Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุโขทัยศึกษาเชิงประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตป

สุโขทัยศึกษาเชิงประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตป

Description: สุโขทัยศึกษาเชิงประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตป

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรยี นวชิ าเลอื ก สาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสุโขทยั ศึกษาเชงิ ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวถิ ีชวี ติ

หนงั สอื เรยี นวิชาเลอื ก สาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาสุโขทยั ศกึ ษาเชิงประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวิถีชีวติ หนังสอื เรยี นวชิ าเลือก สาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สุโขทยั ศกึ ษาเชิงประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมและวถิ ชี วี ิต รหัส สค33030 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สํานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดสุโขทยั สาํ นกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คาํ นาํ สํานักงาน กศน. จังหวัดสุโขทัย ได้จัดทําหนังสือเรียนรายวิชาสุโขทัยศึกษาเชิงประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นรายวิชาเลือก จํานวน 3 หน่วยกิต หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นฐาน พุทธศักราช 2551 สําหรับนักศึกษาได้ใช้ประกอบการเรียน ข้ึน ซึ่งมีรายละเอียดเก่ียวกับเนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้ สําหรับให้นักศึกษาได้ทํากิจกรรม หรือ แบบฝึกปฏิบัติที่กําหนดให้ครบถ้วน จะทําให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถตามผลการ เรียนรทู้ ีค่ าดหวังของหลักสตู ร คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา ครู และผู้สนใจ ท้งั นีข้ อขอบคณุ ผมู้ สี ว่ นรว่ มจัดทาํ หนงั สือเรยี นฉบบั น้ีใหส้ ําเร็จดว้ ยดไี ว้ในโอกาสนด้ี ว้ ย ( นายสงั วาลย์ ชาญพชิ ติ ) ผอู้ าํ นวยการสํานกั งาน กศน.จงั หวัดสุโขทัย

สารบญั หนา้ ก คาํ นาํ ข สารบญั ง คาํ แนะนําในการใช้หนังสอื เรียน ฉ โครงสรา้ งหนังสือเรียน ฌ แบบทดสอบก่อนเรียน 1 บทท่ี 1 ประเพณีวัฒนธรรมพน้ื บา้ น 1 3 เรือ่ งที่ 1 ความหมายและความเปน็ มาของวัฒนธรรมประเพณี 5 เรื่องท่ี 2 ประเภทของวฒั นธรรมประเพณี 5 บทที่ 2 ประเพณที ้องถ่นิ สุโขทัย 9 เร่ืองที่ 1 ประเพณีลอยกระทงเผาเทียนเล่นไฟ 12 เรือ่ งท่ี 2 ประเพณบี วชนาคแหช่ ้าง 14 เร่ืองที่ 3 ประเพณกี าํ ฟ้า 16 เรอ่ื งที่ 4 ประเพณีทําขวญั ผง้ึ 18 เรอ่ื งที่ 5 ประเพณีตกั บาตรเทโว 20 เรือ่ งที่ 6 ประเพณสี ลากภัตหรือตานกว๋ ยสลาก 22 เรอ่ื งที่ 7 ประเพณแี ห่นาํ้ ข้นึ โฮง 23 เรอ่ื งท่ี 8 ประเพณีสงฆ์น้ําโอยทาน 24 เรอื่ งที่ 9 ประเพณีพวงมะโหตร 30 เรื่องท่ี10 ประเพณีการแต่งงาน 30 บทท่ี 3 อาหารพนื้ บา้ นของจังหวดั สุโขทัย 31 เรื่องท่ี 1 การรบั ประทานอาหารของชาวสุโขทยั 37 เรื่องที่ 2 อาหารในท้องถน่ิ สุโขทยั 37 บทที่ 4 ศิลปกรรมท้องถนิ่ สุโขทยั 37 เรอื่ งท่ี 1 โบราณวตั ถุ 39 41 - เคร่อื งสังคโลก 41 - พระพุทธรปู สุโขทัย 41 เรอ่ื งท่ี 2 แหลง่ ศิลปกรรมและโบราณสถาน 42 - อุทยานประวัติศาสตรส์ โุ ขทัย 44 - อทุ ยานประวัติศาสตร์ศรสี ชั นาลยั 50 - เมืองโบราณบางขลงั เรื่องที่ 3 แหล่งศิลปกรรมและเมอื งโบราณในจังหวัดสโุ ขทยั เร่ืองท่ี 4 เมืองโบราณในจงั หวัดสโุ ขทัย

บทท่ี 5 ศิลป์: เอกลักษณ์ทอ้ งถิน่ สโุ ขทยั 55 เรอ่ื งที่ 1 เจดยี ์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ 55 เรื่องท่ี 2 ลวดลายบนเคร่อื งสังคโลก 58 เรื่องท่ี 3 ลายจิตรกรรมฝาผนงั ถํ้าวัดศรชี มุ 60 63 บทท่ี 6 ดนตรีและการแสดงของท้องถิ่นสโุ ขทัย 63 เร่อื งท่ี 1 ดนตรพี ืน้ บ้าน 63 - มังคละสโุ ขทยั , กลองยาวสโุ ขทยั 73 เร่อื งที่ 2 เพลงพนื้ บ้าน 74 - เพลงปฏิพากย์ 74 - ฉุยฉายเข้าวดั 74 - เพลงเทพทอง 74 - เพลงบวั รัง 77 - เพลงยิ้มใย 78 - เพลงราํ วงแบบบท 81 - เพลงขอทาน 86 - เพลงประกอบพธิ ี ( เพลงแห่นางแมว บททําขวัญ )

คําแนะนาํ ในการใช้หนังสอื เรยี น รายวชิ า สโุ ขทยั ศกึ ษาเชิงประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวถิ ชี ีวติ รหัสวิชา สค33030 หนังสอื เรียนสาระพัฒนาสงั คม รายวิชาเลือกสุโขทยั ศกึ ษาเชิงประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวิถี ชวี ิต ( รหัส สค33030 ) เปน็ หนังสอื เรียนที่จัดทาํ ขนึ้ สําหรับผ้เู รียนนอกระบบ รายละเอียดดังนี้ 1. หนังสือเรียนน้มี ี 6 บท บทท่ี 1 ประเพณวี ฒั นธรรมพืน้ บ้าน เร่ืองที่ 1 ความหมายของวัฒนธรรมประเพณี เรอื่ งที่ 2 ประเภทของวฒั นธรรมประเพณี บทที่ 2 ประเพณีท้องถ่ินสโุ ขทัย เรือ่ งท่ี 1 ประเพณีลอยกระทงเผาเทียนเลน่ ไฟ เรื่องที่ 2 ประเพณบี วชนาคแหช่ า้ ง เร่อื งที่ 3 ประเพณกี าํ ฟา้ เรอ่ื งที่ 4 ประเพณที ําขวญั ผง้ึ เรอ่ื งที่ 5 ประเพณีตักบาตรเทโว เรือ่ งที่ 6 ประเพณีสลากภัตหรอื ตานกว๋ ยสลาก เรื่องท่ี 7 ประเพณแี หน่ ้าํ ขน้ึ โฮง เรอ่ื งท่ี 8 ประเพณสี งฆน์ ํ้าโอยทาน เรอื่ งท่ี 9 ประเพณพี วงมะโหตร เรอ่ื งท่ี10 ประเพณีการแตง่ งาน บทที่ 3 อาหารพ้ืนบ้านของจังหวดั สโุ ขทัย เรื่องที่ 1 การรับประทานอาหารอาหารของชาวสโุ ขทยั เร่ืองท่ี 2 อาหารในท้องถ่นิ สุโขทยั บทที่ 4 ศิลปกรรมท้องถิน่ สโุ ขทัย เรื่องท่ี 1 โบราณวตั ถุ - เคร่ืองสงั คโลก - พระพุทธรูปสโุ ขทัย เรื่องที่ 2 แหลง่ ศิลปกรรมและโบราณสถาน - อทุ ยานประวตั ิศาสตร์สโุ ขทัย - อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย - เมอื งโบราณบางขลัง เรื่องที่ 3 แหล่งศลิ ปกรรมและเมืองโบราณในจงั หวัดสโุ ขทยั เรื่องท่ี 4 เมอื งโบราณในจังหวัดสุโขทัย

บทที่ 5 ศิลป์: เอกลกั ษณ์ทอ้ งถ่ินสโุ ขทัย เร่อื งที่ 1 เจดียท์ รงพุ่มข้าวบณิ ฑ์ เรื่องที่ 2 ลวดลายบนเครือ่ งสังคโลก เรื่องที่ 3 ลายจติ รกรรมฝาผนงั ถา้ํ วดั ศรชี มุ บทที่ 6 ดนตรีและการแสดงของทอ้ งถิ่นสุโขทัย เร่อื งที่ 1 ดนตรพี นื้ บา้ น - มังคละสุโขทัย , กลองยาวสุโขทัย เรอ่ื งท่ี 2 เพลงพื้นบ้าน - เพลงปฏิพากย์ - ฉยุ ฉายเขา้ วัด - เพลงเทพทอง - เพลงบัวรงั - เพลงย้ิมใย - เพลงราํ วงแบบบท - เพลงขอทาน - เพลงประกอบพิธี ( เพลงแห่นางแมว บททําขวญั ) 2. ระยะเวลาในการศกึ ษา จาํ นวน 120 ชว่ั โมง 3 หน่วยกิต 3. วธิ ีการศกึ ษา 3.1 ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้ ความเขา้ ใจในรายวชิ านี้เพียงใด 3.2 ศึกษาหนงั สือเรียนทีละบท ทุกเรื่อง และทาํ กจิ กรรมท้ายบท ให้ครบทุกกิจกรรมหรอื แบบฝึก 3.3 ทําแบบทดสอบหลังเรยี น อีกคร้งั แลว้ ควรตรวจใหค้ ะแนนเฉลยท้ายเลม่ และนํา คะแนนท่ไี ด้มาเปรยี บเทียบกับคะแนนก่อนเรียน ว่าเพม่ิ ขึ้นหรอื ไม่หากนอ้ ยกว่าเดมิ ให้กลับไปศึกษาทบทวน บทเรยี นอีกครง้ั หากไดค้ ะแนนเพิม่ ข้ึนจาก่อนเรียน แต่ยงั ไมพ่ อใจระดบั คะแนนให้ลองกลบั ไปทบทวนบาง บทเรยี นที่ไมเ่ ข้าใจเพ่มิ เติมจะช่วยให้นักศกึ ษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจตามผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั 4. นอกจากศกึ ษาจากหนงั สือเรยี นนีแ้ ล้วนักศึกษาควรหาความรเู้ พิ่มเติมจากแหลง่ เรียนรู้อืน่ ๆ เช่น หนงั สอื เกยี่ วกับประวัติศาสตรส์ ุโขทัย เวบ๊ ไซต์ต่าง ๆ หรอื ห้องสมุดประชาชน

โครงสรา้ งหนังสือเรียน รายวชิ า สุโขทัยศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวถิ ชี ีวติ รหสั วิชา สค33030 สาระสาํ คัญ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้สุโขทยั ศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวิถีชีวิต เปน็ การจดั กจิ กรรมทเี่ ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ และ เรยี นรู้การแก้ปัญหาภายในชมุ ชน เพ่อื ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณค่า ตลอดจนสบื ทอดประเพณแี ละศิลปวัฒนธรรมของจงั หวดั สโุ ขทัย สามารถนําความรู้ ไปปรบั ใช้ในวิถชี ีวติ ใหเ้ หมาะสมกับตนเอง ชุมชน และสงั คม ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั 1. เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนศึกษาประเพณี และศลิ ปวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ในจังหวดั สโุ ขทัย 2. เพื่อให้ผู้เรียนศึกษากรณตี วั อย่างและอนุรักษป์ ระเพณีศลิ ปวัฒนธรรมในอาํ เภอตา่ ง ๆ ของ จังหวดั สุโขทัย 3. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนเรียนรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ ของประเพณศี ิลปวัฒนธรรมในอําเภอต่าง ๆ ของ จังหวัดสุโขทัย 4. เพื่อให้ผเู้ รยี นตระหนักถึงคณุ คา่ ของประเพณีศลิ ปวฒั นธรรมในอาํ เภอต่าง ๆ ของจังหวดั สโุ ขทยั 5. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาประเพณีศิลปวฒั นธรรมในอาํ เภอต่าง ๆ ของจงั หวัด สโุ ขทยั ขอบข่ายเนื้อหา บทที่ 1 ประเพณวี ฒั นธรรมพนื้ บ้าน เร่อื งที่ 1 ความหมายของวัฒนธรรมประเพณี เร่อื งที่ 2 ประเภทของวัฒนธรรมประเพณี บทที่ 2 ประเพณีทอ้ งถิน่ สโุ ขทยั เรอ่ื งที่ 1 ประเพณลี อยกระทงเผาเทยี นเลน่ ไฟ เรื่องที่ 2 ประเพณบี วชนาคแหช่ ้าง เรื่องที่ 3 ประเพณีกาํ ฟา้ เรื่องที่ 4 ประเพณที ําขวญั ผง้ึ เรอ่ื งท่ี 5 ประเพณีตกั บาตรเทโว เรื่องที่ 6 ประเพณีสลากภัตหรอื ตานก๋วยสลาก เร่ืองท่ี 7 ประเพณแี ห่นาํ้ ขนึ้ โฮง เร่ืองที่ 8 ประเพณสี งฆ์น้าํ โอยทาน เร่อื งที่ 9 ประเพณีพวงมะโหตร เรื่องที่10 ประเพณีการแตง่ งาน

บทที่ 3 อาหารพน้ื บา้ นของจังหวดั สุโขทัย เรอ่ื งท่ี 1 อาหารในท้องถนิ่ สโุ ขทัย บทที่ 4 ศลิ ปกรรมท้องถ่นิ สโุ ขทัย เรอ่ื งท่ี 1 โบราณวตั ถุ - เคร่ืองสงั คโลก - พระพุทธรปู สุโขทยั เรอ่ื งที่ 2 แหล่งศลิ ปกรรมและโบราณสถาน - อุทยานประวตั ิศาสตร์สโุ ขทัย - อทุ ยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย - เมอื งโบราณบางขลัง เร่อื งท่ี 3 แหล่งศิลปกรรมและเมืองโบราณในจงั หวดั สุโขทยั เรอ่ื งที่ 4 เมืองโบราณในจงั หวัดสุโขทยั บทท่ี 5 ศลิ ป์: เอกลกั ษณ์ทอ้ งถิ่นสโุ ขทัย เรื่องท่ี 1 เจดยี ์ทรงพุ่มข้าวบณิ ฑ์ เร่ืองที่ 2 ลวดลายบนเครือ่ งสังคโลก เรื่องที่ 3 ลายจิตรกรรมฝาผนังถ้าํ วดั ศรชี ุม บทที่ 6 ดนตรีและการแสดงของทอ้ งถน่ิ สุโขทัย เรือ่ งท่ี 1 ดนตรพี ้นื บา้ น - มงั คละสุโขทัย , กลองยาวสุโขทยั เรื่องที่ 2 เพลงพื้นบ้าน - เพลงปฏพิ ากย์ - ฉยุ ฉายเขา้ วัด - เพลงเทพทอง - เพลงบัวรัง - เพลงยิ้มใย - เพลงรําวงแบบบท - เพลงขอทาน - เพลงประกอบพธิ ี ( เพลงแห่นางแมว บททําขวัญ )

กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลงั เรียน 2. ศกึ ษาหนงั สือเรียนแต่ละบท 3. ทาํ กิจกรรมทา้ ยบท 4. ตรวจสอบความรจู้ ากเฉลยและแนวทางการตอบทา้ ยเลม่ 5. ศึกษาเพิม่ เติมจากแหลง่ การเรียนรู้เพ่ิมเตมิ การวัดและประเมนิ ผลการเรียน 1. การทาํ กิจกรรมทา้ ยบท 2. ทดสอบหลงั เรยี น

แบบทดสอบกอ่ นเรียน ให้เลอื กข้อท่ีถูกท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. องค์การยูเนสโกได้ยกย่องให้อทุ ยานประวัตศิ าสตรส์ ุโขทัยเปน็ “มรดกโลก”เมื่อปี พ.ศ.ใด ก. พ.ศ.2534 ข. พ.ศ.2535 ค. พ.ศ.2543 ง. พ.ศ.2553 2. ข้อใดไม่ใชแ่ หล่งเตาเผาเครื่องสังคโลกของจงั หวดั สโุ ขทยั ก. เครือ่ งสงั คโลกเตาสโุ ขทัย ข. เคร่อื งสงั คโลกเตาทเุ รยี งป่ายาง ค. เคร่อื งสงั คโลกเตาทเุ รยี งเกาะน้อย ง. เคร่อื งสังคโลกเตาเชยี งแสน 3. การทาํ ขวัญผึ้งเป็นประเพณที ่กี ระทําในอาํ เภอใด ก. กงไกรลาศ ข. ศรสี ชั นาลัย ค. ครี ีมาศ ง. บา้ นด่านลานหอย 4. ประเพณีแหน่ า้ํ ข้นึ โฮง สรงนํ้าเจา้ หม่นื ด้ง จดั ขึ้นในเดือนอะไร ของปี ก. มกราคม ข. กมุ ภาพนั ธ์ ค. มีนาคม ง. เมษายน 5. ถวั่ ทอดสองรอ้ ยปี เป็นของฝากจากอําเภอใด ก. กงไกรลาศ ข. ศรสี ําโรง ค. คีรีมาศ ง. บ้านดา่ นลานหอย 6. ขนมทองม้วน ทองพบั เป็นขนมที่มชี อื่ เสียงของอาํ เภอใด ก. กงไกรลาศ ข. ศรีสําโรง ค. คีรีมาศ ง. บา้ นดา่ นลานหอย 7. กลองมังคละชาวเมืองสุโขทัยเรยี กวา่ อะไร ก. กลองยาว ข. กลองแขก ค. กลองจ๊กโกร๊ด ง. กลองชดุ 8. ขอ้ ใดไม่ใช่เคร่ืองดนตรีท่ีใช้เลน่ ในวงมังคละ ก. ปี่ ข. กลอง ค. ฆ้อง ง. ระนาด 9. การแสดงกลองยาวไม่นยิ มเลน่ กนั ในงานอะไร ก. งานบวชนาค ข. งานแหเ่ ทยี นพรรษา ค. งานศพ ง. งานตรษุ สงกรานต์ 10. “แกงหยวก” อาจารยท์ องเจอื สบื ชมพู ได้เรยี กช่อื ใหมด่ ว้ ยภาษาท่ีงดงามละเมยี ดละไม วา่ อะไร ก. พระร่วงเลียบเมือง ข. นางเสืองออกศึก ค. ระกาเก้อละเมอจนั ทร์ ง. มัจฉาชมตระพงั

หนังสอื เรยี นวิชาเลอื ก สาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสโุ ขทยั ศึกษาเชงิ ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวถิ ชี ีวิต 1 บทท่ี 1 ประเพณวี ฒั นธรรมพ้นื บา้ น เร่ืองที่ 1 ความหมายของวฒั นธรรมประเพณี ประเพณี เป็นกจิ กรรมท่มี ีการปฏบิ ัติสบื เน่อื งกันมา เป็นเอกลกั ษณแ์ ละมีความสาํ คัญต่อสังคม เช่น การแต่งกาย ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความเชื่อ ฯลฯ อันเป็นบ่อเกิดของ วัฒนธรรมของสังคมเช้ือชาติต่างๆ กลายเป็นประเพณีประจําชาติและถ่ายทอดกันมาโดยลําดับ หาก ประเพณีนั้นดีอยู่แล้วก็รักษาไว้เป็นวัฒนธรรมประจําชาติ หากไม่ดีก็แก้ไขเปล่ียนแปลงไปตามกาลเทศะ ประเพณีล้วนได้รับอิทธิพลมาจากส่ิงแวดล้อมภายนอกที่เข้าสู่สังคม รับเอาแบบปฏิบัติท่ีหลากหลายเข้ามา ผสมผสาน ในการดําเนินชีวิต ประเพณีจึงเรียกได้ว่าเป็น วิถีแห่งการดําเนินชีวิตของสังคม โดยเฉพาะศาสนา ซึง่ มอี ิทธิพลต่อประเพณีไทยมากที่สุด วัดวาอารามต่างๆ ในประเทศไทยสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของพุทธ ศาสนาที่มีต่อสังคมไทย และช้ีให้เห็นว่าชาวไทยให้ความสําคัญในการบํารุงพุทธศาสนาด้วยศิลปกรรมท่ี งดงามเพ่ือใชใ้ นพิธกี รรมทางศาสนาตั้งแต่โบราณกาล เป็นต้น วัฒนธรรม หมายถึงความเจริญงอกงามท่ีมนุษย์ทําให้เกิดขึ้น หรือที่เรียกกันว่า “มรดกทาง สังคม” วัฒนธรรมเป็นส่ิงที่ได้รับหรือสืบทอดจากบรรพบุรุษ พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ ปี พุทธศักราช 2485 ได้ให้ความหมาย วัฒนธรรมไว้ว่าวัฒนธรรม หมายถึง “ลักษณะแสดงถึงความเจริญ งอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรม อันดีของ ประชาชน” จากความหมายข้างต้น เมื่อรวมความแล้วประเพณีวัฒนธรรมหมายถึงการกระทําหรือความ ประพฤติในทศิ ทางเดียวของกลุ่มชนอนั แสดงถึงความเจรญิ งอกงามของกลุ่มชนน้นั ๆ อาจกลา่ วได้วา่ กลุ่มชนท้ังกล่มุ ย่อยมีวธิ ชี ีวติ และพฤติกรรมของกลมุ่ แตกตา่ งกันไป ตามแต่ มรดกที่ได้รับตกทอดกนั มาจากบรรพบรุ ษุ ซึ่งประเพณีวถิ ีชีวิตเหล่านั้น แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณแ์ ละความ แตกตา่ งกันของแตล่ ะกลุ่มชน ในยุคโลกาภวิ ตั น์ท่กี ระแสสังคมมีการติดต่อส่อื สารถงึ กนั และกนั อยา่ ง รวดเรว็ นี้ กลมุ่ ชนทด่ี ้อยพฒั นาหรอื มคี วามเจรญิ ทางวตั ถุลา้ หลงั มกั มองประเทศที่เจรญิ กวา่ มีวถิ ชี วี ติ ท่ี ดีกว่าตน จงึ พยายามท่จี ะรบั หรอื ถ่ายโอนวฒั นธรรมของชาติเจริญ กวา่ เขา้ มาเปน็ ของตนเอง เกิดการ ผสมผสานจนไมร่ ูว้ ่าตนจะหนั ไปทางทศิ ใด ทงั้ นีเ้ พราะจะเจริญหรอื ศิวไิ ลซ์ทัดเทยี มกับประเทศเหลา่ นนั้ ก็ ไมใ่ ช่ และจะเป็นแบบฉบบั ดั้งเดมิ ของตนก็ไมเ่ ชิง ในทีส่ ุดก็ขาดเอกลักษณ์หรือความเป็นตวั ของตัวเองไป อย่างนา่ เสียดาย

หนงั สอื เรียนวิชาเลอื ก สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสุโขทัยศกึ ษาเชิงประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมและวถิ ีชวี ิต 2 ความเป็นมาของประเพณี ประเพณีมีบ่อเกิดมาจากสภาพสงั คม ธรรมชาติ ทัศนคติ เอกลักษณ์ ค่านิยม โดยความเชอ่ื ของคน ในสงั คมต่อสงิ่ ที่มีอํานาจเหนือมนุษย์นั้นๆ เช่น อํานาจของดินฟา้ อากาศและเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ โดยไม่ทราบ สาเหตตุ า่ งๆ ฉะน้ันเมอ่ื เวลาเกิดภัยพิบตั ิขึ้น มนุษย์จงึ ต้องอ้อนวอนร้องขอในสิ่งที่ตนคิดว่าจะช่วยได้พอภยั นั้นผ่านพน้ ไปแล้ว มนุษย์ก็แสดงความร้คู ุณตอ่ ส่งิ นั้นๆด้วยการทําพธิ ีบชู า เพ่ือเป็นสิริมงคลแก่ตน ตามความ เช่อื ความร้ขู องตน เมือ่ ความประพฤตนิ ัน้ คนสว่ นรวมสังคมยดึ ถือปฏบิ ตั ิเปน็ ธรรมเนียม หรอื เป็นระเบยี บ แบบแผน และทาํ จนเปน็ พิมพ์เดยี วกัน สืบตอ่ ๆกันจนกลายเป็นประเพณีของสงั คมนั้นๆ

หนงั สอื เรยี นวิชาเลอื ก สาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสโุ ขทยั ศึกษาเชิงประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวถิ ชี ีวิต 3 เรือ่ งที่ 2 ประเภทของประเพณี ประเภทของประเพณแี บง่ ออกเปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. จารตี ประเพณี หรอื กฎศีลธรรม หมายถึง สิง่ ซึ่งสงั คมใดสงั คมหนึง่ ยึดถือและปฏิบัติสบื กันมา อย่างต่อเนอ่ื งและม่ันคง เปน็ เรอื่ งของความผิดถกู มีเรอ่ื งของศลี ธรรมเข้ามารว่ มด้วย ดงั นัน้ สมาชกิ ในสังคม ตอ้ งทาํ ผใู้ ดฝา่ ฝืนถอื วา่ เป็นผิดเป็นชั่ว จะต้องถูกตําหนิหรอื ได้รับการลงโทษจากคนในสงั คมน้นั เชน่ ลกู หลานต้องเลี้ยงดูพ่อแม่เมอ่ื ท่านแกเ่ ฒา่ ถา้ ใครไม่เลย้ี งดูถือว่าเปน็ คนเนรคุณหรือลูกอกตญั ญู จารตี ประเพณขี องแตล่ ะสงั คมนนั้ ย่อมไมเ่ หมือนกัน เพราะมคี ่านิยมทีย่ ดึ ถือต่างกัน 2. ขนบประเพณี หรอื สถาบัน หมายถงึ ระเบยี บแบบแผนท่ีสงั คมไดก้ าํ หนดไว้แลว้ ปฏิบัติสืบต่อ กนั มา ทง้ั โดยทางตรงและทางออ้ ม ทางตรง ได้แก่ ประเพณีท่ีมีการกําหนดเป็นระเบยี บแบบแผนในการ ปฏิบตั ิอย่างชดั แจง้ วา่ บคุ คลต้องปฏบิ ตั อิ ย่างไร เช่น สถาบนั โรงเรยี น มโี รงเรียน มีผูส้ อน มผี ูเ้ รียน มี ระเบยี บการรบั สมัคร การเขา้ เรียน การสอบไล่ เปน็ ต้น ทางอ้อม ไดแ้ ก่ ประเพณีทรี่ กู้ นั โดยทว่ั ๆ ไป โดย ไมไ่ ดว้ างระเบียบไว้แนน่ อน แต่ปฏิบัตไิ ปตามคาํ บอกเล่า หรอื ตัวอย่างจากทผ่ี ู้ใหญห่ รือบุคคลในสังคมปฏิบัติ เช่น ประเพณีเก่ยี วกบั การเกิด การตาย การแต่งงาน ซึ่งเป็นประเพณีเกยี่ วกับชีวิต หรือประเพณีเกยี่ วกบั เทศกาล ตรุษ สารท การขน้ึ บ้านใหม่ เป็นต้น 3. ธรรมเนียมประเพณี หมายถงึ ประเพณีเกี่ยวกับเรื่องธรรมดาสามัญท่ีทุกคนควรทํา ไมม่ ี ระเบียบแบบแผนเหมือนขนบประเพณี หรอื มีความผิดถูกเหมือนจารีตประเพณี เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ ที่ทุกคนปฏิบัตกิ ันท่วั ไปจนเกิดความเคยชิน และไมร่ ู้สกึ เป็นภาระหน้าที่ เพราะเป็นส่งิ ท่ีมมี านานและใช้กนั อยา่ งแพร่หลาย สว่ นมากเปน็ มารยาทในดา้ นตา่ งๆ เชน่ การแต่งกาย การพูด การรบั ประทานอาหาร การ เปน็ แขกไปเยย่ี มผู้อน่ื ฯลฯ ธรรมเนียมประเพณีเป็นเร่อื งท่ที ุกคนควรทาํ แมม้ ผี ฝู้ ่าฝนื หรือทําผดิ กไ็ ม่ถือวา่ เป็นเรื่องสําคัญแต่อาจถูกตาํ หนวิ ่าเปน็ คนไม่ไดร้ ับการศกึ ษา ไม่มีมารยาท ไม่รู้จกั กาลเทศะ

หนงั สือเรียนวชิ าเลือก สาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาสโุ ขทยั ศึกษาเชิงประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมและวิถชี ีวิต 4 กจิ กรรมทา้ ยบท บทท่ี 1 ประเพณวี ฒั นธรรมพน้ื บ้าน 1. ให้นักศึกษาจดบันทกึ ประเพณวี ัฒนธรรมพน้ื บา้ นในชมุ ชนของตนเอง ( เช่น ประเพณีตักบาตรเทโว) ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 2. นักศึกษามีวธิ ีอนุรกั ษป์ ระเพณีวัฒนธรรมพ้นื บา้ นอยา่ งไรใหค้ นรนุ่ หลังได้เรียนรู้ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

หนังสอื เรยี นวชิ าเลอื ก สาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสุโขทยั ศกึ ษาเชิงประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวถิ ชี วี ิต 5 บทท่ี 2 ประเพณีท้องถนิ่ สุโขทยั เรอ่ื งท่ี 1 ประเพณลี อยกระทงเผาเทยี นเลน่ ไฟ คงไม่มีใครปฏิเสธว่า ประเพณีลอยกระทงเผาเทียนเล่นไฟ เป็นประเพณีย่ิงใหญ่ของชาว สุโขทัย เพราะคําว่า “เผาเทียนเล่นไฟ” เป็นคําโบราณที่ปรากฏในศิลาจารึกหลักท่ี 1 ว่า “เที้ยรย่อมคน เสียดกันมาดูท่านเผาเทียน ท่านเล่นไฟ เมืองสุโขทัยน้ีม่ีดังจักแตก” ซ่ึงหมายถึงว่าประเพณีนี้มีในเมือง สุโขทัยร่วมพันปีมาแล้ว และจากถ้อยคําน้ีเองท่ีนายนิคม มุสิกะคามะ อธิบดีกรมศิลปากรซ่ึงแต่เดิมท่าน เป็นนักประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่มีวิญญาณชาวสุโขทัยอย่างเต็มเปี่ยมท่านให้ความสนใจคําว่า “เผา เทยี น เลน่ ไฟ”อยา่ งมาก เม่อื ตน้ ปี พ.ศ. 2520 จึงไดร้ ว่ มกับชาวสุโขทัยหลายทา่ นว่าควรมีการพลิกฟื้นเมือง สุโขทัยทห่ี ลับใหลใหต้ ่นื ขึน้ มาอกี คร้งั ดว้ ยการนําเอาประเพณลี อยกระทงมาเป็นจุดหลกั โดยพิจารณาจาก หลักฐานในหนังสือตํารับท้าวศรจี ฬุ าลกั ษณ์ ท่กี ล่าวถึงนางนพมาศพระสนมเอกพระร่วงเจ้าท่ีได้คิดประดิษฐ์ กระทงเป็นรูปดอกกระมุทถวายพระร่วงเจ้าพระองค์ทรงพอพระทัยกระทงดอกบัวของนางมาก จึงได้โปรด ให้ถือเป็นเย่ียงอย่างต่อไป ดังพระดํารัสของพระร่วงเจ้าว่า “...แต่น้ีสืบไปเบ้ืองหน้าโดยลําดับกษัตริย์ใน สยามประเทศ ถึงเทศกาลกําหนด นักขัตฤกษ์วันเพ็ญเดือนสิบสอง ให้ทําโคมเป็นรูปดอกบัวอุทิศ สกั การบชู า พระพทุ ธบาทนัมทานทตี ราบเท่ากลั ปาวสาน” จากข้อความที่กล่าวถึงนี้ทุกคนจึงปักใจเช่ือว่าประเพณีลอยกระทงของไทยมีมาแต่สมัยสุโขทัย และตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาชาวสุโขทัยแทบทุกอําเภอต่างก็มีการจัดงานลอยกระทงข้ึนในท้องถ่ินของตน โดยเฉพาะจัดขน้ึ ตามงานวัด เช่น วัดตระพังทอง วัดเชงิ ครี ี วัดสว่างอารมณ์วรวหิ าร เปน็ ต้น จากความเห็นของนายนิคม มุสิกคามะ และชาวสุโขทัยประกอบด้วยข้าราชการ พ่อค้าประชาชน ต่างก็เห็นพ้องต้องกันจัดงานลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ อย่างยิ่งใหญ่ขึ้นเมื่อวันท่ี 24-26 พฤศจิกายน 2520 ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ในปีน้ันแสงไฟนับแสนดวงจุดเป็นตะคันเทียน วางเรียงราย แพรวพราวเต็มอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย แสงไฟวับแวมแข่งแสงจันทร์ในคืนเพ็ญเดือนสิบสองงดงาม เป็นที่ประทับใจของผู้พบเห็นย่ิงนัก ทําให้เมืองสุโขทัยท่ีเงียบสงบมีแต่ซากปรักหักพังของโบราณสถาน ประกาศความย่ิงใหญ่ได้อีกครั้ง ผู้คนจากทั่วสารทิศที่ได้เข้ามาชมกิจกรรมตลอดจนการเล่นไฟต่าง ประทบั ใจเลา่ ลือถึงความงดงามของงานประเพณีลอยกระทงของเมืองสุโขทัยในคํ่าคืนนั้นอย่างมาก จากวัน น้นั ถึงวนั นชี้ าวสโุ ขทยั กจ็ ัดประเพณลี อยกระทงอยา่ งย่ิงใหญ่ตอ่ เนื่องมาทกุ ๆปี

หนังสือเรียนวชิ าเลือก สาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสโุ ขทยั ศึกษาเชงิ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวถิ ีชีวิต 6 ประวตั ิของการลอยกระทง ประเพณีลอยกระทง เป็นประเพณีของสุวรรณภูมิ แต่ไม่ปรากฏหลักฐานตั้งแต่เม่ือไร พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ทรงสันนิษฐานว่าเดิมทีเดียวเห็นจะเป็นพิธีของพราหมณ์ทําเพื่อ บูชาพระผู้เป็นเจ้าท้ังสามคือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้ถือตามแนวทาง พระพทุ ธศาสนามีการชักโคมเพือ่ บูชาพระบรมสารีริกธาตุพระจุฬามณีในชั้นดาวดึงส์ และลอยโคมเพ่ือบูชา รอยพระพทุ ธบาท ซึ่งประดิษฐาน ณ หาดทรายแม่น้ํานมั ทานที ในสมยั สุโขทยั นางนพมาศพระสนมของพระรว่ งไดค้ ิดทํากระทงถวายเป็นรูปดอกบัวพระร่วงเจ้าพอ พระราชหฤทัยจงึ โปรดใหก้ ระทําเป็นเยี่ยงอย่างต่อมานับแต่บดั นนั้ ในสมัยกรงุ ศรีอยุธยา เม่ือแผน่ ดินสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั บรมโกศ พระเจ้าแผ่นดินลังกาได้ส่งราชทูต ที่เข้ามาชมพิธีลอยกระทง และเป็นพิธีที่ทําอย่างใหญ่โต ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์พิธีน้ีนิยมทํากันเป็น การใหญ่ มีหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ ซ่ึงเจ้าพระยาทิพากรวงศ์(ขํา บุนนาค) กล่าว ว่า “คร้ันมาถึงเดือน 12 ข้ึน 14 ค่ํา 15 ค่ํา แรมหนึ่ง พิธีจองเปรียงน้ันเดิมได้โปรดให้พระบรมวงศานุวงศ์ ฝา่ ยหน้าในและข้าราชการท่ีมีกําลังพาหนะ มากทํากระทงใหญ่ผู้ถูกเกณฑ์ต่อเป็นถังบ้าง เป็นแพหยวกบ้าง กว้างแปดศอกบา้ ง เก้าศอกบา้ ง กระทงสูงตลอดยอด 10 ศอก 11 ศอกทาํ ประกวดประชันกันต่างๆทําอย่าง เขาพระสุเมรุทวีปท้ังส่ีบ้าง และทําเป็นกระจาดชั้นๆ บ้าง วิจิตรไปด้วย เครื่องสด คนทําก็นับร้อย คิดใน การลงทุนกระทงทั้งค่าคนเล้ียงและช่าง เบ็ดเสร็จถึง 20 ชั่ง ย่อมกว่า 20 ช่ังบ้าง กระทงน้ันวัน 14 คํ่า เคร่ืองเขียว 15 ค่ํา เครื่องขาว วันแรมคํ่าหน่ึง เคร่ืองแดงดอกไม้สดก็เลือกตามสีกระทงและมี จักรกลไก ตา่ งกนั ทุกกระทงมีมโหรีขับรอ้ งอยูใ่ นกระทงนน้ั กม็ ีบ้างเหลอื ทจ่ี ะพรรณนา... ” จากข้อความขา้ งต้นแสดงให้เหน็ วา่ พธิ ีลอยกระทงในสมัยรตั นโกสินทร์ทําอย่างใหญ่โตมีการแข่งขัน ประดษิ ฐ์กระทงประกวดประชนั กนั คร้นั ถึงสมยั รัชกาลท่ี 4 ทรงเห็นวา่ การกระทําเช่นนั้นเป็นการสิ้นเปลือง จึงโปรดเกล้าฯให้ยกเลิกเสียและโปรดให้พระบรมวงศานุวงศ์ทําเรือลอยพระประทีปแทนกระทงใหญ่ถวาย องค์ละลําเรียกว่า “เรือลอยพระประทีป” ต่อมาในรัชกาลท่ี 5 และรัชกาลที่ 6 ได้ทรงฟ้ืนฟูพระราชพิธีนี้ อกี ครงั้ ในปัจจุบันน้ีการลอยกระทงพระประทีปในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกระทําเป็น การส่วนพระองคต์ ามราชอัธยาศัย แตพ่ ธิ ขี องชาวบ้านยังทาํ กนั อยู่เป็นประจาํ อยา่ งต่อเน่ือง ลอยกระทง เผาเทียน เลน่ ไฟอย่างชาวสโุ ขทยั แท้จริงแล้วประเพณีลอยกระทงของชาวเมืองสุโขทัยไม่ได้แตกต่างจากท้องถิ่นอ่ืนๆ ในด้านความ เชื่อ กล่าวคือ จุดมุ่งหมายของการลอยกระทงชาวไทยมีความเชื่ออยู่ 3 ประการ คือประการแรกลอย กระทงเพ่อื ขอขมาพระแมค่ งคา หรือสายนํ้าที่ได้หล่อเล้ียงชีวิตท่ียืดยาว และชําระล้างสิ่งสกปรกให้สะอาด ประการท่ีสอง ลอยกระทงเพื่อบูชารอยพระพุทธบาทยังฝั่งนํ้านัมทานที และประการที่สาม มีความเช่ือ ตามนิทานชาวบ้านว่า คร้ังดึกดําบรรพ์มีกาเผือกสองตัวผัวเมียทํารังอยู่บนต้นไม้ในป่าหิมพานต์ใกล้ฝ่ังนํ้า วันหน่ึงกาตัวผู้ได้บินออกไปหาอาหารแล้วถูกพายุพัดหลงทางกลับรังไม่ได้สูญหายไป นางกาตัวเมียที่เฝ้า ฟักไข่อยู่ในรัง 5 ฟองก็เฝ้าแต่คอยกาผู้ผัว จนกระทั่งเกิดพายุใหญ่พัดรังกากระจัดกระจาย ฟองไข่ท้ัง 5 หล่นไปในนํ้า แม่กากลับรังไม่เห็นไข่ท้ัง 5 ก็เศร้าโศกเสียใจร่ําไห้จนขาดใจตายและได้ไปเกิดในพรมหมโลก ชือ่ “ทา้ วพกาพรหม” ฟองไข่ทั้ง 5 ถกู กระแสนาํ้ พัดไปคนละทศิ ละทางมผี ู้นําไปรกั ษาคอื ฟองที่ 1

หนงั สือเรยี นวชิ าเลอื ก สาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสโุ ขทยั ศึกษาเชิงประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวิถีชีวติ 7 แม่ไก่นําไป ฟองที่ 2 แม่นาคนําไป ฟองท่ี 3 แม่เต่านําไป ฟองท่ี 4 แม่โคนําไป ฟองที่ 5 แม่ ราชสหี น์ ําไป ครัง้ ถึงเวลาไข่ท้ัง 5 ก็ฟักออกมาแต่กลับไม่เป็นกา แต่กลับเป็นมนุษย์ เมื่อเติบโตข้ึนแล้วเห็นโทษ ในความเปน็ ฆราวาส เห็นอานิสงสแ์ ห่งการบรรพชา จึงลามารดาเล้ียงของตนไปบวชเป็นฤาษี เจริญสมาบัติ อยใู่ นป่าหิมพานต์ วันหนึ่งฤาษีทั้งห้าองค์ได้พบปะกันจึงต่างถามหาเผ่าพงศ์ของตน องค์แรกบอกว่าเป็นกกุสันโธ วงศ์ไก่ องค์ท่ีสองบอกว่าโกนาคมโน วงศ์นาค องค์ที่สามบอกว่ากัสสโป วงศ์เต่า องค์ที่ส่ีบอกว่าโคตโม วงศโ์ ค และองค์ที่หา้ วา่ เมตเตยโย วงศร์ าชสชี ์ สว่ นมารดาน้ันไม่มี มีแต่มารดาเลี้ยงคือ ไก่ นาค เต่า โค และราชสีห์ จงึ พรอ้ มใจกันอธิษฐานว่าถา้ จะตรสั เปน็ สัมมาสมั พุทธเจา้ ขอใหร้ ้อนถงึ มารดา ด้วยแรงอธิษฐาน ท้าวพกาพรหมจึงได้เสด็จลงมาจากพรหมโลก จําแลงองค์เป็นกาเผือกบินมา เกาะบนต้นไมต้ รงหน้าฤาษีทงั้ ห้าแล้วเลา่ เร่ืองแต่หนหลงั ให้ฟงั พรอ้ มกลา่ วว่า ถ้าคิดถึงมารดาเมื่อถึงวันเพ็ญ เดอื นสิบเอ็ด เดือนสบิ สอง “ให้เอาดา้ ยผูกเปน็ ตีนกา ปักธูปเทียนบชู าลอยกระทงลงในแม่นํ้าเถิด” นับตั้งแต่น้ันเป็นต้นมาฤาษีทั้งห้าต่างก็ลอยกระทงเพื่อบูชาคุณพระมารดา และชาวบ้านที่มีความ เชือ่ ต่างก็ลอยกระทงเพอ่ื บูชาคุณพระมารดาตามถอ้ ยคาํ ของทา้ วพกาพรหมนั้น การจัดงานลอยกระทงทุกๆปี ของชาวสุโขทัยจัดข้ึนโดยมีจุดมุ่งหมายจะพยายามฟ้ืนฟูบรรยากาศ ในคืนเดือนเพ็ญเดือนสิบสองเฉกเช่นเม่ือสมัยกรุงสุโขทัย 700 ปีล่วงมาแล้ว มีการประดิษฐ์กระทงเล็ก กระทงใหญ่ โคมชักโคมแขวนประกวดกันเป็นจํานวนมาก มีการจุดประทีปโคมไฟท้ังในตระพัง (สระนํ้า) และสถูปโบราณสถานพราวพรายงดงามน่าตื่นตาตื่นใจ ขบวนแห่ไพร่ฟ้าหน้าใสสนุกครื้นเครงมาจากท้ังส่ี ปากประตูหลวงของเมืองสุโขทัย ได้แก่ ประตูกําแพงหัก (ทิศตะวันออก) ประตูนะโม (ทิศใต้) ประตูศาล หลวง (ทิศเหนอื ) ประตอู อ้ (ทิศตะวนั ตก) ขบวนทงั้ สี่ต่างเคลอ่ื นเขา้ สจู่ ดุ หมายคอื กลางเมอื งสโุ ขทัย ขบวนนางรําเรียกว่า ระบําสุโขทัย 700 กว่าคน รําถวายงดงามตระการตายิ่งนัก มีการสวด สรภญั ญะของนกั เรียนสุโขทยั วทิ ยาคมรว่ ม 700 กว่าคน เพ่ือเทิดเกียรติคุณของกษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงเจ้า มีการแสดงเสียงเทียน ณ บริเวณวัดมหาธาตุจากผู้แสดงหลายร้อยคนเพื่อจําลองสถานการณ์ ในอดีตท่ี เกิดข้ึนร่วมพันปีมาแล้ว และส่ิงสําคัญท่ีจะถือเป็นเอกลักษณ์ของงานลอยกระทงสุโขทัย คือ มีการเล่นไฟ อยา่ งยิ่งใหญ่ การเล่นไฟ หมายถึง การทําไฟให้เป็นท่ีสนุกสนานเพลิดเพลินการเล่นไฟในสมัยสุโขทัยคงจะใช้ วิธีการนําถ่านไม้ผสมกับดินประสิวมาอัดให้แน่นเวลาจุดระเบิดมีแสงสว่างและมีแรงดันขับเคลื่อน ถ้าอัด แนน่ มากเปลวไฟจะเคล่อื นแรงและสงู คล้ายกบั การเล่นบั้งไฟของชาวอีสานฉนั นนั้ ปัจจุบันการเล่นไฟของคนไทยพัฒนาไปมากมีการเล่นพลุ ดอกไม้ไฟตะไล ไฟตะเนียง ในจังหวัด สุโขทัยเองมีตระกูลท่ีเป็นนักเล่นไฟสืบทอดมาแต่โบราณ คือตระกูลแสนโกศิก เม่ือคุณประเสิรฐ แสน โกศกิ ได้บันทึกการเล่นไฟแบบโบราณไว้เปน็ มรดกของตระกลู ผ้สู ืบทอดต่อมาคือ นายสืบสกุล แสนโกศิก ท้งั สอง ท่านได้พฒั นาเทคนิคการเลน่ ไฟจนสามารถแสดงในงานลอยกระทงสโุ ขทัยเปน็ ท่ีช่ืนชมโสมนัสย่ิงนกั การเล่นไฟที่สุโขทัยนี้ใช้วิธีการเล่นไฟสมัยใหม่โดยมีพ้ืนฐานการเล่นไฟแบบโบราณพัฒนาจนเป็น การเล่นไฟของคนไทยที่งดงามไม่แพ้ชาวต่างชาติ ลีลาของการเล่นไฟที่งดงามตระการตาของชาวสุโขทัยมี ช่อื เสยี งเรียกขานแตกต่างกนั หลายรูปแบบ ดงั น้ี

หนงั สอื เรียนวชิ าเลือก สาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาสุโขทัยศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวิถีชวี ิต 8 พลุ พลเุ ปน็ การเล่นไฟที่รู้จักกันทั่วไป การเล่นพลุมี 2 แบบ คือ พลุเสียงดังกับพลุก้องอากาศพลุเสียง เป็นพลุท่ีจุดในงานศพหรืองานพิธีทั่วไป ขณะจุดจะระเบิดบนดินเกิดเสียงดังสน่ัน แต่พลุที่เล่นในงานลอย กระทงเป็นพลกุ ้องอากาศหรอื พลุดาวกระจาย พลุดาวกระจายเป็นพลุท่ีมีหลายชนิด คือมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 3 นิ้ว 4 นิ้ว 5 น้ิว และ 6 น้ิว ภายในบรรจุดินระเบดิ ที่ประกอบดว้ ยสีสันต่างๆ เชน่ นํา้ เงนิ เขียว ทอง เหลอื งขาว เมื่อยิงพลุขึ้นบนท้องฟ้า จะระเบดิ แตกกระจายพราวพรา่ งคลา้ ยแสงสะเก็ดของดวงดาว งดงามตระการตายงิ่ นกั ตะไล ตะไลเป็นการเล่นไฟชนิดหนึ่งท่มี ีทั้งแสงและเสยี งประกอบกัน ไฟชนิดนี้ให้ความสนุกสนานตื่นเต้น มาก เพราะผู้เล่นต้องถือตะไลแล้วเหว่ียงให้ออกจากตัวและตะไลจะม้วนตัวส่ายเป็นวงกลมพร้อมๆกับ ทะยานสู่ท้องฟ้าอยา่ งรวดเรว็ ไม่ถงึ อดึ ใจก็ระเบิดเสยี งดังสนน่ั หวั่นไหวลูกตะไลจะประกอบด้วยไม้ไผ่ทําเป็น ปกี หรอื วงกลมลอ้ มรอบทอ่ หรือกระบอกจดุ ดนิ ระเบดิ ไฟพะเนียง ไฟพะเนียงเป็นการเล่นไฟชนิดหน่ึงถ้ามีขนาดเล็กเรียกกันง่ายๆว่า พลุโอ่ง ไฟชนิดนี้ จะพุ่งปะทุ แตกกระจายคล้ายกอไผ่ขนาดใหญ่ยักษ์ ประกายไฟของพะเนียงจะพุ่งออกจากปากกระบอกข้ึนเป็นกอสูง ประมาณ 6-10 เมตร กว้าง 4 เมตร เมื่อดินระเบิดจะมีเสียงเหมือนลมพายุหรือฟ้าคํารณจึงเรียกไฟชนิดน้ี ว่า ฝนแสนหา่ พเยียมาศ พเยียหมายถงึ พวงดอกไม้ หรือดอกไม้ไฟ พเยียมาศเป็นดอกไม้ไฟท่ีตั้งเป็นต้นทําเป็นช้ันๆเวลาจุด จะเปน็ ชัน้ ๆ สะบดั ไหวอยู่ในอากาศ ไฟโคมลอย ไฟโคมลอยเป็นไฟที่จุดเป็นโคมให้ลอยขึ้นสู่ท้องฟ้า การปล่อยโคมจะปล่อยเป็นชุดๆละ 50 ลูกข้ึน ไป โคมลอยแต่ละใบจะมีความกว้างประมาณ .75 เมตร และความยาวประมาณ 1.15-1.50 เมตร เม่ือโคม ไฟลอยสงู ขน้ึ จะปะทะแรงลมครน้ั ลอยสูงข้ึนๆจนเห็นแสงวับแวมกระแสลมจะพัดให้โคมแต่ละใบแยกตัวกัน คล้ายกับการโคจรของดวงดาวในท้องฟา้ ไฟอักษร เป็นการเล่นไฟสมัยใหม่ท่ีตกแต่งเป็นสัญลักษณ์หรือตัวอักษรอ่านเป็นชื่องานตามที่ผู้จัดงาน ต้องการนบั ต้ังแต่ปี 2520 ซึง่ เปน็ การเร่มิ จัดงานลอยกระทงของจังหวัดสุโขทัย ที่ได้จัดอย่างต่อเน่ืองและใน ปีนกี้ เ็ ชน่ กัน ชาวสโุ ขทัยพร้อมกันจัดงานลอยกระทงอย่างยิ่งใหญ่ในช่วงเดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน ของทุก ปีทช่ี าวสุโขทัยร่วมกนั จดั งานลอยกระทงจนมชี ื่อเสยี งโดง่ ดงั ไปทว่ั สารทิศ แม้ในบ้างปีอาจมีการจัดรูปแบบ หรอื กจิ กรรมใหม้ สี ีสันแตกต่างกันออกไปบ้าง เช่น การแข่งเรือนํ้าน่ิง การเล่นไฟแบบโบราณ ไฟลูกหนู ไฟ เปด็ ไซรแ้ หน ไฟช้างร้อง

หนงั สือเรียนวิชาเลอื ก สาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสโุ ขทัยศึกษาเชิงประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวิถชี วี ิต 9 เรือ่ งที่ 2 ประเพณีบวชนาคแห่ชา้ ง ความหมายและความสาํ คัญของประเพณบี วชช้าง ประเพณีบวชนาคแห่ชา้ ง หรือเรยี กวา่ แห่ช้าง อยู่เคยี งคู่ผคู้ นทม่ี ีสายเลอื ดไทยพวนมานานแล้ว คือ การนาํ ช้างมาร่วมในพิธีบรรพชาอปุ สมบท มาจากความเช่อื ทางพุทธศาสนาวา่ ถือตามท่ีพระ เวสสันดรให้ชา้ งปัจจยั นาเคนทร์ อันเป็นช้างเผอื กคบู่ ารมีที่ชาวเมืองเชตดุ รถือว่าเป็นมงคลหตั ถีแก่ พราหมณ์ท้ัง 8 จากแควน้ กลิงคราษฎรท์ ม่ี าทูลขอ ความเชื่อน้ีเก่ียวข้องกับอีกตาํ นานหนง่ึ คือ ตอนท่พี ระเจา้ กรงุ สญั ชยั พระราชบดิ าของพระ เวสสันดรขอให้พระเวสสนั ดรกลบั มาเปน็ กษตั ริย์ตามเดมิ นั้น พระองคไ์ ดจ้ ดั ขบวนช้าง มา้ และรถ ประดับ ประดาเหมือนออกศึกสงครามใหส้ มเกียรติ เพือ่ ไปรบั พระเวสสันดรและพระนางมทั รี ขบวนแหแ่ หนขับ ด้วยมโหรแี ละการละเล่นต่าง ๆ เป็นการเฉลิมฉลอง ความเชอ่ื อีกประการหนึง่ คือ คําสง่ั สอนของพระพทุ ธองค์ทม่ี ุ่งให้ผูบ้ วชถือปฏบิ ัติตนเพื่อไปสู่โลก อุดร หรอื โลกุตรธรรม คอื ธรรมอนั พน้ จากโลก ได้แก่พระนิพพาน แต่คนทัว่ ไปเข้าใจว่า อุดร หมายถงึ ทศิ เหนือ ซึง่ มีสัญลักษณ์ คือ ช้าง ชาวบ้านหาดเสีย้ วจึงนําสญั ลักษณ์ท่ีเรียกว่า “โงนงก” มา เป็นส่วนร่วมในขบวนแหน่ าคมาจนถงึ ปัจจบุ นั ประเพณีบวชนาคแห่ช้างหรอื ท่ีเรียกว่า แหช่ ้าง อยู่เคียงค่ผู ู้คนทมี สี ายเลือดไทยพวนมานานแล้ว ชาวไทยพวน เป็นชาวลาวที่อพยพมาจากเมอื งพวน แขวงเมอื งเชียงขวางทางตอนเหนือของเมอื งเวยี งจันทร์ ประเทศลาว เม่ือมาตั้งรกราก ณ สถานท่ปี ัจจุบันก็ยังคงสืบทอดขนบธรรมเนยี มประเพณี อนั ดีงามของ ตนเองตลอดมา เปน็ เวลากว่า 150 ปีแลว้ ซ่งึ เป็นการนาํ ชา้ งมาร่วมในพิธบี รรพชา ที่ตาํ บลหาดเสย้ี ว อําเภอศรสี ัชนาลัย จงั หวัดสโุ ขทัย มีการจดั งานบวชทีน่ า่ สนใจมากโดยจดั พร้อม กันทงั้ ตาํ บล ก่อนบวชเจ้าภาพจะจดั ให้นาคนั่งบนคอช้าง พร้อมดว้ ยญาติมิตรนําอฐั บริขาร ขีบ่ นหลังช้าง แห่เปน็ ริว้ ขบวนย่งิ ใหญร่ อบหมบู่ า้ น งานบวชพระแห่นาคด้วยขบวนช้างชาวบ้านมักเรยี กกนั ส้นั ๆ วา่ \"งาน บวชชา้ ง\" แต่เดมิ จัดวันแห่ในวนั แรม 3 ค่าํ เดือน 4 และบวชในวนั แรม 4 คาํ่ เดือน 4 ต่อมาตัง้ แต่ พ.ศ. 2524 ได้เปลีย่ นวนั แห่เปน็ วันที่ 7 เมษายนของทุกปี และวนั บวชเปน็ วันท่ี 8 เมษายนของทุกปี

หนังสอื เรยี นวิชาเลอื ก สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสโุ ขทยั ศึกษาเชงิ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวิถชี วี ิต 10 ความเชื่อและที่มาของประเพณีบวชช้าง ชาวไทยพวนจึงเหน็ ว่าช้างเปน็ สัตวท์ ม่ี ีความสําคัญอันจะเป็นสะพานช่วยให้หลุดพ้นในโลกียวิสัยได้ จงึ ใชช้ า้ งเป็นสัตวส์ ญั ลกั ษณ์ประจาํ ทิศอดุ รเสมอ ดังปรากฏในการสร้างวัดโพธิ์ไทร (วัดหาดเสี้ยว) แต่เดิมมี ซุ้มประตูแต่ละทิศมีสัตว์ประจําอยู่ จากคําเล่าขานของอาจารย์ผวน พ่วงชวาลาวงศ์ ข้าราชการบํานาญ บา้ นหาดเส้ยี วเล่าว่า แตเ่ ดมิ ทีซ่ ุม้ ประตูวดั หาดเส้ียวมภี าพสตั ว์ปรากฏอยู่ 8 ชนิด ประจํา 8 คือช้างตรงข้าม กบั ราชสหี ์ วัวตรงข้ามกบั เสือ ครฑุ ตรงข้ามกับนาค หนตู รงข้ามกับแมว พิธกี ารบวช งานบวชนาคแห่ช้างของชาวไทยท่ีน่ีแท้จริงก็คือ ประเพณีการบวชอย่างหนึ่งของไทย แต่มีแปลก แยกไปจากประเพณีการบวชทว่ั ไปในหลายลกั ษณะ คอื - กรวยอัฏฐะ มีลักษณะเป็นไม้ไผ่สานเป็นกระบุงเล็กๆ เป็นตาหกเหลี่ยมติดด้วยกระดาษแก้วสี ตา่ งๆภายในบรรจุกล้วย ขา้ วแตน นางเล็ด ขา้ วเกรยี บวา่ ว เครื่องแตง่ ตัวนาค เคร่ืองแต่งกายของนาค ประกอบด้วย - ผา้ นุง่ ผ้ามว่ ง ผา้ ไหม สวมเสื้อกาํ มะหยีห่ รอื เครอ่ื งนุ่งห่มทแี่ พรวพราว - สวมเครือ่ งประดับต่าง ๆ เช่น เขม็ ขดั นาก เพชร พลอย อนั มีความหมายถึงความหลงใหล ในความงามของทรัพย์ ภายนอกและพร้อมทีจ่ ะไปแสวงหาทรัพย์ภายใน (อรยิ ทรัพย์) - สวมแวน่ ดํา มคี วามหมายวา่ ยังเปน็ ผ้มู ืด เพราะยังไม่ได้ศึกษาพระธรรมวินัย - ศีรษะสวม เทรดิ หรือเรยี กวา่ กระโจม อนั เป็นเคร่ืองทรงของพระอินทร์ และเปน็ สญั ลกั ษณ์ หงอนนาค - กระจกทต่ี ดิ สองข้างหูเพื่อไวส้ ํารวจตวั เอง ระลึกถึงความหลงั พร้อมท่ีจะสละ - ประนมมอื ดว้ ยแผ่นหรือแปน้ วงกลมเรียกวา่ \"สักกัจจัง\" แปลวา่ เครอ่ื งหมายแห่งความเคารพ ขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลางประมาณ 7-8 นิว้ ด้ามเป็นรปู พญานาค - ถือเครื่องประดบั และเคร่ืองบชู าต่าง ๆ เช่น ดอกไม้ ธปู เทียนเรยี กว่า ขันธ์ 5 - ร่มที่ใชก้ างเป็นร่มใหญ่(สัปทน) มหี ลายสี เรียกวา่ \"จ้อง\" หรือ \"คันญู\" - เครอื่ งกองบวชของชาวไทยพวนบ้านหาดเสี้ยว กองบวช หมายถึง เคร่ืองอัฐบริขาร มผี ้า กงั้ ผ้าคลมุ หวั ชา้ ง ผ้าน่งั ผ้ากราบพระ และผ้าห่อคัมภรี ์ ซึ่งต้องใชใ้ นพิธบี วชนาคแห่ชา้ ง สมยั ก่อนผู้ ชายหาดเสย้ี ว เมื่อถึงเวลาบวชจะตอ้ งมหี ญิงสาวซ่ึงเป็นค่รู ักกนั ทาํ เครอ่ื งกองบวชให้ ได้แก่ ผ้ากั้ง : ใชข้ ึงไว้ข้างฝา สําหรบั ตัง้ เคร่ืองกองบวช ผา้ คลุมหัวชา้ ง : ใชค้ ลมุ หัวช้างเวลานาคขนึ้ นัง่ ชา้ งตอนแห่ ผา้ น่งั : เมอ่ื บวชแลว้ ฉันภัตตาหาร จะตอ้ งใชป้ ูนง่ั ผา้ กราบพระ : ใชส้ ําหรบั ทําวตั รเชา้ และเย็น ผ้าหอ่ คมั ภีร์ : ใช้สาํ หรับหอ่ หนังสือคัมภีร์ใบลานขึ้นเทศนบ์ นธรรมมาสน์

หนงั สอื เรยี นวชิ าเลอื ก สาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสุโขทัยศึกษาเชิงประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวิถชี ีวิต 11 - ช้างและการตกแต่งช้างเจ้าภาพทุกคนท่ีจะบวชให้บุตรหลานจะต้องเตรียมว่าจ้างช้างจากแหล่ง ที่มีช้างก่อนเป็นปี ส่วนใหญ่จะดูจากช้างท่ีร่วมขบวนแห่ในปีก่อนๆ เมื่อถูกใจก็ติดต่อกับเจ้าของช้าง ก่อน ถึงวันงานจะต้องนําช้างมาตกแต่ง เจ้าของช้างจะต้องทําความสะอาดช้าง โดยนําช้างไปอาบในแม่น้ํายม หรือท่ใี ดทห่ี นง่ึ ตามสะดวก หลังจากนั้นเพอื่ นนาคจะแต่งตัวให้ช้างให้สวยงาม พร้อมท้ังปูลาดบนหลังช้างให้ นาคนัง่ บนคอชา้ ง นาํ กระด่งิ มาคล้องคอ ใช้ผ้าแพรสีสันฉูดฉาด ด้ายขาวด้ายแดงผูกที่งาช้าง พร้อมท้ังเขียน คาํ หยอกล้อนาคหรอื เจา้ ภาพตามทีจ่ ะกระทาํ ได้ - การเตรยี มหมวกหรืองอบ เป็นอปุ กรณ์สําคญั ทเ่ี จา้ ภาพจะแจกใหแ้ กญ่ าติมิตรท่ีไปร่วมขบวนแห่ ของตน บนหมวกหรืองอบจะเขียนชื่อนาคไวเ้ พื่อแสดงจาํ นวนของผู้ร่วมงานของตนหรือการแสดงว่าเป็นผู้มี ฐานะดี การมีญาติสนิทมิตรสหายมารว่ มเปน็ จาํ นวนมาก การบวชนาคแห่ชา้ งของชาวไทยพวนบ้านหาดเสี้ยวไม่ใช่มีแตช่ า้ ง หากแต่มีม้าเข้ามาร่วมด้วย โดย ถอื กันวา่ พระเจ้าสิทธัตถะออกผนวชข่ีม้าชื่อ กัณฐกะ แต่การแห่ด้วยขบวนม้าในระยะหลังเส่ือมความนิยม ไปสาเหตมุ าจากเกดิ ความรนุ แรงขึ้น คือ หลังจากแห่นาคเสร็จแล้วจะมีกีฬากลางทุ่งนา เรียกว่า “กีฬาบวช หรอื กีฬานาค” โดยเอามา้ มาล่อช้างด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ขี่ม้าเข้าไปแหย่ช้างให้เกิดความรําคาญและโกรธ ช้างก็จะไล่มา้ และใชง้ วงไล่จับคนขม่ี า้ เปน็ กฬี าทีส่ นกุ และหวาดเสียว ในปีท่ีเกิดเหตุการณ์รุนแรงนั้นคนข่ีม้า ขเ่ี ขา้ ไปใกลช้ ดิ ช้างเกินไป พอได้จังหวะช้างโมโหสุดขีดก็เหว่ียงตัวหลบอย่างรวดเร็วและเกิดพลาด คนข่ีม้า เกิดร่วงลงสู่พ้ืนไดรับบาดเจ็บสาหัส พระครูศรัทธาโสภณ (อุตตมะ สุขปัญญา) เจ้าอาวาสวัดหาดเสี้ยว ขณะนั้น ขอให้เลิกกีฬาประเภทน้ีเม่ือ 50-60 ปีมาแล้ว จึงทําให้กีฬาบวชหรือกีฬานาคหายไป และการใช้ มา้ แหน่ าคกห็ ายไปด้วย ความเช่ือถอื เรอ่ื งชา้ งหรอื การข่มี า้ บวชพระคงไม่ได้มีแต่เพียงชาวไทยพวนเท่าน้ันแต่คงมีปรากฏใน คนไทยอีกหลายหมู่เหล่า แตส่ าเหตทุ ี่ทําให้เกดิ ประเพณีการบวชนาคแห่ช้างท่ีบ้านหาดเส้ียวตามคําบอกเล่า ของท่านผู้รู้ และการศึกษาของ นิคม อินทรประพันธ์ (2540) ได้สรุปว่า คงมีข้ึนในราวปีที่เฉลิมฉลองวัด หาดเส้ียวหรือวัดโพธิ์ไทรที่สร้างเสร็จแล้วประกอบกับในสมัยโบราณชาวบ้านแถบอําเภอศรีสัชนาลัยมีการ เล้ียงช้างหลายหมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสารจิต บ้านแก่ง บ้านตึก ฯลฯ จึงมีการนําช้างมาร่วมงานประเพณีได้ สะดวกง่ายดาย ประกอบกับความเช่ือเรื่องช้างท่ีเป็นสัตว์พาหนะของพระอินทร์ และเป็นช้างคู่บารมีของ พระเวสสันดร การนําช้างเข้าพิธีมีการเช่าด้วยราคาที่ไม่สูง ในราวปี 2534-2536 ราคาเช่าช้างจะอยู่ราว 1,500-2,000 บาท ต่อมาในช่วงปี 2538 ทางการได้ฟื้นฟูประเพณีการบวชนาคแห่ช้างน้ี ทําให้ราคาเช่าใน ปจั จบุ ันสงู ขึน้ เป็นราวเชอื กละ 3,000-3,500 บาท แต่จากการร่วมฟ้ืนฟูของทางราชการ หน่วยงานเอกชน และการท่องเทยี่ วไดป้ ระชาสมั พนั ธก์ ารจัดงานจดั พิมพ์ใบปลวิ และแผ่นโปสเตอร์ทําให้ประเพณีบวชนาคแห่ ช้างเปน็ ที่สนใจของบุคคลท่ัวไป ในปี 2540 และ 2541 จงึ มีชา้ งทเี่ ขา้ ร่วมพธิ ีถึง 50-60 เชือก ดังนั้นในทุกวนั ท่ี 6-8 เมษายน โดยเฉพาะวันที่ 7 เมษายน เป็นวันข่ีช้างแห่นาคไปร่วมพิธีท่ีวัดหาด เสี้ยว ทําให้ทุกหมู่บ้านเต็มไปด้วยความสนุกครึกครื้น ทุกใบหน้าอ่ิมด้วยรอยยิ้มร้องรําทําเพลงอย่าง สนกุ สนานเต็มไปดว้ ยรอยยิม้ และอ่ิมอ่ิมบญุ อย่างแทจ้ ริง

หนังสอื เรียนวชิ าเลือก สาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสุโขทยั ศึกษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมและวิถีชวี ติ 12 เรอื่ งท่ี 3 ประเพณีกาํ ฟา้ ประเพณีกาํ ฟ้า เป็นประเพณีอย่างหนึง่ ของชาวไทยพวนทถ่ี อื ปฏบิ ตั ิสืบต่อกันมานับศตวรรษ ความหมายของกําฟ้า แยกได้สองคํา คือ กํา หมายถึง ยึด ถือ ส่วนคําว่า ฟ้า หมายถึง สวรรค์อันหมายถึงทวยเทพบนสวรรค์ ซึ่ง ชาวไทยพวนหมายรวมถึงดวงวิญญาณของบรรพบุรษุ ชาวไทยพวนทพ่ี ึงเคารพกราบไหว้ดว้ ย ประเพณีกําฟ้าหมายถึงประเพณีที่ถือปฏิบัติต่อๆกันมาเพ่ือระลึกคุณงามความดีของดวงวิญญาณ บรรพบรุ ุษ ความเช่อื และท่ีมาของประเพณกี าํ ฟา้ ประเพณีกําฟ้าเป็นความเชื่อของชาวบ้านที่ต้องการเสี่ยงทายดวงชะตาราศีประจําปีของหมู่บ้าน โดยถือเคล็ดจากการฟังเสียงฟ้าร้อง โดยให้ถามจากคนหูตึงจากหมู่บ้าน ซ่ึงอาจ ได้แก่ ผู้เฒ่าผู้แก่ผู้สูงอายุ และเป็นบุคคลที่ชาวบ้านนบั ถือ ซ่ึงชาวไทยพวนเรยี กว่า “กวานบา้ น” การแปลความหมายจากเสียงฟ้ารอ้ งพจิ ารณาจากเสยี งฟ้าร้องจากทศิ ต่างๆ ดงั น้ี - หากปใี ดเสียงฟ้าร้องดังมาจากทิศใตท้ า่ นว่าไวว้ ่าชาวบ้านจะอดเกลือ - หากปีใดเสียงดังมาจากทิศเหนอื ชาวบ้านจะอดข้าว - หากปีใดเสียงฟ้าร้องมาจากตะวันตก ชาวบ้านจะต้องทําศึกสงคราม คือจะเกิดเหตุ ทะเลาะววิ าท - หากเสยี งฟา้ ร้องดังมาจาทิศตะวันออก บ้านเมืองจะอุดมสมบูรณ์ด้วยข้าวปลาอาหาร ไม่มโี รคภยั ไข้เจ็บเบยี ดเบยี นทั้งผู้คนและผู้สัตว์ การแปลความหมายจากการดดู วงอาทติ ย์ตอนรุง่ เช้า - หากดวงอาทิตย์โผล่พ้นทองฟ้าข้ึนทางตะวันออกแล้วมีก้อนเมฆมาบดบังมากท่าน ทํานายว่าฝนดี ขา้ วปลาอาหารจะอุดมสมบรู ณ์เรือกสวนไรน่ าจะไดผ้ ลผลิตเตม็ เมด็ เต็มหนว่ ย - หากมกี ้อนเมฆมาบดบังเล็กนอ้ ย ทา่ นทาํ นายไดว้ ่า ฝนฟ้าจะไม่ตกต้องตามฤดูกาล นํ้า จะน้อย ต้องคอยําเหมืองทาํ ฝายกันนํา้ ไวล้ ่วงหน้า - หากดวงอาทิตย์โผล่พ้นขอบฟ้าโดยปราศจากก้อนเมฆบดบัง ท่านทํานายไว้ว่าฝนจะ ล่าหลงฤดู ต้นปีนํ้าน้อย ปลายปีนํ้ามาก ข้าวในนาต้นปีจะไม่ทันน้ํา ปลายปีน้ําจะท่วมใหญ่ข้าวใน นาจะเสยี หาย - หากดวงอาทติ ย์มเี มฆมาบดบังจนหนาทบึ ทํานายไว้ว่าน้าํ ต้นปีจะดีมาก แต่ปลายปีจะ ขาดแคลน ให้เร่งกกั เก็บนา้ํ ไวเ้ พ่อื ให้ขา้ วทนั นํา้

หนังสือเรียนวิชาเลอื ก สาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสุโขทยั ศกึ ษาเชิงประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมและวถิ ชี ีวิต 13 พธิ กี รรม พธิ ีกาํ ฟ้าจะแบง่ การกระทําเป็น 3 ระยะ คอื ครัง้ ที่ 1 ต้ังแต่เวลาตะวันตกดนิ ของวนั ขึน้ 2 ค่าํ เดอื น3 จนถึง เวลา ตะวนั ตก ดินของวนั ข้น 3 ค่ําเดอื น 3 เรยี กวา่ วันกําเพล ระยะเวลาน้ีนบั ต่อไปอกี 5-7 วนั ถงึ วนั ขึน้ 8 ค่ํา ครัง้ ที่ 2 ต้ังแต่เวลาตะวันตกดนิ ของวันขนึ้ 9 คํา่ เดือน 3 ถงึ เวลาคนื เพล (เวลาฉนั อาหารกลางวันของพระสงฆ์) ของวันข้ึน 10 ค่ํา เดือน 3 ระยะเวลานี้นับต่อไปจนถึงวันขึ้น 14 คํ่า เดือน3 ระยะเวลา คํ่าของวนั ข้ึน 14 ค่ํา จนถงึ รุง่ เชา้ ของวนั ข้ึน 15 ค่าํ เรยี กวา่ วนั กาํ งาน ครั้งที่ 3 ตั้งแต่เวลาตะวันตกดินของวันขึ้น 14 คํ่า เดือน 3 ถึงเวลาพระฉันจังหัน(เวลา ฉนั อาหารเชา้ ของพระสงฆ์) ของวนั ข้นึ 15 คาํ่ เดอื น 3 เป็นวนั สุดท้ายของประเพณี ข้ันตอนการปฏบิ ัตปิ ระเพณี กอ่ นเดือน 3 ข้ึน 3 คํา่ พ่อแม่ปู่ย่าตายาย จะบอกให้ลูกหลานเตรียมข้าวปลาอาหารนํ้ากินนํ้าใช้ใน เรือนชานให้บริบูรณ์ เม่ือถึงเวลา “กํา” คือ เร่ิมตั้งแต่เห็นดวงอาทิตย์จนถึงเท่ียงวันวันน้ีวัวควายไม่ต้อง ปลอ่ ยไปเล้ยี ง เพียงแต่ตักนาํ้ หาฟางใหก้ นิ คนในบา้ นงดทาํ งานทกุ อย่าง เปน็ เวลา 3-5 วนั ในช่วงเวลาเข้ากําจะต้องถือปาณาติบาต เลิกฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ดังนั้นเนื้อสัตว์ท่ีนํามาทําอาหารต้อง ทาํ ไว้ล่วงหน้า เพราะถงึ เวลากํา จะไม่มกี ารทาํ การใดในตอนคํ่าหนุ่มสาวจะมีการเล่นรื่นเริงอย่างสนุกสนาน เช่น การเล่นนางกวกั เปน็ ตน้ อาหารท่ที ําในวนั กาํ ฟ้า อาหารทีท่ ําในวนั กําฟ้าคือข้าวจ่ี ข้างจ่ีคือการนําข้าวเหนียวสารมาแช่นํ้าไว้ต้ังแต่เย็นวันขึ้น 2 คํ่า เพอ่ื ให้แนใ่ จวา่ อ่อนตัว เจา้ บ้านจะตนื่ ขึน้ มาหุงขา้ วต้งั แตย่ ังดกึ แล้วปั้นเป็นก้อนกลมๆรีๆคล้ายผลมะตูมหรือ ไขเ่ ป็ด เจาะรูตรงกลาง เอาไมไ้ ผ่เหลา่ ไว้ยาวศอกเศษ เสียบเขา้ ไปจนทะลุ นาํ ไปปิ้งจนข้าวสุกดี นําไข่แดง ไข่ ขาวมาตีให้เข้ากัน โรยเกลอื ปน่ เล็กนอ้ ย นํามาทําข้าวจี่ปิ้งจนสุกเหลืองอ่อน ถอดจากไม้นํามาวางใส่ภาชนะ ไว้ ส่วนของหวาน คือน้ําตาลทรายแดง งา ถ่ัวลิสงค่ัว บดให้เข้ากันยัดเข้าไปในรูข้าวจ่ี เก็บไว้รับประทาน หลงั จากแบง่ ถวายพระแลว้ ปัจจุบันประเพณีกําฟ้ามีความเช่ือน้อยลง ทั้งน้ีเพราะมีการพยากรณ์อากาศท่ีแม่นยํากว่าแต่ชาว ไทยพวนก็ยังคงทาํ บุญและปฏบิ ัติตามประเพณอี ย่บู ้าง

หนังสอื เรียนวิชาเลอื ก สาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสโุ ขทัยศกึ ษาเชิงประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวถิ ีชวี ติ 14 เรอื่ งท่ี 4 ประเพณีทาํ ขวญั ผึง้ การทําขวัญผ้ึงเป็นประเพณีท่ีกระทําในอําเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย เป็นความเชื่อและภูมิ ปัญญาของไทยทต่ี อ้ งการให้ผ้ึงมาทํารังตามต้นไม้มากๆ เพ่ือจะได้มีนํ้าผึ้งเพียงพอกับการส่งส่วยแทนการใช้ แรงงาน ตามพระราชกําหนดต้ังแต่สมัยกรงุ ศรอี ยุธยาเปน็ ราชธานี ความเชื่อและทม่ี าของประเพณี ประเพณีการทําขวัญสืบเน่ืองมาจากการที่อาณาจักรสุโขทัยต้องตกเป็นเมืองข้ึนของกรุงศรีอยุธยา ไดก้ าํ หนดไวว้ ่า ชายฉกรรจท์ ่ีมีอายุ 18-60 ปีมีร่างกายสมประกอบ และมิได้เป็นบรรพชิตนักบวชในศาสนา ใดมิใช่ไพร่สมสังกัดเจ้าขุนมูลนานใดใด ท่านให้สักข้อมือขึ้นบัญชีเป็นไพร่หลวง และต้องเข้าเวรรับราชการ ปีละ 6 เดือน เดอื นเว้นเดอื นสลบั กนั ไป หรอื เรียกว่า “เขา้ เดือนออกเดอื น” ครั้นมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ได้มีการลดหย่อนให้ไพร่หลวงท่ีเกินความต้องการใช้ แรงงานซึ่งไม่ต้องรับราชการ เสียค่าส่วยแทนแรงงานในการรับราชการได้ ในหัวเมืองท่ีห่างไกลเมืองหลวง การส่งส่วยเป็นส่ิงของ เช่น ชาวบ้านดงพญาไฟ เมืองโคราช เอามูลค้างคาวหุงเป็นดินประสิวส่งหลวง สําหรับทําเป็นดินปืนให้เมืองหลวง ส่วนชาวบ้านศรีคีรีมาศอาศัยอยู่เชิงเขาหลวง ซึ่งอุดมไปด้วยป่าและรัง ผึง้ จึงถกู กําหนดใหส้ ่งส่วยน้ําผึ้งแทนแรงงาน ดว้ ยเหตุท่ีชาวศรคี ีรมี าศต้องส่งสว่ ยนาํ้ ผ้ึงตดิ ตอ่ กันเปน็ เวลานานนเ้ี อง จงึ ตอ้ งหารงั ผ้ึงและหาวิธีการ ที่จะทําให้ผึ้งมีจํานวนมากมาทํารังให้เพียงพอต่อการส่งส่วยไปยังอยุธยา ดังนั้นจึงมีการทําขวัญผ้ึงด้วยการ อัญเชิญผึ้งให้มาทํารังบนต้นไม้ท่ีผ้ึงเคยเกาะ ประเพณีนี้ได้ปฏิบัติสืบต่อกันมาหลายชั่วอายุคน ชาวเมืองศรี คีรีมาศมีหน้าที่ส่งส่วยน้ําผ้ึงไปยังกรุงรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี 1-รัชกาลที่ 7 จึงได้ล้มเลิกไป แต่ ศนู ยศ์ ึกษาและวฒั นธรรมวจิ ยั พ้นื บา้ นฝา่ ยเหนือมหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒพิษณุโลก โดย ดร. ประจักษ์ สายแสง และคณะได้ร่วมกับนายศีลธรรมและนางเครือจิตต์ เรืองโต และชาวบ้านในชุมชนตําบลศรีคีรี มาศ ฟืน้ ฟูประเพณีการทาํ ขวัญผ้งึ โดยดาํ เนนิ การในวนั ข้ึน 3 คา่ํ เดือน 3 ซึ่งตรงกับวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2526 และไดป้ ฏิบัตสิ บื ต่อกันมาจนถึงปัจจบุ ัน กรรมวิธีการทาํ ขวัญผ้ึง เริ่มด้วยการทํารั้วเตี้ยรอบโคนต้นไม้ท่ีจะทําพิธี ตรงโคนไม้มีท่ีนั่งร้านวางของ ต้ังศาลตีนเดียวตาม ประตูรว้ั ไม้ท้งั 8 ประตู ทงั้ นีเ้ ปน็ ไปตามความเชื่อเรอื่ งเทวดาประจาํ ทิศท้ังแปดทิศ ต้องอัญเชิญมาร่วมในพิธี น้ีด้วย โดยเทวดาจากทุกทศิ จะชักนําหรือเบกิ ทางให้ผ้ึงมาลงยงั ตน้ ไมต้ ้นนจี้ ากทกุ ทศิ ทกุ ทางได้ ตั้งศาลตีนเดียวศาลใหญ่ตรงโคนติดกับโคนไม้ท่ีทําพิธี ทั้งนี้เป็นไปตามแนวคิดที่ว่ารูปแบบการ ปกครองสังคมต้องมีผู้นําที่เป็นใหญ่สูงสุดและผู้ใต้ปกครอง เทวดาเป็นผู้ใหญ่สูงสุดก็ถูกอัญเชิญมาประทับ ศาลใหญ่ เสมือนเปน็ ประธานของพิธี คาดผ้าเขียว ผ้าแดง รอบโคนต้นไม้ท่ีจะทําพิธี แขวนพวงเงินพวงทอง พันด้ายขาวแดงรอบโคน ต้นไม้น้ัน 9 รอบ มีความหมาย คือ สีแดงเป็นสีแทนความสุข ความสมปรารถนา สีขาวแสดงความสะอาด ปลอดโปร่งแจ่มใส วางเครือ่ งเซน่ บนร้านขา้ งศาลใหญ่ทีโ่ คนต้นไม้ ประกอบด้วย หัวหมู เหล้า ไก่ ข้าวพล่า ไข่ต้ม และ วางเคร่อื งสังเวยตามศาลเล็กทง้ั แปดทิศ

หนงั สือเรียนวชิ าเลือก สาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสุโขทยั ศึกษาเชิงประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวิถีชวี ติ 15 รอบต้นไม้ใหญ่และต้นไม้เล็กในบริเวณใกล้ๆ ท่ีทําพิธีติดด้วยรังผ้ึงปลอม ซ่ึงทําด้วยขนม แดกงา ทําจากสว่ นผสมท่ีหาได้ในพื้นบ้าน คือ ข้าวเหนียว น้ําอ้อย และงา เป็นการสร้างขวัญและกําลังใจให้แก่คน รว่ มงานวา่ มรี งั ผ้งึ มาเกาะอยู่มากมาย และเป็นเคร่ืองแสดงถึงความร่วมมือของชุมชนหลังจากเสร็จพิธีรังผึ้ง ปลอมเหล่านี้ชาวบ้านกใ็ ช้บรโิ ภคร่วมกนั พิธีการ เม่ือจะเริ่มพิธีการจุดธูปเทียนที่ศาลใหญ่และศาลท้ังแปดทิศ ผู้ทําพิธีครั้งน้ันคือ นายฉลอง อ่อน ปาน ซึ่งมีฝีปากในการพูดเจรจาไพเราะและร้องเรียงภาษาได้อย่างงดงาม เร่ิมด้วยทําน้ํามนต์เพ่ือป้องกัน เสนียดจัญไร แล้วเอาน้ํามนต์พรมที่เคร่ืองสังเวย และคนในบริเวณนั้น ผู้ทําพิธีไหว้พระรัตนตรัย กระทํา ธรณีสาร กล่าวคาถาชุมนุมเทวดาและร้องเชิญพ่อผ้ึงแม่ผึ้งให้ชวนบริวารมาเข้าทางประตูทั้งแปดทิศ โดยมี การซกั ถามโต้ตอบกับนายประตูก่อนเขา้ ไป แลว้ พอ่ ผง้ึ แม่ผ้ึงจะเข้าท้ังแปดประตู จากนั้นก็ทําพิธีอําลาต้นไม้ ใหญ่ เม่ือเสร็จพิธีการเล่นขโมยผึ้งโดยสมมุติให้มีผู้นําไปวางไว้ท่ีอื่นแล้วให้ตํารวจจับได้แล้วนํามา พพิ ากษาลงโทษ ให้ด่มื เหล้าจํานวนทต่ี ัดสิน เช่น สงั่ จําคกุ 5 ปี ก็กินเหลา้ 5 จอก เปน็ ตน้ นอกจากนี้ก็มีการ ตีผงึ้ ตามแบบฉบับของพน้ื บา้ นให้ดู ประเพณีการทําขวัญผ้ึงน้ีชาวบ้านตําบลศรีคีรีมาศเช่ือว่าเป็นพิธีศักด์ิสิทธ์ิ บางปีหลังจากทําพิธี แล้วมีผึ้งลงมาทาํ รงั ท่ีต้นไม้นัน้ ถงึ 70 รัง นอกจากนี้การทาํ ขวัญผ้งึ ยังเป็นภูมิปัญญาอย่างหนึ่งในการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟูป่า และเปิดโอกาสให้ชาวบ้านสนุกสนานรื่นเริงอันจะก่อให้เกิดความรักใคร่กลมเกลียวกันในกลุ่มชน ตอ่ ไป

หนังสอื เรยี นวชิ าเลอื ก สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสโุ ขทยั ศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวิถชี ีวิต 16 เร่อื งท่ี 5 ประเพณีตกั บาตรเทโว ประเพณีตักบาตรเทโว เป็นประเพณีที่ปรากฏอยู่ท่ัวไปในสังคมศาสนาพุทธแตกต่างกันตรง วิธกี ารและสถานท่ีของการจัดแตล่ ะแห่ง ประวตั ิของการจดั งานเทโว คําว่า เทโว ย่อมาจาก เทโวโรหณะ หมายถึงการหย่ังลงมาจากเทวโลก ซึ่งหมายถึงพระพุทธองค์ เสด็จลงมาจากเทวโลกตามตํานานเล่าว่าเม่ือครั้งพระพุทธเจ้าได้ประกาศพระศาสนาตั้งแต่ตอนเหนือของ ประเทศอินเดียมาถึงตอนล่าง และได้เสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุ์ซ่ึงเป็นปิตุภูมิได้ทรงเทศนาโปรดพระบิดา พระมารดา พระนางพิมพาและพระราหุล ตลอดจนพระประยูรญาติทั้งหลาย แล้วได้เสด็จข้ึนไปยังสวรรค์ ช้ันดุสิต เพ่ือทรงแสดงพระธรรมเทศนาพระอภิธรรมแด่พระพุทธมารดาและปวงเทวดาทั้งหลายตลอด พรรษา จนถึงวันแรมหนึง่ ค่าํ เดือน 11 จึงเสดจ็ มายงั มนษุ ย์โลก ในวันท่เี สดจ็ กลบั มาน้ันมปี ระชาชนไปถวาย การตอ้ นรับพระองค์เป็นจาํ นวนมากประชาชนเหล่าน้ันต่างปติ ิยินดดี ว้ ยการนาํ จตุปัจจัยใสบ่ าตร ประเพณตี กั บาตรเทโวของสโุ ขทัย จังหวัดสุโขทัยมีการจัดงานประเพณีตักบาตรเทโวหลายแห่งเท่าที่ปรากฏและมีชื่อเสียงคืองานตัก บาตรเทโวของวดั ราชธานี อาํ เภอเมอื งสุโขทยั และวดั นํา้ ขมุ อําเภอศรนี คร จงั หวดั สุโขทยั วดั ราชธานมี ีการจัดงานตกั บาตรเทโวมาแล้วไม่ต่ําว่า 40 ปี มีการทําบุญตักบาตร ใส่บาตรข้าวต้ม มัด หรือข้าวต้มลูกโยน เพราะความเชื่อที่ว่าพระพุทธองค์เสด็จลงมาจากเทวโลกมีผู้มาต้อนรับมากมายทํา ให้ไม่สามารถเข้าใกล้พระพุทธองค์ได้ ต้องโยนอาหารใส่ในบาตร มีกีฬาทางน้ําคือต้องแข่งเรือในแม่นํ้ายม โดยเชญิ เรือจากหลายแหล่งมารว่ มแข่งขนั บ้างปีไดเ้ ชิญเรอื จากตา่ งจงั หวดั มารว่ มแข่งด้วย สําหรับงานประเพณีเทโวของวัดนํ้าขุมได้เริ่มข้ึนเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2502 โดยมีครูย่อม จันทรส์ ขุ เปน็ ผนู้ ําแบบอย่างมาจากวัดไผล่ อ้ ม อําเภอลบั แล จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยเจา้ อาวาสวัดน้ําขุมสมัยนั้น ไดใ้ ห้ครยู ่อมไปติดต่อขอยืมเครอื่ งเทโวมาจากวัดไผล่ อ้ ม ดงั นน้ั ในปแี รกจงึ ไม่ไดจ้ ัดในวันแรม 1 ค่ํา เดือน 11 เพราะต้องยืมอุปกรณ์จากที่อ่ืน แต่ในปีต่อมาชาวบ้านได้ช่วยจัดทําอุปกรณ์การจัดงานเทโว ได้แก่ บุษบก ศีรษะพระอินทร์ พระพรหม พระอิศวร ยมบาล และหัวสัตว์นรกต่างๆ เช่น เปรต สุนัข ลิง ฯลฯ ตลอกจน เครอื่ งแตง่ กายนางฟา้ เทวดา เป็นต้น การจัดทําอุปกรณ์จัดงานเทโวในวัดน้ําขุมน้ัน เป็นงานศิลปะท่ีเกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้านใน ท้องถิน่ ลว้ นๆ เพราะชาวบา้ นได้รว่ มกนั ช่วยคิดประดิษฐ์ไปตามจินตนาการ แม้ในปัจจุบันรูปแบบก็ยังจัดใน รูปแบบเดมิ วิธีการจดั งานประเพณเี ทโวของอาํ เภอศรนี คร การจัดงานเทโวจะจัดในวันแรม 1 ค่ํา เดือน 11 ก่อนจะถึงวันงานคณะกรรมการวัดจะได้เชิญ ชาวบ้านส่งบุตรหลานมาเป็นเทวดา นางฟ้า และผู้เข้าร่วมขบวนแห่ ให้มาเตรียมเครื่องแต่งตัวก่อนวันจัด งาน

หนงั สอื เรียนวิชาเลือก สาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาสโุ ขทัยศึกษาเชิงประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวิถชี ีวิต 17 ขบวนแห่งานเทโวจะเร่ิมท่ีวัดหนองแหน ซ่ึงอยู่ห่างจากท่ีจัดงานประมาณ 2 กิโลเมตรเศษ ใน ขบวนจะประกอบด้วย กลองยาว บุษบกสําหรับประดิษฐานพระพุทธรูป พระอินทร์ พระพรมหม เทพบุตร นางฟ้า ฤาษี ขอทานและสัตว์นรกจํานวนมาก เม่ือเริ่มขบวนชาวบ้านจะพากันมาคอยร่วมทําบุญตักบาตร ซ่งึ เป็นขา้ วสารอาหารแหง้ การเคลื่อนขบวนจะเป็นไปอยา่ งช้าๆให้พระภกิ ษรุ บั บาตร งานเทโวเป็นงานท่ีช่วยสร้างความสมัครสมานสามัคคีให้แก่ชาวบ้านอย่างมาก เป็นเคร่ืองควบคุม สงั คมใหล้ ะ ลด เลกิ อบายมขุ หนั หน้าเข้าวัดเพ่ือทําบญุ จงึ มสี ว่ นชว่ ยให้สังคมเกิดสนั ติสขุ เป็นอย่างดี

หนังสอื เรยี นวิชาเลอื ก สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสโุ ขทยั ศึกษาเชิงประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวถิ ชี ีวิต 18 เรือ่ งที่ 6 ประเพณีสลากภตั หรือตานกว๋ ยสลาก ประเพณีสลากภัตตานก๋วยสลาก หรือกินข้าวสลากเป็นประเพณีพื้นบ้านของชาวทุ่งเสล่ียม จงั หวดั สุโขทัย ประชากรในอําเภอทุ่งเสล่ียมสว่ นใหญเ่ ป็นประชากรท่ีอพยพมาจาก หมู่บ้านผาปัง (ภูเขาพังทลาย) อําเภอเทิน จังหวัดลําปาง ในช่วงปี 2428 โดยเดินมาทางตามลําแม่นํ้ามอก เม่ือเห็นแหล่งท่ีอุดมสมบูรณ์ พอท่ีจะทํามาหากิน ได้ก็จับจองท่ีทํามาหากิน ซึ่งแต่เดิมบริเวณน้ีเป็นเขตที่ข้ึนอยู่กับอําเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย ในท่ีสุดก็ตั้งหลักแหล่งเป็นปึกแผ่นชนเหล่านี้ก็ยังคงยึดถือประเพณีนิยมของชาวเหนือชาว อําเภอเถินแต่เดิมอยู่ ฉะน้ันถ้าจะกล่าวถึงขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวอําเภอทุ่งเสลี่ยม ตลอดจนวิถี ชีวิตและความเปน็ อย่จู ะมลี กั ษณะคล้ายคลงึ กบั ชาวอาํ เภอเถนิ จังหวดั ลาํ ปาง ประวตั คิ วามเปน็ มาของประเพณีสลากภัตหรือตานกว๋ ยสลาก เรื่องราวของประเพณีกินข้าวสลาก หรือตานก๋วยสลากจากคําบอกกล่าวของประชาชนในท้องถ่ิน เลา่ วา่ เรม่ิ จากเด็กเลีย้ งควายท่ีได้เห็นพระธุดงค์เดินผ่านมาในเวลาใกล้เท่ียง เมื่อเข้ามาพักศาลาริมทางเด็ก เลี้ยงควายเหล่าน้ันมีศรัทธาจะถวายอาหารกลางวันแด่พระพุทธองค์ด้วยข้าวห่อที่ตนได้เตรียมมาเพ่ือ รับประทานในมื้อกลางวัน แต่ตกลงกันไม่ได้ว่าใครจะถวายพระรูปใดเพราะทุกคนต่างก็ต้องการถวาย พระภิกษุที่มอี ายุมากๆ พระธดุ งคเ์ ขา้ ใจจงึ บอกเด็กเลี้ยงควายเหลา่ น้ันให้ไปหาใบไม้มาเขียนช่ือพระธุดงค์ให้ ครบทุกรูป แลว้ ใหพ้ วกเดก็ ๆ จับสลาก ใครจบั ช่ือพระธุดงค์รูปใดก็ให้นําห่อข้าวนั้นไปถวายรูปเหล่านั้น การ กินข้าวสลากหรอื สลากภัตจึงเกดิ ขนึ้ ตง้ั แต่บดั น้นั ระยะเวลาในการจัดประเพณี ตานกว๋ ยสลากในอาํ เภอทุ่งเสล่ียม จะเริ่มจัดในวันขึ้น 15 คํ่า เดือน 10 (ตรงกับเดือน 12 ของทาง เหนือ ) ไปจนถึงวนั ขึน้ 8 คํา่ เดือน 11 กอ่ นออกพรรษา ปกติจะจัดในวันพระ แต่บ้างท้องที่ก็เลือกเอาวันที่ ดีท่สี ุด ไม่จําเป็นต้องเป็นวันพระเสมอไป แต่ขอให้อยู่ในเดือน 10 มีบางแห่งจัดตานก๋วยในวันหยุดราชการ เพอ่ื ให้บรรดาราชการได้ร่วมทําบุญดว้ ย ประเภทของตานกว๋ ยสลาก สลากภัตหรอื ตานก๋วยสลาก มี 3 ประเภท คือ 1. สลากภตั ธรรมดา ท่ีเรียกวา่ กว๋ ยหมากปุ๊ หรอื ก๋วยหน้อย หรือกว๋ ยตวิ๋ 2. สลากภตั ขนานกลาง ที่เรียกว่า กว๋ ยวตั ถุ หรอื ก๋วยอุ้ม 3. สลากภตั หลวง หรอื ก๋วยสลากหลวง สลากภัตธรรมดาจะเปน็ กว๋ ยน้อยหรอื กว๋ ยห้ิว จะมีลกั ษณะน้อยหวิ้ ไปถวายพระได้สะดวกใช่ถุงหรือ ชะลอมหรอื ถุงพลาสติกกไ็ ด้

หนงั สอื เรียนวชิ าเลอื ก สาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสุโขทัยศึกษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวถิ ชี วี ติ 19 สลากภัตขนาดกลาง หรือก๋วยอุ้มเป็นก๋วยขนาดใหญ่ บางแห่งใช้แบบเก่าคือไม้ไผ่สานเป็นขนาด ใหญ่ ขา้ งบนแต่งดว้ ยหญา้ คามัดรวมเข้าด้วยกัน โดยแบ่งด้านล่างเป็น 3 ขา มัดติดกับเข่งเพื่อใช้เป็นที่เสียบ ส่ิงของที่จะทําทาน ปัจจุบันนิยมใช้ถังนํ้าพลาสติก หรือชามอ่างขนาดใหญ่ข้างในตรงกลางกล้วยหรือหน่อ กลว้ ยตง้ั เป็นเสากลาง เอาสิง่ ของทจี่ ะถวายทานมาเสียบไว้ สลากภัตขนาดใหญ่ หรือก๋วยหลวง มักทําเป็นพิเศษในกรณีท่ีต้องการแสดงความรักกตัญญูต่อผู้มี พระคุณและคนอันเป็นท่ีเคารพรักอย่างย่ิงของลูกหลานและพี่น้อง ก๋วยหลวงมีขนาดใหญ่มีลักษณะเป็น ตะกรา้ บา้ นจาํ ลองท้ังหลังมีเครื่องครัว เคร่ืองใช้ไม้สอยที่ใหญ่ๆบางทีมีการถวายรถยนต์ก็มี แต่ส่วนมากจะ ถวายแลว้ ขอคืนในภายหลัง วธิ กี าร วัดต่างๆจะจัดตานก๋วยสลากเม่ือใดก็แล้วจะกําหนดข้ึน โดยจะจัดก่อน หรือหลังวันแรม 8 ค่ํา 15 คํ่า เมือ่ กาํ หนดวนั เรียบรอ้ ย กจ็ ะเรม่ิ ต้งั แต่วันดา ซงึ่ เป็นวันเตรียมการ ชาวบ้านแต่ละบ้านจะเตรียมอาหาร ได้แก่ ขนมเทียน ห่อหมก ข้าวต้ม ตลอดจนเคร่ืองจตุปัจจัยอื่นๆ มาทําก๋วยสลาก ใช้กระจาด หรือชะลอม รองด้วยใบตองเอาขนมนมเนยมาใส่ ผู้ที่มีฐานะจะมีจตุปัจจัยมากแสดงถึงฐานะของตนด้วย ก๋วยที่มีราคา แพง หรอื มขี นาดใหญ่ เรียกว่า “กว๋ ยอมุ้ ”คือตอ้ งใชค้ นหามหรอื คนอุ้ม ในวันรุ่งข้ึนคือเป็นวันตานก๋วยสลาก ก็จะเขียนสลากหรือสลากว่าเป็นช่ือของใครทําบุญอุทิศส่วน กศุ ลให้ใคร บางบา้ นอาจทํามากกวา่ หนึ่งกว๋ ย เปน็ 5 หรอื เป็น10 ก็ได้ นาํ ใบก๋วยสลากไปรวมกัน ทายกวัด จะคํานวณพระเณรว่ามีจํานวนเท่าใดมีก๋วยทั้งหมดเท่าใดแบ่งจํานวนให้ได้เท่าๆกัน แต่ให้พระ 2 ส่วน เณร 1 ส่วน พระเณรทุกองค์จะได้รับก๋วยเท่าๆกันโดยที่ชาวบ้านจะไม่รู้ว่าก๋วยของตนไปตกอยู่กับพระองค์ใด ชาวบ้านต่างก็หาว่าก๋วยของตนอยู่ที่ใด บางครั้งทายกวัดจะขานชื่อเรียกให้ผู้น้ันไปถวายเป็นการช่วย หาก๋วยได้เพื่อจะถวายไดเร็วขึ้นซึ่งกว่าทุกคนจะถวายเสร็จสิ้นก็ต้องใช้เวลานานพอสมควร แต่ชาวบ้านจะ เกิดความสนกุ สนานโดยไม่รู้ว่าของตนท่เี ตรยี มมาทาํ บญุ นนั้ นัน้ ไดท้ าํ กบั พระรูปใด ก่อนถึงวันตานก๋วยสลาก ชาวบ้านหนุ่มสาวจะมีการรําวงเพ่ือหาเงินเข้าวัดหรือนําไปทําตานก๋วย ขนาดใหญ่ มีการเตรียมต้ังเวที คัดเลอื กนางรํา ซึ่งเป็นสาวงามจากพื้นบ้านมีอายุราวประมาณ 10 16 ปี มา แต่งตวั เปน็ นางราํ หนุ่มก็จะซอ้ื บัตรมาโคง้ นางรําเล่นรําวงกนั อย่างสนุกสนาน เงินที่ได้จะนําไปบํารุงวัด แต่ ในปัจจบุ นั นน้ี างราํ มจี าํ นวนนอ้ ยลงไปท้ังน้ีเพราะเด็กสาวสว่ นใหญ่ ต้องเข้าเรียนหนังสือจึงทําให้ความคึกคัก สนุกสนานน้อยลงกว่าเดมิ สลากภัตของไทยนิยมทําในช่วงมะม่วง ขนุนสุก เพราะเป็นต้นไม้ท่ีบุพการีปลูกแล้วมีผล จึงนํา ผลไม้อุทศิ กุศลถึงบพุ การี

หนังสือเรยี นวชิ าเลอื ก สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสโุ ขทัยศกึ ษาเชิงประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวิถีชวี ติ 20 เรือ่ งท่ี 7 ประเพณีแห่นา้ํ ขึ้นโฮง อนสุ าวรยี เ์ จ้าพอ่ เมืองด้ง ประเพณีแห่น้ําข้ึนโฮง สรงน้ําเจ้าหมื่นด้ง จัดข้ึน วันที่ 18-19 เมษายน ของทุกปี เพื่อเป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติ “เจ้า หม่ืนด้งนคร” ผสู้ ร้างเมืองดง้ ซึ่งมีความเก่งกล้าทางด้านการสู้รบ เชี่ยวชาญในการจับช้าง และใช้ช้างศึก ภายหลังต้องยอมรับโทษ ประหาร เพ่ือแสดงความซ่ือสัตย์ และจงรักภักดีต่อพระเจ้าติโลก ราช เม่ือประมาณปี พ.ศ. 2017 ต่อมาชาวบ้านได้จัดพิธีบวงสรวง เจ้าหม่ืนด้งด้วยการจัดขบวนช้างท่ีตกแต่งอย่างสวยงาม ผ่าน หมู่บ้านไปไหว้ศาลเจ้าพ่อขาวมุ้ง และไปลานอนุสาวรีย์เจ้าหมื่นด้ง เพือ่ ทาํ พิธบี วงสรวง สกั การะอนสุ าวรยี ์เจา้ พ่อเมอื ง ตําบลบ้านตึก อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย จัดขึ้น เป็นครั้งทกี่ วา่ 500 ครัง้ แล้ว ประวัติความเป็นมา เมือ่ ปีพ.ศ. 1931 พระเจา้ แสนเมืองมา พระเจ้าแผน่ ดนิ เชยี งใหม่ เสดจ็ ประพาสป่าลา่ สตั ว์ ได้หลงทางไปยัง ป่าบา้ นแมว่ างไปไดล้ ูกสาว นายตําบลแม่วางเปน็ ชายาลับๆ ช่ือว่า “ ศรีวรรณ ” ต่อมาได้ ให้กําเนิดลกู ชาย คนหนึง่ ช่ือว่า “ ด้ง” เ พราะชอบนอนในกระดง้ เมอ่ื อายไุ ด้ 14 ปี พญาแสนหลวงผ้เู ปน็ ลุงหา่ ง ๆ ไดน้ าํ หนดู ง้ ไปกราบถวายตัว กับพระมารดาของเจ้าแสนเมอื งมา พออายุได้ 16 ปีได้เรยี นจบส้นิ ทางอักษร ศาสตร์ นติ ิศาสตร์ธรรมนูญศาสตร์ ดว้ ยทรงมีพระปรชี าสามารถมาตง้ั แต่ทรงพระเยาว์ อีกทัง้ ได้ ศึกษาเพลงอาวุธ ทง้ั อาวุธสนั้ และอาวธุ ยาวเม่ือทรงเจริญพรรษาได้สยมุ พร (แต่งงาน) กับนางศรีเมือง ลูกสาวพญาสามลา้ น ปีพ.ศ. 1952 เจ้าเมือง เขลางค์นครลําปางพลิ าลัยลง พระบิดาโปรดใหไ้ ปครอง เมือง เขลางค์นครเม่ืออายุได้ 20 ปี ไดอ้ อกรบครั้งแรกกับทัพอยธุ ยาที่กรุงสุโขทยั ได้รบั ชยั ชนะอยา่ งงดงามอีกทงั้ ไดช้ ว่ ย ชวี ิตพระราชบดิ า ใหร้ อดพ้นจาก เงื้อมมือข้าศึก ปีพ.ศ. 1954 พระเจ้าแสนเมืองมาพระราชบิดา สวรรคต พระเจา้ สามฝ่งั แกนขนึ้ ครองราชบลั ลงั ก์เชียงใหม่ ได้เกดิ การแยง่ ชงิ ราชบัลลงั ก์กนั ระหวา่ งราช โอรสต่างพระมารดากันทัง้ 10 องค์ ทา้ วลกราชโอรสองค์ท่ีหกได้จับพระราชบิดาเจ้าสามฝ่ังแกนโดย เนรเทศไปไวท้ เี่ มืองสาดเขตไทยใหญ่ แล้วสถาปนาตนเองขึน้ เป็นพระเจา้ แผน่ ดินพระนามว่า“ พระเจ้าตโิ ลก ราช” ในรัชสมยั น้ีกรงุ ศรอี ยธุ ยากับแผ่นดนิ เชยี งใหม่เกดิ แย่งชิงเมืองเชลยี งกัน (ปัจจุบันคอื ศรีสัชนาลยั ) รบกันครอบครองอย่หู ลายครั้งเจ้าหม่นื ด้งนครไดร้ ับโปรดเกล้าแตง่ ตัง้ ให้เป็นแมท่ ัพ ฝา่ ยเหนือรบ กบั ทัพกรงุ ศรีอยุธยาทุกคร้ัง เจา้ หม่นื ด้งนครได้รับการโปรดเกลา้ ให้ครองเมืองเชลยี งถึงสองครั้ง ระหวา่ งเดนิ ทัพไป มาหลายคร้ังนี้ เจา้ หมืน่ ดง้ นครได้สร้างท่ีพักทพั อนั แขง็ แกรง่ ขน้ึ แหง่ หนึง่ เพ่อื เป็นเมอื งหนา้ ด่านไวย้ ันทัพ ฝา่ ยใต้ทแ่ี หง่ นค้ี ือเมอื งด้งนคร (ปจั จุบันอยทู่ คี่ ือเวยี งหวั บา้ นแม่กระต๋อม ตําบลสรอย ซ่งึ ปรากฏร่องรอย เมอื งโบราณอยู่) ปีพ.ศ. 2011 พระเจา้ ตโิ ลกราชมีรบั สง่ั ใหเ้ จา้ หมน่ื ด้งนครไปช่วยราชการทเี่ มือง เชียงใหมโ่ ดยมีหมายใหน้ าํ พระแก้วมรกตไปเชยี งใหม่ดว้ ย พระแก้วมรกตน้ีตกมาอยใู่ นเขลางค์นครก่อน

หนังสือเรยี นวชิ าเลือก สาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสโุ ขทัยศึกษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวิถีชวี ิต 21 เมอ่ื ปีพ.ศ.1979 รวมเวลาทปี่ ระดิษฐานอยูใ่ นเขลางคน์ ครลําปาง 32 ปใี นปีพ.ศ.2014 พระเจา้ กรุงศรอี ยุธยา และปีพ.ศ. 2017ช่วงที่เจ้าหมื่นดง้ นครครองเมืองเชียงชน่ื พระเจ้าติโลกราชทรงทราบขา่ ววา่ เจ้าหมื่นดง้ นครคบหากับออกญากลาโหมขุนนางผใู้ หญฝ่ ่ายทหารกรงุ ศรอี ยธุ ยา มกี ารไปมาหาสู่กันเสมอเกิดระแวง พระทัยว่าพระปิตลุ าเจา้ หมืน่ ดง้ นครจะคดิ กบฏ จงึ มสี าส์นให้มาเข้า เฝา้ ทเี่ มอื งเชียงใหม่เจ้าหมืน่ ดง้ นครได้ ปรกึ ษากับพระชายาและพระราชโอรสเจา้ หาญ แต่ต้องและคณะกรมการเมอื งทั้งหมดต่างกล็ งความเห็น เป็นเอกฉนั ท์ รอ้ งขอไม่ใหเ้ จา้ หม่นื ดง้ นครไปเข้าเฝ้าหากพระเจ้าตโิ ลกราชยกทัพมาพวกตนจะอาสาตีทพั เชยี งใหม่ใหแ้ ตกพ่ายหรืออย่า น้อยที่สุดก็ป้องกนั เมืองเอาไว้ไดแ้ ต่เจา้ หม่ืนด้งนครทรงยดึ มั่นในความซ่ือสตั ย์ สุจรติ ไมท่ ําการเยี่ยงกบฏโดยทรงมดี าํ รัส กบั พระชายาและ โอรสต่อหน้ากรมการเมืองว่า เมื่อขึน้ ไปเข้าเฝา้ ที่เชียงใหม่จึงถกู จับประหารโดยไมม่ ีการสอบสวนความผิดนา่ เสียดายนักรบฝมี อื นามอุโฆษทรี่ บชนะมาทุกสารทิศเป็นท่ีครน่ั ครา้ มในพระปรีชา สามาร ของอริราชศตั รู ตอ้ งมายอมแพ้ต่อ ประกาศิตเจ้าเหนือหัวเพื่อธํารงรกั ษาไว้ซึง่ ความสัตย์ยิ่งกวา่ ชีวิต ประเพณีสรงน้าํ เจ้าเมืองด้งของตําบลบ้านตกึ สบื ทอดต่อกันมายาวนานมาก จากเอกสารข้อมูล ตาํ บลบ้านตึก มีมาต้ังแต่ พ.ศ. 2017 จนถึงปจั จุบัน เพื่อแสดงความรักและความเคารพบูชาของชาวตําบล บ้านตึกทม่ี ีต่อเจา้ หมืน่ ด้ง โอรสของเจ้าหมน่ื โลกสามลา้ น เจา้ เมอื งนครลาํ ปาง ซ่ึงได้มาต้ังกองกําลงั คุมเมือง เชลยี ง (ศรสี ชั นาลยั ) ทต่ี าํ บลบา้ นตกึ อาํ เภอศรีสชั นาลยั จึงจัดพิธบี วงสรวง ซ่งึ กจิ กรรมในการบวงสรวงจะ เนน้ กิจกรรมท่ีเจ้าหม่ืนดง้ ชืน่ ชอบ ซงึ่ เจา้ หม่นื ด้งเป็นผูก้ ลา้ หาญ ฉะน้ันกิจกรรมหรือการละเลน่ ในงานทจ่ี ะ ขาดไม่ได้คือ มวยและขบวนแห่ช้าง นามเจา้ หมน่ื ดง้ นครประวัติ-จากคมั ภีร์ใบลานของวดั ขว่ งสิงห์ ได้ จารกึ ไวว้ า่ เจา้ หมน่ื ดง้ นคร (นามเดมิ ด้ง) เกดิ เดือนหกเหนอื จลุ ศักราช 752 (ประมาณ พ.ศ. 1933) อยู่ ในความอปุ การะของพญาแสนหลวงซง่ึ เป็นอาํ มาตยข์ องพระเจา้ แสนเมืองมา กษตั ริย์ราชวงคม์ งั ราย พ.ศ. 1952 ไดร้ บั พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าหมน่ื ดง้ นคร เจา้ ผคู้ รองนครเมืองเขลางคน์ คร ผลงาน เจ้าหมื่น ด้งนคร เปน็ แม่ทพั สาํ คัญในสมยั ของพระเจ้าแสนเมืองมา กษตั ริย์แห่งลา้ นนา ในการศึกสงครามท่ีสุโขทัย ตี กองทพั ของสโุ ขทัยแตกพา่ ยไป ในสมยั พระเจ้าติโลกราช กษตั รยิ ์แหง่ ล้านนาเชียงใหม่ องคท์ ี่ 10 ในราชวงค์ มังราย(กษตั ริยพ์ ระองคน์ ี้ มคี วามยงิ่ ใหญ่มากกวา่ กษัตรยิ ์องคไ์ หนๆในล้านนา ทรงยกย่อง พระบรมไตร โลกนาถเป็นค่ปู รบั ตลอดกาลของพระองค์ เรือ่ งราวของกษัตรยิ ์ทัง้ สองพระองค์ท่ีพระนามเหมือนกัน และมี ความหมายว่า \"ราชาแหง่ สามโลก\" เหมอื นกัน น่ีละ่ จึงเป็นต้นกาํ เนิดโคลงลลิ ิตยวนพา่ ย) หมนื่ ด้งไดช้ ่วย ปราบกบฏเจ้าแสนขาน ตอ่ มาเปน็ แมท่ ัพอาสาไปสกัดทพั กรุงศรอี ยธุ ยาไมใ่ หย้ กกองทัพขึน้ มาตีเมือง เชยี งใหม่หลายครง้ั จนในปี พ.ศ. 2003 พระเจ้าตโิ ลกราชจึงทรงแตง่ ตั้งให้เจ้าหม่ืนด้งนครครองเมืองเชลยี ง หรอื เมอื งเชยี งชืน่ ตามลําดบั ซึง่ เจา้ หมน่ื ดง้ นครได้ทรงทํานุบํารุงพระศาสนา ก่อสรา้ งแปงเมืองใหช้ ื่อวา่ เมอื งด้ง รกั ษาเมอื งไว้อย่างดแี ละเป็นมิตรไมตรกี ับอยธุ ยาในระยะเวลาต่อมา ปัจจุบนั เมืองดง้ คือ ตําบล บา้ นตกึ อาํ เภอศรสี ัชนาลัย จงั หวดั สโุ ขทัย ทกุ วนั ที่ 19 เมษายนของทุกปี ชาวเมอื งด้งจะมปี ระเพณี สักการะเจ้าพ่อเมืองดง้ ท่ีศาลเจา้

หนังสือเรยี นวชิ าเลอื ก สาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสโุ ขทัยศึกษาเชิงประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวิถชี ีวิต 22 เรือ่ งที่ 8 ประเพณีสรงน้ําโอยทาน จากหลกั ศิลาจารึกหลักที่ 1 วา่ “..คนในเมืองสโุ ขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มกั โอยทาน.. (ใหท้ าน) พ่อขุนรามคาํ แหง เจ้าเมอื งสุโขทัยน้ี ทงั้ ชาวแมช่ าวท่วยปัว่ ท่วยนาง ลูกเจ้าลูกขุน ทั้งสนิ้ ทัง้ หลาย ท้งั ผู้ชายทั้งผู้หญิง ฝูงท่วยมศี รทั ธาในพระพทุ ธศาสนา..” จากจารึกแสดงใหเ้ หน็ วา่ ชาวสุโขทัยในสมัยเม่ือ 7๐๐ ปมี าแล้ว ประพฤตติ นอยู่ใน ศลี ธรรม โครงการอุทยานประวัติศาสตรส์ ุโขทยั และอุทยานประวตั ศิ าสตร์ศรสี ชั นาลัย จงึ ได้มีแผนที่จะ รกั ษาเอกลกั ษณ์ของการทําบุญสุนทานใหค้ งอยู่ในสโุ ขทยั ใหเ้ หมือนในอดีต จึงร่วมมอื กับจังหวัด พอ่ ค้า ประชาชน จดั งานสรงนํ้าโอยทานข้นึ ในวนั ท่ี 12-14 เมษายน ซ่งึ ตรงกับวันสงกรานต์ และได้ จดั เปน็ ประเพณที ุกปีในส่วนของอําเภอศรีสัชนาลัยมปี ระเพณีสรงนํ้าโอยทานซึ่งจัดขึ้นในวันท่ี 12 เมษายน ของทกุ ปงี านในภาคเช้าเร่ิมด้วยพิธบี วงสรวงบรเิ วณหลักเมืองในอทุ ยานประวัตศิ าสตร์ศรีสัชนาลัย ตอน บ่ายมขี บวนแหซ่ ง่ึ ตกแต่งอยา่ งสวยงาม ประกอบด้วยขบวนแหพ่ ระพุทธรปู รถพระร่วง พระลือ และ ขบวนรถของแต่ละตาํ บลขบวนรถจะเคล่ือนจากอทุ ยานประวตั ิศาสตร์ศรสี ัชนาลยั มายงั วัดพระศรีรัตนมหา ธาตุ เมอ่ื ขบวนรถเคล่อื นมาตามถนนประชาชนที่อยรู่ ิมถนนจะนาํ นํ้ามาสรงพระพุทธรปู และพระร่วง พระลือ เมอ่ื ขบวนมาถงึ วดั พระศรรี ัตนมหาธาตุ ก็จะนาํ พระพทุ ธรปู พระรว่ ง พระลือ ไปประดษิ ฐานไว้ บนแทน่ เพื่อให้ประชาชนสรงนาํ้ พรอ้ มกับพระสงฆ์และผสู้ งู อายุตามลําดับ กจิ กรรมในงาน ขบวนแหร่ ดนํ้าดําหัวพ่อเมือง การแสดงพื้นบา้ น การละเลน่ พ้ืนบา้ น การจาํ หน่ายสนิ คา้ พ้ืนเมอื ง การจําหนา่ ยผลไม้พนื้ เมือง และนั่งช้างชมโบราณสถาน

หนังสอื เรยี นวชิ าเลอื ก สาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสุโขทยั ศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวิถชี ีวติ 23 เร่อื งท่ี 9 ประเพณีพวงมะโหตร ประเพณสี ร้างพวงมะโหตร เป็นประเพณีที่สําคัญของตําบลนํ้าขุมและนครเดฐิ จดั กันในวัด ช่วงเวลาวนั ออกพรรษาทก่ี ารเทศน์มหาชาติ มะโหตร หมายถึง ดอกไม้ พวงมะโหตร หมายถึง พวงดอกไม้สดและแห้งท่ีชาวบ้านจัดสร้าง ขึ้น เพ่ือใช้ตกแต่งศาลาการเปรียญ ระหว่างการเทศน์พระมาลัยและเทศน์มหาชาติ ในเทศกาลออก พรรษา พวงมะโหตรมีลักษณะเป็นดอกไม้ที่ปักกันเป็นช้ันๆ แต่ละชั้นจะห่างกันประมาณ 5๐ –7๐ เซนติเมตรจํานวน 7 – 9 ช้ัน มีอุบะดอกไม้แห้ง หรืออุบะนก ปลา ฯลฯ หรือกระดาษสายรุ่งสี ต่างๆ ห้อยไว้ท่ีปลายก้านของดอกไม้แต่ละดอก เพ่ือให้ช้ันของดอกไม้ต่อเน่ืองกันลงมาเป็นพวง ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 150–200เซนติเมตร ที่โคนของก้านดอกไม้แต่ละดอกจะผูกของกินของ ใช้ เช่น ขนมแหง้ ปากกา สมุด ดนิ สอไว้ดว้ ย พวงมะโหตรของอําเภอศรีนคร ได้จัดสร้างกันมาอย่างต่อเน่ืองนานกว่า 5๐ ปี โดยได้รับเอา แบบอย่างมาจากบ้านไผ่ล้อม อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ การสร้างพวงมะโหตรจะเริ่มสร้างในวัน ขึ้น 14 ค่ํา ภาคเช้า ก่อนออกพรรษา 2 วัน ใช้เวลาสร้างประมาณ 2-3ช่ัวโมง โดยใช้เชือกไนลอน แขวนท่ีขื่อของศาลาจนครบท้ัง 9 ชั้น และจะถวายพวงมะโหตรในวันออกพรรษา เช้าวันขึ้น 15 คํ่า ทําบญุ ตกั บาตร ถวายพวงมะโหตร และมีเทศน์มหาชาติ การสร้างพวงมะโหตรนี้ ชาวบ้านเช่ือกันว่าได้บุญ กศุ ลมากมายมหาศาล เพราะนอกจากจะได้รว่ มฉลองเทศนม์ หาชาติถึง 13 กัณฑ์ และช่วยกันหาข้าวของ เคร่ืองใช้ที่จําเป็นถวายให้แก่วัดแล้ว ยังช่วยสร้างความสามัคคีให้แก่คนในหมู่บ้านเดียวกัน และหมู่บ้าน ใกล้เคียงเป็นสื่อกลางให้หนุ่มสาวได้ทําความรู้จักคุ้นเคยและสนิทสนมกัน ช่วยสืบทอดวัฒนธรรมการขับ ร้องเพลงพ้ืนบ้านและการเล่นเพลงรําวง ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดจากการประกอบอาชีพของคนใน ท้องถ่นิ ได้อีกทางหน่งึ พวงมโหตร มีชื่อเรยี กเปน็ อย่างอ่ืน ตามแตล่ ะถิน่ เชน่ แพร่ น่าน เชียงใหม่ เรยี ก ตงุ ไส้หมู นครสวรรค์ ระยอง เรยี ก พวงเต่ารง้ั เลย อดุ ร เรียก พวงมาลยั เพชรบรุ ี เรียก พวงมโหตร

หนงั สอื เรียนวชิ าเลอื ก สาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสุโขทยั ศึกษาเชงิ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวิถชี ีวติ 24 เรือ่ งที่ 10 ประเพณีการแต่งงาน เคร่อื งขนั หมากหมน้ั ขนั้ ตอนพธิ ีแตง่ งานแบบไทยแต่งงานแบบไทย หลายคนเคยได้ยินแตข่ บวนขันหมากแตง่ แต่ไมร่ วู้ ่ามขี นั หมาก สาํ หรับพิธหี มนั้ ด้วยซ่ึงพธิ ี ก็เหมือน เปน็ การประกาศว่า ผใู้ หญข่ องทง้ั สองฝ่ายเหน็ ชอบขบวนขันหมากหมั้น จะมขี ันใส่หมาก และขันใส่ของ หม้ัน ขนั ใสห่ มาก จะมหี มากดิบ 8 ผล พลู 4 เรียง (เรียงละ 8 ใบ) หรอื อาจใชม้ ากกว่านีก้ ็ได้ ขน้ึ อยู่กบั ธรรมเนียมของแตล่ ะทอ้ งถิน่ ขอแค่ให้เปน็ จํานวนเลขคู่ ขนั ใส่ของหม้นั ซึ่งในสมัยก่อน มกั จะเปน็ ทองรูปพรรณ เครื่องเพชรพลอย สรอ้ ยต่างหูกําไล หรอื แหวนทองมรดก จากบรรพบุรษุ ห่อไวด้ ้วยผา้ หรือกระดาษสแี ดง ให้เรียบรอ้ ย สวยงาม กอ่ นบรรจุ ลงในขัน สมัยนเี้ ปดิ ผ้าแดงออกมามีแต่ธนบัตรลว้ นๆ หลายปึกเรยี งซ้อนกัน กน็ ับวา่ เข้าทีเหมือนกัน ขนั ประกอบ มีการเพิ่มขนั ที่สามเข้าไปเพื่อเป็นขันประกอบโดยบรรจุใบเงินใบทอง ถุงเล็กถุงนอ้ ยที่ ใสข่ ้าวเปลอื ก ข้าวตอก ถว่ั เขียว และงา (เปน็ จํานวนคู่) ซง่ึ จดั ไวเ้ พื่อเอาความหมายเกยี่ วกับความ เจรญิ รงุ่ เรอื งและความงอกงามในวันขา้ งหนา้ สว่ นขนั ใส่หมาก ขนั ใสข่ องหมนั้ ขนั ใส่ข้าวเปลอื ก ถวั่ งา และ ใบเงินใบทอง ทง้ั หมดจัดแต่งอย่างประณตี อาจมีการเย็บใบตองจบั จีบประดบั ดว้ ยมาลยั ดอกรักและ บานไม่รโู้ รยแลว้ คลุมดว้ ยผา้ อย่างดใี ห้เรียบรอ้ ยสวยงาม การเจรจาหมนั้ หมาย เมื่อผใู้ หญท่ างฝา่ ยชายให้คนยกเครื่องขันหมากหมนั้ ลงจดั วาง เรียบร้อยแลว้ จึงเจรจากับผูใ้ หญ่ของฝา่ ยหญิง แจกแจงวา่ ของทนี่ าํ มาหมนั้ มี อะไรบา้ ง พอใหผ้ ูใ้ หญ่ฝ่ายหญิงเปดิ ดขู ้าวของว่าถูกตอ้ งครบถ้วนแล้ว คอ่ ยใหค้ น ของฝา่ ยตัวเองยกของทงั้ หมดเขา้ ไปเกบ็ ตามตัวเจา้ สาวออกมารับหม้ัน หลังจากนน้ั จงึ สง่ ภาชนะถาดขันทั้งหลายเหลา่ นนั้ ออกมาคืน ซ่งึ สว่ นใหญ่ ครอบครวั ฝ่ายหญงิ มักเตรยี ม ของขวัญเลก็ น้อยมีมูลค่า ต่างกันไปตามสถานะ ผูร้ ับไวใ้ หข้ บวนของฝา่ ยชายครบทุกคนด้วย นอกจากนี้ในสมัยกอ่ นบ้าน ฝา่ ยหญิงอาจ ตอ้ งเตรียมพานใส่หมากพลูไว้ตอ้ นรบั ผใู้ หญ่ฝ่ายชายด้วย แต่ เด๋ียวนไ้ี มค่ ่อยมีใครกินหมาก กจ็ ะละไวไ้ ม่ต้องจัดเตรียมเร่ืองของพิธีหม้ัน มบี าง กรณีทีท่ ้ังสองฝา่ ยเห็นพ้องต้องกนั วา่ จดั รวบเสยี วนั เดียวกับงานแตง่ ก็ได้ โดยยกขบวนท้ังของหม้นั ของแต่ง ในคราวเดยี วเพ่ือ ความสะดวก สาํ หรับกรณีท่ีไม่เครง่ ครัดจะไม่มีหมากพลขู องหมนั้ ขันถาดอะไรเลย แคล่ ว้ ง หยบิ กล่องใส่แหวนออกมาจากกระเป๋า เสอ้ื เท่านนั้ กย็ ่อมได้ ถ้าทาํ ความเข้าใจกนั ไว้แล้วอยา่ งดแี ล้วค่อยไป ให้ความสาํ คัญกบั รายละเอียดของงานแตง่ เพียงอย่างเดยี วก็พอ

หนังสอื เรยี นวชิ าเลอื ก สาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาสุโขทยั ศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมและวิถีชีวิต 25 เครอื่ งขันหมากแต่ง ขนั หมากงานแต่งกค็ ล้ายกนั กับขันหมากหมั้น เพยี งแต่มีเครื่องประกอบเยอะกว่า มีการจดั หมวดหม่ตู า่ งออกไป คือต้องจัดแยกเป็นขนั หมากเอก และขันหมากโท ซง่ึ ฝา่ ยเจ้าบ่าวจะทาํ หน้าท่ียกไป เพ่อื มอบให้กบั ครอบครัวของฝ่ายเจา้ สาว ขันหมากเอก ประกอบด้วยขนั หมากบรรจหุ มากพลู หรืออาจ จดั แยกเปน็ หมากหนึ่งขันและพลูอกี หนึ่งขันก็ได้ จากนน้ั ตอ้ งมขี ันเงินสนิ สอดตามจํานวนทีไ่ ดต้ กลงกนั ไว้ โดยบางตาํ ราระบวุ ่า ควรจะต้องมีถงุ เล็ก ถุงน้อยใส่ถ่วั งา ขา้ วเปลอื ก ข้าวตอกใส่มาในขันนด้ี ว้ ย แตธ่ รรม เนียมบางแหง่ จัดแยกกนั คอื จัดเงินสินสอดใส่หอ่ ผ้าลงในขนั หนึ่ง แล้วจัดถุงข้าวและถวั่ งาลงขนั อีกใบหน่งึ แตไ่ ม่วา่ จะอย่างไรส่ิงสําคัญคือ ต้องตกแต่งให้เรียบร้อยสวยงาม เช่นประดับ มาลัยดอกรกั บาน ไม่รู้โรย ใบตองประดษิ ฐ์ และมผี ้าคลุมไว้ทกุ ขนั เพื่อความเหมาะสม และตอ้ งจดั ใหข้ ันบรรจหุ มากพลมู ขี นาดใหญ่ กวา่ ขนั อ่ืนๆ ดว้ ย นอกจากนี้ ขันหมากเอกประกอบดว้ ยพานผา้ ไหวแ้ ละเตียบเครือ่ งคาวหวาน จดั ไวเ้ ป็น จาํ นวนเลขค่ตู ามเคย พานไหว้ ได้แก่ พานใส่ผา้ สาํ หรับไหว้ผู้ใหญ่ฝ่ายหญิง โดยมากจัด 3 สํารับ สาํ รบั แรก เปน็ ผ้าขาวสาํ หรบั นงุ่ 1 ผืนและหม่ 1 ผนื เทียนและธปู หอม ดอกไม้อีกกระทง อันนสี้ าํ หรับเซน่ ไหว้ผีปู่ยา่ ตายาย ส่วนอกี 2 สํารบั ใช้ไหวพ้ ่อและแม่เจ้าสาว ไมต่ ้องมธี ูปเทยี นและดอกไม้ กรณีท่ีปยู่ ่าตายายยงั มชี ีวิต อยู่ ก็ไม่ต้องจัดพานผ้าไหวเ้ ซ่นบรรพบรุ ุษ หรอื ผา้ ไหว้สาํ หรับพอ่ ตาแม่ยายแทนท่ีจะใชผ้ ้าเป็นผนื อาจ เปลย่ี นเป็นเสอ้ื ผ้าท่ีทา่ นจะนาํ ไปใชง้ านได้จริง เตียบ คือภาชนะชนดิ หนึ่งสาํ หรบั ใส่เครื่องของกิน เปน็ ตะลุ่มที่มปี ากผายออกและมีฝาครอบ เตียบเครื่องคาวหวานในเครอ่ื งขนั หมากเอก มไี วเ้ พ่ือเซน่ ไหวผ้ ี ป่ยู า่ ตายายหรอื ผบี า้ นผเี รือนของบ้านเจา้ สาว โดยให้จดั ไว้ 4 เตยี บ เตยี บแรกจะใส่เหล้า 1 ขวด เตียบสอง ไกย่ า่ ง 1 ตวั เตียบสามใสข่ นมจีนนํ้ายาและหอ่ หมกปลาเตียบสี่เปน็ มะพรา้ วอ่อน ส้ม กลว้ ย รวมกับขนม หวานชนิดอ่ืนๆ ซึ่งทงั้ หมดนส้ี ามารถปรบั เปลีย่ นได้ ดว้ ยแต่ละทอ้ งถนิ่ มีธรรมเนยี มนยิ มเร่ืองอาหารต่างกัน ออกไปอยูแ่ ลว้ ขอเพยี งใหม้ เี หล้า 1 เตียบ และผลไม้ของหวาน 1 เตยี บ กเ็ ปน็ อันใชไ้ ด้ ส่วนตัวเตียบนัน้ อาจ ดัดแปลงเปล่ียนเป็นพานหรือถาดก็ใช้ไดเ้ ช่นกัน แต่ขอใหเ้ ตรยี มผ้าสวยๆ ไวค้ ลมุ ปิดใหเ้ รยี บร้อยเปน็ พอ (ใน บางงานตดั การจดั เตยี บออกไปเลยเพราะปูย่ ่าตายายกย็ ังอยู่กนั ครบแถมไมไ่ ดจ้ ัดงานทีบ่ ้านจงึ ไม่ ต้องเซ่น ไหว้ผบี ้านผเี รอื น) ขนั หมากโท เป็นเคร่ืองของประเภทขนมและผลไม้ บรรจุมาในขันหรอื ภาชนะอื่น เชน่ ถาดหรอื พาน ชนดิ ของขนมและผลไมไ้ ม่จํากดั สว่ นมากมักใช้ชนิดท่ีนยิ มในงานมงคลมีกลว้ ย ส้ม มะพร้าว อ่อน ขนมชน้ั ฝอยทอง ข้าเหนียวแก้ว กะลาแม จดั เป็นคู่ทั้งจํานวนช้นิ ขนม จํานวนภาชนะทบ่ี รรจุ แลว้ ปกั ธงกระดาษสแี ดงตกแตง่ ไว้ตรงกลางทุกขันหรือทกุ ถาด

หนงั สือเรียนวชิ าเลือก สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสโุ ขทยั ศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมและวิถีชวี ิต 26 องคป์ ระกอบของขบวนขันหมาก ลาํ ดบั ข้ันก่อนหลงั การจดั ขบวนนั้น ต้องเริม่ ต้นด้วยเถา้ แก่ของฝา่ ยเจา้ บ่าว ตามมาด้วยคนยก ขันหมากเอก ซึ่งตอ้ งเรยี งตามลําดับคือ คนยกขันหมากพลู ขันเงนิ สินสอด ขนั ผ้าไหว้ และเตยี บ หลงั จาก นั้นถึงตอ่ ทา้ ยด้วยคนยักขนั หมากโทอีกที ที่เหน็ กันบ่อยๆ จนแทบจะกลายเปน็ สญั ลักษณ์ของขบวน ขนั หมาก คือวงกลองยาวทีต่ ีฆ้องรอ้ งรํานําหน้าขบวนกนั มา สิ่งที่ช่วยสร้างสีสันอีกอยา่ ง ไดแ้ ก่ การตกแต่งหนา้ ขบวน ซึ่งนยิ มใช้ต้นอ้อย 1 คู่ ถือเปน็ การเอาเคลด็ เร่ืองความหวาน ในบางท้องถ่นิ ใชต้ ้น กล้วย 1 ค่แู ทน หมายถึงการมลี ูกหลานมากมาย และทใี่ ช้ท้งั กล้วยทงั้ อ้อยกเ็ ห็นกนั อย่บู ่อยๆ ส่วนวงกลอง ยาวและตน้ กลว้ ยต้นอ้อย หากสถานการณ์ ไม่อาํ นวย ไมต่ ้องมีกไ็ ด้ เพราะไม่ใชอ่ งค์ประกอบสาํ คัญ แต่โดย ส่วนมากก็มักจะอยากให้มปี ระกอบอยู่ในขบวนด้วยเพ่ือความสนุกสนานเฮฮาของทั้งเจ้าภาพและของแขก ทมี่ ารว่ มงาน สว่ นใหญแ่ ล้วผทู้ ําหนา้ ทยี่ กขา้ วของเคร่ือง ขันหมากเอกมักใช้ผูห้ ญงิ ส่วนขันหมากโท จะเป็นชายหรือหญงิ ทําหนา้ ท่ียกก็ได้ การกนั้ ประตู เปน็ อกี เรื่องทีแ่ รกเริ่มเดมิ ทีเป็นไปเพ่ือความสนกุ แตภ่ ายหลังแทบจะเป็นองค์ประกอบหลกั ของ งานแตง่ งานไปทีเดยี ว การก้ันประตู คือการขวางทางขบวนขันหมากฝ่ายเจ้าบ่าวไวเ้ มือ่ เคล่อื นเขา้ มาในเขต บา้ นเจา้ สาว โดยใช้คนสองคนถือสิ่งของทม่ี ีลักษณะยาวออกกางกั้นไว้ หากไม่มอบของกํานัลให้ กจ็ ะไมย่ อม ให้ผ่านเข้าไปได้ การกนั้ ประตูจะต้องทําโดยญาติพ่นี อ้ งหรือลูกหลานในครอบครัวเจ้าสาว สว่ นใหญ่มักทาํ กัน 3 ครงั้ ครัง้ แรกใช้ผา้ กางกั้นไว้ เรียกว่าประตูชัย ประตูท่ีสองใชผ้ นื แพร เรียกวา่ ประตูเงิน สุดทา้ ยก้ัน ด้วยสายสร้อยทอง เรยี กวา่ ประตูทอง ในแตล่ ะประตู เถ้าแก่ ของเจา้ บ่าวจะต้องเจรจาเพื่อมอบของขวญั (ส่วนมากนยิ มใชซ้ องใส่เงนิ ) ก่อนจะผ่านประตูไปได้ ซ่งึ มลู ค่าของขวญั มกั จะต้องสงู ขนึ้ ตามลาํ ดับดว้ ย การรับขันหมาก เมื่อขบวนขันหมากผ่านเขา้ มาจนถึงตวั บา้ นแลว้ ฝ่ายเจ้าสาวต้องส่งเด็กผหู้ ญิงถือพานบรรจหุ มาก พลอู อกมาตอ้ นรบั เถา้ แกฝ่ ่ายเจ้าบ่าว เพ่ือเป็นการรับขนั หมากและเชิญใหเ้ ขา้ ไปขา้ งใน เม่ือผใู้ หญ่ฝ่าย เจา้ สาวออกมาต้อนรบั พดู คุย และรับร้เู ครื่องของในขบวนแลว้ กร็ บั ขา้ วของเหลา่ น้ันไว้ และทาํ การเปิด เตียบ (ในกรณีทีม่ ีเตยี บในขบวน) เพอ่ื จดุ ธูปเซ่นไหวต้ ่อไป รายละเอียดขน้ั ตอนต่างๆ แต่ละท้องถ่ินก็ตา่ งกนั ไป ถ้าจะวา่ กนั โดยสรปุ แล้ว เมอ่ื ผใู้ หญฝ่ ่ายเจ้าสาวนับสนิ สอดครบถ้วนแล้ว ก็ตอ่ ด้วยการใหเ้ จ้าสาว กราบผ้ใู หญข่ องทั้งสองฝา่ ย แล้วจดั การเลย้ี งอาหารแขกท่ีมาร่วมงาน ซง่ึ การเตรยี มอาหารเปน็ หนา้ ที่ของ ฝา่ ยเจ้าสาว จากนัน้ แจกของขวญั หรอื ซองเงินให้คนยกขันหมากมาในขบวน (รวมทง้ั ให้ตวั เถ้าแกฝ่ า่ ยชาย ดว้ ย)

หนังสอื เรียนวชิ าเลือก สาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสุโขทยั ศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวถิ ชี ีวติ 27 การหลั่งนา้ํ สังข์ ข้นั ตอนการหล่งั นาํ้ สังขใ์ หม้ ีในวันยกขบวนขนั หมาก หรือจัดแยกวนั ไวใ้ นภายหลังก็ได้ ขึน้ อยู่กบั ความสะดวก หรือ ฤกษ์ยามโดยเม่อื ถงึ เวลาท่กี ําหนด เพื่อนเจา้ บา่ วและเพ่ือนเจา้ สาวจะพาคนทั้งสองมานงั่ บนแท่นสาํ หรับหลงั่ นํ้า แล้วเชญิ ประธานในพิธจี ุดธูปเทยี นจากนั้นสวมมงคลแฝดบนศีรษะเจา้ บา่ วเจ้าสาว แลว้ โยงสายสิญจน์ไปยงั หมอ้ น้าํ มนต์เจมิ หน้าผากด้วย แปง้ เจิม แลว้ เร่มิ หล่งั นํา้ สงั ข์ใหก้ ับค่บู ่าวสาว อาจมี บางแหง่ ที่ปฏบิ ตั ิต่างกันไปบา้ ง คอื ให้บา่ วสาวเป็นผ้จู ุดธูปเทียนบูชาพระแทน การรดน้ําสังขน์ ้ัน จะรด เจ้าบ่าวหรอื เจา้ สาวกอ่ นก็ได้ (แตน่ ยิ มใหเ้ จา้ บ่าวนัง่ ทางขวามือ)และจะรดบนศีรษะหรือบนมือท่ีมพี าน ดอกไม้รองรบั อยู่ แตเ่ พื่อความเรียบรอ้ ยจึงเปน็ ท่รี ูก้ นั วา่ การรดบนศีรษะนนั้ สงวนไว้ให้สาํ หรับผใู้ หญ่ ประธานในพิธผี ู้รดเป็นคนแรก และใหศ้ ีลให้พรไปด้วย จากน้ันกเ็ ป็นผ้ใู หญ่ของท้ังสองฝ่าย ซง่ึ จะให้พรไป พรอ้ มกบั หลง่ั นาํ้ ส่วนคิวตอ่ ๆ ไป มักเรียงลาํ ดบั ตามอาวุโส ทน่ี า่ สงั เกตก็คือ ผู้หลงั่ นาํ้ ทีอ่ ายรุ ุน่ เดียวกนั หรอื ยังไม่แต่งงานมักไมน่ ยิ มใหพ้ ูดจาใหศ้ ีลให้พรแกค่ ่บู า่ วสาว เมื่อเสร็จส้ินพธิ กี ารหล่งั นา้ํ สงั ข์แล้ว จะจดั ให้ มีงาน เลี้ยงฉลอง สนุกสนาน กันอย่างไร สาํ หรับเร่ืองงานเล้ียงงานแตง่ งาน สมัยน้ีการทีฝ่ ่ายเจา้ สาวจะลกุ ข้นึ มาทาํ อาหารสําหรบั งานแตง่ เหน็ จะมีน้อยเต็มที เพราะตอ้ งใช้กําลังคนจาํ นวนมาก และสถานท่ใี นบ้าน อาจไม่กวา้ งพอ ดังนน้ั การจ้างบริษทั จัดเล้ียงหรือร้านอาหารให้จัดการให้ จงึ เป็นวิธีที่เหมาะกว่า ซง่ึ รายการ อาหารในงานแต่ง ไมม่ ีกําหนดตายตวั อะไร แล้วแต่ความชอบในท้องถ่ินหรือในครอบครัว เพียงแคห่ ลกี เลย่ี ง อาหารรสจัดเกินควรและอาหารชอ่ื ไม่เป็นมงคล เชน่ ตม้ ยาํ ต่างๆ ปลารา้ ปลาแดก ตนี ไก่ หอยขม ทีน่ ยิ มกนั มาก ได้แก่ ขนมจนี เพราะเป็นเสน้ ยาว ใหค้ วามหมายถึงชีวิตคูท่ ่ยี ดื ยาวนาน สว่ นขนมหวานงานแต่งนนั้ นอกจากขนมช่ือมงคลต่างๆ แลว้ ยงั มีขนมโบราณคอื ขนมกง ขนมชะมด และขนมสามเกลอท่ีมักใชใ้ นงาน แตง่ งานอย่เู สมอ ท้งั สามชนิดทําจากแป้งหรือถัว่ บด ปัน้ และทอดในน้าํ มนั แตใ่ ชส้ ่วนผสมและวธิ ีทาํ ต่างๆ กันไป ซงึ่ รา้ นขนมไทยบางแห่งอาจยังพอทาํ เปน็ อยู่บา้ ง พิธสี ่งตวั เขา้ หอ เรอื่ งของการเข้าหอโดยหลกั ๆ ว่าดว้ ยพิธี 2 อย่าง น้นั คอื การปูทนี่ อน และการสง่ ตวั สมัยนม้ี ี หลายแห่งทีถ่ งึ แมจ้ ะจัดงานแต่งงานตาม ธรรมเนยี มไทย แตก่ ล็ ดขนั้ ตอนพิธเี ข้าหอเพื่อถือเคล็ดว่า บา่ วสาว จะได้มชี ีวติ คู่ทด่ี เี ชน่ เดยี วกับผู้ใหญท่ ่ีเป็นแบบอยา่ งคู่นี้ เพราะบางทีแต่งไมไ่ ด้ จัดกนั ทบ่ี า้ นของฝา่ ยใดฝ่าย หน่ึง แตจ่ ดั ในสถานท่ีจัดงานอ่ืนๆ ครน้ั จะวิ่งวุ่นหนีแขกเหรอื่ จากงานเลีย้ งฉลองเพ่ือกลบั มาทาํ พิธเี ขา้ หอที่ บ้านเจา้ สาว (หรอื บา้ นเจา้ บ่าว) กจ็ ะเป็นไปได้โดยลาํ บาก บางรายทีการปลูกเรือนหอเพื่อรอย้ายเข้าไปอยู่ หากยังตกแต่งไมเ่ สรจ็ ไมร่ ู้จะจัดพิธีเขา้ หออยา่ งไร หรอื กรณที ่ีสว่ นมากจดั งานเลย้ี งฉลองกนั ในโรงแรม โดย เจ้าบ่าวสาวพักค้างคืนเสียเลยในโรงแรมน้นั พธิ กี ารตา่ งๆ เกย่ี วกับการเข้าหอก็อาจยุ่งยาก เกินกว่าจะ เตรียมการได้อยา่ งครบถว้ น มีขอ้ สังเกตว่า ตามประเพณดี งั้ เดิมนนั้ เขาไมม่ ีการส่งตวั เข้าหอกันในวัน แต่งงานทว่าต้องรอฤกษ์ดี สาํ หรบั การน้ีโดยเฉพาะในวนั หลงั ซงึ่ บางทนี ้ันก็อาจจะนอนหลายวนั นับจากวนั แต่งงานไปอีกก็ได้

หนังสอื เรียนวิชาเลอื ก สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสุโขทัยศึกษาเชงิ ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวิถีชวี ติ 28 พธิ ปี ูทีน่ อน เปน็ การจัดปทู นี่ อนในหอ้ งหอคนื ส่งตัว เพ่ือความเป็นสิริมงคลแกช่ วี ิตของคู่บา่ วสาวตอ่ ไปใน อนาคตเดิมนนั้ พ่อแมฝ่ า่ ยเจ้าสาว จะเชญิ ผ้ใู หญ่คูส่ ามีภรรยาซึ่งชวี ิตครอบครวั มีความสุขสมบูรณ์ ซ่อื สัตย์ สุจรติ ไม่เคยทะเลาะหรอื ขัดแย้งกัน ต้องมลี กู แล้วและลูกเป็นคนดีดว้ ย เพอ่ื ถือเคล็ดว่าเจา้ บ่าวเจ้าสาวจะได้ มีชวี ิตคูท่ ่ีดีเชน่ เดียวกนั ผู้ใหญท่ ่ีทําพธิ ปี ูที่นอนน้ีต้องอาบนาํ้ ให้สะอาดแตง่ ตัวเรียบรอ้ ยสวยงามดกี ่อน แลว้ จงึ เขา้ มาในห้องหอเพ่ือจดั เรยี งหมอน 2 ใบ แล้วปดั ท่ีนอนพอเป็นพิธี ไมจ่ ําเป็นต้องปทู นี่ อนเองทัง้ หมด จรงิ ๆ กไ็ ด้ จากน้นั จดั วางขา้ วของ ประกอบพธิ ลี งบนท่ีนอนอนั ได้แก่ หนิ บดยาหรือหินก้อนเสา้ ซงึ่ ใชก้ อ่ ไฟ ในครัว หมายถึงความหนกั แน่น ฟักเขยี ว หมายถึงความอย่เู ย็นเปน็ สขุ แมวคราว (แมวตวั ผู้ท่ีอายุมากแลว้ ) หมายถึงการอยู่กบั เหยา้ เฝา้ กับเรือนพานใส่ถงุ ข้าเปลือก งา ถัว่ ทองหรอื ถั่วเขียว ซึ่งลว้ นหมายถึง ความ เจริญงอกงาม และขนั ใสน่ ํ้าฝน เปน็ ความเยน็ ความสดชนื่ ชุม่ ฉาํ่ หรอื บางแห่งอาจเพิม่ ถุงใสเ่ งินดว้ ยใน ระหว่างจัดวางของ จะให้ศีลให้พร ไปดว้ ย จากนัน้ ผู้ใหญ่ทั้งคกู่ ็จะนอนลงบนท่ีนอนนน้ั ฝา่ ยหญงิ นอน ทางซา้ ย ฝ่ายชายนอนทางขวา แล้วกลา่ วถ้อยคําทีเ่ ปน็ มงคลต่าง ๆ แก่ชวี ติ คู่ การส่งตวั แต่ดง้ั แต่เดมิ มาผใู้ หญ่จะนําเจ้าสาวเขา้ มาสง่ ตวั ในห้องหอซ่ึงเจ้าบา่ ว เข้ามาคอยอย่กู ่อนแล้ว ไมใ่ ช่ วา่ ส่งท้ังเจ้าบ่าวเจ้าสาวเขา้ มาพรอ้ มๆ กันเหมือนสมัยน้ี การส่งตวั ไมม่ ีอะไรซับซ้อน ส่วนสาํ คญั ของพิธอี ยทู่ ี่ คู่ผู้ใหญซ่ ่ึงทาํ พธิ ีปทู ่นี อนนน้ั พาเจา้ บา่ วเขา้ มาในห้องหอ เจมิ หน้าผากอวยพร จากนน้ั ค่อยนําเจา้ สาวเขา้ ห้อง หอตามมา โดยเจ้าสาวต้องกราบพอ่ แม่และญาติผ้ใู หญ่ฝา่ ยของตวั เอง เพอื่ เป็นการขอพร เมอ่ื เจ้าสาวเข้ามา ในห้องหอแล้ว แมเ่ จ้าสาวต้องเปน็ ผพู้ ามามอบให้กบั เจ้าบา่ ว พรอ้ มพูดจาฝากฝังให้ช่วยดูแล จากนน้ั จะ กลา่ วให้โอวาทเก่ียวกับการใช้ชีวิตคู่ ในข้ันตอนนี้ ธรรมเนยี มบางท้องถนิ่ จะให้พ่อแมเ่ จ้าสาวเปน็ ผูก้ ล่าว บางแห่งก็ให้กล่าวท้งั พ่อแม่เจ้าสาวและเจา้ บา่ ว หรอื บางแห่งให้ผใู้ หญ่ คู่เดิมซ่งึ ทําพธิ ปี ูทีน่ อนเปน็ ผูก้ ลา่ ว แทนพ่อแม่ไปเลยก็มซี ง่ึ พอใหโ้ อวาทจบ ก็ถือเปน็ อันเสร็จพธิ ี

หนงั สือเรียนวิชาเลือก สาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาสุโขทยั ศึกษาเชิงประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวถิ ชี วี ิต 29 กิจกรรมท้ายบท บทท่ี 2 ประเพณีทอ้ งถนิ่ สโุ ขทยั 1. ในปัจจุบนั ประเพณีท้องถ่ินของนักศึกษามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดมิ หรือไม่ อยา่ งไร จงอธิบาย ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 2. นกั ศึกษาจะมีวธิ ใี นการประชาสมั พันธ์เก่ยี วกบั ประเพณที อ้ งถ่ินสุโขทยั อย่างไร จงอธิบาย ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

หนงั สือเรยี นวชิ าเลือก สาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสโุ ขทัยศกึ ษาเชิงประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวิถีชีวิต 30 บทท่ี 3 อาหารพน้ื บ้านของจงั หวดั สโุ ขทยั เรอื่ งท่ี 1 การรบั ประทานอาหารของชาวสุโขทยั สุโขทยั เปน็ จงั หวัดทีอ่ ุดมสมบูรณ์ด้วยพชื พนั ธัญญาหารต้ังแต้อดตี นบั พันปีล่วงมาแล้ว ดงั คาํ กล่าว วา่ สุโขทยั เปน็ เมอื งในนํ้ามปี ลา ในนามขี า้ ว และบรรพบรุ ุษไทยกร็ จู้ กั ท่ีจะนําทรัพยากรเหล่าน้มี าปรงุ อาหารและวธิ ีการปรุงอาหารจงึ นับวา่ เป็นภูมิปัญญาอย่างชาญฉลาดของคนไทย จนทําให้อาหารไทยมี ชอ่ื เสยี งขจรขจายไปทัว่ โลก อาหารแตล่ ะมื้อของชาวไทย อาจหาได้จากธรรมชาติรอบตัว เช่น ปลา กุ้ง หอย ผัก รอบ ๆ บ้าน ชาวบ้านรู้จักทําสวนครัวไว้ในบ้านของตนช่วยให้มีอาหารรับประทานสะดวกและเป็นการประหยัด ย่ิงในปจั จบุ ันเกดิ วกิ ฤตเศรษฐกิจเกิดข้ึนในเมืองไทย ชาวไทยท้ังชาติต้องรับรู้ตรงกัน พระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยหู่ ัวภูมพิ ลอดลุ ยเดช ได้มพี ระราชดํารชั ใหช้ าวไทยท้ังประเทศมีความเป็นอยู่อย่างประหยัด มีการยัง ชีพแบบเศรษฐกิจพอเพียง ดังน้ันเร่ืองของอาหารจึงถือว่าเป็นความจําเป็นท่ีจะต้องเรียนรู้และร่วมกัน ประหยดั อยู่อยา่ งไมอ่ ดอยากแตส่ มบูรณ์ การรบั ประทานอาหารของชาวสโุ ขทัย ครอบครัวของคนไทยสมัยโบราณนิยมนั่งล้อมวงรับประทานอาหาร โดยใช้ผ้าสะอาดหรือเส่ือปู ลาดกบั พ้นื บา้ น ตกั ข้าวจากโถใสจ่ าน อาหารจดั เปน็ สาํ รับ วางสํารับไว้ตรงกลาง มีช้อนกลาง สําหรับตัก อาหารใส่จานของตน เปิบอาหารด้วยมือ บางบ้านจะมีขันหรือจอกตักนํ้าและกระโถนเตรียมไว้เพ่ือรอรับ น้าํ ลา้ งมือ สมัยปัจจบุ นั เรามกี ารรับอารยธรรมจากตะวนั ตกมากขนึ้ ทําให้วิธีการรับประทานอาหารของ ชาวบ้านเปล่ียนไป โดยดัดแปลงให้เหมาะสมกับอาหารไทย เช่น มีการใช้ช้อนส้อมแทนมือเพียงอย่าง เดยี ว บางบา้ นมกี ารใชโ้ ตะ๊ สําหรบั รับประทานอาหาร แตก่ ารวางอาหารทกุ อย่างไว้กลางโต๊ะเช่นเดิม

หนงั สอื เรียนวิชาเลือก สาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสโุ ขทยั ศึกษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวถิ ชี วี ติ 31 เร่ืองที่ 2 อาหารในทอ้ งถน่ิ สโุ ขทยั อาหารคาวของพื้นบ้านสุโขทัยนี้จะได้กล่าวถึงอาหารที่ชาวสุโขทัยนิยมรับประทานในปัจจุบัน หรอื พยายามไดฟ้ ืน้ ฟู หรือกล่าวถงึ ในฐานะเปน็ ตวั แทนอาหารพ้นื บ้านของสุโขทัย ซึ่งได้มีการคัดเลือกและ ในท่ีประชุมจังหวัดเห็นพ้องต้องกันให้เป็นอาหารพ้ืนบ้าน ซึ่ง อาจารย์ทองเจือ สืบชมพู ได้เรียกช่ือใหม่ ด้วยภาษาท่ีงดงามละเมียดละไม และได้นําอาหารเหล่าน้ีเป็นอาหารเพ่ือต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองผู้มา เยอื น ช่อื อาหารทีป่ รากฏมีดังน้ี พระรว่ งเลยี บเมือง - แกงหยวก นางเสอื งออกศกึ - ข้าวหลาม จารึกหลกั ศลิ า - หมทู อด มจั ฉาชมตระพัง - ปลาทอด เสียงระฆังกลางจนั ทร์นวลไขว่ งเดือน ระกาเก้อละเมอจนั ทร์ - ไก่ทอด ครัวขวัญนพมาศ - น้ําพริกตาแดง ผักสด อธริ าชหงสา - แกงฮงั เล มจั ฉาตระพังแก้ว - ปลาซวิ ทอดกอบ ตะวนั แผ้วตรีบูร - หมแู ดดเดียว เสนห่ ์หนนุ เน้ือสาว - คว่ั ขนนุ สรอ้ ยดาวคนื เมอื ง - ข้าวเหนยี ว ดาวเรอื งกลางคืนแรม - ขนมตาลและขนมดอกดิน หมากไม้เมอื งอรัญญกิ - ผลไมร้ วม (เพ็ญศรี วงศ์ชูเครือ, 2541) ในเร่ืองอาหารพ้ืนบ้านสุโขทัยน้ีชาวสุโขทัยส่วนใหญ่จะรับประทานอาหารคล้ายคลึงกับชาวภาค กลางท่ัวไป แต่อาหารบางชนิดมีลักษณะแปลกแยกกับท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น ก๋วยเตี๋ยวสุโขทัย จะใส่ผักคือ ถว่ั ฝกั ยาว ถั่วลิสงค่ัวป่น ใส่ผักกาดเค็มสับละเอียดแทนต้ังไฉ่ ใช้นํ้าตาล ป๊ีบแทนนํ้าตาลทราย และผักชี ใบใหญ่หน่ั ฝอย หรอื กว๋ ยเตีย๋ วราดหนา้ สโุ ขทัยจะรบั ประทานกับซอสพริกศรีราชา ในเรอ่ื งอาหารพื้นบา้ นสุโขทัยนจ้ี ะไดเ้ ลือกกลา่ วถงึ อาหารทเ่ี ป็นอาหารพืน้ บา้ น 4 ประเภท คือ 1. อาหารคาว 2. อาหารหวาน 3. อาหารผลติ ภณั ฑน์ ้าํ ผลไม้ 4. อาหารขบเคย้ี วของกินเล่น

หนังสอื เรยี นวิชาเลือก สาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสุโขทัยศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวิถชี ีวิต 32 อาหารคาว อาหารคาวเป็นอาหารท่ใี ชร้ ับประทานกับข้าว ในทนี่ จ้ี ะเลอื กกล่าวเฉพาะอาหารทเี่ ป็นท่ี นยิ มอย่างแพร่หลายในทอ้ งถิน่ เพยี ง 2 ชนิด คือ นา้ํ พรกิ และแกงข้เี หลก็ นาํ้ พริก นาํ้ พรกิ เป็นอาหารเกา่ แก่ด้งั เดิมของไทยเป็นอาหารของชนทุกชั้นเป็นอาหารหลักในยามยาก เป็น อาหารเสริมในยามม่ังมี อาหารประเภทน้าํ พริก เครือ่ งจิ้มจึงได้รับการคิดค้น ดัดแปลงจนเกิดสูตรนํ้าพริก ต่าง ๆ มากมาย มีท้ังสูตรท่ีสามารถปรุงขึ้นมาอย่างง่ายดาย จนถึงสูตรที่มีขั้นตอนสลับซับซ้อนรวมท้ัง นา้ํ พริกแหง้ ทสี่ ามารถเก็บไวไ้ ด้นานอกี ดว้ ย ส่วนประกอบหลักของนํ้าพริกก็บอกอยู่แล้วว่าเป็นพริก ซึ่งอาจเป็นพริกข้ีหนู พริกช้ีฟ้า พริก หยวก พริกแดง หรือแม้แต่พริกป่น ท้ังนี้ก็แล้วแต่ว่าจะเป็นนํ้าพริกชนิดไหน ส่วนประกอบรองลงมาคือ หอม กระเทียม กะปิ นํ้าปลา นํ้าตาล มะนาว มะขามเปียก มะม่วง มะดัน มะกอก ระกํา ฯลฯ และที่ต้องมีคู่กับการรับประทานน้ําพริกเสมด คือ ผัก ไม่ว่าจะเป็นผักสด ผักต้ม ผักทอด หรือผักดอง สว่ นสิ่งท่ชี ่วยชรู สชาตขิ องนํา้ พรกิ คือ เครื่องเคยี ง อัน ไดแ้ ก่ ปลาป้งิ ปลาทอด ปลาหลน ปลานึง่ ปลาย่าง ปลาเค็ม หมูหวาน หมูเค็ม หมูแดดเดียว หมูทอด ไข่เค็ม เน้ือแดดเดียว แคบหมู ฯลฯ เคร่อื งเคียงเหล่านีน้ อกจากจะเพิ่มความอร่อยให้กับนํา้ พริกแล้วยังทาํ ใหไ้ ด้รับคุณคา่ ทางอาหารอีกดว้ ย ฉะน้ันการเลือกใช้เครอ่ื งปรุงนํ้าพรกิ จงึ เปน็ สงิ่ สาํ คญั เพราะน้าํ พรกิ จะมีรสชาติหอมอร่อยสด ก็มา จากเครอื่ งปรุงท่ีมีคุณภาพดี แต่ชาวบา้ นในท้องถนิ่ มักจะได้อาหารท่ีเป็นของสดใหม่อยู่แล้วเพราะส่วนใหญ่ ไดม้ าจากการปลกู สวนครัวบริโภคในครวั เรอื นของตนเอง น้ําพริกที่เป็นภูมิปัญญาพ้ืนบ้านของชาวสุโขทัยนั้นมีมากมาย แล้วแต่จะได้ปรุงแต่งรสชาติให้ เปล่ียนไปตามความคิดประดิษฐ์ทํา นํ้าพริกท่ีมีในท้องถ่ิน ได้แก่ น้ําพริกกะปิ นํ้าพริกมะขามเปียก นํ้าพริกมะขามสด นํ้าพริกมะม่วง น้ําพริกข้ีกา นํ้าพริกปลาย่างมะขามเปียก นํ้าพริกไข่เค็ม น้ําพริก แมงดา นํ้าพริกมะเขือปู่ นํ้าพริกมะม่วงแมงดา นํ้าพริกปลาร้า นํ้าพริกปลาจ่อม นํ้าพริกปลาช่อน น้ําพริกปลาย่าง ฯลฯ ดังจะยกตัวอย่างนํ้าพริกอันเป็นอาหารพ้ืนบ้านของสุโขทัยเพียง 3 ชนิด คือ นํา้ พริกกะปิ นาํ้ พริกปลายา่ งมะขามเปียก และนาํ้ พรกิ ขก้ี า นาํ้ พริกกะปิ ส่วนประกอบ กะปิย่างไฟให้หอม 2 ช้อนโต๊ะ กระเทียมปอกเปลือกให้มีเปลือกติดเล็กน้อย ประมาณ 1 หัว พรกิ ข้หี นู 10 เม็ด มะอึกสุกห่ันฝอย 1 ช้อนโต๊ะ น้ํามะนาว นํ้าปลา นํ้าตาลปีบ มะเขือพ่วง หรือ มะเขือเปราะซอย 1 ช้อนโตะ๊ วิธที ํา โขลกกะปิกับกระเทียมให้ละเอียด ถ้าจะใส่กุ้งแห้งก็โขลกรวมกันไป ใส่พริกข้ีหนูโขลกให้แตกแต่ ไม่ต้องละเอียด (อาจใส่ระกํา มะอึก มะเขือพวง) ปรุงรสด้วยนํ้าตาล น้ําปลา และนํ้ามะนาว ชิมรสตาม ความต้องการ

หนงั สือเรียนวิชาเลือก สาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาสโุ ขทยั ศกึ ษาเชิงประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวิถชี วี ิต 33 รับประทานกับผักต้ม เช่น มะระขี้นก( ชาวสุโขทัยเรียกผักไห่ ) ถั่วพู ถั่วฝักยาว หน่อไม้ ตําลึง ผักกระเฉด ฯลฯ หรอื ผักสด เช่น แตงกวา มะเขือสด ผักบุ้ง กระถิน หรือผักชุบไข่ทอด เช่น ชะอม มะเขือยาว ดอกโสน เครื่องจดั แนมกับนา้ํ พริก คอื ปลาททู อด ปลาดกุ ทอด ปลาชอ่ นทอด ปลาดุกยา่ ง หมายเหตุ อาจใช้มะมว่ งดบิ มะดันซอย หรือมะมว่ งอ่อนแทนมะนาวได้ตามฤดกู าลทมี่ ไี ม้ผลเหลา่ นน้ั น้ําพริกปลาย่างมะขามเปียก ส่วนประกอบ ปลาย่างค่อนข้างแห้งแกะเอาแต่เนื้อ 3-4 ช้อนโต๊ะ กะปิ 1 ช้อนชา พริกแห้ง แช่น้ํา 4-5 เม็ด กระเทียมสองหวั นา้ํ ปลา 2 ช้อนโต๊ะ นา้ํ ตาลปบี หนงึ่ ชอ้ นโตะ๊ ส้มมะขามเปยี ก 2 ชอ้ นโต๊ะ วธิ ีทาํ โขลกพรกิ แห้งและปลาย่างให้ละเอียด ใส่กระเทียม กะปิ โขลกต่อจนละเอียด ส้มมะขามเปียก แคะเม็ดออก ใส่ลงไปโขลกให้เข้ากับเครื่องนํ้าพริกที่โขลกไว้แล้ว ปรุงรสด้วย นํ้าตาล น้ําปลา ชิมรส เปรยี้ ว เค็ม หวาน เผ็ดตามความพอใจรบั ประทานกับ ผักสด ผกั ตม้ ปลาเผาหรอื เครอ่ื งเคยี งอืน่ ๆ ก็ได้ นาํ้ พรกิ ขี้กา ส่วนประกอบ พริกชี้ฟ้าเขยี ว แดงเผา 20 เมด็ หอมแดงเผา 6-8 หัว กระเทียมเผา 5 หัว ปลาช้อนย่าง ¼ ถ้วยหรือใช้กะปิ 1 ช้อนชา มะเขือพวงเผา ¼ ถ้วย นํ้าปลา 2-3 ช้อนโต๊ะ น้ํามะนาว 2-3 ช้อนโต๊ะ นา้ํ รอ้ น ½ ถว้ ย มะเขอื เทศสดี าเผา ¼ ถว้ ย วธิ ีทํา ลอกเปลอื กพริกเผาออกก่อนนําไปโขลก โขลกพรกิ หอม กระเทยี ม ปลาช่อน (หรอื กะปิ) มะเขอื เทศ ใหเ้ ข้าเป็นเนื้อเดียวกัน เคล้ามะเขือพวง เผาโขลกเบา ๆ ใหแ้ ตกแตไ่ มล่ ะเอยี ดเติมน้าํ คนใหท้ ัว่ ปรงุ รสด้วยน้ําปลา มะนาวใหไ้ ด้รสชาตติ ามใจชอบ รบั ประทานกับผักสด เชน่ มะเขือ ถว่ั ฝักยาว ตน้ หอม มะระอ่อน แตงกวา หรอื ผักตม้ ไดท้ กุ ชนิด แกงขเ้ี หลก็ กบั ปลายา่ ง ส่วนประกอบ ข้ีเหล็กยอดอ่อนและดอก มะพร้าวขูด ปลาย่าง เครื่องแกงประกอบด้วย พริกข้ีหนูแห้ง กระเทียม หอมแดง ข่า ตะไคร้ เกลือ กะปิ น้ําตาล วิธที าํ นาํ ขี้เหลก็ ต้มกบั นํ้า ใหเ้ ปอ่ื ยคนั่ เอานาํ้ ออก โขลกเครอ่ื งปรงุ น้ําพริกให้ละเอียด ปลาช่อนย่างแกะ เอาแต่เน้ือ คั้นมะพร้าวแยกหัวและหางกะทิ แล้วเอาหัวกะทิตั้งไฟใส่เคร่ืองแกงพอส่งกล่ินหอมก็ใส่ใบ ขเี้ หลก็ และหางกระทิ พอเดือดก็ใส่ปลาตัง้ ไวใ้ หเ้ ดอื ด ปรงุ รสด้วยน้าํ ตาล เกลือใหม้ รี สตามท่ตี อ้ งการ

หนังสอื เรียนวชิ าเลอื ก สาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสุโขทัยศกึ ษาเชิงประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวถิ ีชวี ติ 34 อาหารหวาน อาหารหวานที่จะกลา่ วเป็นตัวอย่างต่อไปนี้ เป็นขนมพ้ืนบ้านท่ีชาวบ้านทํารับประทานโดยใช้วัสดุ พนื้ บ้านท่ัวไป คือ ขนมตาล ขนมกลว้ ย ขนมเทียน ลอดช่องนา้ํ กะทิ ขนมตาล สว่ นประกอบ มะพร้าวขูด 500 กรัม นํ้าตาลทราย 1 ถ้วย แป้งข้าวเจ้า 1 ½ ถ้วย เนื้อลูกตาลสุกท่ีย่ีและทับ นาํ้ แล้ว 1/3 ถ้วย มะพรา้ วทึนทกึ ขดู ด้วยกระต่ายจีน ½ ผล วธิ ที ํา คน้ั มะพรา้ วด้วยนา้ํ ½ ถ้วย ค้ันใหไ้ ด้กะทิ 1 ½ ผสมกะทิกบั น้ําตาลตงั้ ไฟพอเดอื ดยกลงปลอ่ ยให้อุ่น นวดแป้งกบั เน้ือลกู ตาลจนเขา้ กันดี ค่อย ๆ ใส่กะทิท่ีเคี่ยวทีละน้อย ๆ นวดจนนุ่มมือ ท้ิงไว้นาน 4- 5 ชั่วโมง พอแป้งพองฟูตักหยอด หรือห่อด้วยใบตองที่เตรียมไว้หรือใส่ถ้วยตะไล หรือใส่กระทงสองมุม โรยมะพร้าวทคี่ ลุกเกลือปน่ เลก็ นอ้ ย นงึ่ ไฟแรงประมาณ 10-15 นาที ถ้าขนมห่อเล็กกใ็ ช้เวลานอ้ ยลง วิธีทาํ เนอื้ ลูกตาล ลูกตาลสุกลอกเปลือกดอกให้หมด (ใช้ช้อนขูดเอาแต่เน้ือสีเหลืองออก) ส่วนลูกตาลยีกับน้ําจน เน้ือลูกตาลละลายออกหมด ใช้ผ้าขาวหนาหน่อยหรือผ้าดิบห่อเนื้อตาล และนํ้าลูกตาลจะไหลออกผูกให้ แน่น แขวนใหน้ า้ํ ตาลไหลออกให้หมด (ทาํ คา้ งคืนไว้ 1 คนื ) ใช้แต่เนอื้ ลูกตาลสาํ หรบั ทําขนม ข้าวต้มมดั ส่วนประกอบ ขา้ วเหนียว (จะแช่น้ําหรือไม่แช่ก็ได้) 500 กรัม มะพร้าว 400 กรัม นํ้าตาลทราย 1/2 ถ้วย เกลือป่น 2 ช้อนชา กล้วยน้ําว้า 10 ลกู ถ่วั ดาํ ตม้ สกุ นมุ่ 1 ถว้ ย ใบตอง วธิ ีทํา ซาวข้าวเหนียว ใส่กระชอนให้สะเดด็ นาํ้ คน้ั มะพร้าวใสน่ ํา้ 1 ถ้วย คนั้ ใหไ้ ดก้ ะทิ 2 ถ้วย ผสม กะทิ นํา้ ตาล เกลือ ให้เข้ากนั แล้วกรองใส่กระทะทองใส่ขา้ วเหนยี วกวนจนแห้ง ปอกกล้วยผ่า ½ ลูก ฉีกใบตองกว้าง 7-8 น้ิว จับวางซ้อนกันสลับหัวท้ายวางข้าวเหนียว ใส่ กล้วยวางข้าวเหนียวทับและใส่ถั่วดําห่อให้แน่นจะมัดหรือไม่มัดก็ได้ แต่ถ้านํามาประกบกันมัดด้วยตอกให้ แนน่ จะทาํ ใหข้ ้าวเหนียวตดิ กันแน่นมีรสชาติอรอ่ ยขึน้ นงึ่ ประมาณ 40 – 45 นาที หมายเหตุ ถ้าใชข้ า้ วเหนียวไมแ่ ช่น้ํา ต้องมัดให้แน่นแล้วต้มหรือน่ึง 1 ชั่วโมง การห่อจับจีบหัวท้ายมัด ติดกันให้ แนน่

หนงั สือเรยี นวชิ าเลอื ก สาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสโุ ขทัยศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวถิ ีชวี ิต 35 ขนมเทยี น สว่ นประกอบ แปง้ ขา้ วเหนียวขาว 2 ½ ถว้ ย แปง้ ขา้ วเหนยี วดาํ 2 ½ ถ้วย น้ํามัน 4 ช้อนโต๊ะ นํ้าตาลปีบ 500 กรมั นา้ํ ลอยดอกมะลิ 1 ½ ถ้วย นา้ํ มนั สําหรับทาใบตอง วิธีทาํ ไส้ ถวั่ นึ่งสกุ 1 ½ ถ้วย พริกไทยป่น 1 ชอ้ นโต๊ะ เกลือป่น 2 ช้อนโต๊ะ นาํ้ ตาลทราย 1 ¼ ถ้วย น้ํามันสําหรับผัดไส้ ½ ถว้ ย หอมซอย ½ ถ้วย นาํ ถั่วโขลกให้ละเอียด นาํ มาเคลา้ กับเกลอื นํ้าตาล พรกิ ไทยให้เข้ากัน ใส่น้ํามันลงในกระทะตั้ง ไฟ นาํ หอมเจยี วพอเหลอื งตักขึ้น นําถ่ัวลงผัด ชิมรสจัด ๆ ใส่หอมซอย ผัดให้เข้ากันยกลงทิ้งให้เย็น ป้ัน เปน็ ก้อนกลม ๆ เส้นผ่าศูนย์กลาง ½ น้วิ ทาํ กระทงใบตอง ตดั ใบตองเป็นวงรเี สน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 5 นวิ้ วิธีทําแป้ง ผสมน้ําตาลกบั น้ําลอยดอกมะลติ ั้งไฟพอเดือด ยกลงท้ิงไว้ให้เย็น ค่อย ๆ ใส่นํ้าตาลลงในแป้งข้าว เจ้าและข้าวเหนียว นวดให้เข้ากัน ค่อย ๆ หยอดน้ํามันทีละ 1 ช้อนโต๊ะ จนหมดนํ้าตาลผสมให้เข้ากัน หมกั ทงิ้ ไว้ 1 คนื ทานาํ้ มนั ใบตองตกั แป้งหยอดแลว้ ใสไ่ สห้ ่อใหแ้ นน่ นาํ ไปน่ึงไฟแรงให้สกุ ลอดชอ่ งนา้ํ กะทิ ส่วนประกอบ แป้งข้าวเจ้า 1 ถ้วย น้ําปูนใส 5 ถ้วย นํ้าใบเตยค้ัน 3 ช้อนโต๊ะ กะทิค้น ๆ (คั้นด้วยน้ําต้ม สกุ ) 2 ถว้ ย น้าํ ตาลปกึ (น้าํ ตาลโตนด) ½ ถว้ ย เกลอื ¼ ชอ้ นชา วิธที ํา ผสมกับน้ําปูนใสกับน้ําใบเตยให้เข้ากัน ค่อย ๆ ละลายกับแป้งโดยเติมน้ําปูนใสลงไปทีละน้อย เพ่อื เนือ้ แปง้ จะไดไ้ มเ่ ปน็ เมด็ เมอื่ ผสมจนหมดนา้ํ ปนู ใสเทกรองบนผ้าขาวบาง ใส่แป้งในกระทะทอง ต้ังไฟกลาง กวนจนข้น เม่ือยกไม้พายขึ้นแป้งจะข้นติดพาย แต่สามารถ ไหลหยดลงมาได้ เทนํ้าเย็นสะอาดลงในอ่าง ใส่แป้งกระป๋องเจาะรูตรงก้นสําหรับกดตัวลอดช่อง มีไม้วางพาดบน อ่าง กดออกมาเปน็ ตัวส้ัน ๆ หมน่ั เปล่ยี นนา้ํ ในอ่างถา้ หากวา่ รอ้ น เวลาจะรบั ประทานตักตัวลอดช่องขนึ้ มาใหส้ ะเดด็ น้าํ แลว้ ใสถ่ ้วยขนมเตมิ นํา้ กะทิ ใสน่ ้ําแข็งทบุ หมาเหตุ วิธีการทํานํ้ากะทิ นํานํ้ากะทิสดท่ีคั้นไว้มาผสมน้ําตาลปึก (น้ําตาลโตนด) และเกลือเข้าด้วยกัน คนจน น้าํ ตาลละลาย กรองด้วยผ้าขาวบาง ลอยด้วยดอกมะลิให้มีกลิ่นหอมหรือนําไปอบด้วยเทียนอบ ขนมก็ได้

หนงั สือเรียนวชิ าเลอื ก สาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสุโขทยั ศึกษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมและวถิ ีชวี ิต 36 อาหารผลิตภัณฑจ์ ากผลไม้ อาหารที่เป็นผลิตภัณฑ์จากผลไม้เป็นอาหารที่มีลักษณะเป็นการถนอมอาหารชนิดหนึ่งท้ังนี้เพราะ สุโขทัยจัดว่าเป็นแหล่งท่ีมีผลไม้มากแห่งหนึ่ง ผลไม้เหล่านี้เป็นผลไม้พื้นบ้าน ได้แก่ มะขาม มะยม มะนาว ละมุด กลว้ ยหอม มะม่วง ทาํ เปน็ สม้ ลม้ิ กับส้มแผ่น

หนังสือเรยี นวิชาเลือก สาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสโุ ขทยั ศกึ ษาเชิงประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวิถชี ีวติ 37 กจิ กรรมท้ายบท บทที่ 3 อาหารพ้ืนบ้านของจงั หวดั สโุ ขทัย 1. ใหน้ ักศกึ ษาเขยี นสว่ นผสมอาหารพ้นื บ้านพร้อมทัง้ ส่วนประกอบและประโยชน์ท่ีได้รับ อาหารคาว ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ อาหารหวาน ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

หนงั สือเรียนวชิ าเลือก สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสุโขทยั ศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวิถชี วี ติ 38 บทที่ 4 ศิลปกรรมทอ้ งถ่ินสุโขทัย เรอื่ งท่ี 1 โบราณวัตถุ ความหมายของคาํ วา่ ศลิ ปะ ศลิ ปะเป็นคําทมี่ ีความหมายทั้งกว้างและจําเพาะเจาะจง ทัง้ นี้ย่อมแล้วแตท่ ัศนะของแตล่ ะคน แตล่ ะสมยั ที่จะกําหนดแนวความคดิ ของศลิ ปะให้แตกตา่ งกันออกไป หรือแล้วแตว่ า่ จะมีใคร นําคาํ วา่ \"ศลิ ปะ\" น้ไี ปใชใ้ นแวดวงที่กว้างหรือจาํ กัดอยา่ งไร ศิลปกรรมท้องถิน่ สโุ ขทัย ในสมัยสุโขทัยความเจริญรุ่งเรืองที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ ความเจริญทางด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรมทั้งศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์ปรากฏอยู่ทั่วไป ดังมีหลักฐานท้างด้านโบราณคดีทิ้ง ร่องรอยอดีตแห่งความเจริญไว้อย่างมากมายให้อนุชนรุ่นหลังได้ภาคภูมิใจ เป็นที่ดึงดูดความสนใจให้ นักท่องเท่ียวได้มาเยี่ยมชม ความงดงามของโบราณสถานโบราณวัตถุเหล่าน้ันทําให้ชื่อเสียงสุโขทัยขจร ขจายไปทัว่ โลก จนได้รับการยอมรับว่าอาณาจักรสโุ ขทัยโบราณมใิ ชม่ คี ่าเฉพาะชาวไทยทั้งประเทศ หากแต่ มีค่าต่อมวลมนุษย์ทุกชาติ เพราะองค์การยูเนสโกได้ยกย่องให้ดินแดนแห่งน้ีเป็น “มรดกโลก”เม่ือปี พ.ศ. 2534 ดังนั้นในท่ีน้ีจะได้กล่าวถึงโบราณวัตถุและโบราณสถาน และแหล่งศิลปะกรรมี่เป็นภูมิปัญญา ของทอ้ งถ่นิ สโุ ขทยั ดงั น้ี โบราณวัตถุ โบราณวัตถุซึ่งเป็นศิลปวัตถุในเมืองสุโขทัยนั้นมีเป็นจํานวนมาก ในท่ีนี้จะกล่าวในภาพรวม โดยสังเขป คอื เครอ่ื งสงั คโลก และพระพุทธรปู เคร่อื งสงั คโลก เครอ่ื งสงั คโลกหรอื สังคโลกเปน็ คาํ ทีช่ าวไทยทั่วไปรู้จักกันดีในนามของวัตถุโบราณท่ีมีคุณค่าย่ิง มีลักษณะเป็นถ้วยชาม สิ่งของเคร่ืองใช้ เครื่องประดับสถาปัตยกรรม ส่ิงผลิตอันเน่ืองมาจากความเชื่อใน พธิ กี รรมต่างๆ ซึง่ เป็นเคร่อื งปัน้ ดินเผาในสมัยสโุ ขทยั

หนังสอื เรยี นวิชาเลอื ก สาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสโุ ขทยั ศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและวถิ ีชวี ติ 39 เคร่อื งสังคโลกทจ่ี ังหวัดสุโขทยั แบ่งตามแหลง่ เตาเผาจะมอี ยู่3แหล่ง ดงั นี้ 1. เคร่ืองสังคโลกเตาสุโขทัย หรือเรียกว่าเตาทุเรียงสุโขทัย ปัจจุบันอยู่บริเวณอุทยาน ประวตั ิศาสตร์สุโขทัย ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย ต้ังอยู่แนวคูเมือง เรียกว่าแม่โจนเป็นเตา ก่อสร้างด้วยอิฐ กว้าง 2-3 เมตร ยาว5-6 เมตร ลักษณะเป็นเตาขุดลงไปในดินครึ่งหนึ่ง ก่อโค้งเป็นรูป ประทุนเกวียน แบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนที่หน่ึงเป็นที่ใส่ไฟ ตอนท่ีสองช่วงกลางเป็นที่วางถ้วยชาม และ ตอนที่3 เปน็ ปลอ่ งไฟ เครื่องสังคโลกเตาสุโขทัยเป็นภาชนะเคร่ืองใช้ประเภทถ้วยโถโอชาม ท่ีเป็นเครื่องใช้สอยเป็น ส่วนใหญ่ ลกั ษณะเฉพาะของเคร่อื งปน้ั จากเตาทุเรียงแห่งน้ี คือ เคร่ืองปั้นเคลือบลวดลายสีดําหรือสีน้ําตาล เนอ้ื ดินคอ่ นข้างหยาบ ชุบนํ้าดินสีขาว ลวดลายสีดําแล้วเคลือบด้วยน้ําเคลือบใสการเรียงถ้วยชามที่เผาเตา เหล่าน้ีจะใช่ก๋ีซ่ึงเป็นจานที่มีขาเป็นปุ่มวางค่ันระหว่างถ้วยชามฉะน้ันเตาเผาแห่งนี้จะมีรอยกี๋ปรากฏอยู่ 5 จุด 2. เครื่องสังคโลกเตาทุเรียงป่ายาง ปัจจุบันอยู่ในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย บนฝ่ังตะวันตกของแม่นํ้ายมเหนือแก่งหลวง ห่างจากกําแพงเมืองเพียง 500 เมตรเคร่ืองสังคโลกที่ได้จาก เตาแห่งนี้เป็นสังคโลกช้ันดี งดงามทั้งลวดลายและน้ํายาเคลือบรูปแบบพิเศษกว่าเตาเผาแหล่งอื่น แยก เปน็ เตาเผารปู ยักษ์ นาค มังกร และเตาเผารูปตุก๊ ตา สันนษิ ฐานวา่ เตานี้น่าจะเปน็ เตาหลวงที่ทําข้ึนใช้เฉพาะ บคุ คลชั้นสงู 3. เครอื่ งสังคโลกเตาทเุ รียงเกาะน้อย ปัจจุบันอยู่ในอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย ตําบล หนองอ้อ อําเภอศรีสัชนาลัย เตาแห่งน้ีอยู่ไปทางเหนือของเตาป่ายางประมาณ 4 กิโลเมตรและเตาแห่งน้ี เองท่ีเปน็ เตาเผาท่ีมจี ํานวนเตาเผาหลายรอ้ ยเตาเรยี งรายอยูต่ ามแม่นา้ํ ยมฝ่ังตะวันตก ลกั ษณะของเตาเกาะน้อยมีลักษณะเชน่ เดียวกบั เตาทสี่ โุ ขทัย คือเป็นเตารูปประทุน แบ่งเป็น 3 ตอน คือตอนหน้าเป็นที่ใส่ไฟ ตอนที่สองเป็นที่ใส่ภาชนะท่ีต้องการเผา และตอนท่ีสามเป็นปล่องควัน เคร่ืองสังคโลกท่ีได้จากแหล่งน้ีเป็นภาชนะถ้วยชาม จาน จานเชิง โถ ขวด สีของเครื่องสังคโลกมีหลายสี เช่น สีเขียวไข่กา สีน้ําตาล สีเหลืองอ่อน สีขาว มีการตกแต่งลวดลายใต้เคลือบ วิธีสังเกตเคร่ืองป้ันดินเผา จากแหล่งน้ีสังเกตง่ายๆ คอื จะใชก้ ี๋แท่งกลมวางภาชนะ ฉะนั้นเครื่องปั้นดินเผาเหล่านี้จะมีรอยวงกลมของกี๋ ปรากฏอย่ทู ่กี น้ ภาชนะ ชนดิ และประเภทเครอ่ื งสงั คโลก ถา้ พิจารณาแบง่ เคร่อื งสงั คโลกตามความแข็งออ่ นจะแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 1. ชนิดเน้อื อ่อนหรือเนอื้ ดนิ ได้แก่ ภาชนะที่เน้ือดินมีความพรนุ ตัวคอ่ นขา้ งมากสามารถดูดซมึ นาํ้ ได้ ใช้ความรอ้ นในการเผาดว้ ยอุณหภูมิสูงประมาณ 600 – 1,100 องศาเซลเซียส มีสีส้มอมแดง ผิวด้าน นอกไมเ่ รียบ บางชน้ิ มลี ายเชอื กทาบหรือลายขูดขีดลงบนผิวภาชนะ 2. ชนดิ เนือ้ แข็งหรือเน้อื หนิ ได้แก่ ภาชนะท่มี เี นอ้ื แนน่ แขง็ น้ําและของเหลวไม่อาจไหลซมึ ผ่านได้ เวลาเคาะมเี สียงกงั วาน ใช้ความรอ้ นสูงในการเผา คือประมาณ 1,200 องศาเซลเซียส สังคโลกชนิด น้ีแบ่งออกเปน็ 2 ประเภทคือ ประเภทไม่เคลือบนํ้ายา ส่วนมากมีเนื้อดินสีเทาและสีเทาอมม่วง ผิวค่อนข้างด้าน มีบางชิ้นท่ีผิว นอกมันและมีร่องรอยคล้ายเคลือบน้ํายาเป็นจุดประ ซ่ึงเป็นการเคลือบเองโดยธรรมชาติระหว่างการเผา เรียกว่าเคลือบขีเ้ ถ้า