Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Module 3 TH

Module 3 TH

Description: Module 3 TH

Keywords: IIEP3

Search

Read the Text Version

ตารางที่ 1 รายได้ครัวเรือนเฉลย่ี ตอ่ เดือน จำ� แนกตามกลมุ่ รายได้ (หนว่ ยเป็น VCU) กลุ่มรายได้ รายไดค้ รัวเรือนเฉลีย่ควินไทลท์ ่ี 1 (ยากจนท่ีสดุ ) ค.ศ. 1990 ค.ศ. 2000 ค.ศ. 2009ควนิ ไทลท์ ่ี 2 296ควนิ ไทลท์ ่ี 3 519 666 1,503ควินไทล์ที่ 4 807ควนิ ไทลท์ ี่ 5 (รวยทส่ี ดุ ) 1,344 1,226 2,622เฉล่ียรวม 3,927 1,379 1,938 3,941 3,343 6,299 9,687 16,993 3,372 6,2723.1.3 เศรษฐกิจ การจา้ งงาน และการใช้จา่ ยภาครฐั (Economy, employment, and publicspending) ก่อนหน้าวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจเอเชียใน ค.ศ. 1997 Vindoland มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทด่ี ี คอื เฉล่ียปลี ะ 7.6% ตอ่ เนอ่ื งเป็นเวลากวา่ สองทศวรรษ หลงั จากนน้ั เศรษฐกจิ ของประเทศเจรญิเตบิ โตปานกลาง คือประมาณ 5% ตอ่ ปี ยกเว้นใน ค.ศ. 2008 เนอื่ งจากสภาวะถดถอยของเศรษฐกจิ โลก และใน ค.ศ. 2010 เมอ่ื มคี วามไมส่ งบสขุ ภายในประเทศ เมอ่ื ค.ศ. 2009 เศรษฐกจิ ของประเทศหดตวั ลง 2.3% แต่ก็ฟน้ื ตัวได้อยา่ งรวดเรว็ เศรษฐกิจของประเทศใน ค.ศ. 2010 เติบโตอยู่ท่ี 7.8% เมือ่ การส่งออกกลับดขี ึ้นอีก(ตารางที่ 2) ในชว่ งไตรมาสสดุ ท้ายของ ค.ศ. 2011 Vindoland ได้รับผลกระทบจากมหาอทุ กภัย แต่เป็นท่ีคาดกนั วา่ เศรษฐกจิ จะดดี ตวั กลบั มาดขี น้ึ จนอยทู่ ่ี 4.2 % ใน ค.ศ. 2012 แมไ้ มเ่ ปน็ ทแี่ นน่ อนวา่ สภาพเศรษฐกจิโลกจะดีข้ึนหรือไม่ 48

ตารางที่ 2 รายได้เฉลยี่ ตอ่ คนตอ่ ปี และอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาตทิ แี่ ท้จรงิ ของVindoland ปี GDP ต่อคนทแ่ี ทจ้ รงิ อตั ราการเติบโต (%) (VCU ต่อคน ต่อปี)2000 48,617 4.82001 49,328 2.22002 51,545 5.32003 54,979 7.12004 59,514 6.32005 61,807 4.62006 64,531 5.12007 67,560 52008 68,856 2.52009 67,104 -2.32010 69,744 7.8 โครงสรา้ งเศรษฐกจิ ของ Vindoland เปลย่ี นแปลงไปตามกาลเวลา ความส�ำคัญของภาคเกษตรกรรมได้ลดลงไปมากในขณะท่ีภาคบริการและภาคอุตสาหกรรมมีความส�ำคัญมากข้ึน ส่วนแบ่งภาคเกษตรกรรมของประเทศลดลงจาก 32% ของ GDP ใน ค.ศ. 1960 มาเปน็ 8.3% ใน ค.ศ. 2010 ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวโดยเฉลีย่ ปีละ 3.4% ในช่วงทศวรรษ 2000 จนมสี ดั สว่ นเปน็ 43% ของ GDP ในค.ศ. 2010 สว่ นทีส่ ำ� คัญท่ีสดุ ของภาคอุตสาหกรรมคือการผลติ ซ่งึ คิดเปน็ 34.5% ของ GDP ภาคการสง่ ออกซง่ึ เปน็ ตวั ผลกั ดนั ทางเศรษฐกจิ ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ ของ Vindoland เตบิ โตขน้ึ ถงึ 28.5% และมีมลู คา่ ถึง 58.5% ของ GDP ใน ค.ศ. 2010 อัตราเงนิ เฟอ้ ทั่วไป (headline inflation rate)2 เฉลีย่ ตั้งแต่ ค.ศ. 2000 ถงึ 2010 อย่ใู นระดับต�ำ่ พอสมควร คอื 2.5% ใน ค.ศ. 2011 อตั ราเงินเฟ้อท่ัวไปเป็น 3.8% และคาดวา่ จะเพิ่มสงู ขึ้นอกี เล็กน้อยอนั เนื่องมาจากตน้ ทนุ การผลติ ทส่ี งู ขน้ึ และการฟน้ื ตวั ของเศรษฐกจิ อยา่ งไรกด็ ี อตั ราเงนิ เฟอ้ พน้ื ฐาน (core inflation)ทไี่ มร่ วมกลุ่มพลงั งานและอาหารสดกลับคงอยใู่ นชว่ งที่ตัง้ เปา้ ไว้ คือ 0.5-3.0 % ตวั เลขทางการของอตั ราการว่างงานของประเทศคอื 1% แต่ปรากฏว่าอตั ราการวา่ งงานของผ้ทู สี่ �ำเรจ็การศึกษาในระดับอุดมศึกษาค่อนขา้ งสงู คือ 2.1% ซึง่ ลดลงเล็กน้อยจาก 2.6% ใน ค.ศ. 2006 ใน ค.ศ. 2010 ภาคบริการมกี ารจา้ งงานมากทส่ี ุด คอื 48% ของอตั ราการจา้ งงานทัง้ หมด รองลงมากค็ อื ภาคเกษตรกรรมท่ี 38% และ ภาคอตุ สาหกรรมท่ี 14% ใน ค.ศ. 2010 มผี ู้ท�ำงานนอกระบบราว 24.1ลา้ นคน หรอื คิดเป็น 63.4% ของการจา้ งงานทงั้ หมด ผู้ที่ท�ำงานนอกระบบสว่ นใหญ่อยูใ่ นภาคเกษตรกรรมตามมาดว้ ยภาคการคา้ ทัง้ ปลีกและส่ง โรงแรมและร้านอาหาร และการผลิต2 อัตราเงนิ เฟ้อทวั่ ไป เป็นการวัดเงินเฟอ้ รวมของระบบเศรษฐกจิ เทยี บกับอ�ำนาจการซ้ือท่ีระดับมาตรฐาน 49

เศรษฐกิจของ Vindoland ไม่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการเงินโลกใน ค.ศ. 2008 มากนัก เพราะรฐั บาลไดช้ ว่ ยบรรเทาโดยใชน้ โยบายการคลังแบบขยายตัว (expansionary fiscal policy) มาตรการการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ใช้มีท้ังให้เงินอุดหนุนครอบครัวที่ยากจนและกลุ่มเส่ียง อุดหนุนค่าพลังงาน ประกันรายได้เกษตรกร ให้เรียนฟรี รวมถงึ สวัสดกิ ารอื่น ๆ และลงทุนในสาธารณปู โภคพื้นฐาน ทั้งหมดน้เี ป็นผลใหม้ ีรายจา่ ยด้านสวัสดิการสังคมเพ่มิ ข้ึน รฐั บาล Vindoland ยังคงกระตุ้นเศรษฐกิจต่อไปในปีงบประมาณ ค.ศ. 2010 ด้วยเงนิ กู้ ซงึ่ ทำ� ให้หน้ีสาธารณะเพิม่ ขึ้น3.1.4 การเงนิ เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ และการศกึ ษา (Financing of human resourcedevelopment and education) การศกึ ษาของ Vindoland ใชง้ บประมาณรฐั บาลเปน็ สว่ นใหญ่ ตลอดทศวรรษทผ่ี า่ นมาสาขาการศกึ ษาไดส้ ่วนแบ่งงบประมาณมากทีส่ ุด ในช่วงทศวรรษ 2000 งบประมาณการศึกษาอยู่ในระดบั 20-28% ของงบประมาณแผน่ ดนิ หรือ 3.7-4.6% ของ GDP (ตารางท่ี 3)ตารางที่ 3 งบประมาณการศึกษา ค.ศ. 2000-2010 คิดเป็นรอ้ ยละของ GDP และงบประมาณแผน่ ดนิปีงบประมาณ GDP งบประมาณ งบประมาณ งศ/งผ งศ/GDP (ล้าน VCU) แผ่นดิน (งผ) การศึกษา (%) (%)2000 (ล้าน(งศV)CU)2001 (ล้าน VCU) 4.482002 4.322003 4,922,731 860,000 220,620.8 25.65 4.092004 5,133,502 910,000 3.982005 5,450,643 1,023,000 221,591.5 24.35 3.872006 5,917,369 999,900 3.72007 6,489,476 1,163,500 222,989.8 21.8 3.772008 7,092,893 1,250,000 4.172009 7,844,939 1,360,000 235,444.4 23.55 4.022010 8,525,197 1,566,200 4.642011 9,080,466 1,660,000 251,194 21.59 3.75 9,041,551 1,951,700 3.9 10,102,986 1,700,000 262,721.8 21.02 10,840,500 2,070,000 295,622.8 21.74 355,241.1 22.68 364,634.2 21.97 419,233.2 21.48 379,124.8 22.3 422,239.9 20.4 พอ่ -แมผ่ ้ปู กครองใน Vindoland มีสว่ นสนับสนุนการเงินเพื่อการศกึ ษาอย่างมนี ยั สำ� คญั ประมาณวา่รายจา่ ยภาคครัวเรอื นเพ่ือการศึกษาใน ค.ศ. 2010 มีจ�ำนวนทงั้ สนิ้ เท่ากับ 25% ของงบประมาณแผ่นดินดา้ น 50

การศกึ ษา แหลง่ เงนิ เพอ่ื การศกึ ษาในภาคเอกชน คอื ธรุ กจิ และองคก์ รไมค่ า้ กำ� ไรซงึ่ ใหเ้ งนิ สนบั สนนุ การศกึ ษารวมกันเป็น 0.6% ของงบประมาณการศึกษา3.1.5 การบรหิ ารจัดการระบบการศึกษา (Management of the education sector) ในค.ศ. 2003 ทบวงมหาวิทยาลัยของ Vindoland ได้รวมเขา้ เปน็ สว่ นหนึง่ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารการปฏริ ปู ทางการศึกษาที่สำ� คัญสองประการคอื การสนบั สนุนใหม้ หาวิทยาลยั ของรัฐปกครองตนเอง เพอื่ ที่จะไดค้ วบคมุ การบรหิ ารจดั การกจิ การของตนเองไดม้ ากขนึ้ และการกระจายอำ� นาจการจดั การโรงเรยี นรฐั บาลให้แก่ฝ่ายบริหารทอ้ งถ่ินใน ค.ศ. 2008 โดยแบง่ ประเทศออกเป็นเขตพื้นท่ีการศึกษาจ�ำนวน 185 เขตรูปที่ 3 แสดงโครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการการศึกษาแกกแกลาาผารรระนกสกปำนำแรกหลับะบันเะสมมตดนนิ ิดานนุ ผตตโทลยรารฐบมพั าานยยากร กระทรวง กระทรวง กระทรวงอนื่ ๆ ศึกษาธกิ าร มหาดไทย ที่ใหก ารศกึ ษา หอรงือคหก นรวอยิสงราะน/หในนกวำยกรับาชรัฐกบาราล สถาบันอุดมศกึ ษาแเแกพลลาอ่ืระะนสมกนิเาาทรตอศสรงงฐนกเาโสายนรรบสิมานยับสนุน เขตการศกึ ษา องคก รปกครอง หนวยราชการ สวนทองถิ่น ท่ีใหการศึกษาแกลาระปกฏาริบจตั ดั ิ/กกาารรบรหิ าร กาปรสกศฐถากึมารษวบศัยาันกึ พทษแืน้ ใ่ีลาหฐะา น ผอปรู งับจ คเผกจิดรกแชชลอนะบ สถาบันการศึกษา กาสอรถงศาคกึ บกษันราแทพลี่ใเิ หะศษ ในกศากึรษใหาก าร สายการบงั คบั บญั ชาโดยตรง การสนับสนุน การสง เสรมิ และการประสานงาน 51

ถึงแม้ว่าการปฏิรูปการศึกษาท�ำให้ระบบการศึกษาภายใต้การดูแลของกระทรวงศึกษาธิการมีเอกภาพแตย่ งั คงมกี ารศกึ ษาทีบ่ รหิ ารจดั การโดยกระทรวงอ่ืน ๆ อีกหลายกระทรวง พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ ซึ่งประกาศใช้ใน ค.ศ. 1999 และแก้ไขใน ค.ศ. 2010 เปน็ กฎหมายหลักด้านการบริหารและจัดหาการศึกษาและการฝกึ อบรม พระราชบญั ญัติฉบบั นี้ 1) กำ� หนดวา่ ประชาชนมสี ทิ ธใ์ิ นการไดร้ บั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานทม่ี คี ณุ ภาพโดยไมต่ อ้ งเสยี คา่ เลา่ เรยี น ตลอดระยะเวลาอย่างต่ำ� 12 ปี 2) เปิดโอกาสให้ใชแ้ นวทางการเรียนทีส่ รา้ งสรรค์กวา่ วิธีดงั้ เดิมซง่ึ เปน็ การบรรยายและการทอ่ งจ�ำ 3) กำ� หนดใหก้ ระจายอ�ำนาจการบริหารและการเงนิ และให้ครูแตล่ ะคนและสถาบนั การศึกษาแตล่ ะ แห่งมีเสรีภาพมากข้ึนในการเลือกใช้หลักสูตร และระดมทรัพยากร ซึ่งคาดว่าจะเพ่ิมภาระรับผิด ชอบ (accountability) และจะทำ� ใหม้ ่นั ใจได้วา่ มีการใชง้ บประมาณในดา้ นท่ีเหมาะสม พระราชบญั ญตั ดิ งั กลา่ วนใี้ หอ้ ำ� นาจเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาในการจดั หา และบรหิ ารจดั การการศกึ ษาขนั้ พนื้ฐานในพื้นทข่ี องตน อีกท้งั ยงั ไดแ้ บ่งเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาส�ำหรับระดบั มัธยมศกึ ษาด้วย พระราชบัญญตั ิการกระจายอ�ำนาจ ค.ศ. 1999 ทก่ี ำ� หนดให้รฐั บาลจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน 35%ใหแ้ ก่หนว่ ยงานรฐั บาลทอ้ งถ่นิ เช่น องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และใหอ้ งค์กรภาครัฐในท้องท่ีมอี ำ� นาจเรยี กเกบ็ ภาษที ้องถ่ินได้ แสดงถงึ ความผกู มดั ของรฐั บาล Vindoland ในการกระจายอำ� นาจ3.1.6 ล�ำดบั ความส�ำคญั ของนโยบายของประเทศ (National policy priorities) Vindoland ไดเ้ พียรพยายามปฏริ ปู การบริหารจดั การภาครัฐมาตั้งแตเ่ กดิ วกิ ฤตการณท์ างการเงนิ ของเอเชียใน ค.ศ. 1997 โดยออกกฎหมายสำ� คัญหลายฉบบั การปฏริ ปู ทส่ี �ำคญั คอื การปฏริ ูปดา้ นการบรหิ ารการเงินภาครัฐและการใหบ้ รกิ าร ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ และการคุม้ ครองทางสังคม และการสาธารณสุข แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาตสิ �ำหรับ ค.ศ. 2012-2016 ทปี่ ระกาศใชเ้ มอื่ ค.ศ. 2010 นั้น มีวัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาสังคมสงบสุขที่มีธรรมาภิบาลและมีการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยปรับปรุงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมอื ง รวมท้งั บ�ำรุงรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม นอกจากน้ี แผนฯ ฉบบั นีย้ งั มงุ่ เตรยี มประชาชนและชมุ ชนให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงด้วย รัฐบาล Vindoland ได้ก�ำหนดกลยทุ ธก์ ารพฒั นา 6 ประการดังตอ่ ไปน้ี เพอ่ื ทจี่ ะไดบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ดงั กล่าว • การส่งเสรมิ ความยตุ ธิ รรมในสังคม • การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์เพอ่ื ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรตู้ ลอดชีวติ • การสรา้ งดลุ ยภาพดา้ นความมัน่ คงทางอาหารและพลังงาน • การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้ และสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจทเ่ี อ้อื อ�ำนวย • การเสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื ดา้ นเศรษฐกิจและความมัน่ คงกับประเทศเพอ่ื นบ้าน • การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มเพอื่ ความยั่งยนื 52

3.1.7 แผนและกลยทุ ธส์ าขาการศกึ ษาของ Vindoland (Vindoland education sector plan and strategies) แผนพฒั นาการศกึ ษาแหง่ ชาติ (ค.ศ. 2009-2016) เนน้ การบรู ณาการคณุ ภาพชวี ติ ทกุ ดา้ น การพฒั นาท่ีมคี นเป็นศนู ยก์ ลาง และแผนบูรณาการการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแบบองคร์ วม แผนฯฉบับนี้เป็นกรอบการวางแผนสาขาย่อย และแผนด�ำเนินการส�ำหรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษาและ ศาสนา ศลิ ปะ และวัฒนธรรม แผนพัฒนาการศึกษาแหง่ ชาติฉบบั ดังกลา่ วมีจดุ ประสงค์ท่จี ะ 1) ส่งเสริมการพฒั นามนษุ ย์ในทกุ ด้าน 2) สง่ เสรมิ สงั คมฐานความรทู้ มี่ คี ณุ ธรรม และการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในสงั คมในการออกแบบ และตดั สินใจเรื่องกิจกรรมสาธารณะ และ 3) สง่ เสริมสภาพแวดล้อมทางสงั คมทีส่ นับสนนุ การเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเน่อื ง เปน็ ที่คาดหวังกันวา่ แผนฯ นจ้ี ะชว่ ยให้ประชาชนพัฒนาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ซงึ่ รวมไปถงึ การมีคณุ ธรรม มคี วามสามารถ มีความสุข และพง่ึ ตนเองได้ นอกเหนือไปจากการชว่ ยสรา้ งเสรมิ ความสามารถของประชาชนชาว Vindo ใหส้ ามารถปรบั ตัวตามแนวโนม้ และเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ของโลก โดยทย่ี ังสามารถดำ� รงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของชาตไิ ด้ เมื่อเดอื นสงิ หาคม ค.ศ. 2009 คณะรัฐมนตรขี อง Vindoland อนุมตั ิพิมพเ์ ขียวการปฏริ ปู การศึกษาแห่งชาตริ อบที่ 2 (ค.ศ. 2009-2018) ทเี่ สนอโดยกระทรวงศึกษาธิการ และไดต้ ั้งคณะกรรมการอำ� นวยการการปฏริ ปู การศกึ ษาโดยมนี ายกรฐั มนตรเี ปน็ ประธาน แผนการปฏริ ปู ครง้ั ทส่ี องนจ้ี ะพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาใหโ้ อกาสทกุ คนเทา่ เทยี มกันในการไดร้ บั การศึกษา และให้ทุกคนมสี ว่ นรว่ มในบริการการศึกษามากข้นึ จุดส�ำคัญของการปฏิรูปการศึกษาในครั้งนี้คือ การให้การศึกษาที่มีคุณภาพระยะเวลา 15 ปีแบบให้เปลา่ ตามนโยบายนที้ กุ คนจะเขา้ ถงึ การศกึ ษาโดยไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยใด ๆ ตงั้ แตร่ ะดบั กอ่ นประถมศกึ ษา จนจบระดบั มัธยมศกึ ษา การปฏิรปู ครง้ั นยี้ งั มงุ่ ลดภาระทางการเงนิ ของพอ่ -แม่ผ้ปู กครอง ซ่งึ รวมถึงคา่ เลา่ เรยี นหนงั สอื เรยี น เครอื่ งแบบนกั เรยี น วสั ดกุ ารศกึ ษา และกจิ กรรมของโรงเรยี นทเี่ กย่ี วกบั หลกั สตู ร และครอบคลมุอาชีวศึกษา และการศึกษานอกโรงเรียนในสถานศึกษาทุกแห่งในความดูแลของรัฐบาล เอกชน และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ เป็นที่น่าสังเกตว่า การเปลี่ยนรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการอยู่เนือง ๆ เป็นอุปสรรคใหญ่หลวงต่อนโยบายการศึกษา และความพยายามปฏิรูปการศึกษาประเทศ ท�ำให้ขาดความต่อเนื่องของจุดสนใจเชิงนโยบายและการดำ� เนนิ นโยบาย 53

กิจกรรมกลุม่ จากข้อมูลดังกล่าวข้างบนน้ี จงสรุปความท้าทาย และอุปสรรคของการศึกษาของ Vindoland โดยเตรยี มรายงานกลุม่ ความยาวขนาด 3-4 หนา้ สง่ IIEP1. ในการน�ำเสนอข้อมูลของVindoland ข้างบนน้ี อะไรคือตัวชี้วัดหลักด้าน 1) ประชากร 2) การ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ 3) ตลาดแรงงาน และ 4) ความเปน็ อยดู่ ที างสังคม ตวั ชีว้ ัดเหลา่ น้ชี ใี้ ห้เห็น วา่ การพฒั นาการศกึ ษาในอนาคตของประเทศจะประสบความท้าทายประการใดบ้าง จงระบตุ ัวช้ี วัด/ลักษณะสำ� คัญของ Vindoland และส่งิ ทท่ี ้าทายการพฒั นาการศึกษาของประเทศที่แสดงให้ เหน็ โดยตวั ชว้ี ดั /ลกั ษณะสำ� คญั ดงั กลา่ วนนั้ โดยอาจทำ� ตารางสรปุ ความคดิ หลกั ดงั ตวั อยา่ งขา้ งลา่ ง น้ี ตวั ชว้ี ดั /ลักษณะ ความทา้ ทายต่อการพัฒนาการศกึ ษา1. การเตบิ โตรายปีของประชากร 1. ความเข้มของแรงกดดนั ในอนาคตตอ่ การจดั หา2. อัตรารอ้ ยละของประชาชนทอี่ าศัยอย่ใู นชนบท การศึกษาระดับประถม 2. อปุ สงคก์ ารศกึ ษาในอนาคตโดยเฉพาะในชนบท2. เนอื้ หาเกยี่ วกบั ประเทศ Vindoland ขา้ งบนนใี้ หข้ อ้ มลู ใดเกยี่ วกบั ขดี ความสามารถดา้ นการบรหิ าร จดั การ และการเงนิ ในการปฏบิ ตั ติ ามแผนภาคการศกึ ษาบา้ ง หากตอ้ งการเหน็ ภาพขดี ความสามารถ ดังกล่าวนี้ให้รอบดา้ นมากขนึ้ ตอ้ งมขี ้อมลู ใดเพ่มิ เตมิ บ้าง 54

บรรณานุกรมCaillods, F. & Hallak, J. 2004. Education and Poverty Reduction Strategy Papers (PRSPs) – AReview of Experiences. Paris: UNESCO/IIEP.Mingat, A. & Suchaut, B.2000. Les systèmes éducatifs africains. Une analyse économiquecomparative. Bruxelles: De Boeck Université. 55

บทที่ 3การวิเคราะหก์ ารเข้าถงึ ประสิทธิภาพภายในและความเป็นธรรมทางการศกึ ษา(Analysing access, internal efficiency and equity in education) บทที่ 3 การเขา้ ถงึ การศกึ ษา ความก้าวหนา้ ของนักเรยี น และความเป็นธรรมทางการศกึ ษาตา่ งสมั พนั ธก์ ัน ตามทเี่ นน้ ยำ้� ในพนั ธกรณขี อ้ ที่ 2 ของกรอบปฏบิ ตั กิ ารดาการ์ ซง่ึ รบั รองโดยประเทศผรู้ ว่ มประชมุ ระดบั โลก ดา้ นการศกึ ษาเพอื่ ปวงชน (World Education Forum on Education for All) ท่ีกรุงดาการ์ ประเทศ เซเนกัล เม่อื เดอื นเมษายน ค.ศ. 2000 คอื “รับรองวา่ ภายในปี ค.ศ. 2015 เด็กท้ังหมด โดยเฉพาะเด็กผู้ หญิง เด็กท่ีอยู่ในสภาวะยากล�ำบาก และเด็กท่ีเป็นกลุ่มน้อยทางเช้ือชาติ สามารถเข้าถึงและเข้าเรียนใน ระดับประถมศึกษาภาคบังคับทม่ี คี ณุ ภาพ” บทที่ 3 นว้ี า่ ด้วยประเด็นหรอื มุมของการวิเคราะหท์ ั้งสามนี้ ซงึ่ มกั เป็นหัวข้อการศึกษาวจิ ยั ของการ วิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษา บทที่ 3 แบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น คือ ตอนที่ 1 นำ� เสนอและอภปิ รายประเดน็ หลกั และเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชศ้ กึ ษาทงั้ สามหวั ขอ้ ดงั กลา่ ว โดยเสนอ สาระสำ� คัญของปัญหาสำ� คัญดา้ น “การเข้าถึงการศกึ ษา” “ประสทิ ธภิ าพภายใน” และ “ความเปน็ ธรรม ทางการศกึ ษา” รวมไปถงึ ตวั ชว้ี ดั และเครอื่ งมอื การวจิ ยั ทมี่ กั ใชใ้ นการประเมนิ สถานะของระบบการศกึ ษา จากแต่ละ “มุม” ตอนที่ 2 คอื แบบฝกึ หัดต่อจากบทท่ี 2 ซึง่ ใช้ Vindoland เปน็ กรณศี ึกษา เพือ่ แสดงวธิ ที ่ี ESD ศกึ ษา “การเขา้ ถงึ การศกึ ษา” “ประสทิ ธิภาพภายใน” และ “ความเปน็ ธรรมทางการศึกษา”วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อให้ความรู้และพัฒนาทักษะที่จ�ำเป็นส�ำหรับการศึกษาการท�ำงานและผลของระบบการศึกษา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในระดบั ประถมศกึ ษา ในประเดน็ “การเขา้ ถงึ ” “ประสทิ ธภิ าพภายใน” และ “ความเปน็ ธรรม”เนื้อหา • การวิเคราะหก์ ารเข้าถึง ประสิทธิภาพภายใน และความเปน็ ธรรม ใน ESD • ตวั อย่างการวิเคราะหป์ ัญหาสาขาการศกึ ษา (กรณี Vindoland) 56

ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวงั เมอื่ เรยี นบทท่ี 3 จบแลว้ ผู้เรียนควรสามารถ • ระบุปัญหา และความเหล่อื มล�้ำด้านการเขา้ ถึงและการมสี ่วนร่วมของนกั เรียน และขีดความสามารถ ของระบบการศึกษาในการให้การศกึ ษาแกน่ กั เรยี นภายในกรอบเวลาทก่ี ำ� หนดได้ • ระบขุ ้อมลู ตัวช้วี ัด และเครื่องมือท่ีตอ้ งใช้ในการวเิ คราะหก์ ารเข้าถึง ประสทิ ธิภาพภายใน และความ เป็นธรรมในสาขายอ่ ยของการศึกษาได้ • แปลผลขอ้ มูลและตัวช้วี ัดเพอื่ เข้าใจสาเหตขุ องข้อบกพรอ่ ง และความไมเ่ ทา่ เทียมกันได้ • ประเมินจุดแขง็ และขอ้ จ�ำกัดของเคร่ืองมอื การวิเคราะหต์ า่ ง ๆ ซงึ่ ใช้ในการวเิ คราะหป์ ัญหาสาขายอ่ ย เพอื่ ศกึ ษาหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ดังกลา่ วได้กรอบเวลา • บทนี้ใช้เวลาศกึ ษาประมาณสัปดาห์ละ 8 ชั่วโมงคำ� ถามทา้ ยบท • ผู้เรียนต้องตอบคำ� ถามท้ายบทซงึ่ เกี่ยวกับเน้ือหาในตอนที่ 1กิจกรรมกล่มุ • หลงั จากทผ่ี ู้เรียนแตล่ ะคนได้อ่านบทนีแ้ ลว้ จะต้องช่วยกนั ท�ำงานกลุ่มเกย่ี วกับเน้อื หาตอนท่ี 2 กิจกรรมกลุม่ นอี้ อกแบบมาเพอ่ื ชว่ ยให้ผู้เรยี นประเมิน และเรียนรู้วธิ ที ี่ตวั อย่าง ESD ของ Vindoland นีศ้ ึกษาและหาวิธจี ัดการปัญหาการเข้าถึง ประสทิ ธภิ าพภายใน และความเป็นธรรมทางการศกึ ษาเอกสารอา่ นเพิ่มเตมิ (ไม่บงั คบั ) • UNESCO. 2003. EFA Global Monitoring Report 2003/2004: Gender and Education for All. The Leap to Equality. Paris: UNESCO. • UNESCO 2002. EFA Global Monitoring Report 2002, Is the World on Track? Paris, UNESCO. 57

ตอนท่ี 1 การวเิ คราะหก์ ารเขา้ ถึง ประสทิ ธภิ าพภายใน และความเปน็ ธรรมในการวเิ คราะห์การศกึ ษา(Analysis of access, internal efficiency and equity aspects in an ESD)1.1 การวิเคราะห์การเขา้ ถงึ (Analysing access)1.1.1 คำ� ถาม เปน็ ทยี่ อมรบั กนั วา่ ทกุ คนควรเขา้ ถงึ การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน การไดเ้ ขา้ ถงึ การศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษาจริงเป็นด้านหน่งึ หรือเปน็ เกณฑ์สำ� คัญ ของการประเมินผลสาขาการศึกษาของประเทศการประเมนิ สถานการณแ์ ละปญั หาทแี่ ทจ้ รงิ ของการเขา้ ถงึ การศกึ ษาแตล่ ะระดบั หรอื แตล่ ะสาขายอ่ ยนนั้ จะตอ้ งตอบค�ำถามส�ำคญั 3 ข้อ ดงั ตอ่ ไปน้ี ใครจำ� เป็นต้องได้รับการศึกษา ตอ้ งได้รบั มากเทา่ ไร และเพ่ืออะไร ปจั จุบันน้ถี อื ว่า อย่างน้อยทีส่ ดุ ทกุ คนตอ้ งอ่านออกเขยี นได้และคดิ เลขเปน็ จงึ จะสามารถพัฒนาตนเองใหม้ สี ว่ นรว่ มในสงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื งได้ ความคดิ เรอ่ื ง “ความตอ้ งการพนื้ ฐานดา้ นการศกึ ษา” นเ้ี ปน็ทยี่ อมรบั ทวั่ ไปในการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษา แตใ่ นสภาพการณท์ เ่ี ลวรา้ ยทส่ี ดุ เชน่ หลงั สงคราม หรอืในระหว่างการฟนื้ ฟปู ระเทศ หรือเม่ือมีทรัพยากรจำ� กัดมากเปน็ พิเศษนน้ั รฐั บาลอาจตอ้ งตดั สนิ ใจเลอื กว่าจะใหก้ ลมุ่ ใด (เช่น เดก็ ทอี่ ายถุ ึงเกณฑ์เข้าเรยี นชน้ั ประถม) ได้รบั อุปทานที่มอี ยู่ก่อนกลมุ่ อนื่ ประเทศทก่ี ำ� ลงั พฒั นาหลายประเทศใชอ้ ตั ราการมสี ว่ นรว่ มในประถมศกึ ษาของประชากรวยั เรยี น หรอืการมีส่วนร่วมของผู้ใหญ่ที่ไม่รู้หนังสือในหลักสูตรการรู้หนังสือท้ังในและนอกระบบเป็นเกณฑ์ส�ำคัญในการประเมนิ สภาวะการเขา้ ถงึ การศกึ ษา สำ� หรบั ประเทศทเี่ จรญิ แลว้ และประเทศทมี่ รี ายไดต้ ำ�่ ถงึ รายไดป้ านกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานหมายถึงระดับประถมและมธั ยมศกึ ษาตอนต้น หรือในบางประเทศอาจรวมมธั ยมศึกษาตอนปลายดว้ ย ผทู้ ไ่ี มม่ สี ว่ นรว่ มในระดบั การศกึ ษาทกี่ ำ� ลงั ศกึ ษาวจิ ยั น้ี หรอื ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การปฏเิ สธจากระบบการศกึ ษานนั้มกี ค่ี น และคือใครบา้ ง นอกจากทจ่ี ะตอ้ งรวู้ า่ มปี ระชากรทย่ี งั ไมไ่ ดร้ บั การศกึ ษาตามความจำ� เปน็ เปน็ จำ� นวนและสดั สว่ นเทา่ ไรแลว้ ยงั จะตอ้ งมขี อ้ มลู ชดั เจนวา่ คนกลมุ่ นม้ี คี ณุ ลกั ษณะอยา่ งไรบา้ ง เชน่ เพศ อายุ พนื้ เพทางสงั คม วฒั นธรรมและภาษา ฯลฯ การทจี่ ะเพ่ิมอตั ราการเขา้ ถึงการศกึ ษาโดยรวมได้ จ�ำเป็นต้องทราบความตอ้ งการเฉพาะของผู้ท่ยี ังเข้าไมถ่ งึ การศึกษา (เชน่ เด็กหญิงในชนบท) และคดิ หาทางแก้ปญั หาน้ัน ๆ กอ่ น ในกรณที ม่ี ที รพั ยากรไมเ่ พยี งพอทจี่ ะสนองความตอ้ งการของทกุ คน ผมู้ อี ำ� นาจตดั สนิ ใจจะตอ้ งพจิ ารณาวา่ ในระยะสนั้ จะสามารถให้ “ลกู คา้ ” เขา้ ถงึ การศกึ ษาในโรงเรยี นระดบั ตา่ ง ๆ ไดก้ ค่ี น ดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วไวแ้ ลว้ ในบทท่ี 1 วา่ เรื่องน้เี ป็นค�ำถามการเมือง และค�ำตอบไม่ไดข้ ้นึ อยู่กบั วา่ รัฐบาลสามารถจดั สรรงบประมาณใหก้ ารศกึ ษาระดับตา่ ง ๆ หรอื สาขายอ่ ยต่าง ๆ ได้หรือไมเ่ ท่านั้น แตข่ น้ึ อย่กู บั ปัจจยั อืน่ ๆ ดว้ ย เชน่ แรงกดดนั จากฝ่ายการเมือง และอทิ ธพิ ลของผู้ท่ีจะไดร้ บั ประโยชน์ รวมถึงองค์กรภายนอกท่ใี หค้ วามสนับสนนุ ทางการเงินเพอิ่ เพ่มิ การเขา้ ถงึ การศึกษาอะไรคอื ปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ การเขา้ ถงึ ท่ีไม่เพียงพอ 58

โดยทว่ั ไปแลว้ การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาและสาขายอ่ ย ศกึ ษาสาเหตขุ องการทเี่ ดก็ หรอื ผใู้ หญ่บางคนไม่มีส่วนรว่ มในการศกึ ษา โดยพิจารณาปจั จยั สองประเภทตอ่ ไปนี้ • อปุ ทานการศกึ ษา หรือการจดั การศกึ ษา • อุปสงคท์ างสังคมเพื่อการศึกษา ในดา้ นอปุ ทานการศกึ ษา พบวา่ ลกั ษณะการจดั การศกึ ษาทำ� ใหบ้ างกลมุ่ เขา้ ถงึ ลำ� บาก องคป์ ระกอบดา้ นอปุ ทานท่ีมักเพม่ิ อปุ สรรคตอ่ การเข้าถงึ การศกึ ษาส�ำหรับบางกล่มุ รวมถงึ • โรงเรยี นอยไู่ กลบา้ นของนักเรียน • การศกึ ษาในระบบมีราคาแพง เชน่ คา่ ธรรมเนียมตา่ ง ๆ • ตารางการเรียนการสอนในแต่ละวนั หรือตลอดปีการศึกษา ขดั กบั ประเพณแี ละขอ้ จำ� กัดส�ำคัญ (เช่น เด็กในชนบทต้องชว่ ยเก็บเกีย่ วพชื ผลท�ำใหข้ าดเรียนมากเป็นพิเศษในบางฤดูกาล) ส่วนในด้านอปุ สงค์ทางสงั คมเพ่อื การศึกษาน้ัน ครอบครวั ขอรบั การศึกษานอ้ ยมาก เน่อื งจาก • ครอบครัวมฐี านะทางเศรษฐกิจไม่ดี พ่อ-แม่จึงไมม่ กี ำ� ลงั ใจทจ่ี ะส่งลูก ๆ ไปโรงเรยี น เพราะจะทำ� ให้ ลกู ไมไ่ ดช้ ่วยหารายได้เสรมิ ใหค้ รอบครัว คือมี “คา่ เสยี โอกาส” สูงเกนิ ไป • ประเพณี คา่ นยิ ม และขนบธรรมเนยี มของประชากรบางกลมุ่ อาจเป็นอปุ สรรคต่อการให้ลูก (โดย เฉพาะลูกสาว) ไปโรงเรยี นเมอ่ื โตข้นึ • ประชากรบางกลมุ่ (เช่น พวกท่อี ย่ไู ม่เปน็ หลักแหลง่ ) อาจรสู้ กึ ว่าเน้ือหา และประเภทของการศกึ ษา ในโรงเรยี นไมส่ อดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่และวฒั นธรรมของตน1.1.2 ตวั ชวี้ ัด (Indicators) ตัวชี้วัดท่ใี ชก้ ันทั่วไปในการวดั สถานภาพและปญั หาการเขา้ ถงึ ทางการศึกษาระดบั ตา่ ง ๆ คือ • อัตราการรับเขา้ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ทง้ั หมด และสุทธิ • อตั ราการรบั เขา้ จำ� แนกตามอายุ • อัตราการเข้าเรยี นแบบหยาบ และสทุ ธิ • อตั ราการเข้าเรียน จำ� แนกตามอายุ • อัตราการเรยี นต่อในช่วงชัน้ ถัดไป ส�ำหรบั การระบุกลุ่มทีม่ แี นวโนม้ วา่ จะเปน็ ลูกค้าของการศกึ ษา คอื ผู้ที่ตอ้ งการการศึกษาแต่ยงั เขา้ ไมถ่ ึงการศึกษาน้ัน ESD มักใชแ้ ละวเิ คราะหข์ อ้ มูลทีเ่ ก่ียวกบั ตวั ชีว้ ัดต่อไปนี้ • จ�ำนวนและอัตราร้อยละของเดก็ วัยเรยี นท่ไี มไ่ ด้เข้าโรงเรยี น • จำ� นวน และอตั ราการไม่รหู้ นังสือของผ้ใู หญ่ (ประเทศตา่ ง ๆ อาจนิยามการไม่รหู้ นงั สือ และก�ำหนด กลุม่ อายุตา่ งกนั ) • จ�ำนวนประชากรจ�ำแนกตามระดบั การศกึ ษาในระบบ • อปุ สงคแ์ รงงานตามการคาดคะเน จ�ำแนกตามวุฒกิ ารศึกษา 59

1.1.3 ความมพี ร้อมของขอ้ มลู และเครือ่ งมอื เก็บข้อมลู (Availability of data and datacollection instruments การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติท่ีสัมพันธ์กับตัวช้ีวัดที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นสามารถประเมินสถานการณ์ในปัจจบุ ัน และแนวโนม้ ในอดตี ดา้ นการเข้าถงึ การศึกษาได้ การคำ� นวณตวั ช้ีวัดเหล่าน้ปี ระเมินไดย้ ากในหลายประเทศ เน่อื งจากมีข้อมูลไม่ครบ หรือข้อมลู ที่มอี ยู่ไม่นา่ เชื่อมัน่ ยง่ิ ไปกวา่ น้ัน อาจไม่สามารถจดั กลมุ่ ขอ้ มูลในระดับชาติได้ เพราะขอ้ มลู ท่ไี ด้มาจากโรงเรียนหรอืระดับภูมิภาคอาจไม่คงเส้นคงวาพอ บางประเทศอาจไม่มีข้อมูลประชากรและนักเรียนจ�ำแนกตามอายุท่ีเข้าเรียนในระดบั และชน้ั ต่าง ๆ ที่เปน็ ปัจจุบันและนา่ เชือ่ ม่ัน ในกรณีน้ี ยอ่ มไม่อาจคำ� นวณและใช้อตั ราการรับเขา้ จ�ำแนกตามอายุ และอัตราสว่ นการเขา้ เรยี นสทุ ธเิ ปน็ ตวั ช้ีวดั การเข้าถงึ ได้1.1.4 การวิเคราะหก์ ารเขา้ ถงึ การศึกษาจากมมุ มองของผูม้ ีบทบาท (Analysing access toeducation from an actor’s perspective) สมมตุ วิ า่ องคก์ ารเอกชนไมแ่ สวงหากำ� ไรองคก์ รหนงึ่ ตดั สนิ ใจศกึ ษาวจิ ยั สาขาประถมศกึ ษา คำ� ถามขององคก์ ารนเ้ี รอื่ งการเขา้ ถงึ การศกึ ษาในระบบ และคำ� ถามในมมุ มองการบรหิ ารจดั การของระบบนนั้ อาจตรงกนับ้าง ตา่ งกนั บ้าง ตวั อย่างเชน่ องคก์ ารเอกชนไมแ่ สวงหากำ� ไรทส่ี ง่ เสรมิ การพฒั นาชนบทอาจสนใจวเิ คราะห์ความต้องการของเด็กท่ีอาศัยอยู่ในชนบทบางพ้ืนท่ี จึงประเมินผลนโยบายและอุปทานปัจจุบันด้านประถมศึกษาจากมุมมองนี้ ในการนี้ควรเลือกใช้การวิเคราะห์เชิงคุณภาพของอุปสงค์ด้านการศึกษาของกลุ่มเป้าหมาย (โดยการสมั ภาษณเ์ จาะลกึ เปน็ ตน้ ) การรวมขอ้ มลู เชงิ สถติ ิ และตวั ชวี้ ดั การเขา้ ถงึ ของกลมุ่ เปา้ หมายไวใ้ นการวเิ คราะห์นา่ จะมปี ระโยชน์สำ� หรบั ESD ท่เี น้นผู้มีบทบาท1.2 การวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพภายใน (Analysing internal efficiency) นักวางแผน และผู้จัดการระบบต้องรู้ว่า มีนักเรียนกี่คนท่ีเรียนจนจบแต่ละช่วงช้ัน หรือได้รับประกาศนียบัตรภายในระยะเวลาท่ีก�ำหนด “ประสทิ ธภิ าพภายใน” ทส่ี งู ทส่ี ดุ ของระบบการศกึ ษา อาจนยิ ามไดว้ า่ เปน็ “ขดี ความสามารถของระบบการศึกษาในการให้การศึกษาแก่นักเรียน (“ผลผลิต”) จ�ำนวนมากที่สุดที่เข้าสู่ระบบ ณ เวลาหนึ่ง โดยใช้ทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละการเงนิ (“ปัจจยั นำ� เขา้ ”) นอ้ ยท่ีสดุ ภายในระยะเวลาทีก่ �ำหนด” สถานการณใ์ นอุดมคตินแี้ สดงวา่ ระบบการศึกษามคี วามสูญเปล่า (เช่น การออกกลางคนั การซ้�ำช้ัน) น้อยที่สุด1.2.1 ค�ำถาม ในการประเมนิ ประสทิ ธิภาพภายในทแ่ี ทจ้ รงิ ของระบบการศึกษาน้นั ESD สว่ นใหญถ่ ามค�ำถามส�ำคัญอยสู่ องขอ้ คำ� ถามขอ้ แรกคอื มผี ทู้ ไี่ ดเ้ ขา้ เรยี นในระบบการศกึ ษากคี่ นทเี่ รยี นสำ� เรจ็ และนกั เรยี น/นกั ศกึ ษากลมุ่ นไี้ ดเ้ ลอ่ื นชนั้ หรอื ซ�้ำชนั้ ในแตล่ ะชว่ งชั้น หรอื ในแต่ละระดบั อยา่ งไร ในการตอบคำ� ถามน้ี นกั วเิ คราะหค์ วรตอ้ งแสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปจั จยั นำ� เขา้ และผลผลติ ของสาขา 60

ยอ่ ย, ระดบั หรอื ช่วงชั้นท่ีวเิ คราะหใ์ ห้ชดั เจน การวิเคราะหป์ ญั หาการศึกษาทงั้ สาขาควรตอ้ งรวมถึง • การประเมินการเล่ือนไหลของนักเรียนผ่านระบบ โดยวเิ คราะหก์ ารเรียนตอ่ ของนักเรียนในระดบั ชว่ งชนั้ หรือสาขายอ่ ยอื่น • ภาพเบด็ เสรจ็ ของการแบ่งสายและการกระจายนักเรยี นในชว่ งช้ัน หรอื สาขาย่อยนน้ั ๆ (รวมทง้ั การ เลื่อนชน้ั ด้วย) คำ� ถามขอ้ ที่สองคือ จะตอ้ งใชท้ รัพยากรใดบ้างในการ “ผลติ ” ผู้สำ� เร็จการศกึ ษาหน่ึงคน การวเิ คราะห์ในขน้ั นี้วัดทรัพยากรท่ีตอ้ งใช้ผลติ ผลผลติ (output) ของระดับชั้นหรอื ช่วงช้ันใด ๆ เปน็“ปีนักเรียน” ปัจจัยน�ำเข้าหน่ึงปีนักเรียนหมายถึงทรัพยากรทั้งหมดท่ีใช้ เพื่อให้นักเรียนหน่ึงคนมาเรียนท่ีโรงเรยี นได้หนง่ึ ปี1.2.2 ตัวช้วี ัด (Indicators) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 สถติ สิ �ำหรบั การวางแผนการศกึ ษาไดน้ ิยาม และอธิบายวิธคี �ำนวณตวั ชี้วัดพืน้ ฐานส�ำหรับประสทิ ธภิ าพภายในแลว้ การประเมินการเล่อื นไหลของนักเรยี นในระบบการศึกษาตอ้ งคำ� นวณอัตราตอ่ ไปนี้ คือ • อตั ราการเล่อื นชน้ั • อตั ราการเรยี นตอ่ สว่ น “การสูญเปล่า” น้ันอาจวัดเปน็ • อตั ราการเรยี นซำ้� ชน้ั • อัตราการออกกลางคนั เม่ือวเิ คราะห์ตามช่วงชนั้ ช้ันปี พ้ืนทภ่ี มู ิศาสตร์ (ในเมือง/ชนบท) และประเภทของโรงเรียน (รัฐบาล/เอกชน) ตัวชี้วัดเหล่าน้ีจะแสดงว่าทรัพยากรสูญเปล่าไปท่ีต�ำแหน่งใดในระบบ ย่ิงกว่านั้น การวิเคราะห์ตัวช้ีวดั เดยี วกนั ตามเพศ และคุณลักษณะอืน่ ๆ ของนักเรียน (เชน่ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมของพ่อ-แม่ ผู้ปกครอง) ยงั ช่วยระบวุ ่านักเรยี นกลุ่มใดเรยี นซ�ำ้ ช้ัน และออกกลางคนั มากทสี่ ุด การใหข้ อ้ มลู เพมิ่ เตมิ แกผ่ บู้ รหิ าร และผมู้ อี ำ� นาจตดั สนิ ใจตอ้ งใชต้ วั ชวี้ ดั ประสทิ ธภิ าพทซี่ บั ซอ้ นกวา่ ทไี่ ด้กลา่ วมาแลว้ ตวั ช้วี ดั ทีต่ ้องน�ำเสนอเพม่ิ คอื • ขดี ความสามารถของระบบการศึกษาในการคงนกั เรียนไว้ (retention capacity) โดยเฉพาะอตั ราผู้ เรียนสำ� เร็จ (completion rate) ซงึ่ หมายถึงสว่ นแบ่งของนกั เรยี นทเ่ี ขา้ สรู่ ะบบการศกึ ษารุน่ เดยี วกัน และเรยี นจบ และอตั ราการเหลอื รอด (survival rate) คอื สดั สว่ นของนกั เรยี นทเี่ ข้าโรงเรียน และ เรียนสูงข้ึนในปตี ่อ ๆ ไปจนจบชว่ งช้ัน ท่ีน่าสนใจเปน็ พเิ ศษคอื อตั ราการเหลือรอดในชนั้ ประถมศกึ ษา ปีที่ 5 เพราะวา่ นกั เรียนท่ีเรียนมาถงึ ชนั้ นค้ี วรต้องมคี วามสามารถพื้นฐานข้นั ตำ่� ในการอา่ น เขยี น และ คดิ เลข • ตน้ ทนุ เฉลย่ี ตอ่ ผเู้ รียนส�ำเร็จหน่งึ คน คิดเป็นจ�ำนวนปีนกั เรยี น (ความสมั พนั ธ์ระหว่างจ�ำนวนปี นกั เรียนท่ีนกั เรยี นแต่ละร่นุ ใช้ในการเรียน และจำ� นวนนกั เรยี นในรนุ่ น้นั ๆ ที่เรยี นส�ำเรจ็ ) 61

การคำ� นวณตวั ชีว้ ัดดงั กล่าวใช้วธิ ีวิเคราะหร์ นุ่ (cohort analysis) คอื การวิเคราะหท์ ตี่ ิดตามการเลอ่ื นไหลของนักเรียนหน่ึงกลมุ่ (ราว 1,000 คน) ไปตลอดช่วงชนั้ ทว่ี เิ คราะห์ นกั เรียนกลมุ่ นี้คือนกั เรียนท่ีเข้าเรียนชัน้ ที่ 1 ของช่วงช้นั น้นั พร้อมกัน1.2.3 การแปลผลตัวช้ีวดั (Interpretation of indicators) “ประสิทธภิ าพภายใน” เป็นแนวคดิ ท่คี บั แคบมาก และเปน็ ค�ำทอี่ าจท�ำใหเ้ ข้าใจผิดได้ การซ้ำ� ช้ัน และการออกกลางคนั ไมไ่ ด้เป็นอาการและสาเหตเุ ดียวของ “ประสทิ ธภิ าพภายใน” และ “การสญู เสยี ” ในระบบการศึกษา ESD ตอ้ งคำ� นงึ ถึงปจั จัยอนื่ ๆ เช่น ทรพั ยากรที่ไมเ่ พียงพอ การจัดสรรทรัพยากรมนุษยแ์ ละวสั ดุการศกึ ษาอย่างไม่เท่าเทยี มกัน การขาดสอนของครแู ละจ�ำนวนครูท่ีลดลง ฯลฯ วัฒนธรรมเป็นเหตุให้ประชาชนบางส่วนไม่เห็นชอบให้ลูกหลานไปโรงเรียน แต่จ�ำต้องให้ไป จึงไม่น่าแปลกใจทน่ี กั เรยี นจากครอบครวั เหลา่ นอี้ อกกลางคนั หลงั จากทเ่ี รมิ่ เรยี นไดไ้ มน่ าน เหตกุ ารณเ์ ชน่ นมี้ ไิ ดเ้ กดิ ขน้ึเพราะระบบการศกึ ษา “ไมม่ ปี ระสิทธภิ าพภายใน” ในท�ำนองเดียวกนั วัฒนธรรม (การแต่งงานก่อนวยั และการต้งั ครรภ์) และนโยบายการศกึ ษาที่ไม่เหมาะสม (ไมม่ สี ่งิ จูงใจ และไมใ่ หโ้ อกาสนกั เรียนหญงิ กลับมาเรียนหลงั คลอดบุตร) หรือคา่ เสยี โอกาสทส่ี งู เกินไป (ความเปน็ ไปไดท้ ีจ่ ะมรี ายได้จากงานช่ัวคราว) อาจเป็นสาเหตุท่ีทำ� ใหน้ ักเรียนหญิงออกกลางคันแต่เน่นิ การออกกลางคนั ท�ำให้ต้องสญู เสยี ทรพั ยากรทุกกรณีหรอื ไม่ ตัวอยา่ งเช่น ในสถานการณท์ ่ีมีห้องเรยี นนอ้ ย และมเี ดก็ รอเข้าโรงเรียนจำ� นวนมาก เมือ่ นักเรียนทีเ่ รียนจนอา่ นออกเขียนได้ และคิดเลขเป็นในระดบัท่ีน่าพอใจชิงลาออกก่อนที่จะจบระดับประถมศึกษา ทั้งโรงเรียนและผู้ใหญ่ในวงการการศึกษาอาจไม่ต�ำหนิ“การลาออกกลางคันช้า” เช่นนี้เทา่ ไรนกั ประการสดุ ทา้ ย การประเมินประสทิ ธภิ าพภายในของการศึกษาชว่ งชน้ั ใด ๆ ดว้ ยอัตราการเรยี นซ�ำ้ ชั้นอาจไมเ่ พยี งพอ ในกรณที ่ีมีนโยบายให้เลือ่ นชน้ั โดยอตั โนมัติ ควรใช้ตัวชี้วดั อ่นื ๆ เช่น อัตราการสอบไล่ปลายชว่ งช้นั ได้ อตั ราส่วนระหวา่ งจำ� นวนวันที่นักเรยี นมาเรียนจริงกบั จ�ำนวนวันที่นักเรียนต้องมาเรยี น อัตราสว่ นระหวา่ งจ�ำนวนชัว่ โมงท่สี อนจริงในหนง่ึ สัปดาห์กบั จ�ำนวนช่วั โมงทกี่ �ำหนดให้ต้องมีการสอน1.2.4 ความมีพร้อมของขอ้ มลู และเครือ่ งมือเกบ็ ขอ้ มลู (Availability of data and datacollection instruments) ดงั ทไ่ี ด้กลา่ วแลว้ ว่า เครื่องมอื หลักที่ใชใ้ นการวดั ประสิทธภิ าพภายในคอื การวิเคราะหร์ ุ่น ซงึ่ ตามดกู ารเลื่อนไหลของนักเรียนท่ีเข้ามาเรียนแต่ละช่วงชั้นในปีเดียวกันและเรียนสูงขึ้นในช่วงช้ันน้ัน ๆ ในทางทฤษฎี(และขึน้ อยกู่ บั ชนดิ ของขอ้ มลู ทมี่ ี) การวเิ คราะห์รนุ่ นักเรยี นมีสามแบบ ซึง่ เรียกชอื่ ตามรนุ่ ทเ่ี กย่ี วข้อง คือ • รุน่ จริง (real or true cohorts) • รุน่ ปรากฏ (apparent cohorts) • ร่นุ สร้างใหม่ (reconstructed cohorts) การวเิ คราะหร์ นุ่ จรงิ นนั้ หาไดย้ าก เนอื่ งจากตอ้ งเกบ็ และวเิ คราะหข์ อ้ มลู นกั เรยี นรายบคุ คลเปน็ เวลานาน(ข้อมูลการเล่ือนชั้น การซำ�้ ชนั้ และการออกกลางคนั ) ใช้เวลามาก และมตี ้นทุนสูง 62

ในกรณที ไี่ มม่ รี ะบบขอ้ มลู รายบคุ คล ใหใ้ ชว้ ธิ ปี ระมาณ (approximation) จากขอ้ มลู ของสองปกี ารศกึ ษาตอ่ เนอื่ งกนั ในชว่ งชนั้ ทตี่ อ้ งการวดั ประสทิ ธภิ าพ ทจี่ รงิ แลว้ วธิ ที นี่ ยิ มกนั มากทสี่ ดุ คอื การสรา้ งรนุ่ ใหม่ โดยใชข้ อ้ มลูการซำ้� ชนั้ การออกกลางคนั และการเลอื่ นชนั้ ของนกั เรยี นในชน้ั ปตี า่ ง ๆ ของชว่ งชนั้ นนั้ ๆ ตามทโ่ี รงเรยี นรายงานไว้ เครื่องมือการวิเคราะห์ดังกล่าวข้างต้นน้ีเพียงแต่ช่วยประเมินการเล่ือนไหลของนักเรียนในระบบ และระบปุ ญั หาในชว่ งเวลาหนงึ่ ๆ หากตอ้ งการชช้ี ดั ลงไปวา่ จะปรบั ปรงุ สถานการณไ์ ดอ้ ยา่ งไร จะตอ้ งศกึ ษาขอ้ มลูเพิม่ เตมิ ตอ่ ไปน้ี • แนวโนม้ ประสทิ ธิภาพภายในในชว่ งเวลาทศ่ี กึ ษาวิจัย • สาเหตขุ องแนวโนม้ ดังกล่าว หรอื ของปรากฏการณ์ท่สี ังเกตเห็น ในด้านวธิ ีการสอน สังคม เศรษฐกจิ และสาเหตอุ ่ืน ๆ ตวั อยา่ งเชน่ เมอื่ การออกกลางคนั ของนกั เรยี นบางกลมุ่ (เชน่ นกั เรียนหญงิ นักเรียนท่ีอาศยั อยใู่ นย่านชานเมืองที่ยากจนที่สุด) มีอัตราสูงเป็นพิเศษ อาจต้องส�ำรวจกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับสภาพการเรียนการสอนและสภาพแวดล้อมของกลุ่มดังกล่าว ถงึ แมว้ า่ จะมปี ระโยชนท์ จ่ี ะเรม่ิ การวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพภายใน โดยใชว้ ถิ ที างแบบดงั้ เดมิ ดงั ทก่ี ลา่ วมาแลว้ แต่ควรรวมแงม่ ุมอน่ื ๆ ของ “ประสิทธิภาพภายใน” ไว้ด้วย รวมท้งั “ประสิทธิภาพภายใน” ทป่ี ระเมินจากมุมมองของกลุ่ม หรือบุคคลท่ีเก่ยี วข้อง1.2.5 การวเิ คราะห์ประสทิ ธิภาพภายในจากมมุ มองของผู้มีบทบาท (Analysing internal efficiencyfrom an actor’s perspective) มุมมองและจุดสนใจของการวิเคราะห์ปัญหาย่อมต่างกันไป แล้วแต่กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือผู้มีบทบาท ส�ำหรบั องค์การเอกชนไม่แสวงหากำ� ไรที่ปรารถนาจะปรบั ปรุงการเลา่ เรียนของเดก็ ดอ้ ยโอกาส (เชน่เด็กยากจนในชนบท) การรู้อัตราการเล่ือนชั้น และอัตราการส�ำเร็จการศึกษาของเด็กกลุ่มน้ีเทียบกับของนักเรียนกลุ่มอ่ืน ๆ ย่อมเป็นส่ิงส�ำคัญ แต่ท้ังน้ีต้องเข้าใจด้วยว่าอัตราที่แตกต่างกันน้ันมีสาเหตุจากปัจจัยใดบ้าง ท้งั น้จี ำ� ต้องเกบ็ และวเิ คราะหข์ ้อมูลเพม่ิ เตมิ เพราะมักจะไมม่ ขี อ้ มูลเชงิ สถิตขิ องกลมุ่ ทางสังคมบางกลุ่มดงั ทีต่ อ้ งการ นอกจากน้ี การประเมิน “ทรัพยากร” ท่ีต้องใช้ผลิตผู้เรียนส�ำเร็จหนึ่งคน ต้องค�ำนึงถึงความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมายด้วย เช่น ต้องพิจารณา “ค่าเสียโอกาส” ของนักเรียนท่ีเรียนต่อแทนท่ีจะออกไปท�ำงานผลสดุ ท้ายแล้ว นักเรยี นและครอบครวั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งเหน็ พ้องกบั ฝา่ ยการศกึ ษาว่า การเรยี นซ้�ำช้นัคร้งั เดียวหรือหลายครง้ั เปน็ การ “ส้ินเปลอื ง” ทรัพยากร 63

1.3 การวเิ คราะห์ความเปน็ ธรรม (Analysing equity)1.3.1 คำ� ถาม ในเรื่องการเข้าถึงนั้น หน่วยการเรียนรู้น้ีได้กล่าวถึงโอกาสทางการศึกษาท่ีต่างกันตามพ้ืนที่ภูมิศาสตร์และสังคม-เศรษฐกิจไปแล้ว การศึกษาหาความจริงเรื่องความเป็นธรรมทางการศึกษา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของESD ควรตอบคำ� ถามสำ� คญั ดังตอ่ ไปน้ี “การเข้าถึงทางการศึกษา” “ความก้าวหน้าผ่านระบบ และสัมฤทธิผลทางการศึกษา” “คุณภาพ ของการศกึ ษาทไี่ ดร้ บั ” และ “ความสนบั สนนุ ทางเศรษฐกจิ ทไ่ี ดร้ บั สำ� หรบั การเรยี น” ตา่ งกนั อยา่ งไร ระหวา่ งนกั เรยี นหญงิ และนกั เรยี นชาย ระหวา่ งนกั เรยี นในเมอื งและในชนบท ระหวา่ งประชากรตา่ ง ภาค ต่างกลุ่ม ตา่ งประเภท (เชน่ ตามกล่มุ รายได)้ ในบรรดานักเรียนท่ีส�ำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน และในหมู่ผู้ท่ีเรียนต่อเม่ือจบมัธยมศึกษาแล้วมี นกั เรยี นจากประชากรกลมุ่ ใดนอ้ ยทส่ี ดุ ประชากรกลมุ่ ใดไดร้ บั ผลกระทบมากทสี่ ดุ จากการไมร่ หู้ นงั สอื (เช่น เด็กหญงิ ลกู หลานคนยากจนในเมือง ชนกลุ่มน้อยทางวัฒนธรรม) อะไรคอื สาเหตหุ ลกั ของความไมเ่ ปน็ ธรรมน้ี สาเหตดุ งั กลา่ วนเี้ กย่ี วพนั กบั ความแตกตา่ งดา้ น “อปุ สงค์ ทางสงั คม” (สัมพนั ธ์กับรายได้ และความยากจนของครัวเรือน) หรอื “อุปสรรคทางโครงสร้างพน้ื ฐาน” ของการจดั การศกึ ษา (มโี รงเรียนมัธยมในเขตชนบทไม่เพยี งพอ) เพียงไร มนี โยบายหรอื มาตรการใดบ้างทีจ่ ะชว่ ยลดความไม่เป็นธรรมดงั กลา่ วน้ไี ด้1.3.2 การวิเคราะห์ข้อมลู และตวั ชวี้ ัด (Data analysis and indicators) ในการศึกษาความไม่เป็นธรรมทางการศึกษาโดยอาศัยตัวชี้วัดที่ส�ำคัญด้านการเข้าถึง ประสิทธิภาพภายใน คุณภาพ และอืน่ ๆ ต้องใหค้ วามสำ� คญั กับการวเิ คราะห์ข้อมูลทีจ่ �ำแนกตาม • เพศ • พืน้ ทีท่ างภูมิศาสตร์ (ในเมืองหรือชนบท ภาคตา่ ง ๆ ) • กล่มุ ทางเศรษฐกจิ และสังคม และรวมถงึ ภมู ิหลงั ทางชาติพันธุ์ด้วยหากเปน็ ไปได้ ตวั ชวี้ ัดทางสถิตทิ ่ีใช้วดั “ความเปน็ ธรรม” ทางการศึกษา ทคี่ ่อนข้างจะง่ายและเป็นท่ีนยิ มใช้ คือ • “ชอ่ งว่าง” หรือ “ความเบยี่ งเบน” สัมบรู ณ์ (absolute ‘gap’ or ‘deviation’) ESD อาจวัดความ ไมเ่ สมอภาคทางการศกึ ษาในประเทศหน่ึง ๆ ไดโ้ ดยค�ำนวณหา “ชอ่ งวา่ ง” ของตัวช้ีวัดต่าง ๆ (เชน่ อตั ราการแรกเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา อัตราการออกกลางคัน หรืออัตราการสำ� เรจ็ การศึกษา) ระหวา่ งเดก็ ชาย-หญงิ ระหว่างภาค หรือกลุ่มรายได้ หรอื ระหวา่ งบางกล่มุ หรือภาคกบั ค่าเฉลย่ี ของ ประเทศ • ดัชนีความเสมอภาคชาย-หญงิ (gender parity index - GPI) คอื “อตั ราสว่ นค่าตัวช้ีวดั ของผหู้ ญงิ ตอ่ ผู้ชาย” ซึง่ มีประโยชนม์ ากในการประเมินวา่ มีจำ� นวนเดก็ หญงิ และเดก็ ชายเข้าถงึ การศึกษา หรือ สำ� เร็จการศึกษาในระดับประถมศึกษามากเทา่ ๆ กันหรอื ไม่ 64

1.3.3 ความมพี รอ้ มของขอ้ มูล และเคร่อื งมอื เกบ็ ขอ้ มลู (Availability of data and instruments) การระบกุ ลมุ่ ดอ้ ยโอกาสทางการศกึ ษาตอ้ งใชข้ อ้ มลู ทลี่ ะเอยี ดมากพอ และเขา้ กนั ไดก้ บั ขอ้ มลู จากแหลง่อืน่ ๆ เชน่ สำ� มะโนประชากร หรือการศึกษาด้านเศรษฐกิจและสงั คม สถิติทีล่ ะเอียดมากจากโรงเรียนอาจไม่เพยี งพอทจี่ ะบง่ บอกสถานการณข์ องบางกลมุ่ ได้ หากไมส่ อดคลอ้ งกบั อาณาเขตทางภมู ศิ าสตร์ และเศรษฐกจิ -สังคมของสถิตทิ ่มี ีอยูแ่ ล้ว ในการวิเคราะห์ต้นเหตุของสถานการณ์ทางการศึกษาของกลุ่มด้อยโอกาสไม่ว่าทางสังคมหรืออ่ืนใดจำ� เปน็ ตอ้ งศึกษาสภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คม และทางวฒั นธรรมของกลุ่มต่าง ๆ น้นั โดยละเอยี ด (โดยการสมั ภาษณ์ และการทบทวนการวจิ ยั ท่แี ล้วมา เปน็ ต้น) รวมทง้ั ความสนใจและคา่ นยิ ม และสง่ิ จูงใจทีจ่ ะท�ำให้พวกเขาเปลีย่ นทศั นคติดว้ ย1.3.4 การวิเคราะห์ความปน็ ธรรม จากมมุ มองของผมู้ บี ทบาท (Analysing ‘equity’ from anactor’s perspective) สิ่งที่ท้าทาย ESD เปน็ พิเศษคือการชปู ระเดน็ ความตอ้ งการและความสนใจของ “ผู้ดอ้ ยโอกาสทางการศึกษา” ทั้งนี้เป็นเพราะวา่ ไม่ใคร่มีใครใสใ่ จฟังคนกลุ่มน้ี และผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจทางการเมอื งมักนกึ ถึงกลุ่มน้ีนอ้ ยกว่ากลุ่มอน่ื บางครงั้ องคก์ ารระหวา่ งประเทศ และองคก์ รผบู้ รจิ าครว่ มกนั กระตนุ้ ใหด้ ำ� เนนิ การศกึ ษาสถานการณข์ องกลุ่มด้อยโอกาสต่าง ๆ หรอื อาจดำ� เนินการเอง ตัวอยา่ งเชน่ มกี ารศกึ ษาครงั้ หน่ึงทีพ่ ยายามแสวงหามาตรการปอ้ งกนั ไมใ่ หน้ กั เรยี นหญงิ ในชนบทหา่ งไกลลาออกกลางคนั ไวนกั และยงั มกี ารศกึ ษาทพ่ี จิ ารณาหาวถิ ที างทจี่ ะท�ำใหแ้ ม่อายนุ ้อยในเขตกึง่ เมืองสนใจการศึกษามากขน้ึ และเข้าถงึ การศึกษาได้ค�ำถามทา้ ยบท: จงศกึ ษารายงานการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาฉบบั ลา่ สดุ ของประเทศของทา่ น โดยเฉพาะวธิ รี บั มอืปัญหาความเหลือ่ มล�ำ้ ทางภมู ศิ าสตร์ (จำ� แนกตามภาค ในเมือง-ชนบท) ในการเขา้ ถึงการศึกษาระดับประถมศึกษา ความเหลอื่ มลำ�้ ดงั กลา่ วนไี้ ดร้ บั ความสนใจเปน็ พเิ ศษหรอื ไมเ่ มอื่ เทยี บกบั ประเดน็ ความเปน็ ธรรมอน่ื ๆ มีประเดน็ หรอื ปญั หาเฉพาะประการใดทเ่ี กย่ี วกบั “ความเปน็ ธรรมทางการศกึ ษา” ทที่ า่ นคดิ วา่ ควรไดว้ เิ คราะห์ใหล้ ะเอียดกว่าทไ่ี ดเ้ สนอไวใ้ นรายงานดังกลา่ ว 65

ตอนที่ 2 การวเิ คราะหก์ ารเขา้ ถงึ ประสทิ ธภิ าพภายใน และความเปน็ ธรรมทางการศกึ ษา:กรณี Vindoland(Analysing access, internal efficiency and equity in education: The caseof Vindoland)2.1 โครงสรา้ งระบบการศกึ ษา (Structure of the education system) ระบบการศึกษาในโรงเรียนของประเทศ Vindoland แบง่ ออกเป็นสองระดบั คือ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานและอุดมศึกษา การศึกษาขั้นพน้ื ฐานยังแบง่ ออกเปน็ 3 ระดบั คือ ก่อนประถมศกึ ษา 3 ปี ประถมศกึ ษา 6 ปีและมธั ยมศึกษา 6 ปี (ประกอบด้วยมัธยมศึกษาตอนตน้ 3 ปี และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3 ป)ี (ดรู ูปท่ี 1)รูปท่ี 1 โครงสร้างระบบการศกึ ษาของประเทศ Vindoland อายุ ชั้น ระดบั การศึกษา วฒุ กิ ารศึกษาโดยประมาณ โดยประมาณ ดษุ ฎีบัณฑิต24 19+ ปริญญาเอก ปรญิ ญาโท2 3 1 8 ปรญิ ญาโท22 172 1 1 6 ปริญญาตรี อาชีวศึกษาข้ัน ปรญิ ญาตรี20 15 สูง1 91 4 ปวส18 131 7 1 2 มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น อาชีวศึกษาขั้น การศึกษาข้ัน1 6 1 1 ปลาย ตน้ พ้นื ฐาน15 101 49 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น การศึกษาภาค1 38 บังคบั12 71 16 ประถมศึกษา1 05948372615 กอ่ นประถมศึกษา43 66

เมอ่ื นกั เรยี นเรยี นถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (หรอื ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ในบางกรณ)ี จะสามารถเลือกเรียนสายอาชีวศึกษาได้ ระดับอุดมศึกษาแบ่งออกเป็นสามขั้น คือต�่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี และบณั ฑติ ศกึ ษา นอกจากน้ยี งั มกี ารจัดการศึกษานอกโรงเรียน การศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการศึกษาสำ� หรับผู้มีความต้องการพเิ ศษ นกั เรยี นสว่ นใหญเ่ รยี นในระบบโรงเรยี น ขณะทม่ี ผี เู้ ขา้ ถงึ การศกึ ษานอกโรงเรยี นมากถงึ 5.6 ลา้ นคนในค.ศ. 2009 ราว 36% ของกลุ่มน้เี รียนหลกั สูตรการศึกษาต่อเน่อื ง อกี 44% ฝึกอาชพี และกลุม่ ท่ีเหลอื เรยี นหลกั สตู รการรหู้ นงั สอื และการสร้างงาน โดยรวมมเี ดก็ ในวยั ประถมศกึ ษา (อายุระหวา่ ง 6-11 ป)ี เกือบ 1 ลา้ นคน ที่ไม่ได้ไปโรงเรยี น หรือเข้าโรงเรยี นชา้ มาก ประมาณว่ามีเด็กทกุ วยั จำ� นวนทั้งหมดเกือบ 2 ล้านคนที่ยงั ไมไ่ ด้เขา้ เรียนในระดับการศึกษาภาคบงั คบั2.2 การวิเคราะหก์ ารเข้าถงึ การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน (Analysis of access to basiceducation) การขยายโอกาสการเขา้ ถึงการศกึ ษาของพลเมอื งท้ังหมดใน Vindoland คบื หน้าไปมาก ดังท่ไี ด้กลา่ วมาแล้ววา่ รฐั มีนโยบายใหก้ ารศกึ ษาใหเ้ ปลา่ ในระดบั ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษารวม 12 ปี การศกึ ษาภาคบังคบั ของ Vindoland ประกอบด้วยระดับประถมศึกษาถงึ มธั ยมศึกษาตอนตน้ รวมทัง้ หมด 9 ปี ใน ค.ศ. 2010 มีนักเรียน 11.5 ล้านคนเข้าเรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในระบบโรงเรียน (ตั้งแต่ก่อนประถมศึกษา ถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย) อัตราการเข้าเรียนแบบหยาบในการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของประเทศอยู่ท่ี 85% (ตารางท่ี 1)ตารางที่ 1 จำ� นวนนกั เรยี นจ�ำแนกตามระดับการศึกษา ระดับ ค.ศ. 2007 ค.ศ. 2008 ค.ศ. 2009 ค.ศ. 2010 14,264,579 14,119,543 13,807,914 14,038,437รวมทั้งหมด 3-21 1,758,573 1,770,386 1,780,074 1,776,289 5,564,624 5,370,546 5,138,475 5,009,442กอ่ นประถมศึกษา 3-5 2,782,834 2,794,218 2,792,286 2,768,039 1,945,929 1,974,980 2,003,534 2,024,380ประถมศึกษา 6-11 2,212,619 2,209,413 2,093,545 2,236,514มัธยมศึกษาตอนต้น 12-14มัธยมศึกษาตอนปลาย 15-17อดุ มศึกษา 18-21 อตั ราการเขา้ เรยี นแบบหยาบในระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา คอื 74% และในระดบั ประถมศกึ ษาคอื 105%การเข้าถึงการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพิ่มข้ึนตามกาลเวลา อัตราการเข้าเรียนแบบหยาบในระดับนเ้ี พ่ิมขึน้ จาก 87% ใน ค.ศ. 2001 มาเปน็ 94% ใน ค.ศ. 2010 สว่ นอตั ราการเข้าเรียนแบบหยาบในระดบัมธั ยมศกึ ษาตอนปลายนนั้ ไดเ้ พมิ่ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ งจาก 60% ใน ค.ศ. 2001 มาเปน็ 71% ใน ค.ศ. 2010 (ตารางที่ 2) 67

ตารางที่ 2 อตั ราส่วนการเข้าเรยี นแบบหยาบ ระดบั ตามมาตรฐานสากล 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 การจดั จำ�แนกการศกึ ษา รวม รวม รวม รวม รวม รวม รวม รวม รวม รวมกอ่ นประถมศึกษา 0.75 0.77 0.76 0.74 0.75 0.75 0.74 0.74 0.74 0.74(ISCED 0)ประถมศกึ ษา 1.05 1.05 1.05 1.04 1.04 1.04 1.05 1.05 1.04 1.01(ISCED 1)มธั ยมศึกษาตอนต้น 0.87 0.86 0.90 0.93 0.95 0.97 0.96 0.96 0.95 0.94(ISCED 2)มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 0.60 0.61 0.63 0.64 0.64 0.66 0.67 0.68 0.70 0.70(ISCED 3)อดุ มศึกษา 0.43 0.45 0.53 0.53 0.56 0.63 0.61 0.61 0.56 0.60(ISCED 4-6) การประกาศใชก้ ฏหมายการศึกษาภาคบงั คับ 9 ปี ใน ค.ศ. 2002 ท�ำให้อตั ราการเรยี นต่อสทุ ธิในระดบัมธั ยมศึกษาตอนตน้ เพ่ิมสูงขน้ึ มากจาก 89.9% ใน ค.ศ. 2000 เป็น 100.3% ใน ค.ศ. 2010 ในทำ� นองเดียวกนัอตั ราการเรียนต่อจากมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ไปยงั มัธยมศึกษาตอนปลายได้เพิ่มจาก 82% ใน ค.ศ. 2000 เป็น90% ใน ค.ศ. 2010 โดยเปน็ การเรียนตอ่ ในสายสามัญศกึ ษา 56.4% และในสายอาชวี ศึกษา 33.6% ส�ำหรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของประเทศน้ัน นักเรียนประมาณ 83% (ใน ค.ศ. 2009) เข้าเรียนในโรงเรียนของรัฐบาล และ 17% ทเี่ หลือเรยี นในโรงเรียนเอกชน การศึกษาในภาคเอกชนมสี ว่ นแบง่ เพ่ิมมากขน้ึ หลังการประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิการศึกษา ค.ศ. 1999 แต่ยังต�ำ่ กวา่ เปา้ หมายซง่ึ ตงั้ ไวท้ ี่ 35% ท้ังนจี้ ะเหน็ ได้ชัดว่าการศึกษาเอกชนนั้นมีบทบาทเพิม่ มากขึน้ ในภาคอาชวี ศึกษา หรอื คิดเปน็ สัดสว่ นของนักเรียนถงึ35% แนวโนม้ ลักษณะนใี้ นเมอื งหลวงชัดเจนกวา่ ในสว่ นอื่น ๆ ของประเทศ2.3 การวเิ คราะหป์ ระสทิ ธิภาพภายใน (Analysis of internal efficiency) ในปจั จบุ นั มวี ธิ กี ารวดั ประสทิ ธภิ าพภายในของระบบการศกึ ษาหลายวธิ ี การวเิ คราะหใ์ นหนว่ ยการเรยี นรนู้ มี้ วี ตั ถปุ ระสงคป์ ระการแรกทจี่ ะเขา้ ใจการเลอื่ นไหลของนกั เรยี นในระบบการศกึ ษาของประเทศ Vindolandสถติ ทิ างการไดร้ ายงานวา่ ใน ค.ศ. 2010 มนี กั เรยี นทอี่ อกกลางคนั ในระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาตอนต้นเพยี ง 0.7% เท่านนั้ (ตารางที่ 3) 68

ตารางท่ี 3 อตั ราการออกกลางคนั ในระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ค.ศ. 2005-2009 ระดับ ค.ศ. 2005 ค.ศ. 2006 ค.ศ. 2007 ค.ศ. 2008 ค.ศ. 2009ระดบั ประถมศกึ ษา- จำ� นวนนกั เรียนท่อี อกกลางคนั 29,703 36,458 45,374 37,529 8,472- คดิ เป็นร้อยละของท้ังหมด 0.69 0.88 1.13 0.98 0.23ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้- จำ� นวนนักเรยี นท่ีออกกลางคนั 48,777 52,001 55,079 53,147 28,525- คดิ เปน็ ร้อยละของทงั้ หมด 2.11 2.25 2.43 2.44 1.31ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย- จ�ำนวนนกั เรยี นทีอ่ อกกลางคัน 20,755 22,422 21,677 18,746 10,812- คดิ เป็นรอ้ ยละของทั้งหมด 2.21 2.33 2.16 1.90 1.05 รัฐบาล Vindoland สนับสนนุ ใหใ้ ชน้ โยบายการเล่อื นชน้ั อตั โนมัตสิ ำ� หรบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ตารางท่ี 4 แสดงให้เห็นว่าการเลื่อนชัน้ ของนกั เรยี นมีอตั ราสงูตารางที่ 4 อตั ราการเลอ่ื นชน้ั ทง้ั หมด ค.ศ. 2000-2010ปกี ารศกึ ษา ป. 2/ป. 3 ป. 4/ป. 5 ม. 1/ม. 2 ม. 2/ม. 3 ม. 4/ม. 5 ม. 5/ม. 6 (ค.ศ.) 99.21 95.88 96.27 88.94 92.832000/2001 98.69 99.33 95.72 95.48 89.03 92.712001/2002 98.59 99.2 95.58 95.16 84.48 91.462002/2003 98.5 98.98 95.88 95.56 84.71 92.892003/2004 98.32 99.82 96.98 96.56 87.45 87.162004/2005 99.54 99.65 97.56 96.38 84.91 93.042005/2006 99.67 99.79 97.39 95.86 84 92.642006/2007 99.8 99.59 96.62 95.2 84.26 93.612007/2008 99.33 98.82 95.78 94.82 85.07 94.342008/2009 98.19 100.98 97.84 97.08 86.79 99.862009/2010 100.6 อยา่ งไรกต็ าม รายงานการศกึ ษาท่ีติดตามรุ่น ค.ศ. 1990 และ ค.ศ. 1998 ต้งั แต่ประถมศึกษาปีท่ี 1จนถึงมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เผยใหเ้ ห็นว่า อัตราการเหลือรอดตำ�่ กว่าทแี่ สดงไว้ในสถิติการออกกลางคันและการเลื่อนไหล (รปู ท่ี 2) 69

รูปท่ี 2 อัตราการเหลือรอดของรุ่น ค.ศ. 1990 และ 1998 100 รุนป 1998 รุนป 1990 100 100 93.3 91.9 91.4 90.8 89.5 85.6 80.4 79.6 90 92.1 91.8 88.2 86 80 80 70 69.4 66.6 63.8 68.4 58 54.8 60 51.6 45.9 42.8% 50 40 3020100 1 2 3 4 5 6 ป 7 9 10 11 11 12 คาดกันวา่ ในบรรดานักเรยี นท่ีเขา้ เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ใน ค.ศ. 1998 น้ัน มเี พยี ง 79.6% ท่จี ะสำ� เร็จการศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น และเพยี ง 54.8% จะเรียนจนจบมัธยมศกึ ษาตอนปลาย3 ซงึ่ ย่อมจะมผี ลต่อระดบั การศกึ ษาเฉล่ียของแรงงานในประเทศ ซ่งึ คือ 8.2 ปใี น ค.ศ. 2009 และถงึ แมว้ า่ คา่ เฉลีย่ นี้สงูกวา่ เมอื่ สบิ ปกี อ่ น แต่ยังจ�ำเปน็ อยา่ งย่ิงที่จะต้องเพม่ิ อตั ราการเหลอื รอด และอตั ราการเรยี นต่อหากจะให้ทกุคนไดเ้ รยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา งานศกึ ษาวจิ ยั ในอดตี ระบวุ า่ ครอบครวั ทย่ี ากจนใหบ้ ตุ รหลานเลกิ เรยี นกลางคนัเพราะไม่สามารถออกคา่ ใช้จา่ ยต่าง ๆ ที่เก่ยี วเนือ่ งกบั การศกึ ษาได้ ไม่ใชเ่ พราะความจ�ำเป็นเฉพาะหน้าท่ีตอ้ งใหบ้ ุตรหลานท�ำงานหารายไดเ้ สริมแตอ่ ยา่ งใด ส�ำหรับครอบครวั ทม่ี ขี ้อจำ� กัดดา้ นการเงินแลว้ การท่ลี ูกหลานจะมรี ายไดส้ งู กวา่ เมอื่ ไดเ้ รยี นจนจบมธั ยมศกึ ษาตอนปลายนนั้ ไมจ่ งู ใจพอ ดงั นนั้ มาตรการลดรายจา่ ยโดยตรงทางการศกึ ษาทรี่ ัฐบาลน�ำมาใชใ้ นระยะหลงั นีอ้ าจสง่ ผลสมปรารถนาบ้างก็ได้ สว่ นในระดับอดุ มศึกษาน้ัน ประมาณวา่ อัตราการสำ� เรจ็ การศกึ ษาโดยเฉลีย่ คอื 33% เท่านนั้ วิธีวัดประสิทธิภาพ “ภายใน” อีกวิธีหนึ่งคือดูจาก ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรของโรงเรียนและมหาวทิ ยาลัย สถาบันการศกึ ษาทีไ่ ม่สามารถเพม่ิ ผลผลติ ได้ด้วยปจั จยั น�ำเขา้ เท่าทม่ี อี ยู่ ตอ้ ง “มปี ระสิทธิภาพทางวิชาการ” (technically efficient) เทคนคิ การประเมนิ ทนี่ ยิ มใช้คือ การวเิ คราะหก์ ารล้อมกรอบข้อมูล4ซึ่งเป็นการตรวจสอบประสิทธิภาพทางวิชาการของโรงเรียนหรือเขตพ้ืนที่การศึกษา ผลผลิตคือคะแนนท่ีได้จากการสอบมาตรฐาน และปจั จยั นำ� เขา้ คอื ทรพั ยากรมนษุ ย์ อาคารและวสั ดอุ ปุ กรณ์ และการเงนิ ของโรงเรยี นหรอื เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาน้ัน ๆ จากการวเิ คราะหก์ ารลอ้ มกรอบขอ้ มลู เมอื่ ไมน่ านมาน้ี ประสทิ ธภิ าพทางวชิ าการโดยเฉลย่ี ของโรงเรยี นที่จดั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานใน Vindoland มคี า่ อยรู่ ะหวา่ ง 73 ถงึ 79% หมายความวา่ โรงเรยี นสามารถลดปจั จยั3 คาดว่านกั เรยี นรุน่ ท่ีเข้าเรยี นหลงั จากการประกาศให้มีการศึกษาภาคบงั คบั 9 ปี จะมอี ตั ราการเหลือรอดสงู กวา่4 การวิเคราะหก์ ารล้อมกรอบข้อมลู (Data Envelopment Analysis - DEA) เป็นเทคนิคทางสถิตทิ ี่ใชว้ ัดประสทิ ธภิ าพของหน่วยงานที่ต้อง ตดั สนิ ใจหลายเรื่อง (เชน่ โรงเรียน โรงพยาบาล บรษิ ัท) เทคนิคน้ีสามารถจัดการขอ้ มลู เข้า (input) และขอ้ มลู ออก (output) หลายอย่างได้ โดยไม่ระบุความสัมพนั ธ์ระหวา่ งขอ้ มลู ออกและข้อมลู เข้าใหช้ ดั เจนลงไป แตส่ ามารถบอกปริมาณแหลง่ ของความไมม่ ปี ระสิทธิภาพของแตล่ ะ หนว่ ยงานได้ 70

นำ� เขา้ ลงไดถ้ งึ 21-27% โดยจะไมท่ ำ� ใหม้ ผี ลผลติ ลดนอ้ ยลงเลย ทงั้ นพ้ี บวา่ การลดอตั ราสว่ นครตู อ่ นกั เรยี นดจู ะเปน็ วธิ ที ค่ี มุ้ ทนุ (cost-effective) ทสี่ ดุ ผลการวเิ คราะหใ์ นทำ� นองเดยี วกนั ทว่ี ดั ประสทิ ธภิ าพการใชท้ รพั ยากรของเขตพื้นทกี่ ารศึกษา แสดงวา่ ใน ค.ศ. 2009 เขตพื้นท่ีการศึกษามคี ่าเฉลย่ี ของประสทิ ธิภาพ 73% และพบวา่ การลดรายจา่ ยการบรหิ ารจดั การของแตล่ ะโรงเรยี นจะเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพทางวชิ าการของเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาได้อย่างมีนยั สำ� คญั มากที่สุด การศึกษาเหล่าน้ียังพบว่า วิธีการจัดสรรครูและเจ้าหน้าท่ีฝ่ายบริหารมีส่วนท�ำให้เกิดความไม่มีประสิทธิภาพ2.4 การวเิ คราะหค์ วามเปน็ ธรรม (Analysis of equity) มีเหตุผลหลายประการที่ท�ำให้มีผู้สนใจเร่ืองความเป็นธรรมในการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ ในเม่ือการศกึ ษาได้รบั เงนิ อุดหนนุ ก้อนใหญจ่ ากภาครฐั การเข้าถงึ การศึกษาจึงเปน็ ส่งิ ท่ีชว้ี ่าใครได้ประโยชนจ์ ากเงินอดุ หนนุ ดงั กลา่ วน้ี การเขา้ ถงึ ทเ่ี ทา่ เทยี มกนั มอี ทิ ธพิ ลมากตอ่ การกระจายรายไดใ้ นอนาคต และการพฒั นาสงั คมอย่างเป็นธรรมโดยทวั่ ไป ตารางท่ี 5 และ 6 รวมถึงรูปท่ี 3 และ 4 เปรยี บเทยี บการเขา้ ถึงการศกึ ษาในมิตเิ พศพืน้ ท่ีภมู ิศาสตร์ และกลุ่มรายไดข้ องประชากร มิติเพศ (gender) ตารางท่ี5 แสดงใหเ้ ห็นถงึ อัตราสว่ นการเขา้ เรยี นแบบหยาบ (Gross enrolmentratio - GER) และดชั นคี วามเสมอภาคชาย-หญงิ (Gender parity index: GPI) ในการศกึ ษาทุกระดับสำ� หรบัค.ศ. 1999, 2002 และ 2009 71

ตารางที่ 5 อัตราส่วนการเขา้ เรียนแบบหยาบ (GER) และดชั นคี วามเสมอภาคชาย-หญงิ (GPI)GER % ค.ศ. 1999 ค.ศ. 2002 ค.ศ. 2009กอ่ นประถมศึกษา ช-ญ 91 93 94 ช 90 93 93 ญ 91 93 95 GPI 1.01 1.00 1.02ประถมศกึ ษา ช-ญ 97 98 91 ช 98 99 91 ญ 95 97 90 GPI 0.97 0.98 0.99มัธยมศึกษา ช-ญ 64 76 ช 64 73 ญ 64 80 GPI 1 1.10อุดมศึกษา ช-ญ 33 40 46 ช 30 38 41 ญ 35 42 51 GPI 1.17 1.11 1.24 ความเหลอื่ มล้ำ� ทางภูมศิ าสตร์ (geographical disparity) รฐั บาลVindoland พยายามทำ� ใหม้ ีความเสมอภาคมากข้ึนท่ัวทุกภูมิภาคในการเข้าถึงการศึกษาระดับมัธยมศึกษา โดยได้ขยายการศึกษาและบริการของโรงเรียนประถมศึกษาให้รวมระดับมัธยมศึกษาตอนต้นด้วย รูปท่ี 3 แสดงอัตราส่วนการเข้าเรียนแบบหยาบ (GER)ในโรงเรยี นมธั ยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศกึ ษาตอนปลายจำ� แนกตามภูมิภาครูปท่ี 3 อตั ราสว่ นการเขา้ เรียนแบบหยาบในระดบั มธั ยมศึกษา จ�ำแนกตามภูมิภาค ค.ศ. 2005100 96,4 มธั ยมศกึ ษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย 98,4 91 93,7 91,390 82,3807060 64 60,5 57,1 58,550403020100 เมืองหลวง ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต 72

ตารางท่ี 6 อตั ราสว่ นการเขา้ เรยี นแบบหยาบในระดบั มธั ยมศกึ ษา จำ� แนกตามภมู ภิ าคและเพศ ค.ศ. 2005 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ชาย หญิง ดัชนีความ ชาย หญงิ ดัชนีความ เสมอภาค เสมอภาค ชาย-หญิง ชาย-หญิงเมอื งหลวงและปรมิ ณฑล 95.3% 97.7% 1.03 76.7% 87.9% 1.15ภาคกลาง 97.9% 98.9% 1.01 59.7% 68.7% 1.15 57.1% 64.2% 1.12ภาคเหนือ 90.4% 91.6% 1.01 51.3% 63.3% 1.24ภาคตะวันออกเฉียง 92.6% 94.9% 1.02 50.5% 66.8% 1.32เหนือภาคใต้ 81.7% 95.1% 1.16 ความเหลอื่ มล้ำ� ทางรายได้ (disparity by income) ความไม่เป็นธรรมในการเข้าถงึ การศกึ ษาของเดก็นนั้ มกั สมั พนั ธก์ บั รายไดข้ องครอบครวั ทไ่ี มเ่ ทา่ เทยี มกนั ผลจากการสำ� รวจครวั เรอื นทวั่ ประเทศดา้ นเศรษฐกจิและสังคมแสดงวา่ ใน ค.ศ. 2010 20% ของครอบครัวท่ียากจนที่สดุ ในประเทศใชเ้ งนิ ถงึ 9% ของรายได้ครวัเรอื นต่อปีไปกับการศึกษาของบตุ รหลาน (ในทกุ ระดบั การศกึ ษา) แต่ 20% ของครอบครัวท่ีรวยทส่ี ดุ ใช้เงนิเพื่อวตั ถุประสงค์เดียวกันเพยี ง 3% ของรายได้ครวั เรอื นต่อปเี ท่านัน้ รูปท่ี 4 แสดงข้อมูลการส�ำรวจการเพิ่มของอัตราการมีส่วนร่วม (participation rate) ในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายของผทู้ ม่ี อี ายุ 16-19 ปี จ�ำแนกตามกลุม่ รายได้รปู ที่ 4 อตั ราการมสี ว่ นรว่ มของผทู้ ม่ี อี ายุ 16-19 ปี ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำ� แนกตามกลมุ่ รายได้90%80%70%60%50%40%30%20%10% 0% 1986 1988 1990 1992 1994 1996 1998 2000 2002 2004 2006 2008 ควินไทลที่ 1 ควนิ ไทลท่ี 2 ควินไทลท ี่ 3 ควนิ ไทลท ่ี 73

การศึกษาความก้าวหน้าของอัตราการมีส่วนร่วมในการศึกษาหลังจากระดับมัธยมศึกษาของทุกกลุ่มพบว่าช่องว่างระหว่างกลุม่ คนรวยท่สี ุดกับกลุม่ อนื่ ๆ กว้างขนึ้ และกวา้ งที่สดุ ระหวา่ งกลุ่มรายได้สูงสุดและตำ่�สดุ นา่ กลวั ว่าช่องว่างท่กี ว้างมากเช่นน้จี ะเพ่มิ ความไม่เทา่ เทียมกนั ทางรายได้ให้มากยง่ิ ขึน้ ไปอีก และจะเปน็อุปสรรคตอ่ การเปลยี่ นฐานะทางสังคมระหวา่ งรุ่นวัย (intergenerational social mobility) อตั ราการมสี ว่ นรว่ มในระดบั อดุ มศกึ ษาแตกตา่ งกนั มากระหวา่ งภมู ภิ าค และระหวา่ งทอ้ งที่ ในทศวรรษที่แลว้ อตั ราน้สี งู สดุ ทเ่ี มอื งหลวง ตามด้วยภาคกลาง และภาคใต้ สว่ นภาคอีสานซึ่งยากจนทสี่ ุดมีอตั ราการเขา้ถงึ การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาตำ�่ ทส่ี ดุ ในประเทศ ชอ่ งวา่ งของการเขา้ เรยี นระดบั อดุ มศกึ ษาระหวา่ งนกั ศกึ ษาในเมือง กับนกั ศกึ ษาในชนบทได้เพ่ิมข้นึ จาก 15% ใน ค.ศ. 2001 เปน็ 17% ใน ค.ศ. 2005 รายจ่ายภาคครัวเรือนสะท้อนให้เห็นความไม่เท่าเทียมกันอย่างมากในด้านการเข้าถึงอุดมศึกษาครอบครวั ทรี่ ำ�่ รวยทสี่ ดุ ลงทนุ ในการศกึ ษาระดบั นเ้ี พยี ง 1% ของรายไดร้ วม แตก่ ลบั เปน็ ถงึ 8 เทา่ ของรายจา่ ยเพอื่ การศึกษาระดบั อดุ มศึกษาของครอบครวั ท่จี นทส่ี ดุ ซงึ่ สงู ถงึ 60% ของรายได้ทั้งหมด คณุ ภาพ และความเป็นธรรม (quality and equity) คณุ ภาพทางการศกึ ษาที่ต่างกันราวฟา้ กบั ดินมีผลต่อความเป็นธรรมเป็นอันมาก เพราะเป็นปัจจัยหนึ่งที่ท�ำให้เกิดความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงการศึกษาระดบั อุดมศึกษา ซ่งึ เพิ่มความไม่เท่าเทยี มกันทางรายได้ สำ� นักงานมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาใชม้ าตรฐานทางการศกึ ษาทัง้ หมด 14 ประการเป็นเกณฑ์วัดผลการด�ำเนินงานของโรงเรยี น และจัดอันดบั โรงเรียนเปน็ ส่ีระดับตามคณุ ภาพ มาตรฐานทงั้ 14 ประการนคี้ รอบคลมุ ไปถงึ ผูเ้ รียน ครู และผบู้ ริหาร แต่การประเมนิ โดยส�ำนักงานมาตรฐาน ฯ นั้นถูกมองว่าอ่อนไป และไม่แยกแยะ คือผลการประเมินส�ำหรับมาตรฐานส่วนใหญ่ไดค้ ่าเฉล่ียถงึ 3-4 หรอื ดี-ดีมาก แต่เปน็ ทีท่ ราบกันดวี ่ามโี รงเรยี นทง้ั ของรฐั บาลและเอกชนเพยี งไมก่ แี่ หง่ ในเขตเมืองที่มีคุณภาพการศึกษาสูงมากจนเป็นที่เลื่องลือ บางชั้นเรียนในภาคปกติของโรงเรียนเหล่าน้ีจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานสากล ซึ่งเรียกว่าหลักสูตรภาษาอังกฤษ นักเรียนท่ีเรียนหลักสูตรน้ีต้องเสียค่าธรรมเนียมเปน็ ค่าจา้ งบคุ ลากร และค่าใช้จา่ ยเพมิ่ เติม ฉะนน้ั จงึ คาดวา่ มีแตน่ ักเรียนท่มี าจากครอบครวั รำ่� รวยเท่านนั้ ท่เี รียนในหลกั สตู รนีไ้ ด้ ใน ค.ศ. 2007 มีโรงเรยี นทเ่ี ปิดสอนหลกั สูตรภาษาอังกฤษจำ� นวนทง้ั สนิ้ 273แหง่ ปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีท�ำให้โรงเรียนใน Vindoland มีคุณภาพการศึกษาต่างกัน ล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยที่สอดคล้องกับผลการวิจัยเม่ือไม่นานมานี้ของโปรแกรมการประเมินผู้เรียนนานาชาติ (Programme forInternational Student Assessment - PISA) ท้งั ผลการสอบระดบั ชาติของ Vindoland (Vindo Education Test - VET) และผลการวิจัยของ PISAช้ีให้เห็นถงึ คุณภาพการศึกษาทเ่ี หลื่อมล�้ำกันระหวา่ งภาค และกลมุ่ รายไดต้ ่าง ๆ โดยโรงเรยี นในเมืองหลวงมีคะแนนสอบเฉล่ียของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 สูงทีส่ ดุ ตามมาดว้ ยโรงเรียนในภาคกลาง ภาคใต้ ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท้ังนี้โรงเรียนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีมีคะแนนสอบต�่ำท่ีสุดของประเทศนัน้ มีจำ� นวนมากถงึ 43% ของโรงเรียนทง้ั หมดในประเทศ ความเหลอื่ มลำ้� กนั ของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นในเมอื งหลวง และจงั หวดั อน่ื ๆ มนี ยั สำ� คญัมาก หลกั ฐานจากการสอบ VET ใน ค.ศ. 2009 แสดงวา่ คะแนนสอบมสี หสมั พนั ธเ์ ชงิ บวกกบั ขนาดของโรงเรยี นเชอื่ กนั วา่ โรงเรยี นขนาดเลก็ ทนี่ กั เรยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตำ่� มกั มงี บประมาณสำ� หรบั นกั เรยี นตอ่ คนไม่เพยี งพอ มคี รหู นมุ่ สาวทขี่ าดประสบการณ์ ขาดแคลนวสั ดกุ ารเรยี น และไมใ่ ครไ่ ดร้ บั การสนบั สนนุ จากพอ่ -แม่ 74

ผปู้ กครองและชมุ ชน ซงึ่ แสดงวา่ โรงเรยี นขนาดเลก็ เหลา่ นม้ี ขี อ้ จำ� กดั ดา้ นทรพั ยากรมากกวา่ โรงเรยี นทมี่ ขี นาดใหญก่ วา่ โรงเรยี นขนาดเลก็ สว่ นใหญใ่ หก้ ารศกึ ษาแกเ่ ดก็ จากครอบครวั ยากจน และเดก็ ในทอ้ งทหี่ า่ งไกล หากสามารถลดความเหลอื่ มลำ้� ดา้ นคณุ ภาพการศกึ ษาได้ นกั เรยี นทง้ั จากโรงเรยี นเลก็ และโรงเรยี นใหญจ่ ะมโี อกาสเขา้ ถึงระดับอดุ มศกึ ษาอยา่ งเทา่ เทียมกนั มากข้นึ 75

กจิ กรรมกล่มุ จงทบทวนเนือ้ หาการวเิ คราะหส์ าขาย่อยของการศึกษา หัวขอ้ “การเข้าถงึ ประสิทธภิ าพภายใน และความเป็นธรรม” และตอบคำ� ถามดงั ต่อไปนี้ 1. ดา้ นความเป็นธรรม ก) หัวข้อดังกลา่ วใชต้ ัวชวี้ ัดใดประเมิน “ความเปน็ ธรรม” ในระดับประถมศึกษา มัธยมศกึ ษา และ อุดมศกึ ษา ข) จงระบุลักษณะ (เพศ ต�ำแหน่งท่ีตั้ง ฯลฯ) ของกลุ่มประชากรท่ีมีส่วนร่วมน้อยใน 1) ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย และ 2) ระดบั อุดมศกึ ษาของประเทศ Vindoland 2. ในการศึกษาต่อจากระดบั ประถมศึกษาของ Vindoland นัน้ ก) มผี ลสมั ฤทธ์สิ �ำคญั อย่างไรบ้าง ข) มปี ญั หาด้านการมสี ว่ นรว่ มอยา่ งไรบ้าง 3. การศึกษานอกโรงเรยี นในประเทศของท่านชว่ ยให้การศกึ ษาเพื่อปวงชนมคี ุณภาพไดอ้ ยา่ งไร และ มากเพียงไร จงอธบิ าย (150-200 ค�ำ) ว่า ก) ใครคือผู้ได้รบั ประโยชน์จากการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานนอกโรงเรยี น ข) การศึกษาพน้ื ฐานนอกโรงเรยี น และในโรงเรียนมสี ่วนเช่อื มตอ่ กนั ที่จุดใด ค) ปัจจบุ ันน้ีมกี ารถกเถียงเร่ืองคุณภาพการศกึ ษาว่าอยา่ งไร

บรรณานุกรมEisemon, T.O. 1997. Reducing Repetition: Issues and Strategies. Paris: UNESCO/IIEP.UNESCO. 2000. World Education Forum (Dakar, Senegal 26-28 April 2000) – Final Report.Paris: UNESCO.UNESCO/IIEP. 2006. Measuring Access to Education and Coverage of School-age Population.(Self-Instructional Materials: Module 1). Paris: UNESCO/IIEP.UNESCO/IIEP. 2006. Internal Efficiency of An Education System (IIEP Self-Instructional Materials:Module 2). Paris: UNESCO/IIEP. 77

บทท่ี 4การวเิ คราะหค์ ุณภาพการศึกษา และประสทิ ธผิ ลภายนอก(Analysing quality of education and external effectiveness) บทที่ 4 การเพ่มิ “ประสิทธภิ าพภายใน” (internal efficiency) ของระบบการศกึ ษา หรือของช่วงชนั้ หนึ่ง ๆ โดยใหน้ กั เรยี นเลอื่ นชนั้ สงู ขนึ้ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ คณุ ภาพการเรยี นการสอนจะดขี นึ้ ตามไปดว้ ย และกไ็ ม่ ไดห้ มายความวา่ นกั เรยี นไดเ้ รยี นรสู้ ง่ิ ทจ่ี ะมปี ระโยชนต์ อ่ ความเปน็ อยดู่ ขี องตนในอนาคต และตอ่ การพฒั นา ประเทศชาตโิ ดยรวม แตถ่ งึ กระนั้น เป็นสิ่งจำ� เปน็ ท่ี ESD ตอ้ งสนใจและวเิ คราะห์ทง้ั “คณุ ภาพการศกึ ษา” และ “ประสิทธผิ ลภายนอก” (external effectiveness) เปน็ พิเศษเมือ่ มีการทบทวนและปฏริ ปู นโยบาย การศึกษา บทท่ี 4 กล่าวถึงประเด็นท้ังสองน้ี ซึง่ เป็นการวิเคราะหป์ ระเด็นการพัฒนาการศึกษา ตอนท่ี 1 เสนอสาระส�ำคัญของประเด็นส�ำคัญท่ีเกี่ยวกับ “คุณภาพการศึกษา” และ”ประสิทธิผล ภายนอก” ซ่ึงเป็นจุดสนใจของ ESD รวมไปถึงตัวช้ีวัด และเคร่ืองมือท่ีใช้ในการน้ี นอกจากน้ัน บทน้ี อธิบายและอภปิ รายความหมายและการวดั “คณุ ภาพการศึกษา” และวธิ ที ี่จะบรรลเุ ปา้ หมาย ในทำ� นอง เดยี วกนั บทนจ้ี ะกลา่ วถงึ แนวคดิ เรอ่ื ง “ประสทิ ธผิ ลภายนอก” ของการศกึ ษา ซงึ่ เคยหมายถงึ ผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจที่ผู้ได้รับการศึกษาแต่ละคน และสังคมโดยรวมได้รับจากหลักสูตรการศึกษา เมื่อเทียบกับ ทรพั ยากรที่ลงทนุ ไป ตอนที่ 2 คอื แบบฝึกหดั ซ่ึงยังคงใชก้ รณขี อง Vindoland ตามบทที่ 2 และ 3 ผ้เู รยี นจะตอ้ งพจิ ารณา และสรปุ บทเรยี นจากวธิ ที ี่ ESD ในตวั อยา่ งนศี้ กึ ษาวเิ คราะห์ “คณุ ภาพ” และ “ประสทิ ธผิ ลภายนอก” ของ การศึกษาวตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ใหค้ วามรู้ และพฒั นาทักษะทจ่ี ำ� เป็นในการประเมนิ “คณุ ภาพ” และ “ประสิทธิผลภายนอก” ของระบบการศึกษา หรือระบบยอ่ ยของระบบการศกึ ษาเนื้อหา • การวเิ คราะห์คณุ ภาพ และประสทิ ธิผลภายนอกใน ESD • ตัวอยา่ งการวิเคราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษา (กรณี Vindoland) 78

ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวัง เม่ือเรียนจบบทท่ี 4 แล้ว ผเู้ รียนควรสามารถ • ระบุข้อมูลที่เกย่ี วขอ้ ง ตัวชี้วดั และเครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหค์ ณุ ภาพการศกึ ษาได้ • ระบขุ ้อมูลที่เกี่ยวขอ้ ง ตัวชวี้ ดั และเครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการวิเคราะห์ประสิทธผิ ลภายนอกของระบบการ ศึกษาได้ • ประเมนิ จุดแข็ง และขอบเขตของตวั ช้ีวดั และเครอ่ื งมอื การวิจยั ทีเ่ ลือกใชใ้ นการวเิ คราะหด์ ังกลา่ วได้กรอบเวลา • บทนใี้ ช้เวลาศึกษาประมาณสปั ดาห์ละ 8 ชั่วโมงคำ� ถามท้ายบท • ผู้เรยี นจะต้องตอบคำ� ถามท้ายบทซงึ่ เกยี่ วกับเน้อื หาในตอนที่ 1กิจกรรมกลุม่ • เม่อื จบบทนี้แล้ว ผ้เู รยี นในกล่มุ เดียวกนั จะต้องชว่ ยกันท�ำงานกลุ่มที่สัมพันธ์กับเนอื้ หาตอนที่ 2 กจิ กรรมกลุ่มนอ้ี อกแบบมาเพอื่ ชว่ ยให้ผ้เู รยี นประเมนิ และเรียนรู้วิธีทีต่ วั อย่าง ESD ของ Vindoland ศึกษาและหาวธิ ีจดั การปญั หาเรื่องคุณภาพ ประสทิ ธิผลภายนอกของการศึกษาเอกสารอา่ นเพิม่ เตมิ (ไม่บงั คับ) • UNESCO. 2005. Education for All: the Quality Imperative. Paris: UNESCO. www. efareport.unesco.org 79

ตอนที่ 1 การวิเคราะหค์ ณุ ภาพการศกึ ษา (Ayalysis of the quality of education)1.1 การวเิ คราะห์คณุ ภาพการศึกษา (Analysing the quality of education)1.1.1 บทนำ� การพฒั นา “ปรมิ าณ” และ “คุณภาพ” ของการจัดการศึกษาไดร้ ับความสนใจจากผู้มอี �ำนาจตดั สินใจดา้ นการศกึ ษาท่ัวโลกมากข้ึนเรอ่ื ย ๆ ดังจะเหน็ ได้จากเป้าหมายขอ้ 6 ในกรอบปฏิบตั ิการดาการ์ ท่ไี ด้รบั ความเหน็ ชอบจากทป่ี ระชมุ ระดับโลกเร่อื งการศกึ ษาเพือ่ ปวงชน เมอ่ื เดือนเมษายน ค.ศ. 2000 ท่รี ะบวุ ่าประเทศต่าง ๆ จะ “พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในทุกด้านและรบั รองความเปน็ เลิศทงั้ หมดเพ่อื ใหเ้ กิดผลลัพธท์ างการเรยี นร้ทู ี่ชัดเจน และสามารถวัดได้ โดยเฉพาะในเรอ่ื งการรู้หนงั สอื การค�ำนวณตัวเลขและทักษะท่จี ำ� เปน็ ต่อชวี ิต” (UNESCO, 2000:43) เปา้ หมายดงั กลา่ วนยี้ ำ�้ ความสำ� คญั ของการประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น และคณุ ภาพของผลผลติการประเมนิ ผลประสทิ ธผิ ลของระบบการศกึ ษาในอดตี จนถงึ ปลายทศวรรษ 1980 สนใจปจั จยั นำ� เขา้ ของการศึกษาเป็นสำ� คัญ เชน่ คณุ ภาพของวสั ดุ และทรพั ยากรมนษุ ยท์ ีม่ อี ยู่ ในการประชุมระดับโลกเรื่องการศึกษาเพื่อปวงชนคร้ังแรก ที่จอมเทียน ในประเทศไทย เม่อื ค.ศ. 1990 พอจะเหน็ การเปลี่ยนแปลงทางความคิดจติ ใจ (mentality) และความตระหนักในหมูผ่ ้มู บี ทบาทหลกั ซ่ึงชัดเจนย่งิ ขึน้ ในการประชุมท่ดี าการ์อีกสบิ ปีตอ่ มา เพราะฉะนน้ั การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษานบั แตน่ น้ั มาจงึ สนใจเรอื่ งคณุ ภาพของผลผลติ ทางการศึกษาเป็นพิเศษมากขึ้น ผลของการเล่าเรียนในโรงเรียน (ผลผลิต) เกี่ยวข้องกับปัจจัยส่ิงแวดล้อมของโรงเรียนหลายประการเก่ยี วข้องกับบริบทของการเรยี นรู้ เกี่ยวขอ้ งกับความมีพรอ้ มของทรัพยากรมนุษย์ และวัสดเุ พอื่ การเรียนการสอน (ปจั จยั นำ� เขา้ ) และเกยี่ วขอ้ งกบั กระบวนการเรยี นการสอน ในการวเิ คราะหค์ ณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นหรอื ของทง้ั ระบบ มกี ารเสนอความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมติ หิ ลกั ทงั้ สน่ี เี้ ปน็ แบบจำ� ลองบนพน้ื ฐานของทฤษฎรี ะบบ(System Theory) หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1ไดเ้ สนอตวั อยา่ งของกรอบเบ็ดเสร็จเพื่อความเขา้ ใจเรอ่ื งคณุ ภาพไปแลว้ รูปท่ี 1 ข้างล่างนี้ (จาก Scheerens, 2000) คือมิติหลักของ “โครงสร้างการศกึ ษา” (education fabric)ทค่ี วรคำ� นงึ ถึงในการวิเคราะหก์ ารศึกษาในเชงิ คณุ ภาพรปู ท่ี 1 แบบจำ� ลองระบบการทำ� หน้าท่ีของโรงเรียนแบบพื้นฐาน บรบิ ท ปจจัยนำเขา กระบวนการ ผลผลติ ระดบั โรงเรยี นทมี่ า: Scheerens (2000) ระดับหอ งเรยี น 80

ค�ำว่า “คุณภาพการศึกษา” น้นั มีนยิ ามเชิงปฏิบตั กิ ารมากมาย เอกสารของ UNICEF (2000) ทีเ่ กยี่ วกับการศึกษาเพ่อื ปวงชนระบวุ ่าคุณภาพการศกึ ษาประกอบด้วยคณุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ เชน่ • ผเู้ รยี นมีสุขภาพสมบูรณแ์ ขง็ แรง ไดร้ ับสารอาหารครบถว้ น มคี วามพรอ้ มท่ีจะมสี ่วนร่วมและเรียนรู้ โดยไดร้ ับการสนับสนนุ เตม็ ท่จี ากทัง้ ครอบครวั และชมุ ชน • สภาพแวดล้อมท่ีดตี ่อสุขภาพ ปลอดภัย ค�ำนึงถึงความแตกตา่ งทางเพศ และมีทรัพยากรและสง่ิ อำ� นวยความสะดวกเพียงพอ • หลักสตู ร และวสั ดุเพอ่ื พัฒนาทกั ษะพืน้ ฐานดา้ นการอ่านเขยี น การคดิ คำ� นวณ ทักษะชีวติ ตลอดจน ความร้สู ำ� คัญบางเรอ่ื งเช่น การป้องกนั HIV/AIDS ความเปน็ ธรรมทางเพศ สนั ตภิ าพ และโภชนาการ • กระบวนการทีช่ ่วยให้ครูท่ีได้รบั การอบรมแลว้ ใชว้ ธิ เี น้นผเู้ รียนเปน็ ศูนย์กลางในการสอน จัดการ ห้องเรียนไดเ้ ป็นอย่างดี และใชก้ ารประเมนิ อย่างชำ� นาญเพอ่ื เกือ้ กลู การเรยี นรูแ้ ละลดความเหลอ่ื มล�้ำ ต่าง ๆ • ผลลพั ธ์ซ่งึ เชื่อมโยงกบั เปา้ ประสงคข์ องประเทศดา้ นการศึกษา ซึ่งรวมถงึ ความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติ และ การมีส่วนร่วมเชิงบวกในสังคม บทนจี้ ะกลา่ วโดยละเอยี ดถงึ มติ หิ ลกั สามประการ ซง่ึ มกั ไดร้ บั การวเิ คราะหใ์ น ESD ของสาขาหรอื สาขายอ่ ยของการศึกษา1.1.2 ลักษณะของผลผลติ (Output characteristics)คำ� ถาม ESD มักใช้ผลการทดสอบสมั ฤทธผิ ลของนกั เรยี นตอบค�ำถามหลกั เรือ่ งคณุ ภาพของผลผลิต ดังตอ่ ไปน้ี นักเรียน/นักศกึ ษาไดร้ ับความรู้ และทักษะอะไรจากการศกึ ษาวิชาแกนกลางของหลกั สตู ร การทดสอบดา้ นนใี้ นระดบั ประถมศกึ ษามกั จะเนน้ การอา่ น การเขยี น และเลขคณติ และเนน้ คณติ ศาสตร์วิทยาศาสตร์ และภาษาในระดับมัธยมศึกษา แต่ไม่ใคร่มีการประเมินผลการบรรลุวัตถุประสงค์ส�ำคัญอื่น ๆเช่น การศกึ ษาทำ� ใหน้ กั เรียนมีทศั นคติ และพฤตกิ รรมใดบ้าง (เชน่ ความรู้สึกรับผิดชอบต่อนักเรยี นคน อน่ื ๆ การสมาคม ฯลฯ) สว่ นวตั ถุประสงค์การเรยี นร้อู ่ืน ๆ ทเ่ี อ่ยถึงในบรบิ ทของการศกึ ษาเพ่ือปวงชนนน้ั รวมถึง • การมคี วามสามารถที่จะเรียนรไู้ ด้โดยอิสระ (autonomy in learning) • การมคี วามสามารถทจ่ี ะดูแลตนเองเมอ่ื เจ็บปว่ ย และติดเชือ้ และการมคี วามรูท้ ี่ทำ� ใหม้ ีสุขนิสัยทมี่ ี ประสทิ ธิผลมากข้นึ • การมที กั ษะชีวิต ท้ังดา้ นจิตสงั คมและมนุษยสัมพนั ธ์ ท่ีใหค้ วามร้มู ากขึน้ ในเร่ือง การปอ้ งกนั ตนเอง จาก HIV/AIDS และการหลกี เลีย่ งการใช้ยาเสพติด เป็นตน้ 81

เปา้ หมายเหล่าน้สี ำ� คญั ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม แต่วัดได้ยากกวา่ วตั ถปุ ระสงค์ด้านผลสมั ฤทธ์ิ ทางการรคู้ ดิ มากตวั ชว้ี ัด ตัวชี้วดั ผลผลิตที่ใชก้ ันบอ่ ย คอื • อัตราการสอบผ่านการสอบมาตรฐานระดับประเทศ • คะแนนเฉล่ียของนักเรียนในการสอบมาตรฐานระดบั ประเทศวิชาต่าง ๆ ในระยะไม่ก่ปี ีที่ผา่ นมานี้ การศึกษาวิจยั สาขาการศึกษาหนั มาสนใจคะแนนผลสัมฤทธจิ์ ากการทดสอบมาตรฐานเพื่อการประเมินผล (ไม่เก่ียวข้องกับการสอบใด ๆ) กันมากขึ้น แต่ยังคงขาดการวัดทัศนคติ และพฤตกิ รรมทางสงั คมของผทู้ ีเ่ รียนจบจากโรงเรียน1.1.3 ลักษณะของปัจจยั น�ำเขา้ (Input characteristics) บรรดานักการศึกษาท่ีมีประสบการณ์พากันเห็นว่า ปัจจัยน�ำเข้าหลักที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์คุณภาพการศกึ ษา คือ ครู หนังสือเรียน และหลกั สตู ร ในบางกรณที โี่ รงเรียนมีสภาพไมด่ ี ESD จะพิจารณาสภาพอาคาร อุปกรณ์ และผลกระทบอันอาจมีต่อกระบวนการและผลผลิตทางการศึกษาด้วย ต่อไปน้ีคือค�ำถามหลกั บางข้อเกยี่ วกับปจั จัยน�ำเขา้ ทม่ี กั ใช้ในการศกึ ษาวจิ ยั1.1.3.1 ครู (Teachers)คำ� ถาม ครูระดบั ประถมศกึ ษา ฯลฯ มีประสบการณใ์ นการสอนโดยเฉล่ยี กี่ปี มคี รูจ�ำนวนเทา่ ไรท่ีได้รับการ ฝึกอบรมครบถ้วน มีครูจ�ำนวนเท่าไรที่ได้รับการฝึกอบรมระหว่างประจ�ำการ มีครูเพศหญิงเป็น อตั ราส่วนเท่าใด สภาพความเปน็ อยขู่ องครเู ปน็ อยา่ งไร ครมู ีแรงจูงใจและรสู้ ึกผกู มดั ในการทำ� หน้าทเ่ี พยี งไร อนาคตทางงานอาชีพของครูเป็นอย่างไร มกี ารใชป้ ระโยชนบ์ คุ ลากรการสอนเตม็ ท่หี รอื ไม่ ครขู าดสอนบ่อยเพียงไร ครูตอ้ งมีส่วนเกีย่ วขอ้ งในการบริหารจัดการโรงเรียนมากเพยี งไรความสัมพันธ์ระหว่างครูและชุมชน เป็นอย่างไรตัวชวี้ ัด • จ�ำนวนครูจ�ำแนกตามคณุ สมบตั ิ (รอ้ ยละของครูทีม่ ีคุณสมบตั คิ รบถ้วน) และวุฒกิ ารศกึ ษา • เพศ และอายุของครู • สถานภาพ และอายุงานของครู • อตั ราสว่ นครตู ่อนกั เรยี น • ตัวช้วี ัดการใชป้ ระโยชนค์ รู เชน่ การกระจายครตู ามภาระงานสอน จำ� นวนรอ้ ยละของครูทส่ี อนหลาย ระดับ และ/หรือ ห้องเรียนสองผลัด • อตั ราการขาดงานของครู 82

1.1.3.2 หลกั สตู ร (Curriculum)คำ� ถาม วัตถุประสงค์ของหลักสูตรสะท้อนการเปลี่ยนแปลงส�ำคัญของนโยบายทางเศรษฐกิจ สังคม และ วฒั นธรรมของประเทศในชว่ งยี่สิบปที ผ่ี ่านมามากเพียงไร เนือ้ หาและการจัด (organization) หลกั สตู รสอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ และสภาพการจดั การเรียน รจู้ รงิ หรอื ไม่ หลักสูตรเปิดทางไว้ส�ำหรับการปรับเปล่ียนให้เหมาะสมกับค่านิยม และสิทธิของชนกลุ่มน้อยมาก น้อยเพยี งไร หลกั สตู รนมี้ กี ารพฒั นา เผยแพร่ นำ� ไปใช้ และประเมนิ ผลอยา่ งไร ครผู สู้ อนมบี ทบาทในกระบวนการ ดงั กลา่ วอย่างไรตัวชี้วดั (Indicators) • วัตถปุ ระสงค์ และจดุ ประสงค์ของหลกั สูตร • วธิ กี ารเรยี นการสอนทแ่ี นะน�ำให้ใช้ • จำ� นวนชว่ั โมงสอนที่กำ� หนดไวใ้ นหลักสูตรสำ� หรับวชิ าแกนกลาง1.1.3.3 หนงั สือเรียนและอุปกรณ์การสอน (Textbooks and instructional materials)ค�ำถาม เน้ือหาในหนังสือเรยี นสอดคล้องกบั หลักสตู รหรือไม่ มนี ักเรียนจำ� นวนเท่าไรท่ีมีหนงั สือเรียน มคี รจู �ำนวนเท่าไรทมี่ คี ูม่ ือครู และวสั ดุการสอนอ่นื ๆ มีการพฒั นาและทดสอบหนังสือเรยี น และวสั ดกุ ารสอนอืน่ ๆ อยา่ งไร ครูมีบทบาทในการนอ้ี ย่างไร มีการจดั การผลิตและการแจกจ่ายหนังสือเรียนอยา่ งไรตวั ช้วี ัด (Indicators) • จำ� นวนหนงั สอื เรยี นตอ่ นกั เรียนหนงึ่ คน และจำ� นวนจรงิ ทมี่ ใี หน้ กั เรียนแต่ละคน • จำ� นวนคู่มือครตู ่อครูหนง่ึ คน หรอื ตอ่ โรงเรยี น และจำ� นวนจริงท่ีมใี หค้ รู • ความล่าช้าในการแจกจา่ ยหนงั สอื เรียน1.1.3.4 อาคาร สิง่ อำ� นวยความสะดวก และอุปกรณ์ตา่ ง ๆของโรงเรียน (School buildings, facilities andequipment)คำ� ถาม อาคารในโรงเรียน และโครงสรา้ งพ้ืนฐานตา่ ง ๆ (หอ้ งส้วม นำ้� ประปา ไฟฟ้า) มีสภาพเป็นอย่างไร มีห้องเรยี นจ�ำนวนเทา่ ไรท่มี วี สั ดอุ ุปกรณ์ตามบรรทดั ฐาน (กระดานด�ำ โตะ๊ เก้าอ้ี ฯลฯ) 83

มโี รงเรียนจ�ำนวนเท่าไรท่มี ีห้องสมุดโรงเรยี น และ/หรือ อุปกรณ์การเรยี นอื่น ๆ (เช่น คอมพิวเตอร์) ไวใ้ ห้นักเรียนใช้ตวั ชว้ี ดั (Indicators) ตวั ช้วี ดั ที่ใช้ประเมินสภาพส่ิงอ�ำนวยความสะดวกและอปุ กรณก์ ันบอ่ ย ๆ คอื • สภาพอาคาร (เช่น “ดี” “ตอ้ งปรับปรงุ ” “ตอ้ งสร้างใหม”่ ) • พนื้ ทเี่ ฉล่ียต่อโรงเรียน และตอ่ นกั เรียนหนง่ึ คน • จ�ำนวนร้อยละของโรงเรียนท่ีมีไฟฟา้ นำ�้ ดืม่ หอ้ งส้วม ฯลฯ • จำ� นวนรอ้ ยละของโรงเรยี นทม่ี หี อ้ งสมดุ มคี มู่ อื ครตู ามคำ� แนะนำ� อยา่ งนอ้ ยหนง่ึ ชดุ และวสั ดกุ ารสอนอนื่ ๆ • อัตราการใชป้ ระโยชน์ห้องเรียน ในด้านเวลา และพ้ืนท่ี1.1.4 ลกั ษณะกระบวนการการเรยี นการสอน (Characteristics of the teaching-learningprocess) กระบวนการการเรียนการสอนถือเป็นหัวใจของคุณภาพการศึกษา ซึ่งนักวิเคราะห์นโยบายและนักวางแผนเคยเรยี กว่า “กลอ่ งด�ำ” เพราะไม่อาจวัดได้ “แท้จรงิ ” เลยว่าเกิดอะไรขึ้นในกระบวนการนัน้ การท่ีจะเข้าใจกระบวนการทีซ่ ับซอ้ นมากนีใ้ ห้ได้ตอ้ งใชก้ ารศึกษาวจิ ัยพเิ ศษ ทีม่ รี ะเบยี บวธิ ีค่อนขา้ งซบั ซอ้ นและใช้เวลานานเกนิ กว่าระยะเวลาของ ESD ดังนนั้ ESD สว่ นใหญ่จึงใชผ้ ลการวจิ ยั กระบวนการเรียนการสอนที่มผี ู้ทำ� ไวแ้ ลว้ และไมศ่ กึ ษาหวั ขอ้ นถ้ี งึ แมจ้ ะมที นุ มากพอทจ่ี ะจา้ งนกั วจิ ยั ผมู้ ปี ระสบการณต์ ามตอ้ งการได้ แตใ่ นเมอื่ประเทศท่ีกำ� ลงั พัฒนามักจะไมศ่ กึ ษาวิจยั กระบวนการเรียนการสอน ESD จึงเป็นโอกาสใหไ้ ด้หาข้อมูลความรูใ้ นด้านน้โี ดยการสงั เกตการณ์ในห้องเรยี นจำ� นวนไม่มากนัก ซ่ึงไม่จำ� เปน็ ต้องมีลกั ษณะทีถ่ ือเป็นตัวแทนของโรงเรียนและห้องเรยี นทัง้ ประเทศได้ (non-representative) ในปจั จบุ ันมหี ลักฐานมากมายจากการส�ำรวจนานาชาติ และจากการศกึ ษาวจิ ัยปจั จัยของกระบวนการเรียนการสอนซึ่งส�ำคัญต่อการเรียนรู้จริงในโรงเรียน การน�ำเสนอผลลัพธ์เชิงประจักษ์เช่นน้ีในกรอบที่มีโครงสรา้ ง เชน่ ของ Scheerens ดงั ทกี่ ลา่ วไปแลว้ จะมปี ระโยชนม์ ากสำ� หรบั นกั วางแผนและนกั วเิ คราะหก์ ารศกึ ษาในการเลอื กประเด็นส�ำคญั ทีจ่ ะศกึ ษา และเลือกตัวชี้วดั ทจี่ ะใช้กำ� กบั ตดิ ตามสม�ำ่ เสมอ การวิเคราะห์กระบวนการศึกษาเชิงคุณภาพน้ันต้องสนใจเร่ืองปัจจัยท่ีพิสูจน์แล้วว่ามีผลกระทบใหญ่หลวงตอ่ ผลสัมฤทธ์ขิ องนักเรยี น เชน่ • จ�ำนวนเวลาทีค่ รูใช้จริงในการสอนหวั ข้อหนึง่ ๆ • ปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งคร-ู นกั เรยี น • จ�ำนวนเวลาทนี่ ักเรยี นใชท้ ำ� การบ้าน และครูใช้ตรวจการบ้านของนกั เรียน • การประเมินนักเรียนต่อเน่ืองอย่างเพียงพอ • การนิเทศครแู ละโรงเรียน และการสนับสนนุ อืน่ ๆ 84

คำ� ถาม ตอ่ ไปน้ีคอื คำ� ถามเกยี่ วกับปัจจยั ดงั กล่าวทีใ่ ช้กันทัว่ ไป ครูสอนอยา่ งไรในห้องเรยี น (เช่น ใช้นักเรียนเปน็ ศูนย์กลางมากเพยี งไร ใหค้ วามส�ำคญั กบั การเรียน เป็นกลุ่มย่อยเพยี งไร) ครูใหก้ ารบ้าน ตรวจการบ้าน และใหข้ ้อมูลป้อนกลับแก่นกั เรยี นอย่างไร ครูได้รับการฝึกอบรมและความสนบั สนนุ ในดา้ นการประเมนิ นักเรียนเพียงพอหรอื ไม่ มกี ารจดั การนเิ ทศครแู ละโรงเรยี นทงั้ ดา้ นวชิ าชพี และการบรหิ ารอยา่ งไร ครไู ดร้ บั ความสนบั สนนุ จากผู้ ตรวจราชการแบบใดบา้ งและมากเพยี งไร มใี ครอนื่ อกี ทใี่ หค้ วามสนบั สนนุ ดา้ นวธิ กี ารสอนแกค่ รูตัวช้วี ัด (Indicators) การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับตัวชี้วัดดังต่อไปน้ีต้องใช้เวลาและทรัพยากรมากมายแต่มีประโยชน์มาก (ยังมีตัวชีว้ ดั อน่ื ๆ อกี ) • จ�ำนวนช่วั โมงทีค่ รแู ละนักเรยี นพบปะกัน (contact hours) ในการเรียนการสอนแต่ละสัปดาห์ แตล่ ะปีการศกึ ษา และแต่ละวิชา • การขาดเรียนของนักเรยี น การขาดสอนของครู • ความถ่ขี องการใหแ้ ละตรวจการบา้ น • การมีการอบรมครู และคู่มอื ด้านการประเมนิ นักเรียน • ความถ่ขี องการตรวจ/นิเทศต่อครหู นึ่งคน • ความถี่ของการพบปะระหวา่ งครูกบั ท่ปี รกึ ษาอื่น ๆ • การมีศูนย์ขอ้ มลู ส�ำหรับครู และท่ตี งั้ ศูนยข์ อ้ มลู นนั้ • วิธกี ารบรหิ ารงานของครูใหญ่/ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี น 85

1.1.5 ความมพี ร้อมของข้อมลู และเครื่องมอื เกบ็ ข้อมลู (Availability of data and datacollection instruments) ตวั ชวี้ ดั “ปัจจัยน�ำเขา้ ” มกั เปน็ ข้อเท็จจริงทงั้ สน้ิ และครอบคลมุ เฉพาะแง่มุมท่ีวัดไดง้ า่ ยเท่านนั้ เช่น 1. การมหี รอื ไมม่ หี นงั สอื เรยี น (แตไ่ มส่ นใจวา่ เนอื้ หาตรงกบั ความตอ้ งการ หรอื ความสนใจของนกั เรยี น หรอื ไม่ และคณุ ภาพของการนำ� เสนอ ภาพประกอบ ฯลฯ เป็นอย่างไร) 2. ครมู หี รอื ไมม่ ปี รญิ ญาทางครศุ าสตร์ (แตไ่ มร่ ะบหุ ลกั สตู ร และคณุ ภาพของการศกึ ษาอบรมทไ่ี ดร้ บั ) 3. จ�ำนวนนักเรียนต่อชั้นเรียน (แต่ไม่ค�ำนึงถึงวิธีการสอน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน หรือ ปฏิสัมพนั ธ์ในหมนู่ กั เรียน ฯลฯ) ตวั ช้ีวัดกระบวนการและผลผลติ เปน็ การระบแุ บบ “ตัวแทน” (proxy indication) ที่ดกี วา่ ส�ำหรับด้านคุณภาพของการจัดการศึกษา ส่วนการประเมินผลสัมฤทธนิ์ ้นั ESD สามารถใช้อัตราการสอบได้ (pass rate)และคะแนนสอบ แตค่ ะแนนสอบไมบ่ ง่ บอกระดบั การเรยี นรทู้ แี่ ทจ้ รงิ ของนกั รยี น ดงั นน้ั จงึ ควรตอ้ งใชป้ ระกอบกับผลการทดสอบสมั ฤทธิผลซ่งึ เปน็ กลาง เพราะวา่ ไมม่ ีเงือ่ นไขพเิ ศษเช่นการสอบทม่ี ีเดมิ พันสงู การทดสอบผลสัมฤทธ์ิท่ีออกแบบมาถูกต้องใช้ประเมินได้ทั้งระดับสัมฤทธิผลเฉล่ียของนักเรียนในวิชาตา่ ง ๆ และการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร (เชน่ ทกั ษะของนกั เรยี นดา้ นการใชเ้ หตผุ ล และการวเิ คราะห)์ผลการประเมินด้วยการทดสอบผลสมั ฤทธ์นิ ้เี ชอื่ ม่นั ได้พอสมควร นอกจากน้ี ผลการประเมินดังกล่าวยงั ระบุกลุ่มนกั เรียนที่มีสมั ฤทธผิ ลต�่ำกวา่ หรอื สูงกวา่ เฉลยี่ มากได้ด้วย การวเิ คราะหอ์ กี ดา้ นหนง่ึ ทมี่ ปี ระโยชนค์ อื การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคะแนนสอบหรอื คะแนนทดสอบ กับปัจจยั ตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั พืน้ ภมู ิของนักเรียน เช่น เพศ (gender) ท่อี ยู่ (ในชนบทหรือในเมอื ง)สถานการณ์ทางสังคม-เศรษฐกิจของพ่อ-แม่ผู้ปกครอง หรือเกี่ยวกับการจัดหาการศึกษา เช่น คุณวุฒิและคุณสมบตั ิของครู วธิ ปี ฏิบัติดา้ นการเรียนการสอน สภาพอาคารเรียนและห้องเรยี น ฯลฯ ในกรณีท่ีข้อมูลเชิงปริมาณ ไม่ช่วยให้ความเข้าใจลึกซ้ึงได้มากพอถึงการปฏิบัติที่แท้จริงด้านการสอนควรใชว้ ธิ กี ารวเิ คราะหเ์ ชงิ คุณภาพเขา้ ชว่ ย เชน่ การสงั เกตการณใ์ นหอ้ งเรยี น การสมั ภาษณพ์ อ่ -แมผ่ ปู้ กครองนักเรียน และครู และการวเิ คราะหร์ ายงานของผู้ตรวจราชการ การศึกษาวิจัยหรือการส�ำรวจ (กลุ่มตัวอย่างคือโรงเรียนและนักเรียน) มักใช้วิธีสถิติวิเคราะห์พหุนาม(multivariate statistical analysis) ประเมินผลผลกระทบของปัจจัยต่าง ๆ ต่อสัมฤทธิผลของนักเรียนบางคร้ัง ESD รวมการวิเคราะห์ หรือประเมินนัยด้านต้นทุน และประสิทธิผลของการปรับปรุงคุณภาพโดยการรวมปจั จยั แบบต่าง ๆ ด้วย การประเมินหรอื วิเคราะหเ์ ช่นนชี้ ว่ ยให้สามารถเลือกนโยบายจากตัวเลอื กเชิงยทุ ธศาสตรต์ ่าง ๆ ไดง้ า่ ยขึน้ ไมว่ า่ ในกรณใี ด การแปลความหมายของผลการศกึ ษาเรอ่ื งคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งสขุ มุ รอบคอบ จะให้ข้อมูลท่ีเป็นข้อเท็จจริงมากกว่าความเห็นของนักการศึกษา ข้อเท็จจริงดังกล่าวย่อมเป็นพ้ืนฐานที่เป็นปรนัย(objective) มากขนึ้ ส�ำหรบั การประเมนิ ค่าผลกระทบของปัจจัยน�ำเข้าต่าง ๆ เปน็ ทน่ี า่ สังเกตว่า ประเทศต่างๆ มขี อ้ สรปุ เรอื่ งมาตรการเรง่ ดว่ นเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพแตกตา่ งกนั ไป ขอ้ สรปุ ของประเทศใดประเทศหนงึ่ ไมอ่ าจนำ� ไปใช้กบั ประเทศอื่น ๆ ได้ 86

1.1.6 การวเิ คราะหค์ ณุ ภาพในมุมมองของผู้มบี ทบาท (Analysing quality from an actor’sperspective) ผู้มีบทบาทและกลุ่มต่าง ๆ ส่วนใหญ่ในภาคการศึกษาสนใจการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในบางด้านท่ีได้กล่าวมาแล้ว แต่ละคนแต่ละกลุ่มมีข้อกังวลต่างกัน และมีความเห็นต่างกันเร่ืองมาตรการท่ีจะปรับปรุงคณุ ภาพการศึกษาได้จรงิ ครู (รวมท้ังสหภาพครู) อาจมีความเห็นว่า ESD ควรสนใจสภาพการท�ำงานและความเป็นอยู่ของครูความจ�ำเป็นท่ีครูต้องได้รับการฝึกอบรมและความสนับสนุนก่อนเรื่องอ่ืนใด เน่ืองจากว่าหากไม่มีข้อมูลเหล่าน้ี ย่อมไม่อาจคาดหวังใหม้ ีกระบวนการสอนท่ีดขี ้ึน และให้นกั เรียนเรียนร้ไู ดม้ ากขน้ึ ข้อกังวลอีกตัวอย่างหนึ่งคือการสอนแบบใหม่ ซ่ึงอาจเป็นสัญญาณว่าการสอนจะ “เน้นนักเรียนเป็นศูนยก์ ลาง” มากขึ้น ให้นกั เรียนแตล่ ะคนเป็นฝ่ายริเริม่ และมีสว่ นรว่ มมากขน้ึ และท�ำให้ผู้เรียนมแี รงจงู ใจมากขึ้นและปรับปรุงผลสัมฤทธิของตนเองได้ แต่พ่อ-แม่ผู้ปกครองจ�ำนวนมาก (อาจรวมถึงครูจ�ำนวนมากด้วย)และองค์กรทางศาสนา อาจเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงเช่นน้ีจะไม่ท�ำให้คุณภาพการศึกษาดีขึ้น แต่จะกลับแย่ลง เชน่ อาจเหน็ ว่าการใช้แนวทางการสอนท่ี “เฉพาะตัว” (individualistic) เชน่ น้ีในบางบรบิ ท จะเป็นภยัตอ่ บรรทดั ฐานและคา่ นยิ มรว่ มทใ่ี ชจ้ ัดระเบยี บทางสังคมและวฒั นธรรมได้ 87

ค�ำถามทา้ ยบทจงนยิ าม “คุณภาพการศึกษา” 88

1.2 การวเิ คราะห์ประสทิ ธิผลภายนอก (Analysing external effectiveness)1.2.1 บทนำ� ในทางทฤษฎี ควรประเมนิ ประสทิ ธผิ ลภายนอกของระบบการศกึ ษาจากผลของการศกึ ษาตอ่ การพฒั นาสงั คมและเศรษฐกจิ ของประเทศ แตใ่ นทางปฏบิ ตั นิ น้ั เปน็ การยากทจ่ี ะประมาณ (estimate) ผลของการศกึ ษาตอ่ การเตบิ โตทางเศรษฐกิจให้แม่นย�ำได้ ยงิ่ ไปกว่านั้น ESD ไมค่ วรจ�ำกดั อยูเ่ พียงการประเมิน “ประสิทธผิ ล และประสทิ ธิภาพ” ของการศึกษาจากมมุ มองดา้ นเศรษฐกจิ โดยสนิ้ เชงิ แตค่ วรคำ� นงึ ถงึ ผลตอ่ ความสขุ สบายทางสงั คม (social well-being) ของประชากร และสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของประเทศ ฯลฯ ด้วย เพราะฉะนัน้ ESD ของการศึกษาท้ังสาขา หรอื เฉพาะสาขายอ่ ยจงึ มกั ศึกษาประสทิ ธิผลภายนอกจากความพอเหมาะพอดีขององค์ประกอบการศึกษา กับความตอ้ งการของประเทศด้านทรัพยากรมนษุ ย์เพ่อื การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม โดยใหค้ วามสำ� คญั เปน็ พเิ ศษกบั ความเชอื่ มโยงระหวา่ งการศกึ ษาและการฝกึ อบรมกบั ตลาดแรงงาน ตอ่ ไปนีค้ ือค�ำถามท่ีถามอยเู่ สมอคำ� ถาม จำ� นวน และคณุ สมบตั ขิ องผเู้ รยี นจบมธั ยมศกึ ษา/บณั ฑติ ตรงกบั ความตอ้ งการทรพั ยากรมนษุ ยข์ อง ธุรกจิ ท่ีใช้เทคโนโลยสี มัยใหม่ (modern sector) เพยี งไร และมแี นวโน้มอยา่ งไรในอนาคตอนั ใกลน้ ้ี การศกึ ษาและฝกึ อบรมไดเ้ ตรยี มผเู้ รยี นจบมธั ยมศกึ ษา/บณั ฑติ ใหพ้ รอ้ มสำ� หรบั ตลาดแรงงานทตี่ อ้ ง ใช้เทคโนโลยสี มยั ใหม่หรอื ไม่ การศึกษาและฝึกอบรมตอบสนองความต้องการทรัพยากรมนุษย์ของสาขาเกษตรกรรม และ เศรษฐกจิ นอกระบบเพียงไร ในสาขาเหลา่ นตี้ ้องใช้ความสามารถ ทกั ษะ และความร้ใู ดบ้าง มีการเตรียมคนรุ่นใหม่ให้รู้จักประกอบธรุ กิจสว่ นตัวอย่างไร ระบบการศกึ ษาและฝกึ อบรมในปัจจบุ นั มีส่วนช่วยปรับปรุงการวางแผนครอบครัว สงิ่ แวดล้อมและ สขุ ภาพ โภชนาการและอนามัยของประชากรอยา่ งไรตวั ช้วี ัด (Indicators) ตวั ช้วี ดั ตอ่ ไปนมี้ ีประโยชน์ต่อการวเิ คราะหค์ ำ� ถามแรกขา้ งบนนี้ • โครงสร้างการจา้ งงานจ�ำแนกตามภาคเศรษฐกิจ, “อาชพี ” และ “สถานภาพ” การจ้างงาน • คณุ วุฒิ และการฝกึ อบรมของประชากรทที่ �ำงาน จำ� แนกตามภาคธรุ กิจ สถานภาพการจา้ งงาน และ กล่มุ อาชพี แนวโนม้ ในระยะ 10-15 ปีที่ผา่ นมา • ความสอดคลอ้ งระหว่างระดับและประเภทการศกึ ษา (สามัญ – อาชีวศึกษา) รวมทงั้ ความชำ� นาญ เฉพาะดา้ นของผ้เู รยี นจบมัธยมศกึ ษาและบัณฑติ ตามการศกึ ษาและฝกึ อบรม กับความรแู้ ละทกั ษะท่ี ธุรกจิ สมยั ใหม่ตอ้ งการ 89

ตัวชว้ี ดั สำ� หรบั คำ� ถามที่สองรวมถงึ • อัตราและระยะเวลาการว่างงาน จ�ำแนกตามระดับ ประเภท และความชำ� นาญเฉพาะด้านตามการ ศึกษาอบรมของผ้วู า่ งงาน รวมทัง้ พัฒนาการตลอดระยะเวลา 5-10 ปีที่ผา่ นมา สว่ นตัวชวี้ ดั เก่ียวกับความตอ้ งการทรัพยากรมนษุ ยข์ องภาคเกษตรกรรม และธุรกิจนอกระบบ คือ • ขนาดของภาคเกษตรกรรม และธุรกจิ นอกระบบในปัจจุบัน และตามการประมาณการส�ำหรับอนาคต ทั้งในเชิงสมั บูรณ์ (absolute) และสมั พัทธ์ (relative) • ระดบั และประเภท รวมท้งั ความช�ำนาญพเิ ศษตามการศึกษาและฝึกอบรมของผ้ทู ำ� งานนอกระบบ • คณุ สมบัตกิ ารศึกษาและฝกึ อบรมของลูกจ้างตามความคาดหวังของผูจ้ า้ งงานในธรุ กิจนอกระบบ การวเิ คราะหว์ วิ ฒั นาการในระยะหลงั นข้ี องการจา้ งงานของธรุ กจิ แตล่ ะภาค (ในระบบ นอกระบบ) รวมทั้งสถานภาพการจ้างงาน และประเภทอาชีพจะช่วยประมาณความต้องการในอนาคตของทรัพยากรมนุษย์เพือ่ การประกอบอาชพี อิสระได้ ท้ายท่ีสุด นักนโยบายและ ESD เอาใจใส่เร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษากับความยากจน และความสมั พันธ์ระหว่างการศกึ ษากบั พัฒนาการของประเทศในดา้ นความเปน็ อยูด่ ี (ทางสังคม สภาพแวดลอ้ มฯลฯ) มากข้นึ กว่าเดิม ตวั ช้วี ัดดังตอ่ ไปนชี้ ว่ ยประเมนิ ความสมั พันธด์ งั กลา่ วได้ • ความสอดคลอ้ งของเนือ้ หาหลักสตู รที่สอนในระดับต่าง ๆ และในสาขายอ่ ยต่าง ๆ กบั สถานการณ์ และความเพียงพอกับความตอ้ งการในด้านทีเ่ ก่ียวกบั สภาพท่ีแทจ้ ริงทางสงั คม อนามัย สิง่ แวดล้อม ฯลฯ ของประเทศ • ผลกระทบทางสถิตขิ องระดับการศกึ ษาในระบบ(โดยเฉพาะของผหู้ ญงิ ) ต่ออัตราเจรญิ พันธุ์ โภชนาการ สุขภาพ ฯลฯ • ผลกระทบทางสถติ ิของระดบั การศึกษาในระบบของกลุ่มประชากรท่ศี กึ ษาวิจัย (ในประเทศหนึง่ ๆ ในจังหวดั ตา่ ง ๆ ฯลฯ) ต่อความยากจนในแงม่ ุมตา่ ง ๆ เชน่ รายไดห้ รอื รายจ่าย(ประจ�ำวัน)ของครัว เรอื น การรบั ร้สู ่วนบุคคลเร่อื งความยากจนและความเปน็ อยู่ดี1.2.2. ความมีพรอ้ มของข้อมลู และเคร่อื งมือเกบ็ ข้อมูล (Availability of data and datacollection instruments) เมื่อเร่ิมมีการวางแผนทรัพยากรมนุษย์น้ัน คิดกันว่าจะสามารถพยากรณ์จ�ำนวนบัณฑิตในแต่ละสาขาทจี่ ำ� เป็นตอ่ การเตบิ โตทางเศรษฐกิจได้คอ่ นข้างแมน่ ยำ� แตผ่ ลการเปรยี บเทียบตวั เลขทพี่ ยากรณ์ไว้ กบั ความเปน็ จรงิ ทำ� ใหน้ กั วางแผนต้องพยากรณ์ดว้ ยความสขุ มุ มากขนึ้ ปจั จบุ นั นี้ ESD ใชก้ ารศกึ ษาทง่ี า่ ยลงเพอ่ื วเิ คราะหว์ า่ การศกึ ษาและการฝกึ อบรมตรงกบั การใชง้ านหรอืไม่ โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื วิจยั ตอ่ ไปนีม้ ากทสี่ ุด • การวเิ คราะหก์ ารจา้ งงาน โครงสรา้ งอาชพี และววิ ฒั นาการของโครงสรา้ งนั้นตามความเปล่ียนแปลง ทางเทคโนโลยี • การศกึ ษาเชิงสถติ เิ รอื่ งการวา่ งงานของบัณฑิต • การสำ� รวจติดตามผลผู้ส�ำเรจ็ มธั ยมศกึ ษา และบณั ฑิต • การส�ำรวจผ้จู า้ งงาน การประเมินผลข้อดขี อ้ เสยี ของผลผลิตจากระบบการศึกษา การฝึกอบรมเพ่ิม 90

เตมิ ทีผ่ ู้จา้ งงานตอ้ งจดั ให้ ฯลฯ • การศึกษาความเช่อื มโยงระหว่างการศกึ ษา กบั ผลติ ภาพแรงงานในอาชพี ต่าง ๆ การศึกษาความเปลี่ยนแปลงของการผลิตและเทคโนโลยีในภาคต่าง ๆ ทั้งในระยะสั้นและระยะปานกลาง และผลทมี่ ตี อ่ โครงสรา้ งงานและความตอ้ งการทกั ษะเปน็ สงิ่ ทสี่ ำ� คญั เชน่ กนั การศกึ ษาเชน่ นอ้ี าจกระตนุ้ใหผ้ ้มู อี �ำนาจตดั สินใจปรับหลกั สตู รการศึกษาอบรมทงั้ สายสามญั และสายอาชวี ศึกษา นอกจากนแี้ ลว้ ยงั จำ� เปน็ ตอ้ งพยากรณเ์ ปรยี บเทยี บขนาดของธรุ กจิ สมยั ใหม่ ธรุ กจิ ดง้ั เดมิ และธรุ กจิ นอกระบบในช่วง 15-20 ปีขา้ งหน้า โดยการคาดคะเนเพื่อสรา้ งแนวโน้มการจ้างงานดว้ ยขอ้ มูลจากการประมาณจำ� นวนประชากร อตั ราการเตบิ โตของการผลติ ในแตล่ ะภาค และการเปลยี่ นแปลงผลติ ภาพทพี่ อจะเปน็ จรงิ ได้ โอกาสการจา้ งงานสว่ นใหญใ่ นประเทศทพี่ ฒั นานอ้ ยทสี่ ดุ จะยงั คงอยใู่ นภาคเกษตรกรรมและธรุ กจิ นอกระบบ เหน็ ได้ชัดว่าผลติ ภาพของชาวไร่ชาวนาและคนงานในธรุ กิจนอกระบบสัมพันธแ์ น่นแฟ้นกบั ระดบั การรู้หนงั สอื และทกั ษะการคำ� นวณ ดงั นน้ั ผมู้ อี ำ� นาจตดั สนิ ใจอาจจดั ใหก้ ารศกึ ษาพนื้ ฐานเพอ่ื ปวงชนมลี ำ� ดบั ความสำ� คญั สงู โดยชดั เจนขนึ้ การศกึ ษาประสทิ ธผิ ลภายนอกของการศกึ ษาพน้ื ฐานยงั อาจกระตนุ้ ใหต้ อ้ งทบทวนการบรกิ ารสนบั สนนุ และการฝึกอบรมดา้ นเกษตรกรรมดว้ ย การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาเปน็ โอกาสอนั ดที จี่ ะประเมนิ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการฝกึ อบรมกบัการจา้ งงาน เพ่อื หาจดุ อ่อน และเพื่อเพิ่มความตระหนกั ในความเชอ่ื มโยงระหวา่ งผลติ ภาพ การจา้ งงาน และความยากจน กบั บทบาทของการศกึ ษาในการตอ่ สูก้ ับความยากจน1.2.3 การวเิ คราะห์ “ประสิทธผิ ลภายนอก” จากมุมมองของผ้มู ีบทบาท (Analysing “externaleffectiveness” from an actor’s perspective) การวิเคราะห์ “ประสิทธิผลภายนอก” ท่ีเป็นส่วนหนึ่งของ ESD มักให้ความส�ำคัญแก่มุมมองของผู้จ้างงานมาก แต่กลับไม่ใคร่ให้ผู้เกี่ยวข้องส่วนใหญ่ เช่น ผู้ที่ส�ำเร็จมัธยมศึกษา และบัณฑิต ได้ประเมินผล“ประสทิ ธผิ ลภายนอก” ของหลักสตู รการศกึ ษา และสถาบนั การฝกึ อบรมบา้ ง แม้บางคร้ังจะมี “การศึกษาติดตาม” เพื่อประเมินเส้นทางงานอาชีพของบัณฑิตตามความเป็นจริงและประเมินความคิดเห็นของบัณฑิตเหล่านั้นถึงความพอเหมาะพอดีระหว่างการศึกษาอบรมที่ได้รับมา กับคณุ สมบตั ิตามก�ำหนดของงานทท่ี ำ� อยู่ แตอ่ ีกหลายประเด็นที่ชอบธรรมกลับไม่ไดร้ บั ความสนใจ เช่น การศกึ ษามีส่วนช่วยพัฒนาความมัน่ ใจในตนเอง การเข้าสงั คม และ “ข้อไดเ้ ปรยี บ” (asset) สำ� คญั อื่น ๆ ทีจ่ ะมปี ระโยชน์ตอ่ การท�ำงานมากเพยี งไร บรรดาบณั ฑติ ใหมเ่ หน็ วา่ การศกึ ษาและการฝกึ อบรมชว่ ยใหต้ นรบั มอื ความทา้ ทายในชวี ติ ครอบครวั และสังคมได้ ใช่หรือไม่ ทั้งรัฐบาลและองค์กรท่ีให้ความช่วยเหลือหันมาสนใจยุทธศาสตร์การลดความยากจนมากขึ้น การวิเคราะห์การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยร์ ะดบั สาขา และระหว่างสาขา (inter-sector) อาจท�ำให้องค์การเอกชนไมแ่ สวงหาก�ำไร (เชน่ กลุ่มสตรีชนบท) มโี อกาสมากขนึ้ ทจี่ ะแสดงความคิดเหน็ ถึงบทบาทของการศึกษาและการฝกึ อบรมในการแกไ้ ขปญั หาการมโี อกาสไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ในการทำ� งาน การกระจายรายได้ และความยากจน 91

คำ� ถามท้ายบทในการทบทวนสาขาการศกึ ษา หรอื การจดั ทำ� ยทุ ธศาสตรก์ ารลดความยากจน (PRSP) ของประเทศของผเู้ รยี นเม่ือไม่นานมานี้ มีการพิจารณาประเด็นส�ำคัญด้านประสิทธิผลภายนอกของ การศึกษาระดับประถมศึกษาและการศึกษาสายสามัญระดับมัธยมศึกษา และอาชีวศึกษา ประเด็นใดบ้าง เอกสารดังกล่าวได้มองข้ามแง่มุมทส่ี ำ� คญั ใดบ้างหรอื ไม่ 92

ตอนที่ 2 การวิเคราะห์คณุ ภาพ และประสิทธิผลภายนอกของการศีกษาขัน้ พน้ื ฐาน:กรณี Vindoland(Analysing the quality and external effectiveness of basic education: Thecase of Vindoland)2.1 การวเิ คราะหค์ ุณภาพการศกึ ษา (Analysis of the quality of education)2.1.1 ผลผลิต (Output)การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน (Basic education) การที่คะแนนทดสอบระดับชาติของ Vindoland ลดต่�ำลงเรื่อย ๆ ในช่วงไม่กี่ปีท่ีผ่านมาน้ี แสดงว่าคุณภาพของโรงเรียนเสื่อมถอยลงซ่ึงท�ำให้ประชาชนไม่พอใจ การทดสอบส�ำหรับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 และ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ใน ค.ศ. 2008 และ 2009 มคี ะแนนเฉลี่ยต�ำ่ กวา่ 50% ผลการทดสอบดงั กลา่ วชใี้ หเ้ หน็ วา่ นกั เรยี นประถม และมธั ยมของประเทศมคี วามสามารถตำ�่ มากในวชิ าภาษาองั กฤษคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ คะแนนทดสอบเฉล่ียของโปรแกรมการประเมินผู้เรียนนานาชาติ (Programme for InternationalStudent Assessment - PISA) สง่ สญั ญาณเตอื นภยั คณุ ภาพการศกึ ษา เมอื่ นกั เรยี นสว่ นใหญข่ อง Vindolandไดค้ ะแนนตำ่� กวา่ คะแนนเฉลย่ี ระหวา่ งประเทศเกอื บทกุ วชิ าใน ค.ศ. 2009 และตำ�่ กวา่ คะแนนจากการทดสอบเดยี วกันเมื่อ ค.ศ. 2000 ผลการทดสอบ ค.ศ. 2009 แสดงว่าเกือบครง่ึ หน่ึงของนกั เรยี นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ไมม่ ีทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน และทักษะทางวิทยาศาสตร์ เกินกว่าคร่ึงของนักเรียนยังขาดทักษะคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน และการเรียนรขู้ องนกั เรียนไดร้ บั ผลกระทบจากคุณภาพของครผู สู้ อนมากกวา่ โครงสรา้ งพืน้ ฐานทางกายภาพ โรงเรยี นใน Vindoland เม่อื ค.ศ. 2009 มีอุปกรณ์มากกวา่ เมือ่ ค.ศ. 2000 และมีท้งั คอมพิวเตอร์ทงั้ การเชือ่ มต่ออินเทอรเ์ นต็ แตผ่ ลการเรียนโดยรวมของนกั เรียนกลบั ไม่ดีขนึ้ เลย การศกึ ษาในลักษณะคล้ายคลงึ กนั เก่ยี วกบั ความสมั พันธร์ ะหว่างทรัพยากรในโรงเรยี น กับผลการเรยี นรู้ (วดั ดว้ ยคะแนนการสอบระดบั ประเทศ) โดยมกี ารควบคมุ ปจั จยั การสนบั สนนุ จากผปู้ กครอง และชมุ ชนแลว้พบวา่ ผลสมั ฤทธข์ิ องนกั เรียนข้นึ อย่กู บั คุณภาพของครูอุดมศกึ ษา (Higher education) รายงานประจำ� ปี ค.ศ. 2010 ของ SCIMAGO Institutions Ranking (SIR) ระบวุ า่ มหาวทิ ยาลยั ทด่ี ที สี่ ดุของ Vindoland เป็นมหาวทิ ยาลยั อันดับที่ 100 ของภูมภิ าค และอนั ดับที่ 492 ของโลก ขณะที่มหาวทิ ยาลยัชั้นน�ำของโลกทุ่มทุนให้กบั การวิจยั ระบบอดุ มศึกษาของ Vindoland ใน ค.ศ. 2007 กลบั ลงทุนในการวจิ ยัน้อยมาก คือเพียง 1.8 % ของงบประมาณการศกึ ษาท้ังหมด และเมอ่ื พจิ ารณาสว่ นแบ่งการเผยแพร่ผลงานวิชาการทวั่ โลกก็ปรากฏว่ามีผลงานจาก Vindoland ไม่ถึง 1% ปญั หาด้านคุณภาพอกี ปัญหาหน่ึง คอื จำ� นวนและทกั ษะของบัณฑติ ท่ไี ม่เพียงพอกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน การศึกษาหลายชน้ิ ช้วี า่ แรงงานของ Vindoland ขาดทกั ษะทีจ่ ำ� เป็นในการทำ� งาน เชน่ ภาษาองั กฤษ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทกั ษะเชงิ ตวั เลข (numerical skill) ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์ และทักษะอ่ืนๆ ทีไ่ มเ่ ก่ยี วกบั การรู้คดิ (non-cognitive skill) นกั วิชาการและผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสยี พบวา่ คุณภาพของบัณฑิตโดยรวมยงั ไมเ่ ป็นทนี่ า่ พอใจ 93

คุณภาพการศกึ ษามอี กี หลายดา้ นนอกเหนอื จากผลลัพธ์ทางการเรียนรดู้ า้ นการรคู้ ดิ ผลการศกึ ษาของส�ำนักงานมาตรฐานคณุ ภาพการศกี ษา (Office for Quality Standards in Education - OQSE) ซึ่งเปน็หน่วยงานอสิ ระดา้ นการประเมนิ คณุ ภาพ แสดงว่านักศกึ ษาชาว Vindo มสี ุขภาพดี มคี วามสุข แตข่ าดความสามารถการคิดวเิ คราะห์ การคดิ สร้างสรรค์ และการเรียนรู้โดยอสิ ระ2.1.2 ปจั จยั น�ำเขา้ (Inputs)ครู (Teachers) พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษากำ� หนดไวว้ า่ ผใู้ หก้ ารศกึ ษา (ครู โรงเรยี น ผบู้ รหิ ารสถาบนั ผบู้ รหิ ารการศกึ ษาและบคุ ลากรอนื่ ๆ ทไ่ี ดร้ บั แตง่ ตงั้ ตามกฏกระทรวง) ตอ้ งมใี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทอ่ี อกโดยสภาคณาจารย์แหง่ Vindoland ผทู้ จี่ ะไดร้ บั ใบอนญุ าตซงึ่ จะตอ้ งตอ่ อายทุ กุ 5 ปตี อ้ งมคี วามรไู้ มต่ ำ่� กวา่ ระดบั ปรญิ ญาตรี สว่ นการจะได้ต่ออายุหรือไม่นั้นข้ึนอยู่กับผลการปฏิบัติงานและการเข้ารับการฝึกอบรมของครูอาจารย์ผู้น้ันเองพรบ. ฉบบั นก้ี ำ� หนดให้สภาคณาจารย์เปน็ ผ้คู วบคุมดแู ลการปฏิบตั ใิ นวชิ าชีพ และจรยิ ธรรม ใน ค.ศ. 2009 Vindoland มีครูระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานประมาณ 691, 860 คน เกือบ 80% ของครูเหล่านเ้ี ป็นขา้ ราขการสอนในโรงเรียนรฐั บาล ราว 20% ของครทู ง้ั หมดมีคุณวฒุ สิ ูงกวา่ ปริญญาตรี 71% มีคุณวฒุ ิปริญญาตรี และท่ีเหลือ 9% มคี วามรตู้ �่ำกวา่ ระดับปรญิ ญาตรี (ตารางท่ี 1) ประมาณ 8.75% ของครูทำ� งานบรหิ ารภายในโรงเรยี น นอกน้ันมีตำ� แหนง่ ทางการสอนตารางที่ 1 คุณวุฒขิ องครูระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ค.ศ. 2009 คณุ วุฒิ จำ� นวนครู ร้อยละต่ำ� กวา่ ปริญญาตรี 61,933 8.95ปริญญาตรี 489,762 70.79สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี 141,165 20.40จำ� นวนท้งั สิ้น 691,860 100 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานมอี ตั ราสว่ นเฉลีย่ นักเรียนตอ่ ครเู ท่ากับ 22.2 ต่อ 1 แต่ต่างกันมากระหวา่ งโรงเรยี น คือมีต้ังแตน่ กั เรียน 4.5 คนไปจนถงึ 47.4 คน ตอ่ ครู 1 คน ผ้สู นใจสามารถดรู ายละเอยี ดเพ่มิ เตมิไดจ้ ากโรงเรียนในสังกดั ส�ำนกั งานคณะกรรมกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) ซง่ึ มหี นา้ ที่ก�ำกบั ติดตามโรงเรียนรัฐบาลส่วนใหญ่ที่มีนักเรียนรวมกันถึงประมาณ 67% ของจ�ำนวนนักเรียนท้ังหมด อัตราส่วนเฉล่ียนักเรียนต่อครขู องสพฐ. คอื 19 คน ซึ่งต่�ำกวา่ ค่าเฉล่ียของประเทศ อตั ราสว่ นนีเ้ พ่มิ ขึ้นตามขนาดของโรงเรยี นเกอื บครงึ่ หนง่ึ ของโรงเรยี นรฐั บาลในกำ� กบั ของ สพฐ. เปน็ โรงเรยี นขนาดเลก็ ทมี่ นี กั เรยี นนอ้ ยกวา่ 120 คน และมีอตั ราสว่ นนักเรยี นตอ่ ครคู ่อนข้างต�ำ่ (ตารางท่ี 2) เชน่ เดียวกนั กับอัตราสว่ นเฉล่ียนักเรยี นตอ่ หอ้ งเรยี น ซงึ่เทา่ กบั ห้องละ 22 คน อัตราสว่ นนเ้ี พิ่มขน้ึ ในระดบั ชัน้ ทส่ี ูงขน้ึ จากห้องละ 16 คน ในระดบั ประถมศกึ ษา เปน็36 คนในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ตารางท่ี 3) โรงเรียนขนาดเลก็ ส่วนใหญ่เป็นโรงเรยี นขยายโอกาส คือโรงเรยี นประถมศกึ ษาที่สอนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้นดว้ ย อนั เปน็ การชว่ ยเพ่ิมการเขา้ ถงึ การศกึ ษาในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ใน ค.ศ. 2010 Vindoland มโี รงเรียนขยายโอกาสจ�ำนวน 7,085 โรง ซง่ึ เทา่ กับ 23%ของโรงเรยี นท้ังหมดในประเทศ 94

ตารางที่ 2 อตั ราสว่ นนกั เรยี นตอ่ หอ้ งเรยี น และอตั ราส่วนนกั เรียนต่อครูในโรงเรียนรัฐบาลระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ค.ศ. 2010ขนาดโรงเรียน จ�ำนวน จ�ำนวน จำ� นวนครู อัตราส่วน อัตราส่วน โรงเรียน นกั เรยี น นักเรยี นต่อ นกั เรยี นตอ่ ครู หอ้ งเรยี น 989,207 120-120 14,397 1,059,568 80,690 9 15121-200 6,888 18201-300 4,042 984,732 70,344 18 20301-499 3,053 1,152,181 23500-1,499 2,325 1,791,670 54,460 23 261,500-2,499 405 26>2,500 314 784,040 56,255 26 19รวมท้ังสนิ้ 31,424 1,002,471 7,763,869 76,837 32 30,353 40 39,019 44 407,958 22ตารางท่ี 3 จ�ำนวนนักเรยี นตอ่ หอ้ งเรยี นในโรงเรียนรฐั บาล จำ� แนกตามระดับการศกึ ษา ค.ศ. 2010ระดบั จำ� นวนนักเรยี น จ�ำนวนหอ้ งเรยี น อัตราสว่ นนกั เรียนต่อ ห้องเรียนก่อนประถมศกึ ษา 1,037,074 62,869ประถมศึกษา 3,525,976 200,075 16มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 2,143,430 64,631 18มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1,057,389 29,613 33รวมทั้งส้นิ 7,763,869 357,188 36 22 ในบรรดาปัจจัยน�ำเข้าท้ังหลายท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนนั้น คุณภาพของครูส�ำคัญมาก การศึกษาวิจัยหลายคร้ังพบว่า คุณสมบัติของครู เช่น การเป็นผู้มีวินัย มีความรับผิดชอบในวิชาชีพ ฯลฯ มีสหสมั พนั ธเ์ ชงิ บวกกบั สมรรถนะของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 สำ� หรบั ในระดบั โรงเรยี น พบวา่ คณุ วฒุ ปิ รญิ ญาโทของครูมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับสมรรถนะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 6นอกจากนนั้ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นเหน็ วา่ การขาดแคลนครผู สู้ อนมสี หสมั พนั ธเ์ ชงิ ลบกบั สมรรถนะของนกั เรยี น(PISA, 2009) การขาดแคลนครูผู้สอนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในบางวิชาเป็นเรื่องที่น่ากังวลมาก การส�ำรวจโรงเรยี นในก�ำกบั ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใน ค.ศ. 2010 พบวา่ มคี รูน้อยกว่าบรรทัดฐานถงึ 28,486 คน ซ่งึสว่ นใหญ่เปน็ ครูระดบั มธั ยมศกึ ษาวิชาคณติ ศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ การขาดแคลนครูท�ำให้คาดกันว่า ครูจะมีภาระการสอนจริงสูงกว่ามาตรฐาน ครูประถมศึกษาในVindoland สอนสัปดาหล์ ะ 22 ชวั่ โมง สว่ นครูมธั ยมศกึ ษาสอนสปั ดาห์ละ 29.5 ชว่ั โมง มึครูถึง 36% ทต่ี ้องสอนหลายช้ันในเวลาเดียวกนั 95

ครใู น Vindoland โดยเฉพาะในเขตเมอื งมสี ถานภาพต่ำ� ตอ้ ยกว่าในอดตี อาชีพครูไม่เปน็ ท่ีนิยมเพราะงานหนัก เงินเดือนนอ้ ย และสถานะทางสังคมตกต�่ำลงเรอ่ื ย ๆ ผูท้ ีเ่ ลือกอาชีพครคู ือนกั เรียนท่เี รยี นสคู้ นอนื่ ไม่ได้ ถึงแม้ครูทั้งประเทศกว่า 90% มีคุณวุฒิระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า แต่สังคมยังคงวิพากษ์วิจารณ์คณุ ภาพของครู และกงั วลว่าการเรียนรูข้ องนกั เรียนจะตกต่�ำลงเรื่อย ๆ ดังทเี่ ห็นได้จากผลการทดสอบต่าง ๆทง้ั ในระดบั ชาติ และระดับนานาชาติ เชน่ VET และ PISA มผี ู้ตัง้ ขอ้ สังเกตวา่ ครูจ�ำนวนมากไม่ได้สอนวิชาที่ตนเชย่ี วชาญ แต่ตอ้ งสอนวชิ าอื่น ๆ ทข่ี าดแคลนครู และเนอ่ื งจากระบบการจดั กำ� ลงั ครูไมย่ ดื หยนุ่ การส่งครูไปประจำ� การไมส่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของโรงเรยี นจงึ เกดิ ขนึ้ บอ่ ย ซงึ่ มนี ยั วา่ มคี รทู ต่ี อ้ งสอนในสาขาวชิ าที่ตนเองไมม่ คี ุณสมบตั ิและความถนดั ที่จะสอนอย่ทู ว่ั ไป นอกจากนแ้ี ลว้ ครใู น Vindoland สว่ นใหญไ่ ม่คุ้นกบัวิธกี ารสอนที่เน้นนักเรยี นเป็นศูนยก์ ลาง ใน ค.ศ. 2005 ครูในประเทศราว 60% มีอายุระหวา่ ง 45 ถึง 60 ปี ส�ำนักงานมาตรฐานคุณภาพการศึกษา (OQSE) ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อปรับปรุงคุณภาพระบบการศึกษาประเมินผลคณุ ภาพของโรงเรียนตามมาตรฐาน 14 ประการ ในจ�ำนวนนี้มมี าตรฐานสองประการท่ีเก่ยี วข้องกบั คณุ ภาพของครู ประการแรกวดั วา่ โรงเรยี นมคี รทู ม่ี คี วามรคู้ วามสามารถในการสอนจำ� นวนเพยี งพอหรอื ไม่และมาตรฐานขอ้ ทสี่ องสำ� รวจวา่ ครจู ดั การเรยี นการสอนแบบเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางไดห้ รอื ไม่ การประเมนิเมอื่ ค.ศ. 2005 พบวา่ เกอื บกง่ึ หนง่ึ ของโรงเรยี นไมผ่ า่ นมาตรฐานขอ้ แรก และราวสองในสามไมผ่ า่ นมาตรฐานข้อทีส่ อง ความพยายามในชว่ งหลงั น้ที จี่ ะพฒั นาใหค้ รูมคี ุณภาพสงู ข้ึนเนน้ การจดั การฝึกอบรมครูประจำ� การ ซง่ึจดั ขนึ้ ทสี่ ถาบนั ฝกึ หดั ครทู ว่ั ประเทศ และการฝกึ อบรมครกู อ่ นประจำ� การตามสถาบนั การศกึ ษาตา่ ง ๆ สำ� หรบัครูรุ่นใหม่ การพัฒนาครูโดยการฝึกอบรมครูประจ�ำการนั้นเป็นหน้าท่ีรับผิดชอบของสถาบันแห่งชาติเฉพาะทาง ถงึ แมว้ า่ ครมู ากกวา่ 90% เขา้ รบั การอบรมถงึ ปลี ะสามครง้ั แตก่ ลบั ไมไ่ ดร้ บั การอบรมในวชิ าทค่ี รทู ง้ั หลายเหน็ วา่ เปน็ เรอื่ งเรง่ ดว่ น นอกจากนโี้ ครงการเชน่ นยี้ งั มจี ดุ ออ่ นอนื่ ๆ เชน่ เวลาอบรมนอ้ ยเกนิ ไป ผบู้ รรยายไมม่ ีคณุ ภาพเพียงพอ และขาดการประยกุ ต์ใช้หลักสตู ร (Curriculum) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบการพฒั นาหลกั สตู ร และการวจิ ยั เพอ่ื การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานและระดบั มธั ยมศกึ ษา หลกั สตู รแกนกลาง ค.ศ. 2008 สำ� หรบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานทใี่ ชใ้ นปจั จบุ นั ไดร้ บั การปรบั ปรงุแกไ้ ขจากหลกั สูตร ค.ศ. 2001 ให้สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรูม้ ากขน้ึ และม่งุ พฒั นาความสามารถของนกั เรยี น 5 ประการเพอ่ื การพฒั นาสว่ นตนและของสงั คม คอื ทกั ษะการสอื่ สาร การคดิ วเิ คราะห์ การแกป้ ญั หาขดี ความสามารถการประยุกตใ์ ช้ทักษะเพ่อื ชีวิต และขีดความสามารถการใชเ้ ทคโนโลยี โดยมสี าระการเรียนรทู้ ง้ั สิน้ 8 กลุม่ คือ ภาษาแม่ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ศลิ ปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี และภาษาตา่ งประเทศ หลักสูตร ค.ศ. 2008 ระบุเวลาเรยี นข้ันตำ่� และกจิ กรรมส�ำหรับแต่ละสาระการเรยี นรู้ และระบุจ�ำนวนเวลาการเรียนร้เู ป็นจ�ำนวนชั่วโมงตอ่ ปี (ตารางที่ 4) 96

ตารางที่ 4 จ�ำนวนชัว่ โมงเรยี นข้นั ตำ่� ต่อปี จำ� แนกตามระดับการศกึ ษาระดบั เวลาเรียนสำ� หรับ เวลาเรียนส�ำหรับ เวลาเรยี นส�ำหรับ จ�ำนวนรวมชัว่ โมง วิชาพน้ื ฐาน กจิ กรรมพฒั นา วชิ าเพม่ิ เติมตาม เรยี นต่อปี ท้ังหมด (ช่วั โมง) ตนเอง (ชั่วโมง) ท่ีโรงเรียนจดัประถมศกึ ษา 840 120 ไมเ่ กนิ 40 ไม่เกนิ 1000 ชัว่ โมงมัธยมศกึ ษาตอนตน้ 880 120 ไมเ่ กิน 200 ไมเ่ กนิ 1200 ชวั่ โมงมัธยมศึกษาตอน 1,640 360 ไมต่ ่ำ� กวา่ 1600 อยา่ งนอ้ ย 3600ปลาย ช่ัวโมงหนังสอื เรยี นและอุปกรณก์ ารสอน (Textbooks and instruction materials) ใน ค.ศ. 2011 รฐั บาล Vindoland ใหเ้ งนิ สนบั สนนุ เพม่ิ เตมิ สำ� หรบั นกั เรยี นทกุ คนในระดบั การศกึ ษาขน้ัพ้ืนฐาน ทง้ั ในโรงเรยี นรฐั บาล และโรงเรยี นเอกชน เงินสนบั สนนุ นเ้ี ป็นค่าหนงั สอื เรยี นตามรายการท่ีก�ำหนดอุปกรณก์ ารเรียน ค่าบ�ำรุงการศึกษา และชดุ นกั เรียน คาดวา่ ใน ค.ศ. 2012 นกั เรยี นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ทกุคนจะไดร้ ับคอมพวิ เตอร์แท็บเล็ต ซึ่งจะมีเนอื้ หาของหนงั สอื เรยี นและมลั ติมเี ดยี เพม่ิ เติม ส�ำหรบั อุปกรณก์ ารสอนนั้น โรงเรียนเป็นฝา่ ยจดั หาด้วยงบประมาณสนบั สนนุ ที่ได้รบั จดั สรรจากกระทรวงศกึ ษาธกิ าร2.1.3 ลักษณะกระบวนการการเรียนการสอน (Characteristics of the teaching and learningprocess) พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษา ค.ศ. 1999 กำ� หนดใหร้ ฐั บาลสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางตามความสนใจทศั นคติจงั หวะการเรยี นรู้และศกั ยภาพของนกั เรยี นทำ� ใหต้ อ้ งอบรมครจู ำ� นวนมากใหร้ จู้ กั ใชแ้ นวทางใหมน่ ้ี ในการประเมินผลโรงเรียน หน่วยงานประเมินผล คือ OQSE ประเมินประสิทธิผลท่ีเกิดข้ึนจริงของกระบวนการเรียนการสอนด้วย การประเมินผลใน ค.ศ. 2010 บ่งว่ามีโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานประมาณ 4,000 โรงที่ยังไม่ได้มาตรฐานการเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนขนาดเลก็ ทม่ี ีจำ� นวนนกั เรียนน้อยกวา่ 300 คน หลักสูตรแกนกลางก�ำหนดระยะเวลาท่ีใช้ในการเรียนการสอนจริง (time-on-task) ส�ำหรับวิชาต่างๆ ซงึ่ แตกต่างกันไปตามชั้นปีตามระดับ (ตารางที่ 4) นอกจากน้ตี อ้ งมเี วลาสำ� หรับกิจกรรมแนะแนว รวมท้ังกิจกรรมส�ำหรับนักเรียนที่มีประโยชน์ทั้งทางสังคมและต่อสาธารณะ ส่วนจ�ำนวนเวลาที่ครูใช้สอนและช่วยเหลือนักเรียนในการเรียนจริงเป็นประเด็นที่ยังไม่มีข้อยุติ ตามที่พบในรายงานนั้น ครูจ�ำนวนเกือบคร่ึงหนึ่งใชเ้ วลา 20% ท�ำงานอืน่ ท่ไี ม่ใช่งานสอน เช่น ท�ำงานบริหาร และควบคุมดูแลนกั เรียน ราว 36% ของครขู าดสอนอย่างน้อยสัปดาหล์ ะหน่ึงบทเรยี นเพอ่ื เขา้ ประชุม ฝึกอบรบ หรือท�ำกจิ กรรมอนื่ ๆ ในโรงเรยี นซง่ึ นบั วา่เป็นอัตราการขาดงานทีส่ ูง OQSE ประเมินผลโรงเรียนทง้ั หมดทุก 5 ปี และระบวุ า่ โรงเรียนใดมีมาตรฐานต่าง ๆ ในระดบั ใด ต้งั แต่“ต้องปรบั ปรุง” ไปจนถึง “ดีมาก” ถอื วา่ โรงเรียนมีคณุ สมบัติครบถว้ นเมอ่ื 1) ได้คะแนนประเมนิ รวม 2.75หรอื สงู กวา่ จากคะแนนเตม็ 4 และ 2) ต้องไม่ไดร้ บั การประเมินวา่ “ตอ้ งปรับปรุง” สำ� หรับมาตรฐานขอ้ ใดขอ้หนึง่ ตารางท่ี 5 แสดงค่าเฉลย่ี ผลปฏิบัตงิ านดา้ นมาตรฐานการศึกษาทงั้ 14 ข้อ ของโรงเรียนอนุบาล ประถม 97


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook