Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์

วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์

Published by jnlbcnsp, 2019-05-12 09:46:29

Description: ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม -สิงหาคม 2561

Search

Read the Text Version

วารสารวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค์ ISSN: 1686-0152 ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2561) เจา้ ของ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธิประสงค์ วัตถุประสงค์ เพอื่ ส่งเสรมิ และเผยแพรผ่ ลงานวิชาการในรูปแบบรายงานการวิจัย (Research article) บทความทางวชิ าการ (Academic article) และบทความปริทัศน์ (Review article) สาขาการพยาบาล และวิทยาศาสตร์สุขภาพ กาหนดการออกวารสาร ฉบบั ที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม ฉบับท่ี 3 กนั ยายน – ธันวาคม คณะผ้จู ดั ทา ทป่ี รึกษา ดร.ปัทมา ผ่องศริ ิ ผอู้ านวยการวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธิประสงค์ บรรณาธกิ าร ดร.นสุ รา ประเสรฐิ ศรี ผู้ช่วยบรรณาธกิ าร อาจารย์อภิรดี เจรญิ นุกลู อาจารยช์ นุกร แกว้ มณี อาจารย์แสงเดือน กง่ิ แกว้ กองบรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร.สมใจ พทุ ธาพิทักษผ์ ล คณะพยาบาลศาสตร์ ม.สโุ ขทยั ธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์ ดร.พูลสุข เจนพานชิ ย์ วิสทุ ธพิ นั ธ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.เนาวนิตย์ สงคราม คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณดี สทุ ธินรากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นันทวรรณ กติ กิ รรณากรณ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สพุ ัตรา บวั ที คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชชู าติ วงศอ์ นุชติ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วิริยา อ่อนสอาด คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สภุ าพร ใจการณุ คณะสาธารณสุขศาสต์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพญ็ ศิริ ดารงภคภากร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จินดารตั น์ ชยั อาจ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จดิ าภา ผกู พันธ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ดร.นพ.สธุ รี ์ รัตนะมงคลกลุ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ดร.สเุ พียร โภคทิพย์ โรงพยาบาลสรรพสทิ ธปิ ระสงค์ ดร.วิโรจน์ เซมรมั ย์ สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดอุบลราชธานี ดร.คมวัฒน์ รุ่งเรือง วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ ดร.นิสากร วิบลู ชัย วิทยาลัยพยาบาลศรมี หาสารคาม ดร.ศุภวดี แถวเพีย วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น ดร.กมลทิพย์ ตัง้ หลกั มน่ั คง วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อดุ รธานี ดร.พิทยา ศรเี มอื ง วิทยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวัดขอนแก่น ดร.สนิ ศักด์ชิ นม์ อุ่นพรมมี ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา ดร.ชลิยา วามะลนุ โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี ดร.อนชุ ตรา วรรณเสวก โรงพยาบาลมะเรง็ อบุ ลราชธานี ดร.เกษราภณ์ เคนบุปผา โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จงั หวดั อุบลราชธานี ดร.เอมอร แสงศิริ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย ดร.สุภาภรณ์ ศรธี ัญรตั น์ ศนู ย์สุขภาพจติ ที่ 10 อบุ ลราชธานี ดร.นงลกั ษณ์ อนันตรยิ อาจ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ ดร.รุ้งรังษี วบิ ลู ชัย สถาบนั พระบรมราชชนก ดร.เพชรมณี วิรยิ ะสืบพงศ์ สถาบนั พระบรมราชชนก ดร.นภชา สิงห์วีรธรรม สถาบันพระบรมราชชนก ดร.สมรภพ บรรหารกั ษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ดร.ปรางทิพย์ ทาเสนาะ เอลเทอร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสมี า

อาจารยศ์ ทุ ธินี วัฒนกลู วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชยี งใหม่ ดร.สรุ ศักด์ิ สนุ ทร วิทยาลยั การสาธารณสขุ สิรินธร จงั หวดั สุพรรณบุรี ดร.ดลนภา ไชยสมบัติ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี พะเยา ดร.วิไลวรรณ ปะธเิ ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ อาจารยจ์ รญู ศรี มหี นองหวา้ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค์ ดร.กุลธดิ า กุลประฑีปญั ญา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค์ ดร.สภุ ารัตน์ พสิ ยั พนั ธุ์ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ดร.นสุ รา ประเสริฐศรี วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค ดร.พัชรี ใจการุณ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค์

บทบรรณาธกิ าร ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงของสังคมอย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นระดับบุคคล ชุมชน ภูมิภาค และประเทศ ต่างก็มีผลกระทบต่อสุขภาวะของบุคคลทั้งส้ิน ทาให้นักวิชาการ พยาบาล บุคลากรทางสุขภาพ และทางการศึกษา รวมทั้งนักวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพต่างให้ความสนใจในการศึกษา สืบค้น และหาวิธีการ เพือ่ ชว่ ยส่งเสริม ป้องกนั รกั ษาและฟ้นื ฟภู าวะสุขภาพของประชาชนใหม้ คี ุณภาพมากขึน้ วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ เป็นวารสารที่มี การพฒั นาอย่างต่อเน่ือง เพือ่ สร้างความกา้ วหน้าทางวิชาการดา้ นสขุ ภาพ เพ่อื เผยแพรแ่ ละแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ผลงานวิชาการทางสุขภาพของนักวชิ าการ พยาบาล บุคลากรทางสขุ ภาพและทางการศกึ ษา รวมทัง้ นักวิจัยที่ เก่ียวข้องกับสุขภาพ โดยกองบรรณาธิการได้คัดเลือกบทความวิจัยท่ีน่าสนในด้านต่างๆ รวม 6 เรื่อง สาหรับเสนอในวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปีท่ี 2 ฉบับท่ี 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2561) ดังน้ี 1) การพยาบาลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม ในชุมชน 2) ผลการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยสุข 5 มิติ โรงเรียนผู้สูงอายุนาผาง ตาบลห้วย อาเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอานาจเจริญ 3) ความฉลาดทางทางสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเร้ือรังระยะ เรม่ิ ต้น 4) ภาวะหวั ใจหยดุ เต้นในผ้ปู ว่ ยทไ่ี ด้รับการฟอกเลอื ดด้วยเครอื่ งไตเทียม หน่วยไตเทยี มสรรพสทิ ธิ์ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 5) การพัฒนาความรู้ ในการประเมินและทักษะการจัดการความปวดในการ ฝึกภาคปฏิบัติวิชาปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพ สาหรับนักศึกษาพยาบาลช้ันปีท่ี 2 และ 6) ทุนทางสังคมกับ การพฒั นานโยบายสาธารณะประเดน็ การดแู ลผสู้ ูงอายุ ของเขตสขุ ภาพท่ี 9 กองบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เน้ือหาสาระของบทความท่ีวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ได้นาเสนอไปนั้น จะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และ เป็ น ป ร ะโยช น์ต่ อ ท่ าน ผู้ อ่ าน เพื่ อ เปิด มุ ม มอ งแน วท างการ พั ฒ นางาน วิจั ยท างสุ ข ภ าพ ข อ งท่ านผู้ ส นใจ รวมทั้งช่วยส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟ้ืนฟูภาวะสุขภาพของประชาชนในประเทศไทยต่อไปในอนาคต กองบรรณาธกิ าร

ปที ่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม2561) สารบัญ  การพยาบาลผู้สงู อายุเพือ่ ปอ้ งกันภาวะสมองเสอื่ มในชมุ ชน………….…..........………1 Nursing care for Elderly to Prevent of Dementia within Community วษิ ณุ จันทรส์ ด Witsanu Chansod  ผลการส่งเสริมสขุ ภาพของผู้สูงอายุด้วยสุข 5 มติ ิ โรงเรียนผู้สูงอายุนาผาง ตาบลห้วย อาเภอปทมุ ราชวงศา จงั หวดั อานาจเจริญ…………………………………..14 The Effects of Promoting the Health of the Elderly with Five Dimensions of Happiness Na Phang Elderly School, Huai Subdistrict, Patumratwongsa District Amnat Charoen Province ทนงศกั ด์ิ มลุ จันดา, ทตั ภณ พละไชย Thanongsak Munchanda, Tattapon Palachai  ความฉลาดทางสขุ ภาพของผ้ปู ว่ ยโรคไตเรือ้ รังระยะเรม่ิ ต้น………………......………30 Health literacy in the first stage of Chronic Kidney ลักขนา ชอบเสียง, จุฑามาศ โสพฒั น์, ชญานิศ ทองมล, ชลดา สมคะเนย์, ฎาฐณิ ี ลาภทวี, ณัชชริญา ชินทอง, ณัฐกานต์ วงศ์ปนั ติ, ณฐั ธิดา ทุมมี, ทศั นยี ์ แพงมาก Lakhana Chopsiang, Jutamas Sopat, Chayanit Thongmol, Chonlada Somkaney, Dathinee Lapthawee, Natchariya Chinthong, Nattakarn Wongpunti, Natthida Tummee, Tudsanee Pangmak

ปที ่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2561) สารบัญ  ภาวะหวั ใจหยุดเตน้ ในผูป้ ่วยท่ีได้รบั การฟอกเลือดดว้ ยเครื่องไตเทียม หน่วยไตเทียมสรรพสิทธิ์ โรงพยาบาลสรรพสทิ ธิประสงค.์ ................................47 Cardiac Arrest in Hemodialysis at Dialysis Unit, Sunpasitthiprasong Hospital วราภรณ์ อุตทอง, นวลน้อย โหตระไวศยะ, กนั ติชา ธนทู อง, สชุ าดา ฤทธน์ิ ้าคา Varaporn Utthong, Nualnoi hotrawaisaya, Kanticha Thanutong, Suchada Ritnamkam  การพฒั นาความรู้ ในการประเมินและทกั ษะการจดั การความปวดในการฝึกภาคปฏบิ ัติ วิชาปฏบิ ตั กิ ารสร้างเสริมสขุ ภาพ สาหรับนกั ศกึ ษาพยาบาลช้นั ปีที่ 2………..…....….62 Improving Knowledge, Assessment, and Skill Related to Pain Management in Clinical Practice of Health Promotion Practicum for the 2rd year Nursing Student วารุณี นาดนู , สกลสภุ า อภชิ ัจบุญโชค Warunee Nadoon, Sakonsupa Apichutboonchock  ทนุ ทางสังคมกบั การพฒั นานโยบายสาธารณะประเด็นการดูแลผู้สูงอายุ ของเขตสขุ ภาพที่ 9……….........................................................................……80 Social capital and public policy development, elderly care issues in health service provider zone 9 วรนาถ พรหมศวร Woranart Promsuan

การพยาบาลผสู้ ูงอายเุ พื่อป้องกนั ภาวะสมองเสื่อมในชุมชน วิษณุ จนั ทรส์ ด พย.ม.* บทคดั ยอ่ ภาวะสมองเส่ือมในผูส้ ูงอายุเป็ นภาวะท่ีถดถอยบกพร่องของสมอง ผลกระทบ จากภาวะสมองเสื่อมทาใหผ้ ูส้ ูงอายุและผูด้ ูแลทุกขท์ รมาน บทความน้ ีมีวตั ถุประสงค์ เพ่ือเสนอความรูแ้ ละการดูแลภาวะสมองเสื่อมในผูส้ ูงอายุสาหรบั พยาบาลในชุมชน เน่ืองจากพยาบาลในชุมชนมีความเก่ียวขอ้ งกับชุมชน ผูส้ ูงอายุ และผูด้ ูแล ดังน้ัน ความรูแ้ ละวิธีการดูแลที่ถูกตอ้ ง จึงเป็ นประเด็นท่ีสาคญั สาหรบั พยาบาลในชุมชนที่จะ ใหก้ ารดูแลท้งั ระยะก่อนการวินิจฉยั โรค ระยะรบั การวินิจฉยั ว่าเป็ นภาวะสมองเสื่อม และระยะทา้ ยของชีวติ เพื่อลดภาวะแทรกซอ้ นหรือการสูญเสียชีวิตในอนาคต คาสาคญั : ผูส้ ูงอายุ, ภาวะสมองเส่ือม, พยาบาลชุมชน * อาจารยพ์ ยาบาล ภาควิชาการพยาบาลอนามยั ชุมชน วิยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิ ประสงค์

2 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม2561) Nursing care for Elderly to Prevent of Dementia within Community Witsanu Chansod M.N.S* Abstract Dementia among elderly is a regressive of brain. It impacts on elderly and caregivers due to long term suffering. This article aims to provide knowledge and cares’ strategies for the community nurses to prevent elderly’ s dementia within Thai community. Regards to registered nurses who work in community are broadly related to community, elderly, and caregivers. Knowledge and nursing strategies therefore are needed for entire care of the elderly in pre- diagnosis, diagnosis, and the end of their life with dementia. These facilitate to reduce complication and extend their quality lives in the future Keywords: elderly, dementia, community nurses * Nursing instructor, Department of Community Health Nursing, Boromarajonani College of Nursing, Sanpasithiprasong Corresponding Email: [email protected]

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 3 ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) บทนา ภาวะสมองเส่ือม (Dementia) เป็ นภาวะท่ีสมรรถภาพการทางานของสมอง ถดถอยบกพร่องในดา้ นปริชานปัญญา (Cognition) อนั ไดแ้ ก่ความจาการตัดสินใจ การวางแผน visuospatial function การใชภ้ าษาสมาธิหรือความใส่ใจความสามารถ ในการรบั รูเ้ กี่ยวกบั สังคมรอบตัวโดยมีผลกระทบต่อความสามารถในการประกอบ กิจวตั รประจาวนั และการเขา้ สงั คม ท้งั น้ ีการวนิ ิจฉยั Dementia ตอ้ งแยกออกจากภาวะ เพอ้ (Delirium) โรคซึมเศรา้ โรคทางจิตเวชเร้ ือรงั หรือวิตกกงั วลรุนแรงขณะวินิจฉยั 1 ในประชากรสูงอายุ แนวโน้มการเพ่ิมข้ ึนของภาวะสมองเส่ือมมีการเพ่ิมข้ ึนอย่าง รวดเร็ว ความชุกจะเพิ่มเป็ น 2 เท่า ในทุกๆ อายุท่ีเพ่ิมข้ ึน 5 ปี 2-3 จากการศึกษาของ Miller4 อตั ราความชุกของภาวะสมองเสื่อม ในผูส้ ูงอายุจะเพิ่มข้ ึนอย่างต่อเน่ืองเม่ือ อายุมากข้ ึน โดยกลุ่มอายุ 60-69 ปี คิดเป็ นรอ้ ยละ รอ้ ย 7.10 กลุ่มอายุ 70-79 ปี รอ้ ยละ 14.70 และกลุ่มอายุ 80 ปี ข้ ึนไป เป็ นรอ้ ยละ 32.50 สาหรบั ประเทศไทย กลุ่มอายุ 60-69 ปี คิดเป็ นรอ้ ยละ 4.8 กลุ่มอายุ 70-79 ปี รอ้ ยละ 7.7 และกลุ่ม อายุ 80 ปี ข้ ึนไป รอ้ ยละ 22.65 น้ ีแสดงว่า อายุที่เพิ่มข้ ึนจะเพ่ิมความเส่ียงต่อการเกิด โรคสมองเส่ือมดว้ ย เม่ือผูส้ ูงอายุท่ีมีภาวะสมองเส่ือมเป็ นภาวะถดถอยของสมอง ซึ่งจะพบมีการ บกพร่องท้งั ดา้ นเชาวป์ ัญญา (Cognition) ดา้ นอารมณแ์ ละ/หรือพฤติกรรม และดา้ น ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน จึงมีผลกระทบที่จะเกิดข้ ึนท้ังต่อ ผูส้ งู อายุท่ีมภี าวะภาวะสมองเสื่อม ผูด้ แู ล และสงั คม สาหรบั ผลกระทบต่อผูส้ งู อายุที่มี ภาวะภาวะสมองเสื่อม จะพบไดว้ ่ามีผลกระทบต่อระบบความจาและการใชค้ วามคิด ดา้ นต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นการใชภ้ าษาการคานวณ ความคิดริเริ่ม ความเขา้ ใจและส่งผล กระทบต่อการทางานรวมถึงการดารงชีวิตประจาวัน1 ซึ่งการถดถอยน้ ี มีการ เปลี่ยนแปลงดา้ นอารมณ์ แลว้ ทาใหเ้ กิดอารมณ์โรคซึมเศรา้ 6 บางรายอาจมีภาพ หลอน7 ในดา้ นผลกระทบต่อผูด้ ูแล จะพบว่า ผูด้ ูแลตอ้ งใหก้ ารดูแลท้งั ดา้ นระดบั เชาว์ ปัญญา การปฏิบตั ิกิจวตั รประจาวนั ภาวะอารมณแ์ ละพฤติกรรมของผูส้ ูงอายุท่ีมีภาวะ ภาวะสมองเส่ือม ส่งผลกระทบดา้ นเวลาของผูด้ ูแล เนื่องจากผูด้ ูแลส่วนใหญ่จะเป็ น ลูกหลานของผูส้ ูงอายุ และดว้ ยวฒั นธรรมของสงั คมท่ีลกู หลานตอ้ งตอบแทนบุญคุณ พอ่ แมผ่ ูม้ พี ระคุณ ผูด้ ูแลที่เป็ นลกู หลานจึงตอ้ งใหก้ ารดแู ลผูส้ ูงอายุท่ีมีภาวะภาวะสมอง เส่ือมอย่างต่อเน่ืองและยาวนาน อาจทาใหม้ ีการสะสมความเครียดในผู้ดูแลได้8 ท้ังน้ ียังพบอีกว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะภาวะสมองเสื่อมจะตอ้ งเผชิญกับความสูญเสีย

4 วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม2561) สถานภาพทางสงั คม บทบาทหน้าท่ี รวมท้งั ความสมั พนั ธก์ บั คนรอบขา้ งเนื่องจากไม่ สามารถคิดวางแผนและจดั ระบบคิดและระบบการทางาน9 ดงั น้ันเพ่ือใหเ้ กิดความเหมาะสมในการดาเนินชีวิตประจาวนั ของผูส้ ูงอายุท่ีมี ภาวะภาวะสมองเส่ือม พยาบาลในชุมชนจึงมีบทบาทที่สาคัญในฐานะบุคคลากร ทางการสุขภาพที่ใกลช้ ิดกบั ชุมชน ครอบครวั และผูส้ ูงอายุ จาเป็ นตอ้ งมีความรู้ ทกั ษะ และตอ้ งแสดงบทบาทในการดูแลผูส้ ูงอายุท่ีมีภาวะภาวะสมองเส่ือมใหไ้ ด้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อลดโอกาสการเกิดผลกระทบต่อผูส้ ูงอายุและผูด้ ูแล สาเหตแุ ละปัจจยั ของการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผสู้ ูงอายุ จากการทบทวนวรรณกรรม สามารถสรุปสาเหตุและปัจจยั ไดด้ งั น้ ี 1) จากเน้ ือสมองโดยตรง ซึ่งอาจมีภาวะสมองเสื่อมเกิดจากการเสื่อมสลาย ของเซลลป์ ระสาทในสมอง (Neurodegenerative) เช่น โรคอลั ไซเมอร์ โรคพารก์ ินสนั เป็ นตน้ หรือสมองไดร้ บั ผลกระทบจากการไดร้ บั ยานอนหลบั ยากล่อมประสาท ยา รกั ษาโรคจิต ยาตา้ นความเศรา้ กลุ่มไตรไซคลิก (Tricyclic) หรือ ยาคลายกลา้ มเน้ ือ เป็ นตน้ 10 2) จากบุคคล โดยภาวะสมองเส่ือมจะพบในอายุท่ีเพ่ิมข้ ึนของผูส้ ูงอายุ4-5 บางคร้ังผู้สูงอายุที่มีปั ญหาภาวะสุขภาพเช่น ผู้สูงอายุท่ีมีความดันโลหิตต่ามี อุบตั ิการณก์ ารเกิดภาวะสมองเสื่อมมากข้ ึน11 หรือภาวะเบาหวานในผูส้ ูงอายุมีโอกาส เกิดภาวะสมองเสื่อมถึง 2 เท่า7,12 เป็ นตน้ 3) พฤติกรรมเสี่ยง เช่น การด่ืมแอลกอฮอล์ ทาใหป้ ระสิทธิภาพการทางาน ของหน่วยความจาลดลง ทาใหม้ คี วามเส่ียงจะเกิดโรคสมองเสื่อมมากข้ นึ 13-14 หรือการ สูบบุหรี่เพ่ิมอุบตั ิการณก์ ารเกิดโรคหลอดเลือดสมองถึง 2 เท่า และเพ่ิมความเสี่ยงต่อ การเกิดภาวะสมองเส่ือม 2.28 เท่า7,12 หรือภาวะอว้ น ดว้ ยดชั นีมวลกายมากกวา่ 25 กิโลกรมั /ตารางเมตร จะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม เป็ นตน้ จากสาเหตุและปัจจยั การเกิดภาวะสมองเส่ือมในผูส้ ูงอายุ พบวา่ มหี ลากหลาย ปัจจยั ที่มีโอกาสเกิดภาวะสมองเสื่อมในผูส้ ูงอายุ ซึ่งพยาบาลในชุมชนตอ้ งสามารถ ประเมิน ใหค้ าแนะนาแก่ผูส้ ูงอายุและผูด้ ูแลตามบทบาทหน้าที่ เพื่อป้องกนั และลด โอกาสเกิดภาวะสมองเส่ือมในผูส้ ูงอายุ และมีคุณภาพชีวิตท่ีต่อไป ลกั ษณะและการประเมินภาวะสมองเสอ่ื ม ภาวะสมองเส่ือมเป็ นกลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติในการทางานของ สมอง ท่ีทาใหเ้ กิดความเส่ือมถอยของความสามารถดา้ นการรูค้ ิดอย่างต่อเน่ือง จาก

วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 5 ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) ระดับปกติท่ีเคยเป็ นอยู่และค่อนข้างมากเกินกว่าที่พบในคนสูงอายุปกติ 15 ซึ่งอาการภาวะสมองเส่ือมแบง่ ออกไดเ้ ป็ น 3 ระยะ 16 1) ระยะท่ี 1 ภาวะสมองเสื่อมระดบั เล็กน้อย (1-3 ปี ) ผูป้ ่ วยจะมีความจา บกพร่องซ่ึงสามารถเห็นไดช้ ดั ในความจาระยะส้นั ท่ีเพ่ิงเกิดข้ ึนไมน่ าน โดยเฉพาะส่ิงที่ พูดไปแลว้ ทาใหผ้ ูป้ ่ วยตอ้ งถามซ้า ญาติหรือผูด้ ูแลสามารถสงั เกตไดถ้ ึงความปกติที่ เกิดข้ ึน ผูป้ ่ วยจะจาเหตุการณใ์ นอดีตไดด้ ีกวา่ เหตุการณท์ ่ีเพิ่งเกิดข้ ึนใหม่ ผูป้ ่ วยจะเร่ิม มีปัญหาในการใช้ภาษาต้ังแต่ช่วงแรกๆของโรค มักใชค้ าไม่ถูกตอ้ ง อาจจะใชว้ ิธี อธิบายแทนที่จะเรียกช่ือออกไปเช่นเรียกทีวี ว่าตูฉ้ ายหนัง ผูป้ ่ วยจะสบั สนทิศทางซา้ ย ขวา ในช่วงน้ ีผูป้ ่ วยจะยงั สามารถดแู ลตนเองและทากิจวตั รประจาวนั ง่ายๆ ไดต้ ามปกติ แต่กิจกรรมท่ีสลบั ซบั ซอ้ น (Instrumental activities of daily living- IADL) เริ่มมีความ ผิดปกติ ผูป้ ่ วยจะรสู้ ึกถึงความผิดปกติของตน อาจทาใหแ้ ยกตวั ออกจากผูอ้ ่ืนได้ 2) ระยะท่ี 2 ภาวะสมองเส่ือมระดับปานกลาง (2-10 ปี ) ในช่วงน้ ี ความจาจะลดลง ความจาในเร่ืองอดีตที่ผ่านมาจะค่อยเสียลงไป การพูดจะมีความ ลาบากข้ ึน พูดซา้ ๆในเรื่องเดิม การดูแลตนเองจะบกพร่องโดยเฉพาะสุขลกั ษณะส่วน บุคคล เชน่ ลืมทาการแปรงฟันก่อนอยา่ งอ่ืนแลว้ จะค่อยไปถึงการตดั เล็บ สระผม และ เส้ ือผา้ การทากิจวตั รประจาวนั ท่ีซบั ซอ้ น (IADL) จะมีปัญหามากข้ นึ ผูป้ ่ วยอาจจะเห็น ภาพหลอนหรือหแู วว่ ได้ 3) ระยะที่ 3 ภาวะสมองเสื่อมข้ันรุนแรง (3-12 ปี ) เป็ นระยะ สุดทา้ ยของโรค ความจาจะเลวลงมาก จาคนใกลต้ ัวไม่ได้ ไม่สามารถดูแลตนเองได้ กลืนอาหารโดยที่ไมไ่ ดเ้ ค้ ียวอาหาร ผูป้ ่ วยจะนอนติดเตียง แขนขาเกร็งตอ้ งใหก้ ารดูแล สุขภาพทุกอยา่ ง พูดชา้ ๆ ตามท่ีไดย้ ินคนอื่นพดู ในท่ีสุดจะพูดไม่ได้ ผูป้ ่ วยจะเสียชีวิต จากปอดบวมเนื่องจากการสาลกั อาหารและน้าหรือเป็ นแผลกดทบั ระยะเวลาในการ ดาเนินโรคจะประมาณ 2-20 ปี โดยเฉล่ียผูป้ ่ วยจะมีชีวติ อยูไ่ ดป้ ระมาณ 8-10 ปี สาหรบั อาการของภาวะสมองเสื่อมที่ผูส้ ูงอายุ1 จะแสดงออกข้ ึนอยู่กบั พยาธิ สภาพของโรคท่ีเกิดข้ นึ เช่น ความผิดปกติของการสื่อสารชนิดการพูด (Aphasia) การ สูญเสียความถนัดในการทากิจกรรม (Apraxia) และความผิดปกติของการรับ ความรูส้ ึกชนิด Agnosia และนอกจากน้ ียังพบว่าการเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบ ห ล า ย แ ห่ ง ( Multi- infarct dementia- MID) จ ะ มี อ า ก า ร เ ดิ น ล า บ า ก ( Gait disturbance) และอาการควบคุมปัสสาวะลาบาก นอกจากน้ ีผูป้ ่ วยอาจมคี วามผิดปกติ ของอารมณ์และพฤติกรรม อาการแสดงทางระบบควบคุมการตึงตัวของกลา้ มเน้ ือ

6 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม2561) ชนิด Extrapyramidal system เช่น Rigidity และอาการสีหน้าไม่แสดงอารมณ์ (Facial masking) ที่เกิดข้ ึนร่วมด้วย สาหรับการบกพร่องของการรู้คิ ด (Cognitive impairment) เป็ นภาวะท่ีพบบ่อยในผูส้ ูงอายุท่ีส่งผลต่อการทางานของสมองข้นั สูงใน ภาพรวม โดยเฉพาะอย่างย่ิงกระบวนการคิดหรือกิจกรรมทางเชาว์ และดา้ นปัญญา ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงในทางที่แย่ลง ภาวะน้ ีไม่ได้เป็ นมาแต่กาเนิดแต่เกิดข้ ึน ภายหลงั จากพยาธิสภาพในสมองของผูส้ ูงอายุแต่ละบุคคล การประเมนิ ภาวะสมองเสื่อมท่ีผูส้ ูงอายุ17 จะประกอบดว้ ยการซกั ประวตั ิตรวจ รา่ งกาย การตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการเพื่อการวนิ ิจฉยั ภาวะสมองเสื่อมในผูส้ งู อายุ 1. การซักประวัติและการตรวจร่างกายทัว่ ไป การซักประวัติถือว่าเป็ น ส่ิงสาคญั ดว้ ยการพูดคุยกบั ผูส้ ูงอายุ และผูด้ ูแล เป็ นการเก็บขอ้ มูล รวบรวมความ ผิดปกติเก่ียวกบั ความจา การตดั สินใจ การวางแผน การใชภ้ าษา พฤติกรรม อารมณ์ รวมท้งั การประกอบกิจวตั รประจาวนั ของผูส้ ูอายุ ตารางท่ี 1 แนวทางในการซกั ประวตั ิ17 หวั ขอ้ ประวตั ิทต่ี อ้ งซกั ถาม ประเดน็ สาคญั ในการวินิจฉยั โรค 1. การรบั รวู้ า่ มีความจาหรือการรคู้ ิด -ส่วนใหญ่ไมร่ ตู้ วั วา่ ความจาไมด่ ี ผิดปกติ (Memory and / or cognitive หรือจาไดไ้ มด่ ีร่วมกบั Depressive impairment) symptoms 2. อาการวุน่ วายสบั สน (Mental -ถา้ มีอาการ fluctuation เป็ นกลุ่มภาวะ confusion) สมองเส่ือม เช่น encephalopathy หรือ อาจเกิดร่วมกบั บุคคลท่ีมสี มองเส่ือมอยู่ เดิม 3. ลกั ษณะอาการเมอื่ เร่ิมเป็ น -ถา้ เป็ นทนั ทีหรือเร็วใหน้ ึกถึง subdural (Onset) hematoma, CNS, Infection, 4. ลกั ษณะการดาเนินโรค (Course) Hydrocephalus -การดาเนินโรคเร็ว (วนั หรือสปั ดาห)์ ให้ นึกถึง potential reversible dementia -ถา้ การดาเนินโรคชา้ คอ่ ยเป็ นคอ่ ยไป (เดือนหรือปี ) นึกถึง Neurodegenerative disease

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 7 ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) หวั ขอ้ ประวตั ทิ ่ีตอ้ งซกั ถาม ประเดน็ สาคญั ในการวินิจฉยั โรค 5.ระยะเวลาท่ีผิดปกติ (Duration) -กลุม่ Potentially reversible dementia ระยะเวลาที่เป็ นโรคมกั จะไม่เกิน 6 เดือน 6.ความผิดปกติของ ADL -กลุ่ม Neurodegeneration disease 6.1 หนา้ ที่และงานประจา สว่ นมากระยะเวลาท่ีเป็ นมกั นานกวา่ 6 (Instrumental) เดือน 6.2 กิจวตั รประจาวนั ข้นั พ้ ืนฐาน การใชว้ สั ดุ อุปกรณท์ ่ีเคยใชไ้ ดใ้ นการ (Basic) ประกอบอาชีพหรือปฏิบตั ิภารกิจไม่ 7.ประวตั ิการใชย้ า (Drugs) และสาร ถูกตอ้ ง ซ่ึงจะผิดปกติต้งั แต่ระยะแรกของ (Substances) อ่ืนๆ โรค เชน่ การจบั จ่ายซ้ ือของ,การ ทาอาหาร 8.ประวตั ิในครอบครวั การลา้ งหนา้ การอาบน้า การแต่งกาย การใชห้ อ้ งน้า การขบั ถ่ายจะเสีย ในระยะ ทา้ ยๆ ของโรค ยาหรือสารบางชนิดทาใหม้ ีอาการ Dementia ได้ ซ่ึงเป็ น Potentially reversible type เช่น Tranquilizers, Hypnotics, Sedatives, Anticholinergic, Antihistamine รวมท้งั Toxic substance เช่น Alcohol เป็ นตน้ ผูส้ งู อายุมกั เริ่มมอี าการสมองเสื่อมที่มี อายุนอ้ ยกวา่ 65 ปี (Early onset Alzheimer’s disease) 2. การตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการ ผลเลือด เช่น CBC, Electrolyte, freeT4, TSH, Serum VDRL, Serum vitamin B12, folate เป็ นต้น หรือตรวจพิเศษ เช่น LP and CSF examination และ CT scan เป็ นตน้ จะทาใหท้ ราบถึงภาวะขาดวิตามิน การ ติดเช้ ือ และปัญหาอื่นท่ีทาใหเ้ กิดอาการสบั สนหรือการรบั รูผ้ ิดปกติในผูส้ ูงอายุ อาจ ตอ้ งตรวจหาแอลกอฮอล์ หรือสารอื่นที่มผี ลใหเ้ กิดภาวะสมองเสื่อม

8 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม2561) 3.การวนิ ิจฉยั ภาวะสมองเสื่อม สิรินทร ฉนั ศิริกาญจน10 ไดเ้ สนอแนะลกั ษณะ ของภาวะสมองเสื่อมไว้ 3 ลักษณะ คือ 1) การสูญเสีย Cognitive function (สมรรถภาพสมอง) ซึ่งไม่เป็ นมาแต่กาเนิด 2) มีการสูญเสียสมรรถภาพของสมอง หลายดา้ น และ 3) ผูป้ ่ วยจะตอ้ งรูต้ ัวดี (No impair of arousal) นอกจากน้ ี สถาบนั ประสาทวิทยา กรมการแพทย์17 ได้แนะนา ให้ใช้แบบประเมินเบ้ ืองต้น เช่น แบบทดสอบสภาพสมองเบ้ ือง ตน้ ฉบับภาษาไทย (MMSE-Thai 2002) แบบคัด กรองการตรวจหาความบกพร่องในการท างานของสมองเก่ียวกบั การคิด/ สติปัญญา (Cognitive impairment) หรือ แบบประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ (Activity of Daily Living Index, ADL Index) ซ่ึงเป็ นแบบสอบถามสาหรบั ญาติหรือผูด้ ูแลเก่ียวกบั กิจวตั รประจาวนั (ADL) ท่ีผูส้ งู อายุปฏิบตั ิในระยะ 24-48 ชวั่ โมง แนวทางการรกั ษาผสู้ ูงอายทุ ี่มีภาวะสมองเส่ือม1 1.การรักษาภาว ะ สม อ ง เส่ื อ มโ ด ยไ ม่ใช้ย า ( Non-pharmacological management) มุ่งเน้นใหผ้ ูส้ ูงอายุคงสมรรถภาพสมองไวใ้ หไ้ ดน้ านท่ีสุด ผ่านการ ช่วยเหลือการทากิจวตั รประจาวนั ดว้ ยเทคนิคแบบต่างๆ เช่น การฟ้ ื นฟูความจาใน อดีต การใหผ้ ูส้ ูงอายุทากิจกรรมที่สนใจและมีความสุข นอกจากน้ ียงั รวมถึงการจดั สิ่งแวดลอ้ มรอบตวั ผูส้ ูงอายุ การจดั การความปลอดภยั ระมดั ระวงั การเกิดอุบตั ิเหตุท้งั ภายในบา้ นและนอกบา้ น เน้นการออกกาลังกายอย่างสมา่ เสมอใหเ้ หมาะสมกับ ระยะเวลาและความรุนแรงของภาวะสมองเสื่อม และบุคคลากรสุขภาพควรจัดใหม้ ี การตรวจสุขภาพประจาปี ในผูป้ ่ วยที่มภี าวะสมองเสื่อมเช่นเดียวกบั ผูส้ ูงอายุทวั่ ไป และ ยังตอ้ งมีการภูมิคุม้ กันต่างๆอย่างเหมาะสม การใหข้ อ้ มูลท่ีจาเป็ นและสนับสนุน ทางดา้ นจิตใจและอารมณข์ องผูด้ แู ล 2. การรกั ษาโดยใชย้ า (Pharmacological management) ยาที่ใชใ้ นปัจจุบนั ยงั ไมส่ ามารถรกั ษาภาวะสมองเส่ือมใหห้ ายขาดไดห้ รือทาใหส้ มอง กลบั มาทางานเป็ น ปกติได้ ยาท่ีใชอ้ ยู่เป็ นเพียงเพื่อชะลอความเสื่อมของสมอง และช่วยใหผ้ ู้สูงอายุ สามารถช่วยเหลือตนเองในการดารงชีวิตประจาวนั ไดน้ านท่ีสุด ผูส้ ูงอายุที่มีภาวะ สมองเสื่อมตอ้ งมี ขอ้ บง่ ช้ ีในการรกั ษาดว้ ยการใชย้ า ยากลุ่มเหล่าน้ ีไมส่ ามารถนามาใช้ เพ่ือการป้องกนั ได้ ผูใ้ ชต้ อ้ ง คานึงถึงผลขา้ งเคียงของยา

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 9 ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) การพยาบาลผูส้ ูงอายุเพื่อป้องกนั ภาวะสมองเสือ่ มในชุมชน การพยาบาลผูส้ ูงอายุเพื่อป้องกนั ภาวะสมองเส่ือมในชุมชน เป็ นบทบาทหน่ึง ที่ทา้ ทายพยาบาลในชุมชน เนื่องจากผูส้ ูงอายุแต่ละรายมีความแตกต่างกนั ผูส้ ูงอายุ อาจแสดงภาวะสมองเส่ือม ไมว่ า่ จะเป็ น อารมณห์ งุดหงิด ซกั ถามเร่ืองซ้า การหลงลืม หรือการแสดงพฤติกรรมท่ีไมเ่ หมาะสม พยาบาลในชุมชนควรใหก้ ารพยาบาลโดยการ ประยุกตต์ ามระยะของภาวะสมองเส่ือม ดงั น้ ี 1. การพยาบาลก่อนการวินิจฉยั โรค พยาบาลในชุมชนสามารถท่ีจะใหก้ าร ประเมินและคดั กรองภาวะสมองเสื่อมในผูส้ ูงอายุ เพื่อช่วยป้องกนั โรค และลดจานวน ผู้สูงอายุท่ีมีภาวะสมองเส่ือมรายใหม่19 พยาบาลในชุมชนควรมีการซักประวัติ ผู้สูงอายุหรือผู้ดูแลเก่ียวกับความคิดความจา รวมท้ังปั จจัยเส่ียง เช่น การด่ืม แอลกอฮอล์ หรือ สูบบุหรี่ เป็ นตน้ พรอ้ มการสังเกตอาการบกพร่องดา้ นการรูค้ ิด สติปัญญา ความจา การใชภ้ าษา การวางแผนและการตดั สินใจ โดยการใชเ้ คร่ืองมือ ในการประเมนิ คดั กรองภาวะสมองเสื่อม เชน่ MSET และ ADL Index เป็ นตน้ นอกจาการการประเมินและคดั กรองภาวะสมองเสื่อมในผูส้ ูงอายุของพยาบาล ในชุมชนแลว้ พยาบาลในชุมชนยงั สามารถส่งเสริมความรูค้ วามเขา้ ใจใหผ้ ูส้ ูงอายุและ ผูด้ ูแลเกี่ยวกับภาวะสมองเสื่อมในผูส้ ูงอายุ รวมท้ังการป้องกันการเกิดภาวะสมอง เสื่อมจากนวตั กรรม ไดแ้ ก่ การออกกาลงั กายอย่างสมา่ เสมอ การทากิจกรรมภายใน บา้ นรว่ มกนั การใชเ้ กมฝึกสมอง หรือใชแ้ อพพิเคชนั่ เพื่อป้องกนั สมองเส่ือม20-21 2. การพ ยาบาลผู้สูงอายุ ท่ี รับการวินิ จฉัยว่ามีภาวะสม อง เ สื่ อ ม มีวตั ถุประสงคห์ ลกั เพ่ือใหพ้ ยาบาลในชุมชนสามารถดูแลและใหก้ ารพยาบาลผูส้ ูงอายุ ที่มภี าวะสมองเส่ือมไม่ใหร้ ะดบั อาการรุนแรงเพิ่มข้ ึน ดว้ ยการใหข้ อ้ มูล และคาแนะนา สาหรบั ผูส้ ูงอายุท่ีมีภาวะสมองเส่ือมและผูด้ ูแล เกี่ยวกบั สาเหตุ ปัจจยั อาการ และ การดูแลรกั ษา รวมท้งั การทากิจกรรมเพื่อเพ่ิมหรือกระตุน้ ความคิดและความจา22-23 และการจดั สิ่งแวดลอ้ มใหถ้ ูกสุขลกั ษณะ เพ่ือความปลอดภยั จากอุบตั ิเหตุต่อผูส้ ูงอายุ จดั สิ่งอานวยความสะดวกใหแ้ ก่ผูส้ ูงอายุ24 รวมท้ังส่งเสริมใหก้ าลังใจสาหรับผูด้ ูแล เน่ืองจากผูแ้ ลอาจขาดความรูใ้ นการดแู ล รสู้ ึกผิด และส่วนใหญ่ตอ้ งใชเ้ วลามากในการ ดูแลผู้สูงอายุท่ีมีภาวะสมองเส่ือม25 ทาใหเ้ กิดความเครียดในระหว่างการดูแลได้ พยาบาลในชุมชนสามารถส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมท่ีบ้านร่วมกับการผ่อนคลาย กลา้ มเน้ ือแบบกา้ วหนา้ เพ่ือลดภาวะเครียดของผูด้ แู ลผูส้ ูงอายุท่ีมภี าวะสมองเส่ือมได2้ 6

10 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม2561) 3. การพยาบาลผูส้ ูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมในระยะทา้ ยของชีวิต ระยะน้ ี ผูส้ ูงอายุจะมีความจาน้อยมาก จาคนใกลต้ ัวไม่ได้ และไม่สามารถดูแลตนเองได้ รวมท้งั มีภาวะแทรกซอ้ นจากการนอนนาน เช่น อาการปวด แผลกดทบั หรือ ติดเช้ ือ เป็ นตน้ พยาบาลในชุมชนควรแสดงบทบาทการดูแลแบบประคับประคอง19 เช่น การประเมินปวด การดูแลใหร้ ับยาบรรเทาปวดหรือการลดการติดเช้ ือ การทาความ สะอาดแผล การทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ การพลิกตะแคงตัว เป็ นต้น นอกจากน้ ีการสนั สรรคน์ วตั กรรมเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและลดภาวะแทรกซอ้ น ใหก้ บั ผูส้ ูงอายุที่มีภาวะสมองเส่ือมในระยะทา้ ยของชีวิตได้ เช่น การผลิตเตียงสาหรบั ผูป้ ่ วยท่ีนอนนานเพ่ือลดแผลกดทบั 27-28 และการแสดงบทบาทของพยาบาลในชุมชน เกี่ยวกบั การประสานกบั ทีมสุขและหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งในการดูแลผูส้ ูงอายุในระยะ สุดทา้ ย เช่น การตรวจเย่ียมสุขภาพผูส้ ูงอายุท่ีบา้ นของทีมสุขภาพ การประสานงาน ระหว่างผูด้ ูแล ผู้นาชุมชน ผูน้ าศาสนา รวมท้ังการประกนั ชีวิต เป็ นตน้ นอกจากน้ ี พยาบาลตอ้ งมีบทบาทสาคญั ทางความรูส้ ึกและจิตวิญญาณ ดว้ ยการรบั ฟังเร่ืองราว ของผูส้ ูงอายุท่ีมีภาวะสมองเส่ือมในระยะทา้ ยของชีวิต และผูด้ ูแล ดว้ ยการเปิ ดโอกาส ใหผ้ ูส้ ูงอายุและผูด้ ูแลไดร้ ะบายความคิดความรูส้ ึก ช่วยสะทอ้ นความคิดของผูส้ ูงอายุ และผูด้ ูแลมากข้ ึน คน้ หาแหล่งของความหวงั และกาลังใจหรือแหล่งสนับสนุนมิติจิต วิญญาณ เพื่อส่งเสริมความคิดและความรูส้ ึกในมิติจิตวิญญาณของผูส้ งู อายุและผูด้ แู ล อยา่ งมคี ุณค่าย่ิงข้ นึ สรุป ผู้สูงอายุกับภาวะสมองเส่ือมเป็ นปัญหาท่ีสังคมปัจจุบันกาลังเผชิญ ซึ่งมี ผลกระทบท้ังผูส้ ูงอายุและผู้ดูแล พยาบาลในชุมชนจึงบุคคลหนึ่งท่ีบทบาทสาคัญ ในดูแลผูส้ ูงอายุเพ่ือป้องกนั ภาวะสมองเส่ือม ดว้ ยการมีความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั สาเหตุ อาการ ลกั ษณะ และการดแู ลรกั ษาผูส้ ูงอายุอาจจะมีหรือเป็ นภาวะสมองเส่ือม แลว้ เพื่อใหก้ ารดูแลผูส้ ูงอายุในระยะก่อนการวินิจฉยั โรค เป็ นการป้องกนั ภาวะสมอง เสื่อม ระยะรบั การวินิจฉัยว่าเป็ นภาวะสมองเส่ือม เป็ นลดการเพิ่มการมีภาวะสมอง เส่ือม และระยะทา้ ยของชีวิต เพื่อประคบั ประคองผูส้ ูงอายุที่มภี าวะสมองเส่ือมอย่างมี คุณภาพชีวติ ต่อไป

วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 11 ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) เอกสารอา้ งองิ 1. สถาบนั ประสาทวทิ ยา กรมการแพทย.์ แนวทางเวชปฏิบตั ิภาวะสมองเสื่อม. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนาเพรส จากดั ; 2557. 2. Korolev I O. Alzheimer’s disease: a clinical and basic science review. Med Student Res J 2014;4:24-33. 3. Alzheimer's Disease International. Policy brief for G8 heads of government. The global impact of dementia 2013-2050. London: Alzheimer's disease International; 2013. 4. Miller C A. Nursing for wellness in older adults. 5th ed. New York: Lippincott; 2009. 5. วชิ ยั เอกพลากร. รายงานสารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย คร้งั ที่ 5 พ.ศ. 2557. นนทบุรี: สถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณสุข; 2557. 6. ปวีณา นพโสตร และ รงั สิมนั ต์ สุนทรไชยา. ผลของโปรแกรมเสริมสรา้ ง ความหวงั แบบครอบครวั มสี ่วนรว่ มต่อภาวะซึมเศรา้ ของผูป้ ่ วยโรคซึมเศรา้ วยั สงู อายุ. วารสารพยาบาลตารวจ 2558;7:84-94. 7. สิรินทร ฉนั ศิริกาญจน. ตาราเวชศาสตรผ์ ูส้ งู อายุ. สถาบนั เวชศาสตรผ์ ูส้ งู อายุ กรมการแพทยก์ ระทรวงสาธารสุข; 2551. 8. พาวุฒิ เมฆ, สุรินทร์ แซ่ตงั . ผลกระทบจาการดูแลผูป้ ่ วยภาวะสมองเสื่อมใน ประเทศไทย. วารสารสมาคมจิตแพทยแ์ ห่งประเทศไทย 2556;58:101- 10. 9. สมจินตโ์ ฉมวฒั นะชยั , และสมฤดีเนียมหอม. การศึกษาสภาพปัญหาในการ ดูแลผูส้ ูงอายุภาวะสมองเสื่อมในชุมชนจงั หวดั นนทบุรี. สถาบนั เวชศาสตร์ ผูส้ งู อายุกรมการแพทยก์ ระทรวงสาธารสุข; 2552. 10.สิรินทร ฉนั ศิริกาญจน. สมองเสื่อม. เอกสารโรเนียวประกอบการประชุม ณ โรงแรมมารวยการเ์ ดน้ ท์ วนั ท่ี 2-6 พฤศจิกายน 2558; 2558. 11.Richard E, Ligthart S A, Moll van Charante E P, vanGool W A. Vascular risk factors and dementia-towards prevention strategies. Neth J Med 2010;68:284-90.

12 วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม2561) 12.Srisuwan P. Primary prevention of dementia: Focus on modifiable risk factors. J Med Assoc Thai 2013;96:251-8. 13.Ganguli M, Snitz BE, Lee C W, Vanderbilt J, Saxton J A, Chang CC. Age and education effects and norms on a cognitive test battery from a population-based cohort: The Monongahela–Youghiogheny Healthy Aging Team. Aging Ment Health 2010;14:100-7. 14.Poltavski DV, Marino JM, Guido JM, Kulland A, Petros TV. Effects of acute alcohol intoxication on verbal memory in young men as a function of time of day. Physiol Behav 2011;102:91-5. 15.Alzheimer’s Association. Alzheimer’s disease facts and figures. Alzheimers Dement 2010;6:158-94. 16.อุดม ภ่วู โรดม. “ภาวะสมองเส่ือม” พบในผูส้ งู อายุมากสุด [อินเตอรเ์ น็ต]. 2559. [เขา้ ถึงเมื่อ 3 พ.ค. 2561] เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.hfocus.org/content/2015/04/9712 17.สถาบนั ประสาทวิทยา กรมการแพทย.์ แนวทางเวชปฏิบตั ิภาวะสมองเสื่อม. กรุงเทพมหานคร: ธนาเพลส จากดั ; 2557. 18.กมั มนั ต์ พนั ธุมจินดาและศรีจิตรา บุนนาค. สมองเส่ือม: โรคหรือวยั . พิมพ์ ครง้ั ที่ 3. กรุงเทพฯ: โครงการจดั พิมพค์ บไฟ; 2543. 19.Muangpaisan W. Dementia: prevention, assessment and care. 1sted. Bangkok: Department of Preventive and Social Medicine Faculty of Medicine Siriraj Hospital; 2013. 20.Huné -Boyle ICV, Iliffe S, Cerga-Pashoja A, Lowery D, Warner J. The effectof exercise on behavioral and psychological symptoms of dementia: towards a research agenda. Int Psychogeriatr 2012; 24:1046-57. 21.อนงค์ ภิบาล, วภิ ารตั น์ จนั ทรแ์ สงรตั น์, ประเสริฐ ไพบลู ยร์ ุ่งโรจน์. การพฒั นานวตั กรรมแอนิเมชนั่ เพ่ือป้องกนั ภาวะสมองเส่ือมของผูส้ ูงอายุโดย ใชห้ ลกั มติ ิจิตวิญญาณ ตามวิถีมุสลิมสุด [อินเตอรเ์ น็ต]. 2559 [เขา้ ถึงเมื่อ 10 พ.ค. 2561] เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://rms.pnu.ac.th/rdbms/ fulltext/101117_111021f.pdf

วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 13 ปี ที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) 22.พชั ราภณั ฑ์ ไชยสงั ข,์ สงั ข์ นุชจรีรตั น์ ชูทองรตั น์, ปัญจภรณ์ ยะเกษม. ปัจจยั ท่ีเป็ นตวั ทานายภาวะสมองเสื่อมของผูส้ ูงอายุในชุมชน [อินเตอรเ์ น็ต]. 2555 [เขา้ ถึงเมื่อ 10 พ.ค. 2561] เขา้ ถึงไดจ้ าก: www.stic.ac.th/ inter/main/th/about/prevision_factors_of_dementia_in_elderly.pdf. 23.พชั ญพ์ ิไล ไชยวงศ,์ เพื่อนใจ รตั ตากร, พีรยา มนั่ เขตวทิ ย.์ ผลของโปรแกรม ฝึกความคิดความเขา้ ใจต่อความสามารถดา้ นความคิดความเขา้ ใจและ คุณภาพชีวิตของผูส้ งู อายุท่ีสงสยั วา่ มีภาวะสมองเส่ือม. วารสารเทคนิค การแพทยเ์ ชียงใหม่ 2558;48:182-91. 24.สานักอนามยั ส่ิงแวดลอ้ ม. คู่มือโครงการบา้ นสะอาด อนามยั ดี ชีวสี มบรู ณ.์ นนทบุรี: สานักอนามยั ส่ิงแวดลอ้ ม กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข; 2559. 25.Hong G-R S, Kim H. Family caregiver burden by relationship to care recipient with dementia in Korea. Geriatr Nurs 2008;29:267-74. 26.กานดา วรคุณพิเศษ, ศิริพนั ธุ์ สาสตั ย.์ ผลของโปรแกรมการจดั สิ่งแวดลอ้ มที่ บา้ นร่วมกบั การผ่อนคลายกลา้ มเน้ ือแบบกา้ วหนา้ เพื่อลดภาวะเครียดของ ผูด้ แู ลผูส้ งู อายุที่มภี าวะสมองเสื่อม. วารสารเก้ ือการุณย์ 2558;22: 82-97. 27.ภดู ิศ สะวิคามิน. ที่นอนลมที่ผลิตจากถุงน้ายาลา้ งไตเพื่อป้องกนั แผลกดทับ. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2559;2:456-63. 28.ปัญญภทั ร ภทั รกณั ทากุล. ผลของการใชน้ วตั กรรมท่ีนอนยางรถเพ่ือป้องกนั แผลกดทบั ในผูป้ ่ วยท่ีมคี วามเสียงต่อการเกิดแผลกดทบั . วารสารพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข 2555;22:48-60.

ผลการส่งเสริมสุขภาพของผูส้ ูงอายดุ ว้ ยสุข 5 มิติ โรงเรียนผสู้ ูงอายนุ าผาง ตาบลหว้ ย อาเภอปทุมราชวงศา จงั หวดั อานาจเจริญ ทนงศกั ด์ิ มลุ จนั ดา พย.ม.1* ทตั ภณ พละไชย พย.ม.2 บทคดั ยอ่ สถานการณแ์ ละสดั ส่วนของผูส้ ูงอายุมีการเพ่ิมข้ ึนอยา่ งต่อเนื่อง สว่ นใหญ่เป็ น ผูส้ ูงอายุกลุ่มติดสงั คม ท่ีสามารถดาเนินชีวิตดว้ ยตนเองได้ ดังน้ันการดูแลส่งเสริม สุขภาพเป็ นส่ิงสาคญั เพ่ือใหผ้ ูส้ ูงอายุกลุ่มติดสงั คมไดร้ บั การดูแลที่เหมาะสม ไมเ่ กิด ภาวะพึ่งพาในอนาคตต่อไป การวิจยั ในคร้งั น้ ีเป็ นการวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive study) เพื่อศึกษาผลการส่งเสริมสุขภาพของผูส้ ูงอายุดว้ ยสุข 5 มิติ โรงเรียนผูส้ ูงอายุ นาผาง ตาบลหว้ ย อาเภอปทุมราชวงศา จงั หวดั อานาจเจริญ ระหว่างเดือนธนั วาคม 2559 ถึง เดือนเมษายน 2560 เลือกกลุ่มตัวอย่างเป็ นผูส้ ูงอายุ แบบเฉพาะเจาะจง จานวน 95 คน ดาเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผูส้ ูงอายุดว้ ย สุข 5 มิติ โรงเรียน ผูส้ ูงอายุนาผาง 3 วิชา ไดแ้ ก่ วิชาการดูแลสุขภาพและนันทนาการ (สุขสบาย, สุข สนุก) วิชาภาษาและวฒั นธรรม (สุขสง่า, สุขสว่าง) วิชาพระพุทธศาสนา (สุขสงบ) วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยสถิติเบ้ ืองตน้ คือ รอ้ ยละ ผลการวิจัยพบว่า หลังการเขา้ ร่วมกิจกรรมโรงเรียนผูส้ ูงอายุ ส่วนใหญ่มี ความสุขในภาพรวมคะแนนอยูใ่ นระดบั ดีมาก (รอ้ ยละ 48.42) รองลงมาอยู่ในระดบั ดี (รอ้ ยละ 35.79) พฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพลดลงจากระดบั ความเสี่ยงปานกลาง เป็ นระดับความเสี่ยงตา่ มีจานวนมากท่ีสุด (รอ้ ยละ 41.05) ผู้สูงอายุท้ังหมดมี ความสามารถในการทากิจวตั รประจาวนั เป็ นกลุ่มติดสงั คม พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือ ผูอ้ ่ืน ชุมชนและสงั คมได้ (รอ้ ยละ 100) และประเมนิ สุขภาพช่องปากและฟันภายหลงั ได้เขา้ ร่วมกิจกรรมและรับบริการทางทันตกรรม พบว่า ดีข้ ึน (รอ้ ยละ 71.58) 1พยาบาลวชิ าชีพปฏบิ ตั ิการ รพ.สต. นาผาง อ.ปทุมราชวงศา จ.อานาจเจริญ 2พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ตั ิการ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ *Corresponding Email: [email protected]

15 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) ผู้สูงอายุท้ังหมดไม่มีภาวะซึมเศรา้ (รอ้ ยละ 100) และผู้ที่มีปัญหาสมองเส่ือมมี จานวนลดลง (รอ้ ยละ 1.05) และพบวา่ การคดั กรองภาวะหกลม้ ในผูส้ ูงอายุกลุ่มไม่มี ความเส่ียงมจี านวนเพิ่มมากข้ นึ (รอ้ ยละ 78.97) และกลุม่ ท่ีมีความเส่ียงใหค้ าแนะนา การรกั ษามีจานวนลดลง (รอ้ ยละ 21.05) ผลการศึกษาคร้งั น้ ีมีขอ้ เสนอแนะใหม้ ีการ ปฏิบตั ิกิจกรรมในระยะเวลาท่ียาวนานข้ ึนและใหม้ ีการประเมินผล ติดตามการจัด กิจกรรมเป็ นระยะในทุก 1 เดือน เพ่ือประเมินในสิ่งหรือผลลัพธ์ท่ีเปล่ียนแปลงได้ ชดั เจน คาสาคญั : การสง่ เสริมสุขภาพ, ผูส้ ูงอายุ, สุข 5 มิติ

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 16 ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) The Effects of Promoting the Health of the Elderly with Five Dimensions of Happiness Na Phang Elderly School, Huai Subdistrict, Patumratwongsa District Amnat Charoen Province Thanongsak Munchanda M.N.S.1 Tattapon Palachai M.N.S. 2 Abstract The situation and proportion of the elderly has increased. Most of the elderly are social groups. Health promotion is important. For the elderly, social groups to receive proper care, no future dependency. This is a descriptive research to study the effects of health promotion of the elderly with a 5-dimensional happiness at Nampang Elderly School, Huai Subdistrict, Pathum Ratchawongsa District, Amnat Charoen Province. Selected sample groups were specifically elderly 95 people performed health promotion activities for the elderly with happiness in five dimensions, studying between December 2016 and April 2017. The elderly school Nampang had three subjects including namely health and recreation care (Suk Sabai, Suk Sanook), language and culture subjects (Sukasala, Suk Sawang), Buddhism subjects (Suk sa-ngob). Analyze data were percentage. After joining the elderly school activities, the results showed most were happy in the overall. The level of the happiness scores were very good (48.42 %) and good (35.79 %). Their health risk behavior decreased from moderate to low risk levels ( 41. 05% ) . All of the elderly had the ability to do daily activities, be in social integration, being self-reliant, and help others (100%). Moreover, they had good dental health(71.58%) after assessing oral and teeth, no depression, (100%), demented decrease (1.05%). The fall screening in the elderly group had no increased risk (78.97%) and decreased for treatment in the risk group (21.05%).

17 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) The study suggested that a longer period for the activities and follow-up for evaluation in each month will be recommended for the better outcome. Keyword: promoting the health, elderly, 5 dimensions of happiness.

วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 18 ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) บทนา สถานการณผ์ ูส้ ูงอายุไทยในปี 2559 มีจานวนผูส้ ูงอายุ ราว 11 ลา้ นคน หรือ คิดเป็ นรอ้ ยละ 16.5 และสัดส่วนผูส้ ูงอายุจะเพิ่มข้ ึนอย่างต่อเน่ือง คาดว่าจานวน ผูส้ ูงอายุไทยจะเพิ่มเป็ นรอ้ ยละ 21 และ 24 ของประชากรราวในอีกสิบและสิบสี่ปี ขา้ งหน้าตามลาดบั และสงั คมไทยจะกา้ วสู่ “สงั คมสูงอายุอยา่ งสมบรูณ”์ ตามนิยาม ของสหประชาชาติในปี พ.ศ. 2564 และในปี พ.ศ. 2575 ประเทศไทยจะเขา้ สู่ “สงั คมสูงอายุสุดยอด”1 สดั ส่วนของผูส้ ูงอายุวยั ปลายก็มีแนวโนม้ เพ่ิมข้ ึนเช่นกนั อายุ คาดเฉล่ียของผูห้ ญิงไทยอยู่ท่ี 78.6 ปี ในขณะท่ีชายไทยอายุเฉล่ีย 71.8 ปี 2 และจาก การประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุจานวน 6,394,022 คน ในปี 2558 โดย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า รอ้ ยละ 79 คือ ผูส้ ูงอายุติดสงั คมหรือกลุ่มวยั ช่วยเหลือ ตวั เองได้ ทากิจกรรมต่างๆไดแ้ ละอีกรอ้ ยละ 21 คือ ผูส้ ูงอายุท่ีอยูใ่ นภาวะพ่ึงพิงหรือ เรียกว่ากลุ่มติดบา้ นติดเตียง และตอ้ งการดูแลท้งั ดา้ นสุขภาพและสงั คม รฐั บาลได้ มุ่งเน้นในการดูแลผูส้ ูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิง ท้ังกลุ่มติดบา้ น และกลุ่มติดเตียง โดยมี เป้าหมายคือทาอย่างไรจะป้องกนั ไม่ใหผ้ ูส้ ูงอายุท่ียงั แข็งแรงมีการเจ็บป่ วยจนตอ้ งอยู่ ในภาวะพึ่งพิง และทาอยา่ งไรผูส้ ูงอายุท่ีอยใู่ นภาวะพ่ึงพิงไดร้ ยั การดูแลอยา่ งเหมาะสม ส่งผลใหผ้ ูส้ ูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในสงั คมอยา่ งมีศกั ด์ิศรีเขา้ ถึงบริการอย่างถว้ น หนา้ และเท่าเทียม เป็ นการสรา้ งสงั คมแหง่ ความเอ้ ืออาทร เพื่อสงั คมไทยสงั คมผูส้ ูงวยั เขา้ ใจ เขา้ ถึง พึ่งได้ ผูส้ ูงอายุมีคุณค่า มีศกั ด์ิศรี เป็ นหลกั ชยั ของสงั คมและมีคุณภาพ ชีวติ ท่ีดี จากขอ้ มลู ดงั กล่าวสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความจาเป็ นท่ีจะตอ้ งเตรียมความพรอ้ มใน ระบบบริการทางสงั คมและสุขภาพ เพ่ือใหผ้ ูส้ ูงอายุเขา้ สู่ภาวะสูงอายุอย่างมีคุณภาพ ชีวิตที่ดี และคงไวซ่ึงภาวะสุขภาพท่ีดี เช่ือมโยงทุกมิติของการพฒั นาแบบบูรณาการ ท้งั บุคคล สงั คม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอ้ ม และการเมือง เพ่ือสรา้ งภูมิคุม้ กนั ใหพ้ รอ้ ม เผชิญการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ ึนท้งั ในระดบั ปัจเจกบุคคล ครอบครวั ชุมชน สงั คม และ ประเทาติ ใหค้ วามสาคญั ต่อการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วน3 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลนาผาง ตาบลหว้ ย อาเภอปทุมราชวงศา จงั หวดั อานาจเจริญ ปี 2560 มีประชากรผูส้ ูงอายุ 655 คน รอ้ ยละ 12.27 จากการ สารวจขอ้ มูลผูส้ ูงอายุตามตามความสามารถในการประกอบกิจวตั รประจาวนั (ADL) แยกกลุ่มผูส้ ูงอายุเป็ นติดสงั คม รอ้ ยละ 98.17 ติดบา้ น รอ้ ยละ 1.83 และไม่มีผูป้ ่ วย ติดเตียง จากการวเิ คราะหส์ ถานการณปัญหาของผูส้ ูงอายุมีแผนงานพฒั นาระบบการ

19 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) ดูแลระยะยาวตามองค์ประกอบในการประเมิน/คัดกรองสุขภาพการพฒั นาชมรม ผูส้ ูงอายุอบรม care manager และcare giver ซ่ึงใหก้ ารดูแลผูส้ ูงอายุในกลุ่มติดบา้ น ติดเตียง สว่ นผูส้ งู อายุกลุม่ ติดสงั คม ยงั ไมไ่ ดม้ ีรปู แบบการดแู ล หรือส่งเสริมสุขภาพท่ี เป็ นรูปธรรม ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยสุข 5 มิติ4 โรงเรียนผูส้ ูงอายุนาผาง ตาบลหว้ ย อาเภอปทุมราชวงศา จังหวดั อานาจเจริญ ซึ่ง เกี่ยวขอ้ งกบั ตวั บุคคลและคณะบุคคลซึ่งเป็ นกลุ่มทางสงั คมเนน้ การปัญหาในบริบทที่มี ลกั ษณะเพื่อกาหนดทิศทางปฏิบตั ิ ประเมินผล เป้าหมาย การพฒั นากลไกการบิหาร จดั การตามแนวทางของเครือข่ายสุขภาพระดบั อาเภอ (DHS) ผูส้ ูงอายุและผูต้ อ้ งการ พ่ึงพาไดร้ บั การดูแลท้ังในชุมชนและที่บา้ นเป็ นงานสาคญั ลาดับแรกท่ีจะตอ้ งอาศยั ความรูท้ ้งั สาม คือ 1) การสรา้ งองคค์ วามรูท้ างวิชาการท่ีถูกตอ้ ง 2) การเคลื่อนไหว ทางสังคมจะตอ้ งอาศัยความรูเ้ ป็ นพ้ ืนฐานต้องดึงประชาชนเขา้ มามีส่วนร่มและ 3) การดึงฝ่ ายการเมืองหรืออานาจรฐั เขา้ มามีส่วนร่วมในการผลกั ดนั สะทอ้ นถึงปรชั ญา ของกฎหมายท่ีส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสงั คมในการกาหนดนโยบายสาธารณะ ที่ ตอ้ งมีความร่วมมือกันพฒั นาการดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายุระยะยาว (Long Term care : LTC) ผ่านกระบวนการข้นั ตอนการสรา้ งแผนทางเดินยุทธศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาการมี ส่วนร่วมของชุมชนประกอบดว้ ย 4 ข้นั ตอนในการดาเนินงาน ดงั น้ ี 1) การสรา้ งทีม แกนนา เป็ นทุนทางสังคมที่สาคัญของชุมชนเร่ิมต้ังแต่การคน้ หาแกนนาการเปิ ด โอกาสการเขา้ ร่วมแบบจิตอาสา 2) กระบวนการคน้ หาปัญหาและความตอ้ งการ 3) การออกแบบกิจกรรมดูแลผูส้ ูงอายุภายใตแ้ นวคิดการพฒั นาศกั ยภาพการดูแลตนเอง ของผูส้ ูงอายุผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมในเวทีประชาคมการประชุมร่วมกันเพ่ือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กาหนดเป้าหมาย วางแผน ดาเนินงาน 4) กระบวนการพัฒนา ขอ้ ตกลงร่วมกนั ในการดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายุอยา่ งยงั่ ยืนในระดบั พ้ ืนท่ี5 เพ่ือใหผ้ ูส้ ูงอายุ กลุ่มติดสงั คมไดร้ บั การดูแลส่งเสริมสุขภาพท่ีเหมาะสม ไม่เกิดภาวะพึ่งพาในอนาคต ต่อไป วตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั เพื่อศึกษาผลการส่งเสริมสุขภาพของผูส้ ูงอายุดว้ ยสุข 5 มิติ โรงเรียนผูส้ ูงอายุ นาผาง ตาบลหว้ ย อาเภอปทุมราชวงศา จงั หวดั อานาจเจริญ

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 20 ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) กรอบแนวคิดการวิจยั ใชแ้ นวคิดการส่งเสริมสุขภาพ ร่วมกบั การสรา้ งสุข 5 มิติ6 คือ สุขสบาย สุข สนุก สุขสว่าง สุขสง่า และสุขสงบ ในการการส่งเสริมสุขภาพของผูส้ ูงอายุ โดยการจดั กิจกรรมโรงเรียนผูส้ ูงอายุ เพ่ือส่งเสริมสุขภาพผูส้ ูงอายุใน 3 วิชา ไดแ้ ก่ วิชาการดูแล สุขภาพและนันทนาการ วิชาการภาษาสงั คมและวฒั นธรรม และวิชาพระพุทธศาสนา ดงั น้ ี ปัจจยั นาเขา้ (Input) กระบวนการ (Process) - ขอ้ มูลทวั่ ไปของผสู้ งู อายุ - โรงเรียนผสู้ งู อายุนาผาง สปั ดาหล์ ะ 1 คร้งั - การประเมนิ พฤติกรรมเส่ียงดา้ นสุขภาพ (3 ชวั่ โมง) - การประเมินความสามารถในการทากิจวตั ร - การเรียนการสอน 3 วชิ า การดูแลสุขภาพและ ประจาวนั นันทนาการ (สุขสบาย, สุขสนุก) ภาษาสงั คมและ - การประเมนิ สุขภาพช่องปากและฟัน วฒั นธรรม (สุขสงา่ , สุขสนุก) พระพทุ ธศาสนา - ภาวะซมึ เศรา้ (สุขสงบ) - ภาวะสมองเส่ือม - ภาวะหกลม้ - แบบวดั ความสุข ผลลพั ธ์ (Output) การเปลี่ยนแปลงของผลการประเมนิ พฤติกรรมเสี่ยงดา้ นสุขภาพ, ความสามารถในการทากจิ วตั รประจาวนั , สุขภาพชอ่ งปากและฟัน, ภาวะซึมเศรา้ , ภาวะสมองเส่ือม, ภาวะหกลม้ , แบบวดั ความสุข ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดการวิจยั วิธีดาเนินการวิจยั การวิจยั ในคร้งั น้ ีเป็ นการวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive study) เพื่อศึกษา ผลการส่งเสริมสุขภาพของผูส้ ูงอายุดว้ ยสุข 5 มิติ โรงเรียนผูส้ ูงอายุนาผาง ตาบลหว้ ย อาเภอปทุมราชวงศา จังหวดั อานาจเจริญ ระหว่างธันวาคม 2559 – พฤษภาคม 2560 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ ผสู้ ูงอายุ หมายถึง บุคคลท้งั ชายและหญิงท่ีมีอายุต้งั แต่ 60 ปี ข้ นึ ไป ที่เขา้ ร่วมกิจกรรมโรงเรียนผูส้ ูงอายุนาผาง โรงเรียนผูส้ ูงอายุ หมายถึง การดาเนินกิจกรรมของกลุ่มผูส้ ูงอายุบา้ น นาผาง ที่มกี ารรวมกลุม่ เพ่ือดาเนินกิจกรรม ณ โรงเรียนผูส้ งู อายุนาผาง

21 วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) สุข 5 มิติ หมายถึง การดาเนินกิจกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกับความสุขเชิง จิตวิทยาในผูส้ ูงอายุ 5 มิติ ไดแ้ ก่ สุขสบาย สุขสนุก สุขสง่า สุขสว่าง และสุขสุขสงบ ใหก้ ับผู้สูงอายุ โดยเน้นการสรา้ งคุณค่า การสรา้ งความตระหนักถึงศักยภาพของ ผูส้ ูงอายุโดยตวั ผูส้ งู อายุ ผลการส่งเสริมสุขภาพของผูส้ ูงอายุดว้ ยสุข 5 มิติ หมายถึง ผลการ ประเมนิ ภาวะสุขภาพผูส้ ูงอายุหลงั เขา้ ร่วมกิจกรรม 3 เดือน ดว้ ย แบบคดั กรองความ เสี่ยงต่อสุขภาพ, แบบประเมินความสามารถในการทากิจวตั รประจาวนั (ADL), แบบ ประเมินสุขภาพช่องปากและฟัน, แบบคัดกรองภาวะซึมเศรา้ , แบบประเมินภาวะ สมองเส่ือม, แบบประเมนิ ภาวะหกลม้ และแบบวดั ความสุข ข้นั ตอนการวิจยั 1. ข้นั เตรียมการ 1) ศึกษาความรูต้ ่างๆ จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ ง เอกสาร ตารา งานวิจัยที่เกี่ยวกับการมีส่วนร่วม รวมท้ังงานวิจยั ที่ปรบั เปลี่ยนเพ่ือ นามาใชใ้ นการดาเนินกิจกรรม 2) สารวจขอ้ มูลพ้ ืนฐานและการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ร่วมกบั ผูน้ า ชุมชนและอาสาสมคั รสาธารณสุขในดา้ นต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ส่ิงแวดลอ้ ม โครงสรา้ งชุมชน พฤติกรรมสุขภาพ ทุนทางสงั คม 3) จดั ประชุมเครือข่ายผูม้ ีส่วนร่วมในบา้ นนาผางวิเคราะหป์ ัญหา การดาเนินงานผูส้ ูงอายุของบา้ นนาผาง 4) จัดประชุมตัวแทนกลุ่มผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทราบ สถานการณผ์ ูส้ ูงอายุ ในภาพรวมและเพื่อทราบความตอ้ งการของผูส้ ูงอายุในโรงเรียน ผูส้ งู อายุบา้ นนาผาง 2. ข้นั การดาเนินงาน 1) วิเคราะห์สถานการณ์ท่ี เป็ นจริ งทาความเข้าใจปั ญ ห า กลุ่มเป้าหมายอย่างเป็ นทางการเพ่ือช้ ีแจงวตั ถุประสงค์ และแนวทางการดาเนินการ วิจยั ทบทวนความเป็ นมาเชื่อมโยงสถานการณ์ที่เป็ นจริงกบั สภาพปัญหาในปัจจุบนั ปัญหาการดาเนินงานผูส้ ูงอายุ ผลกระต่อผูส้ ูงอายุในชุมชน การส่งเสริมภาวะสุขภาพ ของผูส้ งู อายุดว้ ยสุข 5 มติ ิ ในโรงเรียนผูส้ ูงอายุนาผาง 2) การดาเนินงานโรงเรียนผูส้ ูงอายุบา้ นนาผาง ดว้ ยสุข 5 มิติ การ ประชุมแบบมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ เพ่ือกาหนดประเด็นปั ญหาจัดลาดับ

วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 22 ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) ความสาคัญของปัญหา คน้ หาสาเหตุ กาหนดแนวทางการแกป้ ัญหาการดาเนิน โรงเรียนผูส้ ูงอายุ กาหนดรายละเอียดกิจกรรมโครงการเพื่อนาไปสู่การปฏิบตั ิ ระดม ความคิดในการคน้ หา แนวทาง กิจกรรม ตารางที่ 1 กิจกรรมโรงเรียนผูส้ งู อายุนาผาง โรงเรียนสรา้ งสุข 5 มิติ กิจกรรมสรา้ งสขุ 5 มติ ิ กิจกรรมที่มีการดาเนินงาน สุขสบาย - การบริหารร่างกาย - การยดื เหยยี ดกลา้ มเน้ ือ - การดาเนินกิจวตั รประจาวนั สุขสนุก - กิจกรรมราวง - หวั เราะบาบดั - เตน้ บาสโลบ สุขสง่า - กจิ กรรมการพฒั นาโรงเรียนเชิงโครงสรา้ ง - การเขา้ เขา้ ร่วมกิจกรรมของชุมชน - การดูแลลูกหลาน สุขสวา่ ง - กิจกรรมการรอ้ งเพลงเพอ่ื ฝึกความจา - นับ 1 ถึง 10 - ทามอื ท่า จบี แอล - การประเมนิ ภาวะซมึ เศรา้ - การประเมนิ ภาวะสมองเสื่อม สุขสงบ - การเรียน การสอนธรรมะ - การทาสมาธิ - การเขา้ ร่วมกิจกรรมวนั สาคญั ทางพุทธศาสนา 3) ดาเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุดว้ ยสุข 5 มิติ โรงเรียน ผูส้ งู อายุนาผาง นารูปแบบการดาเนินงานผูส้ ูงอายุไปใชก้ บั โรงเรียนผูส้ ูงอายุอื่นๆ 3. ข้นั ประเมินผล ประเมินผลการดาเนินงานผูส้ ูงอายุโดยการมีสว่ นรว่ ม - จัดประชุมกลุ่ม สนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เพ่ือ ประเมินผล การปฏิบตั ิตามรูปแบบการดาเนินงานผูส้ ูงอายุในชุมชนท่ีวางไว้ คน้ หา ปัญหาและอุปสรรคใน การดาเนินการตามแผน

23 วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) - ถอดบทเรียน ประเมินผลการดาเนินงาน ร่วมกันกาหนดปรับ แผนการดาเนินงาน นาไปทดลองปฏิบตั ิอีกคร้งั ระดมความคิด รว่ มกนั ปรบั ปรุง ปรบั แผนการดาเนินงานผูส้ งู อายุตามปัญหาอุปสรรคที่พบ - ประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุดว้ ย แบบคัดกรองความเสี่ยงต่อ สุขภาพ, แบบประเมินความสามารถในการทากิจวตั รประจาวนั (ADL), แบบประเมิน สุขภาพช่องปากและฟัน, แบบคดั กรองภาวะซึมเศรา้ , แบบประเมินภาวะสมองเส่ือม, แบบประเมินภาวะหกลม้ และแบบวดั ความสุข7 หลงั การดาเนินกิจกรรม 3 เดือน ประชากรกลมุ่ ตวั อยา่ ง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุท่ีเขา้ ร่วมกิจกรรมโรงเรียนผูส้ ูงอายุนาผาง จานวน 95 คน ใชว้ ธิ ีการคดั เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) การพทิ กั ษส์ ิทธิ์ของผูเ้ ขา้ ร่วมวิจยั ผู้วิจัยได้มีการอธิบายช้ ีแจงวัตถุประสงค์ วิธีการดาเนินการวิจัย และ ประโยชน์ท่ีจะไดร้ บั จากการเขา้ ร่วมการวิจยั ใหผ้ ูเ้ ขา้ ร่วมวิจยั รบั ทราบ โดยผูเ้ ขา้ ร่วมวิจยั สามารถเขา้ รว่ มหรือถอนตวั ออกจากการวจิ ยั ไดต้ ลอด โดยไมม่ ีผลกระทบท้งั ต่อผูร้ ่วมวิจยั ขอ้ มูลทุกประการของผู้ร่วมวิจัยจะเก็บเป็ นความลับ และจะเสนอผลการวิจัยจะเป็ น ภาพรวมของการวจิ ยั เท่าน้ัน เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการวิจยั เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั คร้งั น้ ีประกอบดว้ ยเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการเก็บ รวบรวมขอ้ มลู และเครื่องมือท่ีใชใ้ นการปฏิบตั ิการ 1. แบบสมั ภาษณแ์ ละประเมนิ คดั กรองภาวะสุขภาพผูส้ ูงอายุ ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปเก่ียวกับเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับ การศึกษา อาชีพ รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน ประสบการณ์ท่ีเขา้ ร่วมดาเนินงานผูส้ ูงอายุ ประสบการณ์การฝึกอบรมเกี่ยวผูส้ ูงอายุและการรบั รูข้ อ้ มูลข่าวสารเก่ียวกบั ผู้สูงอายุ ลกั ษณะคาถามแบบเลือกตอบ และเติมลงในชอ่ งวา่ ง ส่วนที่ 2 แบบสอบภาษณเ์ กี่ยวกบั การส่งเสริมสุขภาพของผูส้ ูงอายุดว้ ย สุข 5 มิติ ของโรงเรียนผูส้ ูงอายุนาผาง ลักษณะคาถามเป็ นแบบประเมิน ดว้ ยการ สมั ภาษณ์และวดั ประเมินภาวะสุขภาพ ไดแ้ ก่ แบบคดั กรองความเสี่ยงต่อสุขภาพ, แบบประเมินความสามารถในการทากิจวตั รประจาวนั (ADL), แบบประเมินสุขภาพ ช่องปากและฟัน, แบบคดั กรองภาวะซึมเศรา้ , แบบประเมินภาวะสมองเส่ือม, แบบ

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 24 ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) ประเมินภาวะหกล้ม และแบบวัดความสุข ซึ่งดัดแปลงจากสมุดบันทึกสุขภาพ ผูส้ งู อายุ7 มเี กณฑก์ ารใหด้ งั น้ ี 1) แบบคดั กรองความเส่ียงต่อสุขภาพ ประกอบดว้ ย 9 ส่วน ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู ทวั่ ไป, ประวตั ิส่วนบุคคล, ประวตั ิครอบครวั , พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ, การออกกาลงั กาย, การบริโภคอาหาร, การรบั ประทานยา, สารเสพติด และการตรวจ ร่างกาย 2) การประเมินความสามารถในการทากิจวัตรประจาวัน (ADL) ประกอบดว้ ยคาถามจานวน 10 ขอ้ 3) การประเมินสุขภาพช่องปากและฟัน ประกอบดว้ ยการ ตรวจร่างกายจานวน 1 ขอ้ 4) แ บ บ คัด ก ร อ ง โ ร ค ซึ ม เ ศ ร้า ด้ว ย 2 ค า ถ า ม ( 2Q) ประกอบดว้ ยคาถาม จานวน 2 ขอ้ 5) แบบประเมนิ ภาวะสมองเสื่อม ประกอบดว้ ยคาถามจานวน 3 ขอ้ 6) แบบประเมินภาวะหกล้ม ประกอบด้วยการประเมิน จานวน 1 ขอ้ 7) แบบประเมินความสุข ประกอบดว้ ยคาถาม จานวน 15 ขอ้ ของกรมสุขภาพจิต 2. เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการดาเนินกิจกรรมวิจยั เชิงปฏิบตั ิการ หลกั สูตรโรงเรียนผูส้ ูงอายุ ไดแ้ ก่ การเรียนแบบมีส่วนร่วม กิจกรรมโรงเรียน ผูส้ ูงอายุนาผาง โรงเรียนสรา้ งสุข 5 มิติ ดว้ ย 3 วิชา ไดแ้ ก่ วิชาการดูแลสุขภาพและ นันทนาการ (สุขสบาย, สุขสนุก) วิชาภาษาและวฒั นธรรม (สุขสง่า, สุขสวา่ ง) วิชา พระพุทธศาสนา (สุขสงบ) ที่เกิดจากกระบวนการกลุ่มในการพฒั นากิจกรรมการ เรียนการสอน และแนวคาถาม แนวทางสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม ผ่านการ ตรวจสอบโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ 3 ท่าน การสรา้ งและพฒั นาเครอ่ื งมือ เคร่ืองมือในการวิจยั สรา้ งแนวคาถาม แนวทางสมั ภาษณ์ การบนั ทึก การ สนทนากลุม่ การคดั กรองประเมนิ ภาวะสุขภาพ มีขน้ั ตอนดงั น้ ี 1. การประเมิน แบบคัดกรองความเสี่ยงต่อสุขภาพ, แบบประเมิน ความสามารถในการทากิจวตั รประจาวนั (ADL), แบบประเมินสุขภาพช่องปากและ

25 วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) ฟัน, แบบคดั กรองภาวะซึมเศรา้ , แบบประเมินภาวะสมองเส่ือม, แบบประเมินภาวะ หกลม้ และแบบวดั ความสุข ซ่ึงดดั แปลงจากสมุดบนั ทึกสุขภาพผูส้ งู อายุ7 2. การสรา้ งเครื่องมือและการทดสอบคุณภาพเคร่ืองมือในงานวจิ ยั 2.1 ศึกษาเอกสารการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามแนวทางการ ดาเนินงานผูส้ ูงอายุ สุข 5 มิติ6 การประชุมแบบมีส่วนร่วม วางแผนการจดั ดาเนิน กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพดว้ ยสุข 5 มติ ิ 2.2 ดดั แปลงเครื่องมอื แบบสมั ภาษณ์ แบบบนั ทึกขอ้ มลู ตามกรอบ แนวคิดในการวิจยั 3. การทดสอบคุณภาพเครื่องมือ 3.1 ความตรงเชิงเน้ ือหา (Validity) เคร่ืองมือแนวคาถาม แนวทาง สมั ภาษณ์ การสนทนากลุ่ม เสนอต่อผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีความรูป้ ระสบการณ์ ในการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการตรวจสอบจานวน 3 ท่าน เพ่ือตรวจสอบความตรงตามเน้ ือหา (Content Validity) ผลการวิเคราะหค์ วามตรงตามเน้ ือหาและโครงสรา้ งแบบสมั ภาษณ์ ความ สอดคลอ้ งตามเน้ ือหา เท่ากบั 0.98 และความสอดคลอ้ งตามโครงสรา้ ง เท่ากบั 0.97 3.3 ความเท่ียง (Reliability) นาเคร่ืองมือใชก้ ับผู้สูงอายุในพ้ ืนที่ ใกลเ้ คียงคือ พ้ ืนท่ีโรงเรียนผูส้ ูงอายุบา้ นตาดใหญ่ จานวน 45 คน วิเคราะหห์ าความ เที่ยง (Reliability) โดยการหาค่าสมั ประสิทธ์ิแอลฟา ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) เท่ากบั 0.98 การวิเคราะหข์ อ้ มูล สถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู คือ รอ้ ยละ ผลการวิจยั 1. ขอ้ มูลทัว่ ไป กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ อายุระหว่าง 60 - 65 ปี (รอ้ ยละ 42.10) ส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง (รอ้ ยละ 67.36) ระดับการศึกษาส่วนใหญ่สาเร็จ การศึกษาประถมศึกษา (รอ้ ยละ 98.94) สถานภาพการสมรสส่วนใหญ่สถานภาพคู่ (รอ้ ยละ 72.63) ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม (รอ้ ยละ 97.89) รายไดห้ ลกั มาจากเบ้ ียยงั ชีพ (รอ้ ยละ 97.89) กลุม่ ตวั อยา่ งท้งั หมดเขา้ รว่ มชมรมในหมบู่ า้ นหรือ เป็ นคณะกรรมการชมรมผูส้ ูงอายุ และท้งั หมดมีจานวนสมาชิกในหมบู่ า้ นต้งั แต่ 3 คน ข้ นึ ไป

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 26 ปี ที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) 2. ผลการส่งเสริมสุขภาพของผูส้ ูงอายุดว้ ยสุข 5 มิติ โรงเรียนผูส้ ูงอายุนาผาง ตาบลหว้ ย อาเภอปทุมราชวงศา จงั หวดั อานาจเจริญ พบวา่ กอ่ นการเขา้ รว่ มกิจกรรม โรงเรียนผูส้ ูงอายุนาผาง ผูส้ ูงอายุส่วนใหญ่มีพฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพระดับความ เสี่ยงปานกลาง (รอ้ ยละ 47.37) ความสามารถในการทากิจวตั รประจาวนั (ADL) เป็ นกลุ่มติดสงั คม มากที่สุด (รอ้ ยละ 98.94) สุขภาพช่องปากและฟันมีฟันใชง้ านได้ อย่างน้อย 20 ซี่ โดยมีฟันหลกั 4 คู่สบมากท่ีสุด (รอ้ ยละ 61.05) มีภาวะซึมเศรา้ (รอ้ ยละ 12.63) มีปัญหาสมองเสื่อม (รอ้ ยละ 3.16) มีความเสี่ยงในการหกลม้ (รอ้ ยละ 68.42) และมีความสุขอยู่ในระดับปานกลางมากที่สุด (รอ้ ยละ 65.26) แลว้ ไดม้ ีการดาเนินกิจกรรมโรงเรียนสรา้ งสุข 5 มิติ ดว้ ย 3 วิชา ไดแ้ ก่ วิชาการดูแล สุขภาพและนันทนาการ (สุขสบาย, สุขสนุก) วิชาภาษาและวฒั นธรรม (สุขสง่า, สุข สวา่ ง) วิชาพระพุทธศาสนา (สุขสงบ) โดยการประเมินภาวะสุขภาพ ดงั น้ ี สุขสบาย ใช้ 1) แบบคดั กรองความเส่ียงต่อสุขภาพ 2) แบบประเมินความสามารถในการทา กิจวตั รประจาวนั สุขสนุก ใช้ 3) แบบวดั คุณภาพชีวิต 4) การมีส่วนร่วมในกิจกรรม ต่างๆของครอบครวั /ชุมชน การออกกาลงั กาย การทากิจกรรมนันทนาการ สุขสง่า ใช้ 5) แบบประเมินความมีคุณค่าในตนเอง 6) แบบบนั ทึกเรื่องกิจกรรมที่ก่อใหเ้ กิด ความภาคภูมิใจ และตระหนักถึงความมีคุณค่าในตนเอง สุขสว่าง ใช้ 7) แบบคัด กรองภาวะสมองเส่ือม สุขสงบ ใช้ 8) แบบวัดความสุข พบว่า หลังการเขา้ ร่วม กิจกรรมโรงเรียนผูส้ ูงอายุ พบวา่ พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพลดลงจากระดบั ความเส่ียง ปานกลางเป็ นระดบั ความเสี่ยงตา่ มจี านวนมากท่ีสุด (รอ้ ยละ 41.05) มี ความสามารถในการทากิจวตั รประจาวนั (ADL) เป็ นกลุ่มติดสงั่ คม (รอ้ ยละ 100) สุขภาพช่องปากและฟันภายหลังไดเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมและแกไ้ ขพบว่าดีข้ ึนมีจานวน ผูส้ ูงอายุท่ีมีฟันใชง้ านได้อย่างน้อย 20 ซ่ี โดยมีฟันหลัก 4 คู่สบมากข้ ึน (รอ้ ยละ 71.58) ไม่มีภาวะซึมเศรา้ (รอ้ ยละ 100) ผูส้ ูงอายุที่มีปัญหาสมองเส่ือมมีจานวน ลดลง (รอ้ ยละ 1.05) ภาวะหกลม้ ในผูส้ ูงอายุกลุ่มไม่มีความเสี่ยงมีจานวนเพิ่มมาก ข้ ึน (รอ้ ยละ 78.97) และมีระดบั ความสุขในภาพรวมหลงั การเขา้ ร่วมกิจกรรมส่วน ใหญ่มีคะแนนอยู่ในระดับดีมาก (รอ้ ยละ 48.42) รองลงมาอยู่ในระดับดี (รอ้ ยละ 35.79)

27 วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) การอภิปรายผล จากการศึกษา การส่งเสริมสุขภาพของผูส้ ูงอายุดว้ ยสุข 5 มิติ โรงเรียนผูส้ ูงอายุ นาผาง ตาบลหว้ ย อาเภอปทุมราชวงศา จังหวดั อานาจเจริญ โดยการใชก้ ระบวนการ เรียนรู้ 3 วิชา ไดแ้ ก่ วิชาการดูแลสุขภาพและนันทนาการ (สุขสบาย, สุขสนุก) วิชา ภาษาและวฒั นธรรม (สุขสง่า, สุขสว่าง) วิชาพระพุทธศาสนา (สุขสงบ) ซึ่งเป็ นการ ประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะสมกบั บริบทของพ้ ืนท่ี ผลการศึกษาพบวา่ หลงั การเขา้ รว่ มกิจกรรม โรงเรียนผูส้ ูงอายุ พบว่า พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพลดลงจากระดบั ความเสี่ยงปาน กลางเป็ นระดบั ความเสี่ยงตา่ มีจานวนมากที่สุด (รอ้ ยละ 41.05) ผูส้ ูงอายุท้งั หมดมี ความสามารถในการทากิจวตั รประจาวัน (ADL) เป็ นกลุ่มติดสังคม พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผูอ้ ่ืน ชุมชนและสงั คมได้ (รอ้ ยละ 100) ไม่มีภาวะซึมเศรา้ (รอ้ ยละ 100) ผูท้ ่ีมีปัญหาสมองเสื่อมมีจานวนลดลง (รอ้ ยละ 1.05) และผลการคดั กรองภาวะหก ล้มในผู้สูงอายุกลุ่มไม่มีความเส่ียงมีจานวนเพ่ิมมากข้ ึน (ร้อยละ 78.98) ซึ่ง สอดคลอ้ งกบั การศึกษาของ สุดารตั น์ นามกระจ่าง และคณะ8 พบวา่ ผูส้ ูงอายุหลงั จาก การเขา้ ร่วมโปรแกรมพฒั นาความสุข 5 มิติ มีระดับสมรรถภาพร่างกาย ค่าเฉลี่ยของ สมรรถภาพทางสมองเบ้ ืองตน้ ระดับคุณภาพชีวิตโดยรวม และค่าเฉลี่ยของคะแนน ความสุข เพ่ิมข้ ึนอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ (p <.01) และผลการประเมินความสุขของ ผูส้ งู อายุหลงั เขา้ ร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่พบว่ามคี ะแนนอยู่ในระดบั ดีมาก (รอ้ ยละ 48.42) และระดับดี (รอ้ ยละ 35.79) ซึ่งสอดคลอ้ งกับการศึกษาของ ชชั ญาภา สมศรี9 พบว่า ระดบั ความสุขของผูส้ ูงอายุ ก่อนการร่วมกิจกรรมสรา้ งสุข 5 มิติ มีระดบั คะแนนความสุข โดยรวมเท่ากบั คนทวั่ ไป (Mean = 49.90) และระดับความสุขหลงั เขา้ ร่วมกิจกรรมโดย ร่วมสูงกว่าคนทวั่ ไป (Mean = 56.66) เพ่ิมข้ ึนอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติ และการศึกษา ของ กนั ตส์ ุดา จนั ทรแ์ จ่ม10 ผูส้ ูงอายุกลุ่มทดลองท่ีไดร้ บั การใหค้ าปรึกษาแบบกลุ่ม ตาม แนวคิด ความสุข 5 มิติ ของกลุ่มสุขภาพจิต เพ่ือส่งเสริมความผาสุกในผูส้ ูงอายุ มีความ ผาสุกมากข้ ึนหลังผ่านการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และผูส้ ูงอายุ กลุม่ ทดลองมีความผาสุกมากกวา่ กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั .05 ขอ้ เสนอแนะ ดา้ นการปฏิบตั กิ าร ในการปฏิบตั ิกิจกรรมโรงเรียนผูส้ ูงอายุ เพ่ือเป็ นการพัฒนากระบวนการที่ ยัง่ ยืนต่อให้ควรมีการปฏิบัติกิจกรรมในระยะเวลาท่ียาวนานข้ ึนและให้มีการ

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 28 ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) ประเมินผล ติดตามการจดั กิจกรรมเป็ นระยะในทุก 1 เดือน เพื่อประเมินในสิ่งหรือ ผลลพั ธท์ ่ีเปลี่ยนแปลงไดช้ ดั เจนมากข้ นึ ดา้ นการนาไปใช้ ผูว้ ิจยั เห็นควรใหม้ กี ารส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมใหเ้ กิดความยงั่ ยนื ต่อเนื่อง และมีการนารูปแบบในการจดั กิจกรรมโรงเรียนผูส้ ูงอายุในทุกพ้ ืนท่ี ดา้ นศึกษา ควรมีการศึกษาในลกั ษณะเดียวกนั น้ ีในพ้ ืนที่อ่ืนๆ เพ่ือเป็ นการพฒั นารปู แบบ วธิ ีการใหม้ ปี ระสิทธิภาพเพิ่มมากข้ นึ ควรมีการศึกษาในรูปแบบอื่นๆในการจัดกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุอย่าง ต่อเนื่อง กิตตกิ รรมประกาศ ขอขอบคุณเจา้ หน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลนาผาง โรงเรียน ผูส้ ูงอายุนาผางและผูส้ ูงอายุทุกท่านท่ีเขา้ ร่วมการวิจยั ในคร้งั น้ ีและเอ้ ืออานวยใหเ้ สร็จ ส้ ินไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ เอกสารอา้ งองิ 1. มูลนิธิสถาบนั วิจัยและพัฒนาผูส้ ูงอายุไทย. สถานการณ์ผูส้ ูงอายุไทย พ.ศ. 2559. นครปฐม: บริษัท พร้ ินเทอร่ี จากดั ; 2560. 2. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. สารประชากร. นครปฐม: มหาวทิ ยาลยั มหิดล; 2559. 3. สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ. แผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสงั คมแห่งชาติฉบบั ที่ 11 พ.ศ.2555-2559 [อินเตอรเ์ น็ต]. 2554 [เขา้ ถึงเมื่อ 15 พ.ย. 2559]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.nesdb.go.th/ download/article/article_20160323112431.pdf 4. กรมสุขภาพจิต. ค่มู ือ โปรแกรม 16 สปั ดาหเ์ พ่ือพฒั นาความสุข 5 มิติใน ผูส้ งู อายุ. นนทบุรี: โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย; 2558.

29 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) 5. เพ็ญจนั ทร์ สิทธิปรีชา และคณะ. กระบวนการดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายุอย่างมี ส่วนร่วมของชุมชนตาบลมาบ. วารสารการพยาบาลทหารบก 2555;13:8- 17. 6. อมั พร เบญจพลพิทกั ษ์ และคณะ. คู่มือความสุข 5 มิติสาหรบั ผูส้ ูงอายุ. กรุงเทพฯ: บียอนด์ พบั ลิสช่ิง; 2558 7. กรมอนามยั . สมุดบนั ทึกสุภาพผูส้ งู อายุ. กรุงเทพฯ: ศูนยส์ ื่อสิ่งพิมพแ์ กว้ เจา้ จอม; 2557. 8. สุดารตั น์ นามกระจ่าง, ลกั ษณี สมรตั น์ และ อนัญญา เดชะคาภู. ประสิทธิผล ของโปรแกรมพฒั นาความสุข 5 มติ ิในผูส้ ูงอายุ: กรณีศึกษาในผูส้ ูงอายุ ตาบล กระหวดั อาเภอขุนหาญ จงั หวดั ศรีสะเกษ. เอกสารประกอบการประชุม วิชาการเสนอผลงานวจิ ยั บณั ฑิตศึกษา ระดบั ชาติและนานาชาติ 2560. 10 มี.ค. 2560; ขอนแก่น. 2560. 9. ชชั ญาภา สมศรี และคณะ. ผลของกิจกรรมสรา้ งสุข 5 มติ ิต่อความสุขของ ผูส้ งู อายุโรงพยาบาลนครพนม. วารสารโรงพยาบาลนครพนม 2560;3:3- 14. 10.กนั ตส์ ุดา จนั ทรแ์ จม่ . ผลการใหก้ ารปรึกษาแบบกลุ่ม ตามแนวคิด ความสุข 5 มิติ ของกรมสุขภาพจิตเพ่ือสง่ เสริมความผาสุกในผูส้ ูงอายุ [อินเตอรเ์ น็ต]. 2560 [เขา้ ถึงเม่ือ 30 ธ.ค. 2560]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www.edu- journal.ru.ac.th/AbstractPdf/2560-7-1_1515558348_is-phy- 0002-10012561.pdf

ความฉลาดทางสุขภาพของผูป้ ่ วยโรคไตเร้ ือรงั ระยะเร่ิมตน้ ลกั ขนา ชอบเสียง พย.ม.1*, จุฑามาศ โสพฒั น์ น.ศ.2, ชญานิศ ทองมล น.ศ.2, ชลดา สมคะเนย์ น.ศ.2, ฎาฐณิ ี ลาภทวี น.ศ.2, ณชั ชรญิ า ชินทอง น.ศ.2, ณฐั กานต์ วงศป์ ันติ น.ศ.2, ณฐั ธิดา ทุมมี น.ศ.2, ทศั นีย์ แพงมาก น.ศ.2 บทคดั ยอ่ ผู้ป่ วยโรคไตเร้ ือรังระยะเร่ิมต้นหากมีการดูแลตนเองท่ีถูกต้องเหมาะสม จะส่งผลต่อการดาเนินของโรคใหช้ า้ ลง ชะลอความเส่ือมของไตและคงไวซ้ ึ่งการทา หน้าท่ีของไตไดย้ าวนานท่ีสุด ความฉลาดทางสุขภาพมีผลต่อการจดั การดูแลตนเอง ของผู้ป่ วยให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งข้ ึน การศึกษาคร้ังน้ ี มี วตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาความฉลาดทางสุขภาพของผูป้ ่ วยโรคไตเร้ ือรังระยะเร่ิมตน้ กลุ่มตวั อยา่ งเป็ นผูป้ ่ วยโรคไตเร้ ือรงั ระยะเร่ิมตน้ ที่มาใชบ้ ริการที่โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลปทุม อาเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี จานวน 53 คน เคร่ืองมือที่ใชใ้ น วิจยั คือ แบบสอบถามขอ้ มูลทวั่ ไป แบบสอบถามความฉลาดทางสุขภาพ มีค่าความ เชื่อมนั่ .85 สถิติท่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มูล คือ ความถี่ รอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย และส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบว่า กลุ่มตวั อยา่ งมากวา่ คร่ึงมีระดบั ความฉลาดทางสุขภาพโดย รวมอยู่ในระดบั สูง (รอ้ ยละ 56.60) ระดบั ปานกลาง (รอ้ ยละ 32.10) และระดบั ตา่ (รอ้ ยละ 11.30) เมื่อพิจารณาความฉลาดทางสุขภาพแต่ละรายดา้ นจะพบว่าอยู่ใน ระดับสูงทุกด้าน ด้านทักษะความรูแ้ ละความเขา้ ใจเก่ียวกับโรคไตระยะเริ่มต้น (ร้อยละ 92.45) ด้านทักษะการรู้เท่าทันสื่อ (ร้อยละ 77.46) ด้านทักษะการ ตดั สินใจ (รอ้ ยละ 75.27) ดา้ นทกั ษะการส่ือสาร (รอ้ ยละ 45.28) ดา้ นทกั ษะการ เขา้ ถึงขอ้ มลู และบริการสุขภาพ (รอ้ ยละ 60.38) และดา้ นทกั ษะการจดั การ (รอ้ ยละ 66.04) จากการศึกษาทาใหท้ ราบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความฉลาดทางสุขภาพอยู่ท่ี 1อาจารยพ์ ยาบาล วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 2นักศึกษาพยาบาลช้นั ปี ท่ี 3 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ *Corresponding e-mail: [email protected]

วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 31 ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) ระดับสูง มีเพียงดา้ นทักษะการสื่อสารไม่ถึงรอ้ ยละ 50 การวิจยั คร้งั น้ ีจะเป็ นขอ้ มูล พ้ ืนฐานเพ่ือพัฒนาความฉลาดทางสุขภาพใหเ้ หมาะสมและออกแบบแนวปฏิบตั ิใน การดูแลผูป้ ่ วยใหส้ อดคลอ้ งตามความตอ้ งการและชะลอความเส่ือมของไตในผูป้ ่ วย โรคไตเร้ ือรงั ระยะเร่ิมตน้ ต่อไป คาสาคญั : ความฉลาดทางสุขภาพ, โรคไตเร้ ือรงั ระยะเร่ิมตน้

32 วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) Health literacy in the first stage of Chronic Kidney Lakhana Chopsiang M.N.S.1*, Jutamas Sopat N.S.2, Chayanit Thongmol N.S.2, Chonlada Somkaney N.S.2, Dathinee Lapthawee N.S.2, Natchariya Chinthong N.S.2, Nattakarn Wongpunti N.S.2, Natthida Tummee N.S.2, Tudsanee Pangmak N.S.2 Abstract The patients with the first stage of Chronic Kidney Disease (CKD) that take appropriate care of themselves. If these patients can take care themselves and control their behavior, it will delay the effect of the disease. The health literacy will make them know how to adjust their behavior for the disease and delay the kidney degeneration. The purpose of this study was to investigate the health literacy of the patients with the first stage of CKD. The samples were the 53 patients with the first stage of CKD who visited the Health Promoting Hospital in Pathum sub-district, Mueng district, Ubon Ratchathani province. The data had been collecting by the health literacy questionnaire. The coefficient of reliability is 0.85. The statistics used in the data analysis are frequency, percentage, and standard deviation. The study found that, overall, levels of health literacy were high (56.60%), medium (32.10%), and low (11.30%). Considering high level of health literacy level in each dimension, the knowledge and understanding about the disease initial phase was 92. 45% . Also, media literacy was 77. 46% , 75.27% of the decision, 45.28% of communication, 60.38% of access, and 66.04% of management. The study showed that although the samples had high level of health literacy, communication of health literacy was only 50 percentages in high level. The study was basic information to develop appropriate program of 1Nursing Instructor, Boromarajonani College of Nursing Sanpasithiprasong 2Junior nursing students, Boromarajonani College of Nursing Sanpasithiprasong *Corresponding e-mail: [email protected]

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 33 ปี ที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) health literacy. Additionally, it will be designed a guideline to care for the patients with the first stage of CKD, relating their need and delaying deterioration of their kidney in the first stage of CKD. Key words: health literacy, the first stage of chronic kidney disease

34 วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) บทนา สถานการณ์ของโรคไตในปัจจุบันเป็ นปัญหาใหญ่ระดับโลก ใน 10 ปี ที่ผ่านมา คนไทยมีแนวโนม้ ป่ วยเพ่ิมข้ ึนเร่ือยๆ จากขอ้ มูลปี 2558 โดยกระทรวงสาธารณสุขพบว่า คนไทยป่ วยเป็ นโรคไตเร้ ือรงั รอ้ ยละ17.6 ของประชากรหรือประมาณ 8 ลา้ นคน เป็ น ผูป้ ่ วยระยะสุดทา้ ย 2 แสนคน ป่ วยเพิ่มปี ละกว่า 7,800 ราย หากไม่ไดร้ บั การรักษาท่ี ถูกตอ้ ง จะเกิดโรคแทรกซอ้ นถึงเสียชีวิต มีผูป้ ่ วยที่ไตวายเร้ ือรงั ระยะสุดทา้ ย ที่รอการ ผ่าตดั เปลี่ยนไตใหม่ประมาณ 40,000 ราย ส่วนผูป้ ่ วยที่ไดร้ บั การปลกู ถ่ายไตมเี พียงปี ละ 400 รายเท่าน้ัน มีผูเ้ สียชีวิตจากไตวาย 13,536 คน ประมาณ 1 ใน 3 ตายก่อนวยั อนั ควร อายุนอ้ ยกวา่ 60 ปี 1 โรคไตเร้ ือรงั เป็ นภาวะท่ีมีการทาลายเน้ ือไตหรือมีลกั ษณะแสดงความผิดปกติทาง พยาธิสภาพของไต มีอตั ราการกรองของไตตา่ กวา่ 60 มลิ ลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตร ติดต่อกนั เกิน 3 เดือน ซ่ึงความรุนแรงของโรคไตเร้ ือรงั สามารถแบ่งได้ 5 ระยะ อา้ งอิง ตามเกณฑ์ของ Kidney disease improving global outcomes (KDIGO) ปี พ.ศ.2555 ใช้ ค่าอัตราการกรองไตในการแบ่งระยะ ดังน้ ี ระยะท่ี 1 มีอัตราการกรองของไต > 90 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตร ระยะที่ 2 มีอตั ราการกรองของไต 60-89 มิลลิลิตร/ นาที/1.73 ตารางเมตร ระยะท่ี 3a มีอัตราการกรองของไต 45-59 มิลลิลิตร/นาที/ 1.73 ตารางเมตร ระยะที่ 3b มีอตั ราการกรองของไต 30-44 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตร ระยะที่ 4 มีอัตราการกรองของไต 14-29 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตาราง เมตรและระยะท่ี 5 มีอตั ราการกรองของไต < 15 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตร2 โรค ไตเร้ ือรงั เป็ นปัจจัยเส่ียงสาคญั ของการนาไปสู่การเกิดโรคหวั ใจและหลอดเลือด ซึ่งจะ ส่งผลใหผ้ ูป้ ่ วยเกิดการดาเนินของโรคไปสู่โรคไตวายเร้ ือรังระยะสุดทา้ ย (End-stage renal disease, ESRD) เม่ือเข้าสู่ภาวะโรคไตเร้ ือรังระยะสุดท้าย (End stage kidney disease) ร่างกายจะไม่สามารถกาจัดของเสียออกจากร่างกายได้ ตลอดจนมีภาวะไม่ สมดุลของเกลือแร่และกรดด่างในร่างกาย ผูป้ ่ วยตอ้ งไดร้ บั การบาบดั ทดแทนไต เช่น การ ลา้ งไตทางช่องทอ้ ง ปลูกถ่ายไตหรือการฟอกเลือดเพื่อยืดชีวิต และเพิ่มคุณภาพชีวิตของ ผูป้ ่ วย3 ผูท้ ่ีไดร้ ับการวินิจฉัยเบ้ ืองตน้ ว่าไตเริ่มทาหน้าท่ีน้อยลง เร่ิมขจดั ของเสียลดลง หากรจู้ กั ทะนุถนอมไตไว้ โดยวธิ ีการต่างๆ เชน่ การควบคุมอาหารจาพวก หวาน มนั เค็ม การออกกาลังกายท่ีเหมาะสมเป็ นประจาและสมา่ เสมอ มีการจัดการกับอารมณ์และ ความเครียดที่เหมาะสม หลีกล่ียงการสูบบุหรี่และการด่ืมสุรา จะชว่ ยชะลอความเสื่อมของ ไต

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 35 ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) ความฉลาดทางสุขภาพ เป็ นความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถ และกระบวนการ คิด ท่ีเกี่ยวกบั การรบั รขู้ อ้ มลู ทางสุขภาพ แลว้ สามารถนาขอ้ มลู ท่ีได้ มาปรบั ใชใ้ นการดูแล สุขภาพของตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ซ่ึงจะมีความแตกต่างในแต่ละบุคคล จากการศึกษา ความฉลาดทางสุขภาพของผูป้ ่ วยเบาหวานที่มารับบริการปฐมภูมิจังหวดั อุบลราชธานี พบว่า ผูป้ ่ วยเบาหวานชนิดท่ี 2 จานวน 25 คน ประมาณ 2 ใน 3 ของกลุ่มท่ีมีความ ฉลาดทางสุขภาพตา่ ประมาณครึ่งหน่ึงของกลุ่มตัวอย่างมีความร่วมมือในการใชย้ าดี ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพที่ดี มาพบแพทยต์ ามนัด4 และจากการศึกษาของ Devraj, R.และคณะ5 เม่ือ ค.ศ. 2015 เก่ียวกับความฉลาดทางสุขภาพและโรคไต สู่ แนวทางใหม่ในการทาวิจัยพบว่าผู้ป่ วยโรคไต มีประสบการณ์ขาดความรูใ้ นการดูแล ตนเองและพบว่าผูป้ ่ วยโรคไตเร้ ือรงั ในระยะที่ 1 และ 2 มีความตระหนักถึงภาวะโรคไต ของตนเองเพียง 40% และในผูป้ ่ วยระยะที่ 3 และ 4 มีความตระหนักเพียง 23% ซึ่งการ คน้ พบน้ ีถือว่ามีความสาคัญเป็ นอย่างมากเนื่องจากความตระหนักในระดับตา่ เมื่อ สามารถแกไ้ ขและปรบั ปรุงใหม้ ีความตระหนักที่ดีมากข้ ึน อาจเป็ นหนึ่งในปัจจยั ที่เอ้ ือต่อ การเขา้ สู่ระยะท่ี 5 ไดช้ า้ ลง จากผลการศึกษาท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ จะเห็นไดว้ ่า ความฉลาด ทางสุขภาพในผูป้ ่ วยที่เหมาะสมจะทาใหป้ ระสิทธิภาพในการปรบั เปล่ียนพฤติกรรมของ ผู้ป่ วยมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสม ช่วยปรับผลลัพธ์ทางคลินิก ช่วยลดค่าใชจ้ ่ายและเพ่ิม คุณภาพชีวติ ท่ีดีข้ นึ ได้ โรคไตเร้ ือรังมีการดาเนินโรคไปต้ังแต่ระยะท่ี 1 ถึงระยะที่ 5 ซ่ึงส่งผลใหไ้ ตเกิด ภาวะไตลม้ เหลวในระยะท่ี 5 ศักยภาพของความฉลาดทางสุขภาพและการรักษามี ผลกระทบอย่างมาก โดยระยะเริ่มแรกจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของไตในระยะที่ เพ่ิมข้ ึนต่อไป การวินิจฉยั ผูป้ ่ วยไดใ้ นระยะเริ่มตน้ จะช่วยในการชะลอความเสื่อมของไต และคงไวซ้ ่ึงชีวิตที่มีคุณภาพที่ดีของผูป้ ่ วยจะทาใหร้ ะยะท่ีดาเนินโรคเขา้ สู่ภาวะไตวาย เร้ ือรงั ระยะท่ี 3 ระยะท่ี 4 และระยะสุดทา้ ยชา้ ลง ดงั น้ันผูว้ ิจยั จึงมีความสนใจศึกษาความ ฉลาดทางสุขภาพของผูป้ ่ วยไตเร้ ือรงั ในระยะเริ่มตน้ เนื่องจากแนวทางการดูแลผูป้ ่ วยโรค ไตในระยะเร่ิมตน้ จะรกั ษาโดยการควบคุมอาหาร ลดพฤติกรรมเส่ียง และการรบั ประทาน ยา หากในระยะน้ ีสามารถดูแลและควบคุมพฤติกรรมไดจ้ ะสามารถส่งผลต่อการดาเนิน โรคที่ชา้ ลงช่วยชะลอความเส่ือมของไตไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพย่งิ ข้ ึน

36 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) วตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั เพ่ือศึกษาความฉลาดทางสุขภาพของผูป้ ่ วยโรคไตเร้ ือรงั ระยะเริ่มตน้ กรอบแนวคิดการวิจยั การวิจัยคร้ังน้ ี ผู้วิจัยใช้กรอบแ นวคิดตามทฤษฎีของดอน นั ทบี ม (Nutbeam)6และกองสุขศึกษากระทรวงสาธารณสุข7 ได้คุณลักษณะพ้ ืนฐานท่ี จาเป็ นตอ้ งพัฒนาเพ่ือเพิ่มความฉลาดทางสุขภาพสาหรับผูป้ ่ วยใหส้ ามารถปรับตัว เพื่อใหม้ ีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตอ้ งและดูแลสุขภาพไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีคุณลกั ษณะ พ้ ืนฐานท่ีสาคญั 6 ดา้ น ดงั น้ ี (1) ดา้ นทกั ษะความรแู้ ละความเขา้ ใจเก่ียวกบั โรค (Cognitive) (2) ดา้ นทกั ษะการเขา้ ถึงขอ้ มลู สุขภาพและบริการสุขภาพ (Access) (3) ดา้ นทกั ษะการสื่อสาร (Communication skill) (4) ดา้ นทกั ษะการตดั สินใจ (Decision skill) (5) ดา้ นทกั ษะการจดั การตนเอง (Self-management) (6) ดา้ นทกั ษะการรูเ้ ท่าทนั สื่อ (Media literacy) วิธดี าเนินการวิจยั การวิจยั คร้งั น้ ีเป็ นการวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive) เพ่ือศึกษาความฉลาด ทางสุขภาพของผูป้ ่ วยโรคไตเร้ ือรงั ระยะเร่ิมตน้ ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง 1. ประชากรท่ีใชใ้ นการวิจยั คร้งั น้ ี คือ ผูป้ ่ วยโรคไตเร้ ือรังระยะเริ่มตน้ (ระยะท่ี 1 และระยะท่ี 2) ที่มาใชบ้ ริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลปทุม อาเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี จานวน 60 คน ระหว่างเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน 2560 2. กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่ วยโรคไตเร้ ือรังระยะเริ่มต้น (ระยะที่ 1 และระยะที่ 2) ท่ีมาใชบ้ ริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลปทุม อาเภอ เมือง จงั หวดั อุบลราชธานี จานวน 53 คน คานวณหาขนาดกลุ่มตวั อยา่ ง โดยใชส้ ูตรของ ยามาเน่ (Yamane)8

วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 37 ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวิจยั เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวิจยั คร้งั น้ ีเป็ นแบบสอบถาม (Questionnaire) สาหรบั แบง่ เป็ น 2 สว่ น มรี ายละเอียด ดงั น้ ี ส่วนท่ี 1 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถาม มลี กั ษณะเป็ นแบบเลือกตอบ (Check list) ซึ่งประกอบไปดว้ ยเพศ อายุ สถานภาพ ระดบั การศึกษา อาชีพ รายไดส้ ่วนตัวต่อเดือนสิทธิการรกั ษา ระยะเวลาของการเป็ นโรค โรค รว่ ม และแหลง่ ขอ้ มูลท่ีไดร้ บั ขา่ วสาร ส่วนที่ 2 เป็ นแบบสอบถามท่ีพฒั นามาจากกรอบแนวคิดของ Nutbeam6 ซ่ึง แบ่งเป็ น 6 ดา้ นดังน้ ี 2.1)ดา้ นทักษะความรูแ้ ละเขา้ ใจเกี่ยวกับโรคไตเร้ ือรังระยะ เร่ิมตน้ เป็ นขอ้ คาถามถูกผิด จานวน 8 ขอ้ คะแนนเต็ม 8 คะแนน 2.2) ดา้ นทกั ษะการ เขา้ ถึงขอ้ มูลสุขภาพและบริการสุขภาพ 2.3) ดา้ นทกั ษะการส่ือสาร 2.4) ดา้ นทกั ษะการ ตดั สินใจ 2.5) ดา้ นทกั ษะการจดั การตนเอง 2.6) ดา้ นทกั ษะการรูเ้ ท่าทนั สื่อ ดา้ นท่ี 2.2 – 2.6 มีคะแนน 5 ระดบั ดา้ นละ 5 ขอ้ มีการแปลงคะแนนในขอ้ คาถามเชิงลบ การแปล ผลแบ่งตามระดบั ชว่ งช้นั คะแนนสูงสุดและตา่ สุด 3 ระดบั คือ ระดบั สูง ปานกลาง ตา่ การตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือ ตรวจสอบความตรงเชิงเน้ ือหา (CVI) จากผูท้ รงคุณวุฒิ 3 ท่าน ไดเ้ ท่ากบั 0.80 และการตรวจสอบความเที่ยง (Reliability) โดยนาแบบสอบถามท่ีผ่านการหาความ ตรงตามเน้ ือหา (Content validity) และไดป้ รบั ปรุงแกไ้ ขตามคาแนะนาของผูเ้ ช่ียวชาญท้งั 3 ท่าน นาไปทดลองใช้ (Try out) กับผู้ป่ วยโรคไตเร้ ือรังระยะเร่ิมต้นที่มีคุณสมบัติ เช่นเดียวกบั กลุ่มตวั อยา่ ง ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลดงห่องแห่ จานวน 30 คน แล้วนาผลมาวิเคราะห์ความเท่ียง โดยใช้สูตรสัมประสิทธ์ิอัลฟ่ าของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) แบบสอบถามความฉลาดทางสุขภาพของผูป้ ่ วยโรคไต เร้ ือรงั ระยะเร่ิมตน้ เท่ากบั 0.85 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผูว้ จิ ยั เก็บรวบรวมขอ้ มูลระหว่างเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน 2560 หลังได้รับ การอนุญาตใหเ้ ก็บขอ้ มูลจากผูอ้ านวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลปทุม โดย ผู้วิจัยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างท่ีมีคุณลักษณะตามเกณฑ์ท่ีกาหนด จากน้ันเขา้ พบกลุ่ม ตวั อย่าง แนะนาตัวและช้ ีแจงการวิจยั ภายหลงั ไดร้ บั การยินยอมเขา้ ร่วมการวิจยั จึงเร่ิม ดาเนินการวจิ ยั โดยทาการสมั ภาษณต์ ามแบบสอบถามใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที

38 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) การพทิ กั ษส์ ิทธิ์ของผูเ้ ขา้ ร่วมวิจยั การศึกษาวิจัยคร้ังน้ ี ผู้วิจัยไดใ้ หผ้ ู้เขา้ ร่วมวิจัยรับทราบวัตถุประสงค์ วิธีการดาเนินการวิจยั และประโยชน์ท่ีจะไดร้ บั จากการเขา้ ร่วมการวิจยั ซึ่งผูเ้ ขา้ ร่วมวิจยั สามารถเขา้ ร่วมการวจิ ยั หรือถอนตวั ออกจากการวิจยั ได้ โดยไมม่ ีผลกระทบต่อผูร้ ่วมวิจยั นอกจากน้ ีขอ้ มูลของผูร้ ่วมวิจยั จะเก็บเป็ นความลบั และจะเผยแพร่ผลการวิจยั เป็ นแบบ ภาพรวม การวิเคราะหข์ อ้ มูล สถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มูล ไดแ้ ก่ ค่าความถ่ี รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย และ คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั 1. ขอ้ มูลทวั ่ ไปของผูป้ ่ วยโรคไตเร้ อื รงั ระยะเรมิ่ ตน้ กลุ่มตวั อย่างมากกว่าคร่ึงเป็ นเพศหญิงรอ้ ยละ 64.20 มีอายุต้งั แต่ 60 ปี ข้ ึน ไปมากท่ีสุด คิดเป็ นรอ้ ยละ 47.20 (Mean = 5.32, SD = 0.73) จบการศึกษาระดบั ประถมศึกษา รอ้ ยละ 79.20 มากกวา่ คร่ึงมีสถานภาพสมรสคู่ รอ้ ยละ 69.80 ไมไ่ ด้ ประกอบอาชีพ ร้อยละ 49.10 ส่วนใหญ่มีรายได้น้อยกว่า 5,000 บาท รอ้ ยละ 77.40 ใชส้ ิทธิการรักษาบัตรประกันสุขภาพถว้ นหน้ารอ้ ยละ 77.40 ส่วนใหญ่ไม่ ทราบวา่ เป็ นโรคไตเร้ ือรงั ระยะเร่ิมตน้ รอ้ ยละ 92.50 มีโรคประจาตวั 1 โรค รอ้ ยละ 33.96 โรคประจาตัว 2 โรค รอ้ ยละ 22.64 โรคประจาตัว 3 โรค รอ้ ยละ 13.20 และมีโรคประจาตวั 4 โรค รอ้ ยละ 30.18 และไดร้ บั ขา่ วสารทางสุขภาพจากรพ.สต. ปทุม มากท่ีสุด รอ้ ยละ 60.40 2. ความฉลาดทางสุขภาพของผูป้ ่ วยโรคไตเร้ ือรงั ระยะเรมิ่ ตน้ กลุ่มตัวอย่างมากกว่าคร่ึงมีระดับความฉลาดทางสุขภาพโดยรวมอยู่ใน ระดบั สงู คิดเป็ นรอ้ ยละ 56.60 ระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ 32.10 และระดบั ตา่ รอ้ ยละ 11.30 ตามลาดบั เม่อื พิจารณารายดา้ น พบวา่ กลุ่มตวั อยา่ งมีความฉลาดทางสุขภาพ สงู สุด 3 ลาดบั คือ ดา้ นทกั ษะความรแู้ ละความเขา้ ใจเก่ียวกบั โรคไตเร้ ือรงั ระยะเร่ิมตน้ มากที่สุด คิดเป็ นรอ้ ยละ 93.45 (Mean = 7.28, S.D. = 0.99) รองลงมาคือดา้ น ทกั ษะการรูเ้ ท่าทันสื่อ คิดเป็ นรอ้ ยละ 77.36 (Mean = 21.08, S.D. = 3.65) ดา้ น ทกั ษะการตดั สินใจ คิดเป็ นรอ้ ยละ 75.47 (Mean = 20.25, S.D. = 2.92) และกลุ่ม ตวั อย่างมีความฉลาดทางสุขภาพน้อยท่ีสุด 2 ลาดบั คือ ดา้ นทกั ษะการจดั การตนเอง

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 39 ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) คิดเป็ นรอ้ ยละ 66.04 (Mean = 19.85, S.D. = 3.97) ดา้ นทักษะการส่ือสารคิด เป็ นรอ้ ยละ 60.38 (Mean = 17.43, S.D. = 4.40) ตามลาดบั (ดงั ตารางท่ี 1) ตารางท่ี 1 ระดบั ความฉลาดทางสุขภาพ จาแนกตามความฉลาดทางสุขภาพโดยรวม และรายดา้ น (n = 53) ความฉลาด คะแนน Mean S.D. การแปลผล ทางสุขภาพ ระดบั ตา่ ระดบั ปานกลาง ระดบั สงู ความถ่ี รอ้ ยละ ความถี่ รอ้ ยละ ความถี่ รอ้ ยละ ดา้ นทกั ษะ 0 - 8 7.28 0.99 - - 4 7.5 49 92.45 ความรแู้ ละ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั โรคไต เร้ ือรงั ระยะ เริ่มตน้ ดา้ นทกั ษะการ 5 - 25 18.45 5.11 7 13.20 14 26.42 32 60.38 เขา้ ถึงขอ้ มูล สุขภาพและ บริการสุขภาพ ดา้ นทกั ษะการ 5 - 25 17.43 4.40 7 13.20 22 41.50 24 45.28 สื่อสาร ดา้ นทกั ษะการ 5 - 25 20.25 2.92 1 1.89 12 22.64 40 75.47 ตดั สินใจ ดา้ นทกั ษะการ 5 - 25 19.85 3.97 2 3.77 16 3019 35 66.04 จดั การตนเอง ดา้ นทกั ษะการ 5 - 25 21.08 3.65 - - 12 22.64 41 77.36 รูเ้ ท่าทนั สื่อ โดยรวม 0 - 133 104.34 14.90 6 11.30 17 32.10 30 56.60 ความฉลาดทางสุขภาพของผปู้ ่ วยโรคไตเร้ อื รงั ระยะเร่ิมตน้ รายดา้ น ดงั น้ ี 2.1 ดา้ นทกั ษะความรแู้ ละความเขา้ ใจเกี่ยวกบั โรคไตเร้ ือรงั ในระยะเริ่มตน้ ดา้ นทกั ษะความรูแ้ ละความเขา้ ใจเกี่ยวกบั โรคไตเร้ ือรงั ในระยะเริ่มตน้ พบว่า กลุ่มตวั อย่างมีส่วนใหญ่มีความฉลาดทางสุขภาพในระดับสูง คิดเป็ นรอ้ ยละ 92.45 (Mean = 7.28, S.D. = 0.99) โดยเม่ือพิจารณารายขอ้ พบวา่ ขอ้ ที่มีค่าคะแนนเฉล่ีย ความฉลาดทางสุขภาพมากที่สุด คือ มีความรูค้ วามเขา้ ใจในเร่ืองการดื่มสุราหรือ เคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอล์จะทาใหร้ ะดับความเส่ือมของไตลดลง (Mean = 0.98,

40 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) S.D. = 6.94) และขอ้ ท่ีมีค่าคะแนนเฉล่ียความฉลาดทางสุขภาพนอ้ ยที่สุด คือ ผูป้ ่ วย โรคไตเร้ ือรงั ระยะเร่ิมตน้ คือ ผูป้ ่ วยท่ีมีอตั ราการกรองของไตผิดปกติเล็กน้อย มีค่า มากกว่า 60 มิลลิเมตรต่อนาทีต่อพ้ ืนผิวร่างกาย 1.73 ตารางเมตร (Mean = 0.58, S.D. = 4.17) 2.2 ดา้ นทกั ษะการเขา้ ถึงขอ้ มลู สุขภาพและบริการทางสุขภาพ กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่มีระดบั ความฉลาดทางสุขภาพในดา้ นทกั ษะการเขา้ ถึง ขอ้ มลู สุขภาพและบริการทางสุขภาพ อยู่ในระดบั สูง คิดเป็ นรอ้ ยละ 60.38 (Mean = 18.45, S.D. = 5.11) ซ่ึงพบว่าขอ้ ท่ีมีคะแนนเฉล่ียความฉลาดทางสุขภาพมากท่ีสุด 2 อันดับแรก คือ ขอ้ การค้นหาข้อมูลด้านสุขภาพโดยการติดต่อขอขอ้ มูลจาก เจา้ หน้าที่สาธารณสุขใกล้บา้ น รอ้ ยละ 77.74 (Mean = 19.45, S.D. = 6.40) รองลงมาเป็ นขอ้ ความฉลาดสุขภาพในการคน้ หาขอ้ มูลของแหล่งบริการสุขภาพที่จะ ไปรับบริการ รอ้ ยละ 76.60 (Mean = 19.15, S.D. = 6.00) และขอ้ ที่มีคะแนน เฉลี่ยนอ้ ยที่สุด คือ ความฉลาดในการคน้ ควา้ หาความรูเ้ กี่ยวกบั การดูแลสุขภาพ จาก แหล่งขอ้ มลู สุขภาพท่ีหลากหลาย รอ้ ยละ 71.70 (Mean = 17.90, S.D. = 6.95) 2.3 ดา้ นทกั ษะการสื่อสาร กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่มีระดับความฉลาดทางสุขภาพดา้ นทักษะการสื่อสาร คิดเป็ นรอ้ ยละ 69.74 อยูใ่ นระดบั สูง (Mean = 17.43, S.D. = 4.40) ซึ่งพบว่าขอ้ ที่ มีคะแนนเฉล่ียความฉลาดทางสุขภาพมากที่สุด 2 อันดับแรก คือ การกลา้ ถามขอ้ สงสยั จากเจา้ หน้าท่ี รอ้ ยละ 81.51 (Mean = 20.40, S.D. = 6.55) รองลงมาเป็ น ความฉลาดสุขภาพในการอ่านเอกสารและคาแนะนาเก่ียวกับสุขภาพแลว้ พบว่าไม่ เขา้ ใจ รอ้ ยละ 73.21 (Mean = 18.3, S.D. = 6.50) และมีคะแนนเฉล่ียความฉลาด ทางสุขภาพในการขอความช่วยเหลือจากบุคคลอื่น เพ่ือชว่ ยใหส้ ามารถอ่านขอ้ มูลจาก สื่อสุขภาพ นอ้ ยที่สุด รอ้ ยละ 60.75 (Mean = 15.20, S.D. = 6.95) 2.4 ดา้ นทกั ษะการตดั สินใจ กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่มีระดบั ความฉลาดทางสุขภาพดา้ นทกั ษะการตดั สินใจ เป็ นส่วนใหญ่ คิดเป็ นรอ้ ยละ 83.55 อยใู่ นระดบั สูง (Mean = 20.25, S.D. = 2.92) ซ่ึงพบว่าขอ้ ที่มีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพมากที่สุด 2 อันดับแรก คือ ใน เรื่องท่ีจะดูแลสุขภาพตนเองเป็ นอย่างดีแมว้ ่าจะมีอาการปกติแลว้ มากที่สุดในกา ระดบั สูง รอ้ ยละ 91.70 (Mean = 22.90, S.D. = 4.50) รองลงมาเป็ นความฉลาด สุขภาพในการเขา้ รบั การรกั ษาอย่างต่อเนื่อง รอ้ ยละ 88.30 (Mean = 22.10, S.D.

วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 41 ปี ท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) = 5.30) ขอ้ ที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ความฉลาดทางสุขภาพในการเลือก รบั ประทานอาหารท่ีเหมาะสม รอ้ ยละ 55.85 (Mean = 13.95, S.D. = 8.35) 2.5 ดา้ นทกั ษะการจดั การตนเอง กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่มีระดบั ความฉลาดทางสุขภาพดา้ นทักษะการจัดการ ตนเอง คิดเป็ นรอ้ ยละ 79.39 อยู่ในระดับสูง (Mean = 19.85, S.D. = 3.97) ซึ่ง พบว่าขอ้ ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพมากที่สุด 2 อนั ดับแรก คือ ความ ฉลาดทางสุขภาพในการปรับปรุงตนเองใหม้ ีความรูใ้ นการดูแลสุขภาพได้อย่าง เหมาะสม ถูกตอ้ งมากท่ีสุดในระดับสูง รอ้ ยละ 84.53 (Mean = 21.15, S.D. = 4.65) รองลงมาเป็ นความฉลาดสุขภาพในการสังเกตปริมาณและคุณค่าทาง โภชนาการของอาหารก่อนรับประทาน รอ้ ยละ 81.51 (Mean = 20.40, S.D. = 5.00) ขอ้ ท่ีมีคะแนนเฉล่ียน้อยที่สุดคือ ความฉลาดในการปฏิบัติตนในการดูแล สุขภาพเพื่อชะลอความเสื่อมของไต อยู่ในระดบั สูง รอ้ ยละ 73.96 (Mean = 18.50, S.D. = 5.45) 2.6 ดา้ นทกั ษะรเู้ ท่าทนั ส่ือ กลุ่มตัวอย่างมีระดับความฉลาดทางสุขภาพดา้ นทกั ษะการรูเ้ ท่าทันสื่อ คิด เป็ นรอ้ ยละ 84.30 อยู่ในระดบั สูง (Mean = 21.08, S.D. = 3.65) ซ่ึงพบว่าขอ้ ท่ีมี คะแนนเฉล่ียความฉลาดทางสุขภาพมากที่สุด 2 อนั ดบั แรก คือ การใชว้ จิ ารญาณและ เหตุผลในการเลือกรับขอ้ มูลทางสุขภาพก่อนตัดสินใจ มากท่ีสุด รอ้ ยละ 91.70 (Mean = 22.90, S.D. = 3.75) รองลงมาเป็ นความฉลาดสุขภาพในการคน้ หาขอ้ มูล ของสื่อโฆษณาก่อนตดั สินใจ รอ้ ยละ 90.19 (Mean = 22.55, S.D. = 4.55) และขอ้ ท่ีมีคะแนนเฉล่ียน้อยท่ีสุด คือ ความฉลาดในการคน้ หาขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลท่ี หลากหลาย รอ้ ยละ 74.72 (Mean = 18.70, S.D. = 6.15) การอภปิ รายผล กลุ่มตัวอย่างมากกว่าคร่ึงมีระดับความฉลาดทางสุขภาพโดยรวมอยู่ใน ระดับสูง คิดเป็ นรอ้ ยละ 56.60 ระดับปานกลาง รอ้ ยละ 32.10 และระดับตา่ รอ้ ยละ 11.30 ตามลาดบั อภิปรายไดว้ ่ากลุ่มตวั อย่างที่มีความฉลาดทางสุขภาพในระดบั สูง อาจ มีสาเหตุมาจากการมีระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิที่เขม้ แข็ง มีอสม. และเจา้ หน้าที่ สาธารณสุขที่มีการเขา้ ถึงประชาชนไดอ้ ย่างทวั่ ถึงและกลุ่มตัวอย่างยงั อาจมีวิธีการดูแล

42 วารสารวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) ตวั เองท่ีดีอยูแ่ ลว้ จากโรคประจาตัวเดิมเช่น เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง เป็ นตน้ 9 อีกท้งั กลุ่มตวั อยา่ งยงั มีครอบครวั คูส่ มรส บุตร ญาติ หรือผูด้ ูแลท่ีคอยใหค้ าปรึกษาในการดูแล สุขภาพ จึงอาจเป็ นเหตุท่ีทาใหก้ ลุ่มตัวอย่างมีความฉลาดทางสุขภาพในระดับสูงได้10 ส่วนดา้ นทกั ษะการสื่อสารที่มีความฉลาดทางสุขภาพตา่ น้ันก็อาจมีสาเหตุมาจากการท่ีใช้ คาศพั ทเ์ ฉพาะทางการแพทยใ์ นการใหค้ วามรูก้ บั กลุ่มตวั อย่างทาใหย้ งั ไม่เขา้ ใจเกี่ยวกบั ความรูค้ วามเขา้ ใจในความหมายของโรคไตเร้ ือรงั กลุ่มตวั อยา่ งส่วนใหญ่เป็ นผูส้ ูงอายุทา ใหค้ วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยียงั มนี อ้ ย ในการที่จะหาขอ้ มูลเก่ียวกบั สุขภาพจึงยงั มี ไม่หลากหลายช่องทางมากนัก จากที่กล่าวมาน้ ีเองอาจเป็ นเหตุใหก้ ลุ่มตัวอย่างมีความ ฉลาดทางสุขภาพในระดบั ตา่ ได1้ 1 ดงั น้ันในฐานะที่เป็ นบุคคลกรทางสุขภาพจึงควรมีการ ส่งเสริมความฉลาดทางสุขกบั ภาพใหก้ บั กลุ่มตวั อย่างและกลุ่มผูป้ ่ วย เช่น เม่ือผูป้ ่ วยมา รบั บริการทางสุขภาพตอ้ งพาผูด้ ูแล ผูใ้ กลช้ ิดที่ทาหน้าที่ดูแล หรือ care giver มาพรอ้ ม ดว้ ยเพ่ือเป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารระหวา่ งผูป้ ่ วยและผูใ้ หบ้ ริการ หรือจดั ให้ มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้ แลกเปล่ียนประสบการณ์ ระหวา่ งผูป้ ่ วยดว้ ยกนั เอง เพื่อเป็ นการ เพ่ิมความฉลาดทางสุขภาพของผูป้ ่ วยโรคไตเร้ ือรงั ระยะเร่ิมตน้ ดา้ นทกั ษะความรูแ้ ละความเขา้ ใจเก่ียวกบั โรคไตเร้ ือรงั ระยะเริ่มตน้ โดยรวม อยูใ่ นระดบั สูง (Mean = 7.28,S.D. =0.99) ขอ้ ที่มคี วามฉลาดทางสุขภาพมากที่สุด การ มีความรูค้ วามเขา้ ใจในเร่ืองการดื่มสุราหรือเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอลจ์ ะทาใหร้ ะดบั ความ เสื่อมของไตลดลง อาจเน่ืองจากผูป้ ่ วยไดร้ บั ความรูจ้ ากโรคเดิมท่ีเป็ นมาก่อน และขอ้ ที่มี ความฉลาดทางสุขภาพน้อยท่ีสุด คือ ผูป้ ่ วยโรคไตเร้ ือรงั ระยะเริ่มตน้ คือ ผูป้ ่ วยที่มีอตั รา การกรองของไตผิดปกติเล็กน้อย มีค่ามากกว่า 60 มิลลิเมตรต่อนาทีต่อพ้ ืนผิวร่างกาย 1.73 ตารางเมตร ซ่ึงอาจเกิดจากการใชศ้ ัพท์ทางการแพทยใ์ นการอธิบายความหมาย ของโรคไตเร้ ือรงั ระยะเริ่มตน้ ทาใหผ้ ูต้ อบแบบสอบถามไม่เขา้ ใจความหมายได4้ ดงั น้ัน ควรมีการส่งเสริมและใหค้ วามรูใ้ นเรื่องความหมายและค่าปกติของอตั ราการกรองของไต เพ่ือใหผ้ ูต้ อบแบบสอบถามมีความรแู้ ละสามารถนาความรไู้ ปปฏิบตั ิใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม ดา้ นทักษะการเขา้ ถึงขอ้ มูลสุขภาพและบริการทางสุขภาพโดยรวมอยู่ใน ระดับสูง (Mean = 18.45, S.D. = 5.11) ซ่ึงพบว่าขอ้ ที่มีความฉลาดทางสุขภาพมาก ท่ีสุด 2 อนั ดบั แรก คือ การคน้ หาขอ้ มลู ดา้ นสุขภาพโดยการติดต่อขอขอ้ มลู จากเจา้ หน้าที่ สาธารณสุขใกลบ้ า้ น รองลงมาเป็ นการคน้ หาขอ้ มูลของแหล่งบริการสุขภาพที่จะไปรับ บริการ อาจเป็ นเพราะการเขา้ ถึงขอ้ มูลข่าวสารจากแหล่งบริการสุขภาพไดอ้ ย่างทัว่ ถึง เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลปทุม ขอ้ มูลจากเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข และอสม.

วารสารวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 43 ปี ท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) เป็ นส่วนใหญ่ การเขา้ ถึงการบริการสุขภาพมีช่องทางในการใหข้ อ้ มูลทางสุขภาพที่ หลากหลายมากข้ ึน และเป็ นไปในลักษณะของผูร้ ับผลการกระทา และมีการกาหนด รูปแบบหรือวิธีการเขา้ ถึงดว้ ยตนเอง จึงส่งผลใหม้ ีความรูค้ วามเขา้ ใจในส่วนน้ ีมาก ซึ่ง สอดคลอ้ งกับผลการศึกษาของ กญั ญา แซ่โก12 ไดศ้ ึกษาความแตกฉานดา้ นสุขภาพใน ผูป้ ่ วยผ่าตัดตา จากการศึกษาพบว่าผูป้ ่ วยผ่าตดั ตารอ้ ยละ 69.5 มีความแตกฉานอยู่ใน ระดับเพียงพอ ขอ้ ท่ีมีคะแนนเฉล่ียน้อยที่สุดคือ ความฉลาดในการคน้ ควา้ หาความรู้ เกี่ยวกบั การดูแลสุขภาพ จากแหล่งขอ้ มูลสุขภาพท่ีหลากหลายรอ้ ยละ 71.70 (Mean = 17.90, S.D. = 6.95) จะเห็นไดว้ ่าในพ้ ืนที่ท่ีกลุ่มตัวอย่างอาศัยอยู่ อยู่ใกลก้ ับแหล่ง บริการสาธารณสุข สามารถเขา้ ถึงง่ายมากกว่าการคน้ หาขอ้ มูลสุขภาพจากหลากหลาย แหล่ง อีกท้งั กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 60 ปี ทาใหก้ ารคน้ ควา้ หาขอ้ มูลทาง สุขภาพจากช่องทางอื่น เช่น อินเทอรเ์ น็ต เครือข่ายสงั คมออนไลน์ เป็ นไปไดย้ าก ดงั น้ัน จึงควรแนะนาใหค้ ู่สมรส บุคคลใกลช้ ิดและผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการช่วยคน้ หาขอ้ มูล เพ่ิมเติมจากหลากหลายช่องทาง ดา้ นทักษะการสื่อสารโดยรวมอยู่ในระดับสูง (Mean = 17.43, S.D. = 4.40) ซ่ึงพบว่าขอ้ ท่ีมีความฉลาดทางสุขภาพมากที่สุด คือ การกลา้ ถามขอ้ สงสัยจาก เจา้ หนา้ ที่ และความฉลาดทางสุขภาพในการขอความช่วยเหลือจากบุคคลอ่ืน เพื่อช่วยให้ สามารถอ่านขอ้ มูลจากส่ือสุขภาพมีน้อยที่สุด อาจเป็ นเพราะชุมชนท่ีผูต้ อบแบบสอบถาม อาศัยอยู่น้ันเป็ นชุมชนเมือง มีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลน้อย13 ส่งผลใหก้ ารเขา้ หา บุคคลอ่ืนเพื่อขอความช่วยเหลือน้ันเป็ นไปไดค้ ่อนขา้ งยาก ดงั น้ัน จึงแนะนาใหม้ ีการจดั รวมกลุ่ม เพ่ือพดู คุยและแลกเปล่ียนขอ้ มลู และประสบการณร์ ่วมกนั ดา้ นทักษะการตัดสินใจโดยรวมอยู่ในระดับสูง (Mean = 20.25, S.D. = 2.92) ความฉลาดทางสุขภาพมากท่ีสุด คือ เร่ืองท่ีจะดูแลสุขภาพตนเองเป็ นอยา่ งดีแมว้ ่า จะมีอาการปกติแลว้ รองลงมาเป็ นความฉลาดสุขภาพในการเขา้ รับการรักษาอย่าง ต่อเนื่อง ความฉลาดทางสุขภาพนอ้ ยที่สุดในการเลือกรบั ประทานอาหารท่ีเหมาะสม อาจ เป็ นเพราะความเคยชินในการปฏิบัติตัวก่อนที่จะเจ็บป่ วย ความเกรงใจบุคคลใน ครอบครวั ร่วมกบั ไมส่ ามารถปรบั ตวั ตามคาแนะนาทางสุขภาพ จึงมีผลต่อการตดั สินใจท่ี จะเลือกปฏิบตั ิเพื่อใหเ้ หมาะสมกบั ภาวะสุขภาพ14 ดา้ นทกั ษะการจดั การตนเองโดยรวมอยู่ในระดบั สูง (Mean = 19.85, S.D. = 3.97) มากที่สุด 2 อนั ดบั แรก คือ ความฉลาดทางสุขภาพในการปรบั ปรุงตนเองใหม้ ี ความรูใ้ นการดูแลสุขภาพไดอ้ ย่างเหมาะสม ถูกตอ้ งและการสังเกตปริมาณและคุณค่า