สําหรับนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางข้ามแดนไปยังฝั่งจังหวัดท่าข้ีเหล็ก สหภาพพม่าน้ัน จะต้องทําหนังสือผ่านแดน ปัจจุบันสถานที่ทําบัตรผ่านแดนแม่สายมีอยู่เพียงจุดเดียว คือ อาคารหอประชุมพรหมมหาราชในท่ีว่าการอําเภอแม่สาย สําหรับหลักฐานในการทําบัตรผ่าน แดน ตอ้ งมีการเตรยี มเอกสาร ประกอบดว้ ยบตั รประจาํ ตวั ประชาชน หรือบตั รทีท่ างราชการออก ให้โดยมีหมายเลขประจําตัว 13 หลัก และค่าทําเนียมในการออกหนังสือผ่านแดนคนละ 30 บาท และค่าผ่านแดนในสหภาพพม่าอีกคนละ 10 บาท ด่านแม่สายเปิดทุกวัน เวลา 6.30 – 18.30 น เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยวท้ังชาวไทย และชาวต่างชาติ ได้เข้ามาท่องเท่ียวจับจ่ายซ้ือ สินคา้ และเปน็ ประตเู ดนิ ทางสู่ ตลาดท่าขเ้ี หลก็ และสหภาพพม่าต่อไป 2.2.2 จังหวดั ทา่ ข้ีเหลก็ สหภาพพมา่ สถานท่ีท่องเที่ยวที่สําคัญของจังหวัดท่าขี้เหล็กน้ัน มีความหลากหลายเช่นเดียวกับ อําเภอแมส่ าย ของประเทศไทย ซึ่งสถานที่ท่องเที่ยวทน่ี ่าสนใจของจงั หวดั ท่าขเ้ี หลก็ อาทิ - ตลาดท่าขี้เหล็ก เป็นตลาดการค้าชายแดนท่ีมีสินค้าขายหลากหลายชนิด เช่นเดียวกับตลาดแม่สายของฝ่ังประเทศไทย ซึ่งสินค้าท่ีนํามาขายในตลาดท่าขี้เหล็กนั้นเป็น ของพ้ืนเมืองพม่า และจากสาธารณรัฐประชาชนจีน มีสินค้าของเลียนแบบแบรนด์เนม ยาสมุนไพร เสื้อผ้า นักท่องเที่ยวชาวไทยสามารถใช้เงินบาทในการเลือกจับจ่ายสินค้าได้ตลาด ท่าขี้เหลก็ - เจดีย์ชเวดากองจาลอง เป็นเจดีย์ที่จําลองแบบมาจากมหาเจดีย์ชเวดากองใน กรุงย่างกุ้ง เมืองหลวงเก่าของสหภาพพม่า อยู่ห่างจากชายแดน บริเวณตลาดท่าข้ีเหล็กไป

การท่องเที่ยวและการคา้ ณ อาเภอแม่สาย จงั หวัดเชียงราย____19 ประมาณ 2 กิโลเมตร นาํ นักทอ่ งเที่ยวไปชม และนมัสการเจดีย์ชเวดากองจําลองได้ ซ่ึงมีบริการ รถโดยสาร สามล้อ และสองแถว 2.2.3 จีนตอนใต้ สาธารณรฐั ประชาชนจีน มลฑลยนู นาน มสี ถานท่ีท่องเท่ียวทไ่ี ดร้ บั ความสนใจจากนักท่องเท่ยี วทั่วโลก เนื่องจาก มคี วามสําคญั มีความสวยงามทางธรรมชาติ และความหลากหลายของภมู ปิ ระเทศ อาทิ - เมืองเก่าล่ีเจียง ตั้งอยู่มณฑลยูนนาน เป็นเมืองที่มีภูมิทัศน์ธรรมชาติที่เรียบง่าย งดงาม มีวัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่นเป็นเอกลักษณ์ ของชนชาติน่าซี เมืองเก่าลี่เจียงสร้าง ขึ้นราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 13 ซ่ึงเป็นปลายราชวงศ์ซ่ง ต้นราชวงศ์หยวน ต้ังอยู่บนท่ีราบสูงเหนือระดับนํ้าทะเล 2,400 เมตร มีเน้ือที่ประมาณ 4 ตารางกิโลเมตร โดยอยบู่ ริเวณเชิงเขาหิมะ \"มังกรหยก\" หรือ \"อี้ว์หลงซัน\" ซ่ึงมียอดเขาที่ปกคลุม ดว้ ยนํ้าแข็งตลอดทัง้ ปี ในบริเวณดงั กลา่ วนี้ มีชนชาตติ า่ งๆ กวา่ 10 ชนชาติอาศัยอยู่ อาทิ น่าซี ล่ี ซู่ ผหู่ มี่ ฮ่นั ไป๋ อ๋ี และทิเบต เป็นต้น และชนชาติน่าซีมปี ระชากรคิดเป็นประมาณร้อยละ 70 ของ ประชากรทั้งหมดในทอ้ งถิน่ แห่งนี้ ลักษณะพิเศษของเมืองเก่าล่ีเจียงคือ \"เมืองสร้างข้ึนเลียบลําน้ํา และธารนํ้าอยู่เลียบ เมือง\" ส่วนสระน้ํา \"มังกรดํา\" หรือ \"เฮยหลงถัน\" ท่ีอยู่ทางภาคเหนือเป็นแหล่งน้ําสําคัญที่หล่อ เลี้ยงเมอื งเกา่ แห่งนี้ มถี นนสายสําคัญ และตกึ รามบ้านช่องที่ตั้งอยู่ริมน้ํา และจุดสนใจของเมือง เก่าลีเ่ จียง คือ สะพานท่มี จี ํานวนมากถึง 354 สะพาน โดยมโี ครงสร้างทีห่ ลากหลาย ไมว่ า่ จะเปน็ แบบโคง้ แบบระเบียงยาว ท้ังที่สร้างด้วยไม้และหิน สะพานเหล่าน้ีส่วนใหญ่เป็นสะพานท่ีสร้าง ขึ้นในช่วงสมัยราชวงศ์หมิงและชิง ชนชาติน่าซีได้สร้างวัฒนธรรมทางชนชาติที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวตั้งแตย่ คุ โบราณกาล เนื่องจากมีความสัมพันธ์เกี่ยวเน่ืองกับความเชื่อในศาสนาตงปา ซ่ึงมีรากฐานมาจากความเช่ือเรื่องการนับถือภูตผี ของชนชาติน่าซี และได้ซึมซับเอาวัฒนธรรม ทางศาสนาของชนชาติทิเบตเขา้ ไวด้ ว้ ยจนเกดิ การผสมผสานกัน จนกลายเปน็ \"วัฒนธรรมตงปา\" \"ตงปา\"เป็นภาษาน่าซี หมายความว่า\"ผู้มีปัญญา\" วัฒนธรรมตงปาท่ีสําคัญ ประกอบด้วยอักษรภาพ คัมภีร์ทางศาสนา ภาพวาด งานศิลปะ ดนตรี การเต้นระบํา ตําหรับตําราและพิธีกรรมทางศาสนา เป็นต้น อักษรภาพตงปามีจํานวนทั้งหมด1,400 ตัวและ ยังคงใช้อยู่จนกระท่ังทุกวันนี้ จึงได้รับการยกย่องชมเชยว่าเป็น\" อักษรภาพที่มีชีวิตเพียงหนึ่ง เดียวในปัจจุบันของโลก\"และได้รับการกล่าวขวัญว่า เป็นมรดกทางวัฒนธรรมทรงคุณค่าของ

20_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวและการคา้ ในลุม่ นาโขง มนุษยชาติ อักษรภาพตงปาไดร้ บั ความสนใจจากวงวิชาการ สากลตั้งแต่ทศวรรษปี1970 และมี ผู้ศึกษาวจิ ยั เรื่องน้ีเป็นจํานวนมาก (China Radio International, 2552) - ปา่ หินยูนนาน ตามประวตั ศิ าสตร์กระบวนการก่อรปู ของป่าหิน เม่ือ 270 ล้านปีก่อน พบว่าในพื้นท่ีบริเวณน้ีเคยเป็นทะเล การเคล่ือนไหวของเปลือกโลกทําให้พื้นท่ีลุ่มแห่งนี้ค่อยๆ สูงขึ้น ทะเลแห้งเหือดไป ท่ีราบตํ่ากลายเป็นภูเขา ในกระบวนการทั้งหมดนี้ ก้อนหินทั้งหลาย คอ่ ยๆ เตบิ โตขน้ึ เร่ือยๆ ในน้ํา และได้ผา่ นการทดสอบของภเู ขาไฟ การเคลื่อนไหวของเปลือกโลก ทําให้ก้อนหินเหล่าน้ีค่อยๆ สูงข้ึน เม่ือหินผาข้างบนถูกลาวาจากภูเขาไฟละลาย ป่าหินค่อยๆ ปรากฏขนึ้ มา ซงึ่ ป่าหินทง้ั หมดนี้ไม่ได้เกิดข้ึนในระยะเดยี วกนั ป่าหินได้สะท้อนให้เห็นถึงการเปล่ียนแปลงของเปลือกโลกด้วยภูมิลักษณ์แบบคาสต์ (Karst landform) กเ็ นอื่ งจากมีคุณค่าสาํ คญั ทางวทิ ยาศาสตร์ และมีคุณค่าทางสนุ ทรียศาสตร์ท่ี มีเอกลักษณ์ ทําให้ป่าหินได้รับเลือกจากองค์การยูเนสโก้สหประชาชาติเมื่อ ปี พ.ศ. 2546 เป็น อุทยานธรณีวิทยารุ่นแรกของโลกและได้รับเลือกเข้าสู่บัญชีรายช่ือมรดกโลกทางธรรมชาติในที่ ประชมุ ของมรดกโลกเมอ่ื ปี พ.ศ. 2549 (China Radio International, 2552) - เมืองเก่าต้าล่ี ตัง้ อยูท่ างตะวันตกของมณฑลยูนนาน เป็นแหล่งชุมชนสําคัญของชน ชาติไป๋ ซ่ึงเป็น 1 ใน 55 ชนชาตสิ ่วนนอ้ ยของจีน มีเนื้อที่ประมาณ 6 ตารางกิโลเมตร ถนนในตัว เมืองต้าหล่ี ตัดกันเป็นตาหมากรุก มีธารนํ้าใสสะอาดที่คู่ขนานกับถนน ทางเดินปูอิฐสีเทาอ่อน กําแพงบ้านเรือนสร้างจากหินไข่ห่าน ตลอดจนหลังคาสีเทาเข้มล้วนสร้างบรรยากาศเรียบง่าย แบบโบราณ แม้มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 600 ปีแล้ว เมืองต้าหลี่ก็ยังคงรักษาผังเมืองเก่า ดง้ั เดิมไว้ไดด้ ี มสี ิง่ ปลูกสร้างเก่าแก่กระจายอยู่ในตัวเมือง นอกจากนี้ยังมีวัฒนธรรมการดื่มชาที่ เป็นจดุ ดดู นักท่องเที่ยวใหเ้ ข้าไปยงั เมอื งเก่าตา้ หล่ี (China Radio International, 2552) - ภูเขาหิมะมังกรหยก หรือ อว้ีหลงเซ่ียซาน เป็นภูเขาสูง มีหิมะปกคลุมอยู่ตลอด ทั้งปี ทิวเขาแห่งน้ีประกอบไปด้วยสภาพแวดล้อมต่างๆ ท้ังหุบห้วย ธารนํ้า แนวผา และทุ่งหญ้า น่าซี ทิวเขาแห่งนี้เม่ือมองจากระยะไกล จะเห็นเป็นลักษณะคล้ายมังกรกําลังเล้ือย สีขาวของ หิมะท่ีปกคลุมอยู่น้ันดูราวกับหยกขาว ท่ีตัดกับสีนํ้าเงินของท้องฟ้า คล้ายมังกรขาวบนฟากฟ้า ทิวเขาแห่งนี้จึงได้ช่ือว่า ภูเขาหิมะมังกรหยก JADE DRAGON SNOW MOUNTAIN นกั ท่องเท่ยี วสามารถนัง่ กระเช้าไฟฟา้ ไปยังจุดชมววิ บนยอดเขาท่ีความสูงกว่า 3,356 เมตร และ สูงกว่าระดับน้ําทะเลถึง 4,506 เมตร เพื่อชมวิวทิวทัศน์และธรรมชาติบนจุดที่สวยงามที่สุด ตลอดสองข้างทางทีข่ ้นึ ยอดเขา (บรษิ ทั มารไิ ทม์ แทรเวล เซอรวชิ จํากดั . 2552)

การท่องเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภอแม่สาย จงั หวัดเชียงราย____21 นอกจากนย้ี ังมีแหลง่ ท่องเทีย่ วอื่นๆ อาทิ หุบเขาเสอื กระโจน ทะเลสาบหลูกูหู และเมือง จงเตย้ี น ในส่วนของโรงแรมท่ีพักจะกระจุกตัวอยู่ในเมืองคุณหมิงมากท่ีสุด และมีร้านอาหาร จํานวน มากมายคอยให้บรกิ ารแกน่ กั ท่องเทย่ี ว จํานวนของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเท่ียวยังมณฑลยูนนานมีจํานวนเพ่ิมสูงข้ึน ทกุ ปี โดยใน ปี พ.ศ. 2548 มจี ํานวนนักทอ่ งเท่ียวสูงถงึ กวา่ 1.00 ล้านคน เพิ่มสูงข้ึนจาก ปี พ.ศ. 2547 0.27 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 36.99 และเพิ่มสูงข้ึนอีก ใน ปี พ.ศ. 2549 มีจํานวน นักทอ่ งเทย่ี วเดนิ ทางเข้ามาท่องเทีย่ ว 1.82 ล้านคน เพิม่ สูงขึ้นจาก ปี พ.ศ. 2548 ไป 0.2 ล้านคน หรือเพ่ิมสูงข้ึนร้อยละ 82 และใน ปี พ.ศ. 2550 ก็มีจํานวนเพ่ิมสูงขึ้นเป็น 2.23 ล้านคน เพ่ิม สูงขน้ึ ร้อยละ 22.53และเพม่ิ สงู ข้ึนอย่างตอ่ เน่ืองในปี พ.ศ. 2551 และ 2552 ตามลาํ ดบั แตเ่ ปน็ ท่ี น่าสังเกตว่าใน ปี พ.ศ. 2546 จํานวนนักท่องเที่ยวลดลงจาก ปี พ.ศ. 2545 จาก 0.78 ล้านคน ลดลงไปอยู่ที่ 0.66 ล้านคน หรือลดลงไปร้อยละ -15.38 สาเหตุอันเน่ืองมาจากการแพร่ระบาด ของโรคซ่าร์สในเอเชีย แต่เม่ือเหตุการณ์กลับเข้าสู่ภาวะปกติ จํานวนนักท่องเที่ยวก็กลับเพ่ิม สูงขึน้ อีก ตามลาํ ดับ (ตารางที่ 2-2) ตารางที่ 2-2: จานวนนกั ทอ่ งเที่ยวต่างชาตทิ เ่ี ดนิ ทางเข้ามายังมณฑลยนู นาน ปี พ.ศ. 2545 - 2552 ปี พ.ศ. จานวนนกั ท่องเท่ียว อัตราการเติบโต (ลา้ นคน) (ร้อยละ) 2545 0.78 N/A 2546 0.66 -15.38 2547 0.73 10.61 2548 1.00 36.99 2549 1.82 82.00 2550 2.23 22.53 2551 2.50 12.20

22_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ในลุม่ นาโขง ตารางที่ 2-2 (ตอ่ ): จานวนนักท่องเทีย่ วตา่ งชาติทเี่ ดินทางเข้ามายังมณฑลยนู นาน ปี พ.ศ. 2545 - 2552 ปี พ.ศ. จานวนนกั ท่องเทย่ี ว อัตราการเติบโต (ลา้ นคน) (รอ้ ยละ) 2552 2.84 13.70 รวม 7.22 ที่มา: งุ จาก China National Tourism Office. 2003 – 2007 และ China National Tourism Adminstration 2007 – 2009. ในขณะเดียวกันรายได้จากการท่องเท่ียวก็เพิ่มสูงข้ึนด้วยเช่นกัน โดยใน ปี พ.ศ. 2552 มณฑลยนู นานมรี ายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วสงู ถงึ 1,172 ลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ เพมิ่ สงู ขนึ้ จาก ปี พ.ศ. 2551 ที่มีรายได้อยู่ที่ 1,008 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 16.34 แต่ใน ปี พ.ศ. 2546 รายได้จากการท่องเท่ียวของมณฑลยูนนานลดลงอยู่ที่ 340 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จาก ปี พ.ศ. 2545 ที่มีรายได้อยู่ที่ 419 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือลดลงไปร้อยละ -18.85 ซึ่งเป็นผล เน่ืองมาจากการแพร่ระบาดของโรคซ่าร์สนั่นเอง (ตารางท่ี 2-3) ตารางท่ี 2-3: รายได้จากการท่องเทย่ี วของมณฑลยนู นาน ปี พ.ศ. 2545 - 2552 ปี พ.ศ. รายไดจ้ ากการท่องเทย่ี ว อตั ราการเติบโต (ลา้ นเหรียญสหรัฐ) (ร้อยละ) 2545 419 N/A 2546 340 -18.85 2547 422 24.12 2548 528 25.12 2549 658 24.62 2550 860 30.70 2551 1.008 17.16 2552 1,172 16.34 รวม 4,400 ท่ีมา: China National Tourism Office. 2003 – 2007 และ China National Tourism Adminstration 2007 – 2009.

การท่องเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภอแม่สาย จงั หวัดเชียงราย____23 สาํ หรับนกั ทอ่ งเท่ียวทตี่ ้องการเดนิ ทางเขา้ ไปท่องเท่ยี วยงั มณฑลยนู นานน้ัน ตอ้ งทําการ ขอวีซ่าเข้าประเทศ โดยนักท่องเท่ียวชาวไทยสามารถขอวีซ่าได้จากสถานเอกอัคราชฑูต สาธารณรัฐประชาชนจนี ประจาํ ประเทศไทยถนนรัชดาภเิ ษก กรุงเทพมหานคร สถานกงสุลใหญ่ แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนประจําจังหวัดเชียงใหม่ และสถานกงสุลใหญ่แห่งสาธารณรัฐ ประชาชนจีนประจําจงั หวดั สงขลา 2.3 ข้อมลู พ้ืนฐานดา้ นการค้า 2.3.1 อาเภอแมส่ าย จังหวัดเชยี งราย การคา้ ชายแดนของอําเภอแม่สายเป็นการค้าการขนส่งที่ใช้เส้นทางถนนพหลโยธินเข้า สู่ด่านท่าข้ีเหล็กของสหภาพพม่า ผ่านการควบคุมของด่านศุลกากรแม่สาย ซ่ึงด่านศุลกากร แม่สายเป็นด่านศุลกากรทางบกท่ีมีอาณาเขตติดต่อกับพม่าระยะทางประมาณ 120 กิโลเมตร แบ่งเป็นทางบกประมาณ 95 กิโลเมตร และเป็นแม่น้ําสายประมาณ 25 กิโลเมตร ปัจจุบันด่าน แม่สายได้ร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องปฏิบัติพิธีการด้านการนําเข้า-ส่งออก จัดต้ังศูนย์บริการ เบ็ดเสร็จ (One Stop Service: OSS) เพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกอบการภายใน ระยะเวลาประกันแบบ One Day Clearance โดยดา่ นพรมแดนแม่สายได้นําระบบคอมพิวเตอร์ มาใชใ้ นการจัดเกบ็ อากรปากระวาง ด่านศุลกากรแม่สายมีด่านพรมแดนและจุดผ่อนปรนหลาย แหง่ (คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน, 2552) การค้าผ่านด่านแม่สายมีลักษณะการค้าส่ง และ การคา้ ปลีกระหว่างประชาชนที่อาศยั อยู่บริเวณชายแดนของฝ่ังไทย และท่าข้ีเหล็ก หรือข้ามเข้า มาซื้อสินค้าจากตลาดชายแดนแม่สายนํากลับไปจําหน่ายในตลาดท่าข้ีเหล็ก หรือในสหภาพ พมา่ อกี ทอดหนึ่ง ผูป้ ระกอบการคา้ ในอําเภอแม่สาย ทําการค้ากับพม่าทั้งในรูปแบบที่ดําเนินการส่งออก ด้วยตนเองหรือขายท่ีหน้าร้าน การค้าชายแดนในอําเภอแม่สายมีลักษณะปิดตัว แตกต่างกับ การค้าชายแดนท่ีอําเภอแม่สอด โดยพ่อค้าเป็นกลุ่มที่ทําการค้าชายแดนมาต้ังแต่ในอดีตและ เป็นท่ีรจู้ ักกันภายในกลุม่ เท่านนั้ รวมท้งั ตอ้ งอาศยั ความไวว้ างใจในการทําการคา้ หรอื เป็นการค้า ในกลุ่มของเครือญาติ อย่างไรก็ตาม พ่อค้าอําเภอแม่สายบางส่วนได้เร่ิมหันไปค้าขายกับ สาธารณรัฐประชาชนจีนมากข้ึนเพ่ือลดความไม่แน่นอนทางการค้ากับสหภาพพม่าจากปัญหา การปิดพรมแดนบ่อยคร้ัง (สํานักงานภาค และสายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2548)

24_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วและการค้าในลุ่มนาโขง ผ้ปู ระกอบการท่ีทําการค้าชายแดนอาํ เภอแมส่ ายนั้นมีทั้งผู้ประกอบการในพ้ืนท่ีจังหวัด เชียงรายเอง และผู้ประกอบการจากต่างถ่ิน การค้าชายแดนมีรูปแบบของการค้าและการ เคล่ือนยา้ ยสินค้าทั้งหมด 4 รปู แบบ ดงั นี้ - รูปแบบที่ 1 พ่อค้าชายแดนเป็นผู้รวบรวมสินค้าทั้งจากกรุงเทพมหานครและใน ทอ้ งถิ่น ตามคําสงั่ ซอ้ื ของพอ่ ค้าชาวพมา่ และส่งมอบสนิ คา้ ทช่ี ายแดน - รูปแบบท่ี 2 พ่อคา้ ชายแดนทําหน้าท่เี ป็นตวั แทนจําหน่ายสินค้าให้กับบริษัทผู้ผลิต จากส่วนกลาง ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มพ่อค้าที่ติดต่อค้าขายกันมานาน และเป็นพ่อค้า รายใหญ่ในทอ้ งถิ่น - รปู แบบท่ี 3 บริษัทในกรุงเทพมหานครเปน็ ผผู้ ลิตและส่งออกเองโดยตรง รวมถึงมีคู่ ค้าพม่าเข้ามาติดต่อกับบริษัทผู้ผลิตในส่วนกลางเองโดยไม่ผ่านพ่อค้าชายแดน สง่ ผลให้สว่ นแบง่ การตลาดของพอ่ คา้ ชายแดนในอาํ เภอแม่สายลดลง - รปู แบบที่ 4 การจําหนา่ ยโดยตรงจากร้านค้าในอาํ เภอแม่สาย กรณีนี้คู่ค้าพม่าหรือ ประชาชนชาวพม่าจะขา้ มฝั่งเขา้ มาซือ้ เองโดยตรง ลักษณะนจ้ี ะมรี ปู แบบการค้าท้ัง การค้าปลีกและการคา้ สง่ (สาํ นักงานภาค และสายนโยบายการเงิน ธนาคารแหง่ ประเทศไทย, 2548) การขนส่งสินค้าระหว่างไทย และสหภาพพม่า ในอําเภอแม่สายน้ัน สามารถทําการ ขนส่งผ่านแดนได้ทั้งจุดผ่านถาวร และจุดผ่อนปรนทั้ง 4 จุด ได้แก่ จุดผ่อนปรนท่าบ้าน สายลมจอย จุดผ่อนปรนท่าบ้านเกาะทราย จุดผ่อนปรนท่าบ้านปางห้า (ห้ามยานพาหนะ เขา้ -ออก ตงั้ แต่ 8 พฤศจกิ ายน 2543) จดุ ผ่อนปรนท่าดินดาํ บา้ นปา่ แดง สินคา้ 10 อันดบั แรกท่ีประเทศไทยส่งออกไปยังด่านทา่ ข้เี หล็กในปีงบประมาณ 2552 มี มูลค่ามากกว่ามูลค่าของสินค้า 10 อับดับแรก ที่นําเข้าผ่านด่านศุลกากรแม่สาย โดยสินค้าที่ ส่งออก 3 อันดับแรกได้แก่ น้ํามันเชื่อเพลิง สุราต่างประเทศ และยางรถยนต์ตามลําดับ ส่วน สินค้าท่ีประเทศไทยนําเข้าผ่านแดนผ่านด่านศุลกากรแม่สาย 3 อันดับแรก ได้แก่ ไม้สักซุง ผล สม้ สด และเครือ่ งแต่งกาย ตามลาํ ดับ (ตารางท่ี 2-4 และตารางที่ 2-5)

การท่องเที่ยวและการคา้ ณ อาเภอแม่สาย จงั หวัดเชียงราย____25 ตารางที่ 2-4: สถติ ิการนาเขา้ – ส่งออกสนิ คา้ สินค้า 10 อันดับ ปีงบประมาณ 2552 ด่านศลุ กากรแม่สาย หน่วย : ล้านบาท ลาดับ ชนดิ สนิ ค้านาเขา้ มูลคา่ ชนดิ สินคา้ ส่งออก มลู คา่ 1 ไมส้ กั ซงุ 233.53 นาํ้ มันเช้ือเพลิง 678.68 2 ผลส้มสด 34.38 สุราตา่ งประเทศ (สนิ ค้าออกคลังฯ) 482.93 3 เครอื่ งแต่งกาย 27.65 ยางรถยนต์ 284.65 4 กระเทียม 27.09 สังกะสมี งุ หลังคา 260.74 5 หมวก 8.45 กาแฟปรงุ สาํ เรจ็ 209.38 6 เปลือกบง 6.59 ปูนซีเมนต์ 162.36 7 วัสดุก่อสรา้ ง 3.49 นา้ํ มันหล่อลื่น 94.79 8 ชังดอกห้า 1.88 อะไหล่รถจักรยานยนต์ 62.07 9 หวาย 1.06 น้ํามนั ปาลม์ 30.13 10 เบ็ดเตล็ด 15.33 เบด็ เตลด็ 1,933.74 รวม 359.45 4,199.47 ทีม่ า: ปรบั ปรุงจาก ด่านศุลกากรแมส่ าย, สถิติ-ขอ้ มลู การคา้ . 2553. ตารางที่ 2-5: มูลค่าสนิ ค้านาเข้า – สง่ ออก ปงี บประมาณ 2540 – 2552 ด่านศลุ กากร แมส่ าย หนว่ ย: ล้านบาท ปีงบ มลู คา่ มลู ค่า อตั ราการ อัตราการ ช่วงเวลาสหภาพ ประมาณ นาเขา้ สง่ ออก เตบิ โต เตบิ โต พมา่ ปิดพรมแดน การนาเข้า การส่งออก (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) 2540 97.74 2,605.98 N/A N/A 2541 202.43 2,095.23 107.11 -19.6 2542 154.36 1,977.23 -23.75 -5.63 2543 48.95 1,937.85 -68.29 -1.99 1) 2 ต.ค. - 23 พ.ย. 42 (1เดอื น 21 วนั )

26_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการค้าในลุม่ นาโขง ตารางที่ 2-5 (ตอ่ ): มลู คา่ สนิ คา้ นาเข้า – ส่งออก ปงี บประมาณ 2540 – 2552 ด่าน ศลุ กากร แม่สาย หนว่ ย: ลา้ นบาท ปีงบ มูลค่า มูลค่า อตั ราการ อตั ราการ ชว่ งเวลาสหภาพ ประมาณ นาเขา้ ส่งออก เตบิ โต เติบโต พม่าปดิ พรมแดน การนาเขา้ การส่งออก (ร้อยละ) (ร้อยละ) 2544 55.61 949.23 13.61 -51.02 2) 13 ก.พ. - 23 มิ.ย. 44 (4เดอื น 10 วัน) 2545 91.22 1,049.47 64.04 10.56 3) 22 พ.ค. - 15 ต.ค. 45 (4เดอื น 23 วัน) 2546 85.20 1,564.10 -6.6 49.04 2547 498.39 1,915.42 484.96 22.46 2548 385.99 1,916.59 -22.55 0.06 2549 306.58 2,111.89 -20.57 10.19 4) 20 ก.ย. – 24 ก.ย. 49 (4วนั ) 2550 717.01 2,489.38 133.87 17.87 2551 254.37 3,705.78 -64.52 48.86 2552 359.42 4,259.47 41.30 14.94 ท่มี า: ปรบั ปรุงจากดา่ นศุลกากรแม่สาย, ผลงานประจําปี 2550 และ สถิติ-ขอ้ มูลการค้า. 2553. การค้าชายแดนของอําเภอแม่สายจึงมีความสําคัญต่อการค้าของประเทศ และ ภาคเหนือของประเทศไทยเพราะปริมาณการค้าชายแดนมีปริมาณเพิ่มสูงข้ึนทุกปี จึงเป็นแหล่ง กระจายสินคา้ ในประเทศไทยออกสู่สหภาพพม่า และสาธารณรัฐประชาชนจีน ประกอบกับเม่ือ มีการทาํ ขอ้ ตกลงเร่อื งงดเวน้ ภาษีอากรสินคา้ ทางการเกษตร ระหวา่ งประเทศไทยกับสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และข้อตกลงด้านการค้าต่างๆ ล้วนส่งผลให้ปริมาณการค้า และมูลค่าการค้า ชายแดนเพิม่ สงู ขึ้นไปพรอ้ มกนั ดว้ ย

การท่องเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภอแม่สาย จงั หวัดเชียงราย____27 2.3.2 จงั หวัดท่าขี้เหลก็ สหภาพพมา่ จุดการค้าที่สําคัญของจังหวัดท่าขี้เหล็ก คือจุดการค้าด้านท่ีมีอาณาเขตติดต่อกับ อําเภอแม่สาย ซึ่งมูลค่าการนําเข้าสินค้าจากประเทศไทยผ่านเข้าไปยังจังหวัดท่าข้ีเหล็กมี มากกว่ามูลค่าการส่งออกสินค้ามายังประเทศไทย จึงทําให้สหภาพพม่าเสียดุลการค้าให้กับ ประเทศไทยเกือบทกุ ปี 2.3.3 จนี ตอนใต้ สาธารณรัฐประชาชนจนี การค้าชายแดนระหว่างประเทศไทยและมณฑฃยูนนาน ทางด่านอําเภอแม่สาย เป็น การคา้ ทางบกท่ใี ชเ้ ส้นทางผ่านสหภาพพมา่ โดยเรม่ิ จาก อาํ เภอแมส่ าย – ท่าขีเ้ หลก็ – เชียงตุง – ต้าหลัว (ชายแดนจีน) – มณฑลยูนนาน ระยะทางประมาณ 253 กิโลเมตร ซึ่งปริมาณการค้า ของยูนนานและอําเภอแม่สายของไทยมีปริมาณน้อย เนื่องจากเป็นการขนส่งทางบก อุปสรรค จากความสูง ชันของเส้นท างและข้อจํากัดของการ ข นส่งโดย รถบ รรทุกของท้ัง ประเทศไท ย สหภาพพม่า และสาธารณรัฐประชาชนจีนน้ันเอง ยูนนานมีเมืองท่าเปิดระดับชาติ 10 แห่ง เป็นเมืองท่าสนามบิน 2 แห่ง ได้แก่ นครคุณหมิง และเมืองเชียงตุง เมืองท่าทางนํ้า 2 แห่ง ได้แก่ เมืองซือเหม่า และเมืองเชียงรุ่ง และเมืองท่าทางบก 6 แห่ง ได้แก่ เมืองรุ่ยลี่ หว่านติง เหอโขว่ ม่อฮาน เทียนเป่า และจินสุยเหอ นอกจากน้ียังมเี มืองทา่ ในระดบั มณฑล 8 แห่ง ประกอบดว้ ย เมืองเพี่ยนหม่า ในเขตนู่เจียง เมือง อ๋ิงเจียง และจางเฟ่ิง ในเขตเต๋อหง เมืองหนานส่วน ในอําเภอเจิ้นตัง และเมิ่งติ้ง ในอําเภอเกิ๋ง เหมา่ เขตหลินชาง เมอื งเทงิ่ เหลียน ในเขตซอื เหมา่ เมืองเถิงชง เขตเป่าซาน เมืองต้าหลัว ในเขต สิบสองปันนา และมีเส้นทางทางการติดต่อด้านการค้าส่งออกมากกว่า 100 เส้นทาง (คณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทนุ . 2552.)

การท่องเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก_____27 บทที่ 3 การทอ่ งเทยี่ วและการคา้ ณ อาเภอแมส่ อด จงั หวัดตาก 3.1 ขอ้ มลู พืน้ ฐานทวั่ ไป 3.1.2 อาเภอเมอื ง จงั หวัดตาก อําเภอแม่สอด จังหวัดตาก เป็นอําเภอท่ีมีการค้าระหว่างประเทศไทยกับสหภาพพม่า เนื่องจากเปน็ อําเภอท่อี ยู่ติดชายแดน และเป็นท่ีตั้งจุดผ่านแดนถาวร ด่านพรมแดน ท่าสายลวด เช่ือมโยงเมืองเมียวดี (รัฐกระเหรี่ยง) สหภาพพม่า ด้วยสะพานมิตรภาพไทย – พม่า ซึ่งเป็น สะพานขนาด 2 ช่องจราจร อําเภอแม่สอดต้ังอยู่ทางภาคตะวันตกของไทย อยู่ห่างจากอําเภอ เมืองตาก 86 กิโลเมตร ได้รับการจัดต้ังเป็นอําเภอมาต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2441 ตัวอําเภออยู่ในท่ีราบ ระหว่างภูเขา ส่วนหนึ่งเป็นทิวเขาในฝั่งประเทศไทย อีกส่วนหน่ึงเป็นทิวเขต ฝ่ังสหภาพพม่ามี พ้ืนทป่ี ระมาณ 1,986 ตารางกโิ ลเมตร ประชากรมีทั้งชาวเขาและคนท่ีอพยพมาจากอําเภอเมือง ตากเข้าไปต้ังถิ่นฐาน รวมท้ังชาวพม่าท่ีมีภรรยาและบุตรเป็นคนไทย ชาวพม่าเช้ือสายมุสลิมท่ี อยู่รวมกันเป็นชมุ ชนมสุ ลิม มอี าณาเขตตดิ ต่อดงั นี้ ทิศเหนือ มีอาณาเขตตดิ ต่อกับอาํ เภอแมร่ ะมาด จังหวดั ตาก ทศิ ใต้ มอี าณาเขตตดิ ต่อกบั อาํ เภอพบพระ จงั หวดั ตาก ทิศตะวนั ออก มีอาณาเขตติดต่อกบั อําเภอเมืองตาก จังหวดั ตาก ทิศตะวันตก มอี าณาเขตติดต่อกบั เมืองเมยี วดี (รัฐกะเหรี่ยง) สหภาพพม่า

28_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเทีย่ วและการค้าในลุ่มนาโขง N รูปที่ 3-1 แผนทอี่ าเภอแม่สอด จงั หวดั ตาก ท่มี า: ปรับปรงุ จาก การท่องเที่ยวแหง่ ประเทศไทย, 2553. ประวัติความเป็นมาของอําเภอแม่สอดน้ัน เม่ือ 140 ปี ท่ีผ่านมา (ประมาณปี พ.ศ. 2404 – 2405) บรเิ วณทต่ี ั้งอําเภอแม่สอดในปัจจบุ นั ได้มีชาวเขาเผา่ กะเหร่ียงมาต้ังถิ่นฐาน เรียก หมู่บ้านน้ีว่า “พะหน่อแก” ต่อมามีคนไทยจากถ่ินอื่นหลายท้องท่ีทางภาคเหนือ อพยพลงมาใน บริเวณน้ีจํานวนมากทําให้ชาวกะเหรี่ยงเจ้าของถิ่นฐานเดิม ซ่ึงไม่ชอบอยู่ปะปนกับใครต้อง อพยพไปอยู่ท่ีอื่น เม่ือมีความเจริญขึ้น ทางราชการได้ย้ายด่านเก็บเงินบ้านแม่ละเมามาอยู่ท่ี หมู่บ้านพะหน่อแก จนถึง ปี พ.ศ. 2441 ทางราชการจึงได้ยกฐานะเป็นอําเภอ เรียกว่า “อําเภอ แม่สอด” ใหอ้ ยใู่ นเขตปกครองของมณฑลนครสวรรค์ ต่อมาเม่อื มกี ารปรับปรุงแกไ้ ขระบบบริหาร ราชการส่วนภมู ภิ าค อําเภอแมส่ อดจงึ ได้เปล่ยี นมาขน้ึ กับจังหวัดตาก สําหรับความเป็นมาของชื่ออําเภอนั้นมีข้อสันนิษฐานไว้เป็น 3 นัย ดังนี้ ประการแรก กล่าวกันว่า แม่สอดเป็นเมืองเดียวกันกับ “เมืองฉอด” ซ่ึงเป็นเมืองหนึ่งในประวัติศาสตร์ ที่ต้ัง ประชิดชายแดนอาณาจกั รสโุ ขทยั เมืองฉอดมีพอ่ เมอื งชอื่ พอ่ ขุนสามชน คาํ ว่า “เมอื งฉอด” เรียก กันมานานเขา้ อาจจะเพ้ียนกลายเป็น “แม่สอด” ก็เป็นได้ ประการที่สอง อําเภอแม่สอดได้ชื่อมา

การท่องเทีย่ วและการคา้ ณ อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก_____29 จากลําห้วยแม่สอด และประการท่ีสาม อําเภอแม่สอด อาจมาจากคําว่า “เหม่ช็อค” ในภาษา มอญซงึ่ แปลว่า แม่สอด (เทย่ี วแม่สอด, 23 ม.ค. 52) อาํ เภอแม่สอด มีการแบ่งการปกครองออกเป็น 10 ตําบล 3 เทศบาล และ 88 หมู่บ้าน มีประชากรรวมทั้งสิ้น 120,569 คน แยกเป็นประชากรชาย 61,677 คน ประชากรหญิง 58,892 คน (สํานกั งานสถติ ิจังหวัดตาก, 2553) อาชพี หลกั ของประชากร ได้แกก่ ารทํานา ทาํ ไร่ เลยี้ งสตั ว์ รบั จ้าง คา้ ขายและทําสวน อาชีพเสรมิ ได้แก่ การผลิตสินค้าหนึ่งตาํ บลหน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ อําเภอแม่สอดมีสนามบินเพ่ือการพาณิชย์ต้ังอยู่บนทางหลวงหมายเลข 105 ห่างจาก ดา่ นพรมแดนท่าสายลวดประมาณ 5 กโิ ลเมตร ในอดีตเคยมีสายการบนิ หลายสายเปดิ ใหบ้ ริการ แต่มีผู้ใช้บริการน้อยจึงทําให้ปัจจุบันไม่มีสายการบินเพ่ือการพาณิชย์บินมาลง ณ สนามบิน แม่สอด แต่มีเจ้าหน้าท่ีของสนามบินปฏิบัติงานตามปกติ และเปิดให้บริการสําหรับเคร่ืองบิน ทหาร เครอื่ งบินเลก็ และเครอ่ื งบินส่วนตัว ในอําเภอแม่สอด มีโรงงานตั้งอยู่จํานวนมาก อาทิโรงงานผลิตเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย โรงงานพืชผลทางการเกษตร ซ่ึงแรงงานในภาคอุตสาหกรรมส่วนมากเป็นแรงงานชาวพม่า มากกว่าแรงงานชาวไทย โดยแรงงานพม่าท่ีเข้ามาทํางานในตัวอําเภอแม่สอดน้ัน มีท้ังการ เดินทางแบบไป – กลับ เชา้ – เย็น ดว้ ยหนังสอื เดินทาง และพักในตวั อําเภอแม่สอด จากจุดที่ต้ัง ซ่ึงเป็นจุดยุทธศาสตร์ประตูสู่การค้าชายแดน และการท่องเที่ยวกับ ประเทศเพ่ือนบ้านอย่างสหภาพพม่า และสามารถเชื่อมต่อไปยังประเทศอินเดียได้ อําเภอแม่ สอดจึงมีความสาํ คัญต่อการค้าและการท่องเที่ยวในประเทศไทย และในภมู ิภาคเอเชีย 3.1.2 จังหวดั เมยี วดี สหภาพพมา่ จังหวัดเมียวดี สหภาพพม่า เป็นเมืองหน้าด่านสุดชายแดนฝ่ังตะวันออกของสหภาพ พม่า ต้ังอยู่ในเขตรัฐกระเหร่ียง มีอาณาเขตด้านฝ่ังตะวันออกติดกับอําเภอแม่สอด จังหวัดตาก ของไทย จังหวัดเมียวดี เป็นจังหวัดท่ีมีความสําคัญในฐานะเป็นเมืองหน้าด่านการค้าการ แลกเปล่ยี นทางเศรษฐกจิ วัฒนธรรม และประวตั ศิ าสตรด์ ้านการสู้รบ ด้านการค้าระหว่างประเทศ ในยุคของการล่าอาณานิคมของตะวันตก พม่าตกเป็น เมืองขึ้นของประเทศอังกฤษ อังกฤษได้สร้างเมืองมะละแหม่ง ซ่ึงเป็นเมืองที่ติดกับมหาสมุทร แปซิฟิกให้เป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้า เป็นเมืองท่าท่ีสําคัญ และเป็นศูนย์กลางความเจริญ ทางด้านการศึกษา จึงเป็นผลให้ จังหวัดเมียวดีเป็นประตูสู่เมืองมะละแหม่งของเมืองทางเหนือ ของประเทศไทยในการทาํ การค้าระหว่างประเทศตั้งแตอ่ ดีต

30_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเทีย่ วและการค้าในลุ่มนาโขง N รปู ท่ี 3-2 แผนทเี่ มอื งเมียวดี สหภาพพม่า ที่มา: ปรบั ปรงุ จาก The Karen Human Rights Group, 2010. ปัจจุบัน จังหวัดเมียวดี เป็นเมืองชายแดนที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ เป็นเมือง ชายแดนท่ีมีสินค้าอุตสาหกรรม และผลิตภัณฑ์จากทะเล มีสินค้านานาชนิดจากทวีปยุโรป จีน และจากอินเดยี ประชากรในจังหวัดเมยี วดี มอี าชีพเกษตรกรรม การค้าขาย รับจ้าง โดยการข้ามเข้ามา รับจ้างเป็นแรงงานในฝั่งของอําเภอแม่สอดเป็นจํานวนมาก ท้ังการไปเช้า – เย็นกลับ หรือการ ขา้ มเข้ามาพักในตวั อาํ เภอแม่สอด เพ่ือเข้ามาเป็นแรงงานในภาคอุตสาหกรรมในอําเภอแม่สอด

การท่องเที่ยวและการค้า ณ อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก_____31 3.2 ขอ้ มูลพนื้ ฐานดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว 3.2.1 อาเภอแมส่ อด จงั หวัดตาก 3.2.1.1 สถานทท่ี อ่ งเที่ยว รปู ท่ี 3-3 แผนทที่ ่องเที่ยว อาเภอแมส่ อด จงั หวัดตาก ท่มี า: ปรบั ปรงุ จาก การทอ่ งเท่ยี วแห่งประเทศไทย, 2553. สถานท่ีท่องเที่ยวในอําเภอแม่สอด มีหลากหลาย ทั้งการท่องเที่ยวทางธรรมชาติเชิง อนุรักษ์ การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ สถานท่ีท่องเท่ียวท่ีสําคัญและน่าสนใจ ได้แก่ - สะพานมิตรภาพไทย – พม่า (ประตูเช่ือมอันดามันสู่อินโดจีน) ตั้งอยู่ท่ีตําบล ท่าสายลวด สุดทางหลวงหมายเลข 105 (สายตาก – แม่สอด) ความยาว 420 เมตร กว้าง 13 เมตร สร้างเช่ือมถนนสายเอเชียจากประเทศไทยสู่สหภาพพม่า ตลอดจนภูมิภาคเอเชียใต้ถึง ตะวนั ออกกลางและยุโรป สะพานมติ รภาพไทย – พม่า แห่งนี้เป็นสะพานคอนกรีตขนาด 2 ช่อง จราจร สรา้ งขา้ มแม่นาํ้ เมย - แม่น้าเมย (ชาวพม่าเรียกว่า แม่น้าต่องยิน) เป็นเส้นกั้นเขตแดนประเทศไทยกับ สหภาพพม่า มีความยาวประมาณ 327 กิโลเมตร แม่น้ําสายน้ีมีความแปลกคือ สายน้ํานี้มิได้

32_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการคา้ ในลุม่ นาโขง ไหลลงเช่นแม่น้ําทั่วๆ ไป แม่นํ้าเมยมีต้นนํ้าอยู่ที่บ้านมอเกอ ตําบลพบพระ อําเภอพบพระ จงั หวัดตาก (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สํานักงานตาก, 2552) - ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อยู่ตรงข้ามสนามกีฬาเทศบาลแม่สอด สร้างขึ้น เม่ือปี พ.ศ. 2545 เพื่อรําลึกถึงพระมาหกรุณาธิคุณ คร้ันเมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรงประกาศ อิสรภาพ ณ เมืองแกลง สหภาพพม่า โดยเสด็จผ่านด่านแม่ละเมา อําเภอแม่สอดเป็นแห่งแรก ในบริเวณศาลสมเด็จพระนเรศวรนั้นได้จัดแต่งภูมิทัศน์ให้เป็นสวนสาธารณะ เพ่ือให้ประชาชน และนกั ทอ่ งเท่ยี วที่เดนิ ทางมาสกั การะพระนเรศวรได้มาพักผ่อนและสามารถใช้เป็นสถานท่ีออก กาํ ลังกายได้ - ศาลเจ้าพ่อพะวอ ตัง้ อย่บู นเนินดินเชิงเขาพะวอ บนถนนสายตาก – แม่สอด บริเวณ กิโลเมตรที่ 62 – 63 ศาลนี้เป็นที่เคารพนับถือของชาวเมืองตาก และชาวอําเภอแม่สอด ในชื่อ ความหมายนั้น “พะ”แปลว่า นาย หรือ นาง เป็นคํานําหน้า ส่วน “วอ”แปลว่า แดง เพราะฉะน้ัน ศาลเจ้าพ่อพะวอ แปลได้ว่า ศาลเจ้าพ่อนายแดง ประวัติความเป็นมาของ “เจ้าพ่อพะวอ” นั้นมี เร่อื งเล่ากนั มาว่า ท่านเปน็ นักรบชาวกะเหรี่ยง สมเดจ็ พระนเรศวร ทรงแตง่ ตั้งให้เป็นนายด่านอยู่ ที่ดา่ นแมล่ ะเมา เพือ่ คอยป้องกันข้าศกึ มิใหข้ า้ มภูเขามาได้ เดิมทีศาลเจ้าพ่อพะวอ อยู่อีกด้านหน่ึงของภูเขา แต่มีการสร้างถนนตัดผ่านจึงสร้าง ศาลขน้ึ ใหม่ มผี เู้ ลา่ ถงึ ความศักด์ิสิทธิ์ว่า ถ้าใครไปล่าสัตว์ในบริเวณเขาพะวอแล้วมักจะเกิดเหตุ ต่าง ๆ เช่น รถเสีย เจ็บป่วย หรือ หลงทาง และเพราะเหตุท่ีเจ้าพ่อพะวอเป็นนักรบจึงชอบเสียง ปนื ผทู้ เี่ ดนิ ทางผ่านนยิ มยิงปนื ถวายทา่ นเป็นการแสดงความเคารพ หรือ มิฉะน้ันก็จะจุดประทัด ซ่ึงไดม้ กี ารจดั ส่วนของบรเิ วณจุดประทัดถวายเจ้าพอ่ พระวอ เพือ่ ความสะดวก สะอาดและความ เป็นสัดส่วน หรอื กดแตรเพือ่ แสดงความเคารพทกุ ครัง้ ชาวบา้ นเล่ากันมาวา่ “เมื่อถึงฤดูฝนท่ีน่ีจะ ได้ยินเสียงอาม๊อก (เสียงปืนใหญ่) ดังล่ันสนั่นไปทั่วทั้งเมืองและหุบเขา เช่ือกันว่าเป็นการเตือน จากเจ้าพ่อพะวอว่าเกิดอะไรข้ึน ถ้าเป็นต้นฤดูฝนก็หมายความว่า ลงพืชไร่ได้ แต่ถ้าเป็นฤดูแล้ง หมายความว่า จะเกดิ อาเพศ” (เท่ยี วแม่สอด, 2552) - อทุ ยานแหง่ ชาตติ ากสนิ มหาราช มีพ้นื ท่ีครอบคลุมอยูใ่ นเขตปา่ แมท่ ้อ ตําบลแม่ท้อ ตําบลพะวอ อําเภอเมือง และป่าแม่ละเมา อําเภอแม่สอด มีเน้ือที่ 165,250 ไร่ ประกาศเป็น อุทยานแห่งชาติเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2524 มีภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูงชัน มีภูเขา สลับซับซอ้ น และที่สําคญั มตี ้นกระบากขนาดใหญท่ ีส่ ดุ ในประเทศไทย วัดโดยรอบได้ 16.6 เมตร หรอื ราว 14 คนโอบและสงู ประมาณ 50 เมตร อยู่ห่างจากท่ีทําการอุทยาน 4 กิโลเมตร เป็นทาง รถยนต์ 3 กโิ ลเมตร และเปน็ ทางเดินเท้าลงเขาสงู ชนั อีกประมาณ 1 กโิ ลเมตร

การทอ่ งเทีย่ วและการค้า ณ อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก_____33 - พระธาตุหินกิ่วที่ดอยดินจ่ี ต้ังอยู่ที่บ้านวังตะเคียน หมู่ท่ี 5 ตําบลท่าสายลวด วัดพระธาตุหินกิ่วดอยดินจี่มีพระธาตุประดิษฐานอยู่ในสถูปเจดีย์ ชาวบ้านเรียกว่า “พญาล่อง” ต้ังอยู่บนภูเขา ลักษณะเป็นเจดีย์ทรงมอญขนาดเล็กสร้างไว้บนก้อนหินด้วยแรงศรัทธาใน พระพุทธศาสนา เป็นความมหัศจรรย์จากธรรมชาติลักษณะเป็นก้อนหินขนาดใหญ่ตั้งอยู่บน ชะง่อนผากว่ิ คอดเหมือนจะขาดออกจากกัน ชาวบา้ นเรียกหินมหศั จรรย์น้วี า่ \"เจดีย์หนิ พระอนิ ทร์ แขวน\" ประวัตคิ วามเป็นมาในการสรา้ งพระธาตุหินก่ิวดอยดินจ่ีที่เล่าสืบต่อกันมาว่า ผู้สร้างเป็น ชาวกะเหร่ียงในสมัยท่ีอังกฤษปกครองสหภาพพม่า ช่ือว่า นายพะส่วยจาพอมีความเล่ือมใสใน พระพทุ ธศาสนามากไดน้ ําเงินตราเหรยี ญรูปีบรรทุกหลังช้างมาเพ่ือหาที่สําหรับสร้างเจดีย์ถวาย เป็นพุทธบูชา คร้ันมาถึงบริเวณผาหินก่ิว (หรือดินจ่ี) ได้มองเห็นหินก้อนใหญ่โตชะโงกงําตั้งอยู่ บนหน้าผาสูงขัน และมีลักษณะคล้ายกับเจดีย์พระอินทร์แขวนในจังหวัดมัณฑเลย์ พม่า จึงได้ ก่อสร้าง เมื่อสร้างเสร็จแล้วได้นําพระสารีสริกธาตุบรรจุไว้ในองค์เจดีย์ พร้อมกับพระพุทธรูป ทองคาํ จํานวน 5 องค์ พระธาตุหินก่ิวดอยดินจ่ี ต้ังอยู่บนชะง่อนผาสูง มองลงมาข้างล่างจะเห็น ทิวทัศน์ในเขตสหภาพพม่าชัดเจน หินที่อยู่บนดอยมีลักษณะสีดําหรือสีน้ําตาลไหม้ จึงเรียกว่า \"พระธาตดุ อยดินจ่ี\" ซึง่ หมายถงึ ดนิ ท่ีไฟไหม้ (เทยี่ วแมส่ อด, 2552) - นา้ พรุ อ้ นแมก่ าษาและถา้ แม่อุษา อยู่ในอําเภอแม่สอด การเดินทางไปยังนํ้าพุร้อน แม่กาษาและถํ้าแม่อุษา ใชเ้ สน้ ทางหลวงหมายเลข 105 (แม่สอด – แม่ระมาด) ถ้ําน้ีเปิดให้เที่ยว ชมเมื่อประมาณ 10 กว่าปีท่ีผ่านมา มีการปรับปรุงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โดยการ สร้างบันไดเดินข้ึนเขายาวประมาณ 500 เมตร มี 870 ขั้น ถํ้าแม่อุษาอยู่ในตําบลแม่กาษา จัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สําคัญอีกแห่งหน่ึงของอําเภอแม่สอด จังหวัดตาก (เท่ียวแม่สอด, 2552) - นา้ ตกแม่กาษา อยู่ตาํ บลแม่กาษา เป็นน้ําตกขนาดใหญ่ซ่ึงมีทางเดินข้ึนไปบนเขาสูง มถี ํ้า และธารน้าํ กว้างประมาณ 5 เมตร เป็นทางจากปากถา้ํ ถงึ นํ้าตก นอกจากนี้ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวอ่ืนๆ ที่น่าสนใจคือ ศาลเจ้าพ่อขุนสามชน เนินพิศวง คอกช้างเผือก สถานีทดลองพืชสวนดอยมูเซอ วัดชุมพลคีรี วัดไทยวัฒนาราม วัดโพธิคุณ หรือ วัดหัวเตย และวัดมณีไพรสณฑ์ ฯลฯ 3.2.1.2 แหลง่ ช็อปปิ้ง - ตลาดริมเมย สุดชายแดนไทย – พม่า หรือ สุดประจิมท่ีริมเมย ตั้งอยู่ตําบล ท่าสายลวด สดุ ทางหลวงหมายเลข 105 (ตาก – แม่สอด) เป็นสถานท่ีติดต่อค้าขายระหว่างไทย

34_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเทีย่ วและการค้าในลุ่มนาโขง กับพม่า ตลาดริมเมย เป็นตลาดค้าขายสินค้าพื้นเมืองมากมายทั้งของไทย และสหภาพพม่า เชน่ หนอ่ ไม้แหง้ ปลาแหง้ ปลาหัวยุง่ เห็ดหอม ถ่ัว เครื่องหนังผ้าซาติน โดยเฉพาะสินค้าท่ีทํามา จากไม้ ไมส้ ักแปรรูป อปุ กรณเ์ คร่อื งตกแตง่ บา้ น บานประตู บานหน้าต่าง เตียงไม้ นอกจากน้ียัง เปน็ ตลาดการค้าอญั มณี เช่น หยก ทับทิม และพลอยสีที่มาจากสหภาพพม่า การเดินทางมายัง ตลาด สามารถข้นึ รถสองแถวจากตลาดอําเภอแม่สอดไปตลาดริมเมย บริเวณตลาดเป็นอาคาร ช้นั เดียว มีร้านค้าเรยี งรายรวมกัน มีพ้ืนท่ีจอดรถด้านในสําหรับรถตู้ และรถยนต์ส่วนตัว ส่วนรถ บสั ขนาดใหญต่ อ้ งจอดในพนื้ ทท่ี ีจ่ ัดไว้ห่างจากตลาดประมาณ 500 เมตร - ตลาดสินค้าพื้นเมืองชาวเขาดอยมูเซอ ตั้งอยู่บนดอยมูเซอ ริมถนนสายตาก – แม่สอด ทางหลวงหมายเลข 105 บริเวณกิโลเมตรท่ี 28 ตลาดแห่งนี้นักท่องเท่ียวจะได้พบเห็น ภาพวถิ ีชวี ติ ของชาวไทยภูเขาที่นาํ ผลิตผลจากไรม่ าจําหนา่ ยราคาถูก อําเภอแม่สอดมีสถานท่ีท่องเที่ยวมากมาย ในส่วนของที่พักและร้านอาหารไว้คอย ต้อนรบั และบริการนกั ท่องเท่ยี ว และผูเ้ ดนิ ทางจาํ นวนมาก ทพี่ กั ประเภทโรงแรม รีสอร์ท และเกส เฮา้ ส์ มี 20 แห่ง และรา้ นอาหารมจี ํานวนมากมาย นักท่องเที่ยวชาวไทยท่ีประสงค์จะข้ามไปยังประเทศพม่าต้อง ทําหนังสือผ่านแดน ช่วั คราว โดยนําบัตรประชาชน หรอื บตั รประจําตัวอ่ืนๆ ที่ทางราชการออกให้ พร้อมสําเนา 1 ชุด และรูปถ่ายติดบัตร 2 รูป พร้อมค่าผ่านแดนคนละ 20 บาท ไปท่ีสํานักงานออกบัตรของอําเภอ แม่สอด และเมอ่ื ขา้ มผ่านแดนไปแล้วจะต้องเสยี คา่ ผา่ นแดนที่ฝ่ังพม่าอีกคนละ 10 บาท จุดผ่าน แดน เปดิ ทุกวนั ต้งั แตเ่ วลา 06.00-18.00 น. (เทีย่ วแมส่ อด, 2552) ในสว่ นของจํานวนของนักท่องเทยี่ วท่เี ดนิ ทางผา่ นแดนยังด่านถาวรพรมแดนแม่สอด มี จํานวนมากทสี่ ุด ในปี พ.ศ. 2552 จาํ นวนนักท่องเท่ียวท่เี ดินทางผ่านแดนโดยใช้บัตรผ่านแดน มี จํานวน 23,170 คน เพม่ิ ขน้ึ จากปี พ.ศ. 2551 ถึง 9,924 คน (ตารางท่ี 3-1)

การทอ่ งเที่ยวและการคา้ ณ อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก_____35 ตารางที่ 3-1: สถติ ิคนไทยเดินทางผา่ นเขา้ – ออกราชอาณาจกั ร (ใชบ้ ัตรผ่านแดน) ดา่ นตรวจคนเขา้ เมืองตาก ปี พ.ศ. 2544 – 2552 ปี พ.ศ. เดนิ ทางเข้า อัตรากาเตบิ โต เดนิ ทางออก อตั ราการเติบโต (คน) (รอ้ ยละ) (คน) (รอ้ ยละ) 3,386 N/A 4,773 40.96 2545 3,283 N/A 6,711 40.60 8,598 27.12 2546 4,863 48.13 7,699 -10.46 5,354 -30.46 2547 6,844 40.74 6,615 23.55 11,573 74.95 2548 8,731 27.57 54,709 2549 7,749 -11.25 2550 5,363 -30.79 2551 6,631 23.64 2552 11,597 74.89 รวม 55,061 ท่ีมา: ปรับปรงุ จาก สาํ นักงานตรวจคนเขา้ เมอื ง. 2553. 2.2 จงั หวดั เมียวดี สหภาพพมา่ จังหวัดเมยี วดี เปน็ เมอื งชายแดนท่ีมคี วามสําคัญทางด้านการค้าและการท่องเท่ียวของ สหภาพพม่า นักท่องเทย่ี วสามารถเดนิ เทา้ ข้ามสะพานมิตรภาพไทย – พม่า ไปยังจังหวัดเมียวดี หรือขบั รถยนตข์ ้ามไปได้ โดยตอ้ งเสียค่าธรรมเนียมการนํารถข้ามไป แต่การท่องเที่ยวยังจังหวัด เมียวดีน้ัน จํากัดบริเวณให้เข้าไปได้ไม่เกินระยะ 5 กิโลเมตรจากชายแดนเท่าน้ันเพื่อความ ปลอดภยั เพราะในสหภาพพมา่ ยังมเี หตุการณค์ วามไมส่ งบทางด้านการเมืองอยู่ สําหรับสถานที่ ทอ่ งเทย่ี วในจังหวดั เมยี วดีที่สาํ คญั อาทิ - วัดเจดีย์ทอง เป็นวัดท่ีมีเจดีย์ชเวเมียนโหว่น ซึ่งเป็นพระธาตุคู่เมือง เป็นเจดีย์ที่มี ความสวยงาม บริเวณด้านหน้าทางเข้าจะมีพระพุทธรูปศิลปะพม่า พร้อมเครื่องสักการะไว้ให้ นักท่องเท่ียว ภายในวัดน้ันมีเจดีย์ชเวเมียนโหว่นสีทองขนาดใหญ่ 1 องค์ และรายล้อมไปด้วย เจดยี ์ขนาดเลก็ 24 องค์ และรูปสิงหค์ รึ่งคนอยู่ 4 ทิศ การเข้าชมและนมัสการภายในวัดต้องถอด รองเทา้ ตามความเชอ่ื และประเพณีนิยมของชาวพมา่

36_____การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วและการคา้ ในลุม่ นาโขง - ตลาดบุเรงนอง เป็นตลาดขายสินค้ากลางเมืองของจังหวัดเมียวดี เป็นตลาดที่มี ความหลายหลายของสินค้าท้ังสินค้าพ้ืนเมืองพม่า อาหารพื้นเมือง สินค้าที่มาจากสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และจากยุโรป อินเดีย ชาวไทยสามารถใช้เงินบาทในการจับจ่ายสินคา้ ได้ - ชมวิถีชวี ิต และนั่งสามล้อป่ัน เมอื งเมียวดี ชมร้านขายหมากท่ีเป็นท่ีนิยมของชาว เมียวดี อีกท้ังร้านน้ําชา บาร์นํ้าชาท่ีเป็นที่นิยมในการด่ืมชาของชาวพม่า ตามวัฒนธรรมของ องั กฤษท่ีเคยเป็นเมอื งข้ึนปกครองพมา่ ในอดตี 3.3 ข้อมลู พนื้ ฐานด้านการคา้ 3.3.1 อาเภอแมส่ อด จงั หวดั ตาก การค้าของอําเภอแม่สอด อยู่ที่การค้าชายแดน เพราะเป็นประตูสู่การค้าอินโดจีน เอเชียใต้ ตะวันออกกลางและยุโรป มีการเดินทางการขนส่งท่ีสะดวก มีสะพานมิตรภาพไทย – พม่า เชื่อมเส้นทางการค้าการขนส่ง สินค้านําเข้าที่ผ่านแดนเข้ามายังประเทศไทยเป็นสินค้า จําพวกสินค้าท่ีไม่สําเร็จต้องนํามาผ่านกระบวนการในการผลิตทางอุตสาหกรรม ในบริเวณตัว เมืองสองข้างทางถนนย่านการค้าพาณิชย์สยามอัญมณีแม่สอดเป็นแหล่งค้าขายอัญมณีท่ี สาํ คัญของเมอื งแม่สอดที่มีพอ่ คา้ และนักซ้อื พลอยเดนิ ทางมาเลือกซอื้ อัญมณอี ย่างคึกคกั การค้าชายแดนด้านอําเภอแม่สอด – เมียวดี มีช่องทางการค้าท่ีสําคัญ 2 ช่องทาง คือ จุดผ่านแดนถาวร และคลังสินค้าชั่วคราว สําหรับจุดผ่านแดนถาวรน้ัน มีช่องทางอนุมัติทํา การค้า 1 ช่องทางคือ จุดผ่านแดนแม่สอด – เมียวดี ต้ังอยู่ท่ี ตําบลท่าสายลวด อําเภอแม่สอด จังหวัดตาก ซึ่งประกาศเป็นจุดผ่านแดนถาวรเม่ือวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2540 เปิดทําการค้า ต้ังแตเ่ วลา 06.30 – 18.30 น. เป็นประจําทุกวัน โดยมีสะพานมิตรภาพไทย – พม่า เป็นสะพาน ข้ามแม่น้ําเมย เชื่อมเมืองเมียวดีกับอําเภอแม่สอด วัตถุประสงค์หลักในการสร้างเพ่ือเช่ือม สัมพันธ์ไมตรีอันดีของประชาชนไทยกับพม่า เสริมสร้างเศรษฐกิจและการค้าขายบริเวณ ชายแดน 2 ประเทศ และเพื่อตอบสนองนโยบายขององค์กรสหประชาชาติที่มุ่งหวังเช่ือมโยง เส้นทางส่วนท่ยี งั ขาดอย่ทู างตอนใตข้ องทางหลวงเอเชีย (สํานกั งานพาณชิ ยจ์ ังหวัดตาก, 2552) ช่องทางคลังสินค้าช่ัวคราว เป็นคลังสินค้าอนุมัติเฉพาะคราวตามมาตรา 5 ทวิ แห่ง พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2548 เพื่ออํานวยความสะดวกแก่ผู้นําเข้า – ส่งออก สินคา้ ซึง่ สามารถนาํ เข้าและส่งออกระหว่างอําเภอแม่สอดและจังหวัดเมียวดีสหภาพพม่า ส่วน ใหญ่ต้ังอยู่ริมแม่น้ําเมยจึงเรียกชื่อคลังสินค้าว่า ท่าข้ามหมายเลขต่างๆ คลังสินค้าชั่วคราวที่ ได้รบั อนญุ าตจากกรมศลุ กากร จะต้องปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย เช่น การจัดระเบียบภายในที่ทําการ ของเจ้าหนา้ ที่ มีขอบเขตรว้ั ก้ันท่ีมดิ ชิด เป็นต้น ณ ข้อมูลเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 จังหวัดตากมี

การทอ่ งเที่ยวและการคา้ ณ อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก_____37 คลังสินค้าช่ัวคราวที่เปิดดําเนินการภายใต้การกํากับดูแลของด่านศุลกากรแม่สอดทั้งสิน 17 คลงั สินค้า ดงั น้ี (ตารางที่ 3 - 2) ตารางที่ 3 - 2: คลงั สินค้าชั่วคราวทเ่ี ปดิ ดาเนินการภายใต้การกากบั ดูแลของด่านศุลกากร แม่สอดในปี พ.ศ. 2550 ลาดับ ช่อื คลังสินค้า ช่ือเจ้าของ ท่ตี ้งั หมู่ 6 บ้านหว้ ยมว่ ง ตาํ บลท่าสายลวด 1 คลงั สินคา้ ที่ 1 นายสํารวย ปา่ ตาล อาํ เภอแมส่ อด 195 หมู่ 6 บา้ นห้วยมว่ ง ตําบลทา่ สายลวด 2 คลังสินค้าที่ 2 นางอสิ ยาห์ ชอุม่ พฤกษ์ อําเภอแม่สอด หมู่ 6 บ้านหว้ ยมว่ ง ตาํ บลท่าสายลวด 3 คลงั สนิ คา้ ที่ 3 นายสุพจน์ ทิพยพงษ์พัชร์ อาํ เภอแม่สอด 96 หมู่ 6 บา้ นหว้ ยม่วง ตําบลทา่ สายลวด 4 คลงั สินค้าท่ี 4 นายใจมา เขือ่ นเป็ก อําเภอแม่สอด 183 หมู่ 6 บ้านห้วยม่วง ตําบลทา่ สายลวด 5 คลงั สินคา้ ท่ี 5 นายเทวฤทธิ์ ปนั เขียว อําเภอแมส่ อด 233 หมู่ 3 ตําบลทา่ สายลวด อําเภอแม่สอด 6 คลงั สินค้าที่ 6 น.ส. สจุ ติ รา สวา่ งไพบูลย์ 33 หมู่ 3 บ้านท่าอาจ ตําบลทา่ สายลวด 7 คลงั สนิ ค้าท่ี 7 นายประพันธ์ นะเสอื อําเภอแม่สอด หมู่ 3 บ้านท่าอาจ ตาํ บลท่าสายลวด 8 คลงั สินค้าที่ 8 น.ส.. สงั วาล สเี ทยี น อาํ เภอแมส่ อด หมู่ 3 บา้ นท่าอาจ ตาํ บลทา่ สายลวด 9 คลงั สนิ ค้าท่ี 9 น.ส. ปภาวดี เตม็ ใจเจริญ อาํ เภอแมส่ อด 192 หมู่ 3 บ้านท่าอาจ ตาํ บลท่าสายลวด 10 คลังสินคา้ ที่ 10 นายสรรพสริ ิ อรชัยพนั ธ์ุ อําเภอแมส่ อด ลาภ หมู่ 3 บา้ นทา่ อาจ ตาํ บลท่าสาบลวด อําเภอแมส่ อด 11 คลังสนิ คา้ ท่ี 11 น.ส. ทิพาพร บญุ สิตากลุ 169 หมู่ 3 บ้านทา่ อาจ ตาํ บลทา่ สายลวด อําเภอแม่สอด 12 คลังสินค้าที่ 12 นายเจรญิ สีเทยี น หมู่ 2 ตาํ บลทา่ สายลวด อําเภอแมส่ อด หมู่ 4 บา้ นวงั ตะเคยี น ตาํ บลทา่ สายลวด 13 คลงั สนิ คา้ ที่ 13 นายสง่า ใบยา อาํ เภอแมส่ อด 14 คลงั สินคา้ ที่ 14 นายผดงุ กจิ เอ้ืออารยะ หมู่ 3 บ้านวงั ตะเคียน ตาํ บลทา่ สายลวด อําเภอแมส่ อด มนตรี 15 คลงั สนิ ค้าที่ 15 นายสมยศ ตาสะหลี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook