Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore TukDubTuk

Description: TukDubTuk

Search

Read the Text Version

ดใชบั ท้ทกุุกขข์์ พระอาจารยม์ านพ อุปสโม

ใชท้ ุกข์ ดับทุกข์ พระอ1าจารยม์ าใชน้ทพุกข์ อดับุปทุกสข์โม Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน

ทกุ ข์เกดิ ขึน้ ทีใ่ จ เวลาดบั ก็ตอ้ งดบั ทใี่ จ วธิ ีการดบั ทุกขท์ างใจ เราจะสามารถดบั ได้ เม่อื เราร้เู ท่าทันใจ ของตัวเราเอง พระอาจารย์มานพ อุปสโม 2

คำํ�นํ�ำ ใ นยามท่ีโลกวิกฤต ชีวิตของคนเรา หลายๆ คน ตอ้ งประสบพบกบั ความทกุ ขท์ เี่ กดิ จากภยั ของธรรมชาตสิ นึ ามิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ทป่ี ระเทศ ญี่ปุ่น และก็อีกหลายๆ ประเทศ ท�ำ ให้ผู้คน ตอ้ งล้มตายเปน็ จ�ำ นวนมาก ภัยจากธรรมชาติ และภัยจากวิกฤตเศรษฐกิจ ปัญหาความ ยากจน คนต้องด้ินรนแข่งขันในการแสวงหา เลีย้ งชพี ท�ำ ใหช้ วี ิตตอ้ งเปน็ ทุกข์ และวกิ ฤต ทางการบ้านการเมอื ง นกั การเมืองเขา้ มา 3 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

บริหารบ้านเมือง โดยมุง่ แสวงหาผลประโยชน์ ทำ�ให้นักการเมืองเกิดการชิงเด่นชิงดีกัน ผลสะท้อนทำ�ให้ประชาชนเดือดร้อนไปทุก หย่อมหญา้ ทำ�ใหช้ ีวิตตอ้ งเปน็ ทุกข์ เม่อื ชวี ิต เปน็ ทกุ ข์ หนงั สอื เลม่ นใ้ี ชช้ อ่ื วา่ ‘ใชท้ กุ ขด์ บั ทกุ ข’์ จะเป็นส่วนหน่ึงในการผ่อนคลายความทุกข์ บรรเทาความทุกข์ และดบั ทุกขใ์ ห้หมดไปจาก ใจของแตล่ ะคนๆ ได้ ตอ้ งขออนโุ มทนาคณุ พนดิ า ชอบวณชิ ชา พร้อมดว้ ยคณะ ทไ่ี ดร้ วบรวมทุนทรัพย์ พิมพ์ หนังสือมามอบไว้ให้ทางศูนย์ปฏิบัติธรรมเพื่อ แจกจ่ายผู้ใฝใ่ นธรรมทว่ั ๆ ไป หวังวา่ คงจะได้ รบั สาระและประโยชนแ์ กท่ กุ ๆ ท่าน ทไ่ี ด้อา่ น หนงั สือเลม่ น้ี ขออำ�นาจของคุณพระรัตนตรยั พระอาจารยม์ านพ อุปสโม 4

ช่วยบันดาลให้ท่านเจ้าภาพจัดพิมพ์ในคราว คร้ังนี้ ประสบแต่ความสุข ปราศจากความ ทุกข์ และมีโอกาสเข้าถึงธรรมบรรลุธรรมใน พระอริยสัจธรรมขององค์สมเด็จพระผู้มีพระ ภาคเจ้าโดยฉบั พลนั ดว้ ยเทอญ พระอาจารย์มานพ อุปสโม ศนู ยป์ ฏบิ ตั ธิ รรมเฉลมิ พระเกยี รติ 84 พรรษาราชนครนิ ทร์ เขาดินหนองแสง ต.เขาวงกต อ.แกง่ หางแมว จ.จันทบุรี 22600 5 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

ใช้ทุกข์ดับทุกข์ ข บวนการของความทุกข์ หรอื ในเร่อื ง ของความทกุ ข์ ทเี่ กดิ ขน้ึ แกต่ วั เรานน้ั สามารถ แก้ได้ ทำ�ให้ดับไปได้ ถ้าเราเข้าใจอุบายวิธี ในการดับทุกข์ วิธีการดับทุกข์ที่องค์สมเด็จพระผู้มี พระภาคเจ้าทรงแสดงไว้น้ัน เป็นอย่างไร ในหัวข้อได้ต้ังชื่อเรื่องเอาไว้แล้วว่า “ใช้ทุกข์ ดบั ทกุ ข”์ พระอาจารย์มานพ อปุ สโม 6

ก่อนอ่ืนเราต้องไปดูก่อนว่าทุกข์เกิดมา จากอะไร บรรดาความทุกข์ที่เกดิ ขึ้นแก่ตัวเรา น้นั มีทุกข์อยู่ ๒ ประการ คอื ทกุ ขท์ างกาย และทกุ ขท์ างใจ เมื่อมีทุกข์ทางกายต้องแก้ไขด้วยการ บำ�บดั ทกุ ขท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ทร่ี า่ งกายของเรา แกไ้ ขกนั ไปตามสถานการณ์ อย่างทุกข์เกิดข้ึนจากดิน ฟ้าอากาศ หนาวเกินไปบ้าง ร้อนเกินไปบ้าง เราก็บำ�บัดทุกข์ด้วยเคร่ืองป้องกันหนาว ป้องกันร้อน ทุกขเวทนาก็เกิดขึ้นบนร่างกาย เกิดข้ึนจากการเจ็บไขไ้ ดป้ ว่ ย เรากไ็ ปหาหมอ เพ่อื หายาบ�ำ บดั ส่วนทกุ ขท์ ี่จะปรารภถงึ ในวันนี้ เนน้ ไป ถึงเร่ืองทุกข์ทางใจ ก่อนอื่นเราควรทำ�ความ 7 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

เขา้ ใจในทกุ ขใ์ หถ้ อ่ งแท้ เพราะการทจี่ ะดบั ทกุ ข์ ทางใจ จะตอ้ งเขา้ ใจเรอ่ื งใจของตวั เราเองก่อน ถ้าเราไม่เข้าใจเรื่องของใจ ไม่รู้จักใจ ขณะใจ เปน็ ทกุ ขก์ ไ็ มร่ จู้ ะแกไ้ ขอยา่ งไร ทกุ ขเ์ กดิ ขน้ึ ทใ่ี จ เวลาดบั กต็ อ้ งดบั ทใ่ี จ วธิ กี ารดบั ทกุ ขท์ างใจเรา จะสามารถดบั ได้ เมอ่ื เรารเู้ ทา่ ทนั ใจของตวั เราเอง ทุกข์ทางใจเกิดมาจากอะไร เราต้อง เข้าใจก่อนเป็นอันดับแรก พระพุทธเจ้าทรง แสดงวา่ ทุกขเ์ กิดขนึ้ จากการดำ�ริถึง ตัวคดิ ถงึ ตัวปรารภถึง เป็นสาเหตุทำ�ให้ใจของเรา เป็นทุกข์ ดำ�ริถึงอะไร ดำ�ริถึงส่ิงใดสิ่งหนึ่งที่ ท�ำ ใหใ้ จเป็นทุกข์ แล้วจะแกไ้ ขอย่างไร ถ้าไม่ ตอ้ งการใหใ้ จเปน็ ทกุ ข์ กห็ ยดุ ด�ำ รถิ งึ การด�ำ รถิ งึ ก็คือการคิดถงึ นัน่ เอง พระอาจารยม์ านพ อปุ สโม 8

ใจของคนเรานน้ั มปี กติชอบคิด เราลอง ยอ้ นกลับไปมองดู หรือนึกทบทวนทกุ ขท์ างใจ ที่เคยเกิดขึ้นแก่ตัวเรา ทุกข์ทางใจท่ีทำ�ให้เรา เดอื ดรอ้ นใจ ไมส่ บายใจ นอ้ ยใจ เสยี ใจ กลมุ้ ใจ หนกั ใจ กงั วลใจ หวน่ั วติ กกงั วลตา่ งๆ เปน็ เรอ่ื ง ของใจทุกข์ท้งั ส้นิ ทุกขใ์ จน้ันคอื อะไร ทกุ ขใ์ จคอื ความไมส่ บายใจ ความรสู้ กึ ไม่ สบายทางใจนี้ ถามวา่ เคยเกดิ ขน้ึ แกต่ วั เราบา้ ง ไหม ใหเ้ ราทบทวนดวู า่ ขณะทเ่ี ราไมส่ บายใจนน้ั ใจของเราคิดถึงอะไรอยู่ เม่ือเราย้อนกลับไป มองดู เราก็จะรู้ว่าใจของเรานั้น กำ�ลังคิดถึง บคุ คลหรอื คดิ ถงึ สงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ อยู่ ใจของเราเปน็ ทุกข์เพราะใจคิดถึงเขาหรือคิดถึงสิ่งใดส่ิงหน่ึง 9 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

อยู่ แสดงวา่ ทีใ่ จของเราเปน็ ทกุ ขน์ นั้ เกิดจาก การคิดถงึ เขาหรือคิดถึงสิ่งใดสิ่งหน่ึงน้ันนั่นเอง จึงท�ำ ใหใ้ จของเราเป็นทกุ ข์ พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงวา่ ทุกขเ์ กิดจาก การดำ�ริ ถา้ ดำ�ริถงึ อารมณท์ เ่ี ราไม่คอ่ ยชอบใจ ก็คิดถึงในเชิงลบ คิดถึงอะไรๆ ก็คิดแต่เรื่อง เลวร้าย ใจของเราก็เกดิ อาการขัดเคอื ง ใจก็ ขุ่นข้อง ใจกเ็ ศรา้ หมอง แล้วใจกเ็ ปน็ ทุกข์ ใจเป็นทุกข์เพราะส่งใจออกไปข้างนอก ออกนอกตวั เรา ใจกำ�ลงั คิดถึงเขาอยู่ แลว้ เรา กเ็ ปน็ ทกุ ข์ เราคดิ ถงึ เขาอยา่ งไร คดิ ถงึ เขาทาง เลวร้าย-ประการหน่ึง คิดว่าเขากำ�ลังกระทำ� อะไรๆ แก่เรา หรือ เขาจะกระทำ�อะไรๆ แก่เรา เขาได้ทำ�อะไรๆ แก่เรา คิดอย่างนี้ ท�ำ ใหใ้ จหวน่ั วิตก คดิ อยา่ งนแี้ ล้วทำ�ใหใ้ จกังวล พระอาจารย์มานพ อุปสโม 10

คดิ อยา่ งนแ้ี ล้วท�ำ ให้ใจเป็นทุกข์ ในบางคร้ัง ทุกข์ทางใจท่ีเกิดข้ึนมา ก็ มไิ ด้เก่ียวกับตวั เรา แตเ่ ขาน้นั ไปกระทำ�อะไรๆ ทไี่ มด่ กี บั บคุ คลทเ่ี รารกั เหน็ ไหมวา่ เรามคี วาม ทุกข์เพราะดำ�ริถึงคนอ่ืน เราไปดำ�ริถึงเขาว่า เขากระทำ�อะไรๆ ไม่ดี กับบุคคลท่ีเรารัก ที่เราช่ืนชอบ หรือเขาจะกระทำ�อะไรๆ ไม่ดี กับบุคคลที่เรารักเราชื่นชอบ หรือเขาได้เคย กระทำ�อะไรๆ ไม่ดีกับคนรักคนท่ีเราชื่นชอบ พอคิดอยา่ งน้ี เรากข็ ดั ใจแล้ว เกิดอาการข่นุ ขอ้ งหมองใจ ใจเศรา้ หมองแลว้ หรอื เกดิ ขน้ึ ใน ลกั ษณะวา่ เขาไปกระท�ำ ดกี บั บคุ คลทเี่ ราเกลยี ด เห็นเขาจะกระทำ�ดี เห็นเขาได้เคยกระทำ�ดี หรอื เหน็ เขาก�ำ ลงั กระท�ำ ดี ตอ่ บคุ คลทเี่ ราไมช่ นื่ ชอบ เราก็เกิดความขดั ใจในตวั เขาทันที 11 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

เม่ือทกุ ข์ทางใจเกดิ ขนึ้ แลว้ ไปมองดู จะ เห็นวา่ เปน็ เรื่องเกี่ยวกับตวั เขา ไม่ได้เก่ยี วกับ ตวั เราเลย แตใ่ จของเราชอบไปยงุ่ เรอื่ งของเขา ชอบไปคิดถงึ เขา ใจของเรากเ็ ลยเป็นทกุ ข์ คือ ไปหาเรื่องทุกข์ใส่ตัว เตือนใจบ้าง พอเราดุ เราก�ำ ราบ ใจนั้นก็ไมก่ �ำ เรบิ เสบิ สาน ใจน้ันก็ จะด�ำ ริถึงเขาน้อยลง เปน็ เพราะด�ำ รถิ ึงเขาจงึ ท�ำ ให้ใจเราเปน็ ทกุ ข์ ถา้ ไม่มีเขามานงั่ ในใจเรา เราจะไมร่ สู้ ึกเป็นทุกขเ์ ลย เวลาเขามานั่งในใจ เรา ใจของเราก็เกดิ ปัญหา ท่ีจริงแล้วปัญหาทางใจไม่ใช่ขัดใจเพียง อย่างเดียว การท่ีเราชอบใจก็เป็นทุกข์ได้ คิดถึงเขาแล้วพอใจในตัวเขา …ทุกข์ท�ำ ไม… พอใจในตวั เขาแล้วไม่น่าทกุ ขเ์ ลยนะ การทีเ่ รา คดิ ถงึ เขา เราเกดิ ชนื่ ชมยินดใี นตวั เขา พอใจ พระอาจารยม์ านพ อปุ สโม 12

ในตวั เขาขน้ึ มาแลว้ เขากจ็ ะเปน็ ทร่ี กั ทช่ี นื่ ชอบ แก่ตัวเรา พอเขาเปน็ ท่รี กั เปน็ ทีช่ ืน่ ชอบแกต่ วั เราแล้ว ใครจะมาแตะตอ้ งตัวเขาไมไ่ ด้ คอื เรา ไมอ่ ยากใหใ้ ครมายงุ่ เกยี่ ว ใครจะมารกั เขา เรา ก็ไมช่ อบอีก เมอ่ื เรารกั เราพอใจ ไมอ่ ยากให้ ใครมารักรว่ มกับเรา ใจนัน้ เห็นแก่ตัวไหม พอ ใครแสดงตนวา่ จะมาชอบเขาขนึ้ มา เรากจ็ ะไม่ ชอบข้ึนมาทันที เพราะเราไม่อยากให้ใครมา เกี่ยวข้อง ถ้าจะมาเกี่ยวข้องในฐานะเลวร้าย เรากไ็ มช่ อบอีกใชไ่ หม มใี ครมาแตะตอ้ งไมไ่ ด้ ใจของเราเริม่ เปน็ ทุกข์ ใจนน้ั เป็นอยา่ งนี้ แต่ก็แล้วแต่บุคคลว่ารักหรือพอใจ ใน สถานะอย่างไร พอจะกล่าวได้ ๒ สถานะ คอื รกั พอใจดว้ ยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ รกั พอใจแลว้ ใจไม่ บรสิ ทุ ธิ์ รักพอใจด้วยความบริสทุ ธ์ใิ จ เหมือน 13 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

กบั พอ่ แมร่ กั ลกู พอ่ แมร่ กั ลกู นน้ั รกั ดว้ ยความ บริสุทธ์ิใจ เป็นความรักที่เกิดข้ึนเหมือนกับ พรหม เขาเรยี กวา่ “พรหมวหิ ารธรรม” ถ้าเป็นความรักที่เกิดจากความบริสุทธ์ิ ใจ คนอน่ื มารักมาชอบด้วย แบบนไ้ี ม่มปี ัญหา เราดีใจ เรามีความสุข แต่ถ้าคนอื่นมายุ่งใน ลักษณะกระท�ำ ไมด่ ีๆ กไ็ มไ่ ด้ เราจะร้สู ึกเปน็ ทุกข์ เราจะเปน็ ทกุ ขเ์ ปน็ ร้อน เป็นหว่ งเป็นใย อะไรตา่ งๆ นานา ยกตัวอย่างพ่อแม่รักลูกก็ทุกข์ ทุกข์ เพราะลกู หว่ งใยลกู วติ กกงั วล เกรงกลวั วา่ คน ทเี่ รารกั นนั้ จะเกดิ อนั ตราย กลวั ลกู ของเรานนั้ จะเปน็ ทุกข์ จะเดอื ดร้อน เรากเ็ ลยไมส่ บายใจ ทกุ ขท์ างใจเกิดจากการหว่ งใย เกิดจากรัก ถา้ ไม่รัก แลว้ จะไมเ่ ป็นทุกข์ พระอาจารยม์ านพ อปุ สโม 14

อกี สถานะหนง่ึ เรารกั เราพอใจในสถานะ ยดึ มนั่ ผกู พนั แตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว ตรงนท้ี กุ ขม์ าก หน่อยหนึ่ง แบบน้ีไม่ต้องการให้ใครมารักคน คนเดียวร่วมกับเรา หรือมาพอใจคนคนเดียว ร่วมกับเรา ถ้าคนอื่นมาแสดงปฏิกิริยาพอใจ ในคนทเี่ รารกั เราพอใจ เรากไ็ มส่ บายใจ อยา่ งน้ี เรยี กวา่ เรารักเราพอใจแบบยดึ มั่น ยึดม่ันว่าเป็นของของเรา เป็นของเรา แตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว เปน็ สามเี รา เปน็ ภรรยาเรา รกั ในฐานะชายหนุ่มหญิงสาวรักกัน ไม่ต้องการ ให้ใครมาแสดงความรัก ร่วมกับตัวเรา เรา เกิดการหวาดกลัวนั่นเอง กลัวว่าส่ิงที่เรารัก นน้ั จะเปน็ อน่ื จะไปปนั ใจไปแบง่ ใจใหก้ บั คนอนื่ รกั แบบนเ้ี รยี กวา่ รกั ดว้ ยความยดึ ถอื เปน็ ความ รกั ท่ไี มบ่ รสิ ทุ ธใ์ิ จ ความรักแบบนที้ ำ�ให้ใจเป็น 15 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

ทุกข์ ท�ำ ให้เดอื ดร้อนใจมาก ทกุ ขใ์ จมาก พระพุทธเจ้าทรงแสดงว่า รักส่ิงใดแล้ว ไมเ่ ปน็ ทกุ ข…์ ไมม่ ี ความเศรา้ โศกยอ่ มเกดิ จาก ของทรี่ ัก บุคคลใดมีอะไรๆ เป็นที่รัก ส่ิงน้ันจะ ทำ�ให้ใจเราเป็นทุกข์ มีทรัพย์สินเงินทอง ทรัพย์สินเงินทองน้ันทำ�ให้ใจเราเป็นทุกข์ มี บตุ รมีภรรยา บุตรภรรยาทเ่ี รารักก็จะทำ�ใหใ้ จ เราเป็นทกุ ข์ ทกุ ข์เกดิ มาจากของทร่ี กั รกั แลว้ ไมเ่ ปน็ ทกุ ขไ์ มม่ ี พอเราปลอ่ ยใจใหค้ ดิ ถงึ เขา ใจ ไปคดิ ถงึ เขา ไปคดิ ในเชงิ นา่ รกั นา่ พอใจแลว้ ใจก็ เกิดการผกู พัน เมอื่ ใจยดึ ถอื กเ็ ร่ิมเปน็ ทกุ ข์ ถ้า ใจไมผ่ ูกพนั ใจไม่ยึดถอื สงิ่ นัน้ ก็จะไม่ทำ�ใหใ้ จ เปน็ ทกุ ข์ สมยั ทพ่ี ระพุทธเจ้าทรงแสดงเร่ืองน้ี วา่ พระอาจารย์มานพ อุปสโม 16

รักสิ่งใด สิ่งนั้นจะทำ�ให้ใจเป็นทุกข์ ก็มีบุคคล คัดค้านว่า ทำ�ไมเรารักเราพอใจอะไรสักอย่าง หน่งึ แล้ว ทำ�ไมตอ้ งเป็นทกุ ขด์ ว้ ย ดังเช่นพระเจ้าปเสนทิโกศล พระองค์ก็ ทรงคัดค้าน จนกระทั่งพระวรชายาของท่าน ต้องอธิบายให้ฟงั ว่า ท�ำ ไมจงึ เป็นทุกข์ ไดย้ ก ตวั อยา่ งว่า การทีพ่ ระองคร์ ักหมอ่ มฉัน หาก ถา้ หมอ่ มฉนั ไปเกิดอนั ตราย ไปเป็นอะไรๆ ไป พระองค์จะเป็นทุกข์ไหม พระราชาก็เร่ิมมอง เหน็ ความจรงิ วา่ รกั สง่ิ ใดแลว้ เราจะไมก่ งั วลใจ เพราะส่งิ นัน้ ไม่มี รกั บตุ รก็กงั วลใจในตวั บุตร รักภรรยาก็ กังวลใจในตัวภรรยา รักสามีก็กังวลใจในสามี รักวัตถุส่ิงของก็กังวลใจในวัตถุสิ่งของ กังวล ใจไปตา่ งๆ นานา เราชอบใจส่งิ ใดส่งิ หน่ึงแลว้ 17 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

เราก็มวั กงั วลใจ พอ่ แมร่ ักลูก พอ่ แม่กก็ งั วลใจ ในลกู หว่ งลกู กลวั ลกู จะเรยี นไมส่ �ำ เรจ็ กลวั เขา จะไม่เก่ง กลัวเขาจะไม่ประสบความสำ�เร็จใน ชวี ติ กลวั เขาจะเรยี นไมจ่ บ แลว้ กก็ ลวั ลกู ของเรา จะไปเกดิ อันตราย ไปคบเพื่อนไมด่ ี ตดิ ยาเสพ ตดิ อะไรตา่ งๆ ความทกุ ขข์ องพอ่ แมน่ ี้ ใครเปน็ พอ่ เปน็ แมแ่ ล้วจะรูด้ ี คราวน้ีจะช้ีให้เห็นอีกว่า รักแล้ว เป็น ทุกข์ไม่สบายใจ เพราะใจคิดถึงเขา หรือถ้า คิดถึงเขาแล้วไม่ชอบใจในตัวเขาก็ทุกข์อีก แปลกไหม ทำ�ไมชอบใจแล้วมาเปลี่ยนเป็น ไมช่ อบใจ ลองชอบใจอะไรสกั อยา่ ง แลว้ ตอ่ ไป ใจของเราก็เปล่ียนเป็นขัดใจ เช่นสามีภรรยา รกั กนั ใหมๆ่ ตา่ งคนตา่ งซอ่ นเรน้ กนั เกบ็ ความ ไม่ดซี กุ ซ่อนไว้ ไม่ยอมให้ไหลออกมา พูดจาก็ พระอาจารยม์ านพ อุปสโม 18

ระวงั แสดงปฏกิ ริ ยิ าอะไรกร็ ะวงั พอเราอยกู่ นั ไปสักระยะหน่งึ กถ็ ูกเปิดเผยออกมาทีละนดิ ๆ แล้วเราก็เปิดเผยเตม็ ที่ ขัดใจกันบา้ ง น้อยใจ กันบา้ ง กระฟัดกระเฟียดอะไรต่างๆ พระพทุ ธเจา้ ทา่ นแสดงวา่ ทกุ ข์ เกดิ จาก ใจด�ำ ริ เมือ่ ด�ำ ริถึงอะไรๆ แลว้ เราไม่ได้ระวงั ใจ เราไม่รูท้ นั ใจ ใจท่ีด�ำ รถิ งึ ส่ิงนั้น ก็จะแสดง ปฏกิ ริ ยิ า ๒ ประการ คือแสดงปฏิกิรยิ าเปน็ ไปในฐานะชน่ื ชมยนิ ดพี อใจ แลว้ จงึ สรา้ งปญั หา ตามมา ใหเ้ กดิ เปน็ ความทุกข์ ดำ�ริถงึ แลว้ เกิด อาการขดั อกขดั ใจ ใจกเ็ ปน็ ทกุ ข์ จติ คดิ อยา่ งนี้ ลว้ นท�ำ ใหใ้ จเปน็ ทกุ ข์ แลว้ จะแกท้ กุ ขไ์ ดอ้ ยา่ งไร จิตคดิ เราห้ามไม่ได้ จติ จะคดิ อย่างไรๆ หากเราสามารถดูใจที่กำ�ลังคิดนั้นทัน ตรงน้ี 19 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

แหละจะเป็นทางแก้ หรอื กลา่ ววา่ ถ้าหา้ มใจ ไมใ่ ห้คดิ ได้ ปัญหากน็ ่าจะแกไ้ ด้ การคดิ ใน ๒ ลักษณะ คดิ ถงึ ในลักษณะน่ารกั น่าพอใจ…ก็ไม่ คดิ คดิ ถงึ ในลกั ษณะไม่นา่ รักไมน่ ่าชอบใจ…ก็ ไมค่ ดิ ถา้ เราไมค่ ดิ ๒ อยา่ งนี้ ใจของเราจะไม่ เป็นทุกข์ ถ้าเราวางใจเฉยได้ ใจก็ไมเ่ ปน็ ทุกข์ ตรงนี้นี่แหละ ที่พระพุทธเจา้ ต้องการให้ เรามาฝึก มาฝกึ ใจของเราใหห้ นกั แนน่ ทำ�ใจ ให้หนักแน่นเหมือนกับแผ่นดิน ทำ�ใจให้หนัก แนน่ เหมอื นกบั แมน่ �้ำ ท�ำ ใจใหห้ นกั แนน่ เหมอื น กบั ศิลาแทง่ ทบึ เหมือนกับก้อนหนิ ใหญ่ ทา่ น บอกว่า บางครั้งบุคคลก็ถ่ายสิ่งสกปรกลงบน ผนื แผ่นดิน ผืนแผ่นดินกเ็ ฉยๆ เอาสิ่งดีๆ ไป ราดรดบนผนื แผน่ ดนิ ผนื แผน่ ดนิ กเ็ ฉยๆ ภเู ขา ศลิ าแทง่ ทบึ ไมห่ วน่ั ไหวเพราะแรงลม ลมพดั มา พระอาจารยม์ านพ อุปสโม 20

อยา่ งไรศิลาใหญ่ไมเ่ คยคลอนแคลนม่นั คง เรา เทสง่ิ สกปรกโสโครกลงในนำ้� น้ำ�กเ็ ฉย เอาสง่ิ ดๆี เทลงไปในน้ำ� นำ�้ ก็เฉย ถา้ ใครท�ำ ใจใหห้ นกั แนน่ อยา่ งนไ้ี ด้ แลว้ ใจ จะไมเ่ ปน็ ทกุ ข์ ท�ำ ใจใหห้ นกั แนน่ แบบน้ี ใครมา ดา่ เรา เราก็ฟังเฉยๆ ใครมาชมเรา เรากฟ็ งั เฉยๆ เขาชมเรา เรารสู้ กึ ชน่ื ใจไหม มคี นมา ชมเรา เรากช็ นื่ ใจ ใจนน้ั กไ็ มเ่ ฉยแลว้ หวน่ั ไหว แล้ว เขามาดา่ เรา เราขัดใจ กห็ วน่ั ไหวแล้ว ไมเ่ ฉยแล้ว ต้องทำ�ใจให้เฉยๆ ทำ�ได้ไหม ทำ�ใจเฉยๆ การทำ�ให้เฉย คงจะท�ำ ไดย้ าก เขาด่าป๊ับ กข็ ดั ใจข้ึนทนั ที ถา้ เขาชม เราก็กลบั พอใจ การทจ่ี ะทำ�ใหใ้ จเฉย พระพทุ ธเจา้ แสดงวธิ ที �ำ ใจใหว้ างเฉย ไว้ ๒ วธิ ี 21 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

วิธที ี่ ๑ ดว้ ยวธิ เี ราไมเ่ อาใจใสต่ อ่ สง่ิ นนั้ เบนเบย่ี ง ใจไปใสใ่ จในสงิ่ อน่ื อยา่ งเขามาดา่ เรา เรากเ็ บน เบีย่ งใจเสีย ไมไ่ ปใสใ่ จในเรื่องท่เี ขาดา่ เขาชม เรา เรากเ็ บนเบยี่ งใจ ไมไ่ ปเอาใจใสใ่ นเสยี งทเ่ี ขา ชม โดยเอาใจไปก�ำ หนดอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ แทน กำ�หนดอะไร… กำ�หนดลมหายใจเข้า-ออก ลองน่ังสังเกตลมหายใจเฉยๆ จะเป็นการเบน เบี่ยงใจ เขาด่า เราได้ยินไม่ใช่ไม่ได้ยิน แต่ เราไมใ่ สใ่ จ ไปใส่ใจลมหายใจแทน เขาชมเรา เรากไ็ ดย้ นิ แตเ่ ราไมไ่ ดใ้ สใ่ จ ไปใสใ่ จลมหายใจ แทน พอใส่ใจลมหายใจแทน เบนเบ่ียงใจได้ ส�ำ เรจ็ ใจไมเ่ ปน็ ทุกข์ ใจหนักแน่น ทำ�ใหใ้ จ หนักแน่น การทำ�ใจให้หนักแน่น ด้วยการเอาจิต พระอาจารยม์ านพ อุปสโม 22

ไปอยู่กับสิ่งใดส่ิงหน่ึงเพียงอย่างเดียว เมื่อจิต ไปอยู่กับสิ่งใดสิ่งหน่ึงเพียงอย่างเดียว จิตไม่ รบั ร้สู ิง่ ตา่ งๆ หรอื เร่อื งอ่ืนๆ เรยี กวา่ จิตตั้งมนั่ เป็นการฝึกจิตของตัวเราให้ต้ังม่ัน การทำ�จิต ให้ต้ังมั่นในสิ่งใดส่ิงหนึ่งเพียงส่ิงเดียวนี้เรียกว่า สมาธิ สมาธแิ ปลว่าการท�ำ จิตใหต้ งั้ มัน่ ท�ำ จิต ใหส้ งบ เขาเรยี กวา่ สมถะ สงบในอารมณเ์ ดยี ว นี้ เปน็ วิธกี ารอย่างท่ี ๑ ทีเ่ ราจะท�ำ ใจใหห้ นัก แน่น ใจไม่หวนั่ ไหวด้วยการเบนเบี่ยงใจ ใหใ้ จ ไปรบั รู้อยู่กบั อารมณ์ใดอารมณห์ น่งึ เพียงอยา่ ง เดยี ว แลว้ ใจของเรากเ็ รม่ิ หนกั แนน่ ใจของเรา กไ็ มห่ วน่ั ไหว พอใจหนกั แนน่ พอใจไมห่ วนั่ ไหว ใจก็ไม่เป็นทกุ ข์ 23 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

วิธที ่ี ๒ ฝกึ ใจใหร้ อบรเู้ ทา่ ทนั ใจ แลว้ ใจจะไมเ่ ปน็ ทุกข์ ใจร้สู กึ อย่างไรใหเ้ ราตามดใู จจนเรารูเ้ ทา่ ทัน เรียกว่าวิธดี ูใจ ทำ�ไดไ้ หมการดูใจตัวเอง ขณะนีม้ ีใจไหม ใจเดียวหรือหลายใจ เราเปน็ คนใจเดียวหรอื หลายใจ จรงิ ๆ แลว้ เราไม่ไดม้ ี ใจเดียว แต่มีหลายใจ วิธีการฝึกดูใจให้เป็น เราจะเริ่มต้น อยา่ งไร ให้เราสังเกตว่าในวันหน่ึงๆ เราคิดถึง เรื่องต่างๆ มากมาย เราไม่ได้คิดถึงเร่ืองใด เร่ืองหน่ึงเพียงเร่ืองเดียว ฝึกดูความคิดว่า จิตของเราน้ัน คิดถึงเรื่องใหม่ๆ อยู่เร่ือยๆ เปลี่ยนเรื่องคิดอยู่เร่ือยๆ ฝึกดูความรู้สึกใน ขณะจิตคิดถึงเร่ืองต่างๆ แต่ละอย่างๆ จิต พระอาจารยม์ านพ อปุ สโม 24

เปลี่ยนความรสู้ กึ อยเู่ รือ่ ยๆ ที่วา่ จิตคดิ ถงึ เรอ่ื ง ใหม่อยู่เรื่อยๆ เม่ือเราสังเกตเราจะเห็นว่าจิต คิดถึงเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงแล้ว จิตจะไปคิดถึง เรอ่ื งอน่ื ๆ ตอ่ อกี แลว้ กค็ ดิ ถงึ เรอื่ งใหมๆ่ อยไู่ ม่ หยดุ บางครงั้ กจ็ ะกลบั มาคดิ ถงึ เรอ่ื งเหลา่ นน้ั ซ�ำ้ อีก แลว้ ก็เปลยี่ นเรอื่ งต่อไปอกี ถา้ เราเหน็ ใจเปลย่ี นเรอ่ื งคดิ เรากจ็ ะเรม่ิ รจู้ กั ใจ และทใี่ หฝ้ กึ ดจู ติ เปลยี่ นความรสู้ กึ เวลา คิดถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ก็จะมีความรู้สึกอย่างหนึ่ง บางคร้ังก็รู้สึกดีๆ ต่อเรื่องๆ นั้น บางคร้ังก็ รสู้ กึ ไมด่ ตี อ่ เรอื่ งๆ นน้ั บางครง้ั กร็ สู้ กึ เฉยๆ ตอ่ เร่ืองๆ นัน้ บางครัง้ คดิ ถึงแล้วอยากได้ บาง คร้ังคิดถึงแล้วไม่อยากได้ บางครั้งคิดถึงแล้ว ลำ�บากใจ บางคร้ังคิดถึงแล้วสบายใจ บาง คร้งั คดิ ถงึ แลว้ ก็เฉยๆ บางคร้ังคิดถงึ แลว้ ชอบ 25 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

คิดถึงบอ่ ยๆ บางครง้ั คดิ ถงึ แลว้ ก็ผา่ นไปเลย ฝึกสังเกตให้เห็นความรู้สึกเหล่านี้ จิต ของเราน้ัน บางครั้งก็ปลอดโปร่งโล่งใจ บาง คร้ังก็อดึ อัด ขดั ใจ หนกั ใจ เม่ือมคี วามรสู้ กึ อย่างหนึ่งอย่างใด ฝึกมองดูใจท่ีเปลี่ยนความ รสู้ กึ ก็จะทำ�ให้เรารูจ้ กั ใจ เมื่อเรารู้จักใจของตัวเราเองแล้ว เราก็ เข้าไปสู่ขบวนการ “ใชท้ ุกข์ดับทุกข์” ใช้ทุกข์ดบั ทุกขไ์ ด้อย่างไร เม่ือใจของเราเป็นทุกข์เวลาใด ท่านให้ เราเอาใจท่ีเป็นทกุ ขน์ ้ันมามองดู ในขณะทีเ่ รา มองดูใจท่ีกำ�ลังเป็นทุกข์ ขณะน้ันเราได้หยุด ดำ�ริถึงเรื่องหรือบุคคลที่ทำ�ให้ใจของเราเป็น ทกุ ข์ ทกุ ขข์ องตวั เรานน้ั ทก่ี ลา่ วไวเ้ บอื้ งตน้ วา่ เกดิ ขึน้ จากการดำ�รถิ งึ ใจท่ีด�ำ รถิ ึงเปน็ สาเหตุ พระอาจารยม์ านพ อปุ สโม 26

ทำ�ให้ใจเป็นทุกข์ เราดำ�ริถึงใครคนใดคนหนึ่ง ทเ่ี ราไม่ชอบใจ ใจของเรากร็ ู้สึกขดั ใจในตวั เขา ทันที พอรสู้ ึกขัดใจ ใจเรากเ็ รมิ่ ทกุ ข์ องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ให้เรา ตามดใู จ เพอ่ื สกดั กน้ั ใจ ไม่ให้ดำ�รถิ ึงสงิ่ ใดส่งิ หน่งึ เร่อื งใดเรอ่ื งหน่งึ ทีก่ ำ�ลงั ท�ำ ใหใ้ จเปน็ ทุกข์ หลักธรรมในพระพุทธศาสนาน้ัน ท่านให้ใช้ ทุกข์ดับทุกข์ ใช้ความรู้สึกโกรธดับโกรธ ใช้ ความรู้สึกหงุดหงิดดับหงุดหงิด ใช้ความรู้สึก รำ�คาญดับรำ�คาญ ใช้ความรู้สึกฟุ้งซ่านดับ ฟุ้งซ่าน ใช้ความรู้สึกหวาดกลัวดับหวาดกลัว ใช้ความรู้สึกหวาดระแวงดับหวาดระแวง ใช้ ความรู้สึกน้อยใจดับน้อยใจ ใช้ความรู้สึกขัด เคอื งดบั ความขัดเคอื ง มีบุคคลท่ีเราคดิ ถงึ แล้วเราเป็นทุกข์ 27 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

บุคคลคนน้ันอยู่ข้างนอกตัวเรา แต่ใจ ของเราทเ่ี ปน็ ทกุ ขน์ น้ั เกดิ ขน้ึ ขา้ งใน พอเรามอง ดใู จที่ก�ำ ลงั เป็นทุกข์ข้างใน เราก็หยดุ คดิ ถงึ คน ที่ท�ำ ให้ใจของเราเป็นทุกขข์ า้ งนอก เมือ่ เราไม่ คิดถึงคนคนนั้น ใจของเราก็เลยไม่เป็นทุกข์ อีกตอ่ ไป ขณะทีใ่ จหงุดหงดิ ใจร�ำ คาญ ใจฟุง้ ซ่าน ใจขัดเคอื ง กเ็ หมือนกนั คดิ ถงึ เรอ่ื งท่ีทำ�ใหใ้ จ หงุดหงดิ ใจเลยหงดุ หงิด พอดใู จท่ีหงดุ หงดิ ก็ เลยหยดุ คดิ ถงึ เรอื่ งทท่ี �ำ ใหใ้ จหงดุ หงดิ เลยหาย หงดุ หงดิ คดิ ถงึ เรอื่ งทที่ ำ�ใหใ้ จฟงุ้ ซา่ น ใจกเ็ ลย ฟงุ้ ซา่ น พอมาดคู วามรสู้ กึ ฟงุ้ ซา่ นเลยหยดุ ด�ำ ริ ถึงเรื่องทีฟ่ ุง้ ซา่ น เมอื่ ไมด่ ำ�รถิ ึงเร่อื งที่ทำ�ให้ใจ ฟุ้งซ่าน กเ็ ลยหายฟงุ้ ซา่ น ในยามที่ใจหวาดกลัว เพราะไปคิดถึง พระอาจารย์มานพ อปุ สโม 28

เรอื่ งทนี่ า่ กลวั เรอื่ งนา่ กลวั นนั้ อยขู่ า้ งนอก พอ คิดถึงเร่ืองท่ีน่ากลัวข้างนอก ก็เกิดความรู้สึก กลัวขา้ งใน พอดูความร้สู ึกกลวั ข้างในขณะนัน้ ก็ไม่ไปใส่ใจเร่ืองที่น่ากลัวข้างนอก ก็เลยหาย หวาดกลัว ปัญหาใจของคนเรา เกิดจากใจดำ�ริถึง เรอ่ื งตา่ งๆ ทท่ี ำ�ให้ใจมปี ญั หา ทา่ นใหเ้ ราหยดุ ดำ�ริถงึ เร่ืองต่างๆ ทที่ �ำ ใหใ้ จมีปัญหา ใจของ เรากจ็ ะไมม่ ปี ญั หา ใจหมดปัญหา ทุกขท์ างใจ ก็ไม่เกดิ ใช้ทุกข์ดับทุกข์ หมายถึง ดูใจท่ีกำ�ลัง เปน็ ทกุ ข์ พอดใู จทกี่ ำ�ลงั เปน็ ทกุ ข์ กห็ ยดุ คดิ ถงึ เรอ่ื งทท่ี �ำ ใหใ้ จทกุ ข์ ใจของเรากเ็ ลยไมท่ กุ ข์ พอ จะเขา้ ใจไหม การจะดูใจตรงนี้ได้ ก็ต้องอาศยั สติและ 29 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

สัมปชัญญะ สติสัมปชัญญะจะเป็นอุปกรณ์ ในการใช้ดูใจ สติสัมปชัญญะนั้นคืออะไร ที่ เราจำ�ได้และเข้าใจ สติคือความระลึก ส่วน สมั ปชัญญะนั้นไดแ้ ก่ความรสู้ กึ พอเอามารวม กนั แล้วแปลว่าระลกึ รู้ การระลกึ รูน้ ้ีแหละเรยี ก ว่า สติสมั ปชญั ญะ ถ้าจะให้เข้าใจง่ายๆ สติสัมปชัญญะน้ัน ตรงกบั ภาษาไทยของเราค�ำ หนง่ึ คอื การสงั เกต ในการสังเกตมีทั้งสติและสัมปชัญญะอยู่ครบ บรบิ รู ณ์ ถา้ ถามวา่ มสี ตสิ มั ปชญั ญะแลว้ หรอื ยงั กต็ อ้ งถามต่อไปวา่ ได้สงั เกตแลว้ หรอื ยงั ถา้ ได้ สังเกตแล้วเกิดความรู้สึกขึ้น ความรู้สึกที่เกิด ขน้ึ จากการสงั เกตนัน้ เรยี กว่า สตสิ มั ปชญั ญะ คราวน้ีก็มาดูต่อไปว่า สังเกตอะไรแล้ว พระอาจารยม์ านพ อุปสโม 30

ไดส้ ตสิ ัมปชญั ญะ พระพุทธเจา้ ใหเ้ ราสงั เกตสิ่ง ๔ ส่ิง ที่ท่านเรียกวา่ สตปิ ัฏฐาน ๔ ได้แก่ กาย เวทนา จิต ธรรม ทมี่ ีอยู่ในตัวเราด้วย กนั ทกุ คน สงิ่ ๔ สง่ิ ทมี่ อี ยใู่ นตวั เรานนั้ คอื อะไร ไดแ้ ก่ รา่ งกายและความรสู้ ึก ร่างกายท่านนับเป็น ๑ ความรูส้ กึ ท่าน แบง่ ออกเป็น ๓ คอื ความรู้สึกสบาย ไม่สบาย และเฉยๆ ท่านเรยี กว่า เวทนา, ความรู้สึกทางตาในขณะมองดู ความ รู้สึกทางหูในขณะมีเสียงดัง ความรู้สึกทาง จมูกเมื่อมีกล่ินมากระทบ ความรู้สึกทางล้ิน ขณะรบั ประทานอาหาร ความรสู้ กึ ในความเยน็ ร้อนอ่อนแขง็ หย่อนตงึ ทางร่างกาย ความรูส้ กึ โดยตรงทางใจ เหลา่ นที้ า่ นเรียกว่าจติ , 31 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

ความรสู้ กึ ชอบ ความร้สู ึกไมช่ อบ ยินดี ยนิ รา้ ย หวัน่ ไหว หวาดระแวง รู้สึกง่วงเหงา หาวนอน รสู้ กึ สงสยั ลงั เลใจ ทเี่ ปน็ ความรสู้ กึ ไม่ คอ่ ยดๆี หรือความรูส้ กึ ดีๆ ศรัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ เหลา่ นเ้ี ปน็ ตน้ เปน็ สภาพธรรม สติสัมปชัญญะเกิดข้ึนจากการสังเกตส่ิง ๔ สงิ่ ที่ท่านเรียกว่า กาย เวทนา จิต ธรรม คือสตปิ ฏั ฐาน ๔ นั้น นั่นเอง ทเี่ รยี กวา่ สตปิ ฏั ฐาน ตอ้ งเปน็ ความรสู้ กึ ทเ่ี กิดขน้ึ จากการสังเกตเทา่ น้ัน ขอยกตัวอย่าง สัก ๒ อย่าง ในอริ ยิ าบถ ๔ อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ทมี่ อี ยู่ แก่ตัวเราในขณะนี้ ถ้ามใี ครถามวา่ ท�ำ อะไรอยู่ เราสามารถตอบได้ทันทีว่าเราท�ำ อะไรอยู่ ถ้า เราน่ังอย…ู่ เราก็ตอบว่าน่ัง ถ้าเรายืนอย…ู่ เรา พระอาจารยม์ านพ อปุ สโม 32

กต็ อบวา่ ยนื ถา้ เราเดนิ ...เรากต็ อบว่าเดนิ เล่น หรอื เรานอนอยู่…เราก็ตอบวา่ นอน ตอบดว้ ย ความรสู้ กึ เคยชนิ จงึ ไมไ่ ดม้ กี ารสงั เกต อยา่ งนี้ เรยี กวา่ ยงั ไมม่ ีสตสิ มั ปชญั ญะ ถ้าจะให้มีสติสัมปชัญญะ จะต้องมีการ สังเกตก่อนแล้วเรารู้สึกตัวท่ัวพร้อม เม่ือรู้สึก ตวั ทัว่ พรอ้ ม เรียกวา่ มีสตสิ ัมปชญั ญะ รสู้ กึ ตวั ทวั่ พรอ้ มเปน็ อยา่ งไร…คอื สงั เกต แล้วมองเห็นในอากัปกิริยาอาการของร่างกาย ไปมองเห็นด้วยความรูส้ ึกในอาการต่างๆ ของ รา่ งกายว่าปรากฏอยอู่ ย่างไรๆ ไปเห็นอาการ ของศีรษะของตัวเราเอง ไปเห็นอาการของ แขนแต่ละข้างของตัวเราเอง ไปเห็นอาการ ของล�ำ ตัวของตวั เราเอง ไปเหน็ อาการของขา แตล่ ะขา้ งของตวั เราเอง ทป่ี รากฏในอาการนน้ั 33 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

ทก่ี �ำ ลงั เปน็ อยใู่ นขณะนงั่ อยู่ ในขณะยนื อยู่ และ ในขณะนอนอยู่ ทง้ั ๓ อริ ยิ าบถใดอริ ยิ าบถหนงึ่ อยา่ งน้ี เรียกว่ารู้สกึ ตัวทั่วพรอ้ ม เกิดขน้ึ จาก การสงั เกตในอากปั กริ ยิ าอาการของรา่ งกายนนั้ เรียกว่า สติสมั ปชญั ญะ ส่วนอริ ิยาบถเดนิ เปน็ อริ ิยาบถทีพ่ เิ ศษ มสี ง่ิ ใหเ้ ราสงั เกตแลว้ เกดิ ความรสู้ กึ ไดม้ ากมาย มที งั้ กาย และความรสู้ กึ ใหเ้ ราสงั เกตรู้ เราจะ เริ่มสังเกตอย่างไร เรมิ่ ต้นดว้ ยการยนื อย่างสบายๆ เท้า ๒ ขา้ งห่างกนั ประมาณ ๑ คบื ปรบั แขนทง้ั ๒ ข้างให้อยู่ในท่าสบายๆ อย่างใดอย่างหนึ่งใน ๔ ทา่ จับมือไวข้ ้างหน้าจับมือหลวมๆ จับมอื พระอาจารยม์ านพ อปุ สโม 34

สบายๆ หรือจับมือไว้ข้างหลังจับมือหลวมๆ จับมือสบายๆ หรอื ปล่อยแขน ๒ ขา้ ง อย่าง สบายๆ มอี กี ทา่ หนง่ึ กอดอกหลวมๆ กอดอก สบายๆ แลว้ สงั เกตดวู า่ อยทู่ า่ ไหนสบายทสี่ ดุ ก็ เลอื กเอาทา่ นน้ั อยใู่ นทา่ สบายๆ ท�ำ ใหร้ า่ งกาย ไม่มอี าการเกรง็ ตอ่ จากนน้ั ใหส้ งั เกตการเคลอ่ื นกาย โดย การทิ้งน้ำ�หนัก ไปไว้ที่ขาซ้ายสังเกตเห็นกาย เคลอื่ นไปทางซา้ ยอยา่ งชา้ ๆ ทงิ้ น�ำ้ หนกั ไปทาง ขวา สังเกตเห็นกายเคลื่อนไปทางขวาอย่าง ช้าๆ เคลื่อนไปเคล่ือนมา สังเกตให้ชดั เจนสกั พักหน่ึง แล้วให้เพ่ิมการสังเกตท่ีบริเวณฝ่าเท้า เราจะเคลื่อนไปทางไหน เช่นเราจะเคล่ือน ไปทางซ้าย สังเกตบริเวณฝ่าเท้าข้างซ้ายที่ 35 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

กระทบพ้ืนอยู่ แล้วเคลื่อนไปทางซ้ายอย่าง ช้าๆ สงั เกตดีๆ ตรงฝ่าเท้าข้างซ้ายที่กระทบ พนื้ อยู่ เราจะเกิดความรู้สึกมองเหน็ ด้วยความ รู้สึกว่า ตรงฝ่าเท้าข้างซ้ายนั้นหนักเพ่ิมขึ้นที ละนอ้ ยๆ เคลื่อนไปจนสดุ จะมองเหน็ บริเวณ ส่วนขาด้านบนตึงนิดๆ แล้วย้ายจิตไปสังเกต ทบี่ รเิ วณฝา่ เทา้ ขา้ งขวาตรงทถี่ กู พนื้ เหมอื นกนั ใส่ใจตรงน้ันให้ดีแล้วเคล่ือนตัวไปทางขวาทีละ น้อยๆ เราจะมองเหน็ ดว้ ยความรสู้ กึ วา่ บรเิ วณ นนั้ หนกั เพมิ่ ขนึ้ ทลี ะนอ้ ยๆ เคลอ่ื นไปเคลอื่ นมา ใสใ่ จใหช้ ดั เจน ต่อจากน้ัน ให้สังเกตให้ละเอียดย่ิงข้ึน จะเคล่ือนไปทางซ้าย ใส่ใจท่ีเดิมตรงฝ่าเท้า ที่กระทบพ้ืน แล้วเคลื่อนตัวไปทางซ้ายช้าๆ ใส่ใจดๆี จะเหน็ ดว้ ยความรสู้ กึ ว่ามกี ายเคลอ่ื น พระอาจารย์มานพ อปุ สโม 36

ไปทางซ้าย และตรงบริเวณฝ่าเท้าท่ีกระทบ พื้นอยู่นั้น มีความรู้สึกหนักเพิ่มข้ึนๆ ทำ�ให้ เราสังเกตเห็น ด้วยความรู้สึกในการเคล่ือน กาย และเทา้ หนกั เพิม่ ขึน้ ๆ ได้ ๒ ประการ จะเหน็ วา่ มกี ายเคลอ่ื นกอ่ นไปนดิ หนง่ึ และเหน็ ความรสู้ กึ ตรงฝา่ เทา้ หนกั เพม่ิ ขนึ้ นดิ หนง่ึ แลว้ ก็เห็นหนกั ๆ ไดอ้ ยา่ งชัดเจน อย่างนี้ เรียกว่า สตสิ ัมปชัญญะเพิ่มพนู มีความก้าวหนา้ แลว้ ต่อจากน้ันใหก้ า้ วเท้าสบายๆ เท้าข้างใด ขา้ งหนึ่ง เอาเท้าทห่ี ย่อนอยู่ สมมตวิ า่ เท้าซ้าย หยอ่ นอยู่ ใหเ้ ราใสใ่ จทเ่ี ทา้ ขา้ งซา้ ยใหด้ ๆี ใสใ่ จ อยา่ งแนบชดิ กบั เทา้ ขา้ งซา้ ย แลว้ กา้ วเทา้ ซา้ ย อยา่ งสบายๆ กา้ วเทา้ สน้ั ๆ กา้ วเทา้ เลน่ ๆ เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ อาการเกรง็ ใจแนบชดิ กบั เทา้ ซา้ ย ใน ขณะเหวยี่ งเทา้ ไปขา้ งหนา้ จะท�ำ ใหร้ ทู้ นั ในการ 37 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

กา้ วเท้า ทำ�ให้ไม่หลงลืม พอก้าวเท้าไปกระทบพ้ืน อย่าเพ่ิงกด เทา้ วางเทา้ หยอ่ นเบาๆ สบายๆ ใหห้ นกั คง อยทู่ เ่ี ทา้ หลงั กอ่ น เพอื่ ปอ้ งกนั ในการเกรง็ หยดุ นิดหนึง่ ขณะหยดุ อยู่ ใสใ่ จบริเวณฝา่ เท้าขา้ ง หนา้ ทกี่ ระทบพ้นื ให้แนบชิดชดั เจน การใสใ่ จ อย่างแนบชิด เป็นภาวะของสติสัมปชัญญะ ท่านเรียกว่า อปิลาปนลักขณาสติ แปลว่า สติแนบชดิ ตดิ กบั อารมณ์ คอื เทา้ ท่ีก้าวไป และกระทบพนื้ อยู่ ท�ำ ใหใ้ จไมห่ ลดุ ไปในอารมณ์ อื่นๆ เมอ่ื ใจแนบชิดสตแิ นบชดิ อยู่ตรงฝา่ เทา้ ที่ กระทบพ้ืน แลว้ ตอ่ จากนนั้ ใหเ้ คลอื่ นตวั ไปขา้ งหนา้ ชา้ ๆ เคล่ือนตวั ไปสบายๆ อย่าเกร็ง หยอ่ น เทา้ หลงั ตามด้วยเพ่ือไม่ให้เกร็ง แลว้ สังเกตให้ พระอาจารยม์ านพ อุปสโม 38

ชดั เจน จะเหน็ วา่ มกี ารเคลอื่ นกาย และบรเิ วณ ฝา่ เทา้ ขา้ งหนา้ หนกั เพม่ิ ขนึ้ ๆ กจ็ ะเหน็ เคลอ่ื น แล้วหนกั จนกระทงั่ เคลื่อนไปจนสุด บรเิ วณ หน้าขา, ต้นขาด้านบนของเท้าหนา้ มีอาการ ตงึ ๆ นดิ ๆ ให้ยา้ ยจติ ยา้ ยสติไปสังเกตเทา้ หลัง สังเกตก่อนแล้วค่อยก้าวเท้าใหม่ เมื่อ เราสังเกตอยู่ เราจะรู้สึกว่าบริเวณเท้าหลัง ที่จะก้าวใหม่นั้นอยู่ในอาการหย่อนๆ เบาๆ สบายๆ เราสังเกตเหน็ เทา้ หลังหย่อนอยู่ เรา ได้สติจากการรู้การหย่อน เราสังเกตเห็นเท้า หลงั เบาอยู่ เราไดส้ ตสิ มั ปชญั ญะจากความรสู้ กึ เบาๆ เราสงั เกตเหน็ เทา้ หลงั สบายๆ เราไดส้ ติ สัมปชัญญะจากความรู้สกึ สบายๆ ต่อไปนั้น ให้เร่ิมก้าวเท้าใหม่ เมื่อเรา ใส่ใจอยู่ท่ีบริเวณเท้าหลังหย่อนๆ เบาๆ 39 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

สบายๆ แล้วกา้ วเทา้ ใหม่ จะทำ�ให้เรากา้ วเท้า สบาย ทำ�ให้เราเห็นการก้าวเท้า ด้วยความ รู้สึก เราก็ได้สติสัมปชัญญะจากการมองเห็น การกา้ วเทา้ อกี พอเทา้ ไปกระทบพนื้ เรากใ็ สใ่ จ (สงั เกต) ฝ่าเทา้ ทกี่ ระทบพ้นื นน้ั ทันที หยุดอยู่ ครหู่ นึ่งก่อน อยา่ เพิง่ กดเทา้ อยา่ เพ่ิงเคล่ือน กาย ใสใ่ จตรงบรเิ วณฝา่ เทา้ อยา่ งสบายๆ แลว้ คอ่ ยเคลอ่ื นตวั ไปข้างหน้าอย่างชา้ ๆ กจ็ ะมอง เห็นว่ามีกายเคลื่อน มีเท้าข้างหน้าหนักเพิ่ม ขน้ึ ๆ จนกระทงั่ บรเิ วณสว่ นหนา้ ขาของเทา้ ขา้ ง หนา้ มอี าการตงึ นดิ ๆ เรากย็ า้ ยจติ ไปสงั เกตเทา้ หลัง แล้วไปก้าวเท้าใหม่ กระท�ำ อย่างนี้ เดิน อยา่ งนีไ้ ปเร่อื ยๆ ความรู้สึก ที่เกิดข้ึนทุกๆ ความรู้สึก เรียกว่าสติสัมปชัญญะท้ังหมดน้ี ที่ท่านเรียก พระอาจารย์มานพ อปุ สโม 40

ว่า เม่อื เดินอย่ใู ห้ท�ำ ความรูส้ กึ ตวั ทั่วพรอ้ มใน กายเดนิ เข้าใจไหม นคี้ อื วธิ กี ารเจรญิ สตจิ ากอริ ยิ าบถใหญท่ งั้ ๔ ประการของร่างกาย ท่านให้เราทำ�ความ รู้ตัวท่ัวพรอ้ มอยู่เนอื งๆ ตวั อยา่ งท่ี ๒ ทีเ่ รยี กวา่ สตสิ ัมปชัญญะ ที่เกิดขึ้นจากการสังเกต ขณะเราน่ังอยู่ใน ห้องปรบั อากาศเยน็ ๆ ถ้ามใี ครถามว่าเรารสู้ กึ อยา่ งไร เยน็ หรอื รอ้ น เรากจ็ ะตอบเขาไปทนั ที ว่าเย็นสบาย ท่เี รารู้สกึ เย็นสบายนนั้ ถามวา่ มี สติสัมปชัญญะแล้วหรอื ยัง หรือจะต้องถามว่า ทเ่ี ราตอบวา่ เยน็ สบายนน้ั เราไดส้ งั เกตแลว้ หรอื ยงั ถา้ ยงั ไมไ่ ดส้ งั เกต ความรสู้ กึ เยน็ ของเรานนั้ ยังไม่เรยี กว่าสติสมั ปชญั ญะ 41 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

ถ้าเป็นสติสัมปชัญญะ จะต้องมีการ สังเกตก่อนว่า เย็นท่ีกำ�ลังเย็นอยู่นั้น มากระ ทบกบั รา่ งกายของเราเยน็ ทตี่ รงไหน พอสงั เกต แลว้ เราจะเหน็ วา่ เยน็ ๆ ทมี่ ากระทบกบั รา่ งกาย ของเรานัน้ มีเยน็ บางแห่ง แลว้ ก็บนรา่ งกาย ของเรานั้นยังมีสถานที่อบอุ่นร้อนๆ อยู่เป็น บางแหง่ ทเ่ี ราตอบวา่ เยน็ ๆ เปน็ การตอบอยา่ ง เหน็ ความเยน็ ในภาพรวม เหน็ อยา่ งนไ้ี มใ่ ชเ่ หน็ ด้วยสติสัมปชัญญะ เป็นการเห็นด้วยจิต ธรรมดาๆ ถ้าเหน็ ด้วยสตสิ มั ปชญั ญะ จะเหน็ ทง้ั เยน็ และรอ้ นทก่ี ระทบอยบู่ นรา่ งกายบางแหง่ เห็นด้วยสติสัมปชัญญะน้ัน เป็นการเห็น อย่างพิเศษ เห็นละเอียดเห็นชัดเจน ทั้งเย็น และร้อนของร่างกายท่ีมีอยู่ เห็นละเอียด อย่างนี้ จึงเรยี กว่า สตสิ ัมปชัญญะ พระอาจารย์มานพ อปุ สโม 42

สรปุ แลว้ สตสิ มั ปชญั ญะ เปน็ ความรสู้ กึ ทเี่ กดิ ขนึ้ จากการสงั เกตเทา่ นน้ั สงั เกตกายเหน็ อาการของกาย สังเกตใจก็เห็นความรู้ของใจ แตล่ ะใจ จงี เรยี กวา่ สตสิ มั ปชญั ญะ เราตอ้ งการ เขา้ ถงึ ใจ ตามดใู จ เพอ่ื ดบั ทกุ ขท์ างใจ กจ็ ะตอ้ ง อาศัยการหม่ันสังเกตทั้งกายและใจอยู่เนืองๆ คดิ วา่ คงจะเปน็ ประโยชนแ์ กท่ า่ นผอู้ า่ นทกุ ๆ ทา่ น วันนี้ขอจบเพียงเท่าน้ีก่อน ขอดวงตา เหน็ ธรรม จงบังเกดิ แกท่ ่านผู้อ่านทุกๆ ท่าน 43 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

พระอาจารยม์ านพ อุปสโม 44

คำํ�ถามข้อธรรม คำ�ถามที่ ๑ : ทา่ นอาจารย์ เจา้ คะ สำ�หรบั ผู้ ใกล้ชิดของเรา เขามีปัญหากบั คนรอบขา้ ง มี อตั ตาสงู แตะต้องไม่ได้ เมอื่ เขามีความทุกข์ เกดิ ขน้ึ เราจะชว่ ยเขาได้อย่างไรบา้ งเจ้าคะ พระอาจารย์ : เป็นเรือ่ งลำ�บากนะ จะช่วยคน อืน่ น่ี ทางท่ีดคี อื ช่วยตัวเราเองก่อน ปรบั ตัว เราเอง เอาตวั เราเองใหด้ กี อ่ น เม่ือเราแก้ไข ท่ีตัวเราเองได้แล้ว เราอยู่ใกล้ชิดกับบุคคลท่ี เขามีอารมณร์ อ้ น เราสามารถไมร่ อ้ นตามเขา ได้ เราดบั ทกุ ขท์ างใจของตัวเราได้ แล้วตอ่ ไป กจ็ ะค่อยๆ ซมึ ซบั เข้าไปสู่ในตวั เขา ท�ำ ตวั เรา 45 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

ใหเ้ ขาดู เขารอ้ นมา เราเยน็ กลบั เขาดมุ า เรา น่งิ เฉย เขาบริภาษมา เราเฉย เราไมต่ อบโต้ ถา้ เราท�ำ แบบนไ้ี ดส้ กั ระยะหนง่ึ ทเ่ี ขารนุ แรงมา มนั จะค่อยๆ ลดลงๆ แลว้ กจ็ ะไมม่ เี ลย ถา้ เรา ท�ำ ทตี่ วั เราได้ ถา้ เขารนุ แรงมา แลว้ เราตอบโต้ กลับ มันจะทำ�ให้เกิดปฏิกิริยาสืบเน่ืองต่อไป ดังนั้นเราแก้ไขท่ีตัวของเราเองกอ่ น ฝกึ จิตทำ� จติ ของตวั เราใหห้ นกั แนน่ จติ ของเราหนกั แนน่ แล้วเราก็อยู่กับเขา เราก็ไม่หว่ันไหว อยู่กับ เขาเราดใู จตวั เราเอง เราคดิ จะไปแกเ้ ขาอยา่ ง เดียว แล้วไมแ่ กต้ วั เรา กแ็ กไ้ ม่สำ�เรจ็ จะแกเ้ ขา ตอ้ งเอาตวั เราใหเ้ ขาดู พอเขา ดูตัวเราไปสกั ระยะหนง่ึ เขาทำ�อะไรมาเราก็ไม่ ตอบโต้ เขาร้อนมาเรากไ็ มร่ ้อนกลบั เรามีแต่ เยน็ อยา่ งเดยี ว วธิ ที จี่ ะท�ำ ใหใ้ จของเราเยน็ กค็ อื พระอาจารยม์ านพ อุปสโม 46

เราต้องดูใจของตวั เราทนั ฝึกดูใจบอ่ ยๆ ฝกึ สังเกตใจบ่อยๆ แล้วใจที่ว่าเราจะต้องสังเกต ไม่ใชว่ ่า เอาใจชนดิ ทมี่ ันเร่าร้อนอยา่ งเดียวมา สังเกต ใจทดี่ ๆี ก็ควรสังเกตด้วย แล้วเม่ือใจ ไม่ดีๆ เกดิ เรากจ็ ะสงั เกตไดไ้ ม่ยาก พยายาม สงั เกตใจตวั เราใหม้ าก สงั เกตใจบอ่ ยๆ แลว้ ตอ่ ไปเราจะชนะเขาได้ 47 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์

พระอาจารยม์ านพ อุปสโม 48

ค�ำ ถามที่ ๒ : พระอาจารยบ์ อกว่าให้วางเฉย กบั ทงั้ ค�ำ ชมและคำ�ด่า แต่ว่าคำ�ชื่นชมกเ็ ปน็ สิ่ง ทด่ี ี ทท่ี �ำ ใหเ้ ราชน่ื ใจ เอาใจไปยนิ ดรี บั รู้ แตเ่ วลา โดนวา่ กร็ เู้ ทา่ ทนั ใจ แลว้ กท็ �ำ ใจเฉยวางเปน็ กลาง เพ่ือไมใ่ หเ้ ราเปน็ ทุกข์ อยา่ งนี้ไดไ้ หม เจ้าคะ พระอาจารย์ : คือสง่ิ ๒ ส่งิ มันคกู่ นั อยู่ ถา้ มี ความรสู้ กึ ชอบใจ ความรสู้ กึ ไมช่ อบใจกจ็ ะตาม มา มนั เปน็ ของคกู่ นั เขาเรียกวา่ โลกธรรม การไดม้ า ได้มาเขาเรียกวา่ ลาภ และก็จะคู่กับ สูญเสียไป เขาเรียกวา่ เสอ่ื มลาภ มลี าภแลว้ ก็เส่อื มลาภ ถ้าไม่มีลาภ เสื่อมลาภก็จะไม่มี ถ้าเราไม่ยินดีในสิ่งท่ีเราได้มา ตอนท่ีเราเสีย อะไรไป เรากไ็ มต่ อ้ งเสยี ใจ เพราะเราไมไ่ ดย้ นิ ดี ในสง่ิ นน้ั มียศก็จะคกู่ บั เสือ่ มยศ มีสุขก็จะคูก่ ับ 49 ใ ช้ ทุ ก ข์ ดั บ ทุ ก ข์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook