Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Module 3 TH

Module 3 TH

Description: Module 3 TH

Keywords: IIEP3

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รการศกึ ษาทางไกล การวางแผนการศกึ ษา หน่วยการเรียนรู้ที่ 3การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษา International Institute for Educational Planning

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 สารบัญสาระส�ำคญั . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1บทท่ี 1 บริบทและวตั ถปุ ระสงค์ ผู้มบี ทบาทหลกั และข้นั ตอน. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4ตอนท่ี 1 ค�ำจ�ำกัดความ บริบทปจั จบุ นั และวตั ถุประสงค์ของกลยุทธ์ และการวิเคราะหป์ ญั หาสาขาการศึกษา . . . . . . . . . 6ตอนท่ี 2 ผู้มบี ทบาท และรูปแบบการมสี ว่ นร่วม. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 12ตอนที่ 3 ข้ันตอนหลักของกระบวนการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศึกษา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 17กิจกรรมกลมุ่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 23บทท่ี 2 กรอบการวเิ คราะห์ และการวเิ คราะหบ์ รบิ ท. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 30ตอนที่ 1 กรอบการวิเคราะห์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 32ตอนที่ 2 การวเิ คราะห์บรบิ ทการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 42ตอนท่ี 3 การวเิ คราะหบ์ ริบทในการวิเคราะห์การศึกษา : กรณี Vindoland. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 46กิจกรรมกลุ่ม. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 54บทท่ี 3 การวิเคราะห์การเข้าถึง ประสิทธิภาพภายใน และความเป็นธรรมทางการศึกษา . . . . . . . . 56ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์การเข้าถงึ ประสิทธภิ าพภายใน และความเป็นธรรมในการวิเคราะห์การศึกษา . . . . . . . . . . . . 58ตอนท่ี 2 การวเิ คราะหก์ ารเขา้ ถงึ ประสทิ ธภิ าพภายใน และความเปน็ ธรรมทางการศกึ ษา : กรณี Vindoland . . . . . . . . . . . . . 66กจิ กรรมกลมุ่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 76บทท่ี 4 การวิเคราะหค์ ณุ ภาพการศึกษา และประสิทธิผลภายนอก . . . . . . . . . . . . . . . . . 78ตอนท่ี 1 การวิเคราะหค์ ณุ ภาพการศึกษา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 80ตอนที่ 2 การวเิ คราะหค์ ุณภาพ และประสิทธิผลภายนอกของการศกี ษาขน้ั พืน้ ฐาน : กรณี Vindoland . . . . . . . . . . . 93กิจกรรมกลุม่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 105บทที่ 5 การวเิ คราะห์ต้นทุน การเงนิ และการบรหิ ารจดั การการศึกษา . . . . . . . . . . . . . . . 107ตอนที่ 1 การวเิ คราะห์ต้นทนุ การเงนิ และการบรหิ ารจัดการการศกึ ษา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 109ตอนท่ี 2 การวิเคราะห์การศึกษาใน Vindoland : ต้นทนุ การเงิน และการบรหิ ารจดั การการศกึ ษา . . . . . . . . . . . . 122กจิ กรรมกลุม่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 134บทท่ี 6 การทบทวนปัญหาสำ� คัญ และการระบแุ นวทางการพฒั นา . . . . . . . . . . . . . . . . 135ตอนท่ี 1 จากการวิเคราะหส์ ขู่ อ้ เสนอการตอบสนองเชงิ นโยบายในอนาคต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 137ตอนที่ 2 การทบทวนปญั หาส�ำคญั และการเสนอแนะมาตรการการพัฒนาการศกึ ษาของ Vindoland . . . . . . . . . . . 141กิจกรรมกล่มุ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 142



สาระส�ำคญั หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3การวเิ คราะหป์ ัญหาสาขาการศึกษา(Education Sector Diagnosis) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เรอ่ื งการวเิ คราะหป์ ัญหาสาขาการศกึ ษา เป็นส่วนหน่งึ ของหลักสตู รการศกึ ษาทางไกลในหัวขอ้ การวางแผนการศึกษา หลายประเทศใช้การวิเคราะห์ปัญหาแบบเบ็ดเสร็จ หรือ “การประเมินสถานการณ์” สาขาการศึกษาเป็นพ้ืนฐานการก�ำหนดนโยบายและวางแผนการศึกษา ผู้เรียนอาจสังเกตได้จากประสบการณ์การท�ำงานของตนเองในระยะไม่กี่ปีท่ีผ่านมาว่า การวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษา (Education SectorDiagnosis – ESD) นั้นส�ำคญั มากขนึ้ นบั ตั้งแต่รฐั บาลหลายประเทศและองค์กรให้ความช่วยเหลือหลายแหง่ ไดใ้ ชแ้ นวทางการวางแผน การสนบั สนนุ แผนงาน และงบประมาณจากภายนอกทค่ี รอบคลมุ การศกึ ษาท้ังสาขามากกว่าท่ีเคยเป็นมา การด�ำเนินงานตามแนวทางน้ีมักต้องมีการทบทวน และการประเมินสาขาการศกึ ษารวมทัง้ ผลสัมฤทธโ์ิ ดยสม�ำ่ เสมอมากข้นึ กวา่ เดมิ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 น้จี ะชว่ ยใหผ้ ู้เรียนเข้าใจลึกซงึ้ ถงึ วตั ถุประสงค์ เนื้อหา และกรอบการวิเคราะห์ปญั หาสาขาการศกึ ษาที่ใชโ้ ดยทั่วไป ได้เรียนรู้การใช้วธิ ีการ และเครอื่ งมอื ESD เพอื่ วเิ คราะหป์ ัญหาที่เปน็รูปธรรม รวมท้งั วิเคราะหป์ ญั หาสาขาการศึกษาในประเทศของตนเองดว้ ย หนว่ ยการเรยี นรู้นแ้ี บ่งออกเปน็ 6 บท ตามหวั ขอ้ ส�ำคัญของการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาวัตถปุ ระสงคท์ วั่ ไป เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้พ้ืนฐานและสมรรถนะทางเทคนิคท่ีจ�ำเป็นต่อการมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศกึ ษาในประเทศของตนในอนาคตได้อยา่ งมปี ระสิทธิผลมากข้ึนเนอื้ หา • วัตถปุ ระสงค์หลกั ผมู้ บี ทบาทหลัก และข้นั ตอนของการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษา • กรอบการวเิ คราะห์ และการวเิ คราะห์บรบิ ทท่ใี ช้ในการวเิ คราะหป์ ัญหาสาขาการศกึ ษา • การวเิ คราะหก์ ารเข้าถงึ ประสิทธิภาพภายใน และความเปน็ ธรรมของการศกึ ษา • การวิเคราะห์คณุ ภาพการศกึ ษา และประสทิ ธภิ าพภายนอก • การวเิ คราะหต์ น้ ทนุ การเงิน และการบรหิ ารการศกึ ษา • การสังเคราะหผ์ ลการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษา และการระบปุ ญั หาเร่งดว่ น1

ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั เมอื่ เรยี นหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 จบแล้ว ผ้เู รียนควรสามารถ • เข้าใจแนวคดิ หลกั บทบาท และประโยชน์ของการวเิ คราะห์ปัญหาสาขาการศกึ ษา (ESD) ในบรบิ ท ของการศึกษาเพื่อปวงชน กลยทุ ธส์ ำ� หรบั สาขาการศึกษา และกลยทุ ธร์ ่วมสาขา (inter-sectoral strategy) รวมทง้ั แผนเพ่ือการพัฒนาการศกึ ษาได้ • กำ� หนดขอบเขต และเน้ือหาของ ESD ใหส้ อดคล้องกับบรบิ ท และจดุ มุ่งหมายเฉพาะได้ • อภิปรายเชงิ วิพากษ์ตวั อยา่ งทเ่ี ปน็ รูปธรรมของการประยุกต์ใช้กรอบการวเิ คราะห์ของ ESD ได้ • เขา้ ใจและอภปิ รายเคร่อื งมือการวิเคราะห์ และตวั ช้วี ดั หลักของ ESD ได้ • ระบุ และตคี วามขอ้ มูลทส่ี �ำคญั ทตี่ ้องนำ� มาใช้เพอ่ื การน้ีได้ • สงั เคราะหผ์ ลลัพธห์ ลกั ของ ESD ได้ • ระบปุ ัญหาเรง่ ด่วนในการพฒั นาสาขาการศึกษาของประเทศจากผล ESD ได้กรอบเวลา • หนว่ ยการเรยี นรู้นเี้ ร่มิ ต้ังแต่วนั ที่ .... ถึงวนั ที่ ..... • หนว่ ยการเรียนรู้นใี้ ช้เวลาศกึ ษาประมาณ 8 ชวั่ โมงต่อสัปดาห์ความช่วยเหลอื ผู้สอนหน่วยการเรียนรู้น้ีคือ ... ผู้ซึ่งจะติดต่อกับผู้เรียนทางระบบอีเลิร์นนิง (e-learning platform)ของหลักสูตรน้ี ผู้สอนจะส่งข้อมูลข่าวสาร แนวทางการท�ำกิจกรรมในแต่ละสัปดาห์ และก�ำหนดการส่งงานกล่มุ อกี ทั้งจะทำ� หนา้ ท่ปี ระเมนิ ผลท้ังงานส่วนบคุ คลและงานกลุ่ม ในกรณีที่มีข้อสงสัย หรือไม่เข้าใจเน้ือหา หรือค�ำส่ังใด ๆ ผู้เรียนควรติดต่อขอความช่วยเหลือจากผู้ประสานงานกลุ่มของตนกอ่ น หากยงั คงไมเ่ ขา้ ใจแจม่ แจง้ ผู้สอนที่ IIEP ยนิ ดใี หค้ วามช่วยเหลอื ผ่านทางระบบอเี ลริ น์ นิงคำ� ถามเพ่อื การศึกษาด้วยตนเอง • ผู้เรยี นควรคดิ ไตร่ตรองและตอบค�ำถามทา้ ยบทในหน่วยการเรียนรนู้ ้ีด้วยตนเอง เพือ่ ท่จี ะได้ทราบวา่ ตนเข้าใจเนอ้ื หาหรอื แงม่ ุมตา่ ง ๆ ของหนว่ ยการเรยี นร้นู ีห้ รือไม่ ในบางกรณีค�ำถามเหลา่ นจี้ ะกระต้นุ ให้วิเคราะหก์ ระบวนการหรอื แง่มมุ ทางเทคนิคเกีย่ วกับการประยุกตใ์ ชเ้ น้อื หาในหนว่ ยการเรยี นร้นู ี้ ส�ำหรบั การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาในประเทศของผู้เรียนเอง • ผ้เู รยี นควรตอบค�ำถามทกุ ข้อด้วยตนเอง และบันทกึ คำ� ตอบไวโ้ ดยยอ่ จากนั้นจึงน�ำไปเปรยี บเทยี บกับ คำ� ตอบของเพือ่ น ๆ เมอ่ื พบกันตามทผี่ ูป้ ระสานงานกลุ่มจะจัดให้ • ผเู้ รยี นไม่ต้องสง่ คำ� ตอบดงั กลา่ วนี้ใหผ้ ูส้ อนที่ IIEP ตรวจใหค้ ะแนน ค�ำถามเหลา่ นี้เพียงแตจ่ ะช่วยใหผ้ ู้ เรียนเขา้ ใจเนอ้ื หาไดด้ ีขนึ้ เป็นการเตรียมตัวสอบและเขียนรายงานเกย่ี วกบั การศึกษาในประเทศของ 2

ตน เพราะฉะนน้ั จงึ ส�ำคญั ทีผ่ ู้เรยี นตอ้ งเตรียมค�ำตอบ และรว่ มประชมุ กลุ่มประจ�ำสัปดาหต์ ามทีผ่ ู้ ประสานงานกลุ่มจะจดั ให้กิจกรรมกลมุ่ • ผูเ้ รียนตอ้ งรว่ มกันท�ำกจิ กรรมกลุ่มตอนทา้ ยบทเรียน ในการเตรียมตัวท�ำงานกลุ่มผ้เู รียนควรอา่ น เอกสาร และคดิ ทำ� กิจกรรมตามล�ำพังก่อน จากน้ันจงึ เปรียบเทียบและอภปิ รายค�ำตอบและมุมมอง ของตนกบั เพ่อื นในกลมุ่ เม่ือผู้ประสานงานกลมุ่ จัดใหไ้ ดพ้ บกัน แลว้ จึงเตรียมค�ำตอบของกลุ่ม • ผู้ประสานงานกลมุ่ จะเป็นผู้สง่ งานกลุ่มซ่ึงเปน็ งานบงั คับใหผ้ ู้สอนท่ี IIEP ตามกำ� หนด งานกลมุ่ นถ้ี อื เป็นการเตรียมตัวสอบและเขียนรายงานของผูเ้ รียนดว้ ย • ผู้สอนท่ี IIEP เป็นผตู้ รวจและประเมนิ งานกลุ่ม พรอ้ มท้งั ส่งความเหน็ ขอ้ สงั เกต รวมทั้งคะแนนของ กลมุ่ ใหผ้ เู้ รยี นภายในหนงึ่ สัปดาห์การประเมิน • การประเมนิ งานกลุ่ม ผเู้ รยี นจะตอ้ งทำ� กจิ กรรมกลมุ่ ในแตล่ ะบท กจิ กรรมกลมุ่ สว่ นใหญเ่ ปน็ การตอบคำ� ถามหรอื เขยี นรายงาน ซง่ึ สมาชกิ ทกุ คนในกลมุ่ จะตอ้ งชว่ ยกนั ผสู้ อนหนว่ ยการเรยี นรนู้ ท้ี ่ี IIEP จะเปน็ ผตู้ รวจงานกลมุ่ • การประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิรายบุคคล การสอบประเมินว่าผ้เู รียนได้เรียนรูอ้ ะไรบา้ งจากหนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ถึง 3 จะจัดขึน้ ปลายเดือน... ข้อสอบจะเป็นชุดคำ� ถามท่ตี ้องตอบสั้น ๆ สว่ นผ้ปู ระสานงานกลุม่ จะประเมินการเขา้ เรยี นและการมี ส่วนรว่ มในงานกลมุ่ ของผู้เรียนเอกสารอา่ นเพ่ิมเติม (ไม่บงั คบั ) • Mingat, A. & Tan, J.P. 1988. Analytical Tools for Sector Work in Education. Baltimore, Maryland: John Hopkins University Press for the World Bank. • UNESCO. 2007. Education Sector-Wide Approaches (SWAps), Background, Guide and Lessons, Division of Education Strategies and Field Support, UNESCO, Paris. 3

บทท่ี 1บรบิ ทและวัตถปุ ระสงค์ ผมู้ บี ทบาทหลกั และขั้นตอน(Context and objectives, main actors and stages) บทท่ี 1 บทท่ี 1 วา่ ดว้ ยแนวคดิ และวตั ถปุ ระสงคข์ องการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษา (Education SectorDiagnosis - ESD) ซงึ่ รวมไปถึงเร่ืองการจัดและการดำ� เนนิ การทสี่ �ำคญั บทที่ 1 แบ่งออกเปน็ 3 สว่ น คอื : ตอนท่ี 1 กลา่ วถึงแนวคิดหลักของ ESD และอธิบายความส�ำคัญของการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษาตอ่ การจดั ทำ� แผน และนโยบายการศกึ ษาของประเทศ เนอื้ หาในสว่ นน้พี จิ ารณา ESD ในบรบิ ทของแนวการพฒั นาการศกึ ษาแบบบูรณาการ (Sector-Wide Approaches - SWAPs) และการวางแผนเพื่อการพฒั นาการศึกษา (เช่น แผนการศึกษาระยะ 10 ปี แผนการศกึ ษาเพ่ือปวงชน) รวมถงึ กลยทุ ธ์ร่วมสาขา(inter-sectoral strategy) เชน่ การลดความยากจน ตอนท่ี 2 กล่าวถงึ ผู้มบี ทบาทหลกั และการจัดการวิเคราะหป์ ัญหาสาขาการศกึ ษา ตอนท่ี 3 เสนอสาระสำ� คญั ของขนั้ ตอนหลกั ตามระเบยี บวธิ ที ใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาวตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจในแนวคดิ จดุ มงุ่ หมาย และแงม่ มุ การจดั และการดำ� เนนิ การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศึกษา และส่งเสริมใหม้ กี ารอภปิ รายเชิงวพิ ากษ์ในหัวขอ้ ตา่ ง ๆ ดังกล่าวเน้อื หา • ค�ำจำ� กัดความ บริบทปัจจุบัน และวัตถปุ ระสงค์ของการวเิ คราะห์ (analysis) และการวิเคราะห์ ปัญหา (diagnosis) สาขาการศึกษา • ผูม้ บี ทบาท และรปู แบบการมีส่วนร่วม • ขนั้ ตอนหลกั ของกระบวนการการวิเคราะหป์ ัญหาสาขาการศกึ ษา4

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เมอ่ื เรียนบทท่ี 1 จบแล้ว ผเู้ รียนควรสามารถ • นยิ ามแนวคิดเร่ืองการวิเคราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาได้ • ระบุและบรรยายวัตถุประสงคห์ ลกั และประโยชน์ทคี่ าดหวงั ของการวิเคราะหป์ ญั หาสาขาการศึกษา ได้ • ประเมินผลอรรถประโยชน์ (utility) ของการวเิ คราะห์ปญั หาสาขาการศึกษาแบบเบด็ เสรจ็ ในบริบท ของแผนและกลยทุ ธส์ ำ� หรบั สาขา (sector-wide strategy) และกลยทุ ธร์ ่วมสาขา (inter-sectoral strategy)ได้ • อธิบายประโยชน์หลักและนัยของการใหผ้ ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย และผู้มบี ทบาทอ่นื ๆ ไดร้ ว่ มเตรยี มการ ส�ำหรบั ESD และกำ� หนดกลยุทธ์สาขาการศึกษาได้ • ระบุแหลง่ สำ� คญั ของข้อมลู และสารสนเทศเพือ่ ESD และปญั หาสำ� คญั ทีอ่ าจเกดิ ขึน้ จากการใช้ สารสนเทศในบริบทนี้กรอบเวลา • บทนีใ้ ช้เวลาศึกษาประมาณสัปดาหล์ ะ 8 ช่วั โมงคำ� ถามท้ายบท • ผู้เรยี นจะตอ้ งตอบคำ� ถามท้ายบทซ่ึงเก่ยี วกบั เนอื้ หาในตอนท่ี 1กิจกรรมกลมุ่ • ท้ายบทน้ีผเู้ รียนจะชว่ ยกันทำ� งานกล่มุ ท่ีสัมพนั ธ์กบั เนอ้ื หาตอนท่ี 2 และ 3 กจิ กรรมกล่มุ นี้ออกแบบ มาเพ่อื ช่วยย้�ำความเขา้ ใจเรอื่ งหวั ขอ้ หลักและแง่มุมทงั้ หลายที่กล่าวถงึ ในบทน้ีเอกสารอ่านเพม่ิ เติม (ไม่บังคบั ) ขอแนะนำ� ใหผ้ เู้ รียนอ่านเอกสารตอ่ ไปน้ใี นระบบอเี ลิร์นนงิ ของหลักสตู ร ESP • Mingat, A. & Tan, J.P. 1988. Analytical Tools for Sector Work in Education. Baltimore, Maryland: John Hopkins University Press for the World Bank. • UNESCO. 2007. Education Sector-Wide Approaches (SWAps), Background, Guide and Lessons, Division of Education Strategies and Field Support, UNESCO, Paris. 5

ตอนท่ี 1 คำ� จ�ำกดั ความ บริบทปจั จุบันและวัตถปุ ระสงค์ของกลยทุ ธ์ และการวิเคราะห์ปญั หาสาขาการศกึ ษา(Definitions, current context and objectives of sector strategies anddiagnosis of the education sector)1.1 กลยทุ ธแ์ ละการวิเคราะห์ปญั หาสาขาการศกึ ษา (Education sector strategies andEducation Sector Diagnosis) กลยุทธด์ ้านการศกึ ษาจำ� เป็นที่จะตอ้ ง: • ประเมินวธิ ที ีร่ ะบบการศกึ ษาตอบสนองความต้องการของประชาชน และช่วยพฒั นาการศกึ ษา • กำ� หนดวตั ถปุ ระสงคท์ ีส่ อดคลอ้ ง รวมถึงวิถีทางที่จะพฒั นาสาขาการศกึ ษาในอนาคต กลยุทธ์การศึกษาควรพัฒนามาจากการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษาโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วยการวเิ คราะห์ปัญหา (diagnosis) แนวโน้มในอดตี สถานการณแ์ ละข้อจำ� กัดในปัจจบุ ัน รวมท้งั วัตถปุ ระสงค์เชงิ นโยบายสำ� หรบั การพฒั นาการศึกษาในอนาคต การคาดการณ์ (prognosis) เพอื่ กำ� หนดกลยทุ ธ์ และแผนงาน (programme) การศกึ ษาในอนาคต และการออกแบบแผนการดำ� เนนิ งาน (action plan) และ/หรือโครงการ (project) ตา่ ง ๆ การวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษา (ESD) เป็นการตรวจสอบสถานภาพ การท�ำงาน และผลของ ระบบการศึกษา เพอื่ ระบุจุดแข็ง จดุ อ่อน และโอกาสเพอื่ การพฒั นา คำ� วา่ การวเิ คราะหป์ ญั หา (diagnosis) และ การคาดการณ์ (prognosis) มีต้นกำ� เนดิ มาจากภาษากรีกคือ DIA แปลว่า “แยก, ข้าม” และค�ำว่า PRO แปลวา่ “ก่อนหนา้ ” รวมกบั ค�ำว่า GNOSIS ซ่ึงแปลวา่ “ร”ู้ เป้าหมายสำ� คัญของ ESD คอื การรวบรวมความรู้เกย่ี วกับระบบการศึกษาท้งั ในระบบ และนอกระบบของประเทศให้ไดม้ ากที่สุด จากระดบั ปฐมวัย (pre-school) ไปจนถงึ อุดมศึกษา การวิเคราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาทดี่ ตี อ้ งตคี วามแนวโนม้ และพยายามระบปุ ญั หา และขอ้ จำ� กดั สำ� คญั ทมี่ ผี ลตอ่ การพฒั นาการศกึ ษาการวิเคราะห์ปญั หาสาขา (ESD) ประเมินสถานะของระบบการศึกษาในด้านทสี่ ำ� คญั 8 ด้าน คือ: • บรบิ ท (context) • การเขา้ ถงึ (access) • ความเปน็ ธรรม (equity) • ประสทิ ธิภาพภายใน (internal efficiency) • คุณภาพ (quality) • ประสิทธภิ าพภายนอก (external efficiency) • ต้นทุน และการเงนิ (costs and financing) • การบรหิ ารจดั การ (management) 6

การวเิ คราะหน์ โยบายและการปฏริ ปู การศกึ ษาทเี่ พง่ิ เกดิ ขน้ึ เปน็ สว่ นสำ� คญั ของ ESD เพราะทำ� ใหส้ ามารถ1) ตดั สนิ ไดว้ า่ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ นโยบายสอดคลอ้ งกนั หรอื ไม่ และประเมนิ ไดว้ า่ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ นโยบายดงั กลา่ วสมั พันธก์ ับสถานการณ์ทางสงั คม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมืองของประเทศหรอื ไม่ และ 2) ประเมนิ ได้วา่ ระบบการศึกษาบรรลวุ ัตถุประสงค์ในระดบั ใด และมปี ระสทิ ธิภาพเพียงไร อยา่ งไรก็ตาม การวเิ คราะห์ และการกำ� หนดกลยทุ ธ์มไิ ด้เป็นเพยี งการด�ำเนนิ การทางวิชาการ หากแต่เป็น กระบวนการทางสงั คมและการเมืองท่ีละเอียดออ่ น ซึ่งควรปูทางไปสกู่ ารเปลีย่ นแปลงและการปฏริ ูปที่สำ� คญั1.2 หลักเหตผุ ล และบริบทของการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษา (Why undertakean Education Sector Diagnosis? Rationale and context) ส�ำหรับค�ำถามว่า เม่ือไรจึงควรต้องพยายามวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์แบบเบ็ดเสร็จ มีค�ำตอบในสองระดับ คือ • ระดับทห่ี น่งึ การวเิ คราะห์ปญั หาสาขาการศกึ ษาทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในความเป็นจริง และความ ทา้ ทายทีร่ ะบบการศกึ ษาของประเทศกำ� ลงั เผชิญอยู่ได้ลกึ ซึง้ อย่างเป็นระบบ ความเข้าใจนจี้ ะเป็นพ้ืน ฐานของนโยบาย และแผนพฒั นาการศกึ ษา • ระดบั ทส่ี อง สถานการณเ์ ฉพาะ เชน่ ในบรบิ ททปี่ ระเทศประสบวกิ ฤตกิ ารณ์ (ทางการเงนิ หรอื อน่ื ๆ) มี การเปลย่ี นแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เพิ่งผ่านพน้ ความขัดแยง้ ฯลฯ มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งทบทวนสาขาการศกึ ษารอบด้าน และต้องสนทนาหารอื กันในระดบั ชาตถิ งึ กลยทุ ธใ์ หมเ่ พ่ือ พฒั นาการศกึ ษา ตงั้ แตท่ ศวรรษ 1960 สถานการณบ์ งั คบั ใหป้ ระเทศทกี่ ำ� ลงั พฒั นาหลายประเทศตอ้ งทบทวนและกำ� หนดนโยบายและกลยุทธ์การศึกษาข้ึนใหม่ ประเทศในกลุ่มนี้จ�ำนวนมากที่ได้รับความช่วยเหลือจากต่างประเทศเพอ่ื พัฒนาการศึกษา ต้องเสนอหลักเหตผุ ลส�ำหรบั การลงทุนในการศึกษา โดยตอ้ งมกี ารวิเคราะหถ์ ถ่ี ว้ น และเสนอกลยทุ ธเ์ บด็ เสร็จทส่ี อดคลอ้ งประสานกัน Runner (2004) ไดก้ ลา่ วไวว้ า่ “การวิเคราะหส์ าขา หรอื การด�ำเนินการอ่ืนแทนการวิเคราะห์นั้นเป็นการด�ำเนินการ จากโครงการพัฒนาย้อนขึ้นมาเสมอ” แม้ว่าบริบทและกรอบการด�ำเนินงานได้เปลีย่ นไปบา้ งแล้วในระยะหลังน้ี1.3 การเปล่ยี นแปลงของบรบิ ท และความตอ้ งการ (Recent changes in context andneeds) ความชว่ ยเหลอื เพอื่ พฒั นาการศกึ ษามกั มรี ปู แบบเปน็ โครงการตลอดมาจนถงึ ปลายทศวรรษ 1980 และตน้ ทศวรรษ 1990 ดงั นน้ั องคก์ รพหภุ าคหี ลายองคก์ ร เชน่ ธนาคารโลก, UNDP ฯลฯ และองคก์ รสนบั สนนุ เงนิทนุ ทวภิ าคจี งึ กำ� หนดเงอ่ื นไขเบอื้ งตน้ ใหป้ ระเทศทต่ี อ้ งการเสนอโครงการเพอ่ื ขอความชว่ ยเหลอื ตอ้ งวเิ คราะห์ปัญหาสาขาการศกึ ษาด้วย การวเิ คราะห์เชน่ นีเ้ ปน็ ท่ีร้จู กั กันในสมยั นน้ั วา่ “การวเิ คราะห์บรบิ ท” (contextanalysis) หรอื “การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม” (environmental analysis) ดว้ ยเหตนุ ี้ แนวทางแบบโครงการ(project approach) จงึ ค่อย ๆ เปลีย่ นเปน็ แนวทางแบบสาขา (sector approach) 7

1.3.1 การเปล่ียนแนวทางจากโครงการเปน็ สาขา (Shift from the “project approach” to the“sector approach”) แนวทางแบบสาขาสะทอ้ นถงึ ความตระหนกั ในขอ้ จำ� กดั ของการใชโ้ ครงการเขา้ แกป้ ญั หาเพยี งบางสว่ น(partial intervention) เพราะว่าโครงการมกั เน้นเฉพาะดา้ น (เชน่ การอบรมครู หรือ หนงั สือเรยี น) และมีระยะเวลาดำ� เนนิ งานสนั้ เช่น 2-4 ปี ดงั น้ัน แนวทางแบบสาขาจึงมเี ปา้ ประสงค์ทจี่ ะมองปญั หาของการศกึ ษาทง้ั สาขา (หรอื เฉพาะการศกึ ษาบางประเภท เชน่ อาชีวศึกษา) ให้รอบดา้ น และหาแนวทางแก้ปญั หาในกรอบของแผนพัฒนาการศึกษาระยะเวลา 5-10 ปี แนวทางแบบโครงการถอื ว่าระบบการศึกษาเปน็ ส่วนหนงึ่ ของ “บริบท” แตเ่ มอ่ื ใชแ้ นวทางแบบสาขาแลว้ ระบบการศึกษากลายเป็นหวั ข้อการศกึ ษาหาความจรงิ (investigation) แยกต่างหากหน่งึ หัวข้อ ท�ำให้กรอบการด�ำเนนิ งานในหลายประเทศเปลย่ี นไปมาก เนือ่ งจากการพฒั นาการศึกษาต้องใชก้ ารตดั สนิ ใจรว่ มกนั ของผมู้ ีบทบาทจ�ำนวนมาก จึงต้องรบี จดั การใหแ้ นวทางการวิเคราะห์ปัญหา และการด�ำเนนิ การในภายหลัง (เช่น แผนลงทนุ แผนปฏิบตั ิการ ฯลฯ) มีมุมมองทคี่ รอบคลมุ และสอดคลอ้ งกนั โดยดว่ น การออกแบบและการปฏบิ ตั ติ ามนโยบายการศกึ ษาทส่ี อดสมั พนั ธ์กนั นนั้ ซบั ซอ้ นมากในประเทศทม่ี ที งั้ องคก์ รใหค้ วามรว่ มมอื เพอ่ื การพฒั นา และผมู้ บี ทบาทภายในประเทศทมี่ กัมีอทิ ธิพลเป็นจำ� นวนมาก (ภาคเอกชน หน่วยงานบรหิ ารส่วนทอ้ งถิ่น องคก์ ารเอกชนไมแ่ สวงหาก�ำไร ฯลฯ)(Runner, 2004) ดังนั้น การสร้างทง้ั กลไก และกระบวนการประสานงานใหเ้ พยี งพอต่อการสมานการลงทุนเพื่อการศกึ ษาของฝ่ายต่าง ๆ ให้เปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั จงึ เปน็ สิ่งท่ีหลีกเลย่ี งไมไ่ ด้ การด�ำเนินการเพ่ือสาขาการศึกษาตลอดเวลา 10-15 ปีท่ีผ่านมานี้ ได้ใช้เป็นแนวทางการพัฒนาการศึกษาแบบบรู ณาการ (Sector-Wide Approach - SWAp) อยู่เนือง ๆ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ได้นยิ ามแนวทางการพฒั นาการศึกษาแบบบรู ณาการไวบ้ า้ งแลว้ แตใ่ นทน่ี ีจ้ ะใช้คำ� จ�ำกดั ความดังนี้ แนวทางการพฒั นาการศกึ ษาแบบบรู ณาการ (Sector-Wide Approach - SWAp) คอื การทท่ี กุ ภาค ส่วนท่ีเกีย่ วข้องใชเ้ งนิ อดุ หนนุ ส่วนใหญท่ ี่สาขาการศกึ ษาไดร้ บั สนบั สนนุ แผนงานการดำ� เนินนโยบาย และ การใชง้ บประมาณแบบบรู ณาการ โดยใชแ้ นวทางเดยี วกนั ภายใตก้ ารนำ� ของรฐั บาล และอาศยั กระบวนการ เบกิ จ่ายและท�ำบัญชขี องรัฐบาล (Foster, 2000) ตามความหมายกวา้ งแบบเดมิ นนั้ การวเิ คราะหก์ ารพฒั นาการศกึ ษาทใ่ี ช้ “แนวทางการพฒั นาการศกึ ษาแบบบรู ณาการ” ควรระบแุ นวโนม้ และทำ� นายการพฒั นาในอนาคตของสาขา และของสาขายอ่ ย (sub-sector) ตา่ ง ๆ(ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา อดุ มศึกษา การศึกษาผใู้ หญ่ และอน่ื ๆ) เพอ่ื ท่ีจะไดเ้ ขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหว่างสาขายอ่ ยต่าง ๆ ไดด้ ียงิ่ ขน้ึ และเพอื่ กำ� หนดกลยทุ ธก์ ารจัดสรรทรพั ยากรให้ชดั เจนและเป็นเหตเุ ป็นผลกนั ในทางปฏิบัติ บางครั้งมีการใช้ SWAp เป็นข้ออ้างเม่ือต้องตัดสินใจเร่ืองกลยุทธ์ และแผนงาน(programme) ของสาขาย่อย เช่น ประถมศึกษา หรือมัธยมศึกษา ซ่ึงควรต้องออกแบบให้สัมพันธ์และสอดคล้องกับกรอบใหญ่ของสาขาการศกึ ษา หลงั จากการประชมุ World Education Forum ทกี่ รงุ ดาการ์ เมื่อ ค.ศ. 2000 ประเทศท่ีก�ำลงั พัฒนาหลายประเทศได้จัดทำ� แผนระดบั ชาตดิ ้านการศกึ ษาเพ่อื ปวงชน ซ่ึงถือวา่ เป็นตวั อย่างของแผนสาขายอ่ ยทีใ่ ช้แนวทางของ SWAp 8

SWAp ประกอบดว้ ย แผนสาขาการศกึ ษา งบประมาณ และแผนการนำ� แผนน้ันไปสกู่ ารปฏบิ ัติ แผนสาขาการศึกษา (ESP) ทีใ่ ช้ SWAp น้ันจะตอ้ งปรบั ระบบการเงินให้เหมือนกันทงั้ สาขา และโดยปกติจะตอ้ งมีกรอบวงเงนิ งบประมาณระยะปานกลาง (Medium-Term Expenditure Frameworks - MTEF) ทเ่ี ชอ่ื มการวางแผนกบั การจดั สรรทรพั ยากรจากแผนระยะยาวกวา่ MTEF เปน็ กรอบรายจา่ ยภาครฐั แบบทปี่ รบั เปลยี่ นได้(rolling horizon) โดยกำ� หนดความตอ้ งการงบประมาณในระยะ 3-5 ปขี ้างหน้าสำ� หรบั บรกิ ารภาครัฐ เพอื่ใหก้ ารใช้จา่ ยของสาขาต่าง ๆ สอดคลอ้ งกันมากข้ึน และเพอื่ ให้เป้าหมาย การลงทุน และผลทีเ่ กิดขน้ึ จริงในการพัฒนาการศึกษาเชื่อมโยงกันมากขึ้น ท้ังน้ีองค์กรผู้บริจาคจะพิจารณาให้ความช่วยเหลือต่อเมื่อรัฐบาลมีMTEF ใช้ รฐั บาลในหลายประเทศมกั มอบหมายใหห้ นว่ ยงานกลางหนว่ ยใดหนว่ ยหนงึ่ เชน่ กระทรวงการคลงั คณะกรรมาธิการการวางแผน ฯลฯ ท�ำหน้าท่ีดแู ลให้แผนงาน และการดำ� เนนิ การเพือ่ พฒั นาการศกึ ษาสอดคลอ้ งและสัมพันธ์กัน ท้ังทางด้านการเงิน และอ่ืน ๆ แผนงานสาขาการศึกษาของประเทศอูกานดาเป็นตัวอย่างแรก ๆ ของแนวทางการพฒั นาขา้ มสาขา (multi-sectoral approach) ทไี่ มอ่ ยใู่ นความควบคมุ ของกระทรวงศึกษาธิการ1.3.2 แนวทางการพฒั นาการศึกษาแบบบูรณาการ ภายใตก้ รอบกลยทุ ธค์ วามรว่ มมอื ระหวา่ งสาขา(The Sector-Wide Approach to educational development within the framework ofinter-sector strategies) การพัฒนาการศกึ ษาไดเ้ ปล่ยี นมาใช้วิธีดำ� เนินการร่วมกบั สาขาอ่ืน ๆ (inter-sector approach) มากขึ้น เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDG) ตามท่ีองค์การสหประชาชาติประกาศไว้เม่ือเดือนกันยายนค.ศ. 2000 จดั ให้การศึกษาเปน็ วตั ถปุ ระสงคเ์ รง่ ดว่ นประการหนง่ึ เพื่อการพฒั นา โดยเฉพาะการศึกษาระดับประถมศึกษาอย่างทัว่ ถงึ ทุกคน (ดหู น่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1) ตามท่ีได้อธิบายไว้ในหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แล้วว่าธนาคารโลกได้ประกาศว่าวัตถุประสงค์เร่งด่วนในการพัฒนา คือการขจัดความยากจน การลดความไม่เท่าเทียมกัน และการเพ่ิมโอกาสทางสังคมและเศรษฐกิจในประเทศท่ีมีรายได้ต่�ำ และปานกลาง อีกท้ังยังเริ่มส่งเสริมให้ใช้กรอบการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ(Comprehensive Development Framework - CDF) ทเ่ี นน้ การพงึ่ พากนั ระหวา่ งมติ ติ า่ ง ๆ ของการพฒั นาคือทางสังคม โครงสรา้ ง การก�ำกบั ดูแล (governance) เศรษฐกจิ และการเงิน (Wolfensohn& Fischer,2000; World Bank, 2004) 9

การวเิ คราะหส์ าขา และกลยทุ ธก์ ารลดความยากจน (Sector diagnosis and poverty reduction strategies) รัฐมนตรีท่ีเข้าร่วมประชุมประจ�ำปีของธนาคารโลกเมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1999 ได้ลงมติให้ ธนาคารโลกพจิ ารณาใหเ้ งนิ กทู้ มี่ เี งอื่ นไขผอ่ นปรน จากกองทนุ เพอื่ ประเทศทยี่ ากจนและเปน็ หนม้ี าก (Highly Indebted Poor Countries - HIPC) โดยยดึ กลยทุ ธ์การลดความยากจนของประเทศทีข่ อความช่วยเหลือ เปน็ หลกั องคก์ รทวิภาคอี ืน่ ๆ ทใี่ หเ้ งินช่วยเหลือใช้เง่ือนไขเดยี วกันนี้ด้วย ทง้ั น้ี รฐั บาลทตี่ อ้ งการกเู้ งนิ ตอ้ งใหภ้ าคประชาชนมสี ว่ นรว่ มกำ� หนดกลยทุ ธก์ ารลดความยากจน เพอ่ื ใหม้ น่ั ใจไดว้ า่ ยุทธศาสตรก์ ารตอ่ ต้านความยากจนของรัฐบาลน้ันเป็นเหตเุ ปน็ ผลสอดคลอ้ งกนั ตวั อยา่ งเชน่ ในการทจี่ ะไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื ตามแผนงานสนบั สนนุ การลดความยากจนนนั้ รฐั บาล ประเทศอกู านดาต้องรับขอ้ ผูกมัดทางการเงนิ ว่า 1. จะคงงบประมาณเพื่อการศึกษาไว้ที่ 31% เป็นอย่างต่ำ� และ 2. การประถมศกึ ษาตอ้ งไดง้ บประมาณอยา่ งน้อยเท่ากบั 65% ของงบประมาณการศึกษาทง้ั หมด แนวโน้มเหล่าน้ีและกรอบการให้ความช่วยเหลือจากต่างประเทศเพ่ือการศึกษา สนับสนุนให้รัฐบาลกำ� หนดแนวทางและวางแผนพฒั นาการศกึ ษาทงั้ สาขา และบรู ณาการแผนดงั กลา่ วเขา้ กบั แผนพฒั นาประเทศระยะปานกลางและระยะยาว พร้อมทง้ั ให้ความส�ำคญั เปน็ พิเศษกบั การลดความยากจน การวเิ คราะห์ปญั หาสาขาการศกึ ษานน้ั ไมว่ า่ โดยรวมหรอื แตล่ ะสาขายอ่ ยโดยเฉพาะในสว่ นทเ่ี นน้ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จงึ เปน็ แกน่ของการเตรยี มเอกสารยทุ ธศาสตร์ต่าง ๆ ดงั กล่าว 10

คำ� ถามท้ายบท จงคดิ ไตรต่ รองตอบคำ� ถามดงั ตอ่ ไปนด้ี ว้ ยตนเอง และเขยี นคำ� ตอบลงในชอ่ งวา่ งเพอื่ ใชใ้ นการอภปิ รายกลมุ่ ตอ่ ไป 1. ในชว่ งเวลา 5 ปที ผี่ า่ นมานนั้ การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาในประเทศของทา่ นมวี ตั ถปุ ระสงค์ อยา่ งไร และใชเ้ รอื่ งใดเปน็ กรอบการวเิ คราะห์ เชน่ การศกึ ษาเพอื่ ปวงชน แผนการลดความยากจน แผนพฒั นาการศกึ ษาระยะปานกลาง และระยะยาว ฯลฯ 2. การทบทวนเอกสารตอ่ ไปนีไ้ ดใ้ ชร้ ายงานการวเิ คราะห์ปัญหาสาขาการศกึ ษาฉบับตา่ ง ๆ เป็นพน้ื ฐานมากนอ้ ยเพียงใด และจ�ำเปน็ เพยี งไรท่จี ะตอ้ งมกี ารสร้างข้อมลู ใหม่เพอ่ื การน้ี ก) แผนการศึกษาเพื่อปวงชน ข) เอกสารเสนอโครงการเร่งรัดการศกึ ษาเพอื่ ปวงชน และ ค) แผน/ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาระยะปานกลางและระยะยาวของรฐั บาล 11

ตอนท่ี 2 ผูม้ บี ทบาท และรูปแบบการมสี ว่ นร่วม (Actors and participation models)2.1 ผมู้ ีบทบาทหลกั (Main actors) การศึกษาของเดก็ วัยรุ่น และผใู้ หญ่ ไม่ว่าในประเทศใด เปน็ ประเดน็ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั ประชากรเกอื บทกุกลุ่ม และองค์กรต่าง ๆ มากมายดังต่อไปน้ี คือ: • นกั เรยี นและพอ่ -แม่ ผ้ปู กครอง • ครู (รวมถงึ สหภาพครู) • ผู้จ้างงาน (และกลุ่มท่มี ผี ลประโยชนร์ ว่ มกนั กลุม่ อื่น ๆ) • ข้าราชการการเมอื ง • กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงา่ นอ่ืน ๆ ท่ีรับผดิ ชอบการน�ำนโยบายการศึกษาไปปฏิบัติ • กระทรวงอืน่ ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกับการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ • องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ • องคก์ รระดับชาติ และต่างประเทศทใ่ี หค้ วามสนบั สนุนทางการเงิน ผ้มู ีบทบาทลว้ นแล้วแต่ตระหนกั ถงึ ความสำ� คัญของวตั ถปุ ระสงคท์ ัว่ ไป และเปา้ ประสงค์ของระบบการศกึ ษา (เชน่ ให้การศึกษาท่มี คี ณุ ภาพตามความต้องการของประเทศ) แตอ่ าจมีข้อกงั วล หรือความสนใจเกยี่ วกบั การศึกษาต่างกัน (เช่น พอ่ -แมผ่ ้ปู กครอง และผ้จู า้ งงาน อาจเหน็ ไมต่ รงกนั ว่าการศึกษาท่มี คี ุณภาพสูงควรเป็นอย่างไร) เอกสารการกำ� หนดกลยทุ ธส์ าขาการศกึ ษา และการเตรยี มการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาซง่ึ ถอื วา่เปน็ ขนั้ ตอนพน้ื ฐานในกระบวนการนี้ บางฉบบั แยกแยะผมู้ บี ทบาทหลกั ออกเปน็ สองกลมุ่ กลมุ่ หนง่ึ คอื ผู้ “ตดั สนิใจ และการตดั สนิ ใจนน้ั มผี ลตอ่ การศกี ษาทงั้ หมด หรอื บางสว่ น” (เชน่ ผกู้ ำ� หนดนโยบาย องคก์ รความรว่ มมอืหรอื สนบั สนนุ เงนิ ทนุ ) และอกี กลมุ่ หนง่ึ คอื ผทู้ ่ี “ไดร้ บั ผลโดยตรงจากการตดั สนิ ใจนน้ั ” (เชน่ นกั เรยี น พอ่ -แม่ ผู้ปกครอง ครอู าจารย์ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ผจู้ า้ งงาน ฯลฯ) แนวทางการพฒั นาการศกึ ษาแบบบรู ณาการ(SWAp) ในปจั จบุ นั นสี้ นบั สนนุ ใหก้ ลมุ่ ผลประโยชนส์ ำ� คญั ๆ ผมู้ บี ทบาททางสงั คม และแมแ้ ตฝ่ า่ ยทไ่ี มไ่ ดเ้ กาะกลมุ่กนั เปน็ ทางการในภาคประชาสงั คมไดร้ ว่ มประชมุ กนั ในระดบั ชาติ เพอื่ ใหท้ กุ ฝา่ ยไดส้ นทนาหารอื กนั ปจั จบุ นั น้ี ถอื กนั วา่ รฐั บาลทสี่ นบั สนนุ ประชาธปิ ไตยตอ้ งปรกึ ษาหารอื กบั ประชากรทกุ กลมุ่ ทกุ ระดบั เพอ่ืทท่ี กุ ภาคสว่ นจะไดส้ นบั สนนุ การใชก้ ลยทุ ธใ์ หม่ ๆ สำ� หรบั สาขาการศกึ ษา แมฝ้ า่ ยตา่ ง ๆ จะเหน็ ความสำ� คญั ของการปรกึ ษาหารอื ทางสงั คมในวงกวา้ งในฐานะทเี่ ปน็ พนื้ ฐานของการวางแผนงานหรอื แผนสาขาการศกึ ษา แตค่ วรพจิ ารณาวา่ การทใี่ หผ้ มู้ บี ทบาทและองคก์ ารตา่ ง ๆ มากมายมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการวางแผนและดำ� เนนิ การวเิ คราะหน์ น้ั มขี อ้ ดขี อ้ เสยี ในทางปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร การทค่ี ณะกรรมการอำ� นวยการและคณะทำ� งานประกอบดว้ ยตวั แทนจากองคก์ รจำ� นวนมากเกนิ ไปจนเปน็ คณะใหญย่ อ่ มจะไมม่ คี วามคลอ่ งตวั ตอ้ งใชเ้ วลายาวนานขนึ้ ในการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาจนสำ� เรจ็ เรยี บรอ้ ย ทำ� ใหก้ ารลงมตริ บั และการดำ� เนนิ การตามแผนยทุ ธศาสตร์และแผนงานจะลา่ ชา้ ตามไปดว้ ย 12

ตารางที่ 1 ตวั อยา่ งผู้มีบทบาทและองค์กรที่ร่วมวิเคราะหป์ ญั หาสาขาการศึกษาองคก์ รท่มี ีส่วนรว่ มในการ องคก์ รสนบั สนนุ เงนิ ทนุ “ลูกค้า” องคก์ รควบคมุ ดแู ลออกแบบและดำ� เนินแผน ภาคประชาสงั คมและแผนงาน*กระทรวงศกึ ษาธกิ าร * องค์กรผู้ใหเ้ งนิ * นักเรียน นกั ศกึ ษา * คณะกรรมาธกิ าร- ก่อนประถมศึกษา สนับสนุนแบบทวภิ าคี * พอ่ -แม่ ผปู้ กครอง ระหว่างกระทรวง- ประถมศกึ ษา - DFID * ครูอาจารย์ (การปฏริ ูปภาคสงั คม- มธั ยมศึกษา - JICA * ผูน้ �ำชุมชน การกระจายอำ� นาจ)- อาชวี ศึกษา - USAID * ผูน้ �ำทางศาสนา * กระทรวงการคลัง- อุดมศึกษา - SIDA * มหาวทิ ยาลัย * กระทรวงการ- การศึกษานอกโรงเรยี น/ * ธนาคารเพ่อื การ สถาบันวจิ ยั และ วางแผนการรูห้ นงั สอื /การศกึ ษาตอ่ พฒั นา สถาบนั การศึกษา * กระทรวงเนือ่ ง - ธนาคารโลก อนื่ ๆ ศึกษาธกิ าร- การบรหิ าร - ธนาคารเพ่ือการ * กลุ่มผดู้ ้อยโอกาส - กองแผนงาน- การวางแผน การเงิน พัฒนาเอเซีย ชนกลมุ่ น้อย - ส�ำนักผูต้ รวจ- บคุ ลากร * องคก์ ารระหว่าง * สมาคมและชมรมใน ราชการ* การวจิ ยั และพฒั นา ประเทศ ทอ้ งถ่ิน- มหาวทิ ยาลัย - UNESCO- สถาบนั - ILO, FAO* ครอู าจารย์/สหภาพ - UNDP* องค์การเอกชนไม่ - UNICEFแสวงหากำ� ไร ฯลฯ* งานด้านสตรี * องคก์ ารเอกชนไม่* เยาวชน แสวงหาก�ำไร และ* กระทรวงอตุ สาหกรรม มูลนธิ ิ(อาชวี ศึกษา)ที่มา: ผังการวเิ คราะห์ปญั หาสาขาการศกึ ษาและทรัพยากรมนษุ ย์ จากเอกสารประชมุ UNESCO/PSA, 1992 ในทางปฏบิ ตั นิ น้ั กอ่ นเรม่ิ การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษา หนว่ ยงานหลกั (เชน่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร)จะตอ้ งตดั สนิ ใจคดั เลอื กองคก์ ร และบคุ คลผสู้ มควรเปน็ ตวั แทนภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในกระบวนการนี้ และกำ� หนดองคป์ ระกอบของคณะกรรมการต่าง ๆ ด้วย 13

2.2 แนวทางการวิเคราะหป์ ัญหา (Organizational approaches in the “technical”phase of the ESA/ESD) การจัดส่วนท่ีเป็น “วิชาการ” ของการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษา เช่น การวิเคราะห์ปัญหา(diagnostic) และการคาดการณ์ (prognostic) ไม่มกี ฏเกณฑท์ ี่แนน่ อน การศกึ ษาเรอ่ื งตา่ ง ๆ ใชเ้ วลา และระดับการมีสว่ นรว่ มตา่ งกนั แนวคดิ ต่างข้วั กันดังทีจ่ ะอธบิ ายตอ่ ไปน้จี ะช่วยใหเ้ ขา้ ใจความแตกตา่ งดงั กล่าวได้ดขี นึ้2.2.1 แนวทางการวเิ คราะห์ปญั หาแบบมหภาค (The top-down approach) องคก์ รทใี่ หเ้ งนิ สนบั สนนุ หรอื องคก์ รใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตา่ งประเทศอาจรเิ รมิ่ การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษา หรอื รว่ มมอื กบั หนว่ ยงานทมี่ อี ำ� นาจตดั สนิ ใจดำ� เนนิ การดงั กลา่ ว องคก์ รเหลา่ นจี้ า้ งคณะผเู้ ชยี่ วชาญตา่ งประเทศระดบั สงู มาดำ� เนนิ การวเิ คราะหป์ ญั หาจนเสรจ็ สน้ิ ดว้ ยแนวทางแบบมหภาค ซง่ึ ปจั จบุ นั นใ้ี ชน้ อ้ ยลงยกเว้นในกรณีฉุกเฉินท่ีต้องประเมินสถานการณ์ และต้องก�ำหนดกลยุทธ์และโครงการที่เหมาะสมเพื่อสาขาการศึกษาเป็นการด่วน ขั้นตอนของแนวทางแบบมหภาคนั้น เร่ิมดว้ ยการระบุองค์ประกอบของคณะทป่ี รึกษา การคัดเลือกที่ปรกึ ษา การอนมุ ตั ขิ อบเขตหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ จากนนั้ จงึ เรม่ิ รวบรวมขอ้ มลู พนื้ ฐาน ซง่ึ เปน็ การเตรยี มงานสนบั สนนุ การทำ� งานภาคสนามครง้ั แรก (ซ่ึงอาจเป็นคร้ังเดยี ว) ของผเู้ ช่ียวชาญ คณะทีป่ รึกษา 5-6 คน จะใชเ้ วลาประมาณ 4-6 สปั ดาห์ วเิ คราะห์สถานการณ์เชิงลกึ ในประเทศเป้าหมาย โดยเรม่ิ ดว้ ยการพบปะซกั ถามบรรดารฐั มนตรแี ละขา้ ราชการ เพอื่ ระบปุ ญั หาสำ� คญั สำ� หรบั การกำ� หนดแนวทางการวจิ ยั ตอ่ ไป เมอื่ ไดข้ อ้ มลู เบอื้ งตน้ แลว้ คณะทปี่ รกึ ษาจะลงพน้ื ทเ่ี กบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทว่ั ประเทศ โดยจะพบกบั สถาบนั การศึกษาหลายแห่ง ภาคธรุ กิจ หนว่ ยงานรฐั บาลระดบั ท้องถ่ิน หรือระดบั ภาค สมั ภาษณ์ขา้ ราชการ ตรวจโรงเรียน พูดคยุ กบั ครู พอ่ -แม่ ผ้ปู กครอง และผู้จ้างงาน หลงั จากน้ันทป่ี รึกษาจะใชเ้ วลาท่ีเหลืออยู่สัมภาษณ์เจ้าหน้าท่ีผู้เกี่ยวข้องเพื่อยืนยันข้อมูลที่ได้มา และหาข้อมูลเพ่ิมเติมเพ่ือท่ีจะได้ค�ำนวณหาตัวชี้วัด และปอ้ นขอ้ มลู ทงั้ หมดเขา้ คอมพิวเตอร์ สร้างตาราง และกราฟต่าง ๆ เมอ่ื ทำ� งานจบขนั้ ตอนนแ้ี ลว้ คณะทป่ี รกึ ษาจะเดนิ ทางกลบั ไปยงั สำ� นกั งานใหญข่ ององคก์ ร ฯ เพอ่ื เตรยี มรา่ งรายงาน ซง่ึ จะเนน้ ปญั หาทสี่ ำ� คญั เสนอรา่ งนโยบายทจี่ ะใชแ้ กป้ ญั หา และตรวจขอ้ เสนอจากฝา่ ยตา่ ง ๆ ให้เรยี บร้อย อกี ประมาณสองเดือนตอ่ มา รฐั บาลของประเทศเป้าหมายจะไดร้ ับรายงานทก่ี ระจ่าง ชดั เจน ตรงไปตรงมาซึง่ สะทอ้ นถงึ ความเขา้ ใจในปญั หาต่าง ๆ และมขี อ้ เสนอทโี่ น้มน้าว พรอ้ มกบั คำ� ขอความคิดเห็นของรฐั บาล และขอใหร้ ฐั บาลอนมุ ตั ใิ หอ้ งคก์ รเผยแพรร่ ายงานนน้ั ได้ โดยปกตแิ ลว้ ภาษาทใี่ ชใ้ นรายงานเปน็ ภาษาที่ชมุ ชนระหวา่ งประเทศเขา้ ใจไดง้ า่ ย องคก์ รทใ่ี หเ้ งนิ สนบั สนนุ มกั ใชร้ ายงานนพ้ี ฒั นาโครงการทเ่ี กย่ี วขอ้ งสำ� หรบัความร่วมมอื กบั ประเทศน้ัน ๆ ต่อไป บางองคก์ รเหน็ วา่ การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาแบบนที้ ำ� ไดร้ วดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ แตท่ จ่ี รงิมปี ญั หาอยหู่ ลายประการ เชน่ เจา้ หนา้ ทร่ี ฐั มบี ทบาทเพยี งจำ� กดั คอื สนบั สนนุ คณะทปี่ รกึ ษาชาวตา่ งประเทศชว่ ยเหลอื รวบรวมข้อมลู และด�ำเนนิ การดา้ นธุรการตา่ ง ๆ มเี พยี งผู้ใหญ่ และผู้มีอำ� นาจตดั สนิ ใจไม่ก่ีคนทีไ่ ด้ร่วมสนทนานโยบายกบั คณะทีป่ รกึ ษา 14

2.2.2 แนวทางการวเิ คราะห์ปญั หาแบบมสี ว่ นรว่ ม (Participatory approaches) ตามแนวทางท่ีตรงกันข้ามกับแบบแรกนี้ รฐั บาลเป็นผู้นำ� กระบวนการ และใชผ้ ู้มบี ทบาทต่าง ๆ หลายกลมุ่ ทงั้ ในประเทศและจากตา่ งประเทศ แนวทางการมสี ว่ นรว่ มนไ้ี ดร้ บั ความสนใจเพม่ิ ขน้ึ ในชว่ งทศวรรษทผี่ า่ นมา อนั เน่ืองมาจากกระบวนการพฒั นาประชาธปิ ไตยทางการเมอื งในหลายประเทศ ในขณะเดียวกนั กเ็ ปน็ ที่ยอมรบั ในวงกวา้ งขน้ึ วา่ การนำ� นโยบายและโครงการใหมท่ างการศกึ ษาไปสกู่ ารปฏบิ ตั นิ น้ั ตอ้ งอาศยั การหารอืกบั ผูม้ ีบทบาททางสงั คมทีเ่ ก่ียวขอ้ ง การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาแบบ “มสี ว่ นรว่ ม” ตอ้ งใชผ้ มู้ บี ทบาทจำ� นวนมาก ใชเ้ วลานาน และมรี ายจ่ายสงู คอื • ต้องมบี คุ ลากรภายในประเทศท่มี คี ุณสมบตั ิเหมาะสมท�ำงานและมีส่วนร่วมติดต่อกนั ประมาณ 2 ปี • ต้องต้งั กลุ่มทำ� งานจากหลายสาขาวชิ า และหลายกระทรวงเพอื่ ด�ำเนนิ การศกึ ษาภาคสนาม • ตอ้ งจัดทำ� เอกสารวจิ ยั และ/หรือ การศึกษาทางวชิ าการจำ� นวนมาก • ต้องจัดสัมมนาหลายครง้ั • ตอ้ งปรึกษาหารือกบั เจ้าหน้าทขี่ องรัฐบาลหลายระดบั เช่น ระดบั ภาค ระดับอำ� เภอ ระดับโรงเรียน • ตอ้ งเจรจากับฝา่ ยข้าราชการการเมอื งหลายคร้งั • ตอ้ งหารือกับ ครู พ่อ-แมแ่ ละผ้ปู กครอง และผนู้ ำ� ชุมชน ฯลฯ บรรดาทป่ี รกึ ษาจากภายนอก (ความชว่ ยเหลอื ทางวชิ าการ) อาจตอ้ งใชเ้ วลาทำ� งานมากกวา่ ตามแนวทางแบบมหภาค ท้งั น้เี พราะมีหนา้ ทีส่ �ำคัญซ่งึ ไมใ่ ช่การเขียนรายงาน หากแต่เปน็ การให้ความรู้แก่เจา้ หน้าท่ี และบุคลากรฝ่ายวชิ าการของประเทศ และกระตนุ้ ให้มีข้อเสนอแนะแปลกใหม่ ในแงว่ ชิ าการนนั้ ถงึ แมว้ า่ วธิ นี อ้ี าจดเู หมอื นมผี ลไมใ่ ครต่ า่ งจากวธิ แี รกนกั แตก่ ารมสี ว่ นรว่ มมขี อ้ ดหี ลายประการ คือมกั จะก่อใหเ้ กดิ กลยทุ ธก์ ารพฒั นาใหม่ บนพนื้ ฐานของความต้องการตามความรับรู้ (perceivedneeds) ของฝา่ ยทีเ่ ก่ียวข้อง เนือ่ งจากมีข้าราชการจ�ำนวนมากมีสว่ นร่วมในกระบวนการนี้ พร้อมทั้งมีโอกาสได้เพ่ิมและฝึกทักษะในสาขาของตน การมีส่วนร่วมจึงเป็นสร้างเสริมขีดความสามารถของประเทศในการวิเคราะห์และด�ำเนินนโยบายสาขาการศึกษา กว่ากระบวนการน้ีจะส้ินสุด ผู้เก่ียวข้องทั้งหลายย่อมได้แสดงความคิดเหน็ และเชอ่ื ในคณุ ค่าของขอ้ เสนอทีต่ นไดช้ ่วยเตรียมขน้ึ ในระหว่างกระบวนการนี้ ผ้มู สี ่วนร่วมน่าจะคนุ้ เคยกันมากขึน้ และจะไม่ลงั เลทีจ่ ะหารอื กันอีกในระหวา่ งการด�ำเนินแผนงานและโครงการตา่ ง ๆ หลังจากน้ัน2.2.3 แนวทางการวิเคราะห์ปญั หาแบบผสม (Intermediate approaches) ในความเป็นจริงแล้ว การวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษาใช้แนวทางผสมระหว่างสองแนวทางที่ระบุไว้ขา้ งตน้ มากขน้ึ เร่อื ย ๆ ผลจากการศึกษาแสดงวา่ ทั้งผเู้ ชี่ยวชาญในประเทศ และผ้เู ชี่ยวชาญต่างประเทศใช้แนวทางแบบผสมนำ� ผเู้ กยี่ วขอ้ งเขา้ มามสี ว่ นรว่ มและใหค้ ำ� ปรกึ ษา ทงั้ ยงั ไดจ้ ดั การฝกึ อบรมทงั้ ในพนื้ ทแี่ ละตา่ งประเทศ และเปิดโอกาสให้มกี ารพัฒนาศกั ยภาพของประเทศด้วย 15

การจัดกระบวนการมสี ว่ นร่วมตามกรอบการศึกษาเพือ่ ปวงชน (Organization of the participatoryprocess in the framework of EFA) “วิธีการจัด ‘กระบวนการมีส่วนร่วม’ ข้ึนอยู่กับจารีตทางการเมือง โครงสร้างทางกฎหมายและ องคก์ รของแตล่ ะประเทศ หลายประเทศใหห้ นว่ ยงานสว่ นกลางดำ� เนนิ กระบวนการวางแผน โดยใชแ้ นวทาง ทเี่ ปน็ วชิ าการ (technocratic approaches) กระทรวงศกึ ษาธิการควรตอ้ งใหส้ ่วนราชการกลาง และผมู้ ี ส่วนเก่ียวขอ้ งอ่นื ๆ ไดร้ ่วมเตรียมแผนการศึกษาเพ่อื ปวงชน ให้มเี ค้าโครงทีส่ ัมพันธก์ ับเอกสาร EFA ท่สี ่วน ราชการเหล่าน้ันได้ผลิตข้ึน การเตรียมแผน EFA ควรใช้ข้อมูลจากการหารือล่วงหน้ากับส่วนราชการดัง กล่าวดว้ ย เค้าโครงแผนนจ้ี ะใช้อ้างอิงสำ� หรบั การสนทนากบั ผู้มบี ทบาท และกล่มุ ผลประโยชน์กลุ่มอนื่ ๆ ในอนาคตดว้ ย ในระหวา่ งการนำ� แผนไปสกู่ ารปฏบิ ตั นิ นั้ การใชก้ รอบกลางเพอื่ การวางแผนระหวา่ งสถาบนั (central inter-institutional planning framework ) จะช่วยสนับสนุนการด�ำเนนิ การต่าง ๆ ในระดบั ทอ้ งถนิ่ ท่เี ปน็ ความรเิ ริม่ ร่วมกนั ระหว่างสาขาตา่ ง ๆ (inter-sector initiative) และสร้างความชอบธรรม ใหแ้ ก่การริเรม่ิ นน้ั ดว้ ย ในระยะยาว เม่อื มกี ารพัฒนาแผนอื่น ๆ ต่อไป กระบวนการนีจ้ ะส่งเสริมให้มกี าร วางแผนรว่ มกนั และทำ� ใหผ้ มู้ บี ทบาทและกลมุ่ ผลประโยชนต์ า่ ง ๆ มสี ว่ นรว่ มกวา้ งขวางยงิ่ ขน้ึ ” (UNESCO, 2001) ในทางปฏบิ ัตนิ ้ัน แนวทางทใี่ ช้เตรียมการวเิ คราะห์ปัญหา และจัดทำ� แผนสาขาการศกึ ษาขึน้ อย่กู ับองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น • บริบทเฉพาะทางการเมอื งของแต่ละประเทศ • จารตี ประเพณี (ด้านการบรหิ าร ดา้ นวัฒนธรรม) • ระดับการรวมศนู ย/์ กระจายอำ� นาจของระบบการศึกษา • กรอบทางกฎหมายของกระบวนการปรึกษาหารือ • การมผี ู้เชย่ี วชาญในประเทศ • นโยบายการจัดคน (staffing) เพอื่ จัดทำ� เอกสารการวิเคราะห์สาขาการศกึ ษา และเอกสารการ วางแผน เช่น ในระยะท่ีผู้เชีย่ วชาญท้องถน่ิ อาจไมอ่ ยู่ปฏิบัตหิ นา้ ท,ี่ สงิ่ จงู ใจ และเสถียรภาพภายใน องค์กร 16

ตอนท่ี 3 ขั้นตอนหลักของกระบวนการวิเคราะหป์ ัญหาสาขาการศกึ ษา(The main practical steps of the Education Sector Diagnosis process)3.1 บทนำ� การด�ำเนินการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษามีข้ันตอนหลักที่ส�ำคัญ 4 ขั้นดังต่อไปนี้ (Kemmerer,1994) • การนิยาม หรอื การยนื ยันความผกู มดั ต่อเปา้ ประสงค์ และวัตถุประสงคข์ องสาขาการศกึ ษา • การรวบรวมขอ้ มลู ท่ีเกยี่ วขอ้ ง • การวเิ คราะหป์ ัญหา ข้อจำ� กัด และโอกาส • การระบุปัญหาเรง่ ดว่ น และสิง่ ที่ตอ้ งปรบั ปรุง ข้นั ตอนทีห่ น่งึ ดงั กล่าวขา้ งบนนี้ตอ้ งอาศัยการปรึกษาหารือ และอภปิ ราย โต้เถียงในระดบั ชาติเปน็ พืน้ฐานก่อนการด�ำเนินการท่ีเป็นวิชาการกว่า และต้องรอจนเมื่อการวิเคราะห์ปัญหาช่วยให้เข้าใจสถานการณ์ของสาขาการศกึ ษาลกึ ซง้ึ แล้ว จงึ ทบทวนและปรับวตั ถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายของการพฒั นาการศึกษา จากน้นั จะต้องศกึ ษาสถานการณจ์ �ำลอง ปรกึ ษาหารอื กบั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียเกยี่ วกบั ทางเลือกนโยบายที่เป็นไปได้และ ทบทวนและปรบั วัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายอีกคร้ังหนง่ึ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 นีจ้ ะเนน้ ขนั้ ตอนที่ 2 ถึง 43.2 แหล่งสารสนเทศ และการรวบรวมขอ้ มูล (Information sources and datacollection) หลังจากท่ีได้ระบุวัตถุประสงค์ เนื้อหา และมิติหลักของการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษาแล้ว ต้องประเมินผลอยา่ งเป็นระบบเพื่อทีจ่ ะไดท้ ราบวา่ มีขอ้ มูลใดแลว้ และจะตอ้ งเก็บขอ้ มลู ใดเพ่มิ เตมิ ในเมื่อการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษาควรต้องเสนอภาพรวมท่ีครบถ้วนว่าได้พัฒนาไปอย่างไรในระยะทีผ่ ่านมา และสถานภาพปัจจุบันเปน็ อยา่ งไร (การเข้าถึง จ�ำนวนนักเรียนนกั ศึกษาในระบบ บคุ ลากรครูโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ต้นทุน ผลการเรียนรู้ทเ่ี กดิ ขนึ้ ผลการด�ำเนนิ งานของระบบ) รวมทง้ั วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ระหว่างระบบการศกึ ษา กบั องคป์ ระกอบของสงั คม จึงจ�ำเป็นทก่ี ารวิเคราะหน์ ต้ี ้องเสนอชดุ ข้อมลู ประชากรการเงนิ และอื่น ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งนอกเหนอื ไปจากสถิติทางการศกึ ษาท่ีรวบรวมตามปกตเิ ป็นประจ�ำ ขอ้ มูลดังกลา่ วน่าจะหาได้จากส�ำนกั สถิติกลาง หรือหนว่ ยงานที่มีหนา้ ท่ีสำ� รวจสำ� มโนประชากร รวมทงั้ หนว่ ยงานภาครฐั อ่นื ๆ ท่เี กยี่ วข้อง ส่ิงท่ีส�ำคัญคือการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษาต้องไม่จ�ำกัดอยู่เฉพาะมิติปริมาณและสถิติ แต่ต้องรวมดา้ นคุณภาพดว้ ย เช่น สภาพการเรยี นการสอนในมมุ มองของครูอาจารย์ และพอ่ -แม่ ผปู้ กครอง 17

ตารางที่ 1(ก) ตวั อยา่ งข้อมลู สถติ ิและแหล่งขอ้ มลู มติ ิ ข้อมูล/สารสนเทศ แหล่งสารสนเทศประชากร จ�ำนวนประชากรจ�ำแนกตาม ส�ำมโนประชากร รายงานสถิติของการเงนิ อายุ และพื้นท่ีทางภูมิศาสตร์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการคลังเศรษฐกจิ และการจา้ งงาน การเติบโตของประชากร และส�ำนกั งานสถติ ิแห่งชาติการพฒั นามนษุ ย์ งบประมาณรฐั บาลทง้ั หมดงบ กระทรวงการคลงั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประมาณการศกึ ษาการศกึ ษา การเติบโตของเศรษฐกิจ ส�ำมโนประชากร รายงานสถิติของ โครงสร้างการจา้ งงาน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการคลัง และกระทรวงแรงงาน อายุคาดเฉลยี่ สุขภาพ สถิติของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ สถิติ ความยากจน ตวั ชว้ี ดั ของ UNDP เอกสารยุทธศาสตร์การ การพัฒนามนุษย์ (HDI) ลดความยากจน การเข้าถึงการศึกษาพ้ืนฐาน การสำ� รวจโรงเรยี นประจำ� ปี และ การเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ สถิติอ่ืน ๆที่กระทรวงศึกษาธิการเก็บ การไม่ร้หู นงั สอื เป็นประจ�ำตารางที่ 1 (ข) ตวั อยา่ งขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพและแหล่งขอ้ มูล มิติ ข้อมลู /สารสนเทศ แหล่งสารสนเทศประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของประเทศ เหตกุ ารณส์ ำ� คญั ทางประวตั ศิ าสตร์ หอจดหมายเหตุ หนว่ ยเกบ็ ขอ้ มลู องคป์ ระกอบประชากรทเ่ี ปน็ กลมุ่ ถาวร บทความวิทยาศาสตร์การรู้หนังสือ ชาตพิ นั ธศ์ุ าสนา ภาษา และภาษา ข้อมูลทั่วไปจากกระทรวงการการศึกษา ทอ้ งถน่ิ ต่างประเทศ ววิ ัฒนาการของการรหู้ นังสอื แผน/แผนงานการรู้หนังสือและ การศึกษาผู้ใหญ่ หลักสูตร กิจกรรมนอกหลักสูตร การศึกษาวิจัยของสถาบันระดับ วิธีการสอน ทัศนคติของผู้เรียน ชาติ ฝ่ายวิจัยของมหาวิทยาลัย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีมีต่อ องค์การเอกชนไม่แสวงหาก�ำไร การศกึ ษา การสำ� รวจ การหารอื 18

3.2.1 การรวบรวบสารสนเทศท่ีมีอยู่ (Collecting existing information) การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาควรเรม่ิ ดว้ ยการประเมนิ ขอ้ มลู ทมี่ อี ยแู่ ลว้ ทตี่ อ้ งการศกึ ษาอยา่ งเปน็ระบบ เพอื่ ทจ่ี ะตดั สนิ ไดว้ า่ ควรเลอื กใชห้ รอื ประมวลขอ้ มลู ทมี่ อี ยแู่ ลว้ ใหม่ (เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งแมน่ ยำ� มากขนึ้ และเขา้ ใจสภาพความจรงิ ทางการศกึ ษาไดด้ ขี นึ้ ) หรอื ควรเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยเพมิ่ ขน้ึ รวมทงั้ นยั อนื่ ๆ ในการเกบ็รวบรวมขอ้ มลู ใหม่ ขอ้ มลู สถติ ปิ ระจำ� ปี และการสำ� รวจโรงเรยี นประจำ� ปี เปน็ แหลง่ ขอ้ มลู หลกั ในดา้ นววิ ฒั นาการของระบบการศึกษาของประเทศ ส่วนการศกึ ษาคน้ คว้า และรายงานการวางแผนระดับจุลภาค/การท�ำแผนท่โี รงเรยี น(school mapping) นั้นอาจให้ข้อมูลส�ำคัญเกี่ยวกับสถานะของการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีวศึกษาและอ่นื ๆ ดว้ ย ระบบการศึกษามีขอ้ มูลมากมาย ตัง้ แตบ่ นั ทึกของครู และ รายงานการตรวจราชการ ไปจนถึงรายงานการวิจัยของนักวชิ าการในมหาวิทยาลยั ซง่ึ เข้าถงึ ได้ยาก แต่หากสามารถหาเอกสารดงั กลา่ วนีม้ าได้ ก็ควรตอ้ งตรวจสอบ จำ� แนก ประมวล และแปลผลข้อมูลและสารสนเทศในเอกสารเหล่านี้ตามความต้องการของการวิเคราะหป์ ัญหาสาขาการศึกษาก่อนท่ีจะน�ำมาใช้ เชน่ เดียวกันกบั ขอ้ มูลท่มี อี ยู่ตามกระทรวง และหน่วยงานอืน่ ๆ ในการตรวจสอบขอ้ มูลต้องพจิ ารณาว่า • ขอ้ มูลนัน้ ทนั สมัยเพยี งไร น�ำมาใช้วเิ คราะห์ และคาดคะเนแนวโน้มไดห้ รือไม่ • ข้อมูลนั้นถกู ต้องแมน่ ย�ำ และตรงประเดน็ มากน้อยเพียงใดสำ� หรับผ้ใู ช้ข้อมูลการศึกษา • มกี ารจัดกลุ่มข้อมูลนน้ั ไวใ้ นระดับใด ข้อมลู ใดบ้างทม่ี เี ฉพาะในระดับประเทศ และขอ้ มูลใดมีถึงระดบั จงั หวดั อำ� เภอ และท้องถิน่ • มีข้อมลู ชนกลมุ่ นอ้ ย หรือกลมุ่ ผ้ดู อ้ ยโอกาสมากนอ้ ยเพียงไร และจดั แบง่ ไว้ตามตวั แปรทม่ี ีนยั ส�ำคัญ เชน่ กลมุ่ อายุ เพศ และอ่นื ๆ หรือไม่ เม่ือไม่นานมานี้ หลายประเทศได้ด�ำเนินการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษา หรือเฉพาะสาขาย่อย(ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา อดุ มศึกษา) แต่ผลการศกึ ษาเหลา่ นไ้ี มอ่ าจหาไดง้ ่ายนักเสมอไปดว้ ยสาเหตุต่าง ๆกนั แต่การได้ร้ถู ึงผลลพั ธข์ องงานวจิ ัยท่ีทำ� ไว้กอ่ นเป็นส่งิ ทสี่ �ำคญั เพื่อทจี่ ะไดไ้ ม่เกบ็ ข้อมูลซ�้ำซอ้ น ซ่ึงจะทำ� ให้ผ้ทู ตี่ อ้ งรวบรวมขอ้ มลู ซ�้ำซากรสู้ กึ หงดุ หงิด และอาจทำ� งานสะเพร่าได้3.2.2 ขอบเขต และเครอื่ งมือการคน้ หาข้อมูลใหม่ (Seeking out new information: The scopeand instruments) เม่ือระบุได้แล้วว่าต้องเก็บข้อมูลใดเพ่ิมบ้าง ผู้ที่จะวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษาต้องเลือกใช้วิธีการเทคนิค และเครอื่ งมือท่เี หมาะสมที่สดุ (เช่น การสังเกตการณ์ การสัมภาษณ์ การส�ำรวจ และการศึกษา) เพ่ือหาขอ้ มูลมาเสริมทมี่ ีอยแู่ ลว้ การประเมนิ ผลผลลพั ธใ์ นระยะยาว (long-term outcome) ของการได้รบั การศกึ ษาในโรงเรียน และการหาเหตุผลวา่ “ท�ำไม” ผลการด�ำเนินงานจึงเปลย่ี นหรอื ไม่เปลีย่ น ต้องใช้ “การศึกษาวจิ ยั ทีอ่ อกแบบเป็นพิเศษ” ตัวอย่างเช่น การส�ำรวจโดยใช้แบบสอบถาม เหมาะสมส�ำหรับการเก็บข้อมูลเก่ียวกับประสิทธิผลภายนอกของการศึกษา เช่น งานอาชพี และการจา้ งงานของผูท้ ่เี รียนจบมัธยมศึกษาและบณั ฑิต แตย่ งั ต้อง 19

ตดั สนิ ใจวา่ จะตดิ ตามบางคนตอ่ ไปไหมวา่ ศกึ ษาตอ่ และประกอบงานอาชพี อะไร หรอื จะสอบถามกลมุ่ ตวั อยา่ งผจู้ า้ งงาน (และอาจรวมสมาชกิ ชมุ ชนดว้ ย) ปกตใิ นการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษามกั มเี วลาไมพ่ อสำ� หรบัการศึกษาติดตาม (tracer study) เช่นน้ี การวเิ คราะห์สว่ นใหญ่จงึ พยายามใช้ผลการวิจยั เทา่ ทม่ี อี ยแู่ ล้ว แต่การสำ� รวจผจู้ ้างงานซง่ึ เกิดจากการกระตนุ้ ของคณะผู้วเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษากม็ อี ยทู่ ัว่ ไปเชน่ กนั ขอ้ มลู ทเี่ ชอื่ ถอื ไดเ้ กยี่ วกบั สภาพความเปน็ จรงิ ในหอ้ งเรยี นอาจไดม้ าจากการสงั เกตการณโ์ ดยผทู้ ไี่ ดฝ้ กึ ฝนสงั เกตการณ์มาแล้ว ตวั อย่างเช่น ขอ้ มูลทไี่ ด้จากการสังเกตการณ์ และการบนั ทกึ วธิ กี ารเรียนการสอนรวมท้ังเวลาท่คี รูใช้จริงในการสอนและท�ำกิจกรรมการสอนตา่ ง ๆ เปน็ ข้อมูลทแี่ มน่ ตรง (precise) และคงเสน้ คงวากว่าข้อมูลจากแบบสอบถามส�ำหรบั ครูและอาจารยใ์ หญเ่ พียงอย่างเดยี ว แตก่ ารสังเกตการณอ์ ยา่ งเปน็ ระบบในห้องเรยี นเปน็ วธิ ที ีใ่ ชง้ บประมาณมาก เพราะต้องใช้ทง้ั เวลาและความเชี่ยวชาญ ดงั นนั้ ในทางปฏบิ ตั จิ ึงมักใชว้ ธิ ีสังเกตการณเ์ ฉพาะเม่ือมีการออกแบบการปฏิรูปหลกั สูตร หรือนวัตกรรมใหม่ ๆ ซง่ึ อาจจะประจวบกบัการวิเคราะห์ปญั หาสาขาการศึกษา และสาขาย่อย การเกบ็ ขอ้ มลู มักใชก้ ล่มุ ตัวอย่างตวั แทน ของนักเรียน ครู ฯลฯ แทนประชากรทัง้ หมดท่เี กยี่ วขอ้ ง การสำ� รวจกลมุ่ ตวั อยา่ งทอี่ อกแบบมาดจี ะทำ� ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทตี่ รงประเดน็ ไมน่ อ้ ยไปกวา่ ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการสำ� รวจเตม็รูปแบบมาใชป้ ระกอบการตดั สินใจ แตใ่ ช้งบประมาณตำ่� กว่ามาก ในกรณที จ่ี ะตอ้ งวเิ คราะหส์ าขาการศกึ ษาขนาดใหญน่ นั้ ควรเลอื กใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญทกุ คนไดท้ ำ� งานในพนื้ ที่ส�ำรวจที่มสี ภาพแวดล้อมหลากหลายเหมือน ๆ กนั (เช่น มีโรงเรยี นทีใ่ ชเ้ ปน็ ตวั อย่างขนาดตา่ ง ๆ กัน มที ้ังโรงเรยี นในเมือง และในชนบท ฯลฯ) การประสานงานทดี่ จี ะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายส�ำหรบั แนวทางนี้ และยังท�ำใหเ้ ปรียบเทยี บและรวมขอ้ มลู ไดด้ ว้ ย เชน่ ข้อมูลเกี่ยวกบั ต้นทุนของระบบ ขอ้ มูลทางเศรษฐกจิ และสังคมของหนว่ ยภูมศิ าสตร์เดยี วกนั และข้อมลู จากโรงเรียน พ่อ-แม่ผู้ปกครองหรือครทู ี่อาศยั อยใู่ นภาคเดียวกนั3.3 การประมวลผลและวิเคราะหส์ ารสนเทศ (Processing and analyzing theinformation) กอ่ นท่ีจะแปลผลขอ้ มูล และเสนอผลได้ จำ� เป็นต้องประมวลผลขอ้ มูลโดยดำ� เนินการตอ่ ไปนี้ • สร้างตาราง • ก�ำหนดอนกุ รมเวลา • รวมกล่มุ และแยกกล่มุ ข้อมลู • ประมาณคา่ • คำ� นวณความสัมพนั ธ์ • คำ� นวณหาคา่ เฉล่ีย คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน อตั ราการเตบิ โต รวมไปถงึ ตัวชว้ี ัดตา่ ง ๆ • แสดงแนวโน้ม • เปรียบเทียบ • แสดงขอ้ มลู ดว้ ยกราฟ หรอื แสดงขอ้ มลู เชิงพื้นท่ี (cartographic representation) 20

ผลสรุปการวิเคราะห์ที่เป็นตารางสถิติ กราฟ และการแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่ช่วยให้ผู้ใช้รายงานการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษาน้ีได้ซึมซับสาระและส่ิงที่ค้นพบจากการวิเคราะห์ การรายงานให้ผู้มีอ�ำนาจตดั สนิ ใจไดท้ ราบควรใหข้ อ้ มลู มากทส่ี ดุ โดยใชต้ วั ชวี้ ดั นอ้ ยทสี่ ดุ การนำ� เสนอแบบกราฟแสดงใหเ้ หน็ ววิ ฒั นาการของตัวช้วี ัดหลักไดโ้ ดยง่าย (จงึ เหมาะสมมากสำ� หรับอนุกรมเวลา) และท�ำให้ผู้อา่ นทราบไดว้ า่ วิเคราะหเ์ ร่ืองอะไร และได้ผลอยา่ งไรเม่ือ “มองดูแว่บเดียว” การรวมข้อมูลตา่ ง ๆ และนำ� เสนอผลการวิเคราะหใ์ นรปู แบบของตารางไขว้ (cross tabulation) เช่นการแสดงอัตราการเข้าเรียนจ�ำแนกตามเพศ และอัตราส่วนนักเรียนต่อครูจ�ำแนกตามภูมิภาคเป็นสิ่งจ�ำเป็นเพราะวา่ การตดั สนิ ใจโดยหนว่ ยงานกลางจำ� ตอ้ งใชข้ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ ตวั ชว้ี ดั เกยี่ วกบั นกั เรยี น และครู ซง่ึ คำ� นวณและน�ำเสนอเป็นรายจงั หวดั หรือภมู ิภาค จ�ำแนกตามเพศ สถานท่ีอยู่ (ในเมือง หรือชนบท) ประเภทของสถาบนัการศกึ ษา(รฐั บาล หรอื เอกชน) เปน็ ตน้ สว่ นการทำ� รายงานการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษานน้ั ตอ้ งระบขุ อ้บกพร่องของขอ้ มูลที่ใช้ เช่น ขอ้ มลู ไม่น่าเชื่อมัน่ และไม่รอบด้าน หรอื ไมค่ งเสน้ คงวาเพราะมแี หล่งขอ้ มลู ต่างกนั กรอบการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศกึ ษาต้องแกไ้ ขจดุ อ่อนเหลา่ น้ใี หไ้ ดม้ ากทีส่ ุดทจี่ ะท�ำได้ หรือมิฉะนัน้จะตอ้ งระบุจุดอ่อนนน้ั ไวใ้ ห้ชดั เจนในรายงาน3.4 การสังเคราะห์ปญั หา และการเสนอแนวทางการแกไ้ ข (Synthesizing the problemidentifies and proposing roads to improvement) การศกึ ษาวิจัยขนาดใหญ่มกั มเี อกสารสะสมมากเกนิ ไป และระบปุ ญั หาไวม้ ากมาย ซ่ึงปรากฏซ�้ำ ๆ กนัในรายงานของผเู้ ชยี่ วชาญหลายทา่ น ผใู้ ชร้ ายงานการศกึ ษาวจิ ยั ดงั กลา่ วจงึ จำ� เปน็ ตอ้ งดรู ายละเอยี ดปลกี ยอ่ ยต้องรวมข้อมูลพน้ื ฐานเปน็ ภาคผนวก แยกหมวดหมูผ่ ลของการศกึ ษาตามประเด็น หรือตามระดบั การศึกษาและตามความสำ� คัญ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการน�ำเสนอและการอภปิ รายปัญหา รวมท้ังกำ� หนดลำ� ดบั ความส�ำคัญของประเด็นต่าง ๆ ซึ่งเป็นผลให้มีรายงานฉบับสังเคราะห์ท่ีจัดหมวดหมู่ของปัญหาตามล�ำดับความส�ำคญั และตามประเด็นหลัก การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาทร่ี เิ รมิ่ โดยรฐั บาล หรอื องคก์ รภายนอกทใ่ี หค้ วามสนบั สนนุ ทางการเงนิ นน้ั มกั ใชน้ กั วางแผน หรอื นกั วจิ ยั ทใ่ี กลช้ ดิ รฐั บาลเพราะเหตผุ ลตา่ ง ๆ กนั ฉะนนั้ จงึ สำ� คญั ทต่ี อ้ งตรวจสอบวา่ เนื้อหาของ ESD ท่กี ำ� หนดไว้เม่ือเรมิ่ ด�ำเนนิ การ และปญั หาหลกั รวมทง้ั ข้อสรุปจากผลการศึกษาน้นั เป็นเรื่องทข่ี ้าราชการ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในระดับอ่ืน ๆ และในส่วนอ่นื ของระบบการศึกษา (ศึกษานิเทศก์ ครูอาจารย์ พ่อแม่ผูป้ กครอง นกั เรยี นนักศึกษา ผู้จา้ งงานในท้องถ่ิน ฯลฯ) เหน็ ดว้ ยวา่ มีความสำ� คัญ ในระหวา่ งการวจิ ยั นกั วเิ คราะห์ ESD จะไดฟ้ งั ความคดิ เหน็ ทน่ี า่ สนใจของผเู้ ชย่ี วชาญ หรอื กลมุ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ทตี่ นไดพ้ บปะ ซ่ึงควรตอ้ งสะทอ้ นไวใ้ นการวิเคราะห์เพอ่ื มิใหต้ ้องสญู หายไป เมอ่ื มรี ายงานเบือ้ งต้นแลว้ การจดั สมั นาเพอื่ เสนอผลและขอความเหน็ จากผปู้ ฏบิ ตั แิ ละเจา้ หนา้ ทรี่ ะดบั ทอ้ งถน่ิ รวมทงั้ เสนอรายงานใหผ้ มู้ บี ทบาททเ่ี กยี่ วขอ้ งทราบจะชว่ ยปรบั ปรงุ การวเิ คราะหไ์ ดม้ าก ทงั้ ยงั จะปทู างใหก้ ลมุ่ ตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วยอมรบับทสรปุ และการเปลยี่ นแปลงตามขอ้ เสนอของการศึกษาวจิ ยั นน้ั แม้ว่าการวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษาจะไม่มีวัตถุประสงค์ที่จะนำ� เสนอวิธีแก้ปัญหาที่ดีท่ีสุด แต่รายงานการศกึ ษาวิจยั ควรเสนอแนวทางการปรับปรงุ ท่ีควรพจิ ารณาด้วย บทสรุปส�ำหรับผู้บริหารควรน�ำเสนอข้อมูลหลักจากการศึกษาวิจัยโดยกระชับแต่ชัดเจน เพื่อให้ข้าราชการการเมอื งระดบั สงู สามารถเข้าใจได้ในเวลาอนั สนั้ 21

รายงานผล ESD ที่วิพากษ์วิจารณ์ประเด็นต่าง ๆ เป็นหลักมักไม่ได้รับการยอมรับจากผู้บริหารฝ่ายการเมอื ง แม้ว่าการวเิ คราะห์ต้องระบุปัญหาต่าง ๆ แต่ควรนำ� เสนอจุดแข็งของระบบด้วย การวิจารณ์จดุ ออ่ นและ “ทางตัน” ที่มอี ยู่ ควรควบคู่ด้วยการเสนอวธิ ีแก้ไขเพือ่ ให้ความหวัง ซง่ึ เป็นส่งิ จ�ำเปน็ ในการดำ� เนนิ แนวใหมส่ ูก่ ารพัฒนา ฉะน้นั กฏทส่ี �ำคัญทีส่ ดุ คอื เมอื่ เอ่ยถงึ ปัญหาตอ้ งเสนอทางแก้ และควรให้ข้อเสนอแนะเมือ่สามารถแยกแยะปัญหาและน�ำเสนอให้ชัดเจนไดเ้ ท่านนั้3.5 การเสวนานโยบาย (Entering into policy dialogue) ผู้มีอำ� นาจตัดสนิ ใจควรได้รบั ทราบความคบื หน้าของ ESD ตลอดระยะการดำ� เนินงาน แต่อาจจะไดร้ ับเอกสารที่จะตอ้ งใชใ้ นการเสวนานโยบายเป็นทางการเม่ืองานระยะที่ 1 สน้ิ สดุ ลง คณะผ้ดู ำ� เนินการ ESD ควรรายงานให้ผู้แทนหลักของฝ่ายบรหิ าร เช่น รฐั มนตรี โฆษกรัฐสภา สมาชกิพรรคการเมืองท่ีมีอิทธิพล และบรรดาตัวแทนองค์กรให้ความช่วยเหลือได้รับทราบความคืบหน้าทุกครั้งท่ีมีโอกาส การจัดการประชุมเป็นทางการเพ่ือน�ำเสนอผลการวิจัย และแจกผลสังเคราะห์รายงานการวิเคราะห์ปัญหาจะดึงดูดความสนใจของผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจ ท�ำให้บุคคลเหล่าน้ันเห็นความส�ำคัญเร่งด่วนของปัญหาของสาขาการศึกษา และเป็นการเตรียมใหม้ ีมตริ ับนโยบายใหม่เพื่อการพัฒนา 22

กิจกรรมกลุ่ม ผ้เู รยี นควรคิดไตร่ตรอง และร่างคำ� ตอบส้นั ๆ ของค�ำถามท้งั สองข้อด้วยตนเอง กอ่ นนำ� ไปอภปิ รายกับสมาชิกในกลุ่ม หลังจากนนั้ จึงสรปุ คำ� ตอบของกลุม่ ส่งใหผ้ ้สู อนท่ี IIEP ข้อ ก. รวบรวมข้อมลู อภปิ ราย และสรุปคำ� ตอบของคำ� ถามดังต่อไปน้ี (ประมาณ 2-2.5 หน้า) ในการเตรยี ม (ก) สว่ นทเ่ี กย่ี วกบั การศกึ ษาในยทุ ธศาสตรก์ ารลดความยากจน และ (ข) ยทุ ธศาสตรส์ าขาการศึกษา/แผนการศึกษาระยะส้ันและระยะยาวฉบับปัจจุบัน มีการหารือกับผู้มีบทบาทและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี กลุม่ ใดบ้าง ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ภาคประชาสังคม ครูอาจารย์ และองค์การเอกชนไม่แสวงหากำ� ไรมีส่วนรว่ มในการเตรยี มเอกสารยทุ ธศาสตร์เหลา่ นใ้ี นดา้ นใด และเพียงไร กระบวนการหารอื ดงั กลา่ วมคี วามยากล�ำบากใดท่ีจ�ำตอ้ งแกไ้ ขบ้าง ขอ้ ข. จงระบวุ ่าจะหาข้อมูลและสารสนเทศทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ช่ือของแตล่ ะบท (ตัวหนา) ในสารบัญดังท่ีปรากฏในภาคผนวกที่ 1 ของบทท่ี 1 ไดจ้ ากกระทรวง กรม หนว่ ยงาน หรือองคก์ ารเอกชนไม่แสวงหาก�ำไรองค์การใดในประเทศของผู้เรยี น เพอ่ื น�ำมาใชใ้ น ESD จงระบุด้วยวา่ หวั ขอ้ ใดจะมปี ญั หาวา่ มีข้อมูลน้อย หรือมขี อ้ มลู ทีไ่ มน่ ่าเชอ่ื มนั่ หรือไม่คงเสน้ คงวา จงให้ความเห็นสนั้ ๆ (1-1.5 หน้า) วา่ การหาขอ้ มูลให้ได้เพยี งพอสำ� หรับ ESD ในประเทศของท่านขณะนี้มีความยุ่งยากประการใดบา้ ง และเพราะเหตุใด 23

ภาคผนวกที่ 1 สารบัญ2005. MOET, Lesotho Education Sector Stretegic Plan: 2005-2015 4สารบัญ 11820 ชบตาอื่ทรยนาอำง และรูป 14 14บทที่ 1บริบทแผนยทุ ธศาสตร 11111115574754 111...2311111บบโ....2112ครร....ร2211ิบิบงททสสผกนสเราภลโศยาราการงเขบพางษอาารนิกฐงกยดาคกาแำรกิจรเลณนรศมะินกึหกษงภลาาายนคทุ ธแมลหะภบารคิบททางสังคม 20 20บทท่ี 2พนั ธกจิ เปา ประสงค และวตั ถปุ ระสงค 2222255670 22222.....54321 วพนคเปิสวโันายัยาธปบมทกราเัศิจปะยนสนกงมาคราเศชกึ งิ ษยทุาธศาสตร และวัตถปุ ระสงค 30 30บทท่ี 3การดแู ลและพัฒนาเดก็ กอ นวยั เรยี นแบบบูรณาการ 33333333333337865582322059 33333.....14523 กวกคนตัจิาวโบรกาถวมยรปุ ิเราทรคมยะารหสทาแลงะาลคหักยะแสสตลำถวั ะคาชกัญนี้วลกดั ยาเุทรปณธา ห มาย 40 3.633333ส.....66666ร.....ุป13425กกกนกกจิ าาาาโกยรรรรรปเเวบขขรารามาา งบัยถถเแกชปงึึงผาิงททรนรกุงี่่เเี ดแพปลคูแลยณุนมิ่ ละุทธขภกแรธึน้ าาลร พรมะจพัดัฒกนาราเด็กกอ นวัยเรยี นแบบบรู ณาการ 40 3.73ก.6า.ร6คกำานรวสณราตงนคทวนุ าขมอเสงมแอผภนากคาชรดายแู -ลหแญลิงะใพหัฒเปนน ากเดรก็ะแกสอ นหวลยักั เรขยี อนกแงั บวลบบรู ณาการ 4400บทที่ 4 44442332การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 4 4.1 4ก.1าร.1วเิ ปครระาถะมหศสกึถษานาการณ 444...4324วคน.1ตัวโย.าถ2บมปุ ามทรยัธะาหสยทลมงาคกัยศแขสึกลำอษะคงากกัญตลาอรยนศุทตึกธนษ าขั้นพื้นฐาน 24

2005. MOET, Lesotho Education Sector Stretegic Plan: 2005-2015 4445555555553322110943 57 44ว..ตั 56ถ44444444กสุป........67866666ิจรร......ุป123546กะเกกสรกาสกกหสกณรงริจาาาภภลมคคกฑรรราาักแแำรอศเมพพสชนลลรำกึามูตกแือ่ะะวนษตตกวราเมณชวราทรดลัวโยฐิงตขเยชยต่ีลรกาใน้นังทุว้ีอรยีหนลกทพงดัมนธเยสบัคกนุ้นืเขกทุำปผวดิขฐาอคธาาูมรรอางญัมหะีสสนโงบรตมเกวอภพงอบาานนาเือ่ยงรรแไทคกยีศกดลบีด่ านากึสะีขงัรรษทวกคึน้บนรา่ปี ับใระขเลนทรสบนั้อลท่ีมยี วพดเุกุคีนปภน้ืโณุ การยัฐหงาภแาเรมานรลปียพาะรยนดแะกีตบกาอบันรสใคศหขุ ณุึกภเษปภาาลาพเพาพอือ่ ยปา วงงเปชนนธรรม 55666664100077บทที่ 5 66666664455564มัธ555555ย......452361มศสวคกนกัติจารวโกึ ยรปุกาถษวบมรกุปเิราทาิจรคมยะการหแสทราลรลงะามคะหักยตแเสส ชวัลำถงิ ชะคากก้ีวญันลลดักยยเาทุปุทรธาณธห  มาย 68 5.7555555ก......666666า......ร243156คกกกกกกำาาาาาานรรรรรรวปพพพปปณรรรัฒัฒัฒตัับบบั นนนนปปปาาาทรรรกครุงุงงุุนะลวกคคขบายาณุวอบมทุรางภเกเธมขปกาากเาานพปราถรจธนรขศึงรัดบหอมกึรกรงุนธัษมารมยสแาเรธัทมวรลมยะานศะัธมดึกคใยHศนับษวมIกึหมาVาศษมมธักึ แายเผูษสลมใู ามะหศทอบึกA่ีมภษรIีปาDกิ าคราSตะชรอสใาทนนิทยาปรธ-งหะลภิกบญาาาบยรพงิ ศมในึกธั ษยระมาบแศบลึกมะษผัธาูมยมสี วศนึกษไดาส วนเสยี 68บทที่ 6 77777768122266อาชวี ศึกษา และการฝก อบรม 777777777889 666666......654321 นกควกสัตจาิรวโยรุปกาถวบมรกุปิเราทิจรคมยะการหแสทราลรลงะามคะหกัยตแเสส ชวัลำถิงชะคากกี้วญันลลดักยยเาุทปทุรธาณธห  มาย 80 6.7666666ก......666666า......ร245631เงกกกกกกนิ าาาาาาสรรรรรรำสพเเลสขพหดรงฒั าิ่มเารจสถนงบัคำงึรราวอนกมิะคาาวาบคุณมชนรวอสวีฝผภาบอศกมมูาสดกึอพเีเถชปคษบาอ้ืลนารบแอมหHนั ลงดุนIแระVาสะลกนวหแะาอนวกลราใฝาฎะชนงเกรวีปกอะอศาานเบบึกรชรใAษยีวี หมบIศาDบมึกเSพราษกิ กอื่ าาขกแรา้นึลอระาสกชนาวี ับรศฝสกึ กนษอนุ าบแรลมะกกับาครฝวกามอตบอรมงการ 88888882305220บทท่ี 7 85อดุ 777777ม......634152ศนกวสกคึกัตาจิรวโษยรุปกาถวบามรกปุ เิราทจิรคมยะการหแสทราลรลงะามคะหักยตแเสสชัวลำถงิ ชะคากกว้ีญันลลัดกยยเาทุปุทรธาณธห  มาย 5 7.6.1 การเขา เรียนเพิม่ ขน้ึ 25

2005. MOET, Lesotho Education Sector Stretegic Plan: 2005-2015 88888886565566 7.7777777ก......666666า......ร265473เงคกคกกกินาาาาณวุ เรรรรพาภบเลสมื่อพารดรูเกพป่ิมาณจางคนขำรารวนหออกะาวงุนุดบามหนรสมบสลเผวศกพอกัมูนกึาศดสเีทษรชสคูตจม่ีาื้อภลรดั ปี อกากHรวงาาะIระรVรสะฝใทนิทหแก ม่ี กธวลอปี าิผาะบรรงลเรปศะหมสกึนลททิษักด่ีAธสาขีIิผรูตD้ึนะลรSดแฝบัลกอะอปุดบมรระศมสึกกิทษับธาคิภวาาพมตองการ 88บทท่ี 8 88การเรยี นรูต ลอดชวี ติ และการศึกษานอกโรงเรียน 888999902890 888888......364215 วคกนกกตัาาิจวโยรรกาถเวบมรปุงเิราทนิรคมยะาเรพหแสทาลลงื่อะาคะหกัยกตแสสาัวลรำถศชะคากึกี้วญันลษัดกยเาาปทุตราณลธหอ มดาชยวี ติบทที่ 9 93การพฒั นาครู อุปทาน และการจดั การ 93 999999......512346 กกคนกกาลาจิวโยรรกายวเบมรทุงิเราทินธคมยาเรพแทาลื่อะาะหยคตสสรวัศุำถชคึกาว้ีัญนษัดกาเแาปรลาณะหอ มปุ าทยาน 1999990738880บทที่ 10ประเด็นและกจิ กรรมรวม (Cross-cutting Issues and Activities) 102 102 11111110000000.......1113715264000กกแHเหบ...พ266าาผลทIV...ศรรนัก211นคศสสงแำPUกำกึภาูตลนrาษนาNระiรววnาพแEคณะAพcลSิเำใศeIิเCะตนนDศษกOนMกวSษาทาณMoรใรนุปนhตศแรสนoกึ ผะาtทษเนoขมุนางานิกAากานwารพรaพศrิเัฒdศกึ ษษนSาาcหhลeักmสeูตร การประเมิน และการสนับสนนุ การศกึ ษาบทท่ี 11 111111111111010001004325253794ขอ ควรพจิ ารณาเรือ่ งขดี ความสามารถเชิงสถาบัน 116 1111111..11121...222หก...าล213รักสบกกเหราารารริกตงเกาุผพสรรลม่ิาะสเขจขรนาา่อืีดบั กยงคสาอกวนราำาศนุรนมเกึแาพสษจลาม่ิ าะมขทบาดี ่ีมรรคกิถีปวาราระมดสาสทิ นาธมกิภาาารรพถบแเรชลหิ ิงะาสปรถราะบสันิทธผิ ล 116 1111..1111341111ขก....4434จิีด....กค1321รวกกกมรามาาาามรรรตสแปปคราลำกฏรมนะับาิราตรวูปปรดัวณหถรชาุงดนตนี้วกาวน ปัดานยทรเรกวปตนุะาาา้ังสขรงหงิทอวแบมธงาผปากิภงนยรแาาะรผพมพนาแัฒณลนะแากลราะะรกบราบวรมแจรลัดับะกสผาถิดราทชบอาันงบกตานรทเงุนิน 111111666 26 111111112222226470034 128 6

2005. MOET, Lesotho Education Sector Stretegic Plan: 2005-2015 112289 111133332107 1111..1111651111....กก4444จิา....4657รกครกภกคำราาวานมรรราวแปกะมณลรำรเะปบักะตตกับนผน วัันิดตหทชคชดินุุน้ีวณุตอสกัดบาวาภเมปนรา(แวากพAลาหบั cงะมผcแกาoมู ผายuสีรนnวราแtนaยผไbงดนาiส lงนiวาtyนน)เกสาียรกำกับติดตามและการประเมินผลบทที่ 12 140กรอบการนำแผนไปสูการปฏิบัติ 140 1122..112122..บก22าท..21รนจำกกัดาาลรรำจแดดับับลง ครำวะดยาับมะคส(วำpาคhมญั aสsำแiคnลัญgะ)การแบง ระยะของแผนยทุ ธศาสตร 111144440000 111222...453 กกโครารอรงกบสำกรกาาบั รงนตกิดำาแรตนผามำนแไกปผานสรกูยราุทารยธปงศฏาานิบสตัตแริ ลไะปกสากู ราปรรปะฏเมบิ นิ ัตผิ ล 114411บทที่ 13 145การคำนวณตน ทนุ และการเงนิ ของแผนยทุ ธศาสตรสาขาการศกึ ษา 1133..21 กหรละักบเหวตนุผวลธิ ีกขาอรงคกำานรควณำนตวน ณทตุนนทุนและการเงนิ ของแผนยทุ ธศาสตรสาขาการศกึ ษา 146 111333...534 กกกาาารรรเคขงำาินนดขเวงอณินงแทตผนุนนท(ยุนFทุuรธวnศมdาขiสnอตgงรแGภผaานpคย)กทุ าธรศศากึ สษตารส าขาการศกึ ษา 146ตารางเหตุผลสัมพันธ: กรอบการนำแผนยุทธศาสตรไปสกู ารปฏิบตั ิ ค.ศ. 2005-2015 114467 111555031 154 727

บรรณานุกรมCaillods, F. & Hallak, J. 2004. Education and Poverty Reduction Strategy Papers (PRSPs) – AReview of Experiences. Paris: UNESCO/IIEP.Foster, M. 2000. New Approaches to Development Co-operation: What can we Learn fromExperience with Implementing Sector-Wide Approaches? Working Paper 140, Centre for Aidand Public Expenditure. London: Overseas Development Institute (ODI).Kemmerer, F. 1994. Utilizing Education and Human Resource Sector Analyses. Paris: UNESCO/International Institute for Educational Planning (IIEP).Mc Ginn, N. 2000. “An Assessment of New Modalities in Development Assistance”. In:Prospects, Vol.xxx, N°.4. Geneva: UNESCO/International Bureau of Education (IBE). pp.427-450.Mingat, A. & Tan, J.P. 1988. Analytical Tools for Sector Work in Education. Baltimore, Maryland:John Hopkins University Press for the World Bank.Runner, P. (2004). Analyse sectorielle: un état de la question. Working Paper presented atthe Groupe de travail sur l’analyse sectorielle en éducation (GTASE)/l’Association pour ledéveloppement de l’éducation en Afrique (ADEA), Paris : September 2004.Samoff, J. 1999. “Education Sector Analysis in Africa: Limited National Control and even LessNational Ownership”. In: International Journal of Educational Development, Vol.19, N°. 4-5.UNDP. 2003. Human Development Report 2003. Millennium Development Goals: A CompactAmong Nations to End Human Poverty. New York: United Nations Development Programme(UNDP).(http://hdr.undp.org/reports/).UNDP. 2005. Human Development Report 2005. International Cooperation at a Crossroads:Aid, Trade and Security in an Unequal World. New York: United Nations DevelopmentProgramme (UNDP). (http://hdr.undp.org/reports/).UNESCO. 2001. Education Planning For All. Paris: UNESCO. Retrieved from http://www.education.unesco.org.UNESCO. 2006. EFA Global Monitoring Report 2007. Strong Foundations – Early ChildhoodCare and Education. Paris: UNESCO.UNESCO/PROAP 2001. EFA Planning Guide: Southeast and East Asia. Follow-up to the WorldEducation Forum. Bangkok: UNESCO Principal Regional Office for Asia and the Pacific (PROAP).USAID .1997. Education Reform Support. ABEL Technical Paper N°. 1-6. Washington DC: USAID.Wolfensohn, J.D. & Fischer, S. 2000. The Comprehensive Development Framework (CDF)and Poverty Reduction Strategy Papers (PRSP). Washington, DC. (www.imf.org/external/np/prsp/pdf/cdfprsp.pdf).World Bank. 2004. What Is CDF? (www.worldbank.org/).

29

บทที่ 2กรอบการวเิ คราะห์ และการวิเคราะห์บริบท(Overall analytical framework and context analysis) บทท่ี 2 การประเมนิ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทแี่ ละผลการปฏบิ ตั งิ านของระบบการศกึ ษาตอ้ งใชแ้ นวทางทเี่ ปน็ ระบบและเปน็ วทิ ยาศาสตร์ ตอ้ งมกี ารวเิ คราะหจ์ ากหลายมมุ มอง พรอ้ มทง้ั มตี วั ชว้ี ดั และเครอื่ งมอื การวจิ ยั ทห่ี ลากหลาย ดงั น้นั การวิเคราะห์ หรอื “การประเมิน” สาขาการศึกษาของประเทศหนึง่ ๆ จึงต้องใช้ “กรอบการวเิ คราะห”์ (analytical framework) ทคี่ รอบคลุมทกุ ดา้ น ระบบการศกึ ษาไมไ่ ด้ด�ำรงอยู่โดดเดย่ี วแต่ต้องรบั ใช้สังคมซ่ึงมีอทิ ธิพลตอ่ ระบบการศึกษาน้ัน ๆ (ในทางสังคม การเมือง เศรษฐกจิ การเงิน วัฒนธรรมสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ฯลฯ) ดังน้ัน ESD ตอ้ งพจิ ารณา“องค์ประกอบด้านบริบท” เหล่านีด้ ว้ ย บทที่ 2 แบง่ ออกเป็น 3 ส่วนคอื ตอนท่ี 1 วา่ ด้วยกรอบการวเิ คราะหท์ ่ีนิยมใช้ใน ESD, การวิเคราะห์บรบิ ท และมมุ มองหรือประเด็นของการวเิ คราะห์ (angle of analysis) ทงั้ 7 ประการ (การเขา้ ถงึ ประสิทธภิ าพภายใน ความเป็นธรรมคุณภาพ ประสทิ ธภิ าพภายนอก รายจ่ายและการเงนิ และการจดั การ) ที่ใชท้ บทวนสถานภาพ และการทำ� งานของระบบการศกึ ษา ตอนที่ 2 เน้นเรื่องการวิเคราะห์บรบิ ทตามกรอบ ESD น่นั คือ ESD มวี ธิ พี ิจารณาสภาพแวดล้อมของการศึกษาดา้ นประชากร ภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเงิน สังคม การเมือง และองค์กรอย่างไร ตอนท่ี 3 เสนอตวั อยา่ งทเ่ี กดิ ไดจ้ รงิ ซงึ่ เปน็ การวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาในประเทศ Vindolandซง่ึ ใชป้ ระเทศทมี่ อี ยจู่ รงิ เปน็ แบบ และใหผ้ เู้ รยี นคดิ ไตรต่ รอง และเรยี นรจู้ ากการวเิ คราะหบ์ รบิ ทในตวั อยา่ งน้ีวตั ถุประสงค์ เพอื่ ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจเนอ้ื หาของ ESD และเพอ่ื เสนอภาพรวมของกรอบการวเิ คราะหท์ ใี่ ชว้ เิ คราะหป์ ญั หาแบบนใ้ี นวงกวา้ ง นอกจากน้ี ยงั ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ ขา้ ใจการวเิ คราะหบ์ รบิ ทจากตวั อยา่ งซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของ ESDเนือ้ หา • กรอบการวเิ คราะห์ • การวิเคราะห์บรบิ ทการพัฒนาการศกึ ษา • การวิเคราะหบ์ รบิ ทใน ESD ตัวอยา่ งการวิเคราะหป์ ัญหาสาขาการศกึ ษาของประเทศVindoland30

ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง เม่อื เรยี นบทท่ี 1 จบแลว้ ผเู้ รียนควรสามารถ • ระบุและสรุปลักษณะสำ� คญั และขอ้ จำ� กัดของวิธกี ารเชงิ ระบบ (system approach) และ กระบวน ทัศนด์ า้ นเศรษฐกจิ ท่ใี ช้ใน ESD ได้ • ระบุ และอธิบายประเดน็ การวเิ คราะหท์ ่ีส�ำคญั และคำ� ถามทเี่ ปน็ แกน่ สารท่ี ESD ตอ้ งสืบค้นได้ • สร้างเน้อื หา ESD โดยค�ำนึงถงึ บริบท และนโยบายของประเทศได้ • ระบปุ ัจจยั หลกั ทางบริบท และตัวช้วี ัดส�ำคญั ที่ควรรวมไว้ใน ESD ได้ • อธบิ ายความท้าทายหลกั , ประโยชน์ และขอ้ จ�ำกัดในการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ทเ่ี กิดจากปัจจัยทาง ด้านบริบทเลา่ นีข้ องประเทศที่ใชเ้ ป็นกรณศี กึ ษาได้กรอบเวลา • บทน้ีใช้เวลาเรียนประมาณสปั ดาหล์ ะ 8 ชว่ั โมงค�ำถามท้ายบท • ผู้เรียนจะตอ้ งตอบคำ� ถามท้ายบทเกีย่ วกับตอนที่ 1 ด้วยตนเองเอกสารอา่ นเพ่มิ เติม (ไม่บงั คบั ) • UNESCO. 2000. EFA Planning Guide: Southeast and East Asia. Follow-Up to the World Education Forum, Planning and Sector Analysis (PSA), UNESCO Principal Regional Office for Asia and the Pacific, Bangkok. • Mingat, A. & Tan, J.P. 1988. Analytical Tools for Sector Work in Education. Baltimore, Maryland: John Hopkins University Press for the World Bank. 31

ตอนที่ 1 กรอบการวเิ คราะห์ (The analytical framework)1.1 พืน้ ฐานเชงิ ทฤษฎี (Theoretical foundations) การวิเคราะหป์ ัญหาสาขาการศกึ ษาส่วนใหญใ่ ช้วธิ กี ารเชงิ ระบบ และ กระบวนทศั นด์ ้านเศรษฐกิจเป็นหลกั หลกั สตู รการอบรมครั้งน้ใี ช้มมุ มองดงั ต่อไปน้โี ดยปรบั เปลี่ยนและขยายความบางสว่ น วธิ กี ารเชงิ ระบบ (The system approach) ตง้ั แตค่ รงึ่ หลงั ของครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 เปน็ ตน้ มา วธิ กี ารเชงิ ระบบ เปน็ เครอ่ื งมอื การวเิ คราะหท์ น่ิ ยิ ม ใช้เพ่ิมขึ้นมาก หลกั การสำ� คัญขอ้ หนึง่ ของวิธีการนี้ คอื การคำ� นึงถงึ โครงสรา้ ง และกจิ กรรม เชน่ สาขาการ ศึกษา ในฐานะระบบท่รี วมทรัพยากร หรือปจั จัยนำ� เขา้ ตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกันเพือ่ สรา้ งผล หรอื ผลผลิตจำ� นวน หนึ่ง ระบบเชน่ นเี้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของระบบทใี่ หญก่ วา่ และขนึ้ อยกู่ บั ระบบทใ่ี หญก่ วา่ นนั้ เชน่ สาขาการศกึ ษา เป็นสว่ นหนึง่ ของระบบสังคม-เศรษฐกจิ ของประเทศ ซ่งึ ใหท้ รพั ยากร/ปัจจัยนำ� เขา้ (นักเรยี น ครู หนงั สือ เรียน การเงิน ฯลฯ) สำ� หรบั กระบวนการให้การศกึ ษาและฝึกอบรมแก่ประชากร นอกจากนั้น สาขาการ ศกึ ษายงั ประกอบดว้ ยสาขาย่อย เช่น ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา อดุ มศกึ ษา อาชวี ศกึ ษา และการศึกษา ผใู้ หญ่ หลกั การสำ� คญั อกี ประการหนง่ึ ของ “วธิ กี ารเชงิ ระบบ” คอื การทำ� งานของโครงสรา้ งตา่ ง ๆ มบี รบิ ท และเชอ่ื มโยงกบั โครงสรา้ งอน่ื ๆ ของระบบทใ่ี หญก่ วา่ มกี ารใชว้ ธิ กี ารเชงิ ระบบกนั อยา่ งแพรห่ ลาย ไมเ่ ฉพาะ ในดา้ นชวี วทิ ยา และเทคโนโลยเี ทา่ นน้ั แตย่ งั รวมไปถงึ ดา้ นสงั คมศาสตรท์ ใ่ี ชว้ ธิ นี ว้ี เิ คราะหส์ งั คมและองคก์ ร สมยั ใหมด่ ว้ ย (Crozier & Friedberg, 1992) วธิ กี ารเชงิ ระบบ เปน็ เครอ่ื งมอื ทท่ี ำ� ใหเ้ หน็ ภาพรวมของการทำ� หนา้ ทแ่ี ละผลผลติ ของสาขาการศกึ ษาภายใต้ข้อจำ� กัดตา่ ง ๆ (การเงิน เศรษฐกจิ การเมือง สงั คม ฯลฯ) ประเดน็ การวเิ คราะหด์ ังกลา่ วน้ีเป็นสงิ่ จำ� เปน็เมอื่ ตอ้ งทบทวนและกำ� หนดนโยบายการศกึ ษาทงั้ หมดของประเทศเสียใหม่ ทั้งนี้ต้องเข้าใจว่า ระบบสังคมไม่ใช่ระบบอินทรีย์ที่ “ก�ำกับตนเอง” ได้ (self-regulatory) หากแต่ประกอบไปด้วยผู้คนที่มีสิทธิ์ตัดสินใจด�ำเนินชีวิตตามที่ตนต้องการ ผู้ท่ีกังวลเร่ืองการศึกษาจึงควรมีโอกาสสอบถามถงึ วตั ถปุ ระสงค์เชิงนโยบาย และไม่ควรคดิ วา่ วัตถปุ ระสงคต์ ่าง ๆ นัน้ เป็นสิง่ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไมไ่ ด้ ดังนน้ั ผดู้ ำ� เนนิ การ ESD ยงั คงเหน็ ความสำ� คญั ของการคำ� นงึ ถงึ ความคดิ เหน็ ของผมู้ บี ทบาทสำ� คญั และผรู้ บั (เชน่นักเรยี น ครู ผ้จู ้างงาน) และการพยายามชักน�ำกลมุ่ ตา่ ง ๆ เหล่านี้เข้ามามสี ว่ นร่วมในการออกแบบ ดำ� เนนิการ และตดิ ตามผลการวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษา แมว้ ่าตนจะใช้แนวทางการบริหารจัดการของระบบการศกึ ษาเปน็ สว่ นใหญก่ ็ตาม ตามกระบวนทัศนด์ ้านเศรษฐกิจ ซึ่งเปน็ “เสาหลกั ” เชงิ ทฤษฎีอกี ตน้ หนงึ่ ของ ESD นน้ั คนทีท่ �ำงานรว่ มกนั ในองค์กรหน่ึง ๆ มแี นวโน้มท่ีจะพยายามสร้างผลลัพธท์ ด่ี ที ส่ี ดุ โดยใชท้ รัพยากรนอ้ ยทส่ี ดุ 32

กระบวนทศั น์ดา้ นเศรษฐกจิ (The economic paradigm) “ในทน่ี ว้ี เิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมของมนษุ ยว์ า่ เปน็ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งจดุ ประสงค/์ จดุ จบ (ซงึ่ มมี ากมาย) และวถิ ที าง (ซง่ึ ไมใ่ ครม่ )ี ” โดยใชข้ อ้ ตกลงเบอ้ื งตน้ (assumption) วา่ “มนษุ ยข์ วนขวายทจ่ี ะไดท้ รพั ยากร ที่มีอยู่นอ้ ยให้มากทส่ี ดุ เพ่ือทีจ่ ะไดแ้ ก้ปัญหาได้ดที ่ีสุดตามความคิดของตน ทัง้ ทรี่ ู้ว่าเมื่อเลอื กสิง่ หน่ึงกจ็ ะ ต้องท้ิงสิ่งอื่น ๆ ท่ีตนจะไม่ทิ้งหากตกอยู่ในสถานการณ์ท่ีต่างไป...” ในด้านการศึกษาน้ัน เห็นได้ชัดว่า แนวทางนจี้ ะวิเคราะหป์ ระเด็นต่าง ๆ เกินกวา่ ท่ีปรากฏอยู่ในบญั ชีการเงิน ตอ่ ไปนค้ี อื สองด้านท่ีเสริมกัน และสำ� คญั เป็นพิเศษ ด้านแรกคือผลที่เกิดข้ึน “จุดประสงค์/จุดจบ” ของการศึกษาเป็นหัวใจของการวิเคราะห์ “การ ศกึ ษาช่วยให้นกั เรยี นไดเ้ รียนร้มู ากทสี่ ดุ เทา่ ทีจ่ ะเป็นไปไดต้ ลอดเวลาท่ียงั ศึกษาอย”ู่ (...) ดา้ นทสี่ องคอื ปจั จยั ทม่ี จี ำ� กดั (เวลา เงนิ เทคโนโลย)ี ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถบรรลเุ ปา้ ประสงคท์ ง้ั หมด ได้พร้อม ๆ กนั จงึ จ�ำต้องหาสมดุลระหวา่ งเป้าประสงค์ต่าง ๆ ทีอ่ าจขัดแย้งกัน และการด�ำเนินการท่ตี ้อง จดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั เพอื่ ทจี่ ะไดบ้ รรลเุ ปา้ ประสงคท์ ว่ั ไป และวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะของระบบการศกึ ษาให้ ไดม้ ากท่สี ุด ด้วยทรัพยากรเทา่ ที่มี” (...) “ตามกรอบน้ี มมุ มองดา้ นเศรษฐกจิ กลายเปน็ เครอื่ งมอื ทม่ี ปี ระโยชนใ์ นการชปี้ ระเดน็ นโยบาย ทางการศึกษา การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรสาธารณะ การเปรียบเทียบประโยชน์ ทางการสอนทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ จากการด�ำเนนิ การตา่ ง ๆ และระบุการดำ� เนนิ การทจ่ี ะใหผ้ ลทด่ี ที สี่ ดุ เทยี บกับ ต้นทนุ (เช่น การเปลยี่ นจ�ำนวนนกั เรยี นตอ่ หอ้ งเรียน การอบรมครู และการจัดการการสอน) (แปลจาก Mingat & Suchaut, 2000) ESD ส่วนใหญ่ยงั คงใช้กระบวนทัศน์ด้านเศรษฐกิจเพราะเหตุผลหลักสองประการ คือ: • ในบริบทของความสามารถในการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ทงั้ ผกู้ ำ� หนดนโยบายและ ผ้บู รหิ ารการศกึ ษาจ�ำตอ้ ง “มุ่งผลผลติ เป็นสำ� คัญ” คือ ประเมนิ ผลของการศึกษาในแงข่ อง “ผลติ ภาพ” หรอื “มลู ค่า” ของทรพั ยากรมนษุ ย์ท่ผี ลิตออกมา แตก่ ารวัดผลติ ภาพ หรอื ผลตอบแทนจาก การลงทนุ ในการศกึ ษาในแงเ่ ศรษฐกจิ เท่าน้ันเป็นเร่ืองที่ยงั ไม่เป็นท่ียอมรบั กันโดยสน้ิ เชงิ • องค์กรภายนอกทใี่ ห้เงินสนบั สนุน ซง่ึ กระตุน้ หรือส่งเสริม ESD นัน้ สนใจทจ่ี ะประเมินต้นทนุ และ ประสิทธิผลของโครงการการศกึ ษาทีต่ นสนบั สนนุ การเปล่ยี นแปลงทีส่ �ำคัญของระบบการเมืองใน ประเทศ ปญั หารา้ ยแรงเรื่องการบรู ณาการทางสังคมและวัฒนธรรม การคมุ้ ครองผลประโยชนข์ อง ชนกลมุ่ น้อย ฯลฯ อาจท�ำให้ผมู้ ีอำ� นาจตัดสนิ ใจทางการเมือง และคนภายนอกที่มบี ทบาทให้ความ สำ� คัญต่อESD มากข้นึ และลดความสำ� คัญของขอ้ คำ� นงึ ดา้ นเศรษฐกิจ และการเงินลง โดยสรุป การวเิ คราะห์ปัญหาสาขาการศึกษาตอ้ งตอบคำ� ถามหลกั สองขอ้ ต่อไปน้ี คือ • ระบบการศึกษาบรรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ ตี่ ้งั ไว้ไดเ้ พยี งไร • วธิ ดี ำ� เนินการเพื่อใหบ้ รรลถุ ึงวตั ถุประสงคด์ ังกล่าวนน้ั มปี ระสิทธิภาพหรอื ไม่ คำ� ถามแรกเกยี่ วกบั การดำ� เนนิ การ หรอื ความคบื หนา้ สวู่ ตั ถปุ ระสงคท์ ต่ี งั้ ไว้ สว่ นคำ� ถามทส่ี องเกย่ี วขอ้ งกบั ประสทิ ธภิ าพ หรอื การขาดประสทิ ธภิ าพของระบบการศกึ ษาในการพยายามบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ตี่ ง้ั ไว้ นน่ัคอื ระบบการศึกษาใชท้ รพั ยากรที่มอี ย่ไู ดเ้ ป็นท่นี า่ พึงพอใจหรอื ไม่ และมีตน้ ทนุ ต่�ำทส่ี ุดหรอื ไม่ 33

แตก่ ารวเิ คราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษามกั จะไมใ่ ครส่ นใจ หรอื ละเลยคำ� ถามสำ� คญั คอื วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงินโยบายสอดคลอ้ งกบั ความต้องการและความคาดหมายทแี่ ทจ้ รงิ ของกลุม่ ประชากรที่เกยี่ วขอ้ งเพยี งไร การประเมินผลประสิทธิภาพของระบบการศึกษาในการพยายามบรรลุถึงวัตถุประสงค์จะไม่ใคร่มีประโยชน์นักหากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีส�ำคัญไม่เห็นด้วยกับเป้าประสงค์ดังกล่าว ด้วยเหตุนี้ผู้ออกแบบESD จึงควรประเมินว่าผมู้ ีบทบาทในการศึกษาและกลมุ่ ผลประโยชน์ตา่ ง ๆ นัน้ เห็นพอ้ งกบั วตั ถุประสงคเ์ ชิงนโยบายทใี่ ช้อยู่เพียงไร หากปรากฏว่าคนส่วนใหญเ่ ห็นไมต่ รงกัน กค็ วรตอ้ งจัด “การประชุมโต๊ะกลม” ใหม้ ีการหารอื ถกเถยี งกันในระดับชาติ เพือ่ แก้ไขหรอื ร่างวัตถปุ ระสงค์หลักเชงิ นโยบายของการศกึ ษาเสียใหม่ ตัง้ แตท่ ศวรรษ 1990 เปน็ ตน้ มา องคก์ รทวภิ าคแี ละพหุภาคีพากันสนับสนนุ ให้กลุ่มทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การศกึ ษาโดยตรงและตวั แทน “ประชาสงั คม” [ตวั อยา่ งเชน่ กลุม่ ทไ่ี ม่ไดจ้ ดั ต้งั เชน่ ผจู้ า้ งงานในภาคธรุ กจิ นอกระบบ(informal sector)] มสี ว่ นรว่ มในการเตรยี มกลยทุ ธส์ าขาการศกึ ษาชดุ ใหม่ ทศั นคตเิ ชงิ บวกตอ่ การหารอืและการมสี ่วนร่วมเพมิ่ ขึน้ น้นั มเี หตุผลสองประการ ประการแรก คือจะทำ� ให้เนื้อหาของการศึกษาสอดคล้องมากขน้ึ กบั ความตอ้ งการและความคาดหมายของผมู้ บี ทบาททางสงั คมและเศรษฐกจิ อกี ทงั้ จะทำ� ใหก้ ารปฏริ ปูเป็นทีย่ อมรับมากข้ึนซึ่งจะท�ำให้เกดิ การปฏริ ูปไดจ้ รงิ เหตผุ ลประการทสี่ องเป็นเร่อื งแนวคดิ มากกว่า คือ แนวทางระดบั สาขา (sector approach) ซงึ่ มมี ุมมองเชงิ เศรษฐกิจเปน็ หลกั นั้นดูจะไม่สามารถอธิบายสาเหตแุ ละลกั ษณะของความยากจน ทยี่ งั คงอยหู่ รอื เพมิ่ขึ้นในประเทศที่ก�ำลังพัฒนาจ�ำนวนมากได้ และความยากจนนี้จะมีผลต่ออนาคตของการศึกษาของประเทศนน้ั ๆ ดว้ ย ดงั นัน้ จึงถอื กันวา่ การเพม่ิ “ขอ้ กงั วลและมมุ มองทางสังคม” ไว้ใน ESD และการรบั ฟงั เสียงของประชาชนทง้ั หมด เปน็ การแกไ้ ขจดุ ออ่ นที่เหมาะสม ท้ายที่สุดและไม่เกี่ยวกับกระบวนทัศน์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา คือ การพัฒนาการศึกษาจะยั่งยืนได้เม่ือมีนโยบายจากมมุ มองระยะยาว แมว้ า่ ผทู้ ม่ี บี ทบาทฝา่ ยการเมอื งมกั จะทำ� งานโดยหวงั ผลในการเลอื กตง้ัเปน็ แรงผลกั ดนั ระยะสน้ั แตค่ วรตอ้ งทราบวา่ ประชาชนทง้ั ประเทศไดป้ ระโยชนจ์ ากการเรยี นรบู้ ทเรยี นในอดตีและการวางนโยบายการศกึ ษาเพอ่ื ผลระยะยาวตอ่ อนาคตของประชาชนในด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและการเมือง1.2 ประเด็นการวเิ คราะห์ทสี่ �ำคญั (Major angles of analysis) โดยปกตแิ ลว้ ESD สำ� รวจระบบการศกึ ษาในดา้ นบรบิ ทจำ� เพาะประเทศทเี่ กย่ี วกบั การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ และแงม่ ุมหรือประเดน็ ต่าง ๆ ซึง่ ประกอบกนั เปน็ ภาพรวมและผลการปฏบิ ตั ิงานของสาขาการศึกษาประเด็นการวเิ คราะหท์ ่ีส�ำคญั ส�ำหรับสาขาการศกึ ษาคอื • บริบท (context) • การเข้าถึง (access) • ประสทิ ธิภาพภายใน (internal efficiency) • ความเป็นธรรม (equity) • คุณภาพ (quality) • ประสทิ ธผิ ลภายนอก (external effectiveness) 34

• ต้นทนุ และการเงิน (costs and financing) • การบรหิ ารจดั การ (management)1.2.1 การวิเคราะห์บริบทของการพัฒนาการศกึ ษา (Analysing the context of educationaldevelopment) ในการประเมินบรบิ ทเฉพาะเพื่อการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ของประเทศใดกต็ าม การวเิ คราะหป์ ัญหาสาขาการศึกษามักเร่ิมด้วยภาพสรุปลักษณะส�ำคัญและแนวโน้มประชากร สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและภาษาท้องถ่ิน ความเป็นอยู่ดีของสังคม (รวมท้ังความยากจน) เศรษฐกิจและสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมทางการเมอื ง และความท้าทายหลักตอ่ การศกึ ษา ดังนัน้ “การวิเคราะห์บริบท” ใน ESD จงึ มุง่ ตอบค�ำถาม เชน่ • อัตราการเติบโตของประชากรในระยะหลังเป็นอย่างไร และทา้ ทายการพัฒนาการศึกษาในโรงเรยี น อยา่ งไร • การจดั การศกึ ษาจะต้องตอบสนองวฒั นธรรม และภาษาที่หลากหลายของประเทศหรอื ไม่ • เม่อื พจิ ารณาแนวโน้มปจั จบุ ัน และอนาคตของการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของประเทศ พอจะคาดหวงั ได้หรอื ไมว่ า่ การพัฒนาการศึกษาจะไดร้ ับทรพั ยากรเพ่มิ ข้ึน • ประชากรท่ยี ากจนมสี ัดสว่ นเป็นเทา่ ไรของประชากรทัง้ หมด และมีนัยอย่างไรต่อความสนบั สนุน พิเศษเพ่ือสง่ เสริมใหป้ ระชาชนทีย่ ากจนไดร้ บั การศึกษาและฝึกอบรมเพ่ิมมากขึ้น • การพฒั นานโยบายและแผนการศึกษาใหม่ ๆ นัน้ จะมสี ภาพแวดลอ้ มการเมืองท่มี ่ันคงและเป็น ประชาธปิ ไตยรองรับมากเพยี งใร การวิเคราะห์บริบทมักจะประเมินขีดความสามารถด้านการบริหารจัดการ และด้านการเงินของสาขาการศึกษาด้วย มิฉะน้ันแล้วจะไม่สามารถเลือกหรือออกแบบนโยบายและกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับความเป็นจริงได้ รายงาน ESD ตอ้ งตอบค�ำถามสำ� คัญตอ่ ไปนไ้ี ว้ในบททเ่ี กยี่ วกบั “บรบิ ท” • สถานภาพทางการเงนิ ของประเทศทำ� ใหเ้ พิ่มรายจา่ ยภาครัฐเพอื่ การศกึ ษาไดห้ รอื ไม่ หรอื จะเป็น อุปสรรคอย่างใหญห่ ลวงต่อการเพ่ิมงบประมาณในอนาคต • การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ การเงนิ และทรพั ยากรอนื่ ๆ ของสาขาการศึกษามจี ดุ อ่อนมากเพียงไร และท่ีระดบั ใด1.2.2 การเขา้ ถงึ การศึกษา (Access to education) การเขา้ ถงึ การศกึ ษามักเกย่ี วกับคำ� ถามตอ่ ไปน้ี • จะมเี ดก็ และผ้ใู หญ่จ�ำนวนเท่าไรที่จะเปน็ “ลูกคา้ ” การศกึ ษาระดบั ต่าง ๆ ทงั้ ในระบบโรงเรียนและ นอกโรงเรียน • ตามความต้องการของสงั คมน้นั ประชาชนตอ้ งมีการศึกษาขน้ั ต�ำ่ ระดับใด • ใครต้องการการศึกษาแบบใดบ้าง • ในกรณที ี่มีทรัพยากรไมเ่ พียงพอท่จี ะตอบสนองทกุ กลมุ่ ได้ กลุ่มใดบา้ งท่ีควรเขา้ ถึงการศึกษาระดบั ต่าง ๆ ทัง้ ในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน 35

อกี ประเดน็ หนง่ึ ทส่ี ำ� คญั ไมย่ งิ่ หยอ่ นไปกวา่ กนั ในการกำ� หนดนโยบายการศกึ ษา คอื ใครบา้ งทไ่ี มส่ ามารถเขา้ ถึงการศึกษาได้ และเพราะเหตใุ ด เป็นเพราะประชากรบางกล่มุ มีอปุ สงคด์ า้ นการศึกษาในระบบโรงเรียนต่�ำ หรือเป็นเพราะมีโรงเรียนและวัสดุอุปกรณ์ไม่พอเพียง ค�ำตอบส�ำหรับค�ำถามเหล่าน้ีค่อนข้างจะเป็นเร่ืองการเมอื ง และขน้ึ อยกู่ บั ทงั้ เปา้ ประสงคก์ ารพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยข์ องประเทศ ทงั้ งบประมาณทร่ี ฐั บาลจดั สรรใหแ้ กก่ ารศกึ ษาทงั้ สาขา และแตล่ ะประเภทและแตล่ ะระดบั การทจี่ ะตอบคำ� ถามเหลา่ นไี้ ดค้ รบถว้ นตอ้ งอาศยัการวิเคราะหป์ ัญหาสาขาการศกึ ษา และการจดั ลำ� ดบั ความส�ำคัญการพัฒนาสาขายอ่ ยต่าง ๆ ของการศึกษา1.2.3 ประสทิ ธภิ าพภายใน (Internal efficiency) คำ� ถามหลกั สำ� หรบั การวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพภายใน คอื จะตอ้ งใชท้ รพั ยากรมากเพยี งไร เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นจ�ำนวนตามตอ้ งการไดเ้ รยี นจนถงึ ระดับหน่ึง ๆคำ� ถามนี้นา่ สนใจในดา้ น “ตน้ ทนุ ” หรอื เศรษฐกจิ แตแ่ ผนและนโยบายการศึกษาเพือ่ ปวงชน ซ่งึ มุง่ ให้เด็กทกุคนไดร้ บั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานเป็นอยา่ งนอ้ ยท่ีสุดน้นั สนใจการคงอยใู่ นระบบ และความกา้ วหน้าของนกั เรยี นมากข้ึนทกุ ที ประสทิ ธภิ าพภายในของระบบการศกึ ษาประเมนิ ไดจ้ ากพลวตั ของการเลอ่ื นไหลของนกั เรยี น และการวดัการซำ�้ ชนั้ การออกกลางคนั และระยะเวลารวมทงั้ ทรพั ยากรทใี่ ชไ้ ปในการใหก้ ารศกึ ษาแกน่ กั เรยี นจนจบระดบัตา่ ง ๆ วธิ นี ม้ี ขี อบเขตจำ� กดั อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั คอื ไมใ่ ชก่ ารประเมนิ เสน้ ทางการศกึ ษาของนกั เรยี นเปน็ ตน้ ทนุ และผลประโยชน์ และไมร่ ะบุสาเหตุของ “การไม่มปี ระสิทธิภาพ” ทีพ่ บ อยา่ งไรก็ตามการวิเคราะห์ประสิทธภิ าพภายในมปี ระโยชนท์ ท่ี ำ� ใหผ้ มู้ อี ำ� นาจตดั สนิ ใจหนั มาสนใจปญั หาหรอื จดุ ออ่ นทรี่ ะดบั ตา่ ง ๆ ของระบบการศกึ ษาตวั อยา่ งเช่น หากหน่งึ ในสามของนกั เรียนไมส่ ามารถผา่ นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ไปได้ การแกป้ ัญหาน้ียอ่ มมีประโยชน์กว่าทีจ่ ะรบั นักเรียนเข้าช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 เพ่มิ ขึ้นในเขตทีม่ ีการเขา้ เรยี นตำ่� นอกจากน้ี การตรวจสอบการแปรผัน (variation) ของอัตราการออกกลางคนั หรอื อตั ราการเรียนซำ�้ช้ันในช่วงระยะเวลาหน่ึงท�ำให้สามารถตรวจพบข้อบกพร่องหรือความเปล่ียนแปลงในนโยบาย หรือสภาพแวดลอ้ มของการศกึ ษาได้ อตั ราการออกกลางคนั ทส่ี งู ขนึ้ อาจมสี าเหตมุ าจากวธิ กี ารเรยี นการสอนทเี่ ปลย่ี นไปหรอื จากมาตรการทางการบรหิ าร เชน่ การลดจำ� นวนนกั เรยี นทต่ี อ้ งเรยี นซำ้� ชนั้ ตอ่ หอ้ งเรยี นโดยไมม่ กี ฎเกณฑ์ภาวะเศรษฐกจิ ซบเซาหรอื การตดั งบประมาณภาครฐั ดา้ นการศกึ ษาอาจลดอตั ราการมสี ว่ นรว่ มและอตั ราการคงอยู่ การทจี่ ะแก้ไขความไม่มปี ระสิทธิภาพนี้ไดจ้ �ำเปน็ ตอ้ งหาสาเหตุของการแปรผันดงั กลา่ วก่อน1.2.4 ความเป็นธรรม (Equity) ความเหลื่อมล้�ำทางการศึกษา คือความเหล่ือมล�้ำระหว่างชาย-หญิง ระหว่างนักเรียนท่ีอาศัยอยู่ในภมู ลิ ำ� เนาต่างกนั และระหว่างกลุม่ ทางสงั คม-เศรษฐกจิ หรอื วัฒนธรรมทีต่ า่ งกนั ฯลฯ ความไมเ่ ปน็ ธรรมในหมเู่ ดก็ มไิ ดจ้ ำ� กดั อยเู่ พยี งการเขา้ ถงึ การศกึ ษา แตร่ วมถงึ ประสทิ ธภิ าพภายใน (เชน่นกั เรยี นหญงิ และนกั เรียนในชนบทเรยี นซ�ำ้ ชนั้ และลาออกมากกวา่ ) และคุณภาพการศกึ ษาทีเ่ ด็กไดร้ บั ด้วย การศึกษาเรื่องความเป็นธรรมจะต้องตอบค�ำถามตอ่ ไปนี้ • มคี วามเหลอื่ มลำ�้ ในระดบั ท่ีมนี ัยสำ� คัญระหว่างกลมุ่ ต่าง ๆ ในการเขา้ ถึง และการบรรลผุ ล (attainment) ทางการศกึ ษาในระดับและประเภทตา่ ง ๆ เพียงไร • ความเหลื่อมล้�ำนเี้ กดิ จากการทอ่ี งค์ประกอบทางการศกึ ษา (ครู เครือข่ายสนบั สนุนการสอน หนังสอื 36

เรียน อาคารเรยี น ฯลฯ) มคี ณุ ภาพต่างกันหรือไม่ • ปญั หาการเขา้ ถึง การก้าวหน้า และสัมฤทธิผลของบางกลมุ่ มสี าเหตมุ าจากองคป์ ระกอบทาง วฒั นธรรม และ/หรือ ทางสงั คมและเศรษฐกจิ หรือไม่ • จะแกป้ ัญหาเหล่าน้ีได้อย่างไร กลยทุ ธใ์ นอดีตท่ีใหค้ วามสำ� คญั แกก่ ล่มุ ด้อยโอกาสทางสังคมมผี ลอยา่ ง ไร1.2.5 คุณภาพการศึกษา (Quality of education) การประเมนิ คณุ ภาพของผลผลติ ทางการศกึ ษาซง่ึ ทกุ ประเทศกำ� ลงั สนใจกนั มากขน้ึ นน้ั เปน็ การประเมนิผลความรแู้ ละสมรรถนะทนี่ กั เรยี นไดร้ บั และการประเมนิ สว่ นมากไมร่ วมถงึ การพฒั นาทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมของนักเรียนซ่ึงควรได้รับการปลูกฝังที่โรงเรียน การเพิ่มมูลค่าของผลผลิตทางการศึกษามีนัยว่าต้องทบทวนคุณภาพกระบวนการเรยี นการสอน (จะไดก้ ลา่ วอยา่ งละเอยี ดในบทท่ี 5) และคณุ ภาพของบรบิ ท และปจั จยัน�ำเขา้ ซงึ่ รวมถงึ ครู หลกั สูตร และโครงสรา้ งพนื้ ฐานและวัสดใุ นโรงเรยี น ต่อไปนคี้ อื ตวั อยา่ งคำ� ถามส�ำคัญเรือ่ งคณุ ภาพของผลผลติ • นักเรยี นไดร้ ับความรูใ้ นวิชาหลกั (เช่น คณิตศาสตร์ ภาษาแม่ หน้าทพ่ี ลเมือง) มากเพียงไร • นกั เรียนไดพ้ ฒั นาทศั นคติ และพฤตกิ รรมใดบา้ ง (เช่น การมีความรับผดิ ชอบต่อผ้อู ่ืน) การวิเคราะห์ปัญหาจะต้องระบุลักษณะเฉพาะของปัจจัยน�ำเข้า และกระบวนการให้ได้ก่อน ท่ีจะกำ� หนดวธิ พี ฒั นาคุณภาพ ตอ่ ไปนค้ี อื ตวั อยา่ งค�ำถามเร่ืองคณุ ภาพของปจั จัยนำ� เข้า • ครูได้รับการฝึกอบรมโดยเฉลย่ี ในระดับใด เพยี งพอหรือไม่ • ไดม้ ีการปรบั หนังสอื เรยี นใหเ้ หมาะกบั ระดับของนักเรยี นส่วนใหญใ่ นแตล่ ะระดับชั้นหรือไม่ (เช่น ภาษาและภาพประกอบท่ีใช)้ • ครทู ุกคนมีคมู่ อื ค�ำแนะนำ� วิธใี ช้ และวสั ดอุ ปุ กรณ์การสอนเพียงพอหรือไม่ • โรงเรยี นไดร้ ับสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกและอปุ กรณ์ตามก�ำหนดต�่ำสุดมากน้อยเพียงไร (นำ�้ ดืม่ หอ้ งส้วม ฯลฯ) ค�ำถามสำ� คญั เรื่องกระบวนการ คือ • ครูสอนอยา่ งไรในหอ้ งเรยี น (เช่น เนน้ ให้ผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง และใหค้ วามสำ� คัญกบั การเรยี นเป็น กลุ่มย่อยเพียงไร) • ครไู ด้รบั การสนับสนุนดา้ นการสอนในลกั ษณะใดบา้ ง และมากเพียงไร • ครูใช้เวลาสอนจริง ๆ ในห้องเรยี นมากเพยี งไร • การบริหารจดั การภายในโรงเรยี นเป็นอย่างไร ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นมีความสามารถด้านการบริหารมาก เพียงไร 37

1.2.6 ประสิทธิผลภายนอกของการศึกษา (External effectivensss of education) การประเมนิ ผลประสทิ ธผิ ลภายนอกของการศกึ ษา คอื การประเมนิ วา่ ผลผลติ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของเศรษฐกิจ และสงั คมโดยรวมหรอื ไม่ ต่อไปนี้เป็นตวั อย่างคำ� ถามสำ� คัญทต่ี อ้ งถาม • ผูท้ ีเ่ รียนจบแลว้ ได้ท�ำงานใน 1) ภาคในระบบ (formal sector) และ 2) ภาคนอกระบบ (informal sector) มากเพียงไร • ทกั ษะ และสมรรถนะทน่ี ักเรียนได้รบั ตรงกับความต้องการของผู้จ้างงานในเศรษฐกจิ ภาคต่าง ๆ หรอื ไม่ • ความรู้ และทักษะท่ีนกั เรยี นได้รับจากโรงเรยี นมีประโยชน์ตอ่ การปรับปรงุ พฤตกิ รรม/ลักษณะนิสัย ด้านสุขภาพ โภชนาการ และทักษะการด�ำเนินชวี ติ อืน่ ๆ ของนักเรียนเพียงไร การตอบค�ำถามข้างบนน้ีเป็นสิ่งจ�ำเป็นในการก�ำหนดหรือเปล่ียนนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แตค่ วามเกยี่ วขอ้ งระหวา่ งการพฒั นาสงั คมกบั การศกึ ษานนั้ ไมอ่ าจประเมนิ ไดโ้ ดยงา่ ย และไมไ่ ดร้ บั ความสนใจจากบรรดาผู้เช่ียวชาญมากเท่าท่ีควร การวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษามีระเบียบวิธีท่ีซับซ้อน และมีเวลาและทรพั ยากรจำ� กดั ทำ� ใหด้ ำ� เนนิ การวจิ ยั ไดแ้ ตใ่ นหวั ขอ้ สำ� คญั บางหวั ขอ้ เทา่ นนั้ เชน่ “ความเชอื่ มโยงระหวา่ งการฝึกอบรมกับการจ้างงาน” และ “ความเพียงพอของหลกั สูตรการศกึ ษาต่อการพัฒนาส่วนบุคคล และการพฒั นาทางสงั คม” แตถ่ งึ กระนนั้ ESD ควรมงุ่ ใหข้ อ้ มลู แกผ่ มู้ อี ำ� นาจในการตดั สนิ ใจและผบู้ รหิ ารระบบเรอื่ งความพอเหมาะระหว่าง “ผลิตภัณฑ์” ของระบบการศกึ ษากับเป้าหมายทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ นั่นหมายถึงวา่ต้องสงั เคราะหผ์ ลการศกึ ษาที่เสร็จส้ินแล้ว และส�ำรวจเร่ืองน้ีเพิ่มหากจ�ำเปน็1.2.7 ต้นทนุ และการเงนิ (Costs and financing) การวเิ คราะหต์ น้ ทนุ และการเงนิ ใน ESD มไิ ดจ้ ำ� กดั อยเู่ พยี งงบบญั ชี แตร่ วมถงึ การตรวจสอบกระบวนการท�ำงานในการเตรยี มงบประมาณ การผกู พันงบประมาณ การรายงาน และการควบคุมงบประมาณ นอกจากน้ียงั ตอ้ งทบทวนแหล่งการเงินเพ่ือการศึกษา และประเมนิ ความเป็นไปไดใ้ นการเพม่ิ ทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษาอีกด้วย ค�ำถามพน้ื ฐานเกีย่ วกับต้นทนุ และการเงินรวมถึงคำ� ถามดังต่อไปนี้ • ประเทศใช้เงินเพื่อการศกึ ษาปีละเทา่ ไร รายจา่ ยเพื่อการศกึ ษาตลอด 10 ปีทผ่ี ่านมาเปลยี่ นแปลงไป อย่างไร • แหล่งเงนิ ทนุ หลกั คอื อะไร • ระบบการเงินเพื่อการศกึ ษาของประเทศทำ� ให้ความไม่เท่าเทยี มกนั ทางสงั คมมากข้นึ หรือน้อยลง • การบรหิ ารจัดการทรัพยากรเพอื่ การศกึ ษาของประเทศในปัจจุบันมปี ระสทิ ธภิ าพ และประสิทธผิ ล เพียงไร • จะลดต้นทนุ เพอ่ื การศึกษาไดอ้ ยา่ งไร • จะระดมทรพั ยากรเพิ่มเตมิ เพื่อการศกึ ษาได้อยา่ งไร การวเิ คราะหต์ น้ ทนุ ของการศึกษาอาจดเู ปน็ เรอื่ งนา่ เบือ่ โดยเฉพาะสำ� หรบั นักการศกึ ษา แตเ่ ป็นเรื่อง 38

ส�ำคัญท่ีต้องทราบว่ามีการใช้ทรัพยากรกันอย่างไรในปัจจุบัน และตัดสินได้ว่าเงินทุนท่ีจัดสรรให้การศึกษาประเภทต่าง ๆ และระดบั ต่าง ๆ นั้นน่าพอใจ เป็นธรรม และสมหลักเหตผุ ลหรือไม่ นอกจากนี้ การวเิ คราะห์ตน้ ทนุ ยงั จำ� เปน็ สำ� หรบั การศกึ ษาความเปน็ ไปได้ (feasibility) ของการปฏริ ปู ทา้ ยทสี่ ดุ แลว้ การศกึ ษารายจา่ ยและการจดั สรรทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษาทเ่ี กดิ ขนึ้ จรงิ นน้ั เปน็ วธิ พี สิ จู นว์ า่ มกี ารนำ� นโยบายทรี่ ฐั บาลประกาศไว้ไปปฏิบัตจิ ริงหรอื ไม่1.2.8 การบรหิ ารจัดการสาขาการศึกษา (Management of the education sector) ESD สามารถประเมินจุดแข็งและจุดอ่อนของการบริหารจัดการการศึกษาได้หลายวิธี แต่แนวทางท่ีใชก้ นั แพร่หลาย คอื การตรวจสอบหรือวิเคราะหอ์ งคก์ ร (audit หรอื organizational analysis) เพือ่ สบื คน้หนา้ ท่หี ลัก หรือระดับการบริหารจดั การท้ัง 4 ดังต่อไปน้ี 1. หน้าที่เชิงยุทธศาสตร์ (strategic function) การสืบค้นหน้าท่ีน้ี ควรประกอบด้วยการวิเคราะห์ กระบวนการก�ำหนดนโยบาย และการจัดท�ำแผนพัฒนาการศึกษาและงบประมาณ โดยประเมิน ความสอดคลอ้ งภายใน (internal coherence) และผลทเ่ี กดิ ขนึ้ จรงิ ตอ่ การบรรลเุ ปา้ ประสงคห์ ลกั ของนโยบายการศึกษา 2. หนา้ ที่บริหารจัดการ (management function) การวเิ คราะหห์ น้าท่นี ้ีต้องตรวจหาการท�ำหนา้ ท่ี ทีค่ ลาดเคลือ่ นจากมาตรฐานและวัตถุประสงค์ และตอ้ งวางแนวการจัดสรรทรพั ยากรเสยี ใหม่ 3. หน้าทดี่ ้านสารสนเทศ (information function) การศึกษาดา้ นนเี้ ปน็ การรวบรวมสารสนเทศจาก หนว่ ยบรหิ ารทกุ หนว่ ย รวมถงึ การประมวลผล การเกบ็ และการสง่ สารสนเทศนนั้ ใหท้ กุ ฝา่ ยทจ่ี ำ� เปน็ ต้องใชป้ ระกอบการตัดสินใจ และการท�ำงาน 4. หนา้ ท่ดี า้ นการปฏบิ ตั ิการ (operational function) การสบื คน้ ดา้ นน้ีมุ่งประกนั การทำ� หนา้ ท่ขี อง กระบวนการการศกึ ษา และฝกึ อบรม ทงั้ นคี้ วรศกึ ษาสว่ นประกอบทงั้ สองระดบั คอื ระดบั หอ้ งเรยี น และระดับการสนบั สนนุ การสอน การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรมนษุ ยโ์ ดยเฉพาะครนู นั้ สำ� คญั มากทงั้ ในดา้ นการลงทนุ และผลของการศกึ ษาซ่งึ ได้รับความสนใจจาก ESD ในระยะหลงั นีม้ ากเปน็ พิเศษ จดุ ออ่ นประการหนงึ่ ของแนวทางการวเิ คราะหก์ ารบรหิ ารจดั การการศกึ ษาแบบดง้ั เดมิ คอื การยอมรบัวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ นโยบายหลกั ของการศกึ ษา จนละเลยความตอ้ งการและความคาดหวงั ของประชากรกลมุ่ ตา่ งๆ ทแี่ ปรเปลยี่ นไป การพฒั นายทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื สาขาการศกึ ษาจงึ อาจเปน็ โอกาสทจี่ ะสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ความโปรง่ ใส และการมสี ่วนร่วมทั้งในการตดั สินใจเชิงการเมอื ง และการตัดสินใจเชิงการบริหาร 39

1.3 การรวมประเดน็ การวเิ คราะห์ (Combining angles of analysis) การวิเคราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษาจำ� เปน็ ต้องรวมประเดน็ การวเิ คราะหต์ ่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกันเพือ่ ใหเ้ ห็นภาพรวมของการศกึ ษาตามความเป็นจรงิ ตวั อยา่ งเช่นด้าน “ต้นทุนและการเงิน” และ “การบรหิ ารจดั การ”สัมพันธ์กันมากเพราะต่างก็วิเคราะห์วิถีทางของระบบ และการใช้วิถีทางน้ัน ๆ เม่ือน�ำมุมมองท้ังสองด้านนี้ไปรวมกับเกณฑ์ทางด้านคุณภาพและประสิทธิภาพ จึงช่วยให้เข้าใจปัญหาที่เกี่ยวกับประสิทธิภาพ และประสิทธผิ ลของการลงทนุ ได้ลกึ ซึง้ ข้นึ ESD ทีว่ เิ คราะหเ์ ฉพาะ “การท�ำหน้าที่ของระบบ” โดยไม่ค�ำนึงถึงความคดิ เห็นจากผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสยีทุกกลุ่ม โดยเฉพาะจากผ้เู กีย่ วขอ้ งโดยตรง (พ่อ-แมผ่ ปู้ กครอง และนกั เรยี น) น้นั ไม่เป็นทีย่ อมรับกนั อกี ต่อไปปัจจุบันน้ีมีการเตรียมการพัฒนาแผนและกลยุทธ์ส�ำหรับสาขาการศึกษาซึ่งรวมการปรึกษาหารือกับกลุ่มดังกล่าวไวเ้ ปน็ สว่ นหน่งึ มากขนึ้ เร่ือย ๆ การหารือและการมสี ่วนร่วมของกลุ่มต่าง ๆ น�ำมาซ่งึ เกณฑ์การประเมินผลทตี่ ้องพจิ ารณาในการปฏิบัติจรงิ แม้จะไมไ่ ดร้ วมอย่ใู นกรอบทน่ี �ำมาอภิปรายกันในหลักสตู รนีก้ ต็ าม1.4 ขอ้ สงั เกตเร่อื งการเลอื กเนือ้ หาเพอื่ การวิเคราะหป์ ญั หาสาขาการศกึ ษา (Some finalremarks on the selection of the content of an Education Sector Diagnosis) แม้วา่ ESD ควรต้องใหภ้ าพทีค่ รอบคลมุ สาขาการศึกษาท้งั หมด ทกุ ประเภทและทุกระดับ แต่ควรต้องก�ำหนดเน้อื หาและขอบเขตของการสบื คน้ ใหแ้ น่ชัดต้ังแต่เร่มิ ต้น เนือ่ งจากมเี วลาและทรัพยากรส�ำหรบั การน้ีเพียงจ�ำกัด ในท�ำนองเดยี วกนั ตอ้ งตัดสินใจตัง้ แตแ่ รกเริม่ ว่าจะเนน้ สาขาภาคย่อยใด หรอื มิติใดเปน็ พเิ ศษ การออกแบบ ESD ต้องค�ำนึงถึงลักษณะเด่นของแต่ละประเทศ เช่น ความไม่เท่าเทียมกันทั้งทางเศรษฐกจิ สังคม และภูมิศาสตร์ ระบบการบริหารจัดการและการเงนิ เพือ่ การศึกษา ฯลฯ จุดสนใจหลกั และเน้ือหาของ ESD ส�ำหรับประเทศเกษตรกรรมที่มีประชากรไม่รู้หนังสือจ�ำนวนมาก และมีเด็กท่ีไม่ได้เรียนประถมศกึ ษาเปน็ จำ� นวนมาก ย่อมตา่ งไปจากของประเทศทภี่ าคอตุ สาหกรรมขยายตัวอย่างรวดเร็ว จนต้องเพิ่มจ�ำนวนผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษา และสูงกว่านัน้ ที่มคี ณุ สมบัติตามความต้องการของผู้จ้างงาน 40

คำ� ถามท้ายบท ผู้เรียนควรคิดไตร่ตรองหาค�ำตอบส�ำหรับค�ำถามดังต่อไปนี้ด้วยตนเอง และเขียนค�ำตอบลงในช่องว่างเพ่อื ใชใ้ นการอภิปรายกลุ่มตอ่ ไป จงอ่านแผนการศึกษาฉบับลา่ สดุ ของประเทศของท่านใหล้ ะเอยี ดถถ่ี ว้ น และตอบคำ� ถามตอ่ ไปน้ี 1. การวเิ คราะหส์ ถานการณห์ รอื วเิ คราะหป์ ญั หาในเอกสารฉบบั นใี้ หค้ วามสนใจกบั สาขายอ่ ย มติ กิ าร วเิ คราะห์ และประเด็นสำ� คญั ใดเปน็ พิเศษ 2. ทา่ นคดิ วา่ ทำ� ไมเอกสารฉบบั นจ้ี งึ ละเลยสาขายอ่ ย มติ หิ รอื ประเดน็ สำ� คญั บางประการ และทา่ นเหน็ วา่ การละเลยนนั้ สมเหตุสมผลเพียงใด 41

ตอนท่ี 2 การวเิ คราะห์บริบทการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์(Analysis of the context of human resource development)2.1 บทนำ� ประชากร ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมท้องถิ่น เศรษฐกิจ ตลาดแรงงาน และองค์กรทางการเมืองและสังคมคือตัวก�ำหนดบริบทการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของแต่ละประเทศเสมอ บริบทดังกล่าวน้ีมีผลต่อการเลือก 1) วัตถปุ ระสงค์และเป้าประสงคท์ างนโยบายของการศึกษาในอนาคต 2) “ปจั จัยนำ� เขา้ ” และ 3) กระบวนการทีจ่ ะบรรลุวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายที่เลือกไว้ท้ังในระยะสัน้ และระยะปานกลาง ทันทีท่ีเริ่มวิเคราะห์ปัญหาสาขาการศึกษา ต้องมีการประเมินขีดความสามารถด้านการเงิน และการบรหิ ารจัดการของสาขาการศกึ ษา เพอ่ื ทจี่ ะไดท้ ราบขอ้ จำ� กดั และเงื่อนไขตามจริงท่จี ะมีผลตอ่ การดำ� เนนิ การตามนโยบายทอี่ าจเลอื กใช้ โดยทวั่ ไปแลว้ ESD เรม่ิ ตน้ ดว้ ยสาระสำ� คญั ของลกั ษณะและแนวโนม้ สำ� คญั ของบรบิ ททว่ั ไป และบรบิ ทด้านการบริหารจัดการ เพื่อชี้ให้เห็นความท้าทาย และข้อจ�ำกัดที่ส�ำคัญในการพัฒนาการศึกษาและการฝึกอบรมในอนาคตของประเทศนั้น ๆ2.2 ประเด็นส�ำคัญท่ตี อ้ งวเิ คราะห์ (Selected key issues to be covered) ESD ควรตอ้ งศกึ ษาประเดน็ หลกั บางประเดน็ ตอ่ ไปนเี้ กยี่ วกบั สภาพแวดลอ้ มโดยรวมของสาขาการศกึ ษาและความทา้ ทายที่เก่ียวขอ้ ง ใหเ้ ข้าใจชัดเจน2.2.1 ประเทศ ประชากร วัฒนธรรม และบรบิ ททางการเมอื ง (The country, its population,culture, and political context) • ลกั ษณะสำ� คัญทางกายภาพของประเทศ (เชน่ ขนาดพื้นทีเ่ พาะปลูก) การกระจายของประชากร (เชน่ ความหนาแนน่ ของประชากร) ซ่งึ สะทอ้ นลกั ษณะทางกายภาพน้ี แนวโน้มของส่งิ แวดล้อมทาง ธรรมชาติของประเทศ (การท�ำลายดิน ปา่ ฯลฯ) • ปิรามิดของขนาดและอายขุ องประชากร อัตราการเตบิ โตของประชากรในชว่ ง 10-15 ปีท่ีผ่านมา ผล ของการยา้ ยถ่ินและโรคระบาด(เชน่ เอชไอวี/เอดส์)ตอ่ ประชากร • องค์ประกอบด้านชาติพันธข์ุ องประชากร การกระจายของกลมุ่ ภาษาต่าง ๆ ของประเทศ ผลของ สถานการณน์ ี้ตอ่ นโยบายหลกั สูตรการศกึ ษา ภาษาที่ใช้ในการเรียนการสอน และการจดั ทรพั ยากร เพือ่ การศกึ ษา • เหตุการณ์สำ� คญั ทางการเมือง เศรษฐกิจและสงั คม • ระบอบการเมอื ง และโครงสรา้ งสถาบนั ปัจจบุ ันของประเทศ ( เชน่ ประชาธปิ ไตยที่มีพรรคการเมือง หลายพรรค อำ� นาจนติ บิ ัญญัตแิ ละอ�ำนาจบริหารแยกออกจากกัน) 42

2.2.2 บริบทดา้ นสงั คม: ความยากจน และความเปน็ อยู่ดี (The social context: Poverty andwell-being) • ความเปลี่ยนแปลงสภาพความเป็นอยแู่ ละสขุ ภาพของประชาชน (ดขี น้ึ หรอื แย่ลงอยา่ งไร) ในชว่ ง 10 ปที ผี่ ่านมา • จำ� นวนรอ้ ยละของประชากรที่ถูกจัดว่าเป็นคนยากจน คนเหลา่ นคี้ ดิ ว่าตนถูกตดั ขาดจากสงั คม และ ไม่ได้รับผลประโยชน์ต่าง ๆ หรือไม่ • ผลของความยากจนตอ่ การมสี ่วนร่วมในการศกึ ษา การศกึ ษาไดช้ ่วยหรือน่าจะชว่ ยทำ� ให้สถานการณ์ นีด้ ขี ้ึนไดอ้ ย่างไร2.2.3 เศรษฐกจิ การจ้างงาน และการใชจ้ ่ายภาครฐั (Economy, employment and publicspending) • ความเปล่ียนแปลงของสภาพความเป็นอยู่ (ทางเศรษฐกิจ และสังคม) ของประเทศในช่วง 10-15 ปที ี่ ผา่ นมา ความสัมพันธ์ระหวา่ งความเปลย่ี นแปลงนีก้ ับระดบั การศึกษาของประชากร • ความเปล่ียนแปลงของการผลิตทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ (เชน่ รายได้เฉล่ียตอ่ คนต่อปี) ใน ชว่ งทศวรรษท่ีผา่ นมา ความเปล่ยี นแปลงดงั กล่าวมีรปู แบบคงท่หี รอื ไม่ การตอ้ งพงึ่ ความช่วยเหลอื ทางการเงนิ จากภายนอกประเทศ พัฒนาการของรายได้ภาครฐั ในชว่ ง 10 ปที ีผ่ ่านมา • ในระยะหลงั นี้ เศรษฐกจิ สาขาใดมกี ารเพิ่มการผลติ และ/หรือการจา้ งงาน ภาคใดมีความสามารถใน การแข่งขนั กบั ต่างประเทศไดส้ ูงขนึ้ (หรือลดลง) ผลของเศรษฐกจิ นอกระบบตอ่ การผลิต และการจ้าง งาน • แนวโน้มหลักของอุปสงคแ์ ละอุปทานดา้ นกำ� ลังคน ประชากรโดยรวมและกำ� ลังแรงงานรหู้ นังสอื และ ไดร้ ับการศกึ ษาในระบบมากเพียงไร นัยของการศกึ ษาในระบบของประชากร/ก�ำลังแรงงานดงั กลา่ ว ต่อการพัฒนาในอนาคตของการศึกษาและการฝกึ อบรมหลังการศึกษาภาคบงั คับ2.2.4 ขีดความสามารถทางการเงินเพ่อื การพัฒนาทรพั ยากรมนุษยแ์ ละการศกึ ษา (Financialcapacity for human resource development and education) ปกตแิ ล้ว ESD จะพิจารณาประเด็นต่อไปนี้ เพอ่ื ให้เหน็ ภาพสรุปของขีดความสามารถทางการเงินของประเทศส�ำหรับการพฒั นาทรัพยากรมนุษยใ์ นอนาคต • งบประมาณการศกึ ษาคดิ เป็นสัดส่วน/รอ้ ยละของ GDP และของรายจา่ ยภาครฐั ท้งั หมด และเทียบ กบั ประเทศอ่ืน ๆ ในภมู ิภาค • ขนาดโดยประมาณของการลงทนุ ภาครัฐในการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นอนาคต • มสี ่งิ บง่ ชวี้ ่าการศกึ ษาระดบั ต่าง ๆ “ใช้จา่ ยมากเกนิ ไป” หรือใชท้ รพั ยากรอยา่ งสิ้นเปลืองบา้ งหรอื ไม่ • เปรียบเทยี บต้นทุนการศึกษาในระดบั ต่าง ๆ กบั “ผลประโยชน”์ ท่ไี ด้รับ (ท้ังสว่ นบุคคล และตอ่ สังคม) 43

2.2.5 ขดี ความสามารถในการบรหิ ารจัดการ (Management capacity) การประเมนิ ขีดความสามารถในการบริหารจดั การโดยรวมต้องศกึ ษาประเด็นตอ่ ไปนี้ • บทบาทและขีดความสามารถเชิงองค์กรของภาครัฐ และภาคเอกชนในการจดั การศึกษา และ/หรอื การฝกึ อบรม • ระดบั การกระจายอำ� นาจการบรหิ ารการศึกษา • การบรหิ ารจดั การการศกึ ษาด้านใดและระดบั ใดดูอ่อนแอท่สี ดุ • แผนงาน และการเปล่ยี นแปลงโครงสร้างทม่ี ่งุ สง่ เสรมิ ขีดความสามารถการบรหิ ารจัดการของสาขา การศึกษา ข้อมูลพื้นหลังเร่ืองขีดความสามารถของระบบการศึกษาในด้านการเงิน และการบริหารจัดการท�ำให้เข้าใจปัญหาเกีย่ วกับประสิทธภิ าพภายนอกและภายใน การเข้าถึง ความเป็นธรรม คณุ ภาพ และต้นทนุ ของการศึกษาดีข้ึน และท�ำให้หาวิธีรับมือปัญหาดังกล่าวได้ บางคร้ัง เช่นเม่ือปรากฏว่ามีจุดอ่อนร้ายแรงในการบริหารการศกึ ษา ไมว่ า่ จะทั้งสาขา หรอื ในสาขาย่อยใด กรอบการด�ำเนินการ ESD จะรวมการวิเคราะห์ระบบการบริหารจัดการการศึกษาไม่ว่าจะเป็นเพียงบางส่วนหรือทั้งระบบโดยละเอียดอย่างเป็นระบบไว้ด้วย (ในลักษณะการ “ตรวจสอบ” องค์กร)2.3 ตัวชวี้ ัดหลัก ขอ้ มูลทจี่ ำ� เป็น และแหล่งสารสนเทศ (Main indicators, data to becollected and sources of information) ตารางที่ 1 แสดงตัวอย่างตัวชี้วัดท่ีส�ำคัญด้าน “บริบท” ของระบบการศึกษา ซ่ึงอาจจะมีผลต่อการพฒั นาการศกึ ษาในอนาคตตารางที่ 1 ตัวอย่างตัวชวี้ ัดบรบิ ทของระบบการศกึ ษา หัวข้อ/มติ ิ ตัวชวี้ ัดประชากรศาสตร์ จ�ำนวนประชากร อัตราการเติบโตรายปี จ�ำนวนร้อยละของประชากรท่ีอยู่ใน ชนบท จำ� นวนร้อยละของประชากรทอี่ ายตุ �่ำกว่า 15 ปี ฯลฯนโยบาย สดั ส่วนรายจา่ ยภาครฐั เพอ่ื การศึกษาจากรายจ่ายภาครัฐทั้งหมดภูมิศาสตร์ ภมู อิ ากาศ การเกษตรกรรม จ�ำนวนร้อยละของพน้ื ท่เี พาะปลูก จำ� นวนร้อยละ ของพ้ืนที่ทมี่ ีผูอ้ ยอู่ าศัยเศรษฐกจิ รายได้เฉลยี่ ตอ่ คนตอ่ ปี การเติบโตของ GDP การเตบิ โตของการผลติ แบง่ ตาม ภาค การเติบโตของการลงทนุ โดยตา่ งประเทศการเงนิ ภาครฐั รายไดข้ องรฐั บาล รายจา่ ยของรฐั บาล การจา่ ยคืนเงนิ ต้นและดอกเบยี้ หนีต้ า่ ง ประเทศการจ้างงาน ผู้มีงานท�ำในธรุ กิจนอกระบบคิดเปน็ รอ้ ยละของจำ� นวนผมู้ งี านท�ำทงั้ หมด การ จา้ งงานจำ� แนกตามภาค และสาขา 44

สังคม/ความยากจน ดัชนกี ารพฒั นามนุษย์ (Human Development Indicator - HDI) ประชากร ท่ีอยู่ใตเ้ สน้ ความยากจน (เชน่ มีรายได้ตำ�่ กวา่ วันละหน่ึงเหรยี ญสหรัฐ) คิดเป็น ร้อยละของจ�ำนวนประชากรทัง้ หมด อายุคาดเฉลีย่ขีดความสามารถการ จำ� นวนรอ้ ยละของงบประมาณทปี่ ระหยดั ได้ จำ� นวนรอ้ ยละของการนำ� แผนงานบริหารจัดการในสาขา ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ ความถ่ขี องการแจ้งเรอ่ื งการบรหิ ารที่ผดิ ปกติการศกึ ษา ข้อมูลล่าสุด และสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องกับตัวแปรเชิงบริบทส่วนใหญ่ข้างบนน้ี (ยกเว้นจ�ำนวนและการเตบิ โตของประชากรส�ำหรับบางประเทศ) หาไดจ้ ากกระทรวง ทบวง กรม (เศรษฐกจิ การคลัง แรงงานสาธารณสุข ฯลฯ) และสำ� นักงานตา่ ง ๆ (ส�ำนักงานสถติ ิแหง่ ชาติ ส�ำนักวางแผน ฯลฯ) ในทางปฏิบัติ ไม่ใคร่มีใครสนใจผลการศึกษาวิจัยท่ีมีอยู่ เหตุผลหลักคือไม่สามารถเข้าถึงรายงานการศึกษาวิจัยดังกล่าวได้ง่ายนัก (เพราะมักถูกเก็บซ่อนไว้ในกระทรวงศึกษาธิการหรือท่ีอื่น ๆ หรืออาจไม่มีใครจ�ำได)้ และบางคร้ังการศึกษาวจิ ยั เหลา่ นอ้ี อกจะล้าสมยั เสยี แลว้ ย่ิงไปกว่านั้นหน่วยงานท่ีเร่ิมงาน ESD ใช้เกณฑ์และวิธีการของตนเอง และลังเลท่ีจะใช้ข้อมูลท่ีผู้อื่นรวบรวมไว้ (เน่อื งจากไมส่ ามารถควบคุมการรวบรวมและประมวลผลข้อมลู ได้) อยา่ งไรกต็ าม ควรหลีกเลีย่ งการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ซำ้� ซอ้ นซง่ึ ทำ� ใหเ้ สียเวลาและค่าใช้จ่ายสูง และท�ำให้ผเู้ ก่ียวขอ้ งหลายคนร�ำคาญใจ ควรใช้ขอ้ มลู อยา่ งระมัดระวังแม้ว่าขอ้ มลู นั้นดูเหมือนจะถูกต้อง และควรตรวจสอบคณุ ภาพของขอ้ มลูก่อนนำ� ไปใช้ เป็นไปไดท้ ี่ข้อมลู ประชากรไมน่ ่าเชื่อมัน่ หรอื อาจไมเ่ ปน็ ปัจจบุ นั เน่อื งจากมกี ารส�ำรวจสำ� มะโนประชากรครั้งสุดท้ายนานมาแล้ว “โดยทั่วไปแล้ว การเปรียบเทียบข้อมูลส�ำมะโนประชากร (และการคาดคะเนท่ีสืบเนื่องกัน) กับการสงั เกตการณโ์ ดยตรงในการส�ำรวจครวั เรอื นชว่ ยได้” (Mingat & Suchaut, 2000) 45

ตอนที่ 3 การวเิ คราะหบ์ ริบทในการวเิ คราะหก์ ารศกึ ษา: กรณี Vindoland(Context analysis in Education Sector Diagnosis: The case of Vindoland)3.1 การวิเคราะห์บรบิ ท (Contextual analysis) Vindoland มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และมีนายกรฐั มนตรเี ป็นผนู้ �ำฝ่ายบรหิ าร Vindoland ประกอบไปดว้ ย 77 จงั หวดั ใน 5 ภมู ภิ าค แต่ละจงั หวัดแบ่งออกเปน็ อำ� เภอ แตล่ ะอำ� เภอแบง่ ออกเปน็ ตำ� บล3.1.1 สภาพภมู ศิ าสตร์ และประชากร Vindoland เป็นประเทศในเอเชยี อาคเนย์ มีพน้ื ท่ี 513,115 ตารางกโิ ลเมตร ในประชากรจ�ำนวนราว65.4 ล้านคนเมอื่ ค.ศ. 2010 นัน้ มีถึง 7 ลา้ นคนทอ่ี าศยั อย่ใู นเมืองหลวงของประเทศ และประชาชนราว 31%อาศยั อยใู่ นเขตเมือง ประมาณ 75% ของประชากรเปน็ ชาว Vindo ชาวจนี เป็นกลุ่มชาติพนั ธท์ุ ใี่ หญ่ทสี่ ุด (14%) ประชากรประมาณ 51% เป็นเพศหญิง ตัง้ แต่ ค.ศ. 1960 อตั ราการเติบโตของประชากรลดลงอยา่ งต่อเนื่อง จาก 2.7% ในทศวรรษ 1960 ลงมาเปน็ 0.77% ในทศวรรษ 2000 อัตราการเตบิ โตของประชากรเม่ือ ค.ศ. 2010 คอื 0.6% เท่านั้น โครงสรา้ งประชากรของ Vindoland ไดเ้ ปลยี่ นไป ปจั จบุ นั มปี ระชากรผสู้ งู อายเุ พม่ิ มากขนึ้ แตป่ ระชากรหนมุ่ สาวและวยั แรงงานมจี ำ� นวนลดลง ใน ค.ศ. 2010 นนั้ ประมาณ 10% ของประชากรใน Vindoland มอี ายุมากกวา่ 65 ปี ประชากรในวัยท�ำงานคือผ้ทู ีม่ ีอายรุ ะหว่าง 15-64 ปี มอี ัตราสว่ น 71% อกี 20% เปน็ ผู้ทม่ี อี ายุนอ้ ยกวา่ 15 ปี3.1.2 บรบิ ททางสังคม: ความยากจน และความเปน็ อย่ดู ี (The social context: poverty andwell-being) ใน ค.ศ. 2010 Vindoland มจี ำ� นวนครวั เรอื นท้งั ส้ิน 20.3 ลา้ นครวั เรอื น ขนาดเฉลี่ยของครัวเรือนลดลงจาก 3.8 คนเมื่อ ค.ศ. 2000 เหลือ 3.2 คนใน ค.ศ. 2010 รายไดค้ รวั เรอื นเฉลี่ยตอ่ เดอื นของประเทศเพิ่มขนึ้ จาก 3,372 VCU (Vindo currency units) ใน ค.ศ. 2000 เป็น 6,272 VCU ใน ค.ศ. 2009 รายไดข้ องประชากรในเมอื งหลวงและปรมิ ณฑลมอี ัตราการเตบิ โตรวดเรว็ กวา่ ในส่วนอนื่ ๆ ของประเทศ รายได้เฉล่ียครัวเรือนที่สูงขึ้นท�ำให้ความยากจน (จ�ำนวนประชากรท่ีมีรายได้ต่�ำกว่าเส้นความยากจน)ลดลงมาก จากรปู ที่ 1 จะเห็นได้ว่าความยากจนลดลงจาก 33.5% ใน ค.ศ. 1990 เหลือ 7.8% ใน ค.ศ. 2010 แมอ้ ตั ราความยากจนของ Vindoland จะลดลงตามลำ� ดบั แตค่ วามไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ดา้ นรายไดย้ งั คงเดมิ(รปู ที่ 2) หลงั จากทมี่ กี ารพฒั นาทางเศรษฐกจิ มาหลายทศวรรษ การกระจายรายไดเ้ รม่ิ ดขี น้ึ ใน ค.ศ. 1994 แตค่ า่สัมประสิทธ์จิ นิ ี (Gini coefficients1) หรอื ดชั นคี วามเหลื่อมล�้ำของรายไดใ้ น ค.ศ. 2000 และ 2009 กลับอยู่ท่ี 0.522 และ 0.485 ตามลำ� ดบั ใน ค.ศ. 2009 นั้น 20% ของประชากรท่ีรำ่� รวยทส่ี ดุ ของประเทศ มีรายได้1 สมั ประสทิ ธิ์จินี หรือทรี่ ้จู ักกนั วา่ ดัชนีจินี (Gini index หรือ Gini ratio) เป็นการวดั ความเหลือ่ มล้ำ� ของการกระจายรายได้ สมั ประสิทธิ์จินี มคี า่ ต้งั แต่ 0 ถึง 1 ตัวเลขที่ต�ำ่ แสดงว่ามกี ารกระจายรายไดท้ เี่ ท่าเทยี มกนั มากกว่า โดยที่ 0 มีความหมายว่าเทา่ เทยี มกันโดยสิ้นเชิง สัมประสิทธ์ิจินี ย่ิงสงู ย่ิงมคี วามเหล่ือมล้�ำมาก โดยท่ี 1 มีความหมายวา่ เหลอ่ื มล�ำ้ กนั โดยสิ้นเชิง 46

มากกว่า 20% ของประชากรทย่ี ากจนท่สี ดุ ถึง 11 เท่า (ตารางท่ี 1) สำ� มะโนประชากรปี ค.ศ. 2000 แสดงวา่ อตั ราการรู้หนงั สอื ของผใู้ หญ่ (ผู้ทม่ี อี ายุ 15 ปขี ้ึนไปท่ีอา่ นออกเขยี นได้) คอื 92.6% จ�ำแนกเปน็ 94.9% ของประชากรชาย และ 90.5% ของประชากรหญงิรปู ที่ 1 ร้อยละของประชากรทอี่ ย่ใู ตเ้ สน้ ความยากจนใน ค.ศ. 1990, 2000, 2007, 2010 35 34 30 25 21 20 15 10 8.5 7.7 5 0 1990 2000 2007 2010รูปที่ 2 สัมประสิทธิจ์ นิ ีเฉพาะบางปี0.54 0.5360.53 0.5220.52 20000.510.50.49 0.4850.48 20090.470.460.45 1992 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook