หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 หา มจําหนา ย หนังสอื เรียนเลม นี้ จดั พิมพด ว ยเงนิ งบประมาณแผน ดินเพ่อื การศึกษาตลอดชวี ติ สําหรับประชาชน ลิขสิทธิ์เปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สาํ นกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน เอกสารทางวิชาการหมายเลข 32/2553
คํานาํ สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไดด าํ เนนิ การจดั ทาํ หนังสือเรียนชุดใหมน้ีขึ้น เพ่ือสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ทีม่ ีวตั ถุประสงคใ นการพฒั นาผเู รยี นให มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และ สามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนํา หนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมทั้งแบบฝกหัด เพอ่ื ทดสอบความรคู วามเขา ใจในสาระเนอื้ หา โดยเมอ่ื ศกึ ษาแลว ยงั ไมเ ขา ใจ สามารถกลบั ไป ศกึ ษาใหมไ ด ผเู รยี นอาจจะสามารถเพม่ิ พนู ความรหู ลงั จากศกึ ษาหนงั สอื เรยี นน้ี โดยนาํ ความรู ไปแลกเปลย่ี นกบั เพอ่ื นในชน้ั เรยี นศกึ ษาจากภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ จากแหลง เรยี นรแู ละจากสอ่ื อน่ื ๆ ในการดาํ เนนิ การจดั ทาํ หนงั สอื เรยี นตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษา ขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไดร บั ความรว มมอื ทด่ี จี ากผทู รงคณุ วฒุ ิ และผเู กย่ี วขอ งหลายทา น ซง่ึ ชว ยกนั คน ควา และเรยี บเรยี งเนื้อหาสาระจากส่ือตางๆ เพ่ือใหไดเน้ือหาท่ีสอดคลองกับ หลักสูตร และเปนประโยชนตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการ ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษาคณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจดั ทาํ ทกุ ทา นทไี่ ดใ หค วามรว มมอื ดว ยดี ไว ณ โอกาสน้ี สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือ เรียนชุดนี้จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะ ประการใด สาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรบั ไว ดว ยความขอบคุณย่งิ สาํ นักงาน กศน.
สารบญั คาํ นํา สารบญั คําแนะนํา โครงสรา งรายวชิ าสังคมศึกษา (สค21001) ขอบขา ยเนอ้ื หา บทท่ี 1 ภูมศิ าสตรกายภาพทวีปเอเชีย.......................................................1 เร่อื งที่ 1 ลกั ษณะทางภูมศิ าสตรก ายภาพของประเทศ ในทวปี เอเชยี ....................................................................... 3 เร่ืองท่ี 2 การเปล่ียนแปลงสภาพภูมศิ าสตรกายภาพ............................10 เรอื่ งที่ 3 วธิ ใี ชเคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตร ..............................................20 เร่อื งที่ 4 สภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพของไทย ทส่ี ง ผลตอ ทรัพยากรตา งๆ..................................................26 เร่ืองที่ 5 ความสําคัญของการดาํ รงชวี ติ ใหส อดคลอง กับทรพั ยากรในประเทศ......................................................33 บทที่ 2 ประวัตศิ าสตรทวีปเอเชีย ............................................................45 เร่อื งที่ 1 ประวัตศิ าสตรส งั เขปของประเทศในทวีปเอเชีย.....................47 เรือ่ งท่ี 2 เหตุการณส าํ คญั ทางประวัตศิ าสตรทเ่ี กิดข้นึ ในประเทศไทย และประเทศในทวปี เอเชยี ....................................................67 บทที่ 3 เศรษฐศาสตร .............................................................................73 เรื่องที่ 1 ความหมายความสาํ คญั ของเศรษฐศาสตรม หภาค และจลุ ภาค ........................................................................74 เร่ืองที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในประเทศไทย.............................................76 เร่ืองที่ 3 คณุ ธรรมในการผลติ และการบรโิ ภค.....................................89 เรอ่ื งท่ี 4 กฎหมายและขอ มลู การคมุ ครองผูบรโิ ภค.............................91 เรอ่ื งที่ 5 ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา งๆ ในเอเชยี ..........................95 บทท่ี 4 การเมืองการปกครอง...............................................................104 เรื่องที่ 1 การเมืองการปกครองทีใ่ ชอยูใ นปจ จุบัน ของประเทศไทย...............................................................105 เร่อื งท่ี 2 เปรยี บเทียบรูปแบบทางการเมอื งการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยและระบบอน่ื ๆ..................................116 แนวเฉลย .......................................................................................125 บรรณานุกรม .......................................................................................134 คณะผจู ดั ทํา .......................................................................................136
คาํ แนะนาํ ในการใชหนงั สือเรยี น หนังสือสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) ระดับมัธยมศึกษา ตอนตนเปนหนังสือเรียนท่ีจัดทําข้ึนสําหรับผูเรียนท่ีเปนนักศึกษานอกระบบในการศึกษา หนังสือสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ผูเรยี นควรปฏิบตั ิดงั น้ี ศึกษาโครงสรา งรายวชิ าใหเ ขาใจในหัวขอ และสาระสาํ คญั ผลการเรียนรูทีค่ าดหวงั และขอบขา ยเน้ือหาของรายวิชานั้นๆ โดยละเอยี ด 1. ศกึ ษารายละเอยี ดเนอ้ื หาของแตล ะบทอยา งละเอยี ด และทาํ กจิ กรรมตามทก่ี าํ หนด แลวตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมตามท่ีกําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและ ทําความเขาใจในเน้อื หานน้ั ใหมใ หเขาใจ กอนท่จี ะศึกษาเรือ่ งตอๆไป 2. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทา ยเรื่องของแตละเรอื่ ง เพอ่ื เปน การสรุปความรู ความเขา ใจของ เน้ือหาในเรื่องนั้นๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหา แตละเรื่อง ผูเรียน สามารถนําไปตรวจสอบกับครูและเพ่อื นๆ ทีร่ ว มเรียนในรายวชิ าและระดับเดยี วกันได 3. หนงั สือเรยี นเลม น้ีมี 4 บท คอื บทที่ 1 ภมู ิศาสตรกายภาพทวปี เอเชีย บทท่ี 2 ประวัติศาสตรท วีปเอเชยี บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร บทที่ 4 การเมืองการปกครอง
โครงสรางรายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001) สาระสําคญั การศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมทางกายภาพท้ังของ ประเทศไทยและทวปี เอเชยี ววิ ฒั นาการความสัมพนั ธข องมนษุ ยกับสิ่งแวดลอ ม การจัดการ ทรพั ยากรทมี่ ีอยอู ยา งจํากัดเพ่ือใหใชอยา งเพียงพอในการผลิตและบรโิ ภค การใชข อ มลู ทาง ประวัติศาสตรเพ่ือวิเคราะหเหตุการณในอนาคต การเรียนรูเร่ืองการเมืองการปกครอง สามารถนาํ ไปใชประโยชนใ นการดาํ เนนิ ชวี ิตประจาํ วันได ผลการเรียนรูท คี่ าดหวงั 1. อธิบายขอมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการ ปกครองท่ีเก่ยี วขอ งกบั ประเทศในทวปี เอเชยี 2. นําเสนอผลการเปรียบเทียบสภาพภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครองของประเทศในทวปี เอเชีย 3. ตระหนักและวเิ คราะหถ ึงการเปล่ยี นแปลงท่เี กดิ ขึ้นกับประเทศในทวปี เอเชียทมี่ ี ผลกระทบตอ ประเทศไทย ขอบขา ยเน้ือหา บทท่ี 1 ภมู ศิ าสตรกายภาพทวปี เอเชีย เรอ่ื งที่ 1 ลักษณะทางภมู ศิ าสตรกายภาพของประเทศในทวีปเอเชยี เรือ่ งที่ 2 การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ เร่ืองท่ี 3 วธิ ีใชเ ครื่องมอื ทางภูมศิ าสตร เรอื่ งท่ี 4 สภาพภมู ศิ าสตรกายภาพของไทยท่ีสง ผลตอทรัพยากรตางๆ เร่ืองที่ 5 ความสําคัญของการดํารงชีวิตใหสอดคลองกับทรัพยากรใน ประเทศ บทที่ 2 ประวตั ศิ าสตรท วีปเอเชีย เรือ่ งท่ี 1 ประวตั ิศาสตรสังเขปของประเทศในทวีปเอเชีย เร่ืองที่ 2 เหตกุ ารณส าํ คญั ทางประวตั ศิ าสตรท เ่ี กดิ ขน้ึ ในประเทศไทยและ ประเทศในทวปี เอเชยี บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร เรื่องที่ 1 ความหมายความสําคัญของเศรษฐศาสตรม หภาคและจุลภาค เร่อื งท่ี 2 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศไทย
เร่อื งท่ี 3 คุณธรรมในการผลิตและการบรโิ ภค เร่อื งท่ี 4 กฎหมายและขอมูลการคุม ครองผบู ริโภค เร่ืองที่ 5 ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศตา งๆ ในเอเชยี บทท่ี 4 การเมืองการปกครอง เรือ่ งที่ 1 การเมอื งการปกครองท่ใี ชอ ยูใ นปจจุบันของประเทศไทย เรือ่ งที่ 2 รปู แบบการเมอื งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและ ระบบอื่นๆ สือ่ ประกอบการเรียนรู 1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าสงั คมศกึ ษา สาระการพฒั นาสงั คม ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบและระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 2. เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร เชน แผนที่ ลูกโลก เข็มทิศ รูปถายทางอากาศและ ภาพถา ยจากดาวเทยี ม 3. เวบ็ ไซต 4. หนงั สอื พมิ พ วารสาร เอกสารทางวชิ าการตามหอ งสมดุ และแหลง เรยี นรใู นชมุ ชน และหอ งสมดุ ประชาชน หอ งสมดุ เฉลมิ ราชกมุ ารใี นทอ งถน่ิ
« ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน » 1 บทท่ี 1 ภูมิศาสตรก ายภาพทวปี เอเชีย สาระสําคญั ภูมิศาสตรกายภาพ คือวิชาที่เก่ียวของกับลักษณะการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม ทางกายภาพ (Physical Environment) ที่อยูรอบตัวมนุษย ท้ังสวนที่เปนธรณีภาค อทุ กภาค บรรยากาศภาค และชวี ภาค ตลอดจน ความสมั พนั ธท างพนื้ ท่ี (spatial Relation) ของส่งิ แวดลอมทางกายภาพตา งๆ ดงั กลา วขางตน การศึกษาภูมศิ าสตรท างกายภาพทวปี เอเชีย ทําใหส ามารถวิเคราะหเ หตุผลประกอบ กบั การสงั เกตพจิ ารณาสง่ิ ทผ่ี นั แปรเปลย่ี นแปลงในภมู ภิ าคตา งๆ ของทวปี เอเชยี ไดเ ปน อยา งดี การศึกษาภูมิศาสตรกายภาพแผนใหมตองศึกษาอยางมีเหตุผล โดยอาศัยหลักเกณฑทาง ภมู ศิ าสตร หรอื หลกั เกณฑส ถติ ิ ซง่ึ เปน ขอ เทจ็ จรงิ จากวชิ าในแขนงทเี่ กยี่ วขอ งกนั มาพจิ ารณา โดยรอบคอบ ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง 1. อธบิ ายลกั ษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของประเทศในทวปี เอเชยี ได 2. มีความรูทางดานภูมิศาสตรกายภาพ สามารถเขาใจสภาพกายภาพของโลกวามี องคประกอบและมกี ารเปลีย่ นแปลงท่ีมีผลตอ สภาพความเปน อยขู องมนุษยอยา งไร 3. สามารถอธิบายการใชและประโยชนข องเครื่องมือทางภูมศิ าสตรไ ด 4. อธิบายความสัมพันธของสภาพภูมิศาสตรกายภาพของไทยท่ีสงผลตอทรัพยากร ตางๆ และสิง่ แวดลอมได 5. อธบิ ายความสมั พนั ธข องการดาํ รงชวี ติ ใหส อดคลอ งกบั ทรพั ยากรในประเทศไทย และประเทศในเอเชยี ได ขอบขา ยเน้ือหา เรอื่ งที่ 1 ลกั ษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของประเทศในทวปี เอเชีย 1.1 ทีต่ ัง้ และอาณาเขต 1.2 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ 1.3 สภาพภมู อิ ากาศ เร่อื งที่ 2 การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิศาสตรกายภาพ 2.1 การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพทส่ี ง ผลกระทบตอ วถิ ชี วี ติ ความเปน อยขู องคน เรื่องท่ี 3 วิธีใชเ ครอื่ งมอื ทางภูมิศาสตร
2 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) 3.1 แผนท่ี 3.2 ลูกโลก 3.3 เขม็ ทิศ 3.4 รปู ถา ยทางอากาศและภาพถายจากดาวเทยี ม 3.5 เคร่ืองมือเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษาภูมศิ าสตร เรอื่ งท่ี 4 สภาพภูมิศาสตรกายภาพของไทยที่สงผลตอทรัพยากรตาง ๆ และส่ิง แวดลอม เรอื่ งท่ี 5 ความสาํ คญั ของการดํารงชีวติ ใหส อดคลองกบั ทรพั ยากรในประเทศ 5.1 ประเทศไทย 5.2 ประเทศในเอเชีย ส่ือประกอบการเรยี นรู 1. แบบเรียนรายวิชาสังคมศึกษา สาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ึนพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2. เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร เชน แผนที่ ลูกโลก เข็มทิศ รูปถายทางอากาศและ ภาพถายจากดาวเทยี ม 3. เวบ็ ไซต
« ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน » 3 เรือ่ งที่ 1 ลักษณะทางภูมศิ าสตรกายภาพของประเทศในทวีปเอเชีย 1.1 ท่ีตั้ง และอาณาเขต ทวีปเอเชียเปนทวีปท่ีมีขนาดใหญที่สุดในโลก มีพื้นที่ ประมาณ 44,648,953 ลานตารางกิโลเมตร มีดินแดนที่ตอเน่ืองกับทวีปยุโรปและทวีป แอฟรกิ า แผนดนิ ของทวีปยโุ รปกับทวีปเอเชยี ทต่ี อเนอื่ งกนั เรยี กรวมวา ยเู รเชยี พนื้ ท่สี ว น ใหญอยเู หนอื เสน ศนู ยสตู รมที าํ เลทต่ี งั้ ตามพกิ ดั ภูมิศาสตร คือ จากละตจิ ดู 11 องศาใต ถึง ละติจดู 77 องศา 41 ลิปดาเหนือ บริเวณแหลมเชลยูสกนิ (Chelyuskin) สหพันธรัฐรัสเซีย และจากลองจิจูดท่ี 26 องศา 04 ลปิ ดาตะวนั ออก บรเิ วณแหลมบาบา (Baba) ประเทศตุรกี ถงึ ลองจิจดู 169 องศา 30 ลิปดาตะวนั ตก ทีบ่ รเิ วณแหลมเดชเนฟ (Dezhnev) สหพันธรัฐ รัสเซีย โดยมีอาณาเขตติดตอ กบั ดินแดนตางๆ ดงั ตอไปนี้ ทิศเหนือ จรดมหาสมุทรอารกติก มีแหลมเชลยูสกิน ของสหพันธรัฐรัสเซีย เปน แผนดินอยูเ หนอื สุด ท่ลี ะติจดู 77 องศาเหนอื ทศิ ใต จรดมหาสมทุ รอินเดีย มีเกาะโรติ (Roti) ของติมอร- เลสเต เปน ดนิ แดนอยูใ ต ท่ีสดุ ทลี่ ะตจิ ูด 11 องศาใต ทิศตะวันออก จรดมหาสมุทรแปซิฟก มีแหลมเดชเนฟ ของสหพันธรัฐรัสเซีย เปน แผนดินอยูต ะวันออกทีส่ ุด ท่ลี องจจิ ูด 170 องศาตะวนั ตก ทศิ ตะวนั ตก จรดทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี นและทะเลดาํ กบั มที วิ เขาอรู าลกน้ั ดนิ แดนกบั ทวีปยุโรป และมีทะเลแดงกับคาบสมุทรไซไน (Sinai) กั้นดินแดนกับทวีปแอฟริกา มีแหลมบาบาของตรุ กเี ปนแผน ดินอยตู ะวนั ตกสุด ท่ีลองจจิ ดู 26 องศาตะวนั ออก 1.2 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ทวปี เอเชยี มลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศแตกตา งกนั หลายชนดิ ใน สวนที่เปนภาคพ้ืนทวปี แบง ออกเปน เขตตางๆ ได 5 เขต คือ 1) เขตทร่ี าบตาํ่ ตอนเหนอื เขตท่ีราบต่ําตอนเหนอื ไดแ ก ดนิ แดนทีอ่ ยทู าง ตอนเหนือของทวีปเอเชีย ในเขตไซบีเรีย สวนใหญอยูใ นเขตโครงสรางแบบหินเกาที่เรียกวา แองการาชีลด มีลักษณะภูมิประเทศเปนท่ีราบขนาดใหญ มีแมนํ้าออบ แมนํ้าเยนิเซ และ แมน ํ้าลนี าไหลผา น บรเิ วณนมี้ อี าณาเขตกวางขวางมาก แตไ มคอ ยมีผูค นอาศัยอยู ถึงแมว า จะเปน ทรี่ าบ เพราะเนอื่ งจากมภี ูมิอากาศหนาวเยน็ มาก และทาํ การเพาะปลูกไมได 2) เขตทร่ี าบลมุ แมน า้ํ เขตทรี่ าบลมุ แมน า้ํ ไดแ ก ดนิ แดนแถบลมุ แมน าํ้ ตา งๆ ซง่ึ มลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน ทร่ี าบ และมกั มดี นิ อดุ มสมบรู ณเ หมาะแกก ารเพาะปลกู สว นใหญ อยทู างเอเชยี ตะวนั ออก เอเชยี ใต และเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ไดแ ก ทร่ี าบลมุ ฮวงโห ทร่ี าบลมุ แมน า้ํ แยงซเี กยี งในประเทศจนี ทร่ี าบลมุ แมน าํ้ สนิ ธุ ทร่ี าบลมุ แมน า้ํ คงคา และทร่ี าบลมุ แมน าํ้ พรหมบตุ รในประเทศปากีสถาน อินเดีย และบงั กลาเทศ ที่ราบลุมแมนา้ํ ไทกรสิ ทร่ี าบลมุ แม น้ํายูเฟรทีส ในประเทศอิรัก ท่ีราบลุมแมนํ้าโขงตอนลาง ในประเทศกัมพูชาและเวียดนาม ท่ีราบลมุ แมน ํา้ แดง ในประเทศเวยี ดนาม ทรี่ าบลุมแมน ้าํ เจา พระยา ในประเทศไทย ที่ราบลุม แมน า้ํ สาละวนิ ตอนลา ง ทร่ี าบลุมแมนํ้าอริ ะวดี ในประเทศสาธารณรฐั แหงสหภาพพมา
4 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค21001) แผนท่แี สดงภมู ปิ ระเทศทวปี เอเชีย 3) เขตเทือกเขาสูง เปนเขตเทือกเขาหินใหมตอนกลาง ประกอบไปดวย ที่ราบสูงและเทือกเขามากมาย เทือกเขาสูงเหลานี้สวนใหญเปนเทือกเขาที่แยกตัวไป จากจุดรวมท่เี รยี กวา ปามีรน อต หรอื ภาษาพ้ืนเมืองเรียกวา ปามรี ด นุ ยา แปลวา หลงั คาโลก จากปามรี นอตมีเทอื กเขาสูงๆ ของทวปี เอเชยี หลายแนว ซง่ึ อาจแยกออกไดดงั น้ี เทือกเขาท่ีแยกไปทางทิศตะวนั ออก ไดแก เทอื กเขาหมิ าลยั เทือกเขาอาระกนั โยมา และเทอื กเขาทม่ี แี นวตอ เนอื่ งลงมาทางใต มบี างสว นทจ่ี มหายไปในทะเล และบางสว น โผลขึ้นมาเปนเกาะในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟก ถัดจากเทือกเขาหิมาลัยขึ้น ไปทางเหนือ มีเทือกเขาทีแ่ ยกไปทางตะวนั ออก ไดแก เทอื กเขาคนุ ลนุ เทือกเขาอลั ตนิ ตัก เทอื กเขานานซาน และแนวทแ่ี ยกไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดแ ก เทอื กเขาเทยี นชาน เทอื กเขาอัลไต เทอื กเขาคินแกน เทอื กเขายาโบลนอย เทือกเขาสตาโนวอย และเทอื กเขาโก ลีมา เทือกเขาท่ีแยกไปทางทิศตะวันตก แยกเปนแนวเหนือและแนวใต แนวเหนือ ไดแก เทอื กเขาฮนิ ดกู ชู เทอื กเขาเอลบชู ร สว นแนวทศิ ใต ไดแ ก เทอื กเขาสไุ ลมาน เทอื กเขาซากรอส ซงึ่ เมือ่ เทอื กเขาท้งั 2 นี้ มาบรรจบกนั ท่ีอารเ มเนยี นนอตแลว ยังแยกออกอกี เปน 2 แนว ในเขตประเทศตรุ กี คือ แนวเหนือเปน เทือกเขาปอนตกิ และแนวใตเ ปนเทือกเขาเตารสั 4) เขตทร่ี าบสงู ตอนกลางทวปี เขตทรี่ าบสงู ตอนกลางเปน ทรี่ าบสงู อยรู ะหวา ง เทอื กเขาหนิ ใหมท ส่ี าํ คญั ๆ ไดแ ก ทร่ี าบสงู ทเิ บตซง่ึ เปน ทร่ี าบสงู ขนาดใหญแ ละสงู ทสี่ ดุ ในโลก ที่ราบสูงยูนนาน ทางใตของประเทศจีน และท่ีราบสูงที่มีลักษณะเหมือนแอง ช่ือ ตากลามากนั ซง่ึ อยรู ะหวา งเทอื กเขาเทยี นซานกบั เทอื กเขาคนุ ลนุ แตอ ยสู งู กวา ระดบั นา้ํ ทะเล มาก และมีอากาศแหงแลงเปน เขตทะเลทราย
« ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน » 5 5) เขตทีร่ าบสงู ตอนใตและตะวนั ตกเฉียงใต เขตที่ราบสงู ตอนใตแ ละตะวนั ตกเฉยี งใต ไดแ ก ทร่ี าบสงู ขนาดใหญ ทางตอนใตข องทวปี เอเชยี ซง่ึ มคี วามสงู ไมม ากเทา กบั ทรี่ าบสงู ทางตอนกลางของทวปี ทรี่ าบสงู ดงั กลา ว ไดแ ก ทรี่ าบสงู เดคคาน ในประเทศอนิ เดยี ทร่ี าบสงู อหิ รา น ในประเทศอหิ รา นและอฟั กานสิ ถาน ทร่ี าบสงู อนาโตเลยี ในประเทศตรุ กแี ละ ทีร่ าบสูงอาหรบั ในประเทศซาอุดอี าระเบีย 1.3 สภาพภมู ิอากาศ สภาพภมู ศิ าสตรแ ละพชื พรรณธรรมชาตใิ นทวีปเอเชยี แบง ไดดงั นี้ 1) ภมู อิ ากาศแบบปา ดบิ ชน้ื เขตภมู อิ ากาศแบบปา ดบิ ชนื้ อยรู ะหวา งละตจิ ดู ที่ 10 องศาเหนอื ถงึ 10 องศาใต ไดแ ก ภาคใตของประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซยี และ ฟล ิปปน ส มีความแตกตางของอณุ หภูมิ ระหวา งกลางวนั และกลางคืนไมมากนัก มปี รมิ าณ นาํ้ ฝนมากกวา 2,000 มิลลิเมตร (80 น้ิว) ตอป และมีฝนตกตลอดป พชื พรรณธรรมชาตเิ ปน ปา ดงดบิ ซงึ่ ไมม ฤี ดทู ผี่ ลดั ใบและมตี น ไมห นาแนน สว น บรเิ วณปากแมน ํา้ และชายฝง ทะเลมีพืชพรรณธรรมชาติเปนปา ชายเลน 2) ภมู อิ ากาศแบบมรสมุ เขตรอ น หรอื รอ นชนื้ แถบมรสมุ เปน ดนิ แดนทอ่ี ยู เหนอื ละตจิ ดู 10 องศาเหนือขึ้นไป มฤี ดูแลง และฤดูฝนสลบั กันประมาณปล ะเดอื น ไดแก บรเิ วณคาบสมทุ รอนิ เดยี และคาบสมทุ รอนิ โดจนี เขตนเ้ี ปน เขตทไี่ ดร บั อทิ ธพิ ลของลมมรสมุ ปรมิ าณนาํ้ ฝนจะสงู ในบรเิ วณดา นตน ลม (Winward side) และมฝี นตกนอ ยในดา นปลายลม (Leeward side) หรอื เรยี กวา เขตเงาฝน (Rain shadow) พชื พรรณธรรมชาตเิ ปน ปา มรสมุ หรอื ปา ไมผ ลดั ใบในเขตรอ น พนั ธไุ มส ว นใหญ เปน ไมใ บกวางและเปนไมเ นอ้ื แขง็ ที่มีคาในทางเศรษฐกจิ หรอื ปา เบญจพรรณ เชน ไมสกั ไม จันทน ไมประดู เปนตน ปา มรสุม มลี กั ษณะเปนปาโปรง มากกวาปาไมในเขตรอ นชืน้ บาง แหงมีไมข นาดเล็กขนึ้ ปกคลุมบรเิ วณดินชนั้ ลาง และบางแหงเปน ปา ไผ หรอื หญา ปะปนอยู 3) ภมู ิอากาศแบบทงุ หญาเมืองรอ น มีลักษณะอากาศคลา ยเขตมรสมุ มีฤดู แลง กบั ฤดฝู น แตป รมิ าณนาํ้ ฝนนอ ยกวา คอื ประมาณ 1,000 - 1,500 มลิ ลเิ มตร (40 - 60 นว้ิ ) ตอป อณุ หภมู ิเฉลย่ี ตลอดป ประมาณ 21 องศาเซลเซยี ส (70 องศาฟาเรนไฮต) อุณหภมู ิ กลางคนื เยน็ กวา กลางวนั ไดแ ก บรเิ วณตอนกลางของอนิ เดยี สาธารณรฐั แหง สหภาพพมา และคาบสมุทรอนิ โดจนี พชื พรรณธรรมชาตเิ ปน ปา โปรง แบบเบญจพรรณ ถดั เขา ไปตอนในจะเปน ทงุ หญา สงู ตั้งแต 60 - 360 เซนติเมตร (2 - 12 ฟตุ ) ซ่ึงจะงอกงามดใี นฤดฝู น แตแหง เฉาตายใน ฤดหู นาว เพราะชวงน้อี ากาศแหง แลง 4) ภมู อิ ากาศแบบมรสมุ เขตอบอนุ อยใู นเขตอบอนุ แตไ ดร บั อทิ ธพิ ลของลม มรสุมมีฝนตกในฤดูรอ น ฤดหู นาวคอ นขางหนาว ไดแก บริเวณภาคตะวนั ตกของจนี ภาค ใตของญ่ีปุน คาบสมุทรเกาหลี ฮองกง ตอนเหนือของอินเดยี ในสาธารณรฐั ประชาชนลาว และตอนเหนอื ของเวยี ดนาม
6 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) พืชพรรณธรรมชาติเปนไมผลัดใบหรือไมผสม มีทั้งไมใบใหญท่ีผลัดใบและไม สนท่ีไมผลัดใบ ในเขตสาธารณรัฐประชาชนจีน เกาหลี ทางใตของเขตนี้เปนปาไมผลัดใบ สว นทางเหนอื มอี ากาศหนาวกวาปา ไมผสม และปา ไมผลัดใบ เชน ตนโอก เมเปล ถาขึน้ ไป ทางเหนืออากาศหนาวเยน็ จะเปนปาสนที่มีใบเขยี วตลอดป 5) ภมู ิอากาศแบบอบอุนภาคพืน้ ทวีป ไดแก ทางเหนอื และตะวันออกเฉยี ง เหนอื ของประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจนี เกาหลเี หนอื ภาคเหนอื ของญปี่ นุ และตะวนั ออก เฉียงใตข องไซบีเรีย มฤี ดูรอนทีอ่ ากาศรอน กลางวันยาวกวา กลางคนื นาน 5 - 6 เดือน เปน เขตปลูกขาวโพดไดด ี เพราะมีฝนตกในฤดรู อน ประมาณ 750 - 1,000 มม. (30 - 40 นว้ิ ) ตอ ป ฤดหู นาวอุณหภูมิเฉล่ียถงึ 7 องศาเซลเซียส (18 องศาฟาเรนไฮต) เปนเขตท่คี วาม แตกตา งระหวางอุณหภูมิมมี าก พชื พรรณธรรมชาติเปน ปา ผสมระหวา งไมผ ลดั ใบและปา สน ลกึ เขาไปเปน ทงุ หญา สามารถเพาะปลกู ขาวโพด ขาวสาลี และเลยี้ งสตั วพ วกโคนมได สว นแถบชายทะเลมี การทําปา ไมบ า งเลก็ นอ ย 6) ภมู อิ ากาศแบบทงุ หญา กงึ่ ทะเลทรายแถบอบอนุ มอี ณุ หภมู สิ งู มากในฤดู รอ นและอณุ หภมู ติ า่ํ มากในฤดหู นาว มฝี นตกบา งในฤดใู บไมผ ลแิ ละฤดรู อ น ไดแ ก ภาคตะวนั ตกของคาบสมุทรอาหรบั ตอนกลางของประเทศตรุ กี ตอนเหนือของภาคกลางของอิหราน ในมองโกเลยี ทางตะวนั ตกเฉียงเหนอื ของจนี พชื พรรณธรรมชาตเิ ปน ทงุ หญา สนั้ (Steppe) ทงุ หญา ดงั กลา วมกี ารชลประทาน เขาถงึ ใชเลี้ยงสัตวและเพาะปลกู ขา วสาลี ขา วฟาง ฝาย ไดด ี 7) ภมู อิ ากาศแบบทะเลทราย มีความแตกตางระหวา งอณุ หภมู ิกลางวนั กับ กลางคืนและฤดูรอนกับฤดูหนาวมาก ไดแก ดินแดนท่ีอยูภายในทวีปท่ีมีเทือกเขาปดลอม ทําใหอิทธิพลจากมหาสมทุ รเขาไปไมถึง ปรมิ าณฝนตกนอยกวา ปล ะ 250 มม. (10 นว้ิ ) ไดแก บรเิ วณคาบสมุทรอาหรบั ทะเลทรายโกบี ทะเลทรายธาร และทีร่ าบสูงทเิ บต ที่ราบสงู อิหรา น บริเวณที่มนี ํ้าและตน ไมข น้ึ เรียกวา โอเอซิส (Oasis) พชื พรรณธรรมชาตเิ ปน อนิ ทผลมั ตะบองเพชร และไมป ระเภทมหี นาม ชายขอบ ทะเลทราย สวนใหญเปนทุงหญาสลับปาโปรง มีการเลี้ยงสัตวประเภทท่ีเลี้ยงไวใชเน้ือและ ทําการเพาะปลูกตองอาศัยการชลประทานชว ย 8) ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน อากาศในฤดูรอน รอนและแหงแลง ในเลบานอน ซเี รีย อสิ ราเอล และตอนเหนอื ของอิรัก พชื พรรณธรรมชาตเิ ปน ไมต น เตย้ี ไมพ มุ มหี นาม ตน ไมเ ปลอื กหนาทท่ี นตอ ความ แหง แลง ในฤดูรอ นไดด ี พชื ทีเ่ พาะปลกู ไดแก สม องุน และมะกอก 9) ภมู อิ ากาศแบบไทกา (ก่ึงขั้วโลก) มีฤดูหนาวยาวนานและหนาวจัด ฤดู รอ นสนั้ มนี า้ํ คา งแขง็ ไดท กุ เวลา และฝนตกในรปู ของหมิ ะ ไดแ ก ดนิ แดนทางภาคเหนอื ของ ทวปี บรเิ วณไซบีเรยี
« ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน » 7 พืชพรรณธรรมชาติเปนปาสน เปนแนวยาวทางเหนือของทวีป ที่เรียกวา ไทกา (Taiga) หรือปาสนของไซบีเรีย 10) ภมู ิอากาศแบบทนุ ดรา (ขว้ั โลก) เขตน้มี ีฤดูหนาวยาวนานมาก อากาศ หนาวจดั มหี มิ ะปกคลมุ ตลอดป ไมมีฤดูรอน พืชพรรณธรรมชาตเิ ปน พวกตะไครน า้ํ และมอสส 11) ภูมิอากาศแบบท่ีสูง ในเขตที่สูงอุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงใน อตั ราความสูงเฉลยี่ ประมาณ 1 องศาเซลเซียสตอความสูง 10 เมตร จึงปรากฏวา ยอดเขาสูง บางแหงแมจ ะอยใู นเขตรอ น ก็มีหิมะปกคลมุ ทงั้ ป หรอื เกือบตลอดป ไดแ ก ทร่ี าบสงู ทเิ บต เทือกเขาหมิ าลยั เทอื กเขาคุนลนุ และเทอื กเขาเทียนชาน ซึง่ มคี วามสงู ประมาณ 5,000 - 8,000 เมตร จากระดับน้ําทะเล มหี มิ ะปกคลุมและมีอากาศหนาวเย็นแบบขว้ั โลก พืชพรรณธรรมชาติเปนพวกคะไครน ํ้า และมอสส การแบง ภมู ภิ าค ทวีปเอเชียนอกจากจะเปนอนุภูมิภาคของทวีปยูเรเชีย ยังอาจแบงออกเปนสวนยอย ดังนี้ เอเชียเหนอื หมายถงึ รสั เซยี เรยี กอีกอยา งวาไซบเี รีย บางครั้งรวมถึงประเทศทาง ตอนเหนือของเอเชียดวย เชน คาซคั สถาน เอเชียกลาง ประเทศในเอเชียกลาง ไดแก - สาธารณรฐั ในเอเชยี กลาง 5 ประเทศ คอื คาซคั สถาน อซุ เบกสิ ถาน ทาจกิ สิ ถาน เตริ กเมนสิ ถาน และครี ก ซี สถาน - ประเทศแถบตะวนั ตกของทะเลสาบแคสเปย น 3 ประเทศ คอื จอรเ จยี อารเ มเนยี และอาเซอรไบจานบางสวน เอเชียตะวนั ออก ประเทศในเอเชยี ตะวันออก ไดแก - เกาะไตห วนั และญ่ปี ุน ในมหาสมทุ รแปซิฟก - เกาหลีเหนือและเกาหลใี ตบ นคาบสมทุ รเกาหลี - สาธารณรฐั ประชาชนจีนและมองโกเลีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต ดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ ประเทศ บนคาบสมุทรมลายู คาบสมุทรอินโดจีน เกาะตางๆ ในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทร แปซิฟก เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต ประกอบดวย - ประเทศตางๆ ในแผนดินใหญ ไดแก สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา ไทย สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว กัมพชู า และเวยี ดนาม - ประเทศตา งๆ ในทะเล ไดแ ก มาเลเซยี ฟล ปิ ปน ส สงิ คโปร อนิ โดนเี ซยี บรไู น และตมิ อรต ะวนั ออก (ตมิ อร - เลสเต) ประเทศอนิ โดนเี ซยี แยกไดเ ปน 2 สว น โดยมที ะเลจนี ใต คน่ั กลาง ท้งั สองสว นมที ้ังพ้นื ท่ที เี่ ปนแผน ดนิ ใหญแ ละเกาะ
8 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001) เอเชียใต เอเชียใตอ าจเรียกอีกอยา งวาอนุทวปี อนิ เดีย ประกอบดวย - บนเทอื กเขาหมิ าลยั ไดแ ก อนิ เดยี ปากสี ถาน เนปาล ภฏู าน และบงั กลาเทศ - ในมหาสมทุ รอนิ เดยี ไดแก ศรลี ังกาและมัลดีฟส เอเชียตะวันตกเฉียงใต (หรือเอเชียตะวันตก) ประเทศตะวันตกโดยเฉพาะใน สหรฐั อเมรกิ ามกั เรยี ก อนภุ มู ภิ าคนวี้ า ตะวนั ออกกลาง บางครงั้ “ตะวนั ออกกลาง” อาจหมาย รวมถึงประเทศในแอฟริกาเหนอื เอเชียตะวนั ตกเฉียงใตแบงยอยไดเปน - อะนาโตเลยี (Anatolia) ซงึ่ กค็ ือเอเชียไมเนอร (Asia Minor) เปน พ้นื ท่ี สวนที่เปน เอเชยี ของตรุ กี - ประเทศตุรกี 97 % ของตุรกี - ทเ่ี ปนเกาะ คือ ไซปรัส ในทะเลเมดิเตอรเ รเนยี น - กลมุ เลแวนตห รอื ตะวนั ออกใกล ไดแ ก ซเี รยี อสิ ราเอล จอรแ ดน เลบานอน และอริ กั - ในคาบสมทุ รอาหรับ ไดแก ซาอดุ ิอาระเบยี สหรัฐอาหรับเอมเิ รตส บาหเ รน กาตาร อมาน เยเมน และอาจรวมถึงคเู วต - ท่ีราบสงู อิหรา น ไดแก อิหรา นและพนื้ ที่บางสวนของประเทศอื่นๆ - อัฟกานิสถาน
« ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน » 9 กิจกรรมท่ี 1.1 ลักษณะทางภูมศิ าสตรก ายภาพของประเทศในทวีปเอเชยี 1) ใหผูเ รียนอธิบายจุดเดนของลกั ษณะภูมิประเทศในทวีปเอเชีย ท้ัง 5 เขต ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 2) ภมู อิ ากาศแบบใดทม่ี หี มิ ะปกคลมุ ตลอดป และพชื พรรณทป่ี ลกู เปน ประเภทใด ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................
10 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค21001) เรื่องที่ 2 การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมศิ าสตรก ายภาพ หมายถงึ ลักษณะการเปลย่ี นแปลงของสิ่ง แวดลอมทางกายภาพทอ่ี ยูร อบตวั มนษุ ย ทัง้ สว นทเี่ ปนธรณีภาค อุทกภาค บรรยากาศภาค และชวี ภาค ตลอดจน ความสัมพันธท างพน้ื ทข่ี องสงิ่ แวดลอ มทางกายภาพตา ง ๆ ดังกลาว ขา งตน การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร กอใหเกิดความเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ทั้ง ภูมิประเทศและภูมิอากาศในประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชีย สวนมากเกิดจาก ปรากฏการณตามธรรมชาติและเกิดผลกระทบตอประชาชนท่ีอาศัยอยู รวมท้ังสิ่งกอสราง ปรากฏการณต างๆ ท่ีมกั จะเกิด มดี ังตอ ไปนี้ 2.1 การเกิดแผนดินไหว แผนดินไหวเปนปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดจากการ เคลื่อนที่ของแผนเปลือกโลก (แนวระหวางรอยตอธรณีภาค) ทําใหเกิดการเคล่ือนตัวของ ชั้นหนิ ขนาดใหญเ ลือ่ นเคลือ่ นทห่ี รอื แตกหัก และเกดิ การโอนถา ยพลงั งานศกั ย ผานในชัน้ หินที่อยูติดกัน พลังงานศักยนี้อยูในรูปเคลื่อนไหวสะเทือน จุดศูนยกลางการเกิดแผนดิน ไหว (focus) มักเกดิ ตามรอยเลอื่ น อยูในระดบั ความลกึ ตา ง ๆ ของผิวโลก สวนจุดทีอ่ ยใู น ระดบั สูงกวา ณ ตําแหนงผวิ โลก เรยี กวา “จุดเหนือศนู ยกลางแผน ดินไหว” (epicenter) การสน่ั สะเทอื นหรือแผนดินไหวนจ้ี ะถูกบนั ทึกดว ยเครื่องมือทีเ่ รียกวา ไซสโ มกราฟ 1) สาหตกุ ารเกดิ แผน ดินไหว - แผนดินไหวจากธรรมชาติ เปนธรณีพิบัติภัยชนิดหนึ่ง สวนมากเปน ปรากฏการณทางธรรมชาติท่ีเกิดจากการสั่นสะเทือนของพ้ืนดิน อันเนื่องมาจากการปลด ปลอยพลังงานทส่ี ะสมไว ภายในโลกออกมาอยา งฉับพลนั เพอื่ ปรบั สมดุลของเปลือกโลกให คงท่ีโดยปกติเกิดจากการเคล่ือนไหวของรอยเล่ือนภายในชั้นเปลือกโลก ที่อยูดานนอกสุด ของโครงสรา งของโลก มีการเคลือ่ นทห่ี รือเปลีย่ นแปลงอยา งชา ๆ อยูเสมอ แผนดินไหวจะ เกิดข้ึนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมากเกินไป ภาวะน้ีเกิดข้ึนบอยในบริเวณขอบเขตของแผน เปลอื กโลกทแ่ี บง ชนั้ เปลอื กโลกออกเปน ธรณภี าค (lithosphere) เรยี กแผน ดนิ ไหวทเ่ี กดิ ขน้ึ บริเวณขอบเขตของแผนเปลือกโลกน้ีวา แผนดินไหวระหวางแผน (interpolate earth- quake) ซ่ึงเกดิ ไดบอยและรนุ แรงกวา แผนดินไหวภายในแผน (intraplate earthquake) - แผนดินไหวจากการกระทําของมนุษย ซึ่งมีท้ังทางตรงและทางออม เชน การทดลองระเบดิ ปรมาณู การทาํ เหมอื ง สรา งอา งเกบ็ นาํ้ หรอื เขอ่ื นใกลร อยเลอื่ น การ ทํางานของเครือ่ งจกั รกล การจราจร เปนตน 2) การวดั ระดบั ความรนุ แรงของแผน ดนิ ไหว โดยปกตจิ ะใชม าตรารคิ เตอร ซึ่งเปนการวัดขนาดและความสัมพันธของขนาดโดยประมาณกับความส่ันสะเทือนใกล ศูนยก ลาง
« ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน » 11 ระดับความรนุ แรงของแผนดนิ ไหว 1 - 2.9 เลก็ นอ ย ผคู นเรม่ิ รสู กึ ถงึ การมาของคลน่ื มอี าการวงิ เวยี นเพยี งเลก็ นอ ย ในบางคน 3- 3.9 เล็กนอย ผูคนที่อยูในอาคารรูสึกเหมือนมีอะไรมาเขยาอาคารใหสั่น สะเทอื น 4 - 4.9 ปานกลาง ผูทอ่ี าศัยอยูท้งั ภายในอาคารและนอกอาคาร รูส กึ ถึงการสั่น สะเทอื น วตั ถหุ อยแขวนแกวงไกว 5 - 5.9 รุนแรงเปน บริเวณกวาง เคร่ืองเรอื น และวตั ถุมีการเคลอื่ นที่ 6.69 รุนแรกมาก อาคารเริ่มเสียหาย พังทลาย 7.0 ขนึ้ ไป เกดิ การส่ันสะเทอื นอยา งมากมาย สง ผลทําใหอาคารและสง่ิ กอ สราง ตางๆ เสยี หายอยา งรุนแรง แผนดนิ แยก วัตถุบนพน้ื ถูกเหวี่ยงกระเด็น 3) ขอปฏบิ ตั ใิ นการปองกันและบรรเทาภัยจากแผนดนิ ไหว กอนเกิดแผนดินไหว 1. เตรียมเครื่องอปุ โภคบริโภคที่จาํ เปน เชน ถานไฟฉาย ไฟฉาย อปุ กรณ ดับเพลิง นาํ้ อาหารแหง ไวใชใ นกรณีไฟฟา ดบั หรอื กรณีฉุกเฉนิ อื่นๆ 2. จดั หาเครอื่ งรบั วทิ ยทุ ใี่ ชถ า นไฟฉายหรอื แบตเตอรสี่ าํ หรบั เปด ฟง ขา วสาร คาํ เตอื น คําแนะนําและสถานการณต างๆ 3. เตรยี มอปุ กรณน ิรภัย สําหรับการชวยชีวิต 4. เตรยี มยารกั ษาโรค และเวชภณั ฑใ หพ รอ มทจ่ี ะใชใ นการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน 5. จดั ใหม กี ารศกึ ษาถงึ การปฐมพยาบาล เพอ่ื เปน การเตรยี มพรอ มทจ่ี ะชว ย เหลือผูที่ไดรับบาดเจ็บ หรอื อนั ตรายใหพ น ขดี อันตรายกอ นท่ีจะถงึ มือแพทย 6. จาํ ตาํ แหนง ของวาลว เปด -ปด นา้ํ ตาํ แหนง ของสะพานไฟฟา เพอ่ื ตดั ตอน การสงน้ํา และไฟฟา 7. ยึดเครอื่ งเรือน เครื่องใชไมสอย ภายในบาน ท่ที ํางาน และในสถานศกึ ษา ใหม ัน่ คง แนน หนา ไมโยกเยกโคลงเคลงเพอ่ื ไมให ไปทาํ ความเสียหายแกชีวิตและทรัพยส ิน 8. ไมควรวางส่ิงของที่มีน้ําหนักมากๆ ไวในท่ีสูง เพราะอาจรวงหลนมา ทาํ ความเสียหายหรือเปน อันตรายได 9. เตรียมการอพยพเคล่อื นยาย หากถึงเวลาทีจ่ ะตองอพยพ 10. วางแผนปองกันภัยสําหรบั ครอบครัว ทท่ี าํ งานและสถานที่ศกึ ษา มกี าร ชี้แจงบทบาทท่ีสมาชิกแตละบุคคลจะตองปฏิบัติ มีการฝกซอมแผนท่ีจัดทําไว เพ่ือเพ่ิม ลักษณะและความคลอ งตัวในการปฏบิ ตั เิ มือ่ เกดิ เหตกุ ารณฉ ุกเฉิน ขณะเกิดแผน ดนิ ไหว 1. ต้ังสติ อยูในที่ที่แข็งแรงปลอดภัย หางจากประตู หนาตาง สายไฟฟา เปนตน
12 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค21001) 2. ปฏิบัติตามคําแนะนํา ขอควรปฏิบัติของทางราชการอยางเครงครัด ไม ตนื่ ตระหนกจนเกนิ ไป 3. ไมค วรทาํ ใหเ กดิ ประกายไฟ เพราะหากมกี ารรว่ั ซมึ ของแกส หรอื วตั ถไุ วไฟ อาจเกดิ ภยั พบิ ตั ิจากไฟไหม ไฟลวก ซํ้าซอนกบั แผนดินไหวเพ่มิ ข้ึนอีก 4. เปด วทิ ยุรบั ฟงสถานการณ คําแนะนํา คําเตอื นตา ง ๆ จากทางราชการ อยา งตอ เนอ่ื ง 5. ไมค วรใชล ฟิ ต เพราะหากไฟฟา ดบั อาจมอี นั ตรายจากการตดิ อยภู ายใตล ฟิ ต 6. มดุ เขา ไปนอนใตเ ตยี งหรือตง่ั อยาอยใู ตค านหรอื ทที่ ่มี นี ้ําหนกั มาก 7. อยใู ตโ ตะ ทแ่ี ขง็ แรง เพอ่ื ปอ งกนั อนั ตรายจากสงิ่ ปรกั หกั พงั รว งหลน ลงมา 8. อยูหา งจากส่งิ ทไี่ มม่นั คงแขง็ แรง 9. ใหร บี ออกจากอาคารเมอ่ื มกี ารสง่ั การจากผทู คี่ วบคมุ แผนปอ งกนั ภยั หรอื ผทู ่ีรับผิดชอบในเรือ่ งนี้ 10. หากอยูในรถ ใหหยุดรถจนกวาแผนดินจะหยุดไหวหรือสั่นสะเทือน หลังเกิดแผนดินไหว 11. ตรวจเช็คการบาดเจ็บ และทาํ การปฐมพยาบาลผทู ่ีไดร ับบาดเจบ็ แลว รบี นาํ สง โรงพยาบาลโดยดวน เพื่อใหแ พทยไ ดท าํ การรกั ษาตอ ไป 12. ตรวจเชค็ ระบบนา้ํ ไฟฟา หากมกี ารรว่ั ซมึ หรอื ชาํ รดุ เสยี หาย ใหป ด วาลว เพื่อปองกัน นา้ํ ทว มเออ ยกสะพานไฟฟา เพ่ือปอ งกนั ไฟฟารว่ั ไฟฟา ดดู หรือไฟฟาช็อต 13. ตรวจเชค็ ระบบแกส โดยวธิ ีการดมกล่นิ เทานนั้ หากพบวา มีการรั่วซึม ของแกส (มีกลิ่น) ใหเปดประตูหนาตาง แลวออกจากอาคารแจงเจาหนาท่ีปองกันภัยฝาย พลเรอื นผทู ี่รบั ผดิ ชอบไดทราบในโอกาสตอไป 14. ไมใ ชโ ทรศัพทโดยไมจ ําเปน 15. อยากดนํ้าลางสวม จนกวาจะมีการตรวจเช็คระบบทอเปนท่ีเรียบรอย แลว เพราะอาจเกดิ การแตกหกั ของทอ ในสว ม ทาํ ใหน า้ํ ทว มเออ หรอื สง กลนิ่ ทไี่ มพ งึ ประสงค 16. ออกจากอาคารทช่ี ํารดุ โดยดว น เพราะอาจเกิดการพังทลายลงมา 17. สวมรองเทา ยางเพอื่ ปองกันส่ิงปรกั หักพัง เศษแกว เศษกระเบ้อื ง 18. รวมพล ณ ที่หมายท่ีไดตกลงนัดหมายกันไว และตรวจนับจํานวน สมาชิกวา อยูครบหรือไม 19. รว มมอื กบั เจา หนา ทใี่ นการเขา ไปปฏบิ ตั งิ านในบรเิ วณทไี่ ดร บั ความเสยี หาย และผไู มม หี นา ทห่ี รอื ไมเ กยี่ วขอ งไมค วรเขา ไปในบรเิ วณนนั้ ๆ หากไมไ ดร บั การอนญุ าต 20. อยาออกจากชายฝง เพราะอาจเกิดคลื่นใตนํ้าซัดฝงได แมวาการสั่น สะเทอื นของแผนดินจะสิ้นสดุ ลงแลว ก็ตาม
« ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน » 13 ผลกระทบตอ ประชากรทเ่ี กดิ จากแผน ดนิ ไหว จากเหตุการณแผนดินไหวครั้งรายแรงลาสุดในทวีปเอเชีย ในมณฑลเสฉวน ประเทศจีน เมอื่ วนั ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 มีความรนุ แรงอยูท่ีขนาด 7.9 รกิ เตอร ท่ี ความลกึ : 19 กิโลเมตร โดยจดุ ศนู ยกลางการสนั่ อยูท ี่ เขตเหวินฉวน มณฑลเสฉวน ทาง ตะวนั ตกเฉยี งเหนือ ของนครเฉิงตู 90 กิโลเมตร แผนดนิ ไหวครัง้ นสี้ รา งความเสียหายให กบั ประเทศจนี อยา งมหาศาล ท้งั ชวี ติ ประชาชน อาคารบา นเรอื น ถนนหนทาง โดยมผี เู สีย ชวี ติ 68,516 คน บาดเจบ็ 365,399 คน และสญู หาย 19,350 คน (ตวั เลขอยา งเปน ทางการ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) นอกจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจนี แลว แผน ดินไหวก็ยงั สามารถรสู ึกได ในประเทศเพื่อนบานของจีน อาทิเชน ประเทศไทย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศอินเดีย ประเทศปากสี ถาน แมวาการเกิดแผนดินไหวไมสามารถปองกันได แตเราควรเรียนรูขอปฏิบัติใน การปอ งกนั ทง้ั กอ นการเกดิ แผน ดนิ ไหว และขณะเกดิ แผน ดนิ ไหว เพอ่ื ปอ งกนั ความเสยี หาย ทีเ่ กิดกับชีวติ 2.2 การเกิดพายุ พายุ คอื สภาพบรรยากาศทถี่ กู รบกวนแบบใด ๆ กต็ าม โดยเฉพาะทมี่ ผี ลกระทบตอ พนื้ ผวิ โลก และบง บอกถงึ สภาพอากาศทรี่ นุ แรง เมอ่ื พดู ถงึ ความ รนุ แรงของพายุ จะกลา วถึงความเรว็ ท่ีศนู ยกลาง ซึ่งอาจสูงถงึ 400 กม./ชม. ความเร็วของ การเคลอ่ื นตวั ทศิ ทางการเคลอื่ นตวั ของพายแุ ละขนาดความกวา งหรอื เสน ผา ศนู ยก ลางของ ตัวพายุ ซึ่งบอกถึงอาณาบริเวณที่จะไดรับความเสียหายวา ครอบคลุมเทาใด ความรุนแรง ของพายุจะมีหนวยวัดความรุนแรงคลายหนวยริกเตอรของการวัดความรุนแรงแผนดินไหว มกั จะมคี วามเร็วเพ่มิ ขนึ้ เรื่อยๆ ประเภทของพายุ พายุแบง เปนประเภทใหญๆ ได 3 ประเภท คอื 1) พายุฝนฟา คะนอง มลี กั ษณะเปน ลมพดั ยอนไปมา หรือพัดเคลื่อนตวั ไป ในทิศทางเดียวกัน อาจเกิดจากพายุท่ีออนตัวและลดความรุนแรงของลมลง หรือเกิดจาก หยอ มความกดอากาศตา่ํ รอ งความกดอากาศตา่ํ อาจไมม ที ศิ ทางทแ่ี นน อน หากสภาพการณ แวดลอมตางๆ ของการเกดิ ฝนเหมาะสมกจ็ ะเกิดฝนตก มีลมพดั 2) พายุหมุนเขตรอนตางๆ เชน เฮอรร เิ คน ไตฝ ุน และไซโคลน ซึ่งลว นเปน พายุหมุนขนาดใหญเชนเดียวกัน และจะเกิดขึ้นหรือเร่ิมตนกอตัวในทะเล หากเกิดเหนือ เสน ศนู ยส ตู ร จะมที ศิ ทางการหมนุ ทวนเขม็ นากิ า และหากเกดิ ใตเ สน ศนู ยส ตู รจะหมนุ ตาม เขม็ นาิกา โดยมีชอื่ ตา งกนั ตามสถานทเ่ี กดิ กลา วคือ พายเุ ฮอรร เิ คน (hurricane) เปน ชอื่ เรยี กพายหุ มนุ ทเี่ กดิ บรเิ วณทศิ ตะวนั ตกของมหาสมุทรแอตแลนติก เชน บริเวณฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อาวเม็กซิโก ทะเล แครบิ เบียน เปน ตน รวมทง้ั มหาสมทุ รแปซฟิ ก บริเวณชายฝงประเทศเมก็ ซิโก พายุไตฝุน (typhoon) เปนชื่อพายุหมุนท่ีเกิดทางทิศตะวันตกของ
14 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) มหาสมทุ รแปซฟิ ก เหนอื เชน บริเวณทะเลจีนใต อา วไทย อาวตังเกี๋ย ประเทศญ่ีปุน พายไุ ซโคลน (cyclone) เปน ชอื่ พายหุ มนุ ทเี่ กดิ ในมหาสมทุ รอนิ เดยี เหนอื เชน บรเิ วณอา วเบงกอล ทะเลอาหรบั เปนตน แตถ า พายนุ ี้เกิดบริเวณทะเลตมิ อรแ ละทศิ ตะวัน ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศออสเตรเลีย จะเรยี กวา พายุวลิ ล-ี วลิ ลี (willy-willy) พายโุ ซนรอ น (tropical storm) เกดิ ขน้ึ เมอื่ พายเุ ขตรอ นขนาดใหญอ อ นกาํ ลงั ลงขณะเคลื่อนตัวในทะเล และความเร็วทีจ่ ดุ ศูนยกลางลดลงเมอ่ื เคลอ่ื นเขาหาฝง มีความเร็ว ลม 62 - 117 กโิ ลเมตรตอชว่ั โมง พายดุ เี ปรสชนั (depression) เกดิ ขน้ึ เมอื่ ความเรว็ ลดลงจากพายโุ ซนรอ น ซง่ึ กอ ใหเ กิดพายฝุ นฟา คะนองธรรมดาหรือฝนตกหนัก มคี วามเรว็ ลมนอ ยกวา 61 กโิ ลเมตร ตอ ช่ัวโมง 3) พายทุ อรน าโด (tornado) เปน ชือ่ เรยี กพายุหมุนท่เี กดิ ในทวปี อเมริกา มี ขนาดเน้ือท่ีเล็กหรือเสนผาศูนยกลางนอย แตหมุนดวยความเร็วสูง หรือความเร็วท่ี จุดศูนยก ลางสูงมากกวา พายหุ มุนอืน่ ๆ กอความเสยี หายไดรุนแรงในบริเวณทพ่ี ัดผาน เกิด ไดท้ังบนบกและในทะเล หากเกิดในทะเล จะเรยี กวา นาคเลน นา้ํ (water spout) บางคร้ัง อาจเกดิ จากกลมุ เมฆบนทอ งฟา แตห มนุ ตวั ยนื่ ลงมาจากทอ งฟา ไมถ งึ พน้ื ดนิ มรี ปู รา งเหมอื น งวงชา ง จึงเรยี กกันวา ลมงวง ความเร็วของพายุ สามารถแบง ออกเปน 5 ระดบั ไดแ ก 1) ระดับที่ 1 มีความเร็วลม 119 - 153 กิโลเมตรตอช่ัวโมง ทําลายลาง เล็กนอ ย ไมสง ผลตอส่งิ ปลูกสราง มนี ํ้าทวมขงั ตามชายฝง 2) ระดับที่ 2 มีความเร็วลม 154 - 177 กิโลเมตรตอช่ัวโมง ทําลายลาง เล็กนอย ทาํ ใหหลังคา ประตู หนา ตา งบานเรือนเสียหายบา ง ทําใหเกดิ นํ้าทว มขงั 3) ระดับที่ 3 มีความเร็วลม 178 - 209 กิโลเมตรตอ ชั่วโมง ทาํ ลายลา งปาน กลาง ทาํ ลายโครงสรางทอี่ ยูอ าศัยขนาดเลก็ นา้ํ ทวมขังถึงพ้นื บานชัน้ ลา ง 4) ระดบั ที่ 4 มีความเรว็ ลม 210 - 249 กิโลเมตรตอช่ัวโมง ทําลายลา งสูง หลงั คาบา นเรอื นบางแหง ถกู ทําลาย นาํ้ ทว มเขา มาถึงพ้นื บาน 5) ระดับท่ี 5 มีความเร็วลมมากกวา 250 กิโลเมตรตอช่วั โมง จะทาํ ลายลาง สูงมาก หลังคาบา นเรอื น ตึกและอาคารตาง ๆ ถูกทาํ ลาย พงั ทลาย นํ้าทว มขงั ปริมาณมาก ถงึ ข้ันทาํ ลายทรพั ยสนิ ในบา น อาจตอ งประกาศอพยพประชาชน ลําดับชั้นการเกดิ พายฝุ นฟา คะนอง 1) ระยะเจริญเติบโต โดยเร่ิมจากการท่ีอากาศรอนลอยตัวข้ึนสูบรรยากาศ พรอมกับการมีแรงมากระทํา หรือผลักดันใหมวลอากาศยกตัวข้ึนไปสูความสูงระดับหนึ่ง โดยมวลอากาศจะเยน็ ลงเมอ่ื ลอยสงู ขนึ้ และเรมิ่ ทจี่ ะเคลอื่ นตวั เปน ละอองนาํ้ เลก็ ๆ เปน การ กอ ตวั ของเมฆควิ มลู สั ในขณะทค่ี วามรอ นแฝงจากการกลน่ั ตวั ของไอนา้ํ จะชว ยใหอ ตั ราการ ลอยตัวของกระแสอากาศภายในกอนเมฆเร็วมากย่ิงข้ึน ซึ่งเปนสาเหตุใหขนาดของเมฆคิว
« ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน » 15 มูลัสมีขนาดใหญข้ึน และยอดเมฆสูงเพิ่มขึ้นเปนลําดับ จนเคลื่อนท่ีข้ึนถึงระดับบนสุดแลว (จุดอิ่มตัว) จนพัฒนามาเปนเมฆคิวมูโลนิมบัส กระแสอากาศบางสวนก็จะเร่ิมเคลื่อนที่ลง และจะเพม่ิ มากขึน้ จนกลายเปน กระแสอากาศที่เคลอ่ื นท่ลี งอยา งเดียว 2) ระยะเจริญเติบโตเต็มที่ เปนชวงท่ีกระแสอากาศมีท้ังไหลขึ้นและไหลลง ปริมาณความรอนแฝงที่เกิดขึ้นจากการกลั่นตัวลดนอยลง ซ่ึงมีสาเหตุมาจากการท่ี หยาดนํ้าฟาท่ีตกลงมามีอุณหภูมิต่ํา ชวยทําใหอุณหภูมิของกลุมอากาศเย็นกวาอากาศ แวดลอม ดังน้ันอัตราการเคล่ือนท่ีลงของกระแสอากาศจะมีคาเพิ่มขึ้นเปนลําดับ กระแส อากาศที่เคลอ่ื นทล่ี งมา จะแผข ยายตัวออกดานขางกอ ใหเกิดลมกระโชกรุนแรง อุณหภูมจิ ะ ลดลงทนั ทที นั ใด และความกดอากาศจะเพม่ิ ขนึ้ อยา งรวดเรว็ และยาวนาน แผอ อกไปไกลถงึ 60 กโิ ลเมตรได โดยเฉพาะสว นทอ่ี ยดู า นหนา ของทศิ ทาง การเคลอื่ นทข่ี องพายฝุ นฟา คะนอง พรอ มกนั นนั้ การทกี่ ระแสอากาศเคลอื่ นทข่ี นึ้ และเคลอื่ นทลี่ งจะกอ ใหเ กดิ ลมเชยี รร นุ แรงและ เกดิ อากาศปน ปว นโดยรอบ 3) ระยะสลายตัว เปนระยะที่พายุฝนฟาคะนองมีกระแสอากาศเคลื่อนที่ลง เพยี งอยางเดียว หยาดน้ําฝนตกลงมาอยา งรวดเร็วและหมดไป พรอมๆ กบั กระแสอากาศท่ี ไหลลงกจ็ ะเบาบางลง การหลบเลี่ยงอันตรายจากพายุฝนฟาคะนอง เนื่องจากพายุฝนฟาคะนอง สามารถ ทาํ ใหเ กดิ ความเสยี หายตอ ทรพั ยส นิ และอนั ตรายตอ ชวี ติ ของมนษุ ยไ ด จงึ ควรหลบ เล่ียงจากสาเหตดุ ังกลา ว คือ 1) ในขณะปรากฏพายฝุ นฟา คะนอง หากอยูใกลอาคารหรอื บานเรอื นทแี่ ข็ง แรงและปลอดภยั จากน้าํ ทว ม ควรอยแู ตภายในอาคารจนกวาพายุฝนฟาคะนองจะยตุ ลิ ง ซง่ึ ใชเวลาไมนานนัก การอยูในรถยนตจะเปนวิธีการที่ปลอดภัยวิธีหนึ่ง แตควรจอดรถใหอยู หางไกลจากบริเวณท่ีนํ้าอาจทวมได อยูหางจากบริเวณท่ีเปนนํ้า ขึ้นจากเรือ ออกหางจาก ชายหาดเม่อื ปรากฏพายุฝนฟา คะนอง เพือ่ หลกี เล่ียงอันตรายจากน้ําทวมและฟา ผา 2) ในกรณีทอ่ี ยใู นปา ในทงุ ราบ หรอื ในท่ีโลง ควรคกุ เขาและโนม ตวั ไปขาง หนา แตไมควรนอนราบกับพนื้ เน่ืองจากพนื้ เปยกเปน ส่ือไฟฟา และไมค วรอยใู นทตี่ ํ่า ซ่งึ อาจเกดิ น้าํ ทว มฉับพลันได ไมค วรอยใู นทโ่ี ดดเด่ียวหรอื อยูสงู กวาสภาพส่งิ แวดลอ ม 3) ออกหา งจากวัตถุทีเ่ ปนสอ่ื ไฟฟาทกุ ชนดิ เชน ลวด โลหะ ทอน้ํา แนว ร้ัวบาน รถแทรกเตอร จักรยานยนต เครอื่ งมอื อปุ กรณท ําสวนทกุ ชนดิ รางรถไฟ ตนไมสงู ตน ไมโ ดดเดยี่ วในทแี่ จง ไมค วรใชอ ุปกรณไ ฟฟา เชน โทรทัศน ฯลฯ และควรงดใชโ ทรศพั ท ชั่วคราว นอกจากกรณฉี กุ เฉิน ไมค วรใสเ ครือ่ งประดับโลหะ เชน ทองเหลอื ง ทองแดง ฯลฯ ในทแ่ี จง หรือถือวตั ถโุ ลหะ เชน รม ฯลฯ ในขณะปรากฏพายุฝนฟาคะนอง นอกจากน้ีควร ดูแลสิ่งของตางๆ ใหอยูในสภาพที่แข็งแรงและปลอดภัยอยูเสมอโดยเฉพาะส่ิงของที่อาจจะ หักโคน ได เชน หลังคาบาน ตนไม ปายโฆษณา เสาไฟฟา ฯลฯ
16 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค21001) ผลกระทบตอ ประชากรทเี่ กิดจากพายุ จากกรณกี ารเกดิ พายไุ ซโคลน “นารก สี ” (Nargis) ทส่ี าธารณรฐั แหง สหภาพพมา ถือเปน ขา วใหญทีท่ ั่วโลกใหค วามสนใจอยา งยิ่ง เพราะมหนั ตภยั ครงั้ นี้ ไดค รา ชวี ติ ชาวพมา ไปนับหม่ืนคน สูญหายอีกหลายหม่ืนชีวิต บานเรือน ทรัพยสิน และสาธารณูปโภคตางๆ เสียหายยบั เยนิ “นารก สี ” เปน ชอ่ื เรยี กของพายหุ มนุ เขตรอ น มผี ลพวงมาจากการเกดิ ภาวะโลกรอ น มคี วามเรว็ ลม 190 กโิ ลเมตรตอ ชว่ั โมง พายุ “นารก สี ” เรม่ิ กอ ตวั เมอ่ื วนั ท่ี 27 เมษายน 2551 ในอาวเบงกอล ตอนกลางและพดั เขา บริเวณสามเหลีย่ มปากแมน ํ้าอริ ะวดี ท่ีนครยา งกงุ และ บาสเซน สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา ในเชา วันที่ 3 พฤษภาคม 2551 ความรนุ แรงของไซโคลน “นารกีส” จัดอยใู นความรนุ แรงระดบั 3 คือ ทาํ ลาย ลา งปานกลาง ทาํ ลายโครงสรา งทอ่ี ยอู าศยั ขนาดเลก็ นา้ํ ทว มขงั ถงึ พนื้ บา นชน้ั ลา งพดั หลงั คา บานเรือนปลิววอน ตนไมและเสาไฟฟาหักโคน ไฟฟาดับทั่วเมือง ในขณะที่ทางภาคเหนือ และภาคใตข องประเทศไทยกเ็ จอหางเลขอิทธิพล “นารกสี ” เลก็ นอ ย ซง่ึ ทําใหห ลายจังหวัด เกิดฝนตกชกุ มีนา้ํ ทวมขงั พบิ ัติภยั ธรรมชาติไมมที างเลยี่ งได ไมวา จะประเทศไหนหรือแผน ดินใด แตมวี ิธี ปองกันที่ดีท่ีสุด คือ รัฐบาลตองมีหนวยงานซ่ึงทําหนาท่ี early warning คือ เตือน ประชาชนคนของตนแตแ รกดว ยขอ มลู ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพและทนั การณ จากนนั้ กต็ อ งรบี ดาํ เนนิ การตางๆ อยางเหมาะสม เชน ยายผูคนใหไปอยูในที่ปลอดภัย ท้ังนี้ นับเปนโชคดีของ ประเทศไทยท่ีเมื่อ นารกีส มาถึงบานเราก็ลดความแรงลง คงมีแตฝนเปนสวนใหญ แมจะ ทําความเสียหายแกพืชไรของเกษตรกรไมนอยแตก็เพ่ิมประมาณนํ้าในเขื่อนสําคัญๆ แต อยา งไรกต็ ามผลพวงภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาตทิ ี่เกิดขึ้นทงั้ หมด มาจาก “ภาวะโลกรอน” ซ่ึงก็ เกดิ จากฝมอื มนษุ ยท ัง้ สิน้ 2.3 การเกิดคล่นื สึนามิ คล่ืนสึนามิ (tsunami) คอื คล่ืนในทะเล หรือคลืน่ ยักษ ใตน้ํา จะเกดิ ภายหลงั จากการส่นั สะเทอื นของแผนดินไหว แผนดนิ ถลม การระเบดิ หรอื การ ปะทุของภูเขาไฟที่พ้ืนทองสมุทรอยางรนุ แรง ทาํ ใหเกดิ รอยแยก นํ้าทะเลจะถูกดดู เขาไปใน รอยแยกนี้ ทําใหเ กิดภาวะน้ําลดลงอยางรวดเร็ว จากน้ันแรงอดั ใตเ ปลอื กโลกจะดันนา้ํ ทะเล ขึ้นมากอพลงั คล่ืนมหาศาล คลื่นสนึ ามิอาจจะเคล่ือนทขี่ ามมหาสมุทร ซึง่ หา งจากจุดทเี่ กิด เปน พนั ๆ กโิ ลเมตร โดยไมม ลี กั ษณะผดิ สงั เกต เพราะมคี วามสงู เพยี ง 30 เซนตเิ มตร เคลอ่ื นที่ ดวยความเรว็ 600 - 1,000 กิโลเมตรตอช่วั โมง แตเมื่อเคล่ือนตัว เขา มาในเขตน้ําตนื้ จะ เกิดแรงดันระดบั นํ้าใหส ูงขึน้ อยางรวดเร็ว และมแี รงปะทะอยางมหาศาลกลายเปน คลน่ื ยกั ษ ทม่ี ีความสูง 15 - 30 เมตร สนึ ามิ สว นใหญเ กดิ จากการเคลอื่ นตวั ของเปลอื กโลกใตท ะเลอยา งฉบั พลนั อาจ จะเปน การเกดิ แผน ดนิ ถลม ยบุ ตวั ลง หรอื เปลอื กโลกถกู ดนั ขน้ึ หรอื ยบุ ตวั ลง ทาํ ใหม นี าํ้ ทะเล ปรมิ าตรมหาศาลถกู ดนั ขน้ึ หรอื ทรดุ ตวั ลงอยา งฉบั พลนั พลงั งานจาํ นวนมหาศาลกถ็ า ยเทไป ใหเ กดิ การเคลอ่ื นตวั ของนาํ้ ทะเลเปน คลนื่ สนึ ามทิ เ่ี หนอื ทะเลลกึ จะดไู มต า งไปจากคลน่ื ทวั่ ๆ
« ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน » 17 ภาพหลังสึนามิ ไปเลย จงึ ไมส ามารถสงั เกตไดด ว ยวธิ ปี กติ แมแ ตค นบนเรอื เหนอื ทะเลลกึ ทค่ี ลนื่ สนึ ามเิ คลอื่ น ผานใตทองเรือไป ก็จะไมรูสึกอะไร เพราะเหนือทะเลลึก คล่ืนน้ีสูงจากระดับนํ้าทะเลปกติ เพียงไมกี่ฟุตเทาน้ัน จึงไมสามารถแมแตจะบอกไดดวยภาพถายจากเคร่ืองบิน หรือยาน อวกาศ นอกจากนแี้ ลว สึนามิ ยงั เกดิ ไดจากการเกดิ แผนดินถลม ใตท ะเล หรือใกลฝ งท่ีทาํ ให มวลของดินและหนิ ไปเคล่อื นยายแทนทีม่ วลนาํ้ ทะเล หรือภเู ขาไฟระเบิดใกลทะเล สงผลให เกิดการโยนสาดดินหินลงนํ้า จนเกิดเปนคล่ืนสึนามิได ดังเชน การระเบิดของภูเขาไฟ กระกะต้วั ในป ค.ศ. 1883 ซ่งึ สงคล่นื สนึ ามิ ออกไปทาํ ลายลา งชีวิตและทรัพยส นิ ของผูค น ในเอเชยี มจี ํานวนผูต ายถงึ ประมาณ 36,000 ชวี ติ คลนื่ สนึ ามกิ บั ผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอ ม การเกดิ คลน่ื สนึ ามกิ ระทบตอ สงิ่ แวดลอ ม และสังคม ในหลาย ๆ ดาน เชน เกิดการเปล่ียนแปลงของพื้นท่ีชายฝงในชวงเวลาอันสั้น รวมทงั้ การเปลยี่ นแปลงทอ่ี ยอู าศยั ของสตั วน าํ้ บางประเภท ปะการงั ถกู ทาํ ลาย ประชาชนขาด ที่อยอู าศัย ไรท รัพยส ิน สน้ิ เนอ้ื ประดาตวั กระทบตอ อาชพี ไมว าจะเปนชาวประมง อาชพี ที่ เก่ียวกบั การบริการดานทอ งเท่ียว สง่ิ ปลูกสรางอาคารบานเรือนเสียหาย ฯลฯ ผลกระทบตอ ประชากรทเ่ี กดิ จากคลื่นสึนามิ จากกรณีการเกิดคล่นื สึนามิ ในวันท่ี 26 ธนั วาคม 2547 เวลา 0:58:50 น. (UT) หรอื เวลา 7:58:50 น. ตามเวลาในประเทศไทย ไดเ กิดแผนดินไหวขนาด 8.9 ตามมาตรา ริกเตอร ที่นอกชายฝงตะวันตกทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย
18 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค21001) จุดศูนยกลางอยูลึก 10 กม. หางจากเมืองบันดาเอเช ประมาณ 250 กม. และหางจาก กรุงเทพฯ 1,260 กม. แผนดินไหวนี้เปนแผนดินไหวที่ใหญเปนอันดับที่ 5 นับต้ังแตป ค.ศ. 1900 และใหญท สี่ ดุ นบั ตง้ั แตแ ผน ดนิ ไหวอลาสกาในป ค.ศ. 1964 เหตกุ ารณด งั กลา ว ทําใหเกดิ การส่ันสะเทอื นรบั รไู ดใ นประเทศมาเลเซีย สงิ คโปร และไทย แรงคลื่นสูงประมาณ 6 เมตร ไดถ าโถมตามแนวชายฝง สรา งความเสยี หายในวงกวา ง ทาํ ใหเ กดิ ผเู สยี ชวี ติ และบาด เจ็บเปนจาํ นวนมาก ในประเทศอนิ เดีย ศรีลังกา มาเลเซยี และจงั หวดั ทอ งเที่ยวทางใตของ ประเทศไทย มผี ูเสยี ชีวิตนับรอ ยและมีผูบาดเจ็บเปนจํานวนมากในจงั หวัดภูเกต็ พงั งา ตรงั และกระบ่ี
« ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน » 19 กจิ กรรมท่ี 1.2 การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ศิ าสตรกายภาพ 1) ใหผูเรียนอธิบายวาการเกิดแผนดินไหวอยางรุนแรง จะสงผลกระทบตอ ประชากรและส่งิ แวดลอมอยางไรบา ง ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 2) ใหบ อกความแตกตา งและผลกระทบทเี่ กดิ ตอ ประชากรและสง่ิ แวดลอ มของ พายฝุ นฟา คะนอง พายุหมุนเขตรอ น และพายุทอรน าโด ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3) คลนื่ สนึ ามกิ บั ผลกระทบตอ สงิ่ แวดลอ มมากมายหลายอยา ง ในความคดิ เหน็ ของผูเ รยี นผลกระทบดานใดที่เสยี หายมากท่ีสุด พรอ มใหเ หตผุ ลประกอบ ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................
20 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001) เรอ่ื งท่ี 3 วธิ ีใชเครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร หมายถึง สิ่งที่มนุษยสรางขึ้นมาเพื่อตรวจสอบและบันทึก ขอมูลทางดานภมู ศิ าสตร เครอ่ื งมอื ภมู ิศาสตรที่สาํ คญั ไดแ ก แผนท่ี ลกู โลก เขม็ ทศิ รูปถาย ทางอากาศ และภาพถา ยจากดาวเทยี ม และเครอ่ื งมอื เทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษาภมู ศิ าสตร ฯลฯ 3.1 แผนท่ี เปน สง่ิ ทีม่ นุษยส รา งข้นึ เพอ่ื แสดงลักษณะท่ีต้งั ของส่ิงตางๆ ที่ปรากฏ อยบู นพนื้ ผวิ โลก ทง้ั ทเี่ กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาตแิ ละสง่ิ ทม่ี นษุ ยส รา งขน้ึ โดยการยอ สว นใหม ี ขนาดเล็กลงตามที่ตองการ พรอมทั้งใชเครื่องหมาย หรือสัญลักษณแสดงลักษณะแทน สงิ่ ตางๆ ลงในวัสดุพื้นแบนราบ ความสําคัญของแผนที่ แผนทีเ่ ปนทรี่ วบรวมขอมลู ประเภทตา งๆ ตามชนดิ ของแผนท่ี จงึ สามารถใชป ระโยชนจ ากแผนทไี่ ดต ามวตั ถปุ ระสงค โดยไมจ าํ เปน ตอ งเดนิ ทาง ไปเห็นพน้ื ท่ีจรงิ แผนท่ีชวยใหผูใชส ามารถรสู ง่ิ ท่ปี รากฏอยบู นพื้นโลกไดอ ยางกวา งไกล ถูก ตองและประหยดั ประโยชนข องแผนท่ี แผนท่มี ีประโยชนตอ งานหลายๆ ดาน คือ 1. ดา นการเมืองการปกครอง เพื่อรักษาความม่ันคงของประเทศชาติ ใหค ง อยูจาํ เปนจะตองมีความรใู นเรอื่ งภมู ิศาสตรการเมือง หรอื ทเ่ี รียกกนั วา “ภมู ิรัฐศาสตร” และ เคร่อื งมือท่สี าํ คัญของนักภูมิรัฐศาสตรก็คือ แผนท่ี เพอ่ื ใชศ ึกษาสภาพทางภมู ิศาสตรและนาํ มาวางแผนดําเนนิ การเตรยี มรบั หรือแกไขสถานการณทเี่ กิดขน้ึ ได 2. ดานการทหาร ในการพิจารณาวางแผนทางยุทธศาสตรของทหาร จําเปน ตอ งหาขอ มลู หรอื ขา วสารทเี่ กยี่ วกบั สภาพภมู ศิ าสตร และตาํ แหนง ทางสงิ่ แวดลอ มทถ่ี กู ตอ ง แนน อนเกี่ยวกับระยะทาง ความสูง เสนทาง ลักษณะภมู ปิ ระเทศทส่ี าํ คัญ 3. ดานเศรษฐกจิ และสงั คม ดา นเศรษฐกิจ เปน เคร่อื งบง ชี้ความเปน อยขู อง ประชาชนภายในชาติ การดาํ เนนิ งานเพอ่ื พฒั นาเศรษฐกจิ ของแตล ะภมู ภิ าคทผ่ี า นมา แผนท่ี เปน สง่ิ แรกทต่ี อ ง ผลติ ขน้ึ มาเพอ่ื การใชง านในการวางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ก็ตองอาศัยแผนที่เปนขอมูลพื้นฐานเพื่อใหทราบทําเลท่ีตั้งสภาพทางกายภาพแหลง ทรัพยากร 4. ดา นสงั คม สภาพแวดลอมทางสังคมมีการเปลยี่ นแปลงอยเู สมอ ทเ่ี ห็นชดั คอื สภาพแวดลอ มทางภมู ศิ าสตร ซงึ่ ทาํ ใหส ภาพแวดลอ มทางสงั คมเปลยี่ นแปลงไป การศกึ ษา สภาพการเปล่ียนแปลงตองอาศัยแผนท่ีเปนสําคัญ และอาจชวยใหการดําเนินการวางแผน พฒั นาสังคมเปนไปในแนวทางทถี่ กู ตอง 5. ดา นการเรยี นการสอน แผนทเ่ี ปน ตวั สง เสรมิ กระตนุ ความสนใจ และกอ ให เกิดความเขาใจในบทเรยี นดขี ึน้ ใชเ ปน แหลง ขอมูลท้งั ทางดา นกายภาพ ภมู ิภาค วฒั นธรรม เศรษฐกิจ สถิติและการกระจายของสิ่งตางๆ รวมท้ังปรากฏการณทางธรรมชาติ และ ปรากฏการณต า งๆ ใชเ ปน เคร่ืองชว ยแสดงภาพรวมของพื้นทห่ี รือของภูมภิ าค อนั จะนําไป ศึกษาสถานการณและวเิ คราะหค วามแตกตา งหรอื ความสมั พนั ธของพ้นื ท่ี
« ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน » 21 6. ดานสงเสริมการทองเท่ียว แผนท่ีมีความจําเปนตอนักทองเท่ียวในอันที่ จะทําใหรูจักสถานที่ทองเที่ยวไดงาย สะดวกในการวางแผนการเดินทางหรือเลือกสถานที่ ทองเทย่ี วตามความเหมาะสม ชนิดของแผนที่ แบงตามการใชงานได 3 ชนดิ ไดแก 1. แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศ เปน แผนทแี่ สดงความสงู ตาํ่ ของพนื้ ผวิ โลก โดยใชเ สน ชน้ั ความสงู บอกคา ความสงู จากระดบั นา้ํ ทะเลปานกลาง แผนทช่ี นดิ นเี้ ปน พน้ื ฐานทจ่ี ะนาํ ไปทาํ ขอ มูลอ่ืนๆ เก่ยี วกบั แผนที่ 2. แผนทเ่ี ฉพาะเรอ่ื ง เปน แผนทท่ี แ่ี สดงลกั ษณะใดลกั ษณะหนง่ึ โดยเฉพาะ ไดแ ก แผนที่ รัฐกจิ แสดงเขตการปกครองหรืออาณาเขต แผนทีแ่ สดงอุณหภูมิของอากาศ แผนท่ี แสดงปริมาณนํ้าฝน แผนที่แสดงการกระจายตัวของประชากร แผนท่ีเศรษฐกิจ แผนที่ ประวัตศิ าสตร เปน ตน 3. เปน แผนทท่ี รี่ วบรวมเรอ่ื งตา ง ๆ ทง้ั ลกั ษณะทางกายภาพ ทางเศรษฐกจิ ทาง สงั คม ทางดา นประชากร และอน่ื ๆ ไวในเลมเดยี วกนั องคป ระกอบของแผนท่ีมีหลายองคป ระกอบ คือ 1. สญั ลกั ษณ คอื เครอ่ื งหมายทใ่ี ชแ ทนสง่ิ ตา งๆ ตามทต่ี อ งการแสดงไวใ นแผนที่ เพอ่ื ใหเ ขา ใจแผนท่ไี ดง า ยขึ้น เชน จุด วงกลม เสน ฯลฯ 2. มาตราสว น คอื อตั ราสว นระยะหา งในแผนทกี่ บั ระยะหา งในภมู ปิ ระเทศจรงิ 3. ระบบอา งองิ ในแผนท่ี ไดแ ก เสน ขนานละตจิ ดู และเสน ลองจจิ ดู (เมรเิ ดยี น) เสน ละตจิ ดู เปน เสน สมมตทิ ลี่ ากไปรอบโลกตามแนวนอนหรอื แนวทศิ ตะวนั ออก ตะวนั ตก แตละเสนหา งกนั 1 องศา โดยมีเสน 0 องศา (เสนศนู ยสตู ร) แบง กง่ึ กลาง โลก เสน ทอ่ี ยเู หนอื เสน ศนู ยส ตู ร เรยี กเสน องศาเหนอื เสน ทอี่ ยใู ตเ สน ศนู ยส ตู ร เรยี กเสน องศา ใต ละติจดู มที งั้ หมด 180 เสน เสน ลองจจิ ดู เปน เสน สมมตทิ ลี่ ากไปรอบโลกในแนวตง้ั จากขวั้ โลกเหนอื ไป ยัง ขวั้ โลกใต แตล ะเสน หา งกนั 1 องศา กาํ หนดใหเสน ท่ีลากผา นตาํ บลกรนี ิช กรุงลอนดอน ประเทศองั กฤษ เปน เสน 0 องศา (เมรเิ ดยี นปฐม) ถา นบั จากเสน เมรเิ ดยี นปฐม ไปทางตะวนั ออก เรยี กเสนองศาตะวนั ออก ถานับไปทางตะวันตกเรยี กเสนองศาตะวนั ตก ลองจจิ ูด มี ทั้งหมด 360 เสน พกิ ดั ภมู ศิ าสตร เปน ตาํ แหนง ทต่ี ง้ั ของจดุ ตา งๆ บนพน้ื ผวิ โลก เกดิ จากการ ตดั กนั ของเสน ขนานละตจิ ดู และเสน เมรเิ ดยี น โดยเสน สมมตทิ ง้ั สองนจ้ี ะตง้ั ฉากซง่ึ กนั และกนั 4. ขอบระวาง แผนท่ีทุกชนิดควรมีขอบระวาง เพื่อชวยใหดูเรียบรอย และ เปนการกําหนดขอบเขตของแผนที่ดวย ขอบระวางมักแสดงดวยเสนตรงสองเสนหรือ เสน เดียว 5. ระบบอา งองิ บนแผนที่ คือระบบทก่ี าํ หนดขึน้ เพ่ืออาํ นวยความสะดวกใน การคํานวณหาตาํ แหนง ทตี่ ัง้ และคํานวณหาเวลาของตําแหนงตา งๆ บนพืน้ ผวิ โลก ซึ่งแยก ไดดงั นี้
22 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001) ภาพแผนทที่ วีปเอเชยี ระบเุ สน ละตจิ ูดและลองติจดู การคาํ นวณหาตาํ แหนง ทตี่ ง้ั จะใชล ะตจิ ดู และลองจจิ ดู เปน เกณฑ วธิ นี เ้ี รยี กวา การพิกดั ภมู ิศาสตร การคํานวณหาเวลา โดยใชห ลักการวา 1 นาที = 15 ลิบดา และ 4 นาที = 1 ลองจจิ ูด หรอื 1 องศา 6. สีทีใ่ ชในการเขยี นแผนที่แสดงลักษณะภูมปิ ระเทศ สีดํา หมายถึง ส่ิงสําคัญทางวัฒนธรรมที่มนุษยสรางขึ้น เชน อาคาร วัด สถานที่ราชการ สีนาํ้ ตาล หมายถงึ ลักษณะภมู ิประเทศทีม่ คี วามสงู สนี ํ้าเงนิ หมายถงึ ลักษณะภมู ปิ ระเทศทเ่ี ปนนาํ้ เชน ทะเล แมน้ํา หนองบงึ สีแดง หมายถึง ถนนสายหลัก พื้นท่ียานชุมชนหนาแนน และลักษณะ ภูมปิ ระเทศสําคญั สีเขียว พชื พนั ธไุ มต าง ๆ เชน ปา สวน ไร 3.2 ลูกโลก เปนเครื่องมือทางภูมิศาสตรอยางหน่ึงท่ีใชเปนอุปกรณในการ ศกึ ษาคน ควา หรอื ใชป ระโยชนใ นดา นอน่ื ๆ ลกู โลกจาํ ลองเปน การยอ สว นของโลกมลี กั ษณะ ทรงกลม บนผิวของลูกโลกจะมีแผนท่ีโลก แสดงพื้นดิน พื้นน้ํา สภาพภูมิประเทศ ที่ต้ัง ประเทศ เมือง และเสน พกิ ดั ทางภมู ิศาสตร เพอ่ื สามารถบอกตาํ แหนง ตา งๆ บนพนื้ ผิวโลก ได ลกู โลกจาํ ลองสรา งคลายลกู โลกจริง แสดงสีแทนลักษณะภมู ปิ ระเทศตา งๆ องคป ระกอบของลกู โลก ไดแ ก เสนเมรเิ ดยี น เปน เสนสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต ซง่ึ กาํ หนด ใหม คี าเปน 0 องศาที่เมอื งกรนี ิช ประเทศอังกฤษ
« ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน » 23 เสนขนาน เปนเสนสมมติที่ลากไปรอบโลกในแนวนอน ทุกเสนจะขนานกับ เสนศนู ยสตู ร 3.3 เขม็ ทิศ เปนเคร่ืองมือสําหรบั ใชใ นการหาทิศทางของจุดหรอื วัตถุ โดยมี หนว ยเปน องศา เปรยี บเทยี บกบั จดุ เรม่ิ ตน อาศยั แรงดงึ ดดู ระหวา งสนามแมเ หลก็ ขว้ั โลกกบั เข็มแมเหล็ก ซึ่งเปนองคประกอบที่สําคัญท่ีสุด เข็มแมเหล็กจะแกวงไกวอิสระในแนวนอน เพอื่ ใหแ นวเขม็ ช้ีอยใู นแนว เหนอื - ใต ไปยงั ขว้ั แมเ หลก็ โลกตลอดเวลา เขม็ ทศิ มปี ระโยชน เพอ่ื ใชใ นการเดนิ ทาง ไดแ ก การเดนิ เรอื ทะเล เครอ่ื งบนิ การใชเ ขม็ ทศิ จะตอ งมแี ผนทป่ี ระกอบ และตอ งหาทศิ เหนือกอน 3.4 รปู ถา ยทางอากาศและภาพถา ยจากดาวเทยี ม เปน รปู หรอื ขอ มลู ตวั เลข ที่ไดจากการเก็บขอมูลภาคพ้ืนดินจากกลองที่ติดอยูกับยานพาหนะ เชน เครื่องบิน หรือ ดาวเทยี ม ประโยชนของรูปถายทางอากาศและภาพถายจากดาวเทียม รูปถายทาง อากาศและภาพถายจากดาวเทียมใหขอมูลพ้ืนผิวของเปลือกโลกไดเปนอยางดี ทําใหเห็น ภาพรวมของการใชพื้นท่ีและการเปลี่ยนแปลงตางๆ ตามที่ปรากฏบนพ้ืนโลกเหมาะแกการ ศึกษาทรัพยากรผิวดิน เชน ปาไม การใชประโยชนจ ากดนิ หิน และแร 3.5 เคร่ืองมือเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษาภูมิศาสตร เทคโนโลยีท่สี ําคญั ดาน ภูมิศาสตร คือ 1) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) หมายถึง การเก็บ รวบรวม และ บันทึกขอมูลทางภูมิศาสตรดวยระบบคอมพิวเตอรโดยขอมูลเหลาน้ีสามารถปรับปรุงแกไข ใหถูกตองทันสมัย และสามารถแสดงผลหรือนําออกมาเผยแพรเปนตัวเลข สถิติ รูปภาพ ภาพดาวเทียมถา ยภาพทางอากศ
24 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) ตาราง แผนที่ และขอ ความทางหนาจอคอมพวิ เตอรหรือพมิ พออกมาเปนเอกสารได ประโยชนข องระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร (GIS) คอื ชว ยใหป ระหยดั เวลา และงบประมาณ ชวยใหเห็นภาพจําลองพื้นที่ชัดเจนทําใหการตัดสินใจวางแผนจัดการและ พัฒนาพื้นท่ีมีความสะดวกและสอดคลองกับศักยภาพของพ้ืนท่ีนั้นและชวยในการปรับปรุง แผนท่ใี หทนั สมัย 2) ระบบพกิ ดั พนื้ ผวิ โลก (GPS) เปน เครอื่ งมอื รบั สญั ญาณพกิ ดั พน้ื ผวิ โลก อาศัยระยะทางระหวางเคร่ืองรับดาวเทียม GPS บนพ้ืนผิวโลกกับดาวเทียมจํานวนหน่ึงท่ี โคจรอยูในอวกาศและระยะทางระหวางดาวเทียมแตละดวง ปจจุบันมีดาวเทียมชนิดน้ีอยู ประมาณ 24 ดวง เครือ่ งมอื รับสญั ญาณ มีขนาดและรูปรางคลา ยโทรศัพทม อื ถอื เมอื่ รับ สญั ญาณจากดาวเทยี มแลว จะทราบคา พกิ ดั ณ จดุ ทวี่ ดั ไว โดยอาจจะอา นคา เปน ละตจิ ดู และ ลองจิจดู ได ความคลาดเคลอื่ นขึน้ อยูกบั ชนิดและราคาของเครื่องมอื ประโยชนข องเครอ่ื งมอื เทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาภมู ศิ าสตร จะคลา ยกบั การใชประโยชนจ ากแผนทสี่ ภาพภมู ิประเทศและแผนทีเ่ ฉพาะเร่ือง เชน จะใหค าํ ตอบวา ถา จะเดนิ ทางจาก จดุ หนง่ึ ไปยงั อกี จดุ หนง่ึ ในแผนทจี่ ะมรี ะยะทางเทา ใด ถา ทราบความเรว็ ของ รถจะทราบวาใชเ วลานานเทา ใด บางครง้ั ขอ มลู มีความสับสนมาก เชน ถนนบางชว งมีสภาพ ถนนไมเ หมอื นกนั คอื บางชว งเปน ถนนกวา งทส่ี ภาพผวิ ถนนดี บางชว งเปน ถนนลกู รงั บาง ชว งเปน หลมุ เปน บอ ทาํ ใหก ารคดิ คาํ นวณเวลาเดนิ ทางลาํ บากแตร ะบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร จะชว ยใหคําตอบได
« ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน » 25 กจิ กรรมที่ 1.3 วธิ ีใชเครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร 1) ถาตองการทราบระยะทาง จากที่หน่งึ ไปยงั อกี ท่ีหน่ึง ผูเรียนจะใชเครื่องมอื ทางภูมิศาสตรชนิดใด ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 2) ภาพถายจากดาวเทียม มีประโยชนอ ยา งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3) แผนที่มปี ระโยชนอ ยางไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 4) ถาตองการทราบวาประเทศไทยอยู พิกัดภูมิศาสตรท่ีเทาไหร ผูเรียนจะใช เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตรช นิดใดไดบ า ง ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................
26 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค21001) เร่อื งท่ี 4 สภาพภูมศิ าสตรกายภาพของไทยทสี่ ง ผลตอทรัพยากร ตา งๆ และสิ่งแวดลอ ม ประเทศไทยมีความแตกตางกันทางสภาพภูมิศาสตรก ายภาพ เน่อื งจากมปี จจัย ทกี่ อ ใหเ กดิ ลกั ษณะภมู ิประเทศ คือ 1) การผนั แปรของเปลือกโลก เกดิ จากพลงั งานภายในโลกท่ีมกี ารบบี อัด ให ยกตวั สูงขึน้ หรือทรุดตาํ่ ลง สว นที่ยกตัวสูงขนึ้ ไดแก ภเู ขา ภเู ขาไฟ เนินเขา ท่ีราบสูง สวน ทล่ี ดตํา่ ลง ไดแก หบุ เขา ท่ีราบลุม 2) การกระทาํ ของตัวกระทาํ ตา งๆ เมื่อเกดิ การผนั แปรแบบแรกแลว กจ็ ะเกิด การกระทําจากตัวตางๆ เชน ลม น้าํ คลน่ื ไปกดั เซาะพงั ทลายภมู ปิ ระเทศหลกั ลกั ษณะของ การกระทํามี 2 ชนิด คือ การกัดกรอนทาํ ลาย คือ การทําลายผิวโลกใหตํา่ ลง โดย ลม อากาศ นํ้า นา้ํ แข็ง คล่ืนลม และการสะสมเสรมิ สรา ง คอื การปรบั ผิวโลกใหร าบโดยเปนไป อยา งชา ๆ แตต อเน่อื ง 3) การกระทาํ ของมนษุ ย เชน การสรา งเขอ่ื น การระเบิดภูเขา ดว ยเหตดุ งั กลา ว นกั ภมู ศิ าสตรไ ดใ ชห ลกั เกณฑค วามแตกตา งทางดา นกายภาพ เชน ภมู ปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศของทอ งถน่ิ มาใชใ นการแบง ภาคภมู ศิ าสตร จงึ ทาํ ใหป ระเทศไทย มีสภาพภมู ิศาสตรทีแ่ บง เปน 6 เขต คือ 1. เขตภเู ขาและหบุ เขาทางภาคเหนอื ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน ภเู ขามากกวา ภาคใดๆ และเทือกเขาจะทอดยาวในแนวเหนือใตสลับกับที่ราบหุบเขา โดยมีที่ราบหุบเขา แคบๆ ขนานกนั ไป อนั เปน ตน กาํ เนดิ ของแมน าํ้ ลาํ คลองหลายสาย แควใหญน อ ยในภาคเหนอื ทําใหเกิดที่ราบลุมแมนํ้า ซ่ึงอยูระหวางหุบเขาอันอุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ ราษฎรสวนใหญประกอบอาชีพเพาะปลูก เลี้ยงสัตว และทําเหมืองแร นอกจากน้ี ทรพั ยากรธรรมชาติยงั เอื้ออาํ นวยใหเ กดิ อุตสาหกรรมในครวั เรือนทม่ี ีชื่อเสียง เปน ทีร่ จู กั กัน มาชา นาน ภาคเหนอื จะอยใู นเขตรอ นทมี่ ลี กั ษณะภมู อิ ากาศคลา ยคลงึ กบั ภมู อิ ากาศทางตอน ใตของเขตอบอนุ ของประเทศท่มี ี 4 ฤดู 2. เขตเทอื กเขาทางภาคตะวนั ตก ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน พน้ื ทแ่ี คบๆ ทอด ยาวขนานกบั พรมแดนประเทศพมา สว นใหญเ ปนภเู ขา มแี หลงทรพั ยากรแรธาตุ และปา ไม ของประเทศ มปี รมิ าณฝนเฉลยี่ ตาํ่ กวา ทกุ ภาค และเปน ภมู ภิ าคทปี่ ระชากรอาศยั อยนู อ ย สว น ใหญอยูในเขตท่ีราบลุมแมน้ําและชายฝง และมักประกอบอาชีพปลูกพืชไรและการประมง ลักษณะภูมิอากาศโดยท่ัวไปมีความแหงแลงมากกวาในภาคอ่ืนๆ เพราะมีเทือกเขาสูงเปน แนวกําบงั ลม ทาํ ใหอากาศในฤดรู อ นและฤดูหนาว แตกตา งกันอยา งเดน ชัด เนอ่ื งจากแนว เทอื กเขาขวางกน้ั ทศิ ทางลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตก อ ใหเ กดิ บรเิ วณเงาฝน หรอื พน้ื ทอี่ บั ลม ฝนจะตกดานตะวนั ตกของเทอื กเขามากกวา ดา นภาคตะวันออก
« ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน » 27 3. เขตทีร่ าบของภาคกลาง ลักษณะภมู ปิ ระเทศสว นใหญเปนท่รี าบลมุ แมนํ้า อันกวางใหญ มีลักษณะเอียงลาดจากเหนือลงมาใต เปนท่ีราบท่ีมีความอุดมสมบูรณมาก ทสี่ ดุ เพราะเกดิ การทบั ถม ของตะกอน เชน ทร่ี าบลมุ แมน า้ํ เจา พระยา และทา จนี เปน แหลง ที่ทําการเกษตร (ทํานา) ท่ีใหญที่สุด มีเทือกเขาเปนขอบของภาค ทั้งดานตะวันตกและ ตะวนั ออก 4. เขตภเู ขาและทรี่ าบบรเิ วณชายฝง ทะเลตะวนั ออก ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน เทอื กเขาสูงและทีร่ าบ ซ่ึงสว นใหญเ ปนท่ีราบลกู ฟูก และมแี มน ํ้าทีไ่ หลลงสูอา วไทย แมน้ําใน ภาคตะวนั ออกสวนมากเปน แมนํา้ สายสัน้ ๆ ซง่ึ ไดพ ดั พาเอาดินตะกอนมาทิ้งไว จนเกิดเปน ที่ราบแคบๆ ตามท่ีลุมลักษณะชายฝงและมีลักษณะภูมิประเทศเปนเกาะ อาว และแหลม ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ภาคตะวนั ออกมชี ายฝง ทะเลและมเี ทอื กเขาเปน แนวยาว เปด รบั ลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตจ ากอา วไทยอยา งเตม็ ที่ จงึ ทาํ ใหภ าคนมี้ ฝี นตกชกุ หนาแนน บางพน้ื ที่ ไดแ ก พื้นท่ีรับลมดานหนาของเทือกเขาและชายฝงทะเล อุณหภูมิของภาคตะวันออกจะมีคา สมํ่าเสมอตลอดทงั้ ป และมีความชืน้ คอนขา งสูง เหมาะแกการทาํ สวน 5. เขตทีร่ าบสงู ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะภมู ิประเทศเปนทรี่ าบสูง ขนาดตา่ํ ทางบริเวณตะวนั ตกของภาคจะมภี เู ขาสงู ทางบรเิ วณตอนกลางของภาคมีลกั ษณะ เปนแองกะทะ เรยี กวา “แอง ทร่ี าบโคราช” มีแมนํ้าชีและแมน้ํามูลไหลผา น ยงั มที ีร่ าบโลง อยู หลายแหง เชน ทุงกุลารองไห ทงุ หมาหวิ ซึง่ สามารถทํานาไดแ ตไดผลผลติ ตํา่ และมแี นว ทวิ เขาภพู านทอดโคง ยาวคอ นไปทางตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของภาค ถดั เลยจากแนวทวิ เขาภพู าน ไปทางเหนอื มีแองทรดุ ตาํ่ ของแผน ดิน เรียกวา “แองสกลนคร” 6. เขตคาบสมทุ รภาคใต ลักษณะภมู ปิ ระเทศเปน คาบสมทุ รยื่นไปในทะเล มี เทือกเขาทอดยาวในแนวเหนือใต ที่เปนแหลงทับถมของแรดีบุก และมีความสูงไมมากนัก เปน แกนกลางบรเิ วณชายฝง ทะเลทงั้ สองดา นของภาคใตเ ปน ทรี่ าบ มปี ระชากรอาศยั อยหู นา แนน ภาคใตไ ดร ับอิทธพิ ลความช้ืนจากทะเลทัง้ สองดา น มีฝนตกชกุ ตลอดป และมปี ริมาณ ฝนเฉลยี่ สงู เหมาะแกก ารเพาะปลกู พชื ผลเมอื งรอ น ทต่ี อ งการความชนื้ สงู ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ไดรบั อทิ ธิพลของลมมรสุมทั้งสองฤดู จงึ เปน ภาคท่ีมีฝนตกตลอดทั้งป ทาํ ใหเ หมาะแกการ ปลกู พืชเมอื งรอนที่ตองการความชมุ ชนื้ สงู เชน ยางพารา ปาลม นํา้ มนั เปน ตน องคป ระกอบของสง่ิ แวดลอ มทางกายภาพของไทย ทสี่ าํ คญั มี 3 องคป ระกอบ ไดแ ก ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ภมู ิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึง่ มีความเกีย่ วพันซง่ึ กันและกนั และมีผลตอความเปนอยขู องมนษุ ยท้ังทางตรงและทางออม 1) ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ลกั ษณะของเปลอื กโลกท่เี หน็ เปนรูปแบบตา งๆ แบง เปน 2 ประเภท คือ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศหลกั ไมเ ปลย่ี นรปู งา ย ไดแ ก ทร่ี าบ ทร่ี าบสงู ภเู ขา และเนนิ เขา ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศรองเปลย่ี นแปลงรปู ไดง า ย ไดแ ก หบุ เขา หว ย เกาะ อา ว แมน ้ํา สนั ดอนทราย แหลม ทะเลสาบ 2) ลกั ษณะภมู อิ ากาศ หมายถงึ คา เฉลยี่ ของลมฟา อากาศทเ่ี กดิ ขนึ้ เปน ประจาํ
28 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001) แผนท่ภี ูมปิ ระเทศไทย
« ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน » 29 ในบรเิ วณใดบรเิ วณหนงึ่ ในชว งระยะเวลาหนง่ึ ซงึ่ มปี จ จยั ควบคมุ อากาศ เชน ตาํ แหนง ละตจิ ดู 3) ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่งิ ทเี่ กิดขน้ึ เองตาม ธรรมชาติและมนษุ ยสามารถนาํ ไปใชป ระโยชนใ นการดํารงชีวิตได แบง ออกเปน 4 ประเภท คอื ทรัพยากรดนิ ทรัพยากรน้าํ ทรัพยากรปา ไม และทรพั ยากรแรธ าตุ ทรพั ยากรธรรมชาติ แบง เปน 3 ประเภท คอื - ทรัพยากรท่ีใชแลวหมดไปไมสามารถเกิดมาทดแทนใหมได เชน น้าํ มัน แรธาตุ - ทรพั ยากรทใ่ี ชแ ลว สามารถสรา งทดแทนได เชน ปา ไม สตั วบ ก สตั วน าํ้ - ทรัพยากรทใี่ ชแ ลวไมหมดไป เชน นาํ้ อากาศ เปน ตน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ หมายถึง การรูจักใช ทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา งคุมคา และใหเ กดิ ประโยชนม ากที่สดุ โดยมีวตั ถปุ ระสงค คอื 1. เพือ่ ปรบั ปรุงคุณภาพชวี ติ ของมนุษย หมายถงึ การใชป ระโยชนสูงสดุ และ รกั ษาสมดลุ ของธรรมชาตไิ วด ว ย โดยใชเ ทคโนโลยที ท่ี าํ ใหเ กดิ ผลเสยี ตอ สภาพแวดลอ มนอ ย ทสี่ ดุ 2. เพื่อรักษาทรัพยากรและส่ิงแวดลอมใหอยูในสภาพสมดุล โดยไมเกิดสิ่ง แวดลอ มเปนพษิ (Polution) จนทาํ ใหเกดิ อนั ตรายตอมนษุ ยแ ละสง่ิ แวดลอ ม 1) ทรพั ยากรดนิ ดนิ เกดิ จากการสลายตวั ของหนิ แรธ าตแุ ละอนิ ทรยี ว ตั ถตุ า งๆ อันเน่อื งมาจากการกระทาํ ของลม ฟา อากาศและอน่ื ๆ สว นประกอบที่สาํ คญั ของดนิ ไดแก อนนิ ทรยี วัตถหุ รอื แรธ าตุ ปญหาของการใชทรพั ยากรดนิ เกดิ จาก 1. การกระทําของธรรมชาติ เชน การสกึ กรอนพังทลายท่ีเกิดจากลม กระแส นํ้า และการชะลางแรธาตุตางๆ ในดนิ 2. การกระทาํ ของมนษุ ย เชน การทาํ ลายปา ไม การปลกู พชื ชนดิ เดยี วซา้ํ ซาก การเผาปา และไรนา ทําใหสูญเสียหนาดิน ขาดการบาํ รุงรักษาดิน การอนุรักษทรัพยากรดิน โดยการปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชแบบขั้นบันได ปอ งกนั การเซาะของนา้ํ ปลกู พชื คลมุ ดนิ ปอ งกนั การชะลา งหนา ดนิ ไมต ดั ไมท าํ ลายปา และ การปลูกปาในบริเวณทมี่ คี วามลาดชัน เพอ่ื ปอ งกันการพงั ทลายของดนิ 2) ทรพั ยากรนาํ้ นา้ํ เปน ทรพั ยากรทจ่ี าํ เปน ตอ การดาํ รงชวี ติ ของมนษุ ยแ ละสง่ิ มีชวี ติ ใชแลวไมห มดส้ินไป แบง เปน - น้ําบนดนิ ไดแก แมน้ํา ลําคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ ปรมิ าณน้าํ ขึ้นอยู กบั ปริมาณนาํ้ ฝน - นาํ้ ใตด นิ หรอื นาํ้ บาดาล ปรมิ าณนาํ้ ขน้ึ อยกู บั นาํ้ ทไ่ี หลซมึ ลงไปจากพน้ื ดนิ และความสามารถในการกกั นํา้ ในชนั้ หนิ ใตด นิ
30 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสงั คมศึกษา (สค21001) - นา้ํ ฝน ไดจ ากฝนตก ซึง่ แตละบรเิ วณจะมปี รมิ าณนา้ํ แตกตางกัน ซ่งึ ใน ประเทศไทยเกดิ ปญ หาวกิ ฤตกิ ารณเ กยี่ วกบั ทรพั ยากรนาํ้ คอื เกดิ ภาวะการขาดแคลนนาํ้ และ เกดิ มลพษิ ทางนํา้ เชน นํา้ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม การอนรุ กั ษท รัพยากรนํา้ โดยการ 1. การพัฒนาแหลงนํ้า ไดแก การขดุ ลอกหนอง คลองบึง และแมนาํ้ ทีต่ ื้นเขิน เพือ่ ใหส ามารถกักเก็บนาํ้ ไดมากขึ้น ตลอดจนการสรางเขือ่ นและอา งกักเกบ็ นํา้ 2. การใชนํ้าอยางประหยัด ไมปลอยใหนํ้าสูญเสียไปโดยเปลาประโยชน และ สามารถนํานํ้าท่ีใชแลวกลบั มาหมนุ เวียนใชไดใ หมอีก เชน นาํ้ จากโรงงานอตุ สาหกรรม 3. การควบคมุ รกั ษาตน นาํ้ ลาํ ธาร ไมม กี ารอนญุ าตใหม กี ารตดั ตน ไมท าํ ลายปา อยางเด็ดขาด 4. ควบคุมมิใหเกิดมลพิษแกแหลงนํ้า มีการดูแลควบคุมมิใหมีการปลอยสิ่ง สกปรกลงไปในแหลงน้ํา 3) ทรพั ยากรปา ไม ปา ไมม คี วามสาํ คญั ตอ มนษุ ยท ง้ั ทางตรงและทางออ ม เชน ชว ยรักษาสภาพดิน นา้ํ อากาศ บรรเทาความรุนแรงของลมพายุ และยังไดร ับผลิตภัณฑจ าก ปา ไมห รือใชเ ปนแหลง ทอ งเทย่ี ว พกั ผอนหยอ นใจได ปา ไม แบงเปน 2 ประเภท คือ 1. ปาไมไมผลดั ใบ เชน ปา ดงดบิ หรอื ปาดิบ เปน ปา ไมบริเวณทมี่ ฝี นตกชุก พบมากทางภาคใต และภาคตะวันออก ปาดิบเขา พบมากในภาคเหนือ ปาสนเขา พบทาง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปาชายเลนนํ้าเค็ม เปนปาไมตามดินเลน น้ําเค็ม และนํา้ กรอย 2. ปา ไมผ ลดั ใบ เชน ปาเบญจพรรณ เปน ปา ผลัดใบผสม พบมากท่สี ุดในภาค เหนอื ปาแดง ปาโคก ปา แพะ เปน ปาโปรง พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปาชายหาด เปนตนไมเลก็ ๆ ขนึ้ ตามชายหาด ปาพรุ หรือปาบงึ เปนปาไมท ่เี กดิ ตามดินเลน การอนุรักษทรพั ยากรปา ไม สามารถทาํ ไดโ ดยการออกกฎหมายคมุ ครองปา ไม คอื พระราชบัญญัตปิ า สงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 การปองกนั ไฟไหมปา การปลกู ปา ทดแทนไมท ถี่ ูกทําลายไป การปอ งกันการลักลอบตัดไม และการใชไ มใหเ กิดประโยชนแ ละ คมุ คามากท่ีสดุ 4) ทรัพยากรแรธาตุ แรธาตุ หมายถึง สารประกอบเคมีท่ีเกิดข้ึนเองตาม ธรรมชาติ แบง ออกเปน - แรโลหะ ไดแก เหล็ก ทองแดง สังกะสี ดบี ุก ตะกั่ว - แรอ โลหะ ไดแก ยิปซ่ัม ฟลอู อไรด โปแตช เกลอื หนิ - แรเ ช้ือเพลงิ ไดแ ก ลกิ ไนต หนิ นํ้ามัน ปโ ตรเลยี ม กา ซธรรมชาติ การอนรุ ักษท รัพยากรแรธ าตุ 1. ขดุ แรมาใชเ มอื่ มีโอกาสเหมาะสม 2. หาวิธีใชแ รใ หม ีประสทิ ธภิ าพและไดผ ลคุมคามากทสี่ ุด
« ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน » 31 3. ใชแ รอ ยา งประหยัด 4. ใชว ัสดุหรือสิ่งอน่ื แทนสง่ิ ทจ่ี ะตองทําจากแรธ าตุ 5. นาํ ทรัพยากรแรกลับมาใชใ หม เชน นําเศษเหลก็ เศษอลมู ิเนยี ม มาหลอมใช ใหม เปน ตน ปจจัยท่ีมผี ลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม ไดแก 1. การเพม่ิ ประชากรมผี ลทาํ ใหต อ งใชท รพั ยากรและสง่ิ แวดลอ มมากขนึ้ จงึ เกดิ ปญ หาความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอ มตามมามากขึน้ 2. การใชเทคโนโลยีทันสมัย ซ่ึงอาจทําใหเกิดทั้งผลดีและผลเสียตอธรรมชาติ และส่งิ แวดลอม
32 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001) กจิ กรรมท่ี 1.4 สภาพภูมศิ าสตรกายภาพของไทยที่สง ผลตอทรพั ยากรตางๆ และ ส่ิงแวดลอม 1) ใหผ ูเรียนอธบิ ายวา สภาพภมู ศิ าสตรข องประเทศไทย ทั้ง 6 เขต มีอะไรบาง และแตล ะเขตสว นมากประกอบอาชีพอะไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 2) ผูเรียนคิดวา ประเทศไทยมีทรัพยากรอะไรที่มากท่ีสุด บอกมา 5 ชนิด แตล ะชนดิ สง ผลตอการดําเนินชวี ิตของประชากรอยางไรบา ง ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................
« ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน » 33 เร่อื งที่ 5 ความสาํ คญั ของการดาํ รงชีวติ ใหสอดคลอ งกบั ทรัพยากร ในประเทศ 5.1 ความสาํ คญั ของการดํารงชวี ติ ใหส อดคลองกับทรัพยากรของประเทศไทย จากท่ีไดก ลา วมาแลว วา ประเทศไทยมีความแตกตางกันทางดา นกายภาพ เชน ภูมิประเทศ ภูมอิ ากาศของทอ งถิน่ จงึ ทาํ ใหแ ตล ะภาคมที รพั ยากรที่แตกตา งกนั ตามไปดวย สง ผลใหประชากรในแตล ะภมู ิภาคประกอบอาชพี ตางกนั ไปดวย เชน ภาคเหนอื ในภาคเหนอื มที รพั ยากรธรรมชาตทิ อ่ี ดุ มสมบรู ณ จากการทล่ี กั ษณะ ภมู ปิ ระเทศของภาคเหนอื สว นใหญเ ปน ทวิ เขา และมที รี่ าบหบุ เขาสลบั กนั แตพ นื้ ทร่ี าบมจี าํ กดั ทาํ ใหประชากรตั้งถ่ินฐานอยางหนาแนนตามที่ราบลมุ แมน ํ้า ทรัพยากรที่สาํ คญั คือ 1) ทรพั ยากรดนิ ทง้ั ดนิ ทรี่ าบหบุ เขา ดนิ ทมี่ นี าํ้ ทว มถงึ และดนิ ทเ่ี หลอื คา งจาก การกดั กรอน 2) ทรัพยากรน้าํ แบง เปน 2 ประเภท คือ 1. นํ้าบนผวิ ดิน ไดแก แมน้าํ ลําธาร หนองบงึ และอา งเก็บนา้ํ ตางๆ แมว า ภาคเหนอื จะมแี มน าํ้ ลาํ ธาร แตบ างแหง ปรมิ าณนาํ้ กไ็ มเ พยี งพอ เนอ่ื งจากเปน แมน าํ้ สายเลก็ ๆ และปจ จบุ นั ปรมิ าณนา้ํ ในแมน าํ้ ลาํ ธารในภาคเหนอื ลดลงมาก ทงั้ นเ้ี นอื่ งจากการตดั ไมท าํ ลาย ปาในแหลงตนนํ้า แตอยางไรก็ตามยังมีแมน้ําหลายสาย เชน แมนํ้าปง วัง ยม นาน แมน าํ้ ปง จงั หวัดเชียงใหม และแมน้าํ กกจงั หวัดเชียงราย ท่ีมีนาํ้ ไหลตลอดป แมในฤดแู ลงก็ ยังมีนํ้าทีท่ าํ การเกษตรไดบ า ง นอกจากน้ี ยังมบี ึงน้ําจดื ขนาดใหญ คือ กวา นพะเยา จังหวดั พะเยา บงึ บอระเพ็ด จงั หวดั นครสวรรค 2. น้ําใตดิน ภาคเหนือมีนํ้าใตดินท่ีอยูในรูปของน้ําบอและบอบาดาล จึง สามารถใชบริโภคและทําการเกษตรได 3) ทรพั ยากรแร มเี หมอื งแรใ นทกุ จงั หวดั ของภาคเหนอื แรท ส่ี าํ คญั ไดแ ก ดบี กุ ทังสเตน พลวง ฟลูออไรด ดินขาว ถานลกิ ไนต และน้ํามนั ปโตรเลยี ม 4) ทรพั ยากรปา ไม ภาคเหนอื มอี ตั ราพน้ื ทปี่ า ไมต อ พน้ื ทที่ ง้ั หมดมากกวา ทกุ ภาค จังหวดั ท่มี ปี า ไมม ากท่สี ุด คอื เชียงใหม ปา ไมส วนใหญเ ปน ปาเบญจพรรณและปา แดง ไมท ่ีสาํ คัญคอื ไมสกั 5) ทรัพยากรดานการทองเที่ยว ภาคเหนือมีธรรมชาติท่ีสวยงาม สามารถ ดงึ ดดู นักทอ งเทีย่ ว ใหมาชมวิวทิวทัศน มที งั้ น้าํ ตก วนอุทยาน ถ้ํา บอนาํ้ รอน เชน ดอย อนิ ทนนทจ ังหวดั เชยี งใหม ภูชฟี าจงั หวัดเชยี งราย ประชากร ภาคเหนอื เปน ภาคทป่ี ระชากรอาศยั อยเู บาบาง เนอื่ งจากภมู ปิ ระเทศ เต็มไปดว ยภเู ขา ประชากรสวนใหญอาศยั อยูหนาแนนตามทีร่ าบลุมแมนํา้ สวนใหญสืบเชอื้ สายมาจากไทยลา นนา นยิ มเรยี ก คนภาคเหนอื วา “คนเมอื ง” ประชากรในภาคเหนอื สามารถ รกั ษาวัฒนธรรมดัง้ เดิมไวไดอ ยางเหนียวแนน เชน ประเพณสี งกรานต ประเพณีทานสลาก หรือตานกว ยสลาก ประเพณลี อยกระทง
34 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค21001) ภาพความอุดมสมบรู ณปา ไมไทย นอกจากนี้ยังมีชาวไทยภูเขาอาศัยอยูเปนจํานวนมาก เชน เผามง มูเซอ เยา ลีซอ อีกอ กะเหรย่ี ง ฯลฯ จังหวดั ทีม่ ีชาวเขามากทส่ี ดุ คือ เชยี งใหม แมฮอ งสอนและเชยี งราย การ อพยพของชาวเขาเขา มาในประเทศไทยจาํ นวนมาก ทําใหเกดิ ปญ หาติดตามมา คือ ปญ หา การตัดไมทําลายปา เพื่อทําไรเลื่อนลอย ปญหาการปลูกฝน รัฐบาลไดแกไขปญหาโดยหา มาตรการตา ง ๆ ทที่ าํ ใหช าวเขาหนั มาปลกู พชื เมืองหนาว เชน ทอ กาแฟ สตรอเบอร่ี บว ย อะโวคาโด และดอกไมเมืองหนาว ฯลฯ นอกจากนห้ี นว ยงานทเี่ กี่ยวของ ยังไดจ ดั การศกึ ษา เพือ่ ใหชาวเขาไดเ รยี นภาษาไทย ปลกู จิตสาํ นึกความเปน คนไทย เพือ่ ใหเ ขาใจถึงสทิ ธหิ นา ที่ การเปนพลเมืองไทยคนหนึ่ง การประกอบอาชีพของประชากรในภาคเหนือ ประชากรในภาคเหนือจะมีอาชีพ ทํานา ซึ่งปลูกท้งั ขา วเจาและขาวเหนยี ว ในพน้ื ท่รี าบลุม แมน้ํา เนอ่ื งจากมดี นิ อดุ มสมบูรณ และมีการชลประทานที่ดี จึงสามารถทํานาไดปละ 2 คร้ัง แตผลผลิตรวมยังนอยกวาภาค กลางและภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ นอกจากน้ี ยงั ประกอบอาชพี ทาํ ไร (ขาวโพด ถวั่ เหลือง ถ่วั ลสิ ง หอม กระเทียม ออ ย) การทําสวนผลไม (ล้นิ จ่ี ลําไย) อุตสาหกรรม (โรงบม ใบยาสูบ การผลิตอาหารสาํ เรจ็ รปู และอาหารกระปอง) อตุ สาหกรรมพื้นเมอื ง (เคร่ืองเขิน เครอื่ งเงนิ การแกะสลกั ไมส ัก การทาํ รมกระดาษ) อตุ สาหกรรมการทองเทย่ี ว เน่ืองจากภาคเหนือ โดย เฉพาะจังหวัดเชียงใหม มีทัศนียภาพท่ีสวยงาม มีโบราณสถานมากมายและมีวัฒนธรรมท่ี เกา แกท ่ีงดงาม ภาคตะวนั ตก เนอ่ื งจากทวิ เขาในภาคตะวนั ตกเปน ทวิ เขาทท่ี อดยาวมาจากภาคเหนอื ดังนั้นลักษณะภูมิประเทศจึงคลายกับภาคเหนือ คือ เปนทิวเขาสูงสลับกับหุบเขาแคบ ซึ่ง
« ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน » 35 เกิดจากการเซาะของแมนํ้า ลําธารอยางรวดเร็ว ทิวเขาสวนใหญเปนหินคอนขางเกา สวน ใหญเ ปน หนิ ปนู พบมากทจ่ี ังหวดั กาญจนบุรี ราชบุรี และเพชรบรุ ี ภูเขาหินปูนเหลาน้จี ะมี ยอดเขาหยกั แหลมตะปุมตะปา นอกจากน้ยี ังมหี นิ ดนิ ดาน หนิ แกรนิต และหินทราย และมี ท่ีราบในภาคตะวันตก ไดแก ท่ีราบลุมแมนํ้าแควใหญ ท่ีราบลุมแมนํ้าแควนอย ที่ราบลุม แมน า้ํ แมก ลอง ทรัพยากรทีส่ าํ คัญคือ 1) ทรัพยากรดิน ดินในภาคตะวันตกสวนใหญเกิดจากการผุพังของหินปูน ดินจงึ มีสภาพเปน กลางหรอื ดา ง ซง่ึ ถอื วา เปนดนิ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ เหมาะกบั การเพาะปลูก 2) ทรพั ยากรนา้ํ ภาคตะวนั ตกเปน ภาคทมี่ ฝี นตกนอ ยกวา ทกุ ภาคในประเทศ เพราะอยูใ นพืน้ ท่อี บั ฝน แบง เปน 2 ประเภท คือ 1. นํา้ บนผวิ ดนิ ไดแก แมนํา้ ลําธาร หนองบงึ และอางเกบ็ นํ้าตา งๆ แมว า จะมฝี นตกนอ ย เพราะมที วิ เขาตะนาวศรแี ละทวิ เขาถนนธงชยั ขวางลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต ดังน้นั ฝนจึงตกมากบนภเู ขา ซึ่งในภาคตะวันตกมีปา ไมและแหลงตน นํ้าลําธารอดุ มสมบรู ณ จงึ ทําใหตนนา้ํ ลําธารมนี าํ้ หลอเล้ยี งอยูเ สมอ เชน แมนาํ้ แควใหญ แมน า้ํ แควนอย และแมนํา้ แมกลอง นอกจากนี้ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศในภาคตะวนั ตก มลี ักษณะเปน หุบเขาจาํ นวนมาก จึงเหมาะอยางยง่ิ ในการสรางเขื่อน เชน เขอื่ นภมู พิ ล เขอื่ นศรีนครินทร เขอื่ นวชริ าลงกรณ เขอื่ นเขาแหลม เขอ่ื นแกงกระจาน และเขอ่ื นปราณบรุ ี 2. นํ้าใตดิน ภาคตะวันตกมีการขุดบอบาดาล ปริมาณนํ้าที่ขุดไดไมมาก เทา กับนา้ํ บาดาลในภาคกลาง 3) ทรัพยากรแร ภาคตะวนั ตกมหี ินอัคนี และหนิ แปร มีดบี ุก ซงึ่ พบในหนิ แกรนติ ทังสเตน ตะกัว่ สงั กะสี เหลก็ รัตนชาติ และหนิ นํ้ามนั 4) ทรพั ยากรปา ไม ภาคตะวนั ตกมคี วามหนาแนน ของปา ไมร องจากภาคเหนอื จงั หวัดทีม่ ปี าไมมากทส่ี ุด คอื จงั หวดั กาญจนบรุ ี 5) ทรัพยากรดานการทองเที่ยว สถานท่ีทองเที่ยวสวนใหญเปนภูเขา ถ้ํา น้าํ ตก เขอ่ื น อทุ ยานแหงชาติ ฯลฯ ประชากร ภาคตะวันตกเปนภาคที่มีความหนาแนนของประชากรนอยท่ีสุด จงั หวดั ท่มี ีประชากรหนาแนน ท่สี ดุ คอื จังหวัดราชบรุ ี เพราะมพี ืน้ ทเี่ ปน ท่ีราบลุม แมน้าํ การประกอบอาชพี ของประชากร ภาคตะวนั ตกมลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน ภเู ขา คลายกับภาคเหนือ และมีพื้นท่ีราบคลายกับภาคกลาง ประชากรสวนใหญจึงอาศัยในพื้นท่ี ราบและมอี าชพี เกษตรกรรม อาชพี ทสี่ าํ คญั คอื การทาํ ไรอ อ ย (โดยเฉพาะทจ่ี งั หวดั กาญจนบรุ ี และราชบุร)ี ปลกู สบั ปะรด ขา วโพด มนั สาํ ปะหลัง ฝา ย องนุ การทํานา ตามทีร่ าบลมุ แมน า้ํ การเลยี้ งโคนม การทาํ โอง เคลือบดินเผา ทํานาเกลือ อาชพี การประมง การทาํ เคร่ืองจกั สาน นอกจากน้ียงั มกี ารทําเหมอื งแรด บี กุ ทังสเตน ตะกวั่ สังกะสี เหล็ก รัตนชาติ และหินน้ํามนั ภาคกลาง ภูมิประเทศในภาคกลางเปนท่ีราบลุมแมน้ํา เพราะแมน้ําหลายสายไหล ผานทาํ ใหเ กดิ การทบั ถมของตะกอนและมีภเู ขาชายขอบ พ้นื ท่ีแบง ไดเ ปน 2 เขตยอย คือ ภาคกลางตอนบน เปนที่ราบลมุ แมน าํ้ และทร่ี าบลกู ฟูก และมเี นนิ เขาเตย้ี ๆ สลบั เปนบาง
36 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) ตอน และเขตภาคกลางตอนลาง คือบริเวณจังหวัดนครสวรรคลงมาถึงอาวไทย มีลักษณะ เปนที่ราบลุมนํ้าทวมถึงและเปนลานตะพกั น้ํา ทรพั ยากรท่สี าํ คัญคือ 1) ทรัพยากรดิน ภาคกลางมีดนิ ที่อุดมสมบูรณก วาภาคอนื่ ๆ เพราะเกิดจาก การทบั ถมของโคลน ตะกอนทม่ี ากบั แมน าํ้ ประกอบกบั มกี ารชลประทานทดี่ ี จงึ ทาํ การเกษตร ไดด ี เชน การทาํ นา 2) ทรพั ยากรนํ้า ภาคกลางเปนภาคที่มีนํา้ อุดมสมบรู ณ แบง เปน 2 ประเภท คือ 1. น้าํ บนผิวดนิ มีแมนาํ้ ทสี่ าํ คญั หลอเลยี้ ง คือ แมน าํ้ เจา พระยา ซึง่ จะมนี า้ํ ไหลตลอดท้ังป เน่ืองจากมีแมน ้ําสายเล็ก ๆ จาํ นวนมากไหลลงมาสูแมน้ําเจาพระยา และยงั มีการชลประทานที่ดีเพ่ือกักเก็บน้ําไวใชในฤดูแลง นอกจากนี้ยังมีทะเลสาบขนาดใหญ คือ บงึ บอระเพ็ด ซ่งึ เปนแหลง เพาะพันธปุ ลาทใี่ หญท่สี ุดในโลก 2. นํ้าใตดิน เน่ืองจากภาคกลางมีลักษณะเปนแองขนาดใหญ จึงมีบริเวณ นาํ้ บาดาลมากที่สดุ ของประเทศ 3) ทรัพยากรแร หินในภาคกลางสวนใหญเปนหินเกิดใหมท่ีมีอายุนอย มี หนิ อคั นซี งึ่ เปน หนิ เกา พบไดท างตอนเหนอื และชายขอบของภาคกลาง และมนี าํ้ มนั ทจี่ งั หวดั กําแพงเพชร 4) ทรพั ยากรปา ไม ภาคกลางมีพ้ืนที่ปา ไมน อยมาก จังหวัดที่มีปา ไมมากคือ จังหวัดท่ีอยูทางตอนบนของภาค คือ จังหวัดเพชรบูรณ พิษณุโลก และจังหวัดอุทัยธานี สุโขทยั และกําแพงเพชร 5) ทรัพยากรดานการทองเท่ียว สถานทีท่ องเทยี่ วสวนใหญเ ปน นํา้ ตก และ แมน้ํา ซึ่งปจจุบันแมน้ําหลายสายจะมีตลาดนํ้าใหนักทองเท่ียวไดมาเย่ียมชม วนอุทยาน (หว ยขาแขง จงั หวัดอทุ ยั ธานี) นอกจากนยี้ ังมโี บราณสถานทีเ่ ปน มรดกโลก เชน ที่จังหวัด พระนครศรีอยธุ ยา ประชากร ภาคกลางเปนภาคท่ีมีประชากรมากเปนอันดับสอง รองจากภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประชากรสว นใหญจ ะหนาแนน มากในบรเิ วณทรี่ าบลมุ แมน าํ้ เจา พระยา เพราะความอุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูก จังหวัดที่ติดกับชายทะเลก็จะมีประชากร อาศยั อยหู นาแนน นอกจากนภี้ าคกลางจะมอี ตั ราการเพม่ิ ของประชากรรวดเรว็ มาก เนอื่ งจาก มกี ารอพยพเขามาหางานทาํ ในเมืองใหญก นั มาก การประกอบอาชีพของประชากร ภาคกลางอดุ มสมบรู ณ ทง้ั ทรพั ยากรดิน และน้ํา นับเปนแหลงอูขาวอูนํ้าของประเทศในภาคกลางตอนบนประกอบอาชีพทํานาขาว และทําไร (ขา วโพด ออ ย มนั สําปะหลงั ) รองลงมาคือ อุตสาหกรรม ภาคกลางตอนลา งจะมี อาชีพปลูกขาวในบริเวณราบลมุ แมนํ้า เนอื่ งจากที่ดินเปนดนิ เหนยี วมนี าํ้ แชข ัง และมรี ะบบ การชลประทานดี จงึ สามารถทาํ นาไดป ล ะ 2 ครงั้ นบั เปน แหลง ปลกู ขา วทใ่ี หญท ส่ี ดุ ในประเทศ และมีการทาํ นาเกลือ นากงุ ในแถบจังหวดั ชายทะเล
« ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน » 37 ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ออกเปน ภาคทเี่ ลก็ ทสี่ ดุ ตอนเหนอื ของภาคมภี มู ปิ ระเทศ เปนทีร่ าบลุม เกิดจากการเคล่ือนไหวและการบีบอดั ตัวของเปลอื กโลก ทําใหต อนกลางของ ภาคโกง ตวั เปน ทวิ เขา ไปจนถงึ ดา นตะวนั ออกเฉยี งใต ขณะเดยี วกนั ตอนเหนอื ของภาคเกดิ การทรดุ ตวั เปน แอง กลายเปน ทรี่ าบลมุ แมน าํ้ และเกดิ การทบั ถมของโคลนและตะกอน ตอน กลางของภาคเปนทิวเขา ภมู ปิ ระเทศสวนใหญเปน หุบเขาแคบ ๆ มีที่ราบตามหบุ เขา เรยี ก วา ทร่ี าบดนิ ตะกอนเชงิ เขาตอนใตข องภาคเปน ทรี่ าบชายฝง ทะเลภาคตะวนั ออก มที รพั ยากร ทส่ี าํ คัญคือ 1) ทรพั ยากรดนิ ดนิ สว นใหญไ มค อ ยสมบรู ณ เพราะเปน ดนิ รว นปนทรายและ นํา้ ฝนจะชะลา งดิน เหมาะแกก ารปลกู พชื สวน เชน ทเุ รียน เงาะ ระกํา สละ มังคดุ ฯลฯ และ ใชปลูกพืชไร เชน มันสําปะหลัง ออย ฯลฯ การทํานาก็มีบางบริเวณตอนปลายของแมนํ้า บางปะกง 2) ทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออกมนี ้าํ อยา งอดุ มสมบูรณ แตเ นื่องจากแมน าํ้ ใน ภาคตะวนั ออกเปน แมน าํ้ สายสน้ั ๆ ทาํ ใหก ารสะสมนาํ้ ในแมน า้ํ มนี อ ย เมอ่ื ถงึ ชว งหนา แลง มกั จะขาดแคลนนาํ้ จดื เพราะเปน ภมู ภิ าคทมี่ นี กั ทอ งเทย่ี วจาํ นวนมาก นอกจากนใี้ นหนา แลง นาํ้ ทะเลเขามาผสมทาํ ใหเกดิ น้าํ กรอ ย ซึ่งไมสามารถใชบ ริโภคหรอื เพาะปลูกได การสรา งเขื่อน ก็ไมส ามารถทําได เพราะสภาพภูมปิ ระเทศไมอ ํานวย 3) ทรัพยากรแร ภาคตะวันออกมแี รอ ยูบาง เชน เหลก็ แมงกานีส พลวง แต มีแรท่ีมีช่ือเสียง คือ แรรัตนชาติ เชน พลอยสีแดง พลอยสีนํ้าเงินหรือไพลิน และพลอยสี เหลือง โดยผลติ เปน สินคาสง ออกไปขายยังตา งประเทศ 4) ทรพั ยากรปาไม ปาไมในภาคตะวันออกจะเปน ปาดงดบิ และปา ชายเลน แตก ล็ ดจาํ นวนลงอยา งรวดเรว็ เพราะมกี ารขยายพน้ื ทก่ี ารเกษตร สรา งนคิ มอตุ สาหกรรม ฯลฯ 5) ทรัพยากรดานการทองเที่ยว เปนภาคที่มีทรัพยากรทองเท่ียวมากมาย โดยเฉพาะจงั หวดั ท่ีอยชู ายทะเล เกาะตา งๆ นา้ํ ตก ฯลฯ ประชากร ภาคตะวนั ออกเปน อีกภาคหน่ึงที่มีการเพิ่มของประชากรคอ นขา ง สงู เนอื่ งจากมกี ารยา ยมาทาํ มาหากนิ การเจรญิ เตบิ โตของเขตอตุ สาหกรรม รวมทง้ั การทอ ง เที่ยวเปน เหตจุ งู ใจใหคนเขามาตง้ั ถิ่นฐานเพ่มิ มากขึน้ การประกอบอาชีพของประชากร มีอาชพี ทส่ี าํ คัญ คอื 1. การเพาะปลูก มีการทาํ นา ทําสวนผลไม ทัง้ เงาะ ทุเรียน มังคดุ ระกํา สละ สวนยางพารา ทาํ ไรอ อย และมนั สําปะหลงั 2. การเลี้ยงสัตว เปนแหลงเลี้ยงเปดและไก โดยเฉพาะที่จังหวัดชลบุรี และ ฉะเชิงเทรา 3. การทําเหมืองแร ภาคตะวันออกเปนแหลงท่ีมีแรรัตนชาติมากท่ีสุด เชน ทับทิม ไพลิน บุศราคัม สงผลใหประชากรประกอบอาชีพเจียรนัยพลอยดวย โดยเฉพาะ จงั หวัดจันทบุรแี ละตราด
38 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) 4. อตุ สาหกรรมในครวั เรือน เชน การผลติ เสอี่ จันทบุรี เคร่ืองจักสาน 5. การทองเที่ยว เนื่องจากมีทัศนียภาพที่สวยงามจากชายทะเลและเกาะ ตา งๆ อตุ สาหกรรมการทองเที่ยวจงึ สรา งรายไดใ หกบั ภูมิภาคนเี้ ปนอยางมาก ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศสว นใหญ เปน ทร่ี าบสงู แอง กะทะและ ยังมที ี่ราบลมุ แมน ้าํ ชแี ละแมน าํ้ มูลท่เี รียกวา แองโคราช ซึ่งเปน ท่รี าบลุมขนาดใหญท ีส่ ดุ ของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพราะมีแมน้ํามูลและแมนํ้าชีไหลผาน จึงมักจะมีน้ําทวมเม่ือฤดู น้ําหลาก มที รพั ยากรทสี่ ําคัญ คือ 1) ทรพั ยากรดนิ ดินในภาคนม้ี ักเปน ดนิ ทราย ไมอมุ นํ้า ทําใหก ารเพาะปลกู ไดผลนอ ย แตกส็ ามารถแบงไดต ามพ้นื ที่ คอื บริเวณท่ีราบลุมแมน้ําแมน้ําชี แมนํ้ามูล และแมน้ําโขง จะมีความอุดม สมบูรณคอนขางมาก นิยมปลกู ผักและผลไม สว นท่ีเปนน้ําขังมกั เปนดนิ เหนยี ว ใชทํานา บริเวณลําตะพักลํานํ้า สวนใหญเปนดินทราย ใชทํานาไดแตผลผลิตนอย เชน ทงุ กลุ ารอ งไห บรเิ วณทสี่ ูงกวา น้ี นยิ มปลกู มนั สาํ ปะหลัง บริเวณทสี่ งู และภูเขา เนอื้ ดินหยาบเปนลกู รัง ท่ีดนิ น้มี ักเปนปา ไม 2) ทรพั ยากรนา้ํ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จะมปี ญ หาในเรอื่ งของนา้ํ มากกวา ภาคอนื่ ๆ แมว า ฝนจะตกหนกั และในหนา แลง จะขาดแคลนนา้ํ เพอื่ การเกษตรและการบรโิ ภค น้ําในภาคนจ้ี ะแบงเปน 2 ประเภท คือ นาํ้ บนผวิ ดิน ไดแก นา้ํ ในแมนํา้ ชี แมน า้ํ มูล และแมน้ําสายตางๆ ในฤดฝู น จะมปี รมิ าณนา้ํ มาก แตใ นฤดแู ลง นา้ํ ในแมน าํ้ จะมนี อ ย เนอ่ื งจากพน้ื ดนิ เปน ดนิ ทราย เมอื่ ฝน ตกไมส ามารถอมุ นา้ํ ได สว นนาํ้ ในแมน าํ้ ลาํ คลองกม็ ปี รมิ าณนอ ย เพราะนา้ํ จะซมึ ลงพน้ื ทราย แตภ าคน้ีถอื วา โชคดที ม่ี เี ขอ่ื น อางเก็บนาํ้ และฝายมากกวา ทุกๆ ภาค นาํ้ ใตด นิ ปรมิ าณนาํ้ ใตด นิ มมี าก แตม ปี ญ หานาํ้ กรอ ยและนาํ้ เคม็ การขดุ บอ ตองขุดใกลแ หลง แมนํ้าเทานนั้ หรอื ตอ งขดุ ใหลกึ จนถึงชั้นหนิ แข็ง 3) ทรพั ยากรแร ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มีแรโพแตซมากทีส่ ดุ จะมอี ยมู าก บริเวณตอนกลางและตอนเหนอื ของภาค นอกจากนย้ี ังมีเกลือหนิ มากทสี่ ดุ ในประเทศไทย 4) ทรัพยากรปา ไม ปา ไมในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จะเปน ปา แดง ซ่งึ เปน ปา ผลดั ใบเปนปา โปรง ปา แดงชอบดนิ ลูกรังหรอื ดนิ ทราย เชน ไมเตง็ รัง พลวง พะเยา ฯลฯ 5) ทรพั ยากรดา นการทอ งเทย่ี ว มแี หลง ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละทมี่ นษุ ยส รา ง ขนึ้ เชน วิวทิวทศั น (ภกู ระดึง) เขื่อน ผาหิน (จังหวัดอุบลราชธานี) หลักฐานทางโบราณคดี (จงั หวัดอุดรธานี) ประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีประชากรหนาแนนอาศัยอยูตามแอง โคราชบริเวณที่ราบลุมของแมนา้ํ ชแี ละแมน ้ํามลู การประกอบอาชีพของประชากร ประชากรประกอบอาชพี ท่ีสําคญั คือ - การเพาะปลกู เชน การปลกู ขาว การทําไร (ขา วโพด มนั สาํ ปะหลงั ออย ปอ ยาสบู )
« ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน » 39 - การเลย้ี งสัตว เชน โค กระบือ และการประมงตามเขอ่ื นและอา งเก็บน้าํ - อตุ สาหกรรม สว นใหญเ ปน การแปรสภาพผลผลิตทางการเกษตร เชน โรง สขี าว โรงงานมันสําปะหลังอดั เม็ด โรงงานทาํ โซดาไฟ (จากแรห นิ เกลอื และโปแตซ) ภาคใต ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของภาคใตเ ปน คาบสมทุ ร มที วิ เขาสงู ทอดยาวจากเหนอื จรดใต มที ะเลขนาบทั้ง 2 ดา น ทวิ เขาท่ีสําคัญ คอื ทวิ เขาภูเกต็ ทิวเขานครศรธี รรมราช และ ทิวเขาสนั กาลาครี ี และมแี มน า้ํ ตาป ซึง่ เปนแมน้าํ ท่ียาวและมีขนาดใหญท ีส่ ดุ ของภาคใต ท่ี เหลอื จะเปน แมนา้ํ สายเล็กๆ และส้นั เชน แมน ํ้าปต ตานี แมน ้ําสายบุรี และแมนาํ้ โก-ลก และ มีชายฝงทะเลท้ังทางดานอาวไทย ซ่ึงมีลักษณะเปนชายฝงแบบยกตัว เปนท่ีราบชายฝงท่ี เกดิ จากคลนื่ พดั พาทรายมาทบั ถม จนกระทง่ั กลายเปน หาดทรายทสี่ วยงาม และชายฝง ทะเล ดา นทะเลอนั ดามนั ทม่ี ลี กั ษณะเวา แหวง เพราะเปน ฝง ทะเลทจ่ี มนาํ้ และมปี า ชายเลนขน้ึ อยา ง หนาแนน 1) ทรพั ยากรดนิ ลกั ษณะดนิ ของภาคใตจะมี 4 ลักษณะ คือ 1. บรเิ วณชายฝง เปนดินทราย ทเี่ หมาะแกการปลกู มะพรา ว 2. บรเิ วณที่ราบ ดนิ บรเิ วณท่รี าบลุมแมน า้ํ เกดิ จากการทบั ถมของตะกอน เปน ชนั้ ๆ ของอนิ ทรยี ว ัตถุ นยิ มทาํ นา 3. บรเิ วณทด่ี อนยงั ไมไ ดบ อกลกั ษณะดนิ นยิ มปลกู ปาลม นาํ้ มนั และยางพารา 4. บรเิ วณเขาสงู มลี กั ษณะเปน ดนิ ทมี่ หี นิ ตดิ อยู จงึ ไมเ หมาะแกก ารเพาะปลกู 2) ทรพั ยากรนา้ํ แมน า้ํ สว นใหญใ นภาคใตเ ปน สายสน้ั ๆ แตก ม็ นี าํ้ อดุ มสมบรู ณ เน่อื งจากมีฝนตกเกอื บตลอดป แตบางแหง ยงั มกี ารขดุ น้าํ บาดาลมาใช 3) ทรพั ยากรแร แรที่สาํ คัญในภาคใต ไดแก ดีบกุ (จังหวดั พังงา) ทงั สเตน เหลก็ ฟลูออไรด ยปิ ซ่มั ดินขาว ถานหนิ ลกิ ไนต 4) ทรัพยากรปาไม ปาไมในภาคใตเปนปา ดงดิบ และปา ชายเลน 5) ทรัพยากรดานการทองเท่ียว มีทรัพยากรดานการทองเท่ียวมาก เชน ทิวทัศนตามชายฝงทะเล เกาะ และอุทยานแหงชาติทางทะเล นํ้าตก สุสานหอยลานปที่ จังหวดั กระบี่ ประชากร ประชากรอาศัยอยูหนาแนน ตามท่ีราบชายฝงต้ังแตจังหวัด นครศรธี รรมราชลงไปถึงจงั หวัดปต ตานี เพราะเปน ท่ีราบผืนใหญ การประกอบอาชพี ของประชากร อาชพี ทสี่ าํ คัญ คอื - การทําสวน เชน ยางพารา ปาลมนํา้ มัน และสวนผลไม - การประมง ทาํ กันทกุ จงั หวดั ทีม่ ชี ายฝง ทะเล - การทําเหมืองแรดีบุก - การทองเท่ียว ภาคใตมีภูมิประเทศท่ีสวยงาม ทําใหมีแหลงทองเที่ยวตาม ธรรมชาตมิ ากมายหลายแหง เชน ทวิ ทศั นช ายฝง ทะเล เกาะแกงตา ง ๆ ฯลฯ สามารถทําราย ไดจากการทอ งเท่ยี วมากกวา ภาคอ่ืนๆ
40 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค21001) 5.2 ความสําคัญของการดํารงชีวิตใหสอดคลองกับทรัพยากรของประเทศใน เอเชยี ลักษณะประชากรของทวีปเอเชีย เอเชียเปนทวีปท่ีใหญและมีประชากรมาก เปนอนั ดับ 1 ของโลก ถือเปน ทวีปแหลงอารยธรรม เพราะเปน ดนิ แดนทคี่ วามเจรญิ เกิดข้ึน กอนทวีปอ่นื ๆ ประชากรรูจักและต้งั ถ่ินฐานกันมากอน สว นใหญอ าศยั อยหู นาแนนบรเิ วณ ชายฝง ทะเลและทร่ี าบลมุ แมน า้ํ ตา ง ๆ เชน ลมุ แมน า้ํ เจา พระยา ลมุ แมน าํ้ แยงซเี กยี ง ลมุ แมน าํ้ แดงและลมุ แมน าํ้ คงคาสว นบรเิ วณทมี่ ปี ระชากรเบาบางจะเปน บรเิ วณทแี่ หง แลง กนั ดารหนาว เย็นและในบริเวณท่เี ปนภูเขาซบั ซอน ซ่ึงสว นใหญจะเปนบริเวณกลางทวีป ประชากรในเอเชียประกอบดวยหลายเช้ือชาติ ดังน้ี 1) กลุม มองโกลอยด มีจํานวน 3 ใน 4 ของประชากรท้งั หมดของทวีป มี ลักษณะเดน คอื ผวิ เหลือง ผมดําเหยียดตรง นยั นตารี จมูกแบน อาศัยอยูใ นประเทศ จีน ญีป่ นุ เกาหลี และไทย 2) กลมุ คอเคซอยด เปนพวกผวิ ขาว หนาตารปู รางสงู ใหญเ หมอื นชาวยโุ รป ตา ผมสดี าํ สว นใหญอ าศยั อยใู นเอเชยี ตะวนั ตกเฉยี งใตแ ละภาคเหนอื ของอนิ เดยี ไดแ ก ชาว อาหรับ ปากีสถาน อนิ เดีย เนปาล 3) กลมุ นิกรอยด เปนพวกผวิ ดํา ไดแก ชาวพนื้ เมอื งภาคใตของอนิ เดยี พวก เงาะซาไก มรี ปู รา งเลก็ ผมหยิก นอกจากนี้ยงั อยูใ นศรลี ังกาและหมูเ กาะในเอเชียตะวันออก เฉยี งใต 4) กลุมโพลิเนเซียน เปนพวกผิวสีคล้ํา อาศัยอยูตามหมูเกาะแถบเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต ไดแก ชนพ้ืนเมืองในหมเู กาะของประเทศอินโดนเี ซยี ประชากรของทวีปเอเชียจะกระจายตัวอยูตามพื้นท่ีตางๆ ซ่ึงข้ึนอยูกับความ อุดมสมบูรณของพ้ืนท่ี ความเจริญทางดานวิชาการในการนําเทคโนโลยีมาใชกับ ทรพั ยากรธรรมชาติ เพอื่ ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ และทาํ เลทต่ี ง้ั ของเมอื งทเี่ ปน ศนู ยก ลาง สว น ใหญจะอยูกันหนาแนนบริเวณตามท่ีราบลุมแมนํ้าใหญๆ ซึ่งท่ีดินอุดมสมบูรณ พ้ืนท่ีเปน ที่ราบเหมาะแกการปลูกขา วเจา เขตประชากรทีอ่ ยูก นั หนาแนน แบงไดเปน 3 ลกั ษณะคอื 1. เขตหนาแนนมาก ไดแก ที่ราบลุมแมนํ้าฮวงโห แมนํ้าแยงซีเกียง ชายฝง ตะวันออก ของจนี ไตห วนั ปากแมนาํ้ แดง (ในเวยี ดนาม) ท่ีราบลมุ แมนาํ้ คงคา (อินเดยี ) ลุมแมนํา้ พรหมบุตร (บังคลาเทศ) ภาคใตข องเกาะฮอนชู เกาะควิ ชู เกาะซิโกกุ (ในญป่ี ุน ) เกาะชวา (ในอินโดนีเซยี ) 2. เขตหนาแนน ปานกลาง ไดแก เกาหลี ภาคเหนือของหมเู กาะญ่ปี นุ ท่ีราบ ดนิ ดอนสามเหลย่ี มปากแมน าํ้ โขงในเวยี ดนาม ทร่ี าบลมุ แมน าํ้ เจา พระยา ทร่ี าบปากแมน าํ้ อริ ะวดี ในพมา คาบสมุทรเดคคานในอนิ เดยี ลมุ แมน้ําไทกรสิ -ยูเฟรตสี ในอิรัก 3. เขตบางเบามาก ไดแก เขตไซบีเรียในรัสเซีย ทะเลทรายโกบีในมองโกเลีย แควน ซินเกยี งของจนี ทร่ี าบสงู ทเิ บต ทะเลทรายในคาบสมุทรอาหรบั ซ่ึงบริเวณแถบนีจ้ ะมี อากาศหนาวเยน็ แหงแลง และทรุ กันดาร
« ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน » 41 ลักษณะการต้ังถิ่นฐาน ประชากรสวนใหญ อาศัยอยูหนาแนนบริเวณชายฝงทะเลและท่ีราบลุมแมน้ําตาง ๆ เชน ลุมแมน าํ้ เจาพระยา ลมุ แมนา้ํ แยงซีเกียง ลุมแมน้ําแดงและลมุ แมน้ําคงคา และในเกาะ บางเกาะทม่ี ดี ินอุดมสมบรู ณ เชน เกาะของประเทศฟลปิ ปนส อนิ โดนีเซยี และญ่ีปุน สว น บรเิ วณทม่ี ีประชากรเบาบาง จะเปน บรเิ วณทีแ่ หง แลง กันดาร หนาวเย็นและในบรเิ วณท่เี ปน ภเู ขาซับซอ น ซ่งึ สวนใหญจะเปนบริเวณกลางทวปี มเี พียงสว นนอ ยท่ีอาศัยอยูในเมือง เมอื ง ที่มปี ระชากรอาศัยเปน จาํ นวนมาก ไดแ ก โตเกยี ว บอมเบย กลั กัตตา โซล มะนลิ า เซียงไฮ โยะโกะฮะมะ เตหะราน กรุงเทพมหานคร เปน ตน ลักษณะทางเศรษฐกจิ ประชากรของทวปี เอเชียประกอบอาชพี ที่ตา งกนั ขน้ึ อยกู บั สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ไดแก ภูมอิ ากาศ ภมู ปิ ระเทศ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสภาพ แวดลอมทางวัฒนธรรม ไดแก ความเจริญในดานวิชาการ เทคโนโลยี การปกครองและ ขนบธรรมเนยี มประเพณี แบง ได 3 กลมุ ใหญๆ คอื 1) เกษตรกรรม การเพาะปลูก นับเปนอาชพี ที่สาํ คัญในเขตมรสมุ เอเชยี ไดแก เอเชยี ตะวนั ออก เอเชยี ตะวันออกเฉียงใตแ ละเอเชียใต ทําการเพาะปลูกประมาณรอยละ 70 - 75 % ของประชากรทั้งหมด เนื่องจากทวีปเอเชียมีภูมิประเทศเปนที่ราบลุมแมน้ําอันกวางใหญ หลายแหง มีท่ีราบชายฝงทะเล มีภูมิอากาศที่อบอุน มีความชื้นเพียงพอ นอกจากน้ียังมี การนาํ เทคโนโลยที ี่ทันสมัยเขา มาชวย หลายประเทศกลายเปนแหลง อาหารทส่ี าํ คญั ของโลก จะทาํ ในท่รี าบลมุ ของแมน ้ําตางๆ พืชทีส่ าํ คญั ไดแก ขา ว ยางพารา ปาลม ปาน ปอ ฝาย ชา กาแฟ ขาวโพด สม มันสําปะหลัง มะพรา ว การเลย้ี งสตั ว เลย้ี งมากในชนบท มที งั้ แบบฟารม ขนาดใหญแ ละปลอ ยเลยี้ ง ตาม ทุง หญา ขน้ึ อยูกับลักษณะภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ และความนยิ ม ซงึ่ เล้ียงไวใชเ นอ้ื และ นมเปนอาหาร ไดแก อฐู แพะ แกะ สกุ ร โค กระบือ มา และจามรี ภาพจามรี
42 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) การทําปาไม เนื่องจากเอเชียต้งั อยใู นเขตปาดงดบิ มรสุมเขตรอ นและเขต อบอนุ จงึ ไดรับความช้ืนสูง จงึ เปนแหลง ปา ไมท่ใี หญและสําคญั ของโลกแหงหนึง่ มที ง้ั ปาไม เนอื้ ออนและปา ไมเ นื้อแข็ง การประมง นบั เปน อาชพี ทสี่ าํ คญั ของประชากรในเขตรมิ ฝง ทะเล ซง่ึ มหี ลาย ประเภท ไดแ ก ประมงนาํ้ จดื ประมงนาํ้ เคม็ การงมหอยมกุ และเลยี้ งในบรเิ วณลาํ คลอง หนอง บึงและชายฝงทะเล 2) อุตสาหกรรม ไดแก 1. การทําเหมอื งแร ทวีปเอเชยี อดุ มสมบูรณไ ปดวยแรธาตุและแรเ ช้ือเพลงิ ไดแ ก แรเ หลก็ ถา นหนิ ปโ ตรเลยี ม และกา ซธรรมชาติ ซง่ึ จนี เปน ประเทศทม่ี กี ารทาํ เหมอื ง แรม ากทส่ี ดุ ในทวปี เอเชยี สว นถา นหนิ เอเชยี ผลติ ถา นหนิ มากทสี่ ดุ ในโลก แหลง ผลติ สาํ คญั คอื จีน อนิ เดยี รสั เซยี และเกาหลี แรเหล็ก ผลติ มากในรสั เซยี อนิ เดยี และจีน สว นน้ํามนั ดิบ และกาซธรรมชาติ เอเชียเปนแหลงสํารองและแหลงผลิตน้ํามันดิบและกาซธรรมชาติมาก ทสี่ ดุ ในโลก ซง่ึ มมี ากบรเิ วณอา วเปอรเ ซยี ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ไดแ ก อหิ รา น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส อิรัก คูเวต โอมาน กาตาร ประเทศท่ีผลิตน้ํามันดิบมาก คือ ซาอุดิอาระเบียและจีน นอกจากน้ียังพบในอินโดนีเซีย มาเลเซีย บรูไน ปากีสถาน พมา อุซเบกสิ ถาน เติรกเมนิสถาน อาเซอรไบจาน 2. อุตสาหกรรมทอผา ผลิตภัณฑจากไมและหนังสัตว ซึ่งอุตสาหกรรม เหลานี้ หลายประเทศในเอเชียเร่ิมจากอุตสาหกรรมในครัวเรือน แลวพัฒนาขึ้นเปนโรงงาน ขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ นอกจากนย้ี งั มอี ตุ สาหกรรมอาหารสาํ เรจ็ รปู เครอ่ื งจกั รกล ยานพาหนะ เคมี 3) พาณิชยกรรม ไดแก การสง สนิ คา ออกและสนิ คา นาํ เขา ประเทศ สินคาที่ผลิตในทวีปเอเชียท่ีเปนสินคา ออกสว นมากจะเปน เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภค และวัตถุดิบ ไดแก ขาวเจา กาแฟ ชา น้ําตาล เคร่อื งเทศ ยางพารา ฝาย ไหม ปอ ปาน ขนสัตว หนังสัตว ดีบุก ฯลฯ ญ่ีปุนและจีนมีปริมาณการคากับตาง ประเทศมากท่ีสุดในทวีป สินคาออก เปนประเภทเครื่องจักร ประเทศท่ีสงออกมาก คือ ญ่ีปุน สวนประเภท อาหาร เชน ขาวเจา ขาวโพด ถ่วั เหลือง ไดแก ไทย พมา และเวียดนาม สว นสินคานาํ เขา ประเทศ สว นมากจะส่ังซ้อื จากยุโรปและอเมรกิ า ไดแก ผลติ ภณั ฑ จากอตุ สาหกรรม เครอ่ื งโลหะสาํ เรจ็ รปู เชน เครอื่ งจกั ร เครอื่ งยนต เครอ่ื งไฟฟา เคมี เคมภี ณั ฑ เวชภัณฑตางๆ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146